The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:03:34

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

9_CI22501_การสืบสวนสอบสวน

๔๗

การรับฟงพยานหลักฐานน้ันจะเปนประโยชนตอการอาํ นวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิด
จากผลกระทบตอมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสทิ ธเิ สรีภาพพนื้ ฐานของประชาชน

การที่เจาพนักงานตาํ รวจแจงใหผูตองหาทราบถึงผลประโยชนที่ตนจะไดรับโดยชอบตาม
กฎหมาย กอ นใหถ อ ยคาํ ถือไมไดวาเปนการจงู ใจผูตองหาเพ่อื ใหการ ถอ ยคําของผตู องหารับฟงได

ฎีกาที่ ๖๒๔๓/๒๕๕๔ บันทึกการจับกุมระบุวา จาํ เลยที่ ๑ และที่ ๒ ยืนยันใหการรับ
สารภาพและจาํ เลยท่ี ๑ ใหการรายละเอียดแกเจาพนักงานวา รับเมทแอมเฟตามีนของกลางมาจาก
จาํ เลยที่ ๒ ซงึ่ มใิ ชค ําใหก ารรบั สารภาพของจําเลยที่ ๑ จงึ รบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานเพอ่ื พสิ จู นค วามผดิ
ของจาํ เลยที่ ๒ ได

พันตาํ รวจโท ป. อธิบาย พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๐๐/๒
ใหจาํ เลยที่ ๑ ฟงวาหากใหขอมูลท่ีสาํ คัญและเปนประโยชนอยางย่ิงในการปราบปรามผูกระทําผิดเก่ียวกับ
ยาเสพติดใหโทษแลว ศาลจะลงโทษผูน้ันนอยกวาอัตราโทษขั้นตาํ่ ท่ีกาํ หนดไวสําหรับความผิดนั้นก็ได
ถอื ไมไดว า เปน การจงู ใจจําเลยท่ี ๑ เพื่อใหการ แตเปนการแจง ใหจ ําเลยที่ ๑ ทราบถงึ ผลประโยชนที่จะ
ไดรับโดยชอบตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ไิ ว ถอ ยคาํ ของจําเลยท่ี ๑ เก่ยี วกับจาํ เลยท่ี ๒ ในสว นนีจ้ ึงรบั ฟง
เปนพยานหลักฐานได

กรณีผตู อ งหาใหการโดยการตดั สินใจของผตู อ งหาเอง มใิ ชเ กดิ จากการลอ ลวง ขูเ ขญ็ หรอื
ใหส ัญญาของเจาพนกั งาน ศาลรับฟง คาํ ใหการดังกลาวได

พยานหลกั ฐานที่เกิดขน้ึ เนอื่ งจากการขูเข็ญ เปน พยานหลักฐานทเี่ กิดข้ึนโดยมิชอบ
ฎีกาที่ ๔๗๓/๒๕๓๙ คํารับสารภาพที่ไดความวา หากจาํ เลยไมใหการรับสารภาพ
เจาพนักงานตํารวจก็จะตองจับกุมภริยาจําเลยและคนในบานทั้งหมดดวย เปนคาํ รับสารภาพท่ีมีเหตุ
จูงใจและบังคบั ใหก ลัว ไมอ าจรบั ฟงเปน พยานหลกั ฐานพสิ ูจนความผดิ ของจาํ เลยได
ฎกี าท่ี ๑๗๕๘/๒๕๒๓ พยานทเ่ี กดิ จากขเู ขญ็ จงู ใจวา จะใหพ ยานออกจากงานโดยรบั บํานาญ
และไมจบั กมุ มาดาํ เนนิ คดี รบั ฟงไมไดต าม ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖
พยานหลักฐานท่ีเกดิ ขน้ึ จากการหลอกลวง เปน พยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยมชิ อบ
ฎีกาท่ี ๕๘๙/๒๔๘๔ พนักงานสอบสวนบอกกับผูตองหาคนหน่ึงวา มีผูรวมกระทาํ
ความผดิ คนอน่ื เขารบั สารภาพปรกั ปราํ ผตู อ งหาแลว ทง้ั ๆ ทรี่ อู ยวู า ไมเ ปน ความจรงิ จงึ ใหก ารรบั สารภาพ
และซดั ทอดคนอ่นื บา ง เปนถอ ยคาํ ทีเ่ กดิ จากการหลอกลวง ตองหา มรับฟงเปนพยานหลกั ฐาน
หลักเกณฑ พยานวัตถุ พยานเอกสาร หรือพยานบุคคล ซึ่งนาจะพิสูจนไดวาจาํ เลยมีผิด
หรือบริสุทธ์ิ ใหอางเปนพยานหลักฐานได แตตองเปนพยานที่มิไดเกิดจากการจูงใจ มีคาํ ม่ันสัญญา
ขูเข็ญหลอกลวงหรอื โดยมิชอบประการอน่ื (มาตรา ๒๒๖)
ตามมาตรา ๒๒๖ น้ี ไดกําหนดหลักเกณฑสําคัญเกี่ยวกับการรับฟงพยานหลักฐานในคดี
อาญาวา หามมิใหรับฟงพยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยมิชอบเพื่อลงโทษจําเลยโดยเด็ดขาด โดยไมมี
ขอยกเวน ตางจากกรณพี ยานหลักฐานที่เกดิ ข้นึ โดยชอบ แตไ ดม าจากการกระทําโดยมิชอบ หรอื เปน พยาน

๔๘

หลักฐานท่ีไดมาโดยอาศัยขอมูลที่เกิดข้ึนโดยมิชอบ หรือขอมูลท่ีไดมาโดยมิชอบตามมาตรา ๒๒๖/๑
ซ่ึงมีขอยกเวนใหศาลรับฟงเปนพยานหลักฐานได หากการรับฟงพยานหลักฐานนั้นจะเปนประโยชน
ตอ การอาํ นวยความยตุ ธิ รรมมากกวา ผลเสยี อนั เกดิ จากผลกระทบตอ มาตรฐานของระบบงานยตุ ธิ รรม
ทางอาญา หรอื สทิ ธิเสรีภาพพนื้ ฐานของประชาชน

พยานท่ีจะพสิ ูจนวา จําเลยมคี วามผิดหรอื บรสิ ทุ ธ์ิ อาจเปน พยานวตั ถุ พยานเอกสาร หรือ
พยานบุคคล แตพยานดังกลาวตองมิไดเกิดจากการจูงใจ มีคาํ ม่ันสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือ
โดยมชิ อบดว ยประการอื่น

¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·äèÕ ´Œà¡´Ô ¢¹éÖ ÁªÔ ͺ»ÃСÒÃÍè¹×

พยานที่จะอางเพ่ือพิสูจนวาจาํ เลยมีความผิดหรือบริสุทธิ์อีกประการหนึ่งก็คือ พยานน้ัน
จะตองมิไดเกดิ ขึน้ โดยมชิ อบประการอืน่ (มาตรา ๒๒๖ ตอนทา ย)

พยานท่ีเกิดข้ึนโดยมิชอบประการอ่ืน เปนพยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยฝาฝนบทบัญญัติ
เกยี่ วกบั การไดม าซง่ึ พยานหลกั ฐาน ตาม ป.ว.ิ อ.หรอื ทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นกฎหมายอนื่ พจิ ารณาเปน รายกรณี
ดงั ตอไปน้ี

๑. คาํ ใหการในช้ันจบั กมุ หรือชนั้ รบั มอบตัว (มาตรา ๘๔ วรรคทา ย)
การรับฟงถอยคาํ ของผูถูกจับในช้ันจับกุม หรือช้ันรับมอบตัวผูถูกจับ แบงออกเปน

๒ กรณี คือ
๑.๑ ถอ ยคาํ ทเ่ี ปน คาํ รบั สารภาพวา ตนไดก ระทาํ ความผดิ หา มมใิ หร บั ฟง เปน พยาน

หลักฐาน ดังนั้น การวินิจฉัยพยานหลักฐานของศาล ศาล ไมอาจหยิบยกคาํ รับสารภาพในช้ันจับกุม
หรอื ชนั้ รบั มอบตวั วา จําเลยไดก ระทาํ ความผดิ มาประกอบพยานหลกั ฐานอน่ื เพอื่ ลงโทษจําเลยได สงั เกต
วา กรณนี เ้ี ปน กรณที ก่ี ฎหมายหา มมใิ หร บั ฟง โดยเดด็ ขาด ไมม ขี อ ยกเวน ใดๆ ทง้ั มใิ ชเ ปน พยานหลกั ฐาน
ทเี่ กดิ จากกระบวนการท่ีไมชอบดว ยกฎหมายอยา งหนึง่ อยางใด

ฎีกาท่ี ๑๒๕๕๔/๒๕๕๘ แมในช้ันจับกุมจาํ เลยท่ี ๑ ใหการรับสารภาพ
แต ป.ว.ิ อ.มาตรา ๘๔ วรรคทา ย หา มมิใหร บั ฟง เปน พยานหลักฐาน

อยางไรก็ตาม บทบัญญัติ ป.วิ.อ.มาตรา ๘๔ วรรคทาย ประสงคหามนํา
คาํ รับสารภาพรับฟงประกอบการลงโทษเฉพาะจาํ เลยคนที่ใหการรับสารภาพเทานั้น คํารับสารภาพ
ในสว นทพี่ าดพงิ จาํ เลยอน่ื วา รว มกระทาํ ความผดิ ดว ยนน้ั มใิ ชพ ยานหลกั ฐานทต่ี อ งหา มมใิ หร บั ฟง เปน
พยานหลกั ฐานตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๘๔ วรรคทา ย แตเปน พยานบอกเลา และคาํ ซดั ทอด ซงึ่ อาจรบั ฟง
ประกอบพยานหลักฐานอนื่ เพ่ือลงโทษจาํ เลยทถ่ี ูกพาดพิงไดต ามหลกั เกณฑต ามมาตรา ๒๒๖/๑ และ
มาตรา ๒๒๗/๑

ฎีกาท่ี ๑๓๑๙๙/๒๕๕๗ ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๔ วรรคส่ี บัญญตั ิเพื่อมงุ ประสงค
ทจี่ ะหา มมใิ หน ําคํารบั สารภาพในชน้ั จบั กมุ ของจําเลยที่ ๑ มารบั ฟง ประกอบการพจิ ารณาลงโทษจาํ เลย

๔๙

ที่ ๑ เทา นน้ั คําใหก ารในชนั้ จบั กมุ ของจําเลยที่ ๑ ในสว นทพ่ี าดพงิ ถงึ จําเลยท่ี ๒ วา รว มกระทําความผดิ
แมเ ปน พยานบอกเลาและเปน คาํ ซัดทอด เมือ่ ไมป รากฏวาจาํ เลยท่ี ๑ ไดรับประโยชนจากการซัดทอด
ถึงจาํ เลยท่ี ๒ ก็รับฟง ประกอบพยานหลักฐานอนื่ ทโี่ จทกส ง อา งเปน พยานตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒๒๖
โดยชอบ เพอ่ื พิจารณาลงโทษจาํ เลยที่ ๒ ได

คาํ ใหการของจาํ เลยในคดีความผิดตอ พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษฯ วารับ
เมทแอมเฟตามนี จากจาํ เลยอกี คนหนง่ึ มใิ ชค าํ ใหก ารรบั สารภาพรบั ฟง เปน พยานหลกั ฐานลงโทษจาํ เลย
คนหลงั ได

ฎีกาท่ี ๖๒๔๓/๒๕๕๔ บนั ทกึ การจับกมุ ระบุวา จาํ เลยท่ี ๑ และที่ ๒ ยนื ยนั
ใหการรบั สารภาพและจําเลยท่ี ๑ ใหการรายละเอยี ดแกเ จา พนักงานวารบั เมทแอมเฟตามีนของกลาง
มาจากจาํ เลยที่ ๒ ซ่ึงมิใชค ําใหการรบั สารภาพของจําเลยท่ี ๑ จึงรับฟงเปน พยานหลกั ฐานเพอ่ื พิสูจน
ความผิดของจาํ เลยท่ี ๒ ได

อยา งไรกต็ าม แมจ ะถอื วา คําใหก ารรบั สารภาพในชน้ั จบั กมุ ทร่ี บั ฟง เปน พยาน
หลกั ฐานไมไ ดต าม ป.วิ.อ.มาตรา ๘๔ วรรคทาย หมายถึง รบั ฟงเปนพยานหลักฐานยนั ตอจาํ เลยผูท ี่
ใหก ารรบั สารภาพไมไ ดเ ทา นน้ั แตอ าจรบั ฟง ยนั จําเลยอนื่ ได แตโ ดยลกั ษณะของคําใหก ารในชนั้ จบั กมุ
เปนพยานบอกเลาและเปนคําซัดทอด จึงตองพิจารณาตามหลักเกณฑมาตรา ๒๒๖/๑ และ
มาตรา ๒๒๗/๑ ดว ยวาจะรับฟงลงโทษจาํ เลยอืน่ ไดเพียงใด

แมบันทึกการจับกุมกระทาํ ข้ึนเน่ืองจากจําเลยถูกจับกุมในคดีอื่นก็รับฟง
ถอยคํารบั สารภาพดงั กลา วในช้นั จบั กุมไมไ ด

ฎีกาท่ี ๑๙๖๗๒/๒๕๕๕ แมบันทกึ คํารบั สารภาพจําเลยกระทาํ ขึ้นเนือ่ งจาก
จาํ เลยถูกจับในคดีอ่ืน แตในบันทึกนั้น จําเลยก็ไดกลาวถึงการที่จาํ เลยใชอาวุธปนยิงผูตาย อันมี
ลักษณะเปนถอยคาํ รับสารภาพวาจําเลยผูถูกจับกุมไดกระทาํ ความผิด จึงตองหามมิใหรับฟงเปน
พยานหลักฐานตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๔ วรรคทาย

๑.๒ ถอยคาํ อื่น ท่ีมิใชคํารับสารภาพวาตนไดกระทาํ ความผิด ศาลจะรับฟงเปน
พยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของผูถูกจับไดตอเม่ือมีการแจงสิทธิตามมาตรา ๘๔ วรรคหน่ึง
หรือตามมาตรา ๘๓ วรรคสอง (มาตรา ๘๔ วรรคทา ย) ถาไมมกี ารแจงสิทธทิ ัง้ สองประการดังกลาว
ศาลกไ็ มอ าจรับฟง ถอ ยคาํ อ่นื ของผูถกู จบั เปน พยานหลกั ฐานได

การแจงสิทธิตามมาตรา ๘๓ วรรคสอง ซ่ึงเปนกรณีเจาพนักงานเปนผูจับ
โดยเจา พนักงานผจู บั

๑. ตอ งแจง ขอ กลา วหา
๒. แจง สทิ ธิแกผูถ ูกจับทราบวา ผถู กู จับมสี ิทธิจะไมใหก ารหรือใหก ารกไ็ ด
๓. แจงสิทธิทีจ่ ะพบและปรกึ ษาทนายความหรอื ผซู ง่ึ จะเปน ทนายความ และ

๕๐

๔. ผูถูกจับอาจแจงใหญาติหรือผูที่ตนไววางใจทราบถึงการจับกุมได
แตต อ งเปนการดาํ เนนิ การไดโ ดยสะดวกและไมเ ปน การขดั ขวางการจบั หรอื ควบคมุ ผถู ูกจับ หรอื ทาํ ให
ไมเกิดความปลอดภยั แกบ ุคคลหน่งึ บคุ คลใด

คําวา ถอ ยคําอนื่ เชน รบั วา อาวธุ ของกลางเปน ของตนเอง หลงั เกดิ เหตตุ นไดน ําไปซกุ ซอ น
ไวทใ่ี ด หรอื ขณะเกดิ เหตตุ นอยใู นท่เี กดิ เหตุดว ย หรือพฤตกิ ารณแ หง คดอี ่ืนๆ

สงั เกตวา ถาเจาพนกั งานผจู ับไมไ ดแจงสทิ ธติ ามมาตรา ๘๓ วรรคสอง มีผลทําใหต องหา ม
มิใหรับฟงถอยคาํ อ่ืนเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของผูถูกจับได ซ่ึงเปนผลท่ีบัญญัติไว
ตามมาตรา ๘๔ วรรคทาย เปนการเฉพาะแลว จึงไมใชกรณีตองหามมิใหรับฟงตามมาตรา ๒๒๖
ดังนี้ เม่อื บทบญั ญตั มิ าตรา ๘๔ วรรคทา ย บัญญตั ิใหม ผี ลมิใหรับฟง ถอยคาํ อ่นื ในการพสิ ูจนค วามผดิ
ของผูถูกจับเทานั้น ถาถอยคาํ ดังกลาวเปนคาํ ซัดทอดวาผูอ่ืนเปนผูกระทาํ ความผิด ก็อาจเปนพยาน
หลกั ฐานในฐานเปน คาํ ซดั ทอดในการพสิ จู นค วามผดิ ของผถู กู ซดั ทอดได แตศ าลคงตอ งรบั ฟง ดว ยความ
ระมัดระวัง โดยไมอาจรบั ฟง โดยลําพงั เพ่อื ลงโทษจําเลยได (มาตรา ๒๒๗/๑ วรรคหน่ึง)

ฎีกาท่ี ๑๒๘๐/๒๕๕๗ จาํ เลยทั้งสองขับรถหลบหนีทันทีท่ีเห็นเจาพนักงานตาํ รวจ
จนถกู ตดิ ตามจบั กมุ ตวั ไดพ รอ มประแจและคมี อนั เปน เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ นการลกั รถจกั รยานยนตไ ดโ ดยงา ย
แลวรับในขณะน้ันวารวมกันกอเหตุลักรถจักรยานยนตของผูเสียหายและของบุคคลอื่นอีกหลายราย
ในหลายทองที่ แลวถอดแผนปายทะเบียนท้ิงบอน้ํา และนาํ รถจักรยานยนตไปขายใหรานขาย
ของเกา ในเขตอาํ เภอพานทองตามบนั ทกึ การจบั กมุ และเจา พนกั งานตํารวจยงั ตามไปตรวจยดึ ไดแ ผน
ปายทะเบยี นรถจักรยานยนตของผเู สยี หายในบอนํ้า ตามที่จาํ เลยทงั้ สองนาํ ชี้ บันทึกการจับกุมดงั กลา ว
นอกจากเปนถอยคํารับสารภาพของจาํ เลยท้ังสองแลว ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับสถานที่นําทรัพยท่ีลัก
ไปขาย และการนําชี้จุดทิ้งแผนปายทะเบียนดวย อันเปนถอยคาํ อ่ืนที่อาจรับฟงเปนพยานหลักฐาน
ในการพสิ จู นความผิดของจาํ เลยทัง้ สองได ทงั้ ปรากฏวา เจา พนักงานตํารวจแจงสิทธแิ กจ าํ เลยท้งั สอง
กอ นทีจ่ ะใหถอ ยคาํ ดังกลาวแลว จงึ ไมตองหา มมใิ หรับฟงตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๘๔ วรรคทา ย

การไมแจงสิทธิดังกลาว หรือแจงสิทธิไมครบถวน ยอมมีผลทําใหไมอาจรับฟงถอยคําอ่ืน
ในชน้ั จบั กุมหรือรบั มอบตวั เปน พยานหลักฐานเพื่อพสิ ูจนความผิดของผถู กู จบั ได

ฎกี าที่ ๘๑๔๘/๒๕๕๑ เจา พนกั งานตํารวจเปน ผจู บั จาํ เลยมใิ ชร าษฎรเปน ผจู บั จงึ ไมม กี รณี
ที่จะตองแจงสทิ ธติ าม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๔ วรรคหน่ึง แตเจาพนกั งานตํารวจผูจับตอ งแจง สทิ ธิตาม ป.ว.ิ อ.
มาตรา ๘๓ วรรคสอง เม่อื บนั ทกึ การจับกุมมีขอ ความวา จําเลยใหการรบั สารภาพ จึงตองหา มมใิ หน ํา
คาํ รับสารภาพในชั้นจับกุมของผูถูกจับมารับฟงเปนพยานหลักฐานตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๔ วรรคส่ี
และเม่ือบันทึกการจับกุมไมมีขอความใดที่บันทึกการแจงสิทธิแกจําเลยผูถูกจับตามท่ี ป.วิ.อ. มาตรา ๘๓
วรรคสอง บัญญัติเลย ท้ังพยานโจทกท่ีรวมจับกุม ก็ไมไดเบิกความถึงเร่ืองการแจงสิทธิแตอยางใด
แมโจทกจะสงบันทึกการแจงสิทธิผูถูกจับมาพรอมกับบันทึกการจับกุมในช้ันพิจารณาสืบพยานโจทก
แตบันทึกการแจงสิทธิผูถูกจับดังกลาวมีลักษณะเปนแบบพิมพเติมขอความในชองวางดวยนา้ํ หมึก

๕๑

เขียนโดยเจาพนักงานตํารวจผูบันทึกเปนคนละคนกับท่ีเขียนบันทึกการจับกุม ท้ังใชปากกาคนละดาม
และไมม ขี อ ความวา ผถู กู จับมีสิทธิจะใหก ารหรอื ไมใ หการกไ็ ด กับไมมีขอ ความวาถอยคาํ ของผถู ูกจับ
นนั้ อาจใชเ ปน พยานหลกั ฐานในการพจิ ารณาคดไี ดแ ตอ ยา งใด แมจ ะมขี อ ความแจง สทิ ธเิ รอื่ งทนายความ
ก็เปน การแจง สทิ ธิไมครบถวนตามที่ ป.วิ.อ. มาตรา ๘๓ วรรคสองบัญญตั ิ ฉะนน้ั ถอ ยคาํ อื่นของจําเลย
ตามบันทึกการจับกุม จะรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของจําเลยหาไดไมเชนกัน
ดังนั้น บันทกึ การจบั กุมจงึ ไมอ าจอางเปนพยานหลักฐานได เพราะเปน พยานหลักฐานทเี่ กิดขนึ้ โดยไมช อบ
ท้งั น้ี ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒๒๖

