The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-07 09:18:55

11_TC22601_การจราจร

11_TC22601_การจราจร

๑๙๗

• Í»Ø ¡Ã³ (Equipment) ในการตง้ั จดุ ตรวจสามารถจะใชอ ปุ กรณต า ง ๆ
เชน เครื่องชงั่ นํ้าหนกั เคร่อื งตรวจหา มลอ (Brake Tester) ฯลฯ ได

• Áͧà˹ç ä´Œ (Visible) การมองเหน็ ไดเ ปน สง่ิ ทดี่ ี เพราะไมม ใี ครปฏเิ สธ
เม่ือผา นไปมาไดว าไมมเี จาหนาทีต่ ํารวจอยทู ี่น่ัน

• ¡ÃÐμ×ÍÃ×ÍÃŒ¹ (Active) เปนการแสดงใหประชาชนและสาธารณะ
เหน็ วา เจาหนาท่ีตาํ รวจกาํ ลังทํางานอยางกระตือรือรน และมผี ลดใี นเชงิ ปอ งกันการกระทาํ ผิด

• ÍíÒ¹Ò¨ (Power) บางคร้ังเปนการดีที่เจาหนาที่ตํารวจก็แสดงให
เห็นวามพี ลัง (Showing their Teeth)

การตง้ั จดุ ตรวจยงั มขี อ ดใี นแงก ารควบคมุ การจราจรใหป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
ในเรอื่ งตา ง ๆ ไดแ ก การตรวจจับผขู ับขี่ทีใ่ ชค วามเรว็ สงู การตรวจผขู ับขใี่ หหยุดรถที่เสนหยดุ และดแู ล
พฤติกรรมการขบั ข่ีท่สี ญั ญาณไฟ เปน ตน

ดังน้ันถาหากผูใชถนนกระทําผิดกฎจราจรก็จะตองถูกเรียกหยุดรถทันที
ที่จุดตรวจ ถูกออกใบสั่ง หรอื จัดการตามกฎหมายโดยทันที

ขอเสยี คือ
• ¤Ò´¡ÒÃ³ä ´ÅŒ Ç‹ §Ë¹ÒŒ (Predictable) ประชาชนสามารถรวู า จะมกี าร
ตง้ั จดุ ตรวจ และไมแสดงพฤตกิ รรมทีไ่ มด ีเมอ่ื ขับรถผา นจุดตรวจหรือเล่ียงไปใชถนนเสนอนื่
• ¡ÒÃÍ»‹Ù ÃШÒí ·èÕ (Stationary) ถา มกี ารตงั้ จดุ ตรวจขนาดใหญ แนน อน
จะตองขาดความยืดหยนุ (Flexible)
๒.๑.๒ การตรวจจับความผิดจราจรเคลื่อนที่ (Mobile Traffic
Surveillance) คําถามท่ีวาควรจะเลือกใชวิธีตรวจจับความผิดจราจรแบบจอดรถอยูประจําที่หรือแบบ
เคล่ือนที่ เปนคําถามซึ่งมีการถกเถียงกันอยางมาก จากการศึกษาจํานวนหน่ึงปรากฏวาการปลอยรถ
สายตรวจออกทํางานแบบใหจอดอยูประจําที่ (Stationary Vehicle) มีผลโดยตรงทันทีตอผูใชถนน
มากกวา เพราะสามารถมองเห็นโดยผูขับขี่จํานวนมากกวา อยางไรก็ตามก็มกั จะตองจัดรถตํารวจอีก
คันหนึ่งใหจอดหา งออกจากจุดแรกออกไปดวย เพราะผขู บั ขีส่ วนมากเมื่อเห็นเจาหนา ทตี่ าํ รวจจอดรถ
ประจาํ ทอ่ี ยรู มิ ถนนแลว กอ็ าจจะเพมิ่ ความเรว็ เมอื่ ผา นพน มาอกี ครง้ั เพราะคดิ วา จะไมม เี จา หนา ทตี่ าํ รวจ
อกี แลว จงึ เปน โอกาสดที จี่ ะขบั รถเรว็ ไดท างหนง่ึ ทจ่ี ะแกป ญ หานไี้ ดก ค็ อื การเพม่ิ กาํ ลงั เจา หนา ทตี่ าํ รวจ
ประจาํ ที่ (Stationary Units) เปน สองจดุ หรอื มากกวา โดยวางกาํ ลงั หา งจากกนั ไมม ากนกั การวางกาํ ลงั
แบบนม้ี ีผลตอความยําเกรง (Deterrence) เจา หนาที่ตาํ รวจ ๒ ลกั ษณะ
• ประการแรก คอื การเพม่ิ รถตาํ รวจใหม มี ากขนึ้ นสี้ ามารถสรา งการรบั รู
การบงั คบั ใชก ฎหมายทมี่ มี ากขึ้น
• ประการทส่ี อง คอื การเพมิ่ รถตาํ รวจสามารถสรา งความคาดหมายถงึ
การพบปะเจาหนาท่ีตํารวจในแบบใหม และสรางความไมแนใจวาการวางรถตํารวจจะมีตอไปอีก
ตามแนวถนนหรือไม

๑๙๘

ทงั้ การตรวจแบบประจาํ ทแี่ ละแบบตรวจโดยเคลอ่ื นที่ มศี กั ยภาพทจี่ ะสรา ง
ความเปลี่ยนแปลงตอพฤติกรรมการขับข่ีไดในสถานการณท่ีแตกตางกัน การตรวจแบบประจําที่มีผล
ตอการยับย้ังโอกาสกระทําผิด ณ จุดท่ีเจาหนาที่ตํารวจยืนอยู และมีผลดีท่ีสุดตอการยับยั้ง
การเกิดอุบัติเหตุที่มักจะเกิดขึ้น ณ จุดนั้น ๆ การออกตรวจโดยใชพาหนะเคล่ือนท่ี มีโอกาสยับยั้ง
การกระทําผิดไดเปนพื้นที่กวางกวาจอดรถอยูกับท่ี และยังสามารถใชกับถนนเปนเสนตรงยาว
ซ่ึงตองการปรับปรุงพฤติกรรมการขับข่ีใหไดพื้นที่ยาวกวาดวย การตรวจโดยเคลื่อนที่สามารถใชตรวจ
ทั้งผูใชถ นนและยานพาหนะตาง ๆ โดยควรมุง เนน เปน พเิ ศษตอการขับข่ีซึ่งจะกอใหเ กดิ อันตราย

เมอ่ื ออกตรวจแบบเคลอ่ื นทไ่ี ปตามถนน สงิ่ สาํ คญั ทสี่ ดุ คอื การทเ่ี จา หนา ท่ี
ตาํ รวจตองแสดงความกระตอื รอื รน (Active) และเขา แทรกแซงจัดการเรือ่ งตาง ๆ ทันทีท่มี ีพฤติกรรม
การกระทําผิดขึ้น การตรวจแบบเคลื่อนท่ีก็เหมือนกับการตรวจแบบอ่ืนแตดําเนินการบนรถ ซ่ึงจะ
เปน การตรวจทไ่ี มถ กู ตอ งหากเจา หนา ทต่ี าํ รวจไมส ามารถเรยี กรถเปน ระยะ ๆ แลว ดงึ เขา มาตรวจรมิ ถนน
หรือละเลยไมออกเดินเทาบาง เจาหนาที่ตํารวจที่ใชเวลาท้ังหมดอยูแตในรถคือ เจาหนาที่ตํารวจท่ี
ทาํ ตวั เหนิ หา งจากประชาชน การนงั่ รถวงิ่ ไปเฉย ๆ เกอื บจะไมม ผี ลอะไรเลยตอ พฤตกิ รรมการขบั ขขี่ อง
ผูใชถ นน นอกจากนก้ี ารละเลยทจ่ี ะเขาไปแทรกแซงของเกย่ี วกบั เร่อื งความผดิ จราจรสพั เพเหระตา ง ๆ
ท่เี กิดข้ึน กย็ งั เปนการไมเคารพตอ กฎระเบียบในการปฏบิ ัตหิ นาทจ่ี ราจรทด่ี ีดว ย

การออกตรวจท่ีปรากฏตัวใหผูใชถนนไดเห็นคงท่ีสมํ่าเสมอ คือ
การบอกกลา วเปน นยั ๆ ตอ ประชาชนใหร ะมดั ระวงั ตวั จากการปฏบิ ตั กิ ารของเจา หนา ทต่ี าํ รวจ เชน การดกั
ตรวจจับผลลัพธท่ีได คือ การยํ้าเตือนในจิตใจของประชาชนอยูเสมอวามีโอกาสอยางมากทีเดียว
ที่จะถกู จบั กมุ ถา ไมเ คารพกฎหมาย และสง่ิ น้ีคอื มาตรการเชิงปอ งกนั ที่ไดผลอยใู นตวั ของมันเอง

อยางไรก็ตาม การตรวจจับแบบปรากฏตัวใหเห็น จําเปนจะตองรวม
เอาการสรางความประหลาดใจ (Surprise) ตอผูขับขี่เขาไปดวย โดยจะไมสรางความประหลาดใจ
ตอผูขับข่อี ยางลา ชา หรอื มเี วลาปรับตัวกลบเกล่ือนการกระทาํ ผดิ ทั้งน้โี ดยเจา หนา ทต่ี าํ รวจควรจะตง้ั
จุดตรวจคน (Check Point) ในตําแหนงท่ผี ขู ับข่ีสงั เกตเหน็ เจาหนาท่ตี าํ รวจ ก็ตอเมอ่ื เจา หนา ท่ีตาํ รวจ
ไดตรวจพบการกระทาํ ผิดและจัดการถา ยภาพหรือบันทกึ เรียบรอ ยแลว

õ.ô á¹Ç·Ò§¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒ¡ѺöμÒ‹ §»ÃÐà·È

ñ. ¤ÇÒÁμ¡Å§ÍÒà«ÂÕ ¹´ÒŒ ¹¡Òâ¹Ê‹§·Ò§¶¹¹ÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È
ñ) ÊÒÃÐสํา¤Ñޢͧ¤ÇÒÁμ¡Å§
สมาคมประชาชาตแิ หง เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตห รอื อาเซยี น (The Association

of Southeast Asian Nations : ASEAN) เปนองคกรท่ีกอต้ังขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok
Declaration) เมือ่ วันที่ ๘ สงิ หาคม ๒๕๑๐ มสี มาชิกกอต้งั ๕ ประเทศ ไดแ ก อินโดนีเซีย มาเลเซีย
ฟล ปิ ปน ส สงิ คโปร และไทย ตอ มาบรไู นดารสุ ซาลาม เขา เปน สมาชกิ ในป ๒๕๒๗ เวยี ดนามเปน สมาชกิ

๑๙๙

ในป ๒๕๓๘ ลาวและเมียนมาเปนสมาชิกอาเซียนในป ๒๕๔๐ และกัมพูชาเขาเปนสมาชิกอาเซียน
อนั ดับสดุ ทา ยในป ๒๕๔๒ ดงั นน้ั ปจจุบันอาเซยี นมสี มาชกิ ทงั้ สน้ิ ๑๐ ประเทศ มีวัตถุประสงคเรม่ิ แรก
เพ่อื สรา งสันติภาพในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต อนั นํามาซงึ่ เสถียรภาพทางการเมืองและความ
เจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการคาระหวางประเทศในโลกมีแนวโนม
กดี กนั การคา รนุ แรงขน้ึ ทาํ ใหอ าเซยี นหนั มามงุ เนน ความรว มมอื ดา นเศรษฐกจิ การคา ระหวา งกนั มากขน้ึ
อยางไรก็ตามในชวงแรก การดําเนินงานความรวมมือทางเศรษฐกิจเปนไปอยางเชื่องชาเน่ืองมาจาก
สาเหตุสําคัญคือ ประเทศภาคีตองการเวลาในการสํารวจสาขาความรวมมือที่มีความเปนไปได และ
ตองใชเวลาในการปรับตัวภายในประเทศ ซึ่งตอมาไดมีจุดมุงหมายในการเขารวมกันเปนประชาคม
อาเซียน (ASEAN Community) อันประกอบดว ย ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (ASEAN Security
Community) ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคมสังคม
และวฒั นธรรมอาเซยี น (ASEAN Socio-Cultural Community) โดยสาขาการคมนาคมขนสงถอื ไดว า
เปน ตวั จกั รสาํ คญั ในการขบั เคลอ่ื นใหเ กดิ การรวมตวั กนั ดงั กลา ว อยา งไรกด็ ี เนอ่ื งจากการคมนาคมขนสง
ระหวา งประเทศมคี วามเกยี่ วขอ งกบั หลายภาคสว นของสงั คม อกี ทง้ั ยงั มผี ลตอ ความมนั่ คงของประเทศ
ดงั นั้น จึงทาํ ใหตอ งมีการจัดทาํ ความตกลงระหวา งประเทศดา นการขนสงทางถนนระหวางประเทศกัน
กอนท่ีจะอนุญาตใหรถจากตางประเทศเขามาสัญจรไดในประเทศ ซ่ึงภายใตความตกลงอาเซียนน้ัน
ไดมกี ารจัดทําความตกลงดา นการขนสง ทางถนนระหวา งประเทศ จํานวน ๓ ฉบับ ดังนี้

(๑) กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสง
สนิ คา ผานแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit)

(๒) กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสง
ขา มแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Inter-State Transport)

(๓) กรอบความตกลงอาเซยี นวา ดว ยการขนสง ตอ เนอื่ งหลายรปู แบบ (ASEAN
Framework Agreement on Multimodal Transport) ในปจ จบุ นั ประเทศสมาชกิ อยใู นระหวา งการดาํ เนนิ การ
ตกลงกันในรายละเอียดท่ีเก่ียวของกับการขนสงทางถนนระหวางประเทศทั้งหมดซ่ึงการดําเนินการ
ดงั กลา วยงั ไมแ ลว เสรจ็ ทาํ ใหก ารสญั จรของพาหนะภายใตค วามตกลงอาเซยี นดา นการขนสง ทางถนน
ระหวางประเทศยังไมเกิดผลในทางปฏิบัติ สําหรับรายละเอียดของกรอบความตกลงอาเซียนวาดวย
การอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคา ผานแดน ไดมีการจัดทาํ พิธีสารแนบทา ย ซ่ึงมรี ายละเอียด
ดังน้ี

พิธสี าร ๑ กาํ หนดเสนทางการขนสงผา นแดนและจดุ อาํ นวยความสะดวก
พธิ ีสาร ๒ การกําหนดดา นพรมแดนสาํ หรบั การเขา -ออก
พธิ ีสาร ๓ ประเภทและปริมาณรถ
พธิ สี าร ๔ ขอ กาํ หนดทางเทคนิคของรถ
พิธีสาร ๕ แผนประกนั อบุ ตั ภิ ยั ทางรถภาคบงั คบั อาเซยี นในสว นของความรบั ผดิ
ตอบุคคลท่ีสาม