ฎีกาที่ ๑๑๕๒/๒๕๕๖ ถอยคําของจําเลยในบันทกึ การจับกุมจาํ เลยท่วี า จําเลยรูจกั และ
มีความสัมพันธลึกซ้ึงกับ ส. จาํ เลยในคดีอาญาอีกเรื่องหนึ่งมาประมาณ ๒ เดือน และจาํ เลยขับรถ
ไปรบั ส. มใิ ชเปน คาํ รบั สารภาพของผูถกู จับวาตนไดก ระทาํ ความผดิ เมือ่ เจาพนกั งานตาํ รวจผูจับไดแจง
สิทธิใหแกจาํ เลยทราบแลววา จําเลยมีสิทธิท่ีจะใหการหรือไมก็ได และถอยคาํ ของจาํ เลยอาจใชเปน
พยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได จึงรับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของจําเลยได
ตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๘๔ วรรคทาย

ฎีกาท่ี ๕๙๕๗/๒๕๕๕ ถอยคาํ ตามบันทึกการจับกุมทว่ี า มกี ารตรวจคนพบธนบตั รท่ีใชลอซ้ือ
และจาํ เลยรับวาเปนธนบัตรท่ีตนไดมาจากการจําหนายเมทแอมเฟตามีนจริง กับคําเบิกความของ
รอยตํารวจเอก ก. และดาบตาํ รวจ ท. ที่ยืนยันวา จาํ เลยรบั วาตนกัญชาตนเปน ผปู ลกู ดังท่ีศาลอทุ ธรณ
ภาค ๕ หยิบยกข้ึนวินิจฉัยน้ัน เปนเพียงถอยคําอ่ืนที่จาํ เลยใหไวแกเจาพนักงานตํารวจผูจับกุม
มใิ ชคาํ ใหการรบั สารภาพในช้นั จับกมุ จําเลย เมอื่ ปรากฏตามบันทึกการจบั กุมวา เจาพนักงานตํารวจ
ผูจ ับกมุ แจง สิทธิแกจาํ เลยครบถว นตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๓ วรรคสอง แลว การท่ีศาลอุทธรณภาค ๕
นําถอยคาํ อื่นของจาํ เลยมารับฟงเปนพยานหลักฐานในการพิสูจนความผิดของจําเลยฐาน
มีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพ่ือจาํ หนายและจาํ หนายเมทแอมเฟตามีนกับฐานผลิตกัญชา
จงึ ชอบดวย ป.ว.ิ อ. มาตรา ๘๔ วรรคทา ยแลว

ฎกี าท่ี ๓๑๒/๒๕๕๕ ศาลไมไดร ับฟง คาํ ใหก ารรับสารภาพของจําเลยทง้ั สามวา ไดก ระทํา
ความผิดในชั้นจับกุมมารับฟงใหเปนผลรายแกจาํ เลยท้ังสาม เพียงแตรับฟงถอยคาํ อ่ืนๆ ท่ีประกอบ
ในรายละเอียดของบันทึกการจับกุมเก่ียวกับการติดตอนาํ เงินมาใชลอซื้อเมทแอมเฟตามีนของ
เจาพนกั งานตาํ รวจเทา นัน้ ซ่งึ ไมมกี ฎหมายหามมใิ หร ับฟง

¡Ã³·Õ èÕ ò ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·äèÕ ´ÁŒ Òâ´ÂÁԪͺ
สําหรับพยานหลักฐานกรณีนี้ตางจากกรณีแรก กลาวคือ เปนพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นมา
โดยชอบ มมี าเองตามธรรมชาติ เพียงแตการไดมาหรอื กระบวนการไดพยานหลักฐานมานัน้ ไมชอบดว ย
กฎหมาย เชน การเขาคนยาเสพติดโดยไมมีหมายคน การดักฟงโทรศัพทโดยไมไดรับอนุญาต
ซ่ึงพยานหลักฐานท้ังยาเสพติดและคาํ สนทนาของผูตองหานั้นมีอยูกอนแลว หรือเกิดขึ้นเองโดย

๕๒

เจาพนักงานไมไดสรางข้ึนมาเองโดยการจัดสรรปนแตง เพียงแตการไดมาน้ันไมชอบดวยกฎหมายเชนนี้
หลกั กฎหมายจึงบัญญัตไิ วว า จะรับฟง ไดมากนอยเพียงใดข้นึ อยูกบั มาตรา ๒๒๖/๑

ÁÒμÃÒ òòö/ñ ในกรณีที่ความปรากฏแกศ าลวา พยานหลักฐานใดเปนพยานหลกั ฐาน
ทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยชอบ แตไ ดม าเนอ่ื งจากการกระทําโดยมชิ อบ หรอื เปน พยานหลกั ฐานทไ่ี ดม าโดยอาศยั ขอ มลู
ทีเ่ กิดขน้ึ หรือไดม าโดยมิชอบ หามมใิ หศ าลรับฟง พยานหลักฐานน้นั เวน แตการรบั ฟง พยานหลกั ฐานนน้ั
จะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอมาตรฐาน
ของระบบงานยตุ ธิ รรมทางอาญา หรอื สทิ ธเิ สรภี าพพนื้ ฐานของประชาชนในการใชด ลุ พนิ จิ รบั ฟง พยาน
หลักฐานตามวรรคหน่ึง ใหศาลพิจารณาถึงพฤติการณท้ังปวงแหงคดี โดยตองคํานึงถึงปจจัยตางๆ
ดังตอ ไปนด้ี ว ย

(๑) คุณคาในเชิงพสิ ูจน ความสาํ คญั และความนาเชื่อถอื ของพยานหลกั ฐานน้ัน
(๒) พฤตกิ ารณแ ละความรา ยแรงของความผดิ ในคดี
(๓) ลักษณะและความเสยี หายท่ีเกิดจากการกระทําโดยมชิ อบ
(๔) ผูที่กระทําการโดยมิชอบอันเปนเหตุใหไดพยานหลักฐานมานั้นไดรับการลงโทษ
หรอื ไมเพยี งใด (มาตรา ๒๒๖/๑ วรรคสอง)
ขอสังเกต เดิมกอนแกไขเพิ่มเติม ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖/๑ เร่ืองการหามรับฟงพยาน
หลกั ฐานทไ่ี ดม าโดยมชิ อบในป ๒๕๕๑ นนั้ ศาลฎกี าแปลความ ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒๒๖ ซงึ่ เปน หลกั ในการ
รับฟงพยานหลักฐานในคดีอาญาวากฎหมายหามรับฟงพยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยมิชอบมิไดหาม
รบั ฟง พยานหลกั ฐานทเี่ กดิ ขน้ึ โดยชอบแตไ ดม าโดยมชิ อบแตอ ยา งใด ดงั จะเหน็ ไดจ ากฎกี าที่ ๕๐๐/๒๔๗๔
ทว่ี า แมค าํ รบั สารภาพทเี่ กดิ ขนึ้ โดยมชิ อบดว ยกฎหมายจะรบั ฟง ไมไ ด แตพ ยานอนื่ ทไ่ี ดจ ากคาํ รบั มชิ อบ
ดงั กลาวเปน พยานทร่ี ับฟงได (ฎีกาท่ี ๘๓๗/๒๔๘๓ ก็วนิ จิ ฉยั ทํานองเดยี วกนั ) เม่อื มกี ารแกไขเพมิ่ เตมิ
ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖/๑ ดังกลาว ขอวินิจฉัยที่ปรากฏตามคําพิพากษาศาลฎีกาขางตนจึงไมอาจยึดถือ
ไดเปน หลักไดอีกตอไป
สรปุ พยานหลักฐานทร่ี ับฟง ไมไดต ามบทบัญญัติมาตรา ๒๒๖, ๒๒๖/๑ ไดแก
๑. พยานหลกั ฐานที่เกิดขน้ึ โดยมิชอบ (มาตรา ๘๔ วรรคทาย, ๑๓๔/๔ วรรคทาย, ๒๒๖)
๒. พยานหลักฐานที่เกิดข้ึนโดยชอบ แตไดมาเนื่องจากการกระทาํ โดยมิชอบ (มาตรา
๒๒๖/๑)
๓. พยานหลักฐานที่ไดม าโดยอาศัยขอ มลู ท่ีเกดิ ขึ้นหรือไดม าโดยมิชอบ (มาตรา ๒๒๖/๑)
กรณีพยานหลักฐานท่ีเกิดขึ้นโดยมิชอบ ตามมาตรา ๒๒๖ เปนพยานหลักฐานที่รับฟง
ไมไ ดโดยเด็ดขาด สว นพยานหลกั ฐานทีไ่ ดมาโดยมิชอบตามมาตรา ๒๒๖/๑ โดยหลกั รับฟงไมไ ดเ ชน กนั
แตม ขี อ ยกเวน ใหร บั ฟง ได ถา การรบั ฟง พยานหลกั ฐานนน้ั จะเปน ประโยชนต อ การอาํ นวยความยตุ ธิ รรม
มากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพ
พน้ื ฐานของประชาชน

๕๓

ฎีกาท่ี ๒๒๘๑/๒๕๕๕ การแอบบันทึกเทปขณะที่มีการสนทนากันระหวางโจทกรวม
กบั พยานและจําเลยที่ ๒ โดยที่โจทกรว มและพยานไมทราบมากอน เปนการแสวงหาพยานหลกั ฐาน
โดยมิชอบ หา มมใิ หศ าลรบั ฟงเปน พยานนั้นตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ แมหลักกฎหมายดงั กลาวจะใชต ัด
พยานหลกั ฐานของเจา พนกั งานของรฐั เพอ่ื คมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนมใิ หเ จา พนกั งานของรฐั
ใชวธิ กี ารแสวงหาพยานหลกั ฐานโดยมิชอบ แต ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒๒๖ ไมไ ดบัญญัตหิ ามไมใหน ําไปใช
กบั การแสวงหาพยานหลกั ฐานของบคุ คลธรรมดา อยา งไรกต็ าม ระหวา งพจิ ารณาคดไี ดม ี พ.ร.บ.แกไข
เพม่ิ เตมิ ป.ว.ิ อ. (ฉบบั ที่ ๒๘) พ.ศ.๒๕๕๑ มผี ลบงั คบั ใชต ง้ั แตว นั ท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๑ โดยมาตรา ๑๑
บัญญัติใหเพิ่มมาตรา ๒๒๖/๑ ป.วิ.อ. กาํ หนดใหศาลรับฟงพยานหลักฐานที่ไดมาโดยมิชอบได
ถาพยานหลักฐานนั้นจะเปนประโยชนตอการอาํ นวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจาก
ผลกระทบตอมาตรฐานของระบบงานยตุ ธิ รรมทางอาญา ศาลจงึ นาํ บันทกึ เทปดงั กลา วมารบั ฟง ได

ขอสังเกต เร่ืองนี้ถือวาการหลอกลอใหคูสนทนาพูดเร่ืองท่ีตนเองตองการแลวแอบบันทึก
เสียงการสนทนาน้นั ไว ถอื เปน พยานหลกั ฐานท่เี กดิ ขึ้นโดยไมช อบตามมาตรา ๒๒๖ ซึ่งโดยปกติหา ม
มิใหรับฟงเปนพยานหลักฐานโดยเด็ดขาด ไมมีขอยกเวน ตางจากกรณีตามมาตรา ๒๒๖/๑ ซึ่งเปน
กรณที เ่ี ปน พยานหลักฐานทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยชอบแตไดม าโดยมชิ อบ ซ่ึงมีขอ ยกเวน ใหศ าลรบั ฟงไดถ า พยาน
หลักฐานนั้นจะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอ
มาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญา แตตามคาํ พิพากษาฎีกาเรื่องน้ีดูเหมือนจะขยายขอบเขต
บทบัญญัติมาตรา ๒๒๖/๑ ใหรวมถึงพยานหลักฐานที่เกิดข้ึนโดยไมชอบตามมาตรา ๒๒๖ ใหใช
ขอยกเวน เดยี วกนั ดวย

พยานหลักฐานท่เี กดิ ข้ึนโดยชอบ แตไดมาเนื่องจากการกระทาํ โดยมชิ อบ
พยานหลักฐานทีเ่ กิดขึ้นโดยชอบแตไ ดมาเนอื่ งจากการกระทําโดยมิชอบ กฎหมายหามมิให
รับฟงพยานหลักฐาน แตม ิไดห า มรบั ฟงโดยเด็ดขาด กลา วคอื ศาลรบั ฟงเปน พยานหลกั ฐานได ถาการ
รับฟงพยานหลักฐานน้ันจะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผล
กระทบตอ มาตรฐานของระบบงานยตุ ธิ รรมทางอาญาหรอื สทิ ธเิ สรภี าพพนื้ ฐานของประชาชน โดยศาล
ตองคาํ นงึ ถึงพฤตกิ ารณทั้งปวงแหง คดีและปจ จัยตา งๆ ตามท่รี ะบไุ ว (๑) ถึง (๔) ของมาตรา ๒๒๖/๑
วรรคสอง
อาวุธที่ใชในการกระทําความผิด หรือยาเสพติดใหโทษของกลางท่ีเจาพนักงานตํารวจ
ตรวจยดึ ไดจ ากการคน ทไ่ี มช อบดว ยกฎหมาย ดงั นี้ ของกลางดงั กลา วเปน พยานหลกั ฐานทม่ี อี ยแู ลว กอ น
เจาพนักงานตํารวจทําการคน ไมไดเกิดจากการกระทําของเจาพนักงานตํารวจจึงเปนพยานหลักฐานท่ีเกิด
ข้ึนโดยชอบ แตไดมาเนื่องจากการกระทําโดยมิชอบ โดยหลักรับฟงเปนพยานหลักฐานไมได เชน
การคน ทม่ี ไิ ดก ระทาํ ตอ หนา ผคู รอบครองสถานทหี่ รอื บคุ คลในครอบครวั หรอื ตอ หนา บคุ คลอน่ื อยา งนอ ย
สองคน หรือกรณีเชิญบุคคลอื่นมาเปนพยานตองเชิญมาขณะตรวจคนพบของกลาง ถาเชิญมาเปน
พยานหลงั ตรวจคนแลว กเ็ ปนการไมช อบเชนกัน

๕๔

ฎกี าท่ี ๔๗๙๓/๒๕๔๙ การคน พบธนบตั รของกลางในขอ งปลาทแี่ ขวนอยขู า งบา นทศิ ตะวนั ออก
นอกจากมิไดก ระทําตอหนาจาํ เลยหรือสามจี าํ เลย ท้งั ๆ ท่จี ําเลยก็ถกู จับและควบคุมตัวอยทู หี่ นา บาน
น้ันเองแลว ยังไดความวาการพบธนบัตรในของปลาก็เปนเรื่องท่ีในชั้นแรก สิบตาํ รวจตรี พ. คนพบ
เพยี งคนเดยี วกอ น แลว จงึ เรยี กกํานนั ทเ่ี ชญิ มาเปน พยานในการคน มาดู หาใชว า เปน การคน พบธนบตั ร
ของกลางทพ่ี บตอ หนา บุคคลอืน่ อยางนอยสองคน ซ่ึงเจาพนักงานไดข อรองมาเปนพยานดังท่ี ป.ว.ิ อ.
มาตรา ๑๐๒ ไดกําหนดหลักเกณฑไวไม พยานหลักฐานโจทกเก่ียวกับการคนพบธนบัตรของกลาง
ซ่ึงเจา พนักงานผูตรวจคน มิไดป ฏิบตั ิใหถูกตองตามหลักเกณฑท ีก่ ฎหมายกาํ หนด จงึ ไมม นี าํ้ หนกั เพียงพอ
ทศ่ี าลจะรบั ฟง

กรณีการคนโดยไมมีหมายคนนี้ ศาลฎีกาเคยวินิจฉัยกอนเพิ่มเติมบทบัญญัติมาตรา ๒๒๖/๑
วา เปนเร่ืองที่ตองไปวากลา วอีกสว นหนง่ึ ตางหาก ไมมีผลทาํ ใหการแสวงหาพยานหลกั ฐานทีช่ อบดวย
กฎหมายเปนไมช อบดว ยกฎหมาย

ฎกี าที่ ๖๓๙๑/๒๕๔๗ การที่จําเลยที่ ๑ รบั อยูแลว วาของกลางถูกยึดจากบา นจําเลยที่ ๑
ตามบันทึกการตรวจคน ก็ปรากฏมีลายมือชื่อผูครอบครองบานลงรับรองไววา เจาพนักงานตํารวจ
ปฏิบัติอยูในกรอบของกฎหมาย โดยมิไดมีการบังคับขูเข็ญ เหตุท่ีเจาพนักงานตํารวจไปตรวจคนบาน
จําเลยท่ี ๑ เนอื่ งจากจาํ เลยท่ี ๒ ซดั ทอดวา ลกั เอาทรพั ยไ ปขายใหแกจ าํ เลยที่ ๑ การไปตรวจคนบา น
จําเลยที่ ๑ จึงมิใชเปนเรื่องของการกล่ันแกลง สวนการตรวจคนจะมิชอบดวยกฎหมายอยางไร
เพราะเปนการคนโดยไมมีหมายคนเปนเร่ืองจะตอ งไปวากลาวกนั อกี สว นหนึ่ง

ฎีกาท่ี ๕๑๔๔/๒๕๔๘ การตรวจคนอาจมิชอบดวยกฎหมาย เพราะเปนการตรวจคน
โดยไมม หี มายคน กเ็ ปน เรอ่ื งทจ่ี ะไปวา กลา วกนั อกี สว นหนงึ่ ตา งหาก หามผี ลทําใหก ารแสวงหาพยาน
หลกั ฐานของเจาพนกั งานตาํ รวจท่ีชอบเปน ไมชอบดวยกฎหมายไปได

ขอ สงั เกต ในการชงั่ นาํ้ หนักพยานหลกั ฐานกรณกี ารคนท่มี ิไดก ระทําใหถูกตองตามมาตรา
ศาลฎีกาฟง วาไมมีน้าํ หนกั เพียงพอท่ีจะรบั ฟง หรือการคน โดยไมมหี มายคน ศาลฎกี ารับฟงพยานหลกั ฐาน
ทเี่ กดิ จากการตรวจคน โดยมชิ อบ กรณเี หลา นถี้ อื เปน พยานหลกั ฐานทเี่ กดิ ขนึ้ โดยชอบ (หมายความวา
ยาเสพตดิ ใหโ ทษของกลางมีอยูจริง ไมไดเกิดจากการกลนั่ แกลงใสรา ย) แตไดม าเนื่องจากการกระทํา
โดยมิชอบ (การตรวจคนและการยึดมาเปนของกลาง) ดังน้ัน หากพิจารณาตามมาตรา ๒๒๖/๑
ทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ ใหมแ ลว ศาลจะรบั ฟง พยานหลกั ฐาน (เชน ยาเสพตดิ ใหโ ทษของกลางหรอื ของกลางอนื่
ท่ีไดจากการตรวจคน) นั้นไมได เวนแตการรับฟงพยานหลักฐานนั้น จะเปนประโยชนตอการ
อํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอมาตรฐานระบบงานยุติธรรมทางอาญา
หรือสิทธิพ้ืนฐานของประชาชน ทั้งนี้ จะตองพิจารณาพฤติการณแหงคดี และปจจัยอ่ืนท้ัง ๔ ขอ
ตามมาตรา ๒๒๖/๑ ประกอบดวย

การรบั ฟง พยานหลกั ฐานทไี่ ดม าโดยมชิ อบน้ี หมายความเฉพาะการรบั ฟง ตวั พยานหลกั ฐาน
ที่ไดมาโดยมิชอบนั้นเทานั้น สวนพยานหลักฐานอ่ืนจะรับฟงไดหรือไม เพียงใด เปนอีกกรณีหน่ึง

๕๕

นอกจากน้ีพยานหลักฐานท่ีไดมาโดยมิชอบน้ี ไมมีผลกระทบทาํ ใหการสอบสวนไมชอบดวยกฎหมาย
ไปได พนกั งานอยั การจงึ มีอํานาจฟองอยู

ฎีกาท่ี ๑๔๙๓/๒๕๕๐ การตรวจคนและการจับกุมของเจาพนักงานตาํ รวจจะชอบดวย
กฎหมายหรือไม เปนเร่ืองท่ีจะตองไปวากลาวกันอีกสวนหน่ึงตางหาก และเปนคนละขั้นตอนกับการ
สอบสวน ไมมีผลกระทบไปถงึ การสอบสวนของพนกั งานสอบสวนและอํานาจในการฟอ งคดขี องโจทก
ทั้งหามีผลทําใหการแสวงหาพยานหลักฐานของเจาพนักงานตาํ รวจท่ีชอบเปนไมชอบดวยกฎหมาย
ไปดว ยหาไดไ ม