๒๐๐

พธิ ีสาร ๖ จดุ ขา มแดนสาํ หรับรถไฟและสถานีชมุ ทาง
พธิ ีสาร ๗ ระบบศุลกากรผา นแดน
พธิ สี าร ๘ การจัดตงั้ มาตรการเก่ยี วกับการตรวจโรคในคนและพชื
พธิ สี าร ๙ สินคา อนั ตราย
ท้ังนี้ กรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงขามแดน
ไดนําพิธีสารแนบทายกรอบความตกลงอาเซียนวาดวยการอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคา
ผานแดนบางฉบบั มาใชโ ดยอนโุ ลม ไดแก พิธสี าร ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๘ และ ๙
นอกจากการดําเนินการจัดทํากรอบความตกลงอาเซียนดานการขนสงทางถนนระหวาง
ประเทศทง้ั ๓ ฉบบั แลว ประเทศสมาชิกอาเซียนยงั ไดเหน็ ชอบรว มกนั ในความตกลงระหวา งประเทศ
ทมี่ คี วามเก่ียวขอ งกับการขนสง ทางถนนระหวา งประเทศ ซ่งึ มีผลใชบ ังคับแลว จาํ นวน ๒ ฉบับ ไดแ ก
๑) ความตกลงวาดวยการยอมรับใบอนุญาตขับขี่รถยนตในประเทศท่ีออกโดยประเทศ
สมาชิกอาเซียน และความตกลงวาดวยการยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถยนตท่ีใชในการ
พาณิชยสําหรบั รถบรรทุกสนิ คา และการบริการสาธารณะทอ่ี อกโดยประเทศอาเซียน
๒) ความตกลงวาดวยการยอมรับใบอนุญาตขับรถยนตในประเทศท่ีออกโดยประเทศ
สมาชกิ อาเซยี น (Agreement on the Recognition of Domestic Driving License Issued by ASEAN
Countries) โดยผลจากความตกลงฉบับนี้ ทําใหประเทศสมาชิกอาเซียนท้ัง ๑๐ ประเทศ ยอมรับ
ใบอนุญาตขับรถยนตทุกประเภทท่ีออกโดยเจาหนาที่ท่ีไดรับมอบหมายหรือสมาคมยานยนตแหงชาติ
ของประเทศสมาชกิ อาเซยี นอืน่ ยกเวนใบอนุญาตขับรถช่วั คราว/เฉพาะกาล/ผูห ัดขับ ท้ังน้ี ใบอนุญาต
ขับรถยนตใด ถามิไดเขียนขึ้นเปนภาษาอังกฤษ จะตองแนบคําแปลเปนภาษาอังกฤษท่ีไดรับรองแลว
ไปพรอมดว ย
๓) ความตกลงวาดวยการยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถยนตที่ใชในการ
พาณิชย สาํ หรับรถบรรทกุ สนิ คา และการบรกิ ารสาธารณะท่อี อกโดยประเทศอาเซยี น (Agreement on

the Recognition of Commercial Vehicle Inspection Certificate for Goods Vehicles and Public

Service Vehicles Issued by ASEAN Member Countries ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง ๑๐ ประเทศ
ไดตกลงรวมกันท่ีจะยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถท่ีใชในเชิงพาณิชยที่ถูกตอง แนวทาง
การปฏิบัติตามความตกลงดานการขนสงทางถนนระหวางประเทศ ที่ออกสําหรับรถบรรทุกสินคาและ
รถบรกิ ารสาธารณะ ซงึ่ ออกโดยเจาหนาทหี่ รือหนว ยงานท่ไี ดร บั มอบหมายของภาคคี ูสญั ญา หรอื โดย
บคุ คลใดทไี่ ดรบั มอบอํานาจหรอื รับอนญุ าตจากภาคคี ูสญั ญา ทงั้ น้กี ารยอมรบั หนงั สือรบั รองดงั กลา ว
จะไมบังคับใชกับหนังสือรับรองที่ออกสําหรับรถใดๆ ที่ใชขนสงสินคาอันตรายสําหรับการดําเนินการ
เพอื่ รองรบั การขนสง ทางถนนระหวา งประเทศภายใตก รอบความตกลงอาเซยี นนน้ั กรมการขนสง ทางบก
ไดด ําเนนิ การ ดงั นี้

๒๐๑

๓.๑) การออกใบอนุญาตขับรถยนตแบบพลาสติกของกรมการขนสงทางบก
โดยใบอนุญาตขับรถรูปแบบใหมดังกลาว มีภาษาอังกฤษกํากับซึ่งสอดคลองกับความตกลงวาดวย
การยอมรบั ใบอนญุ าตขบั รถยนตใ นประเทศทอี่ อกโดยประเทศสมาชกิ อาเซยี น ทาํ ใหผ ทู ม่ี คี วามประสงค
จะไปขบั รถในประเทศอาเซียน ไมจ ําเปนตองแปลใบอนุญาตขับรถของตนใหเ ปนภาษาอังกฤษ

๓.๒) การออกหนงั สอื รบั รองการตรวจสภาพรถ ซง่ึ กรมการขนสง ทางบกไดด าํ เนนิ การ
จัดทําใหมีความสอดคลองกับความตกลงวาดวยการยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถยนต
ที่ใชในการพาณิชยสําหรับรถบรรทุกสินคาและการบริการสาธารณะท่ีออกโดยประเทศอาเซียน
ซึง่ ผไู ดรบั หนังสือรับรองการตรวจสภาพรถดงั กลา ว จะไมตอ งนํารถเขา ตรวจสภาพ ณ ประเทศสมาชกิ
อาเซียนอน่ื อกี

ò. ͹ÊØ ÞÑ ÞÒÇÒ‹ ´ŒÇ¡ÒèÃҨ÷ҧ¶¹¹ÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È
จากการที่ประเทศไทยไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยการจราจรทางถนนระหวาง

ประเทศ ฉบับลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๙๒ (Convention on International Road Traffic of
๑๙ September ๑๙๔๙) ซ่ึงทําข้ึนที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด โดยมีผลสําคัญ ๒ ประการ
ไดแ ก

๑. ประเทศภาคีจะอนุญาตใหรถจากประเทศภาคีอื่นใชถนนของประเทศตนเอง
เพื่อการจราจรระหวางประเทศได ทง้ั นี้ ภายใตข อ จํากดั คือ

(๑) อนสุ ญั ญาฯ มไิ ดใ หส ทิ ธใิ นการประกอบการขนสง (การประกอบการขนสง
จะตอ งเปน ไปตาม พ.ร.บ.การขนสงทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒)

(๒) รถทจ่ี ะไดส ทิ ธปิ ระโยชนจ ากอนสุ ญั ญาฯ จะตอ งไดร บั การจดทะเบยี นตาม
ท่ีกําหนดไวในกฎหมายของประเทศสมาชกิ อน่ื แลว

(๓) รถที่เขามาในประเทศไทยตามอนุสัญญาฯ จะตองมีหนังสือรับรอง
การจดทะเบยี น ซ่ึงออกโดยหนว ยงานท่มี ีอาํ นาจหนาท่ีหรือหนวยงานทีไ่ ดรับมอบหมาย โดยหนงั สือ
รบั รองดงั กลา วตอ งมรี ายละเอยี ด ไดแ ก หมายเลขการจดทะเบยี น ชอ่ื หรอื เครอื่ งหมายการคา ของบรษิ ทั
ผผู ลติ รถ หมายเลขผลิตของบริษทั ผูผลติ วันท่จี ดทะเบียนครง้ั แรก รายละเอยี ดชื่อเต็มและที่อยถู าวร
ของผถู ือหนงั สอื รบั รอง

(๔) ตองแสดงหมายเลขการจดทะเบียนบนตัวรถหรือบนแผนปายพิเศษ
โดยหมายเลขจะตองใชตวั เลขอารบกิ สวนตัวอักษรนนั้ ตองใชตัวอกั ษรละติน

(๕) นอกจากการแสดงหมายเลขการจดทะเบียน รถที่จะเขาในประเทศไทย
ตามอนสุ ัญญาจะตองแสดง “เครอื่ งหมายแสดงสถานที่จดทะเบียน”

(๖) รถทีน่ ํามาใชตอ งอยใู นสภาพทด่ี ีพรอมใชงาน
(๗) ขนาดของรถและน้ําหนักบรรทุกสูงสุดที่จะไดรับอนุญาตใหใชถนนของ
ประเทศไทย ใหเ ปนไปตามขอกาํ หนดของกฎหมายไทย

๒๐๒

๒. ยอมรับใบอนุญาตขับข่ีระหวางประเทศ (ใบอนุญาตขับรถ) หรือที่เรารูจักกัน
อยา งยอ ๆ วา “ใบขบั ขอ่ี นิ เตอร” หรอื “ใบขบั ขส่ี ากล” ทอ่ี อกโดยประเทศภาคสี มาชกิ อนสุ ญั ญาฯ อน่ื ๆ
ทั้งน้ี โดยมีเงื่อนไข ไดแ ก