เมื่อมีการจับและคนโดยชอบดวยกฎหมาย พยานหลักฐานของโจทกท่ีไดมาก็ชอบดวย
กฎหมาย

ฎกี าที่ ๑๓๒๘/๒๕๔๔ นายดาบตาํ รวจ ว. กบั พวกเห็นจาํ เลยจาํ หนา ยเมทแอมเฟตามนี
ใหแกส ายลบั เม่อื เขาไปตรวจคน บานจาํ เลยก็พบเมทแอมเฟตามนี อีก ๑ เม็ด การกระทําของนายดาบ
ตํารวจ ว. กบั พวกกระทาํ ตอ เนอื่ งกนั เมอ่ื พบเหน็ จาํ เลยจําหนา ย และมยี าเสพตดิ ใหโ ทษไวใ นครอบครอง
เพื่อจําหนาย อันเปนความผิดซึ่งหนาตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๐ จึงมีอํานาจจับจําเลยไดโดยไมตอง
มีหมายจับตามมาตรา ๗๘ (๑) เมื่อเปนการตรวจคนและจับจําเลยโดยชอบดวยกฎหมาย
พยานหลกั ฐานของโจทกจึงมใิ ชพ ยานหลักฐานทไ่ี ดม าโดยมิชอบดวยมาตรา ๒๒๖

ฎกี าที่ ๑๑๖๔/๒๕๔๖ การคนบา นท่ีเกดิ เหตุ เจา พนักงานตํารวจไดแ สดงบตั รประจาํ ตวั
เจาพนักงานแก พ. เจาของบานซึง่ เปน มารดาของจาํ เลยและไดรับความยินยอมแลว เมอ่ื ไมปรากฏวา
เจาพนักงานตํารวจไดขูเข็ญหรือหลอกลวงให พ. ใหความยินยอมในการคนแมการคนจะทําโดยไมมี
หมายคน กห็ าไดเ ปน การคน ทม่ี ชิ อบแตอ ยา งใดไม ประกอบกบั กอ นทาํ การคน เจา พนกั งานตาํ รวจเหน็
จําเลยโยนส่ิงของออกไปนอกหนาตาง เม่ือตรวจสอบดูพบวาเปนเมทแอมเฟตามีน จึงเปนกรณีท่ี
เจาพนักงานตาํ รวจพบจําเลยกระทําความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองอันเปนความผิด
ซงึ่ หนา และไดกระทําลงในท่รี โหฐานเจา พนกั งานตาํ รวจยอ มมีอาํ นาจจบั จําเลยไดโดยไมตองมีหมายจับ
หรอื หมายคนตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๗๘ (๑), ๙๒ (๒) เมทแอมเฟตามนี จาํ นวน ๘๐ เมด็ ท่ีเจาพนักงาน
ตาํ รวจยึดได จึงนํามารับฟง ประกอบคาํ รบั สารภาพของจาํ เลยได

เทปหรอื ซดี บี นั ทกึ เสยี ง ถอื เปน พยานหลกั ฐานอยา งหนงึ่ ทพ่ี สิ จู นค วามผดิ หรอื บรสิ ทุ ธข์ิ อง
จําเลยได จึงอางเปนพยานหลักฐานได สังเกตวาการบันทึกเสียงอาจเปนการบันทึกโดยตั้งใจหรือไม
ตง้ั ใจท่จี ะใชเ ปน พยานหลกั ฐานในภายหลังกถ็ ือเปน พยานหลักฐานอยางหนงึ่

ฎีกาท่ี ๑๐๒๗๒/๒๕๕๓ เทปบนั ทกึ เสยี งของกลางซ่งึ พบทบี่ า นจาํ เลยเปนพยานหลักฐาน
อยางหน่ึงที่พิสูจนความผิดหรือความบริสุทธ์ิของจาํ เลย จาํ เลยมิไดตอสูหรือปฏิเสธความถูกตอง
ของเสียงท่มี กี ารบันทกึ ไว จึงรบั ฟง เปนพยานหลักฐานได

๕๖

การรบั ฟงเทปหรอื ซดี บี ันทึกเสยี งหรอื ขอความทีถ่ อดออก แบงออกเปน ๒ กรณี
๑. กรณีคูสนทนาเปนผูบันทึก เปนการบันทึกคาํ สนทนาของตนเองกับคูสนทนา
เปนสิทธิที่จะกระทําได ไมถือวาเทปหรือซีดีบันทึกเสียงหรือเอกสารที่ถอดขอความดังกลาวเปน
พยานหลักฐานท่เี กดิ จากการกระทําโดยมชิ อบตามมาตรา ๒๒๖
ฎีกาที่ ๑๑๒๓/๒๕๐๙ (ประชุมใหญ) ศาลเชื่อวา จาํ เลยไดถูกบันทึกเสียงไวถึง ๖ ครั้ง
ยากท่ีจะมีใครมาเลยี นเสียงที่จาํ เลยพูดไดเ ปนชัว่ โมงๆ ไมใ ชว า ศาลชัน้ ตน จะรับฟง ลาํ พงั แตเทปอัดเสียง
ของจําเลยมาลงโทษจําเลยก็หาไม ศาลเช่ือวาโจทกรวมไดอัดเสียงจําเลยไวจริง จึงไมขัดตอ ป.วิ.อ.
มาตรา ๒๒๖
ฎีกาท่ี ๔๖๗๔/๒๕๔๓ การที่จําเลยอางสงเทปบันทึกเสียงซ่ึงบันทึกการสนทนาระหวาง
โจทกและจําเลยพรอมเอกสารที่ถอดขอความบันทึกการสนทนาเปนพยานหลักฐานนั้นนับเปนพยาน
หลกั ฐานซ่งึ เกยี่ วถึงขอ เทจ็ จรงิ ทจ่ี ําเลยจะนําสบื ในประเด็นเรื่องการใชเ งนิ แมโ จทกจะไมทราบวามีการ
บนั ทึกเสียงไวกต็ าม แตเมือ่ เสียงที่ปรากฏเปนเสยี งของโจทกจริง และการบนั ทึกเสียงดังกลา วเกดิ จาก
การกระทําของจาํ เลยซง่ึ เปน คสู นทนาอกี ฝา ยหนง่ึ เปน ผบู นั ทกึ เสยี งไว ซง่ึ โดยปกตจิ าํ เลยยอ มมสี ทิ ธทิ จ่ี ะ
เบกิ ความอา งถงึ การสนทนาในครงั้ นน้ั ไดอ ยแู ลว จงึ ไมถ อื วา เทปบนั ทกึ เสยี งและเอกสารทถ่ี อดขอ ความ
นนั้ เปน การบนั ทกึ ถอ ยคําซง่ึ เกดิ จากการกระทาํ โดยมชิ อบอนั จะตอ งมใิ หร บั ฟง เปน พยานหลกั ฐานตาม
รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๒๔๓ วรรคสอง
แตถาเปนกรณีหลอกลอใหคูสนทนามาเจรจาพูดจากัน แลวมีการแอบบันทึกเสียงไว
ถือเปนการแสวงหาพยานหลักฐานโดยไมชอบตามมาตรา ๒๒๖ แตศาลอาจรับฟงไดตามหลักเกณฑ
ตามมาตรา ๒๒๖/๑
ฎีกาท่ี ๒๒๘๑/๒๕๕๕ การแอบบันทึกเทปขณะท่ีมีการสนทนากันระหวางโจทกรวม
กับพยานและจําเลยที่ ๒ โดยท่โี จทกรวมและพยานไมทราบมากอ น เปนการแสวงหาพยานหลักฐาน
โดยมิชอบหามมใิ หศาลรับฟง เปน พยานน้นั ตาม ป.ว.ิ อ. มาตรา ๒๒๖ แมห ลักกฎหมายดังกลาวจะใชตดั
พยานหลกั ฐานของเจา พนกั งานของรฐั เพอ่ื คมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนมใิ หเ จา พนกั งานของรฐั
ใชว ธิ ีการแสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบ แต ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ ไมไ ดบญั ญัตหิ า มไมใหนําไปใช
กับการแสวงหาพยานหลักฐานของบุคคลธรรมดา อยา งไรก็ตาม ระหวา งพจิ ารณาคดีไดมี พ.ร.บ.แกไข
เพิ่มเตมิ ป.ว.ิ อ. (ฉบับท่ี ๒๘) พ.ศ.๒๕๕๑ มผี ลบงั คับใชตัง้ แตวันที่ ๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑ โดยมาตรา ๑๑
บัญญัติใหเพิ่มมาตรา ๒๒๖/๑ ป.วิ.อ. กําหนดใหศาลรับฟงพยานหลักฐานท่ีไดมาโดยมิชอบได
ถา พยานหลกั ฐานนนั้ จะเปน ประโยชนต อ การอาํ นวยความยตุ ธิ รรมมากกวา ผลเสยี อนั เกดิ จากผลกระทบ
ตอมาตรฐานของระบบงานยตุ ธิ รรมทางอาญา ศาลจงึ นาํ บันทกึ เทปดังกลา วมารับฟงได
ฎีกาท่ี ๒๔๑๔/๒๕๕๑ จําเลยไปที่บานของ ว. พรอมกับทนายความและเจาพนักงาน
ตํารวจอกี คนหนง่ึ เพอ่ื พดู คยุ เกย่ี วกบั เรอ่ื งการเบกิ เงนิ ของ บ. และการใชก ระแสไฟฟา จากโรงงานจาํ เลย
โดยเจาพนักงานตาํ รวจผูน้ันไดแอบบันทึกเหตุการณทั้งภาพและเสียงไวดวยพฤติการณในการบันทึก

๕๗

เหตุการณดังกลาวเปนการลักลอบกระทํากอนวันท่ีจาํ เลยอางตนเองเขาเบิกความเปนพยานเพียง
๑ วนั เพราะตอ งการจะไดข อ มลู ทแ่ี อบบนั ทกึ ไว เนอ่ื งจากจําเลยฉกี เอกสารหลกั ฐานทวี่ า จา ง บ. กอ สรา ง
โรงงานท้ิงไปแลว จึงพยายามหาหลักฐานใหม ดังนั้น ขอมูลดังกลาวจึงเปนพยานหลักฐานท่ีจําเลย
ทําขึ้นใหมดวยการทําเปนดีกับ ว. แลวลักลอบบันทึกเหตุการณนั้นไว ถือไดวา เปนพยานหลักฐาน
ท่ีเกิดข้ึนจากการหลอกลวงและดวยวิธีการที่มิชอบ ตองหามมิใหอางเปนพยานหลักฐานตาม พ.ร.บ.จัดตั้ง
ศาลทรพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา ระหวา งประเทศและวธิ พี จิ ารณาคดที รพั ยส นิ ทางปญ ญาและการคา
ระหวา งประเทศฯ มาตรา ๒๖ ประกอบ ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖

๒. กรณีการลักลอบบนั ทึกคําสนทนาโดยเจาพนกั งานผูมหี นาที่ โดยมีกฎหมายบัญญัติ
ใหก ระทําได เชน พ.ร.บ.ปอ งกันและปราบปราม พ.ศ.๒๕๑๙ มาตรา ๑๔ จตั วา หรอื พ.ร.บ.ปอ งกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๔๖ โดยเจาพนักงานผูมีอํานาจตองไดรับอนุญาต
จากศาลกอนจึงจะดําเนินการได ถือวาบันทึกคาํ สนทนาดังกลาวเปนพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ
ดว ยกฎหมายตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒๒๖ และเปนการไดมาโดยชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา ๒๒๖/๑
ศาลรับฟงเปนพยานหลักฐานได

แตกรณไี มม กี ฎหมายบัญญตั ใิ หก ระทําได ถาเปน การดักฟงและลกั ลอบบนั ทึกการสนทนา
ทมี่ กี ารสอื่ สารทางโทรคมนาคม เปน ความผดิ ตาม พ.ร.บ.การประกอบกจิ การโทรคมนาคม พ.ศ.๒๕๔๔
มาตรา ๗๔ ถือเปนพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบตามมาตรา ๒๒๖ แตเปนการไดมาโดยไมชอบ
ดว ยกฎหมายตามมาตรา ๒๒๖/๑ โดยมขี อ ยกเวนใหร บั ฟงได

ความเห็นของผูเชี่ยวชาญในการประเมินผลจากเคร่ืองจับเท็จ เปนความเห็นทางวิชาการ
ไมเพียงพอพิสูจนความผดิ ของจาํ เลยได

ฎกี าท่ี ๗๓๔/๒๕๕๓ เครอื่ งจบั เทจ็ เปน เครอ่ื งมอื ทางวทิ ยาศาสตรท น่ี าํ ผลการตอบคําถาม
ขอจาํ เลยมาวิเคราะหตามหลักวิชาการ แลวประเมินผลจากการวิเคราะหนั้นวาจาํ เลยพูดจริงหรือเท็จ
มีลักษณะเปนความเห็นทางวิชาการ ยอมไมอาจนาํ มาพิสูจนทราบถึงขอเท็จจริงอันเก่ียวกับ
การกระทําความผิดของจําเลยเปนท่ีแนชัดได ลาํ พังเครื่องจับเท็จและความเห็นของผูชํานาญ
ดา นเครือ่ งจบั เท็จยังไมอ าจรับฟง ไดโดยปราศจากขอสงสัยวา จาํ เลยเปนคนรา ยฆาผูตาย

¡ÒÃáÊǧËÒ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹â´ÂÇÔ¸ÕÅÍ‹ «×éÍ á¡¾Ô¨ÒóÒ໹š ò »ÃСÒÃ

»ÃСÒÃáá กรณีจาํ เลยมีเจตนากระทาํ ความผิดอยูแลว ถือวาการลอซ้ือเปนวิธีพิสูจน
ความผิดของจําเลยเทานั้น พยานหลักฐานท่ีไดจากการลอซ้ือถือเปนพยานหลักฐานท่ีเกิดข้ึนโดยชอบ
และไดม าโดยชอบ ไมเ ปน การแสวงหาพยานหลกั ฐานทไี่ มช อบดว ยกฎหมาย เชน จาํ เลยมเี มทแอมเฟตามนี
ไวใ นครอบครองเพอ่ื จําหนา ยและมกี ารจําหนา ยใหแ กบ คุ คลอยกู อ นแลว เจา พนกั งานตาํ รวจใชส ายลบั
นาํ เงนิ ไปลอ ซื้อยาเสพติดใหโ ทษจากจาํ เลย ดังน้ี เมทแอมเฟตามีนท่ียึดมาได ถือเปนพยานหลักฐาน
ทเี่ กิดข้นึ และไดมาโดยชอบ รบั ฟง ลงโทษจาํ เลยได

๕๘

ฎีกาท่ี ๙๖๑-๙๖๒/๒๕๕๕ การท่ีเจาพนักงานตํารวจใช ผ. ไปลอซ้ือเมทแอมเฟตามีน
จากจาํ เลยที่ ๑ ซ่ึงมไี วใ นครอบครองเพอื่ จาํ หนา ยอยูแลว และกอนหนา น้ี ผ. กเ็ คยซอ้ื เมทแอมเฟตามนี
จากจําเลยที่ ๑ จาํ นวน ๑๐๐ เม็ด และถกู เจา พนกั งานตํารวจจับกมุ ได การลอ ซ้ือดังกลา วเปนวิธกี าร
แสวงหาพยานหลักฐานในการกระทําความผิดของจําเลยท่ี ๑ ที่ไดกระทําอยูแลวมิไดลอซื้อ
หรอื ชกั จงู ใจใหจาํ เลยที่ ๑ กระทําความผิดอาญาทจี่ าํ เลยที่ ๑ ไมไ ดกระทาํ ความผิดมากอน การกระทําของ
เจาพนักงานตํารวจเปนเพียงวิธีการเพ่ือพิสูจนความผิดของจําเลยที่ ๑ และเปนการขยายผลในการ
ปราบปราม มใิ ชเปน การแสวงหาพยานหลกั ฐานโดยมิชอบดว ยกฎหมาย

ฎีกาท่ี ๒๕๒๓/๒๕๔๕ จําเลยมีพฤติการณกระทาํ ละเมิดลิขสิทธ์ิโปรแกรมคอมพิวเตอร
ของโจทกอ ยกู อ นแลว โจทกส ง สายลบั ไปลอ ซอ้ื และจบั กมุ จําเลยมาดําเนนิ คดนี ้ี มใิ ชเ ปน การกอ ใหจ าํ เลย
กระทําผดิ แตเ ปน การดาํ เนนิ การเพอื่ จบั กมุ ปราบปรามผกู ระทาํ ผดิ เปน การกระทําทชี่ อบดว ยกฎหมาย
โจทกเปนผูเสียหายโดยนิตินัยมีอาํ นาจรองทุกข มีอํานาจฟองและศาลมีอํานาจรับฟงพยานหลักฐาน
ทเี่ กิดจากการลอ ซื้อโดยชอบน้นั ได

ฎกี าที่ ๘๑๘๗/๒๕๔๓ การทเี่ จา พนกั งานตํารวจใชส ายลบั นาํ เงนิ ไปลอ ซอื้ เมทแอมเฟตามนี
จากจาํ เลยซ่ึงมีไวในครอบครองเพื่อจาํ หนายอยูแลว เปนวิธีการแสดงหาพยานหลักฐานในการกระทาํ
ความผิดของจําเลยท่ีไดกระทาํ อยูแลว มิไดลอหรือชักจูงใจใหจาํ เลยกระทําความผิดอาญาท่ีจาํ เลย
ไมไดกระทาํ ความผิดมากอน การกระทําของเจาพนักงานตํารวจดังกลาวเปนเพียงวิธีการเพื่อพิสูจน
ความผิดของจาํ เลย ไมเปนการแสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบดวยกฎหมาย ไมขัดตอรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และไมเขาขอหามอางเปนพยานหลักฐานตาม ป.วิ.อ.
มาตรา ๒๒๖

การท่ีพนักงานสอบสวนปกปดชื่อและตัวสายลับ ไมไดสอบปากคําของสายลับไวเปน
หลกั ฐาน กเ็ ปน อํานาจและหนา ทข่ี องพนกั งานสอบสวนทจ่ี ะสบื หาพยานหลกั ฐานมาประกอบดําเนนิ คดี
และเปนดุลพินิจของพนักงานสอบสวนที่จะสอบสวนบุคคลใดเปนพยานก็ได การที่พนักงานสอบสวน
เหน็ วา ไมจ าํ เปนตอ งสอบปากคําสายลบั ไวเปนหลกั ฐาน ไมถ ือวา การสอบสวนไมช อบ

»ÃСÒ÷ÕèÊͧ กรณีจําเลยไมมีเจตนากระทําความผิดอยูกอน แตไดตัดสินใจกระทาํ
ความผดิ เนอื่ งจากแผนการลอ ซอ้ื ของเจา พนกั งาน การกระทําของเจา พนกั งานจงึ เปน การกอ ใหผ บู รสิ ทุ ธ์ิ
กระทําความผิด ถอื เปน พยานหลกั ฐานทเี่ กดิ ขนึ้ โดยมิชอบ ไมส ามารถอา งเปน พยานหลกั ฐานไดต าม
ป.ว.ิ อ.มาตรา ๒๒๖

ฎกี าที่ ๒๔๒๙/๒๕๕๑ สบิ ตาํ รวจตรี ส. ขอซื้อยาลดความอวนซึง่ มสี วนผสมของเฟนเทอรม นี
จากจาํ เลย จาํ เลยบอกวาไมมีและท่ีรานของจาํ เลยไมไดขายลดความอวนดังกลาว สิบตํารวจตรี ส.
จงึ บอกวา คนรกั ตอ งการใชย าลดความอว น จาํ เลยจงึ บอกวา จําเลยมยี าลดความอว นอยู ๑ ชดุ ทจ่ี าํ เลย
ซอื้ มาไวรบั ประทานเอง สบิ ตํารวจตรี ส. ขอซ้ือยาลดความอวนชุดนน้ั จําเลยจงึ ขายให และเมือ่ มีการ
ตรวจคนรานขายยาของจาํ เลยก็ไมพบสิ่งของผิดกฎหมายอ่ืนแตอยางใด เม่ือจาํ เลยไมมีเฟนเทอรมีน

๕๙

ของกลางไวเ พ่ือขายดงั ทโี่ จทกฟ อ ง และรับฟง ไมไ ดวา ท่รี านขายยาของจาํ เลยเคยมกี ารขายเฟนเทอรมนี
มากอน ดังน้ัน การท่ีจาํ เลยขายเฟนเทอรมีนของกลางใหแกสิบตํารวจตรี ส. จึงเกิดจากการถูกลอ
ใหก ระทาํ ความผิด โดยจําเลยไมม เี จตนาจะกระทาํ ความผดิ ในการขายเฟนเทอรมนี มากอ น พยานหลกั ฐาน
ของโจทกด งั กลา วจงึ เปน พยานทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยมชิ อบโจทกไ มส ามารถอา งเปน พยานหลกั ฐานไดต าม ป.ว.ิ อ.
มาตรา ๒๒๖

แตถาเปนกรณีผูเสียหายเปนผูลอซ้ือถือวาผูเสียหายเปนผูจูงใจหรือกอใหผูอื่นกระทาํ ความผิด
จึงไมถอื วาผูเสยี หายเปนผูเสยี หายโดยนติ ินัย และถอื วา เปนพยานหลกั ฐานท่เี กดิ ขนึ้ โดยมิชอบ

ฎีกาที่ ๑๐๕๑๐/๒๕๕๕ ผูเสียหายซ่ึงเปนนักขา วไดร บั การรองเรียนถงึ พฤตกิ รรมของกลมุ
บุคคลท่หี ลอกลวงขายเหลก็ ไหลจากผูชมรายการของผูเสยี หาย จงึ วางแผนพสิ ูจนก ารกระทาํ ของกลมุ
บคุ คลดงั กลา วเพอ่ื ใหม กี ารจบั กมุ มาลงโทษ หลงั จากทมี่ กี ารตดิ ตอ กบั กลมุ บคุ คลดงั กลา วจนทราบแนช ดั
วามีพฤติกรรมในการหลอกลวงจริง จึงประสานงานกับเจาพนักงานตํารวจเพ่ือจับกุม โดยผูเสียหาย
นาํ เงนิ ทจ่ี ะตอ งวางประกนั ในการทําสญั ญาจะซอ้ื จะขายเหลก็ ไหลไปลงบนั ทกึ ประจาํ วนั ไวเ ปน หลกั ฐาน
กเ็ พอ่ื จะไดเ ปน หลกั ฐานของการกระทาํ ความผดิ พฤตกิ ารณแ หง คดดี งั กลา วมา จงึ เปน เรอ่ื งทผ่ี เู สยี หาย
ดาํ เนินการแสวงหาพยานหลักฐานดวยตนเอง โดยการหลอกลอกลุมบุคคลดังกลาวซ่ึงก็คือจาํ เลยทั้งหา
มากระทาํ ความผิดอันเปนการกอใหจําเลยท้ังหากระทําความผิดฐานฉอโกงตามฟอง มิใชเพราะ
จาํ เลยท้ังหามีเจตนาจะฉอโกงผูเสียหายมาต้ังแตตน กรณีดังกลาวจึงไมอาจถือไดวาผูเสียหายเปน
ผเู สียหายตามกฎหมาย

ฎีกาที่ ๔๐๗๗/๒๕๔๙ การที่ผูเสียหายไดใชให อ. ส่ังใหจําเลยซื้อแผนซีดีละเมิดลิขสิทธ์ิ
ของกลางจากตลาดนดั มาใหเ พอ่ื ทจ่ี ะไดห ลกั ฐานในการกระทาํ ความผดิ โดยไมป รากฏวา จําเลยมพี ฤตกิ ารณ
เก่ียวของกับการละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอ่ืนเพื่อการคาดวยความสมัครใจของตนเองมากอนและพรอม
ท่ีจะจัดหาแผนซีดีที่ละเมิดลิขสิทธ์ิดังกลาวมาไดทันที นอกจากนี้ เจาพนักงานตํารวจก็ไมทราบเรื่อง
การละเมดิ ลิขสิทธิ์ของผูเ สียหายในคดนี ี้ และไมท ราบเรอื่ งท่ี อ. ไดตดิ ตอ ขอซ้ือแผน ซีดลี ะเมิดลิขสิทธิ์
ของกลางจากจาํ เลยไวกอน แตเปนการที่ผูเสียหายดําเนินการแสวงหาพยานหลักฐานดวยตนเอง
แลวแจงความรองทุกขเพื่อนําเจาพนักงานตํารวจเขาจับกุมจาํ เลย จึงเปนกรณีท่ีผูเสียหายไดชักจูง
ใจหรือกอใหจาํ เลยกระทําความผิดฐานละเมิดลิขสิทธ์ิและไมอาจถือวาเปนผูเสียหายตามกฎหมาย
การแจงความรองทุกขจึงไมใชการแจงความรองทุกขตามกฎหมาย ทําใหการสอบสวนไมชอบและโจทก
ไมม อี ํานาจฟอ ง

ฎีกาที่ ๔๓๐๑/๒๕๔๓ จําเลยละเมิดลิขสิทธ์ิโดยทําซ้ําบันทึกโปรแกรมคอมพิวเตอร
ของโจทกเพื่อมอบโปรแกรมคอมพิวเตอรตามท่ี ส. ไดลอซื้อน่ันเอง มิใชทาํ ซาํ้ โดยผูกระทาํ มีเจตนา
กระทาํ ผดิ อยแู ลว กอ นการลอ ซอ้ื การกระทําผดิ ของจาํ เลยเกดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากการลอ ซอ้ื ของ ส.ซงึ่ ไดร บั จา ง
ใหล อ ซอ้ื จากโจทก เทา กบั โจทกเ ปน ผกู อ ใหผ อู น่ื กระทําผดิ โจทกย อ มไมอ ยใู นฐานะผเู สยี หายโดยนติ นิ ยั
ทมี่ ีอํานาจฟองคดนี ี้

๖๐

ฎีกาที่ ๙๖๐๐/๒๕๕๔ แมขอเท็จจริงจะฟงไดตามคาํ เบิกความพยานโจทกวาจําเลย
บนั ทกึ เพลงอนั มลี ขิ สทิ ธข์ิ องผเู สยี หายอนั เปน การทําซ้าํ งานดนตรกี รรม สง่ิ บนั ทกึ เสยี ง และโสตทศั นวสั ดุ
อนั มลี ขิ สทิ ธขิ์ องผเู สยี หายโดยไมไ ดร บั อนญุ าตจากผเู สยี หายกต็ าม แตก ารกระทาํ ดงั กลา วเกดิ จากการท่ี
ผูรับมอบอํานาจชวงจากผูเสียหายวาจางจาํ เลย โดยเปนผูกอใหจาํ เลยกระทําการละเมิดลิขสิทธิ์ของ
ผเู สยี หายเพอื่ ใหเ จา พนกั งานจบั จาํ เลยมาดาํ เนนิ คดนี ี้ ผเู สยี หายจงึ ไมใ ชผ เู สยี หายโดยนติ นิ ยั ทม่ี อี าํ นาจ
รอ งทกุ ขใ หด ําเนนิ คดแี กจ ําเลยในความผดิ ดงั กลา วได ทง้ั แผน ซดี แี ละวซี ดี คี าราโอเกะ ทวี่ า จา งใหท ําขนึ้
และวดิ โี อที่บนั ทกึ ภาพเหตุการณก ารบนั ทึกเพลงลงแผน ซีดีของจําเลย ถือเปน พยานหลกั ฐานทเ่ี กิดขน้ึ
โดยมชิ อบและเปน พยานหลกั ฐานทไี่ ดม าเนอ่ื งจากการกระทาํ โดยมชิ อบ ตอ งหา มมใิ หร บั ฟง เปน พยาน
หลักฐานเพื่อพิสูจนความผิดของจําเลยตามท่ีโจทกฟอง การกระทาํ ของพยานโจทกมิใชการแสวงหา
พยานหลักฐานดงั กลาว จงึ ไมอาจลงโทษจําเลยได

การทต่ี ํารวจขอรว มประเวณกี บั หญงิ เพอ่ื พสิ จู นต ามคํารอ งเรยี นวา มกี ารคา ประเวณใี นสถาน
ทเี่ กิดเหตจุ ริงหรือไม ไมเปน การแสวงหาพยานหลกั ฐานทไ่ี มชอบ

ฎีกาที่ ๑๑๖๓/๒๕๑๘ การท่ีตํารวจนายหน่ึงขอรวมประเวณีกับจาํ เลยท่ี ๒ เพ่ือพิสูจน
คํารองเรียนวา มกี ารคา ประเวณใี นสถานท่ีเกิดเหตุจริงหรอื ไม แลว จาํ เลยที่ ๒ ยอมรว มประเวณแี ละรับเงิน
จากตาํ รวจผูน้นั ไมเปนการแสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบ

จําเลยขายสลากกินรวบอยูแลว การท่ีตาํ รวจไปลอซ้ือไมเปนการแสวงหาพยานหลักฐาน
โดยไมชอบ

ฎีกาท่ี ๒๓๐/๒๕๐๔ มีผูแจงความแกเจาพนักงานวา จาํ เลยขายสลากกินรวบโดยไมรับ
อนญุ าต เจา พนกั งานจงึ พากนั ไปซมุ ดกั จบั โดยใหต ํารวจคนหนง่ึ ปลอมตวั เปน ราษฎรเขา ไปขอซอ้ื สลาก
กนิ รวบจากจาํ เลย จําเลยก็ขายให และเจา พนกั งานตํารวจกเ็ ขาจับจําเลยพรอมของกลาง ดงั น้ี จําเลย
ตองมคี วามผิดฐานเลนการพนันเปน เจามือขายสลากกินรวบ เพราะการทต่ี าํ รวจปลอมตัวไปซือ้ สลาก
กินรวบจากจําเลยน้ันเปนการกระทาํ เพ่ือแสวงหาพยานหลักฐานแหงการกระทาํ ผิดของจาํ เลยตามท่ีมี
ผูแจงความไว

¡®ËÁÒÂà¡èÂÕ Ç¡ºÑ ¡ÒÃอาํ ¾ÃÒ§ หนา ๑๙ ๖๑
เลม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๕ ก ราชกจิ จานเุ บกษา
๒๐ เมษายน ๒๕๕๕

¡®¡ÃзÃǧ

ÇÒ‹ ´ŒÇ¡Òû¯ºÔ Ñμ¡Ô ÒÃÍíÒ¾ÃÒ§à¾×èÍ¡ÒÃÊº× Êǹ¤ÇÒÁ¼´Ô μÒÁ¡®ËÁÒÂà¡ÕÂè Ç¡ºÑ ÂÒàʾμ´Ô
¾.È. òõõõ

-------------------
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๗ วรรคส่ี แหง พระราชบญั ญตั วิ ธิ พี จิ ารณา
คดียาเสพติด พ.ศ. ๒๕๕๐ อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิ
และเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๑
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหง กฎหมายนายกรฐั มนตรแี ละรัฐมนตรวี าการกระทรวงยุติธรรมออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“ผขู ออนุญาต” หมายความวา เจา พนกั งานตามกฎหมายวาดว ยวธิ ีพจิ ารณาคดยี าเสพตดิ
“ผูมีอํานาจอนุญาต” หมายความวา ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือเลขาธิการ
คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ หรือผซู งึ่ ไดร ับมอบหมาย แลว แตกรณี
ขอ ๒ การปฏิบตั ิทกุ ขัน้ ตอนตามกฎกระทรวงน้เี ปน เรื่องลับ
ขอ ๓ การปฏิบตั ิการอําพรางตามกฎกระทรวงน้ี ไดแก
(๑) การแทรกซึมหรือฝงตัวเขาไปในขายงานหรือองคกรอาชญากรรมยาเสพติด
อยางตอ เนือ่ งและเปน ระยะเวลานาน
(๒) การลอซ้ือยาเสพติดหรือการปฏิบัติการอําพรางอยางหนึ่งอยางใดเปนคร้ังคราว
ช่วั ระยะเวลาหนง่ึ หรอื
(๓) การลอซ้ือยาเสพติดหรือการปฏิบัติการอําพรางอยางหนึ่งอยางใดซ่ึงสามารถ
ดําเนินการไดแลวเสร็จในคราวเดยี ว

๖๒

เลม ๑๒๙ ตอนที่ ๓๕ ก หนา ๒๐ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

หมวด ๑
การขออนุญาต
-------------------
ขอ ๔ ใหผูขออนุญาตดําเนินการขออนุญาตปฏิบัติการอําพรางโดยทําเปนหนังสือ
ตอผูมีอํานาจอนุญาต และระบุเหตุผล ความจําเปน และแผนการหรือวิธีการ รวมท้ังระยะเวลา
ในการดําเนนิ การและรายละเอยี ดอนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ ง
หนงั สอื ขออนญุ าตตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามแบบทเี่ ลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั และ
ปราบปรามยาเสพติดกําหนด
ขอ ๕ ในกรณีที่เจาพนักงานซึ่งไดรับอนุญาตใหครอบครองหรือใหมีการครอบครอง
ยาเสพตดิ ภายใตก ารควบคมุ ตามมาตรา ๘ มคี วามจาํ เปน ตอ งปฏบิ ตั กิ ารอาํ พราง ใหถ อื วา เจา พนกั งาน
ผูน้นั ไดร ับอนุญาตใหปฏบิ ัตกิ ารอาํ พรางและตองดําเนินการตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงน้ดี วย
ขอ ๖ ในกรณีที่เปนการขออนุญาตปฏิบัติการอําพรางตามขอ ๓ (๑) ผูขออนุญาต
ตอ งไดร ับการรบั รองจากผบู งั คับบญั ชา แลวแตก รณี ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) ผูขออนุญาตเปนเจาพนักงานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม
ยาเสพติดซึ่งเปนขาราชการพลเรือนตองไดรับการรับรองจากผูบังคับบัญชาตําแหนงตั้งแต
ผอู ํานวยการสํานกั หรือเทียบเทา ขน้ึ ไป
(๒) ผูขออนุญาตเปนเจาพนักงานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม
ยาเสพติดซ่ึงเปนขาราชการทหารตองไดรับการรับรองจากผูบังคับบัญชาตําแหนงตั้งแตผูบัญชาการ
กองพลหรอื เทยี บเทาขึน้ ไป
(๓) ผูขออนุญาตเปนพนักงานฝายปกครองตองไดรับการรับรองจากผูบังคับบัญชา
ตาํ แหนงตง้ั แตนายอาํ เภอหรอื เทียบเทา ข้ึนไป
(๔) ผูขออนุญาตเปนขาราชการตํารวจตองไดรับการรับรองจากผูบังคับบัญชาตําแหนง
ตัง้ แตผ ูบังคับการหรอื เทยี บเทา ข้ึนไป

หมวด ๒
การอนญุ าต
-------------------
ขอ ๗ ผูมีอํานาจอนุญาตจะพิจารณาอนุญาตปฏิบัติการอําพรางได เม่ือปรากฏวา
เปนการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดในฐานผลิต นําเขา สงออก จําหนาย
หรือมีไวในครอบครองเพื่อจําหนายซึ่งยาเสพติด หรือสมคบ สนับสนุน ชวยเหลือ หรือพยายาม
กระทําความผิดดังกลาว ประกอบกับตองมีเหตุอันควรเชื่อวาจะไดขอมูลหรือพยานหลักฐานในการ
กระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจากการปฏิบัติการอําพราง และเปนกรณีจําเปนอยางหนึ่งอยางใด
ดังตอไปน้ี

๖๓

เลม ๑๒๙ ตอนท่ี ๓๕ ก หนา ๒๑ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
ราชกิจจานุเบกษา

(๑) เพื่อสืบสวนจับกุมผูกระทําความผิดเก่ียวกับยาเสพติดรายสําคัญหรือผูที่เกี่ยวของ
เนอ่ื งจากมขี อ มลู เกย่ี วกับพฤตกิ ารณข องผูกระทาํ ความผิดดงั กลา วตามสมควร

(๒) การสืบสวนจับกุมผูกระทําความผิดเก่ียวกับยาเสพติดดวยวิธีอื่นกระทําไดยาก
หรืออาจเกิดภยนั ตรายหรอื ความเสยี หายในการปฏิบัติหนา ที่ หรือ

(๓) เพ่ือประโยชนในการขยายผลการจับกุมผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดที่อยู
เบือ้ งหลัง

ขอ ๘ ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติหรือผูซึ่งไดรับมอบหมายมีอํานาจอนุญาต
ปฏิบัติการอําพรางกรณีผูขออนุญาตอยูในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติ และใหเลขาธิการ
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามยาเสพติดหรือผูซ่ึงไดรับมอบหมายมีอํานาจอนุญาต
ปฏิบัติการอําพรางกรณีผูขออนุญาตอยูในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
ยาเสพติดหรือในสงั กัดหนว ยงานอืน่

ขอ ๙ ผูซึ่งไดรับมอบหมายตามขอ ๘ ตองเปนผูดํารงตําแหนงและมีอํานาจอนุญาต
ปฏบิ ัติการอาํ พรางตามทก่ี าํ หนด ดังตอไปนี้

(๑) ขาราชการตาํ รวจตาํ แหนง ตงั้ แตผ ูบ ญั ชาการ หรือขาราชการพลเรอื นตําแหนง ตัง้ แต
รองเลขาธิการคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ หรือเทียบเทาข้ึนไป มอี าํ นาจอนุญาต
ปฏบิ ัตกิ ารอาํ พรางตามขอ ๓ (๑)

(๒) ขาราชการตํารวจตําแหนงตั้งแตผูกํากับการ หรือขาราชการพลเรือนตําแหนงต้ังแต
ผูอํานวยการกอง หรือเทียบเทาข้ึนไป ซ่ึงมีหนาที่ในการปราบปรามยาเสพติด มีอํานาจอนุญาต
ปฏิบัติการอาํ พรางตามขอ ๓ (๒) และ (๓)

ขอ ๑๐ ใหผ มู อี าํ นาจอนญุ าตพจิ ารณาอนญุ าตใหแ ลว เสรจ็ และแจง คาํ สง่ั ไปยงั ผขู ออนญุ าต
โดยเรว็ ในกรณีที่มีคาํ สง่ั อนญุ าตใหส ง หนงั สืออนุญาตไปดวย

หนังสืออนุญาตตามวรรคหน่ึง ใหเปนไปตามแบบที่เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและ
ปราบปรามยาเสพติดกําหนด

หมวด ๓
การดําเนินการ
-------------------
ขอ ๑๑ ในการปฏิบัติการอําพรางหากจําเปนตองมีการจัดทําเอกสารหรือหลักฐาน
ประกอบการปฏบิ ตั กิ ารอาํ พราง ใหผ มู อี าํ นาจอนญุ าตมหี นงั สอื แจง หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งเพอื่ ขอความ
รวมมือในการจัดทําเอกสารหรือหลักฐานดังกลาว และใหหนวยงานที่เกี่ยวของใหความรวมมือ
ดาํ เนนิ การจัดทําเอกสารหรือหลักฐานแกผูไ ดรบั อนุญาต
เอกสารหรือหลักฐานท่ีไดมาตามวรรคหนึ่งใหผูไดรับอนุญาตนําไปใชเทาที่จําเปน
เพ่ือประโยชนในการปฏิบตั กิ ารอําพราง
ขอ ๑๒ ใหผูไดรับอนุญาตดําเนินการตามที่ไดรับอนุญาตใหเสร็จส้ินภายในระยะเวลา
ทไี่ ดร บั อนญุ าต

๖๔

เลม ๑๒๙ ตอนท่ี ๓๕ ก หนา ๒๒ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
ราชกจิ จานเุ บกษา

ในกรณีท่ีมีเหตุอันสมควร ผูไดรับอนุญาตอาจทําหนังสือเพื่อขอแกไขหรือเพิ่มเติม
ระยะเวลาหรือรายการทีไ่ ดรับอนุญาตตอ ผูมอี าํ นาจอนญุ าตกอ นการดาํ เนนิ การเสร็จส้ิน

หนงั สอื ขอแกไ ขหรอื เพม่ิ เตมิ ระยะเวลาหรอื รายการทไ่ี ดร บั อนญุ าตตามวรรคสองใหเ ปน ไป
ตามแบบทีเ่ ลขาธกิ ารคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามยาเสพติดกําหนด

ขอ ๑๓ ใหผูไดรับอนุญาตยุติการดําเนินการกอนครบกําหนดระยะเวลาที่ไดรับอนุญาต
เม่อื ปรากฏกรณีอยางหนึ่งอยา งใด ดงั ตอไปน้ี

(๑) บรรลวุ ัตถปุ ระสงคตามหนังสืออนุญาตแลว
(๒) ความจําเปนหรือพฤติการณท่ีตองดําเนินการเปลี่ยนแปลงไปหรือไมมีความจําเปน
ในการดําเนินการนนั้ อกี ตอ ไป
(๓) ผมู ีอาํ นาจอนญุ าตมคี าํ สง่ั ใหยุตกิ ารดําเนนิ การและแจงใหผไู ดร บั อนญุ าตทราบแลว
ขอ ๑๔ เม่ือการดําเนินการตามที่ไดรับอนุญาตเสร็จสิ้นหรือมีการยุติการดําเนินการ
ตามขอ ๑๓ ใหผ ไู ดร บั อนญุ าตรายงานผลการดาํ เนนิ การตอ ผมู อี าํ นาจอนญุ าตภายในสามวนั นบั แตว นั
ทก่ี ารดาํ เนินการเสรจ็ ส้ินหรอื ยุตกิ ารดาํ เนินการ
รายงานผลการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบที่เลขาธิการคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามยาเสพตดิ กาํ หนด
ขอ ๑๕ ในกรณีจําเปนเรงดวนและมีเหตุอันสมควร ใหเจาพนักงานมีอํานาจปฏิบัติการ
อําพรางไปกอนโดยไมตองไดรับอนุญาตแลวรายงานโดยระบุความจําเปนเรงดวนและเหตุอันสมควร
ตอ ผูม ีอํานาจอนญุ าตโดยเรว็ ทงั้ น้ี ตอ งไมเ กินสามวันนบั แตวนั ทีเ่ ริม่ ปฏิบัตกิ ารอาํ พราง
ในกรณที ก่ี ารปฏบิ ตั กิ ารอาํ พรางตามวรรคหนง่ึ ยงั ไมแ ลว เสรจ็ ใหด าํ เนนิ การขออนญุ าตตาม
หมวด ๑ ในทันทที ี่สามารถกระทาํ ไดต อไป
ขอ ๑๖ ใหผ บู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
ยาเสพตดิ แตงตัง้ นายทะเบียนเพอ่ื ดําเนนิ การ ดังตอ ไปนี้
(๑) จัดทําระบบขอมูลเก่ียวกับการขออนุญาต การอนุญาต และการรายงานตาม
ที่กําหนดในกฎกระทรวงนี้
(๒) ประสานงานกับหนวยงานที่เก่ียวของ เพ่ือประโยชนในการควบคุมและตรวจสอบ
การใชอ าํ นาจตามที่กําหนดในกฎกระทรวงนี้
(๓) รวบรวมและจัดเก็บเอกสารและหลักฐานการขออนุญาต การอนุญาต
และการรายงานตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวงน้ี เพ่อื เปน ขอ มลู สําหรบั การควบคุมและตรวจสอบ
(๔) จัดทํารายงานผลการดําเนินการประจําปเสนอตอผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
หรอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ แลว แตก รณี โดยใหร ายงานขอ เทจ็ จรงิ
ปญ หา อปุ สรรค ปรมิ าณ และผลสําเรจ็ ของการดําเนินการ
(๕) เสนอความเหน็ ตอ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตหิ รอื เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกนั
และปราบปรามยาเสพติด แลวแตกรณี เพ่ือประโยชนในการควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติงาน
เก่ียวกับการอาํ พราง