(๑) ใบอนุญาตขับขี่ระหวางประเทศ ไมสามารถใชไดในประเทศที่ออก
ใบอนุญาตขับขี่ระหวางประเทศดังกลาว นั่นคือ ใบขับขี่อินเตอรที่ออกโดยกรมการขนสงทางบก
ไมส ามารถใชใ นประเทศไทยได

(๒) ใบอนุญาตขับขี่ระหวางประเทศ มีอายุ ๑ ป (ทั้งนี้ไมเกินอายุของ
ใบอนุญาตขบั ขี่ในประเทศ)

(๓) ประเทศสมาชิก/หนวยงานท่ีรับผิดชอบ สามารถระงับสิทธิในการใช
ใบขับขี่ระหวางประเทศของผูขับรถได หากผูขับรถไดกระทําการฝาฝนกฎระเบียบซึ่งกําหนดใหมีการ
ระงับสิทธิในการใชใบขับขี่หากมีการฝาฝน โดยใหประเทศสมาชิก/หนวยงานท่ีรับผิดชอบเก็บใบขับขี่
ระหวา งประเทศดงั กลา วไวจ นกวา จะพน ระยะเวลาการมผี ลใชบ งั คบั ของใบขบั ขร่ี ะหวา งประเทศดงั กลา ว
หรอื จนกวาผูถอื ใบขบั ขรี่ ะหวางประเทศจะเดนิ ทางออกนอกประเทศไทย แลว แตวากรณใี ดจะถึงกอน
โดยสามารถบันทึกการระงับสิทธิในการใชใบขับข่ีระหวางประเทศไวบนใบขับข่ี และแจงช่ือและที่อยู
ของผขู ับรถไปยงั หนว ยงานท่อี อกใบขับขี่ดงั กลา วได

ó. á¹Ç·Ò§¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒ¡Ѻöμ‹Ò§»ÃÐà·È
จากการที่ประเทศไทยไดจัดทําความตกลงดานการขนสงทางถนนระหวางประเทศ

รวมถึงการเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยการจราจรทางถนนระหวางประเทศตามท่ีไดกลาวมาแลว
สงผลใหประชาชนของประเทศที่มีความตกลง/อนุสัญญาระหวางประเทศสามารถนํารถเขามาใน
ประเทศไทยได ซง่ึ เมอ่ื มรี ถจากตา งประเทศเขามาในประเทศไทย การศกึ ษาและวางแนวทางเกี่ยวกบั
การบงั คบั ใชก ฎหมายกบั รถตา งประเทศจึงมีความสําคัญมากขนึ้ ดังน้ัน จงึ ไดมกี ารรวบรวมบทบญั ญัติ
ของกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ความผดิ บทกาํ หนดโทษ ผูรับโทษ ผบู ังคับใชกฎหมาย ตลอดจนแนวทาง
การบังคับใชกฎหมายกับรถตางประเทศในเบื้องตน เพ่ือเปนการอํานวยความสะดวกแกผูเก่ียวของ
ไดใชประโยชนป ระกอบการดาํ เนินการทีเ่ ก่ยี วขอ งตามอํานาจหนาท่ีตอ ไป

á¹Ç·Ò§¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒ¡Ѻöμ‹Ò§»ÃÐà·È (àºÍé× §μ¹Œ )

¼ºŒÙ §Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¡®ËÁÒ ¡Òúѧ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § º·¡íÒ˹´â·É ¼ŒÃÙ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ¡ºÑ

ñ. ´ŒÒ¹¤¹ öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๑.๑ ใบอนุญาตขับรถ

(๑) กรณีไมมีหรือใชใบ พ.ร.บ.การขนสง มาตรา ๙๓ หา มมใิ หผใู ดปฏิบัติ มาตรา ๑๕๑ ผูใ ดฝา ฝน มาตรา ผขู ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
อนุญาตไมตรงกับประเภทรถ ทางบก หนา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถ เวน แตจ ะ ๙๓ วรรคหน่ึง ตองระวางโทษ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ท่ีขบั ไดร บั ใบอนญุ าตจากนายทะเบยี น ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท แตถา
พ.ศ. ๒๕๒๒ ผูฝาฝน ปฏิบัติหนาท่ีผูขับรถ

ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๒ ป
หรอื ปรบั ไมเ กิน ๔๐,๐๐๐ บาท
หรือทง้ั จาํ ท้งั ปรบั

พ.ร.บ.รถยนต มาตรา ๔๒ ผูขับรถตองไดร บั ใบ มาตรา ๖๔ ผใู ดขบั รถโดยไมไ ดร บั ผขู บั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ อนญุ าตขบั รถและตอ งมใี บอนญุ าต ใบอนญุ าตขบั รถ ตอ งระวางจาํ คกุ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ขับรถในขณะขับเพื่อแสดงตอ ไมเ กนิ ๑ เดือน หรอื ปรับไมเ กนิ
เจา พนกั งานไดท นั ที ๑,๐๐๐ บาท หรือทั้งจําท้ังปรับ

(๒)กรณีมีใบอนุญาต พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๙๓ หา มมใิ หผใู ดปฏิบตั ิ มาตรา ๑๕๑ ผูใดฝาฝนมาตรา ผขู บั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ขับรถ แตใบอนุญาตขับรถ พ.ศ. ๒๕๒๒ หนา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถ เวน แตจ ะ ๙๓ วรรคหนง่ึ ตอ งระวางโทษปรบั - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ดังกลาวส้ินอายุ ไดร บั ใบอนญุ าตจากนายทะเบยี น ไมเกิน ๔๐,๐๐๐ บาท แตถา
ผฝู า ฝน ปฏบิ ตั หิ นา ทผ่ี ขู บั รถตอ ง
ระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๒ ป หรอื
ปรบั ไมเ กนิ ๔๐,๐๐๐ บาท หรอื
ท้ังจาํ ท้ังปรบั ๒๐๓

á¹Ç·Ò§ ๒๐๔
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ÑºãªŒ ¼ŒºÙ §Ñ ¤ºÑ 㪌 ¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·àèÕ ¡èÕÂÇ¢ŒÍ§ º·¡íÒ˹´â·É ¼ŒÃ٠Ѻâ·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡ºÑ

öμÒ‹ §»ÃÐà·È

พ.ร.บ.รถยนต มาตรา ๖๕ ผูใดขับรถเมื่อใบ ผขู บั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ อนญุ าตขบั รถสนิ้ อายหุ รอื ระหวา ง - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ถกู สง่ั พกั ใชใ บอนญุ าตขบั รถ หรอื
ถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าตขบั รถ หรอื
ถกู ยดึ ใบอนญุ าตขบั รถ ตอ งระวาง
โทษปรบั ไมเกิน ๒,๐๐๐ บาท

ขบั รถ (๓)กรณไี มแ สดงใบอนญุ าต พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๑ ในขณะปฏบิ ตั หิ นา ที่ มาตรา ๑๒๗ ผไู ดร ับใบอนญุ าต ผขู ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ ผไู ดร บั อนญุ าตปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ปน ปฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถผใู ด - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ผปู ระจาํ รถตอ งมใี บอนญุ าตอยกู บั ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา
ตวั และตอ งแสดงตอ นายทะเบยี น ๑๐๑ ตอ งระวางโทษปรับไมเ กิน
หรอื ผูตรวจการเมอ่ื ขอตรวจ ๕,๐๐๐ บาท

พ.ร.บ.รถยนต มาตรา ๔๒ ผูขับรถตองมีใบ มาตรา ๖๖ ผูใดขับรถโดยไม ผูขับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ อนญุ าตขบั รถในขณะขบั เพอื่ แสดง แสดงใบอนญุ าตขบั รถตามมาตรา - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
ตอเจาพนกั งานไดทันที ๔๒ ตองระวางโทษปรับไมเกิน
๑,๐๐๐ บาท

ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ºÑ 㪌 ¼ºÙŒ §Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ ¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õàè ¡ÂÕè Ǣ͌ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ÃŒÙ Ѻâ·É ¡®ËÁÒ¡Ѻ
๑.๒ ชวั่ โมงการทาํ งาน
öμÒ‹ §»ÃÐà·È
๑.๓ การเสพหรอื เมาสรุ า
พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๓ ทวิ ภายใตบังคบั มาตรา ๑๒๗ ผไู ดร บั ใบอนญุ าต ผขู ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ กฎหมายวาดวยการคุมครอง ปฏิบัติหนาท่ีเปนผูประจํารถ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
แรงงานในการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ บั รถ ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
ในรอบ ๒๔ ชวั่ โมง หา มมใิ หผ ไู ด มาตรา ๑๐๓ ทวิ ตอ งระวางโทษ
รบั อนญุ าตเปน ผขู บั รถปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ปรบั ไมเ กนิ ๕,๐๐๐ บาท
ขับรถติดตอกันเกิน ๔ ชั่วโมง
นบั แตข ณะเรม่ิ ปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ บั รถ
แตถ า ในระหวา งนนั้ ผไู ดร บั อนญุ าต
เปนผูขับรถไดพักติดตอกันเปน
เวลาไมนอ ยกวาครง่ึ ชั่วโมง ก็ให
ปฏิบัติหนาท่ีขับรถตอไปไดอีก
ไมเกนิ ๔ ช่ัวโมง ตดิ ตอ กนั

พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๒ (๓) ในขณะทปี่ ฏบิ ตั ิ มาตรา ๑๒๗ ทวิ วรรคหนึ่ง ผขู บั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ หนา ที่ ผูไ ดรบั ใบอนญุ าตปฏบิ ตั ิ ผูไดรับใบอนุญาตเปนผูขับรถ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
หนา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถตอ งไมเ สพ ผูใดฝาฝน มาตรา ๑๐๒ (๓) ตอง
หรือเมาสุราหรือของมึนเมา ระวางโทษจําคกุ ไมเกนิ ๓ เดอื น
อยางอนื่ หรอื ปรบั ตง้ั แต ๒,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐
บาท หรอื ท้ังจําทงั้ ปรบั

๒๐๕

á¹Ç·Ò§ ๒๐๖
ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ÑºãªŒ ¼ºÙŒ ѧ¤ÑºãªŒ ¡Òúѧ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õàè ¡ÂÕè Ç¢ŒÍ§ º·¡Òí ˹´â·É ¼ÙŒÃѺâ·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡ºÑ

öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๑.๓ การเสพหรอื เมาสรุ า (ตอ ) พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๔๓ (๒) หามมิใหผขู ับขี่ มาตรา ๑๖๐ ตรี ผใู ดฝา ฝน มาตรา ผขู ับรถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ ขบั รถในขณะเมาสรุ า หรอื ของเมา ๔๓ (๒) ตองระวางโทษจําคุก กฎหมายภายใน
อยา งอืน่ ไมเกิน ๑ ป หรือปรับตั้งแต
๕,๐๐๐ - ๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
ทงั้ จาํ ทง้ั ปรบั และใหศ าลสงั่ พกั ใช
ใบอนญุ าตขบั ขขี่ องผนู น้ั มกี าํ หนด
ไมน อ ยกวา ๖ เดอื น หรอื เพกิ ถอน
ใบอนญุ าตขบั ข่ี (เหตเุ พมิ่ โทษตาม
วรรคสอง สาม และสี)่

พ.ร.บ.ควบคมุ เครอื่ งดม่ื มาตรา ๓๑ (๗) หามมิใหผูใด มาตรา ๔๒ ผใู ดฝา ฝน มาตรา ๓๑ - ผขู ับรถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ บริโภคเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ ๖ เดอื น - ผโู ดยสาร กฎหมายภายใน
ในสถานทห่ี รอื บรเิ วณดงั ตอ ไปน้ี หรือปรับไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
สถานท่ีอื่นท่ีรัฐมนตรีประกาศ หรอื ทัง้ จาํ ทั้งปรับ
กําหนดโดยคําแนะนําของ
คณะกรรมการ (ประกาศสํานัก
นายกรฐั มนตรี เรอ่ื งกาํ หนดสถานท่ี
หรอื บรเิ วณหา มบรโิ ภคเครอื่ งดมื่
แอลกอฮอลบ นทาง พ.ศ. ๒๕๕๕
ขอ ๑ หามผใู ดบริโภคเครอื่ งด่มื
แอลกอฮอลบ นทางในขณะขบั ข่ี
หรือในขณะโดยสารอยูในรถ
หรอื บนรถ)

¼ŒºÙ §Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ÑºãªŒ ¡®ËÁÒ ¡Òú§Ñ ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ÃÙŒ Ѻâ·É ¡®ËÁÒ¡Ѻ

öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๑.๔ ผขู บั ขไี่ มย นิ ยอมใหท ดสอบ พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๑๔๒ วรรคสี่ ในกรณที ่ี มาตรา ๑๖๐ ตรี ผใู ดฝา ฝน มาตรา ผขู บั รถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
วาเมาสุราหรือเมาอยางอื่น พ.ศ. ๒๕๒๒ มพี ฤตกิ ารณอ นั ควรเชอ่ื วา ผขู บั ข่ี ๔๓ (๒) ตองระวางโทษจําคุก กฎหมายภายใน
โดยไมม ีเหตอุ ันควร ขบั รถในขณะเมาสรุ า หรอื ของเมา ไมเกิน ๑ ป หรือปรับตั้งแต
อยางอน่ื หากผูน้ันยงั ไมยอมให ๕,๐๐๐-๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
ทดสอบตามวรรคสาม โดยไมมี ท้ังจําทั้งปรับ และใหศาลส่ัง
เหตุอันสมควร ใหสันนิษฐานไว พักใชใบอนุญาตขับข่ีของผูน้ัน
กอ นวา ผนู น้ั ฝา ฝน มาตรา ๔๓ (๒) มีกําหนดไมนอยกวา ๖ เดือน

หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่

๑.๕ การเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๒ (๓ ทวิ) ในขณะท่ี มาตรา ๑๒๗ ทวิ วรรคสอง ผขู บั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ตามกฎหมายวา ดว ยยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๒๒ ปฏิบตั หิ นา ที่ ผูไดรบั ใบอนุญาต ผใู ดไดร บั ใบอนญุ าตเปน ผขู บั รถ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
ใหโ ทษ ปฏบิ ตั ิหนา ท่ผี ูประจํารถ ตองไม ผูใดฝาฝน มาตรา ๑๐๒ (๓ ทวิ)
เสพยาเสพตดิ ใหโ ทษตามกฎหมาย ตองระวางโทษสูงกวาที่กําหนด
วาดวยยาเสพติดใหโทษ ไวในกฎหมายวาดวยยาเสพติด
ใหโ ทษหรอื กฎหมายวา ดว ยวตั ถุ
ที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
แลวแตกรณี อีกหน่งึ ในสาม

๒๐๗

á¹Ç·Ò§ ๒๐๘
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¼ŒºÙ §Ñ ¤ºÑ 㪌 ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·èàÕ ¡ÕèÂǢ͌ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ŒÙÃºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡ºÑ

öμÒ‹ §»ÃÐà·È

๑.๕ การเสพยาเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหนง่ึ หา มมใิ ห มาตรา ๑๕๗/๑ วรรคสอง ผขู บั ขี่ ผูขบั รถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
ตามกฎหมายวา ดว ยยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๒๒ ผูขับขี่เสพยาเสพติดใหโทษตาม ผใู ดฝา ฝน มาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหนง่ึ กฎหมายภายใน
ใหโทษ (ตอ ) กฎหมายวา ดว ยยาเสพตดิ ใหโ ทษ ตอ งระวางโทษสงู กวา ทก่ี าํ หนดไว
หรอื เสพวตั ถทุ อ่ี อกฤทธติ์ อ จติ และ ในกฎหมายวาดวยยาเสพติดให
ประสาทตามกฎหมายวา ดว ยวตั ถุ โทษ หรือกฎหมายวาดวยวัตถุ
ออกฤทธติ์ อ จติ และประสาท ทงั้ น้ี ที่ออกฤทธ์ิตอจิตและประสาท
ตามทอี่ ธบิ ดกี าํ หนดโดยประกาศ อกี หนงึ่ ในสาม และใหศ าลสงั่ พกั ใช
ในราชกจิ จานุเบกษา ใบอนญุ าตขบั ขข่ี องผนู นั้ มกี าํ หนด
ไมน อ ยกวา ๖ เดอื น หรอื เพกิ ถอน
ใบอนญุ าตขบั ขี่ (เหตเุ พม่ิ โทษตาม
วรรคสาม สี่ และหา)