๖๕

เลม ๑๒๙ ตอนท่ี ๓๕ ก หนา ๒๓ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๕
ราชกจิ จานุเบกษา

(๖) ปฏิบัติการอ่ืนใดเก่ียวกับการปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้ตามท่ีผูบัญชาการตํารวจ
แหง ชาตหิ รอื เลขาธิการคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามยาเสพติดมอบหมาย แลวแตก รณี

ใหไว ณ วนั ท่ี ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
ย่ิงลักษณ ชินวตั ร
นายกรัฐมนตรี

พลตาํ รวจเอก ประชา พรหมนอก
รัฐมนตรวี า การกระทรวงยตุ ิธรรม

๖๖

คาํ ÊÑè§สํา¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ
·Õè õò÷/òõõõ

àÃ×èͧ ÁͺËÁÒÂอาํ ¹Ò¨à¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃ͹ÞØ ÒμáÅСÒÃá짋 μé§Ñ ¹Ò·ÐàºÂÕ ¹à¾×èÍ¡ÒÃÊº× Êǹ¤ÇÒÁ¼Ô´
μÒÁ¡®ËÁÒÂà¡ÕèÂÇ¡ºÑ ÂÒàʾμÔ´
-------------------

เพ่ือใหการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดของสํานักงานตํารวจแหงชาติ
เปนไปดวยความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗
และมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดียาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๐ ประกอบขอ ๘ ขอ ๑๖
ของกฎกระทรวงวาดวยการปฏิบัติการอําพรางเพื่อการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับ
ยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕ และขอ ๘ ขอ ๑๙ ของกฎกระทรวงวาดวยการครอบครองและใหมีการ
ครอบครองยาเสพติดภายใตการควบคุมเพื่อการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด
พ.ศ.๒๕๕๕ จึงมอบอํานาจการอนุญาตปฏิบัติการอําพราง การอนุญาตครอบครองและใหมีการ
ครอบครองยาเสพติดภายใตการควบคุมเพ่ือการสืบสวนความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด
และอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๔ แหงพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
มอบอํานาจการแตง ตั้งนายทะเบียน ใหผูดํารงตําแหนง ดงั ตอไปน้ี

๑. การอนญุ าตปฏบิ ตั กิ ารอําพราง
๑.๑ ผูบัญชาการ รองผูบัญชาการ ผูบังคับการ รองผูบังคับการ ผูกํากับการ

หวั หนา สถานตี าํ รวจ หรอื หวั หนา หนว ยงานทที่ าํ หนา ทใี่ นงานปอ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ ในสงั กดั
๑.๑.๑ กองบญั ชาการตํารวจนครบาล
๑.๑.๒ ตํารวจภูธรภาค ๑-๙
๑.๑.๓ ศูนยปฏิบตั กิ ารตาํ รวจจงั หวดั ชายแดนภาคใต
๑.๑.๔ กองบญั ชาการตาํ รวจสอบสวนกลาง
๑.๑.๕ กองบญั ชาการตาํ รวจปราบปรามยาเสพตดิ
๑.๑.๖ กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน

๑.๒ ใหผทู ่ไี ดร ับมอบหมายตาม ๑.๑ โดยตาํ แหนง ผูบ ัญชาการใหมอี ํานาจอนุญาต
ปฏิบตั กิ ารอําพรางตามขอ ๓ (๑) และตําแหนงผูก ํากับการข้ึนไป มอี าํ นาจอนญุ าตปฏิบัตกิ ารอําพราง
ตามขอ ๓ (๒) และ (๓) ของกฎกระทรวงวาดวยการปฏิบัตกิ ารอําพรางเพ่อื การสืบสวนความผิดตาม
กฎหมายเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ.๒๕๕๕

๖๗

ทงั้ น้ี หลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการพจิ ารณาอนญุ าตใหถ อื ปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวง
วาดวยการปฏบิ ตั กิ ารอาํ พรางเพอื่ การสบื สวนความผดิ ตามกฎหมายเกยี่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕

๒. ผูบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติดมีอํานาจอนุญาตการครอบครองหรือใหมี
การครอบครองยาเสพติดภายใตก ารควบคุมใหกบั ทุกหนวยงานในสงั กดั สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ

ทงั้ น้ี หลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการพจิ ารณาอนญุ าต ใหถ อื ปฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวง
วาดวยการครอบครองและใหมีการครอบครองยาเสพติดภายใตการควบคุมเพ่ือการสืบสวนความผิด
ตามกฎหมายเกยี่ วกบั ยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕

๓. การแตงต้ังนายทะเบียนตามกฎกระทรวงวาดวยการปฏิบัติการอําพรางเพื่อการ
สืบสวนความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕ เปนอํานาจของผูดํารงตําแหนง
ดังตอไปน้ี

๓.๑ ผูบ ัญชาการตาํ รวจนครบาล
๓.๒ ผูบ ัญชาการตํารวจภธู รภาค ๑-๙
๓.๓ ผูบัญชาการศูนยป ฏิบัตกิ ารตํารวจจงั หวัดชายแดนภาคใต
๓.๔ ผูบญั ชาการตาํ รวจสอบสวนกลาง
๓.๕ ผบู ญั ชาการตาํ รวจปราบปรามยาเสพติด
๓.๖ ผบู ญั ชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน
๔. ผูบัญชาการตํารวจปราบปรามยาเสพติดมีอํานาจแตงต้ังนายทะเบียนตาม
กฎกระทรวงวา ดว ยการครอบครองและใหม กี ารครอบครองยาเสพตดิ ภายใตก ารควบคมุ เพอื่ การสบื สวน
ความผดิ ตามกฎหมายเก่ยี วกับยาเสพติด พ.ศ.๒๕๕๕
๕. ใหหนวยงานระดับกองบัญชาการตามขอ ๑ และ ขอ ๓ รายงานขอมูลเก่ียวกับ
การอนุญาตและการแตงต้ังนายทะเบียนภายในกองบัญชาการใหกองบัญชาการตํารวจปราบปราม
ยาเสพติดทราบทันที เพ่ือจัดทําเปนฐานขอมูลกลางของสํานักงานตํารวจแหงชาติและเพื่อประโยชน
ในการควบคุมตรวจสอบขอมูล และการประสานงานระหวางสวนราชการที่เก่ียวของไดอยางมี
ประสทิ ธิภาพสงู สุด
๖. ใหหนวยงานในสังกัดสํานักงานตํารวจแหงชาติทุกหนวยงาน ใหความรวมมือ
และสนับสนุนในการปฏิบัติงานตามอาํ นาจหนาท่ีของหนวยงานตามขอ ๑ - ขอ ๔
ทั้งน้ี ตงั้ แตบ ดั นเ้ี ปน ตน ไป
สง่ั ณ วนั ท่ี ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕

พลตาํ รวจเอก
(เพรียวพันธ ดามาพงศ)
ผูบัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ

๖๙

º··èÕ ô

°Ò¹¢ŒÍÁÙÅ㹡ÒÃÊ׺Êǹ

ô.ñ °Ò¹¢ÍŒ ÁÙÅ¡ÒÃÊº× ÊǹÃдºÑ ʶҹÕตาํ ÃǨ

ô.ñ.ñ ¢ÍŒ ÁÅÙ º¤Ø ¤Å¾¹Œ â·É
º¤Ø ¤Å¾¹Œ â·É คอื การสอดสอ งพฤตกิ ารณแ ละความเคลอ่ื นไหวของบคุ คลทพี่ น โทษ

จากเรอื นจาํ เปน เวลา ๑๒ เดอื น เพอื่ ปอ งกนั ไมใ หบ คุ คลนนั้ กลบั ไปกระทาํ ความผดิ อกี หรอื ถา ไปกระทาํ
ความผิดอีกก็สามารถจับกุมตัวไดอยางรวดเร็ว เปนการปองกันอาชญากรรมกอนเกิดเหตุการณ
สอดสอ งบุคคลพนโทษคอยสอดสอ งพฤตกิ รรมเปนเวลา ๑๒ เดอื น

¡ÒÃÊʹʋͧ¤¹¾Œ¹â·É ¤¹¾Ñ¡¡ÒÃŧâ·É ¼ÙŒÃŒÒ·ŒÍ§¶èÔ¹ เพื่อเปนการปองกัน
และปราบปรามอาชญากรรมใหไดผลอยางแทจริงและชวยในการสืบสวนหาผูกระทําผิดมาลงโทษ
อยา งรวดเร็ว จงึ มีความจําเปน อยางยิ่งทีจ่ ะตอ งมีการสอดสอ งพฤติการณการเคลื่อนไหวของบคุ คลพนโทษ
ประเภทของบุคคลพนโทษทจ่ี ะตอ งควบคุมสอดสอ งในหนาทตี่ ํารวจ

เมอ่ื ผกู ระทาํ ความผดิ ไดร บั โทษถงึ จาํ คกุ และไดร บั การพกั การลงโทษหรอื พน อาญาออกไป
จากเรือนจําและทัณฑสถานแลว จําเปนอยางย่ิงที่ตํารวจทองที่ที่บุคคลพนโทษจะไปมีภูมิลําเนาอยู
จะตองคอยสังเกตพฤติการณและการเคล่ือนไหวของผูน้ันหลังจากไดรับขาวสารและขอมูลจาก
กองทะเบียนประวัติอาชญากรหรือวิทยาการสวนภูมิภาค คือ ศูนยพิสูจนหลักฐาน ซึ่งบุคคลพนโทษ
ท่ีตองควบคุม สอดสองพฤตกิ ารณและการเคลอื่ นไหวในหนาที่ของตาํ รวจน้นั มีอยู ๓ ประเภท

- º¤Ø ¤Å¾¡Ñ ¡ÒÃŧâ·É หมายถงึ ผตู อ งขงั ในเรอื นจาํ ทไ่ี ดร บั โทษไปแลว แตเ พยี งบางสว น
แตใ นขณะทถ่ี กู คมุ ขงั อยนู น้ั ทางกรมราชทณั ฑเ หน็ วา ผนู นั้ เปน ผทู มี่ คี วามประพฤตดิ ี อยใู นระเบยี บวนิ ยั
ของทางราชการ มีกิริยาวาจาเรียบรอยดี จึงส่ังใหพักการลงโทษตามกําหนดเวลาท่ีทางกรมราชทัณฑ
กําหนดใหหรอื จนกวาจะไดรบั การปลดปลอ ยใหพ นโทษไปอยา งจริงจัง

- ºØ¤¤Å¾Œ¹â·É หมายถึง บุคคลท่ีถูกศาลพิพากษาลงโทษใหจําคุก ปรับสถานเดียว
หรือเพียงแตการรอการลงอาญา หรือพิพากษาใหสงตัวเขาฝกอบรมในสถานสงเคราะหของ
กรมราชทณั ฑ และเม่ือไดร บั โทษนัน้ ครบกําหนดตามคําพิพากษาแลว ใหถือวา เปนบุคคลพน โทษ

- ºØ¤¤Å·Õè໚¹¼ÙŒÃŒÒ·ŒÍ§¶èÔ¹ หมายถึง บุคคลที่เคยตองโทษและระยะการสอดสอง
พฤติการณไปแลว แตยังปรากฏวาประพฤติตนเปนผูรายอาชีพ หรือมีพฤติการณท่ีสอแสดงวาเปน
ผูรายอยูหรืออาจฟงไดวากระทําความผิดอยูเสมอสุดแลวแตโอกาสจะอํานวยใหเมื่อใด ใหถือวาเปน
ผูรา ยทองถ่นิ

โดยบทบญั ญตั ขิ องพระราชบญั ญตั ริ าชทณั ฑ พ.ศ.๒๔๗๙ ไดก าํ หนดวธิ กี ารการใหป ระโยชน
แกผูตองขัง ที่จะไดรับการปลอยตัวกลับไปอยูกับครอบครัวกอนกําหนดโทษ โดยวิธีการคุมประพฤติ
ในชมุ ชนรวม ๓ วิธี

๗๐

ñ. ¾Ñ¡¡ÒÃŧâ·É
มีวัตถุประสงคเพ่ือปลดปลอยนักโทษท่ีมีความประพฤติดี มีความอุตสาหะ

ความกา วหนา ในการศกึ ษาและทาํ งานเกดิ ผลดหี รอื ทาํ ความชอบแกพ เิ ศษ ออกไปอยภู ายนอกเรอื นจาํ
กอนครบกําหนดโทษตามคําพิพากษา

à§è×͹ä¢สาํ ËÃѺ¼Ù¾Œ ¡Ñ ¡ÒÃŧâ·ÉμÍŒ §»¯ÔºμÑ Ô
- กําหนดใหไ ปรายงานตัวตอเจา หนา ทีเ่ ปน ประจาํ
- ใหอ ยูในทอ งท่อี ันจํากดั จะออกนอกเขตทองท่ตี องไดร บั อนุญาตกอ น
- หามมใิ หพกอาวุธปน
- หา มคบคาสมาคมกบั นกั เลงอันธพาลหรอื บุคคลผูพ กั การลงโทษดว ยกนั
ถาผูไดรับการพักการลงโทษประพฤติอยูในกรอบแหงการพักการลงโทษโดยตลอด
เม่ือครบกําหนดตามคําพิพากษาแลวก็จะไดรับการปลอยตัวเปนบุคคลพนโทษ แตถาระหวางพักการ
ลงโทษผูใดประพฤติผิดเงื่อนไขการพักการลงโทษที่กําหนดไว หรือกระทําความผิดอาญาข้ึนมาใหมก็จะถูก
คมุ ขังยงั เรอื นจําเพอ่ื รบั โทษทเ่ี หลืออยูตอ ไปและถูกเพิกถอนการพกั การลงโทษ
ò. º¤Ø ¤Å¾¹Œ â·É
คอื บคุ คลทถ่ี กู ศาลพพิ ากษาลงโทษจาํ คกุ ปรบั สถานเดยี วหรอื เพยี งแตร อการลงอาญา
หรือพิพากษา ใหสงตัวเขาสถานฝกอบรมในสถานสงเคราะหของกรมราชทัณฑ เม่ือไดรับโทษน้ัน
ครบกําหนดตามคําพิพากษาแลว ใหถ ือวา เปน บคุ คลพนโทษ
ตาํ ÃǨ·ŒÍ§·è¡Õ Ѻº¤Ø ¤Å¾Œ¹â·É
สําหรับการควบคุมพฤติการณและการสอดสองความเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ
น้นั เมอ่ื หนว ยงานวทิ ยาการสงประวัติคนพนโทษ (แบบฟอรม ทว.กาํ หนด) ไปใหส ถานีตาํ รวจทองท่ี
ที่ผูพนโทษจะไปอยู แลว ใหทางสถานตี ํารวจทอ งท่ปี ฏบิ ัติ ดงั นี้
- สง่ั เจา หนา ทต่ี าํ รวจคอยสงั เกตการณแ ละความเคลอ่ื นไหวตา งๆ ของบคุ คลพน โทษ
รายงานพฤติการณความเคล่ือนไหวตาง ๆ ของบุคคลพนโทษนั้น สงไปใหหนวยท่ีเกี่ยวของทราบ
สําหรับ สน.ใหสงแบบรายงานพฤติการณและความเคลื่อนไหวน้ีตรงไปยัง ฝาย ฯ ๑ ทว. สวน สภ.
ใหส งไปยังศนู ยพ สิ จู นห ลักฐาน และใหสง ทว. ดว ย
- การรายงานใหรายงานทุกเดือน โดยสงใบรายงานนี้ออกจาก สน./สภ. ภายใน
วนั ท่ี ๕ ของทุกเดอื นจนกวาจะครบ ๑๒ เดือน หลังจากท่ไี ดพ น โทษไป แตถ า มเี หตกุ ารณเปน พิเศษ
ทจ่ี ะตอ งรายงานใหท ราบ จะตอ งรายงานใหท ราบเปน การดว นโดยไมต อ งรอใหค รบกาํ หนดวนั รายงาน
ประจาํ เดอื น
- เม่ือบุคคลพนโทษหรือบุคคลผูพักการลงโทษคนใดยายภูมิลําเนาออกไปจากทองท่ี
ให สน./สภ. เดิมสงบัตรประวัติอาชญากรของบุคคลพนโทษไปให สน./สภ. แหงใหมเพื่อดําเนินการ
สืบพฤติการณและความเคลื่อนไหวของบุคคลน้ันตอไป แลวรายงานการยายภูมิลําเนาของบุคคล
พน โทษไปใหหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง

๗๑

- ถา บคุ คลพน โทษนนั้ กระทาํ ความผดิ อกี ถงึ กบั ถกู จบั คมุ ขงั ถกู ศาลพพิ ากษาลงโทษ
จาํ คกุ ใหส ง บตั รประวตั นิ นั้ คนื หนว ยทเ่ี กย่ี วขอ ง พรอ มทงั้ รายงานดว ยวา ถกู จบั กมุ ในขอ หาอะไร ถกู ศาล
พพิ ากษาวา อยา งไร ถา ถกู ศาลพพิ ากษาวา ใหป ลอ ยตวั ไปโดยยกฟอ งไมต อ งสง บตั รประวตั คิ นื ใหร ายงาน
พฤติการณและความเคลื่อนไหวตอไป

- สอดสองและรายงานพฤติการณความเคลื่อนไหวของบุคคลพนโทษ ใหกระทํา
และรายงานเพยี ง ๑๒ เดอื น นับตัง้ แตว ันทบ่ี คุ คลนัน้ พนโทษไดถ กู ปลอ ยตวั ออกมาจากเรอื นจาํ

- เม่ือพน ๑๒ เดือนแลว ใหเ ก็บบตั รประวัติอาชญากรนน้ั ไวท ่ี สน./สภ. เพอื่ จะได
สอดสองดูแลพฤติการณตอ ไปแตไมตองรายงานอกี

ËÅ¡Ñ ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô¡Ñºº¤Ø ¤Å·èàÕ »š¹¼ÙÃŒ ÒŒ ·͌ §¶èÔ¹¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·èตÕ าํ ÃǨ

๑) สอดสองดูแลพฤตกิ ารณแ ละการเคลือ่ นไหวเปน พิเศษอยา งใกลชดิ
๒) ขน้ึ ทะเบยี นเปนผรู า ยทอ งถ่นิ โดยแยกเกบ็ บตั รประวัติอาชญากร
๓) แจง การขนึ้ ทะเบียนบุคคลเปนผรู ายทองถิ่นไปยังสวนราชการท่ีเก่ียวขอ ง
๔) เม่ือผูรายทองถิ่นยายภูมิลําเนา ใหสงบัตรประวัติไปยังสถานีตํารวจท่ียายไปอยู
แหง ใหมแ ลว รายงานหนว ยท่ีเก่ยี วขอ งทราบ
๕) เมอื่ ผรู า ยทอ งถนิ่ กระทาํ ความผดิ ถกู ศาลพพิ ากษาลงโทษจาํ คกุ ใหส ง บตั รประวตั คิ นื
หนว ยงานที่เกี่ยวของ
๖) เมอื่ ผรู า ยทอ งถน่ิ กลบั ตนเปน พลเมอื งดี หรอื ถงึ แกก รรมใหร ายงานหนว ยทเี่ กยี่ วขอ งทราบ
เพ่อื ถอนทะเบียนผูร ายทองถนิ่
ô.ñ.ò á¿Á‡ »ÃÐÇÑμԺؤ¤Å·àèÕ ¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ºÑ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ, ÊÒÂÅѺ, ʶҹ·,Õè áËŧ‹ ¢Ò‹ Ç

แฟมประวตั บิ คุ คลท่เี ก่ียวของกบั อาชญากรรม, สายลับ, สถานท่ี, แหลง ขาว มปี ระโยชน
อยางมากสําหรับงานสืบสวน เนื่องจากบางครั้งคนรายไปกอเหตุ และทราบแตเพียงช่ือเลน
ฝายสืบสวนก็สามารถมาคนขอมูลจากแฟมประวัติท่ีเคยจัดทําไวที่หองสืบสวน ซ่ึงอาจพบขอมูลของ
คนรา ยจนกระทงั่ นําไปสูการขอออกหมายจับคนรายดงั กลาวได

๗๒

ô.ò °Ò¹¢ŒÍÁÙÅ¡ÒÃÊº× ÊǹÃдºÑ สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔ

ô.ò.ñ ¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÙźؤ¤Å·Ò§·ÐàºÕ¹ÃÒɮÏ ทําãËŒ·ÃÒº¶Ö§
๑. ชือ่ สกลุ หมายเลขบตั รประชาชน
๒. ภาพถายทางทะเบยี นราษฎร
๓. ภมู ิลําเนาเดมิ สถานทีอ่ ยู เครอื ญาติ
๔. รายการเปลยี่ นแปลงชอ่ื สกุล ที่อยู
๕. บุคคลผรู บั รองรายการบัตร
๖. หมายเลขโทรศพั ท

ô.ò.ò ¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÅÙ ÂÒ¹¾Ò˹Рทาํ ãËŒ·ÃÒº¶§Ö
๑. ชอื่ สกลุ ผูครอบครองผถู ือกรรมสิทธ์ยิ านพาหนะ
๒. ท่ีอยูผ คู รอบครองผถู ือกรรมสิทธย์ิ านพาหนะ
๓. หมายเลขเคร่อื งยนต หมายเลขตวั ถัง
๔. วันเดือนปท ่จี ดทะเบยี น
áËŧ‹ ·ÁèÕ Ò¢Í§¢ÍŒ ÁÅÙ
- โปรแกรม POLIS ของ ตร.
- โปรแกรม CRIMES

â»Ãá¡ÃÁ POLIS

๗๓

â»Ãá¡ÃÁ CRIMES

¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÙÅÂÒ¹¾Ò˹РμÃǨÊͺ¨Ò¡ÈٹʡѴ¡¹Ñé ¡ÒÃลําàÅÕ§ÂÒàʾμÔ´

๗๔

ô.ó °Ò¹¢ŒÍÁÅÙ ¡ÒÃÊº× Êǹ¨Ò¡Ë¹‹Ç§ҹÍ×è¹

การตรวจสอบขอ มลู บุคคลทางทะเบียนราษฎร โปรแกรม AMI ของกรมการปกครอง

Āöć÷ëċÜðøąđõìïÙč Ùú Āöć÷ëÜċ øĀÿĆ ×ĂÜÿĞćîÖĆ
àċęÜöǰĊ ǰðøąđõì ìąđï÷Ċ î

êĆüđú×êøüÝÿĂïÙüćöëÖĎ êĂš Ü

Āöć÷ëÜċ ÖúčöŠ ì×Ċę ĂÜïčÙÙúĒêúŠ ą Āöć÷ëċÜúĞćéĆïì×Ċę ĂÜïčÙÙúĔîĒêŠ
ðøąđõìêćöĀúÖĆ ĒøÖǰĀøČĂđúöŠ ìĊę úąÖúŠöðøąđõìǰĀøĂČ ĔïÿêĉïĆêø

๗๕

¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÙÅÂÒ¹¾Ò˹Р¨Ò¡¡ÃÁ¡Òâ¹Ê‹§·Ò§º¡

¡ÒÃμÃǨÊͺ¨Ò¡Ãкº DXC ¢Í§ÈÙ¹ÂᏠšà»ÅÂÕè ¹¢ŒÍÁÅÙ ¡Ãкǹ¡ÒÃÂØμÔ¸ÃÃÁ

๗๖

¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ŒÍÁÅÙ ·Ò§¸¹Ò¤Òà ¡ÒÃÊ׺Êǹ·Ò§¡ÒÃà§Ô¹

ทาํ ใหท ราบถงึ ชือ่ สกลุ ที่อยู หมายเลขโทรศพั ทของผูเปดหมายเลข เลขบญั ชีหากทราบ
หมายเลขบัตรประชาชน ๑๓ หลัก ทําใหทราบขอมูลท่ีอยู หมายเลขโทรศัพทของผูเปดบัญชี
การเคลอ่ื นไหวทางบัญชีกลอ งวงจรปด ผานกลองวงจรปดของทางธนาคาร

ñ. ¢ÍŒ ÁÅÙ ·Õäè ´¨Œ Ò¡¡ÒÃμÃǨÊͺºÑÞªÕ
๑. คําขอเปดบญั ชี
๒. ขอ มูลบคุ คลประกอบการขอใชบริการ
๓. รายการเคลื่อนไหวทางบัญชี

ò. à·¤¹Ô¤¡ÒÃμÃǨÊͺºÑÞª¸Õ ¹Ò¤ÒÃã¹àºÍ×é §μŒ¹
๑. ตรวจสอบสาขาบญั ชธี นาคาร
๒. ตรวจสอบเจา ของบัญชีผานทาง i - banking
๓. ตรวจสอบเจาของบญั ชผี า นทาง ATM ฯลฯ

ó. áËÅ‹§¢ÍŒ ÁÙÅ㹡ÒÃμÃǨÊͺ¢ŒÍÁÅÙ ·Ò§¸¹Ò¤ÒÃ
- ธนาคารพาณิชยทกุ สาขา (โดยเฉพาะสาขาเจาของบัญชี)
http://www.bot.or.th/Thai/Pages/BOTDefault.aspx
- ตรวจสอบสาขาไดจากเว็บไซตข องธนาคารแหง ประเทศไทย

ô. ¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÙÅ·Ò§¸¹Ò¤Òà Website ¸¹Ò¤ÒÃáË‹§»ÃÐà·Èä·Â

๗๗

õ. μÃǨÊͺÀÒ¾¨Ò¡¡ÅÍŒ §Ç§¨Ã»´ ¢Í§¸¹Ò¤ÒÃà¾Í×è ËÒμÇÑ ¤¹ÃÒŒ Â
ภายหลังจากที่ไดทําการตรวจสอบขอมูลหมายเลขบัญชีธนาคารดังกลาวแลว

และพบหลักฐานเก่ียวกับการโอนเงิน ใหขอทําการตรวจสอบภาพจากกลองวงจรปดของธนาคาร
การตรวจสอบภาพวงจรปดจากธนาคารน้ัน จะตองทําหนังสือไปตรวจสอบจากธนาคาร พรอมทั้ง
ออกหมายเรยี กเปนหมายเรยี กพยานเอกสาร

ö. μÃǨÊͺ¢ŒÍÁÅÙ ¸ÃØ ¡¨Ô ¡ÒäŒÒ เชน บริษัท หางหนุ สวนจาํ กดั งบดุล ฯลฯ ทาํ ใหทราบถึง
- ตรวจสอบทีอ่ ยู ที่ตั้ง บรษิ ัท หา งหุนสว นจาํ กัด
- ตรวจสอบกรรมการของบรษิ ทั หา งหุนสว นจาํ กดั

¡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÙÅ·ÐàºÂÕ ¹¸ÃØ ¡Ô¨
การตรวจสอบขอมูลทะเบียนธุรกิจ เปนการตรวจสอบขอมูลนิติบุคคลวา บริษัทจาํ กัด
หางหุนสวนจํากัด บริษัทมหาชน มีใครเปนกรรมการบาง จํานวนเทาไหร และกรรมการผูจัดการ
เปน ใคร นิติบุคคลดงั กลาวตงั้ อยูทใี่ ด
áËÅ‹§¢ÍŒ ÁÅ٠㹡ÒÃμÃǨÊͺ¢ÍŒ ÁÅÙ ·ÐàºÂÕ ¹¸ØáԨ
๑. กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณชิ ย
๒. เว็บไซตของกรมพัฒนาธรุ กจิ การคา

http://www.dbd.go.th/main.php?filename=index

๗๙

º··èÕ õ

à·¤¹¤Ô ¡ÒÃÊº× Êǹ

õ.ñ à·¤¹Ô¤¡ÒÃ椄 à¡μ¨´จาํ (Observed recognition)

¡ÒÃÊѧà¡μ¨´จํา หมายถึง การท่ีสมองสามารถจดจาํ ภาพท่ีสัมผัสไดอยางแจมชัด
โดยสามารถแยกรายละเอยี ดการจดจาํ ไดว า ภาพทเ่ี หน็ ทงั้ หมดนน้ั ประกอบดว ยรายละเอยี ดอะไรบา ง
บุคคลทั่วไปมักจะจําแบบไมไดสังเกต คือ เม่ือมองเห็นอะไรก็จะมองผานไป จะจําไดก็เพียงโครงราง
เทา นนั้ เมอื่ ถามถงึ รายละเอยี ดกจ็ ะไมส ามารถตอบได หรอื จาํ ไดแ ตเ พยี งเปน ความรสู กึ ภายในของตน
เทาน้ัน ไมสามารถบอกกลาวใหเปนรูปธรรมได ตัวอยางเชน จําเสียงคนได แตบอกไมไดวาเสียง
แตกตา งกวา ผอู นื่ อยา งไร หรอื จาํ ทา เดินคนได แตบ อกไมไ ดว า เขาเดนิ ลกั ษณะอยา งไร หรอื จาํ หนา คน
ได แตบ อกไมไดว าเขามีตําหนริ ูปพรรณอยางใด เปน ตน

เนอื่ งจากบคุ คลธรรมดาทว่ั ไปกจ็ ะมคี วามจาํ อยแู ลว แตเ มอื่ บคุ คลผนู นั้ เขา มาเปน เจา หนา ที่
ตํารวจก็ควรท่ีจะตองเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจดจําแบบบุคคลท่ัวไปมาเปนการจําโดยมีวิธีสังเกต
เขามารวมดวย เพื่อใหเปนรูปแบบการจําแบบเจาหนาที่ดวย การสังเกตจดจําของเจาหนาท่ีเปนการมอง
สงั เกตเพ่ือจดจาํ รายละเอยี ดเกยี่ วกบั บคุ คล, สถานที่ และพฤติการณ

¢Ñ¹é μ͹¢Í§¡ÒÃÊѧà¡μ/¨´จาํ
๑. รบั รดู วยประสาทสมั ผัส (จาํ เปน ภาพรวมๆ)
๒. สงั เกตรายละเอียดปลกี ยอย
๓. จดสง่ิ ท่ีจาํ (พบ)
๔. จดจาํ จากทา ทางหรือบุคลิกทีแ่ สดงออก
¡Òè´จําตํา˹ºÔ ¤Ø ¤Å
๑. จดจําลกั ษณะใหญ เชน เพศ วัย รูปรา ง สีผวิ
๒. จดจําลกั ษณะเดน เชน แผลเปน ลายสกั ความพกิ าร ลกั ษณะเพยี งบางอยา งทสี่ ามารถ
จําไดอ ยางแมน ยาํ เชน หนา เหมอื นนกั การเมอื ง ดารา
๓. จดจําเครื่องแตงกาย เชน ลักษณะเส้ือ กางเกง เข็มขดั สรอย แหวน นาิกา หมวก
๔. ใหรีบจดบนั ทกึ ทนั ทีใหจดตามท่เี ห็นจรงิ แลวมอบรายละเอยี ดใหเจาหนา ที่ผเู กย่ี วขอ ง
๕. การจดจาํ ใบหนาใหใชการจดจําใบหนาภาพรวมกอน ไมตองแยกจําทีละสวน
แลว คอยใชก ารระลึกภาพใบหนา แยงเปน สว นๆ

๘๐

μÒÃÒ§áÊ´§Å¡Ñ ɳÐÀÒ¹͡·èãÕ ªŒÊѧà¡μ¨´จําä´Œ§Ò‹ Â

ÅѡɳРÃÒÂÅÐàÍÕ´μ‹Ò§æ
à¾È ชาย หญิง กะเทย
ÇÂÑ เดก็ ผใู หญ วัยรุนหรือประมาณอายุเทาไร ฯลฯ

ÃٻËҧ อว น ผอม สูง เตี้ย สันทดั รางกายกาํ ยํา หรือผอมแหง ฯลฯ
ÊÕ¼ÔÇ ขาว เหลอื ง คลํ้า ซีด เห่ยี วยน ฯลฯ
à¤ÃèÍ× §á짋 ¡Ò เสื้อผา เครื่องประดบั สรอย แหวน นาฬก า หมวก ฯลฯ
àªé×ͪÒμÔ ไทย จีน แขก ฝร่ัง ลูกครึ่ง ฯลฯ

¡ÒÃ椄 à¡μ¨´จํา¾ÄμÔ¡Òó
เปน ลกั ษณะนสิ ยั บคุ ลกิ ภาพสวนตวั หรอื การใชในชีวติ ประจําวนั เชน
- เขา ออกบานไมเ ปน เวลา - การเดนิ ทางมเี สน ทางประจําหรอื ไม
- มรี า นอาหารประจาํ หรอื ไม - ลักษณะการขบั รถยนตชา หรือเรว็
- เปนคนข้รี ะแวงสงสัยหรือไม - ชอบไปทีใ่ ดที่ผดิ ปกติ
- มีการทง้ิ ส่ิงของใดระหวา งทางหรอื จุดใดหรือไม
¡ÒÃÊѧà¡μ¨´¨íÒʶҹ·èÕ
การสังเกตจดจําสถานที่ใหเริ่มจําจากสถานที่ต้ังน้ันกอน แลวสังเกตรายละเอียดภายใน
การสังเกตควรสงั เกตทง้ั ภายนอกและภายใน
ก. ลกั ษณะภายนอก
- หากมีชื่อ ชื่อวาอะไร เลขที่อาคาร ทองที่เทาไร ชั้นใด ตั้งอยูบนถนนอะไร
ลักษณะเดน ของอาคาร เชน ตึก ไม กระจก
- ทางเขา -ออก มกี ่ที าง อยางไรบาง
- สงิ่ ปลูกสรา งหรือสภาพแวดลอ มโดยรอบบริเวณภายนอกมีลักษณะอยางไร

๘๑

ข. สถานทีย่ อ ยหรือลักษณะภายใน
ลักษณะภายในมีความเปนอยูอยางไร เชน จํานวนหองนอน หองนั่งเลน หองนํ้า

หอ งครวั ประตู ลักษณะเฟอรนิเจอร สิ่งของเครอื่ งใช
ค. ขนาดของพ้นื ที่
ÊèÔ§·ทèÕ าํ ãËŒà¡´Ô ¢ŒÍ¼Ô´¾ÅҴ㹡ÒÃ椄 à¡μ¨´จาํ
๑. สภาพจติ ใจหรอื อารมณข องผูจ ดจาํ เชน กําลังหงดุ หงดิ ไมสบายใจ
๒. ขาดความสนใจ ใสใ จ ตอเหตุการณท ่เี กิดขึ้น
๓. การมีความรสู ึกอคติ ทง้ั ตอ งาน หรือกบั เปา หมาย

õ.ò à·¤¹Ô¤¡ÒÃสาํ ÃǨʶҹ·èÕ

การสํารวจสถานท่ี (Casing) คือ การสํารวจตรวจสอบเพื่อทราบรายละเอียดตางๆ
เกย่ี วกบั สถานทท่ี จี่ ะปฏบิ ตั งิ านและเพอ่ื ดาํ เนนิ การวางแผนปฏบิ ตั กิ าร โดยเฉพาะการสบื สวนแบบเฝา จดุ
สะกดรอยติดตามพฤติการณของบุคคล เปนการกระทําเพื่อหาขอมูลทางดานการขาวเกี่ยวกับบุคคล
และสถานทก่ี อ นการปฏบิ ตั งิ าน ซง่ึ ขอ มลู ทไ่ี ดจ ะนาํ มาใชใ นการวางแผนการปฏบิ ตั งิ าน กาํ หนดจดุ และ
ตําแหนงหนาที่ของผปู ฏิบตั ิแตละคน

ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤
๑. เพ่ือใหร ชู อ งทางทีด่ ีทีส่ ุด ในการเขา-ออก สถานท่ปี ฏิบตั ิการ
๒. เพ่ือใหร ูว า จะใชว ธิ ใี ดในการอําพรางตัว เพื่อทีจ่ ะเขา ไปในสถานท่ปี ฏิบตั กิ าร
๓. เพื่อใหร ูวา สถานท่ปี ฏบิ ัตกิ ารมอี ปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานอยางไร
วิธกี ารในการสาํ รวจ จะดาํ เนินการใน ๒ ลกั ษณะ คอื
๑. สํารวจดวยตา เปนการใชโสตประสาทและสายตาในการสังเกตจดจํา เน่ืองจาก
อาคารสถานท่ีโดยสวนใหญมักจะไมอนุญาตใหมีการบันทึกภาพ ดังน้ันผูปฏิบัติจึงตองอาศัยเทคนิค
ในการสงั เกตจดจํา หรอื แอบบนั ทกึ ภาพดวยอุปกรณตา งๆ
๒. สํารวจในทางลบั เปน การเขาไปปฏิบัตโิ ดยไมเปด เผยฐานะ ซง่ึ ผปู ฏิบัตจิ ะตองใชวิธี
อาํ พรางตนซงึ่ จะตอ งไมใ หม สี งิ่ ผดิ สงั เกตวา เรากาํ ลงั ทาํ อะไร การสาํ รวจสถานที่ มกั จะตอ งกระทาํ คกู บั
การสงั เกตจดจาํ เสมอ เพราะพบวา บางครงั้ เมอ่ื ไปทาํ การสาํ รวจ จะไมส ามารถนาํ กระดาษและปากกา
มาเขยี นหรือจดขอ มลู ตา งๆ ได ฉะนนั้ จงึ ตองอาศยั การสังเกตและจดจําท่ดี ี และใหรบี จดรายละเอียด
ทนั ทีสามารถจะจดได เพราะถา หากทง้ิ ไวน าน จะทําใหล มื ขอ มลู ทไ่ี ปสํารวจมาได

๘๒

¡ÒÃàμÃÂÕ Á¡ÒÃ㹡ÒÃสําÃǨʶҹ·Õè
ñ. ¡ÒÃàμÃÕÂÁ¡ÒÃ
๑.๑ กาํ หนดความตอ งการขาวสารท่ตี องการหาทช่ี ดั เจน ครอบคลมุ
๑.๒ เตรยี มสรา งเรื่องเพ่อื ปกปด ตัวเอง
๑.๓ การเตรยี มในการวัดระยะโดยการเทียบกับสว นตา งๆ ของรา งกาย
๑.๔ หาขอ มลู หรอื ศกึ ษาสภาพทวั่ ไปเทา ทห่ี าไดจ ากแผนทห่ี รอื ภาพถา ยหรอื ขอ มลู
ท่มี ีอยแู ลว
๑.๕ เวลาทีเ่ ขาไปสาํ รวจ ควรมีการเขาไปสาํ รวจหลายๆ คร้งั ในชวงเวลาท่ตี า งๆ กัน
เพอื่ ดสู ภาพบคุ คลและสถานท่วี า เปล่ียนไปเชน ไร
๑.๖ เครอ่ื งมอื เคร่อื งใชท ่จี ําเปน
๑.๗ เตรียมเคร่อื งแตงกายใหเหมาะสมกบั สถานที่
๑.๘ กําหนดวธิ ีการหาขาวอน่ื ๆ นอกเหนือจากการสํารวจสถานท่ี
๑.๙ คาดคะเนอันตรายและอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นได เพ่ือผูปฏิบัติการจะได
เตรยี มการแกไ ขไวลวงหนา
ò. ¡ÒÃŧÁ×Í»¯ÔºμÑ Ô§Ò¹ã¹¡ÒÃสาํ ÃǨʶҹ·èÕ
๒.๑ ระหวา งปฏบิ ตั กิ ารตอ งทาํ ตัวเปน ปกตแิ ละคิดถึงเรือ่ งที่ใชในการอําพรางตวั
๒.๒ รวบรวมขา วสารดวยการจดบันทกึ การวัดโดยการไมใ หผอู ืน่ สงั เกตเห็น
๒.๓ พยายามรวบรวมขาวสารใหไดครบถวนต้ังแตครั้งแรก เพื่อจะไดไมตองกลับ
ไปอีกเพราะอาจผิดสงั เกต
๒.๔ เหตุการณหรือปรากฏการณในสภาพที่เปนอยูตามเวลาตางๆ ตองบันทึก
อยา งถูกตอ ง
๒.๕ จุดท่ีถายภาพหรือจุดที่มองเห็นภาพของสถานที่ตองทําการบันทึกไวดวย
¡ÒÃà¢Õ¹ÃÒ§ҹ¡ÒÃสําÃǨʶҹ·èÕ จะตอ งมีรายละเอียดอยางนอ ย ดงั ตอ ไปน้ี
๑. ชื่อผูสํารวจ ถาเปนไปไดควรใชรหัสแทน เพราะถาใสช่ือแลวอาจเกิดอันตราย
แกผูปฏิบัติในภายหลัง
๒. วันเวลาท่ที าํ การสาํ รวจ ตองชดั เจนแนน อน
๓. ขอมลู สถานที่
- เลขท่ีอาคาร/ชอื่ อาคาร - ลกั ษณะอาคารปูน ไม ปูนก่ึงไม
- ทีต่ งั้ ของอาคาร ตลอดจนสถานทท่ี ่ีใกลเคียง
๔. เสนทางเขา-ออก
- ภายนอกอาคาร - ภายในอาคาร (ถา สามารถทาํ ได)
๕. เสนทางคมนาคมและการจราจร เชน เดินรถทางเดียว หรือสองทาง สภาพถนน
๖. บุคคลในสถานท่ี
- การแตง กาย - การพูดจา
- ขนบธรรมเนียมประเพณี - อ่ืนๆ ท่คี วรทราบ

๘๓

๗. การติดตอ สือ่ สาร
- สัญญาณโทรศัพทช ัดเจนหรือไม
- การใชวทิ ยสุ ่อื สารในจุดตางๆ มีความชัดเจนเพียงใด
๘. อุปสรรคและความเสีย่ งตางๆ ทีจ่ ะเกิดขนึ้
- ยาม/รปภ./สนุ ัข - กลองวงจรปด /สญั ญาณกนั ขโมย
- กาํ แพงสูง/ลวดหนาม/รว้ั มีกระแสไฟฟา
- คนเฝาระวังสถานที่
๙. ความคดิ เห็น
- ดี และไมดี - เฝา จุดไดหรอื ไม ถา ไดจะเฝาไดท่จี ุดใด
- สามารถปฏิบัตกิ ารในทางลับไดหรือไม
๑๐. จัดทาํ แผนท่ปี ระกอบ/ภาพถายประกอบ
- แผนที่โดยรอบประกอบทต่ี ้งั สถานท่ีใกลเ คยี ง เสนทางคมนาคม เปนตน
- แผนท่สี ถานท่ีจะตองกาํ หนดทศิ ทางใหชดั เจน เชน ทศิ เหนือ, ใต, ออก, ตก
- แผนทภ่ี ายในสถานท่ี เชน ภายในอาคาร แผนท่ีช้ันตา งๆ ของอาคาร
- ภาพถา ยตอ งเปนภาพถา ยจรงิ ท่ีไดทาํ การสํารวจ
ËÅÑ¡สํา¤ÑÞ㹡ÒÃสําÃǨ คือ ตองไปสํารวจจริง ใหขอมูลตามจริง หามใชการคาดเดา
เห็นกบ็ อกวาเหน็ ไมเห็นก็บอกวา ไมเ ห็น

õ.ó à·¤¹¤Ô ¡ÒÃཇҨ´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍ (Surveillance)

กรณีนักสืบตองการหาขอมูลพยานหลักฐานเพ่ิมเติมเก่ียวกับบุคคล สถานท่ี ขอเท็จจริง
และพฤติกรรม หรอื ตองการตรวจสอบความถูกตอ งของขาว สามารถใชเ ทคนคิ การเฝาจุดติดตามสะกดรอย
มาใช ซงึ่ เปนเทคนคิ ในการรวบรวมขอ มลู ของนกั สบื ชนดิ หนึ่ง เทคนิคน้เี ปน เทคนิคท่ีตอ งใชร ะยะเวลา
กําลังคน และความอดทนตอเนอื่ งของนักสืบดว ย

ñ. ¤ÇÒÁËÁÒ¡ÒÃཇҨ´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍ (Monitoring And Surveillance)
หมายถึง การเฝาสังเกตการณหรือติดตาม บุคคล ยานพาหนะ สถานที่ หรือ

สิ่งของอื่นอยางตอเน่ืองหรือในชวงระยะเวลาหน่ึงโดยไมใหผูถูกเฝาสังเกตการณหรือผูถูกติดตามรูตัว
(เวนบางกรณีทผี่ ูถูกเฝาสงั เกตการณห รือผถู ูกตดิ ตามรตู ัวได เชน เพือ่ ปอ งปรามไมใหค นรายกระทาํ ผิด
เพ่อื อารักขาบุคคลหรือสายลับ)

ò. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤áÅлÃÐ⪹¢ ͧ¡ÒÃཇҨشμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ
๒.๑ เพอ่ื พทิ กั ษเจาหนา ที่ บุคคลสําคญั หรอื สายลับ
๒.๒ เพอ่ื หาขอ เทจ็ จริงและพยานหลกั ฐานตา งๆ
๒.๓ เพอ่ื หาหรอื ชตี้ วั บคุ คลหรอื ผูทีม่ ีความสัมพันธก ับเปาหมาย

๘๔

๒.๔ เพ่อื หารายละเอยี ดขอ มลู กิจกรรมตางๆ ของเปา หมาย เชน ทพ่ี ัก แหลงท่ี
หลบซอ น แหลง ทีไ่ ปเปนประจาํ เปนตน

๒.๕ เพอื่ ทดสอบความนา เชอ่ื ถอื ของขา ว ความนา เชอื่ ถอื ของสายลบั หรอื แหลง ขา ว
๒.๖ เพื่อตองการทราบทซ่ี กุ ซอ นสิง่ ของผดิ กฎหมาย
๒.๗ เพื่อหาขอมูลสําหรบั ใชใ นการซักถาม สอบปากคํา
๒.๘ เพือ่ ตอ งการทราบแหลงท่ีพกั ท่ีหลบซอนของผกู ระทําผิด
๒.๙ เพอื่ หาขอ มลู สนบั สนุนการขอหมายจบั
๒.๑๐ เพือ่ พฒั นาดานขา วกรอง หรือตดิ ตามแหลงทม่ี าของขา วลือ
๒.๑๑ เพือ่ หาขอมลู ในการปองกนั อาชญากรรม เปนตน
ó. ¡ÒÃàμÃÂÕ Á¡ÒÃà½Ò‡ ¨´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ

การเตรยี มการเฝา จุด
ตดิ ตามสะกดรอย

๑. บุคคล ๒. ขอ มลู อปุ กรณ ๓. ศนู ยป ฏิบตั ิการ
(Command &

Control)

ó.ñ ºØ¤¤Å เปน การเตรยี มตวั ของเจา หนาทเ่ี ฝาจดุ สะกดรอยในดานตางๆ ไดแ ก
ó.ñ.ñ ¤Ø³ÊÁºμÑ Ô¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·ÕèÊС´ÃÍ·èÕ´Õ ตอ งมี
- มีความรูทางดานหลักวิชาเฝาจุดติดตามสะกดรอย การสํารวจ

(Casing) การทําแผนที่ การวางแผน การอําพราง การถา ยภาพ และยทุ ธวธิ ตี ํารวจ เปน ตน
- มีความรอบรู ชํานาญสถานท่ี เสนทาง ในพ้ืนที่ที่จะไปเฝาจุด

ตดิ ตามสะกดรอย
- มีรปู รา ง และบคุ ลิกภาพ และการแตง กายทีเ่ หมาะสม
- มคี วามจดจําที่ดี มีสมาธิ รอบคอบ ระมดั ระวงั
- มีความสามารถในการประเมนิ บุคคล สถานการณ
- เกบ็ ความลบั ไดด ี ต่นื ตวั อยูเ สมอ
- มไี หวพรบิ ปฏภิ าณดี สามารถแกป ญ หาเฉพาะหนา ได มจี นิ ตนาการ

๘๕

- มคี วามอดทน เสยี สละ และควบคมุ อารมณไดด ี
- สามารถทํางานรว มกับคนอ่ืนได
ó.ñ.ò ʧÔè ·èÕà¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕÊС´ÃÍÂμŒÍ§ทาํ ËÃÍ× μÍŒ §ÃŒÙ¡Í‹ ¹»¯ÔºÑμ¡Ô ÒÃ
๓.๑.๒.๑ เจาหนาที่สะกดรอยตองทําการศึกษาสถานท่ีที่จะ
ไปทําการเฝาจุดติดตามสะกดรอย โดยตองไปสํารวจสถานที่ ดูท่ีตั้ง การคมนาคม ยานพาหนะ
โดยสาร สิ่งแวดลอม กิจกรรมพ้ืนฐานในพ้ืนที่ เสนทางเขา-ออก จุดท่ีสามารถวางตัวสังเกตการณ
จุดจอดรถ เปน ตน โดยตอ งทําการถายภาพ เขยี นแผนทีม่ ากอ นเพ่ือเปนขอมลู พื้นฐานในการวางแผน
การปฏบิ ตั ิการ
๓.๑.๒.๒ เจาหนาท่ีสะกดรอยตองทําความรูจักกับตัวเปาหมาย
จากการชต้ี วั หรอื ดูภาพถาย
๓.๑.๒.๓ เจาหนาท่ีสะกดรอยตองเตรียมกระดาษ สมุด ดินสอ
ปากกา หรอื เคร่อื งมอื บนั ทึกภาพ บนั ทกึ เสียง ตําหนิรูปพรรณของเปาหมาย เงนิ ทนุ สาํ รอง
๓.๑.๒.๔ เจาหนาที่สะกดรอยตองรูเกี่ยวกับทีมงาน มีใครบาง
จํานวนก่ีคน ใชยานพาหนะอะไร มีเครือขายการติดตอส่ือสาร สัญญาณท่ีใชเปนอยางไร (แบบไมใช
เครื่องมอื แบบใชเครื่องมือสื่อสาร แบบการใชส ่อื สารสนเทศ เปนตน)
ó.ò ¢ŒÍÁÅÙ Í»Ø ¡Ã³ เจาหนา ทส่ี ะกดรอยตองเตรียมขอมูล ทรพั ยากร อปุ กรณ
เครือ่ งใชสําหรบั ใชดาํ เนินการใหค รบถว น ไดแก
๓.๒.๑ ขอมูลของบุคคลเปาหมาย เชน ภาพถาย ตําหนิรูปพรรณ
ตาํ หนพิ เิ ศษ นิสยั พฤตกิ รรม ยานพาหนะ การตดิ ตอสอ่ื สาร อาชพี สถานท่ที าํ งาน ประวัตติ องคดี
ความอนั ตราย ครอบครัว บคุ คลท่ีเกีย่ วขอ งดวย โดยสังเขป เปนตน
๓.๒.๒ อปุ กรณก ารสอื่ สาร เชน วทิ ยสุ อื่ สาร โทรศพั ทม อื ถอื เครอื่ งมอื พเิ ศษ
เปน ตน ควรตรวจสอบใหใ ชก ารไดเ ปน อยา งดี มถี า นหรอื แบตเตอรส่ี าํ รองไว เพราะอาจตอ งปฏบิ ตั กิ าร
เปน เวลานานไมสามารถสบั เปล่ยี นกําลังได
๓.๒.๓ ยานพาหนะตองไมฉูดฉาด ตองกลมกลืนกับสภาพแวดลอม
ไมเปน ยานพาหนะ รนุ ยี่หอ สีของทางราชการตํารวจใช ไมต ิดสตก๊ิ เกอรเปน จุดเดน เปน ตน
๓.๒.๔ เส้ือผาเครื่องแตงกายตองเขากับสภาพแวดลอม รูจักกาลเทศะ
สีไมฉูดฉาด ไมเปนที่สะดุดตา เชน เปนย่ีหอดังที่กําลังนิยม ควรเปนเสื้อผาที่ดูปกติที่สุดเทาท่ีทําได
นอกจากน้ันควรเปนเสือ้ ผา ทม่ี ีความสะดวกสบายในการสวมใส เนื่องจากชัว่ โมงในการทํางานอาจยาวนาน
เจาหนา ทอ่ี าจตอ งเตรียมเสือ้ ผา สาํ รองไวอ กี ชดุ หน่ึงเพอ่ื เปลย่ี นระหวา งปฏิบตั ิการได
ó.ó Èٹ»¯ÔºÑμÔ¡Òà (Command and Control) ในการปฏิบัติการสะกดรอย
ตดิ ตาม ตอ งมกี ารตงั้ ศนู ยค วบคมุ สง่ั การ เพอื่ ประโยชนใ นการวางแผนการสะกดรอย ควบคมุ สงั่ การให
เปน ไปตามเปา หมาย ใหข อ มลู ตรวจสอบขอ มลู ทเี่ จา หนา ทส่ี ะกดรอยไดม าและสง กลบั ไปใหเ จา หนา ท่ี

๘๖

สะกดรอยใชป ระโยชน เชน ชือ่ ท่อี ยู ทะเบียนรถ ประวัตหิ มายจบั ตามโปรแกรม POLIS เปนตน
และทําการชวยเหลือสนับสนุนในดานตางๆ แกชุดปฏิบัติงาน รวมถึงรวบรวมรายงานการสะกดรอย
ภาพถา ย ขอมลู ทกุ ชนดิ ท่ไี ดม าจากการปฏิบตั กิ าร นําไปวเิ คราะหตอ ไป

ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ·èàÕ ¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§¡ºÑ ¡ÒÃཇҨ´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ
๔.๑ การสาํ รวจ Casing
๔.๒ การเขยี นแผนที่
๔.๓ การอําพรางตวั
๔.๔ การสังเกตจดจาํ
๔.๕ การบันทึกภาพ และเสียง
๔.๖ การเคลือ่ นท่ี การวางตวั
๔.๗ การเฝาจดุ
๔.๘ การจดบันทึก ทาํ รายงาน
๔.๙ แผน ยทุ ธการ และการสง กําลงั บํารงุ

õ. Í´Ø Á¤μÔ ¢ÍŒ ÃÐÅ¡Ö ¢Í§à¨ŒÒ˹Ҍ ·μèÕ ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ
เจาหนาที่สะกดรอยตองระลึกอยูเสมอวาในการปฏิบัติหนาท่ี เจาหนาท่ีสะกดรอย

มีหนาทส่ี าํ คัญอยู ๓ ประการ คือ
๕.๑ เปน นกั สืบ
๕.๒ เปน นกั รวบรวมขอ มลู และคาํ นงึ อยอู กี เสมอวา “เปา หมายหลดุ ดกี วา งานแตก”
๕.๓ การปฏบิ ัติงานสะกดรอย เนน การทํางานเปนทมี (Teamwork)
สมาชิกทุกคนในทีมมีความสําคัญเทาเทียมกัน ตองรูขอมูลเทาๆ กัน

แตอยางไรก็ตามตองยอมรับวาทุกคนมีความสามารถและถนัดไมเทากัน จึงเปนหนาที่ของหัวหนาชุด
ท่จี ะแบงภารกิจตามความเหมาะสม

“มีการส่อื สารทดี่ ี คิดเหมอื นกนั ไวใจ เช่อื มน่ั ในทีมงาน ซื่อสตั ย และภูมใิ จ
ในงานทท่ี าํ ”

ö. ¡ÒÃμ´Ô μÍ‹ Ê×èÍÊÒÃÃÐËÇ‹Ò§¡ÒÃཇҨ´Ø μÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂ
ö.ñ ¡ÒÃμ´Ô μÍ‹ ÊÍ×è ÊÒ÷ÁÕè Õà¤ÃÍè× §Á×ÍÊ×èÍÊÒà ในหลักการสากลเจา หนา ทสี่ ะกดรอย

จะใชส ญั ลักษณห รือคาํ พูดแทนบคุ คลหรือกจิ กรรมตา งๆ ดงั น้ี
๖.๑.๑ ผูที่เราตดิ ตาม ใชค าํ วา “เปา หมาย” หรือ “Target” (T) หรือใน

การพูดภาษาวทิ ยุอาจใชคาํ วา “กระตา ย”
๖.๑.๒ เจาหนาท่ีสะกดรอยผูที่อยูดานหนาสุดจะเปนผูสังเกตการณ

เปาหมายและแจง ความเคลือ่ นไหวของเปา หมาย ใชค ําวา “ตา” หรอื “Eyeball”

๘๗

๖.๑.๓ เจาหนาทส่ี ะกดรอยคนตอ ไปท่ีตดิ ตามมาจะใชคาํ วา Footman ๑
หรอื ๑ / Footman ๒ หรอื ๒ ตอ ไปเร่ือยๆ จะไมม กี ารเรยี กชื่อจรงิ นามสกุลจริง ตําแหนง หรอื อะไร
ทีบ่ อกที่มาท่ไี ปไดเดด็ ขาด

๖.๑.๔ ยานพาหนะ ใชแทนคาํ วา “๑” “๒” “๓” หรือ “คนั ท่ี ๑” “คันที่ ๒”
“คันท่ี ๓” ตอไปเร่อื ยๆ จะไมเ รียกยีห่ อ สี หรือชอ่ื คนขบั

ö.ò ¡ÒÃμÔ´μ‹ÍÊ×èÍÊÒÃâ´ÂäÁ‹ÁÕà¤Ã×èͧÁ×ÍÊè×ÍÊÒà อาจใชสัญลักษณตางๆ แทน
การพูดได เชน

= เปนตา (eyeball) หรอื เปนผทู ีส่ ังเกตเปาหมาย

วางมอื แนบลาํ ตัวแบมือโบกไปขางหนา = เคลอื่ นท่ีไปขางหนา
วางมือแนบลาํ ตวั แบมือโบกไปขางหลงั = เคล่ือนทีไ่ ปขางหลัง
วางมือแนบลําตัวแบมือ = หยดุ เคล่ือนท่ี
วางมือแนบลาํ ตวั โบกฝามอื ไปทางซา ย = เลย้ี วซา ย
วางมือแนบลําตวั โบกฝามอื ไปทางขวา = เล้ยี วขวา เปนตน
÷. »ÃÐàÀ·¢Í§¡ÒÃཇҨ´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍ (Surveillance Style)

ประเภทของการติดตาม
สะกดรอย

๑. แบบอยูก บั ที่ ๒. แบบเคลือ่ นที่ ๓. แบบใชเ ครอื่ งมอื พเิ ศษ ๔. แบบผสม
(Fix Surveillance) (Mobile Surveillance) (Electronic Surveillance) (Mix Surveillance)

÷.ñ ẺÍÂÙ‹¡Ñº·èÕ ËÃÍ× ¡Òà½Ò‡ ¨Ø´ (Fix Surveillance)
เปนการเฝาจุดติดตามสะกดรอยอยูกับท่ี ตองมีจุดหรือสถานท่ีเฝาดู

(Observation Post / OP) ทเ่ี ปน อาคาร สถานที่ บางโอกาสอาจใชร ถยนตเปน จดุ เฝา ดไู ด การเฝา
จุดตดิ ตามสะกดรอยแบบนเี้ ปน การเฝา ดพู ฤติกรรมท่ีอาจใชเ วลานาน

๘๘

÷.ñ.ñ ¡Ô¨¡ÃÃÁ·Õèà¡èÕÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒÃཇҨشμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂẺÍÂÙ‹¡Ñº·èÕ
䴌ᡋ

- การถา ยภาพ บันทึกเสยี ง
- การเขา ออกจดุ OP ของเจาหนา ที่
- เพ่ือนบาน
- แสงอาทิตยที่สองเขามาใน OP มากเกินไปหรือไม อาจทําให
บคุ คลภายนอกเหน็ เจา หนา ทส่ี ะกดรอยใน OP ได
- กลางคนื ความมืดสรางปญ หาให OP หรอื ไม
- สนุ ขั
- การติดตอสื่อสาร
- เรอ่ื งการอาํ พราง
÷.ñ.ò ¢ÍŒ คาํ ¹Ö§¡ÒÃãªÃŒ ¶Â¹μà »š¹ OP
- ไมควรใชในระยะยาว เน่ืองจากอาจผิดปกติและสามารถถูกจับ
พิรธุ ไดงา ย
- ล็อกประตทู ุกคร้งั
- จอดรถยนตใ นจดุ ทีไ่ มผ ิดปกติ เปนธรรมชาติ
- ใชเ จาหนาท่ี ๑ คน เทา น้นั
- น่ังในทนี่ ั่งผโู ดยสาร
- ลดระดับเสียงวิทยสุ ่ือสารโดยเฉพาะในเวลากลางคนื
- ไมควรสูบบุหรี่
- ไมจ อดรถใกลธนาคาร โรงเรยี น
- เตรียมเครอ่ื งอําพราง
- ใชก ําบงั ธรรมชาติ เปนตน
÷.ò Ẻà¤ÅèÍ× ¹·èÕ (Mobile Surveillance)
เปน การตดิ ตามเปา หมายหรอื ผตู อ งสงสยั โดยวธิ เี ดนิ เทา หรอื ใชย านพาหนะ
ข้ึนอยูกับสภาพแวดลอ ม ภูมิประเทศ และการจราจร ซ่งึ แยกออกเปน ประเภทยอยๆ ดังน้ี
๗.๒.๑ การตดิ ตามสะกดรอยโดยการเดินเทา (Foot Surveillance)
๗.๒.๒ การตดิ ตามสะกดรอยโดยใชย านพาหนะ (Mobile Surveillance)
๗.๒.๓ การติดตามสะกดรอยโดยวธิ กี บกระโดด (Leap Frog Forward
Method)
÷.ò.ñ ¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂâ´Â¡ÒÃà´Ô¹à·ŒÒ (Foot Surveillance)
การสะกดรอยแบบน้ีจุดสําคัญอยูท่ีเจาหนาที่สะกดรอยคนแรก (Eyeball)
ตองดาํ รงการสื่อสารกับทีมสะกดรอยได ตาํ แหนงของ Eyeball จะอยูในจุดท่ีสามารถเฝาสังเกต

๘๙

ความเคล่ือนไหวของเปาหมาย (Target) ในระยะที่ใกลมาก และสามารถเฝาดูสังเกตการณ
ในรายละเอียดของเปาหมายใหไดมากที่สุด ซึ่งอาจเสี่ยงตอการถูกจับพิรุธมากที่สุด ฉะนั้นระยะหาง
ระหวา ง Eyeball กบั Target จะใกลไ กลแคไ หนข้ึนอยูกับสถานการณ เชน มีกําบงั หรือไม เปน ตน
ข้ึนอยูกับดลุ ยพนิ จิ ของ Eyeball แตอ ยูในระยะสายตา

การตดิ ตามสะกดรอยโดยการเดินเทา แบงออกไดเ ปน ๓ ลกั ษณะ คือ
1) â´Â㪌¤¹æ à´ÕÂÇ (One man method) เปนวิธีการสะกดรอยท่ีเส่ียงตอ
การถูกจับพิรุธมากท่ีสุด แตในบางสถานการณก็จําเปนตองใช เนื่องจากขาดเจาหนาที่หรือกรณี
เจาหนาที่คนอ่ืนตามมาไมทัน เปนตน ตอเมื่อมีเจาหนาท่ีหรือเจาหนาที่อื่นตามมาทันแลว ควรปรับ
วธิ ีการสะกดรอยใหม