๑.๖ การเสพวตั ถทุ อี่ อกฤทธต์ิ อ พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๒ (๓ ตรี) ในขณะที่ มาตรา ๑๒๗ ทวิ วรรคสอง ผูข ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
จติ และประสาทตามกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๒๒ ปฏบิ ตั หิ นา ที่ ผไู ดรับใบอนุญาต ผูไดรับใบอนุญาตเปนผูขับรถ - ตํารวจ กฎหมายภายใน
วาดวย วัตถุออกฤทธ์ิตอจิต ปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ปน ผปู ระจาํ รถตอ ง ผูใดฝาฝนมาตรา ๑๐๒ (๓ ตรี)
และประสาท ไมเ สพวตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ อ จติ และ ตองระวางโทษสูงกวาที่กําหนด
ประสาทตามกฎหมายวา ดว ยวตั ถุ ไวในกฎหมายวาดวยยาเสพติด
ทีอ่ อกฤทธต์ิ อจิตและประสาท ใหโ ทษหรอื กฎหมายวา ดว ยวตั ถุ
ท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
แลว แตกรณี อีกหน่ึงในสาม

ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¼ŒºÙ ѧ¤ÑºãªŒ á¹Ç·Ò§
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ º·¡íÒ˹´â·É ¼ŒÃÙ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ¡ºÑ

öμÒ‹ §»ÃÐà·È

๑.๖ การเสพวตั ถทุ อ่ี อกฤทธิ์ พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหน่งึ หา ม มาตรา ๑๕๗/๑ วรรคสอง ผขู บั ขี่ ผขู บั รถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
ตอจิตประสาทตามกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๒๒ มิใหผูขับข่ีเสพยาเสพติดใหโทษ ผใู ดฝา ฝน มาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหนง่ึ กฎหมายภายใน
วาดวย วัตถุออกฤทธิ์ตอจิต ตามกฎหมายวาดวยยาเสพติด ตอ งระวางโทษสูงกวา ท่ีกําหนด
และประสาท (ตอ) ใหโทษ หรอื เสพวัตถทุ ีอ่ อกฤทธิ์ ไวในกฎหมายวาดวยยาเสพติด
ตอ จติ และประสาทตามกฎหมาย ใหโ ทษ หรอื กฎหมายวา ดว ยวตั ถุ
วาดวย วัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิต ท่ีออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
และประสาท ท้งั น้ี ตามที่อธบิ ดี อีกหน่ึงในสาม และใหศาล
กาํ หนดโดยประกาศในราชกจิ จา สั่งพักใชใบอนุญาตขับขี่ของ
นุเบกษา ผนู น้ั มกี าํ หนดไมน อ ยกวา ๖ เดอื น
หรือเพิกถอนใบอนุญาตขับขี่
(เหตเุ พม่ิ โทษตามวรรค ๓ ๔ และ ๕)

๑.๗ การใชโ ทรศพั ทเ คลอ่ื นที่ พ.ร.บ.การขนสง มาตรา ๑๐๒ (๔) ในขณะทป่ี ฏบิ ตั ิ มาตรา ๑๒๗ ผไู ดรับใบอนุญาต ผูขับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ทางบก หนา ท่ี ผไู ดร บั ใบอนุญาตปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ปน ผปู ระจาํ รถ ผใู ด - ตํารวจ กฎหมายภายใน
หนา ทเี่ ปน ผปู ระจาํ รถตอ งปฏบิ ตั ิ ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา
พ.ศ. ๒๕๒๒ ตามขอกําหนดวาดวยความ ๑๐๒ (๔) ตองระวางโทษปรับ

ปลอดภยั ในการขนสง ตามทก่ี าํ หนด ไมเกิน ๕,๐๐๐ บาท
ในกฎกระทรวง (กฎกระทรวง
วา ดว ยความปลอดภยั ในการขนสง
พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๔(๒) (ข) :
ไมใ ชโ ทรศพั ทเ คลอื่ นทขี่ ณะขบั รถ
เวนแตการใชโทรศัพทเคล่ือนที่
โดยใชอ ปุ กรณเ สรมิ สาํ หรบั สนทนา) ๒๐๙

á¹Ç·Ò§ ๒๑๐
ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ºÑ 㪌 ¼ŒºÙ §Ñ ¤ÑºãªŒ ¡Òúѧ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·èàÕ ¡èÕÂǢ͌ § º·¡íÒ˹´â·É ¼ÙÃŒ Ѻâ·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ

öμÒ‹ §»ÃÐà·È

๑.๗ การใชโ ทรศพั ทเ คลอื่ นท่ี พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๔๓ (๙) หา มมิใหผ ูข บั ขี่ มาตรา ๑๕๗ ผใู ดฝา ฝนหรอื ไม ผขู บั รถ ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
(ตอ ) พ.ศ. ๒๕๒๒ ขบั รถในขณะใชโ ทรศพั ทเ คลอ่ื นท่ี ปฏิบตั ิตามมาตรา ๔๓ (๙) ตอง กฎหมายภายใน
เวนแตการใชโทรศัพทเคลื่อนที่ ระวางโทษปรับต้ังแต ๔๐๐-
โดยใชอุปกรณเ สรมิ สาํ หรับการ ๑,๐๐๐ บาท
สนทนาโดยผูขับขี่ไมตองถือ
หรอื จับโทรศพั ทเคลอ่ื นท่นี น้ั

๑.๘ ความเร็วในการขับรถ พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๑๑ ใหนําบทบัญญัติ มาตรา ๑๖๑ ผูใดฝาฝนหรือไม ผขู ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ ทง้ั หลายในกฎหมายวา ดว ยรถยนต ปฏิบัติตามมาตรา ๑๑๑ ตอง - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
และกฎหมายวาดวยการจราจร ระวางโทษปรบั ไมเ กนิ ๕,๐๐๐ บาท
ทางบกในสวนท่ีเกี่ยวกับหนาท่ี
ของผขู บั รถ ผเู กบ็ คา โดยสาร และ
นายตรวจมาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๖๗ วรรค ๑ ผขู บั ข่ตี อ ง มาตรา ๑๕๒ ผูใดฝา ฝนหรือไม ผขู ับรถ - ตาํ รวจ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ ขับรถดวยอัตราความเร็วตามที่ ปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๖๗ วรรคหนงึ่ กฎหมายภายใน
กําหนดในกฎกระทรวงหรอื ตาม ตองระวางโทษปรับไมเกิน
เครอื่ งหมายจราจรทตี่ ดิ ตง้ั ไวใ นทาง ๑,๐๐๐ บาท

¼ÙºŒ ѧ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ÑºãªŒ ¡®ËÁÒ ¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§ º·¡íÒ˹´â·É ¼ŒÙÃºÑ â·É ¡®ËÁÒ¡Ѻ
พ.ร.บ.ทางหลวง
๑.๘ ความเร็วในการขับรถ พ.ศ. ๒๕๓๕ öμÒ‹ §»ÃÐà·È
(ตอ)
มาตรา ๕ (๑) ใหรัฐมนตรี มาตรา ๖๙ ผูใดไมปฏิบัติตาม ผขู ับรถ - ตํารวจ ดําเนินการตาม
วาการกระทรวงคมนาคม และ กฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย ๕ หรือไมปฏิบัติตามมาตรา ทางหลวง
รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี ๔๒ ตองระวางโทษปรับไมเกิน
ในสว นทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ราชการของ ๕,๐๐๐ บาท
กระทรวงนั้น และใหมีอํานาจ
แตง ตง้ั เจา พนกั งานทางหลวงกบั
ออกกฎกระทรวง เพอื่ ปฏบิ ตั กิ าร
ตามพระราชบัญญัตินี้ในเร่ือง
ดังตอไปนี้ (๑) กําหนดอัตรา
ความเรว็ ของยานพาหนะ