¡Ã³ÕÁ¤Õ ¹àºÒºÒ§ãˌ͋½Ù ›˜§μ碌ÒÁ¶¹¹
การสะกดรอยแบบเดินเทาโดยใชคนๆ เดียว กรณีไมมีสิ่งกําบัง หรือผูคนเบาบาง
Eyeball (E) ควรเดนิ อยูคนละฝง ถนนกับ Target(T) เยอ้ื งไปทางดา นหลัง แตถ าถนนกวา งมาก E
สามารถอยถู นนฝง เดียวกบั T ได
ระยะหา งใหอ ยูในระยะสายตา แตไมไกลเกนิ กวา จะตดิ ตามไดทัน

๙๐

¡Ã³Õ¼¤ŒÙ ¹¾ÅØ¡¾Å‹Ò¹
กรณมี คี นพลุกพลาน สามารถใชผ คู นเปน ท่กี าํ บังและเขาใกล T มากข้ึนได
ò) ¡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂâ´Â¡ÒÃà´¹Ô à·ÒŒ Ẻ¤‹Ù ËÃ×Í ò ¤¹ (Two man method)

วิธีการแบบน้ีจะชวยลดความเสี่ยงในการถูกจับพิรุธ เนื่องจากเจาหนาที่ ๒ นาย
จะสามารถสลบั ตาํ แหนง ไดต ลอดเวลา วธิ นี จี้ ะใชเ ทคนคิ เชน เดยี วกบั แบบคนๆ เดยี ว แตจ ะมเี จา หนา ที่
สะกดรอยคนอ่ืนมาชวยสนับสนุนในการสะกดรอย เรียกวา Footman มีหนาที่ติดตาม E
และคอยสับเปลี่ยนกับ E ลักษณะการเดินจะเดินตาม E โดย Footman ไมจําเปนตองสังเกตเห็น
เปาหมาย

ตําแหนงของ E จะอยูหลังเปาหมาย สวน Footman จะอยูดานหลังของ E
ในสถานการณที่การติดตามสะกดรอยมีผูคนเบาบางตําแหนงของ E ควรอยูคนละฝงถนนกับ T
เยือ้ งไปดา นหลัง กรณีมีผคู นพลกุ พลาน E ควรอยฝู ง เดยี วกบั T

ระหวาง E กบั Footman อยาลืมสลบั ตําแหนง กรณเี หน็ วา เปาหมายอาจรตู ัว

¡Ã³¼Õ Ù¤Œ ¹àºÒºÒ§

๙๑

¡Ã³Õ¼ŒÙ¤¹¾ÅØ¡¾ÅÒ‹ ¹
ó) ¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂâ´Â¡ÒÃà´¹Ô à·ÒŒ Ẻ·ÕÁ ËÃÍ× ABC System เปน วธิ กี าร
สะกดรอยที่ไดผลมากท่ีสุด เจาหนาท่ีสะกดรอยคนท่ี ๑ Eyeball (E) และคนที่ ๒ Footman ๑
จะอยูถนนฝง ตรงขามเย้ืองกบั เปา หมาย Target (T) โดยไมจ ําเปน ตอ งเหน็ T สวนเจา หนาท่คี นที่ ๓
Footman ๒ จะอยูฝง เดียวกับ T หา งๆ โดยไมจ าํ เปน ตองเห็น T การสะกดรอยแบบ ABC System
กรณีผคู นเบาบาง

¡Ã³¼Õ Œ¤Ù ¹àºÒºÒ§
• การสะกดรอยแบบ ABC System กรณีผูค นเบาบาง

๙๒

¡Ã³¼Õ ŒÙ¤¹¾ÅØ¡¾Å‹Ò¹
• กรณมี ผี คู นพลุกพลาน และการสบั เปลย่ี นตําแหนง
• ระยะเวลาในการสับเปลี่ยนตําแหนง แลวแตสถานการณ เมื่อคิดวาเปาหมาย

อาจรตู วั
¢ÍŒ 椄 à¡μºÒ§»ÃСÒÃ㹡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂâ´ÂÇÔ¸àÕ ´Ô¹à·ŒÒ
- ทําตวั ใหเปนธรรมชาติ
- การรกั ษาความลบั
- เตรียมการแกปญหาเฉพาะหนา
- ไมค วรสมั ผัสทางสายตาโดยตรงกบั เปาหมาย
- ระยะหา งระหวา งเปา หมายและเจา หนา ทค่ี วรอยใู นระยะทเี่ หมาะสมหรอื อยใู นสายตา
- ตองตืน่ ตวั ตลอดเวลา
- ใชก ําบงั ธรรมชาติเพ่อื ปกปด
- การถายภาพ จดบนั ทกึ ตางๆ ตอ งระวงั ไมใหมีทาทางผิดปกติ ตอ งปกปด
- กรณีเปาหมายเขาไปในตัวอาคาร เจาหนาที่อยางนอย ๑ นาย ตองติดตามเขาไป
แตห ากเปนสถานทกี่ วา งใหญ ควรเขา ไปหลายนาย แตตองทง้ิ เจา หนาทีเ่ ฝาทางเขา ออกไวด ว ย
- กรณีเปาหมายขึ้นลิฟต ถาเปาหมายเขาไปคนเดียวไมควรติดตามไป ใหคอยสังเกต
ชนั้ จากสญั ญาณไฟของลฟิ ตแ ลว ตามไปทหี ลงั แตห ากมเี จา หนา ทสี่ ะกดรอยหลายนาย ใหเ ขา ไปในลฟิ ต
อยา งนอย ๑ นาย เพือ่ ตามเปาหมายไป (เมอื่ ตามไปแลว ไดจ งั หวะอันสมควรตองเปลยี่ นตัวเจา หนา ท่ี
สะกดรอยท่ตี ดิ ตามเปา หมายเขา ไปในลิฟตทนั ที)

๙๓

- กรณีเปา หมายเขาไปในสถานทีส่ าธารณะตาง ๆ เชน รา นอาหาร หา งสรรพสินคา
โรงภาพยนตร โรงแรม หองสุขา เปนตน เจาหนาท่ีสะกดรอยสามารถเขาไปพรอมกับเปาหมาย
ดําเนินกิจกรรมคลายๆ เปาหมาย และอยูใกลเปาหมายไดมากท่ีสุด อาจเขาไปแอบฟงการสนทนา
ถา ยภาพใกลๆ ได เพราะในที่สาธารณะเปนสถานทเ่ี ปด การสงสัยมีนอย

- กรณีเปาหมายเขาท่ีทําการไปรษณีย ใชบริการ internet ใชโทรศัพท มือถือ
สาธารณะ ใชบริการตู ATM ถามีเอกสารรายการใหเก็บ และจดเวลาการใชบริการไว เพ่ือกลับมา
เอาขอมูล หรือตรวจสอบขอมลู ในภายหลงั

- เมื่อเปาหมายพบกับผูหนึ่งผูใดใหถายภาพผูที่มาพบไว หากเปนกรณีสงสัยรวม
กระทาํ ผิด อาจแยกชุดสะกดรอยติดตามไปได

- เมื่อเปาหมายหลุดจากการติดตาม Eyeball ตองแจงใหทุกคนทราบ เพื่อติดตาม
หาเปาหมาย หากไมพ บเปาหมายจรงิ ๆ ใหแจง CO เพ่ือแกป ญ หาตอไป เปน ตน

¢ÍŒ ¤ÇÃทํา áÅÐäÁ¤‹ ÇÃทาํ ¢Í§à¨ŒÒ˹Ҍ ·Õèμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍ (Do & Don’t)

• ¤ÇÃทํา • • äÁ¤‹ ÇÃทํา Don’t
ทําตัวใหก ลมกลืน เคล่ือนไหว ลกุ น่ังผิดปกติ
ใสใ จทาํ งานอยางเตม็ ท่ี การปรากฏตัวในทโ่ี ลง แจง
อาศัยความคนุ เคยสถานทีใ่ หเ กดิ ประโยชน การสบตากับเปาหมาย
เตรยี มเร่อื งอําพราง การประเมนิ ความสามารถของเปาหมายตํ่าเกินไป
ทํางานเปนทีม
ดํารงการส่อื สารระหวางทมี ไว จดบนั ทกึ โดยเปด เผย
เกบ็ ขอมลู ใหไดม ากท่ีสดุ เปน ตน แสดงกริ ยิ าอาการแปลก ๆ มพี ริ ธุ
ไมปกปด อาวธุ หรือเครื่องมอื สือ่ สาร

เดนิ วนเวียน เปน ตน

÷.ò.ò ¡ Ò Ã μÔ ´ μ Ò Á Ê Ð ¡ ´ Ã Í Â â ´  㠪 Œ Â Ò ¹ ¾ Ò Ë ¹ Ð ( M o b i l e
Surveillance) วิธีการติดตามสะกดรอยโดยใชยานพาหนะ ไดแก การติดตามสะกดรอยเปาหมาย
โดยใชรถยนต รถจักรยานยนต บอลลูน หรือเฮลิคอปเตอรก็ได หลักการจะใชหลักการเดียวกันกับ
การติดตามสะกดรอยโดยการเดินเทา แตเปลี่ยนเปนใชยานพาหนะแทน แตจะมีปญหา
ท่ีแตกตางกัน คือ ระยะหางระหวางเปาหมาย (T) กับเจาหนาท่ีสะกดรอยจะมีมากขึ้น ความเร็ว
ในการเคลอ่ื นทีจ่ ะมีมากขน้ึ และมอี งคประกอบของการจราจรเขามาเกี่ยวขอ ง

๙๔

ไมซาํ้ ยีห่ อและรนุ ตอ งไมซา้ํ กนั ÷.ò.ò.ñ ÂÒ¹¾Ò˹зÕèãªãŒ ¹¡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ
- ตอ งเปนธรรมชาติกลมกลนื สีตอ งไมฉูดฉาด สตี อง
- ไมเ ปน รถยนตร นุ ทเ่ี จาหนาที่ตาํ รวจใช
- เครอื่ งยนตต อ งสมบรู ณน ํ้ามันตอ งมเี พยี งพอ
- แผนปา ยทะเบยี น เสาอากาศวทิ ยตุ อ งไมผ ดิ ปกติ
- ไมมีรอยบบุ หรือเอกลักษณเ ฉพาะ เชน สต๊กิ เกอร
- การแตง กายเหมาะสมกบั รถยนต เปนตน

ตาํ á˹§‹ ਌Ò˹ŒÒ·μèÕ Ô´μÒÁÊС´ÃÍÂã¹ÂÒ¹¾Ò˹Ð

21 ๑. คนขับ (Driver)
34 ๒. ผูสงั เกตการณต า หรือผทู วนสัญญาณ

(Relay หรือ Eyeball)
๓. เจาหนา ท่สี ะกดรอย ๑ (Footman ๑)
๔. เจาหนาท่สี ะกดรอย ๒ (Footman ๒)๓

๙๕

÷.ò.ò.ò û٠Ẻ¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂâ´ÂãªÂŒ Ò¹¾Ò˹Ð
ñ) Ẻ¤ÒÃÒÇÒ¹ (Caravan) เปนวิธีการสะกดรอยโดยใช
ยานพาหนะแบบทัว่ ๆ ไป โดย Eyeball จะอยูเปนคันแรก และหากมรี ถคันอื่นอกี กจ็ ะอยใู นตาํ แหนง
ตอ จาก Eyeball โดยทิ้งระยะหา งพอประมาณตอ ๆ กันไป แบง ออกไดเ ปน
๑.๑ แบบ ๑ : ๑ ๑.๒ แบบทมี ABC System

ò) Ẻ¡Å‹Í§ ËÃÍ× Box System เปน วิธกี ารตดิ ตามสะกดรอย
กรณเี ปา หมายขบั รถเขา ไปแวะหรือจอดในอาคาร หรือพนื้ ที่เมอื งที่มผี ังถนนแบบตารางเช่อื มตอ กนั

การสะกดรอยจึงตองใหรถสะกดรอยตางๆ ประจําจุดปดตรง
เสนทางที่เปาหมายสามารถออกหรือเล้ียวเดินทางไปได หรืออีกกรณีหน่ึงเปนวิธีการสะกดรอยกรณี
ถนนมีลักษะเปนทางคูขนานและตาราง เชน ในตางประเทศ หรือถนนในเมืองพัทยา รูปแบบนี้จะใช
รถยนตหน่ึงคันวิ่งนําหนารถยนตเปาหมาย สวน Eyeball จะว่ิงตามหลังเปาหมายและรถติดตาม
ที่เหลอื จะวิง่ ประกบถนนคขู นานทางซายและทางขวาไปเรื่อยๆ

¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂẺ¡Å‹Í§ ËÃ×Í Box System

๙๖

÷.ò.ó ¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂâ´ÂÇÔ¸Õ¡º¡ÃÐâ´´ (Leap Frog
Forward Method)

การสะกดรอยเปาหมายในกรณีท่ีทราบพฤติกรรมซํ้าซาก
(PATTERN OF ACTION) ของเปา หมายกรณเี ปา หมายมพี ฤตกิ รรม การเดนิ ทางกจิ กรรมทท่ี าํ ประจาํ
จนเปนปกตินิสัยในชวงเวลาหน่ึงซึ่งมีประโยชนตอเจาหนาที่สะกดรอยในกรณีที่เปาหมายหลุดจาก
การตดิ ตาม เจาหนา ที่สะกดรอยสามารถไปดกั หรือเร่มิ ตนสะกดรอยตรงจุดท่ีเปาหมายไปประจําเปน
ปกตินิสัยได เปนตน

÷.ó ¡ÒÃཇҨشμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂẺ㪌à¤Ã×èͧÁ×;ÔàÈÉ (Electronic
Surveillance) เปนการติดตามสะกดรอยโดยเอาเคร่ืองมือพิเศษ เชน กลองวงจรปด ระบบ GPS
มาใชในการติดตามสะกดรอย ไดแ ก

÷.ó.ñ ¡ÒÃμÔ´μÒÁÊС´ÃÍÂâ´Â㪌¡ÅŒÍ§Ç§¨Ã»´äÃŒÊÒ ËÃ×ÍμÔ´μÒÁ
¼Ò‹ ¹ internet

÷.ó.ò ¡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂμÒÁö¹μ⏠´ÂãªÃŒ кº GPS หรอื Global
Positioning System คอื ระบบบอกพกิ ัดผา นทางดาวเทยี มซง่ึ โคจรสงู จากพื้นโลกประมาณ ๒๐,๐๐๐
กิโลเมตร โดยจะทําหนาที่สงสัญญาณใหกับอุปกรณลูกขาย เพ่ือคํานวณ ตรวจสอบ และถอดรหัส
สญั ญาณ ท่ีไดจากดาวเทยี ม เพ่อื ใหไ ดพ ิกดั ตาํ แหนง และขอมลู การเคล่อื นที่ของยานพาหนะทถี่ กู ตอง
ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง

๙๗

ตวั อยางหนา จอแผนที่การตดิ ตามตาํ แหนง อุปกรณห รือรถยนตที่มีระบบ GPS Tracking
ผานทางอินเทอรเ นต็

÷.ô ¡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂẺ¼ÊÁ (Mix Surveillance) เปนการสะกดรอย
แบบท่รี วมการสะกดรอยแบบตางๆ มาใชผ สมผสานกนั ไป ข้ึนอยกู บั สภาพและสถานการณ

ø. ¡ÒÃÊѧà¡μ໇ÒËÁÒÂทาํ ¡ÒÃμÃǨÊͺ¡ÒÃμ´Ô μÒÁÊС´ÃÍÂ
- ขึ้นรถประจําทางในขณะที่รถกาํ ลงั เคลื่อนออก
- ขน้ึ รถแท็กซ่ีแลวใหข ับวนเวยี นไปมา
- เดินปะปนไปกบั ฝูงชนที่หนาแนน
- เดินหลบเขาไปตามซอกตกึ หรือซอยแยกเมื่อเดนิ เลย้ี วลับมมุ หรอื ตึกมุมถนน
- เขาไปในรา นหรอื ตัวอาคารแลว รีบหลบออกไปทางอนื่
- เปลีย่ นเสื้อผาใหมเพื่ออาํ พรางเจา หนาที่
- ข้ึนรถประจําทางแลวกระโดดลงเมื่อรถยังไมถึงปายจอดหรือเม่ือรถติดสัญญาณ

ไฟแดง
- ใหน กตอลอใหหลงทาง
- แจง เจา หนาทตี่ าํ รวจวามีคนติดตามจะทาํ รายแลวชค้ี นติดตามใหตํารวจดู
- ว่ิงหลบหนไี ปดอ้ื ๆ
- ขับรถฝาฝนกฎจราจร เชน ฝาสัญญาณไฟแดง กลับรถในที่หามกลับ จอดรถ

ในทหี่ ามจอด ขบั รถสวนทางที่อนญุ าตใหร ถเดินทางเดียว เปน ตน
- ขับรถเขาไปในซอยตนั
- หยุดรถบอยๆ
- ขับรถดวยความเรว็ สงู หรือขับรถเรว็ และชา สลบั กนั ไป
- เล้ียวมุมถนนแลว หยดุ รถทันที
- ขับรถวนรอบๆ วงเวยี น
- ขับรถยอนกลับมาทางเดมิ
- ขับรถโดยใชทางออ ม
- จอดรถในท่ีโลง แจง

๙๘

- เลี้ยวรถในขณะท่ไี มอยใู นชอ งเลย้ี วรถ
- จอดรถแลว ลงจากรถเดนิ เขา ไปในตวั อาคารแลว รบี เดนิ กลบั ออกมาขบั รถตอ ไปอกี
- ใชกระจกเงาสาํ หรับสองดูทา ยรถเปนที่สงั เกตดกู ารตดิ ตาม เปน ตน
ù. ¡ÒÃà¢ÂÕ ¹ÃÒ§ҹ¡ÒÃཇҨ´Ø μ´Ô μÒÁÊС´ÃÍ (Surveillance Report)
การติดตามสะกดรอยมีจุดประสงคหลัก คือ การหาขอมูลจากตัวเปาหมายตาม
จดุ ประสงคท ีต่ ้ังไว เจา หนา ทีส่ ะกดรอยเม่อื ออกปฏิบัตหิ นา ทีแ่ ลว ตองมาบันทกึ ไวเสมอ เรียกวา เขียน
รายงานการสะกดรอย การบนั ทกึ และเขียนรายงานการสะกดรอยตองมรี ายละเอยี ดดังนี้

๑. วนั เวลา
๒. ผูปฎิบตั กิ ารสะกดรอย
๓. เหตุการณ รายละเอียดในการสะกดรอย
๔. ผูเขยี นรายงานการสะกดรอย (หมายเหตุ ทุกคนในชดุ ตองเขยี น)

õ.ô ¡ÒÃอํา¾ÃÒ§ (Cover)

¤ÇÒÁËÁÒÂ
● ปด บงั โดยลวงใหเ ขา ใจไปทางอน่ื พดู หรอื แสดงอาการไมใ หร คู วามจรงิ (กรยิ า ตามพจนานกุ รม)
● เรอ่ื งราวหรอื ตวั ตนที่เรา “สรางขึ้น” ไมว า จะเปน บุคคล องคกร สถานท่ี หรือสิ่งของ เพื่อใช
ปกปด ตัวตนทแี่ ทจริงวา มคี วามเก่ยี วขอ งกับการปฏิบัตกิ ารทางลับ หรือคอื การปลอมตัวนั่นเอง
● วธิ กี ารใดๆ กต็ าม ซง่ึ เจา หนา ทปี่ ฏบิ ตั ิ เพอ่ื ปกปด ความจรงิ จากฝา ยตรงขา ม หรอื ผทู ไ่ี มม สี ว น
เกี่ยวของ โดยทําใหแลเห็นเปนอยางอื่น ซึ่งมิใชสภาพที่แทจริง ท้ังนี้เพ่ือหลีกเลี่ยงมิใหฝายตรงขาม
ตรวจพบวา มกี ารปฏบิ ตั ิการลับดําเนินอยู
ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤
● เพ่ือใหมีโอกาสเขาไปอยูในสถานที่ หรือเขตพ้ืนที่ท่ีไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานโดยไมมี
ผูใดสงสยั
● เพื่อใหมีขอแกตัวไดอยางสมเหตุผล ในกรณีท่ีจะตองมีการเคล่ือนไหวทางลับหรือใหมีการ
ติดตอ อยา งลบั
● เพอ่ื เปน การปกปด มใิ หฝ า ยตรงขา มทราบวา ผปู ฏบิ ตั กิ ารเปน จนท.ของหนว ยลบั หรอื องคก าร
ลบั ใด
● เพือ่ ปกปดการเคลอื่ นไหวในทางลับ หรือเทคนคิ วธิ ีการปฏบิ ตั ิ
● เพ่อื สามารถหาทางออกหรือมีขอ แกต วั ที่ดใี นกรณฉี กุ เฉิน
¢ŒÍ¾Ô¨ÒóÒ㹡ÒÃ㪌ÇÔ¸Õ¡ÒÃอาํ ¾ÃÒ§
๑. ตอ งชวยใหเ ขาถงึ เปา หมายได
๒. ตองเหมาะสมกบั บุคคล
๓. ตองมีส่งิ ยนื ยันใหเ ปน จริง
๔. ตอ งมเี สรีภาพในการเคลือ่ นท่ี


Click to View FlipBook Version