๒๑๑

ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ÑºãªŒ á¹Ç·Ò§ ๒๑๒
¡®ËÁÒ ¼ºŒÙ §Ñ ¤ÑºãªŒ ¡Òúѧ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ŒÍ§ º·¡íÒ˹´â·É ¼ÃÙŒ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ

öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๑.๙ การใชเ ขม็ ขดั นริ ภยั (กรณี พ.ร.บ.การขนสง ทางบก มาตรา ๑๐๒ (๔) ในขณะทป่ี ฏบิ ตั ิ มาตรา ๑๒๗ ผูไดรับใบอนญุ าต ผูขบั รถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
รถตา งชาตมิ เี ขม็ ขดั นริ ภยั ตดิ ตงั้ พ.ศ. ๒๕๒๒ หนา ท่ี ผไู ดร ับใบอนญุ าตปฏิบัติ ปฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถผใู ด - ตํารวจ กฎหมายภายใน
มากับตัวรถ) หนา ทเี่ ปน ผปู ระจาํ รถตอ งปฏบิ ตั ิ ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา
ตามขอกําหนดวาดวยความ ๑๐๒ (๔) ตองระวางโทษปรับ
ปลอดภยั ในการขนสง ตามทกี่ าํ หนด ไมเ กิน ๕,๐๐๐ บาท
ในกฎกระทรวง (กฎกระทรวง
วา ดว ยความปลอดภยั ในการขนสง
พ.ศ. ๒๕๕๔ ขอ ๔ (๑) : ตอง
ดูแลผูโดยสารใหปฏิบัติตามขอ
กําหนดวาดวยความปลอดภัย
และความสงบเรยี บรอ ยในระหวา ง
การโดยสาร)

มาตรา ๑๑๓ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๕๓ ผูโดยสารผูใด ผโู ดยสาร - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ผโู ดยสารตอ งปฏบิ ตั ติ ามขอ กาํ หนด ไมป ฏบิ ตั ติ ามกฎกระทรวงซง่ึ ออก - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
วา ดว ยความปลอดภยั และความ ตามมาตรา ๑๑๓ วรรคหน่ึง
สงบเรียบรอยตามที่กําหนดใน ตองระวางโทษ ปรับไมเกิน
กฎกระทรวง ตลอดเวลาทอ่ี ยใู น ๕,๐๐๐ บาท
ระหวา งการโดยสาร (กฎกระทรวง
กําหนดความปลอดภัยและ
ความสงบเรียบรอยที่ผูโดยสาร
ตองปฏิบัติระหวางการโดยสาร
พ.ศ. ๒๕๕๗ ขอ ๓ (๑๐) : รดั
รา งกายดว ยเขม็ ขดั นริ ภยั ไวก บั ทนี่ งั่ )

ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ º·¡Òí ˹´â·É ¼ŒÙÃѺâ·É ¼ÙºŒ §Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ ¡Òú§Ñ ¤ºÑ 㪌
ตาํ รวจ ¡®ËÁÒ¡ºÑ
๑.๙ การใชเ ขม็ ขดั นริ ภยั (กรณี พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๑๒๓ วรรคสอง ผขู ับขี่ มาตรา ๑๔๘ ผูใดฝาฝน หรอื ไม ผูข ับรถ öμÒ‹ §»ÃÐà·È
รถตา งชาตมิ เี ขม็ ขดั นริ ภยั ตดิ ตง้ั พ.ศ. ๒๕๒๒ รถยนตต อ งรดั รา งกายดว ยเขม็ ขดั ปฏิบัติตามมาตรา ๑๒๓ ตอง ตํารวจ ดําเนินการตาม
มากับตวั รถ) (ตอ ) นริ ภยั ไวก บั ทนี่ ง่ั ในขณะขบั ขร่ี ถยนต ระวางโทษปรบั ไมเ กนิ ๕๐๐ บาท กฎหมายภายใน
และตอ งจดั ใหค นโดยสารรถยนต
ซงึ่ นงั่ ทนี่ งั่ ตอนหนา แถวเดยี วกบั ดําเนินการตาม
ท่ีนั่งผูขับข่ีรถยนตรัดรางกายไว กฎหมายภายใน
กับท่ีนั่งดวยเข็มขัดนิรภัยขณะ
โดยสารรถยนต และคนโดยสาร
รถยนตดังกลาว ตอ งรดั รา งกาย
ดวยเข็มขัดนิรภัยไวกับท่ีนั่ง
ในขณะโดยสารรถยนตดว ย

๑.๑๐ คนโดยสารดม่ื แอลกอฮอล พ.ร.บ.ควบคมุ มาตรา ๓๑ (๗) หามมิใหผูใด มาตรา ๔๒ ผใู ดฝา ฝน มาตรา ๓๑ ผูโ ดยสาร ๒๑๓
บนทาง เครื่องดม่ื แอลกอฮอล บริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลใน ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน

พ.ศ. ๒๕๕๑ สถานที่หรือบริเวณดังตอไปน้ี ๖ เดอื น หรอื ปรบั ไมเ กนิ ๑๐,๐๐๐
สถานท่ีอื่นที่รัฐมนตรีประกาศ บาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรับ
กําหนดโดยคําแนะนําของคณะ
กรรมการ (ประกาศสาํ นักนายก
รัฐมนตรี เร่ืองกําหนดสถานที่
หรอื บรเิ วณหา มบรโิ ภคเครอื่ งดม่ื
แอลกอฮอลบ นทาง พ.ศ. ๒๕๕๕
ขอ ๑ หามผใู ดบริโภคเครอ่ื งด่ืม
แอลกอฮอลบ นทางในขณะขับข่ี
หรือในขณะโดยสารอยูในรถ
หรือ บนรถ)

á¹Ç·Ò§ ๒๑๔
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¼ŒÙº§Ñ ¤ºÑ 㪌 ¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ º·¡íÒ˹´â·É ¼ŒÙÃºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ

๑.๑๑ การบรรทุก öμ‹Ò§»ÃÐà·È

พ.ร.บ.การขนสง มาตรา ๑๐๗ ในการขนสง ประจาํ ทาง มาตรา ๑๒๗ ผูไดร บั ใบอนญุ าต ผขู ับรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ หรือการขนสงไมประจําทาง ปฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี ปน ผปู ระจาํ รถ ผใู ด - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
ระหวางจังหวัด หรือระหวาง ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา
ประเทศไทยกับตางประเทศ ๑๐๗ ตองระวางปรับไมเกิน
หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตเปน ๕,๐๐๐ บาท
ผูขับรถรับบรรทุกผูโดยสารเกิน
จํานวนท่ีนั่งผูโดยสารที่กําหนด
ไวในใบอนญุ าต

พ.ร.บ.ทางหลวง มาตรา ๖๑ วรรคหนง่ึ เพอื่ รกั ษา มาตรา ๗๓/๒ ผใู ดฝา ฝน ประกาศ ผูใชร ถ - ตํารวจ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๓๕ ทางหลวง ผอู าํ นวยการทางหลวง ของผูอํานวยการทางหลวงตาม - ตํารวจ กฎหมายภายใน
มีอํานาจประกาศในราชกิจจา มาตรา ๖๑ วรรคหนง่ึ ตอ งระวาง ทางหลวง
นเุ บกษา หา มใชย านพาหนะบน โทษจําคกุ ไมเกิน ๖ เดือน หรือ
ทางหลวงโดยที่ยานพาหนะน้ัน ปรบั ไมเ กิน ๑๐,๐๐๐ บาท หรอื
มีน้ําหนักบรรทุกหรือน้ําหนัก ทงั้ จาํ ท้ังปรบั
ลงเพลาเกินกวาท่ีกําหนด หรือ
โดยท่ียานพาหนะนั้นอาจทําให
ทางหลวงเสยี หาย

ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ÑºãªŒ ¼ÙŒº§Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õàè ¡ÕèÂǢ͌ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ŒÃ٠Ѻâ·É ¡®ËÁÒ¡Ѻ

öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๑.๑๒ ในขณะปฏิบัติหนาท่ี พ.ร.บ.การขนสง มาตรา ๑๐๒ (๒) ในขณะปฏิบตั ิ มาตรา ๑๒๗ ผูไ ดร บั ใบอนุญาต ผูประจาํ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
ผูประจํารถแสดงกิริยาหรือใช ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ หนาที่ ผไู ดร ับใบอนุญาตปฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ปน ผปู ระจาํ รถ ผใู ด รถ - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
ถอยคําเปนการเสียดสีดูหม่ิน หนาท่ีเปนผูประจํารถตองไม ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรา
ฯลฯ แสดงกริ ยิ าหรอื ใชถ อ ยคาํ เปน การ ๑๐๒ (๒) ตอ งระวางปรับไมเ กนิ
เสียดสี ดูหม่ิน กาวราว รังแก ๕,๐๐๐ บาท
รบกวน หรอื หยาบหยามผหู นง่ึ ผใู ด
หรอื แสดงกริ ยิ าวาจาหรอื สง เสยี ง
ดว ยประการหนึ่งประการใด ใน
ลักษณะไมสมควรหรือไมส ุภาพ

๑.๑๓ การปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร พ.ร.บ.จราจรทางบก ตามท่ี พ.ร.บ.จราจรทางบก ตามท่ี พ.ร.บ.จราจรทางบก ผขู ับรถ ตํารวจ ดําเนินการตาม
พ.ศ. ๒๕๒๒ พ.ศ. ๒๕๒๒ กาํ หนดไว พ.ศ. ๒๕๒๒ กําหนดไว กฎหมายภายใน

๒๑๕

ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ºÑ 㪌 á¹Ç·Ò§ ๒๑๖
¡®ËÁÒ ¼ÙŒºÑ§¤ºÑ 㪌 ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õàè ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ŒÙÃºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ

öμ‹Ò§»ÃÐà·È

ò. ´ŒÒ¹μÇÑ Ã¶

๒.๑ ขนาดสัดสวนรถไมเปน ความตกลงฯ ใชร ถทม่ี ขี นาดสดั สว นไมส อดคลอ ง ไมม กี ารกาํ หนดไวเ ปน การเฉพาะ - - ผตู รวจการ หากฝาฝนเห็น
ไปตามความตกลงฯ กบั ความตกลงฯ ในความตกลงฯ - ตาํ รวจ ควรผลกั ดนั กลบั
ประเทศ

๒.๒ ความพรอมใชงานของ พ.ร.บ.จราจรทางบก มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง หามมิให มาตรา ๑๔๓ ถา ปรากฏวา ผขู บั ข่ี - เจา ของรถ ตํารวจ ดําเนินการตาม
รถ พ.ศ. ๒๕๒๒ ผูใดนํารถท่ีมีสภาพไมมั่นคง นํารถท่ีมีสภาพไมถูกตองตาม - ผขู ับรถ กฎหมายภายใน
แข็งแรง หรืออาจเกิดอันตราย มาตรา ๖ ไปใชใ นทาง นอกจาก
หรอื อาจทาํ ใหเ สอ่ื มเสยี สขุ อนามยั จะตองรับโทษตามบทบัญญัติ
แกผ ใู ช คนโดยสารหรอื ประชาชน นั้นๆ แลว เจาพนักงานจราจร
มาใชในทางเดินรถ หรอื พนกั งานเจา หนา ทม่ี อี าํ นาจ
สงั่ เปน หนงั สอื ใหเ จา ของรถหรอื
ผขู บั ขซ่ี อ มหรอื แกไ ขรถใหถ กู ตอ ง
มาตรา ๑๔๘ ผูใดฝาฝนหรือ
ไมป ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ
ตองระวางโทษปรับไมเกิน
๕๐๐ บาท

๒.๓ แผนปายทะเบียนรถ ความตกลงฯ ใช  แ ผ  น ป  า ย ท ะ เ บี ย น ร ถ ไมม กี ารกาํ หนดไวเ ปน การเฉพาะ - - ผตู รวจการ หากฝา ฝน เหน็ ควร
ไมเปนไปตามความตกลงฯ ไมส อดคลองกบั ความตกลงฯ ในความตกลงฯ - ตาํ รวจ ผ ลั ก ดั น ก ลั บ
ประเทศ

á¹Ç·Ò§
ÃÒ¡ÒáÒúѧ¤ºÑ 㪌 ¼ºÙŒ §Ñ ¤ÑºãªŒ ¡Òú§Ñ ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õèà¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § º·¡íÒ˹´â·É ¼ÃŒÙ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ
พ.ร.บ.คมุ ครอง
๒.๔ การจดั ใหม กี ารประกนั ภยั ผปู ระสบภัยจากรถ öμÒ‹ §»ÃÐà·È
ภาคบังคบั (ประกันภัยบคุ คล พ.ศ. ๒๕๓๕
ทสี่ าม) ความตกลงฯ มาตรา ๙ รถท่ีจดทะเบียนใน มาตรา ๓๗ เจา ของรถผใู ดไมป ฏบิ ตั ิ - เจาของ ตํารวจ ดําเนินการตาม
ตางประเทศและนําเขามาใชใน ตามมาตรา ๗ หรอื มาตรา ๙ ตอ ง รถ กฎหมายภายใน
ราชอาณาจักรเปนการชั่วคราว ระวางโทษไมเ กิน ๑๐,๐๐๐ บาท - ผนู าํ รถท่ี
โดยเจา ของรถไมม ภี มู ลิ าํ เนาหรอื ถน่ิ จดทะเบยี น
ทอ่ี ยใู นราชอาณาจกั ร เจา ของรถ ในตาง
ตองจัดใหมีการประกันความ ประเทศ
เสียหายสําหรับผูประสบภัย เขามาใช
ทง้ั น้ี ตามจาํ นวนเงนิ หลกั เกณฑ ในราช
วิธีการและเง่ือนไขท่ีกําหนด อาณาจกั ร
ในกฎกระทรวง เปนการ
ชวั่ คราว

๒๑๗

á¹Ç·Ò§ ๒๑๘
ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ÑºãªŒ ¼ºÙŒ §Ñ ¤ºÑ 㪌 ¡Òúѧ¤ºÑ 㪌
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·èàÕ ¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§ º·¡Òí ˹´â·É ¼ÙÃŒ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ
ความตกลงฯ
ó. ´ŒÒ¹Í¹è× æ ความตกลงฯ öμ‹Ò§»ÃÐà·È

๓.๑ เสน ทางการเดินรถ การเดินรถนอกเสนทางไปจาก ไมม กี ารกาํ หนดไวเ ปน การเฉพาะ - - ผตู รวจการ หากฝา ฝน ความ
ที่กําหนดไวใ นความตกลงฯ ในความตกลงฯ - ตํารวจ ตกลงฯ เห็นควร
๓.๒ การเขา - ออก ผลักดันใหใช
จุดผานแดน เสน ทางทถ่ี กู ตอ ง
ตามความตกลงฯ
๓.๓ ทําการขนสงจุดตอจุด
ในประเทศ (Cabotage) การนาํ รถเขา - ออก ณ จดุ ผา นแดน ไมม กี ารกาํ หนดไวเ ปน การเฉพาะ - - ผตู รวจการ หากฝา ฝน ความ
ทไี่ มไ ดก าํ หนดไวใ นความตกลงฯ ในความตกลงฯ/กฎหมายภายใน - ตาํ รวจ ตกลงฯ เหน็ ควร
ใหผลักดันใหใช
จุ ด ผ  า น แ ด น
ที่ถูกตองตาม
ความตกลงฯ

มาตรา ๒๖ หา มมใิ หผ ใู ดนาํ รถที่ มาตรา ๑๒๖ ผใู ดฝา ฝนหรือไม ผูใชรถ - ผตู รวจการ ดําเนินการตาม
จดทะเบยี นในตา งประเทศมาใช ปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๒๖ วรรคหนงึ่ - ตาํ รวจ กฎหมายภายใน
ประกอบการขนสง ในประเทศไทย ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน
เวนแต เพื่อการขนสงระหวาง ๕ ป หรือปรบั ตั้งแต ๒๐,๐๐๐ -
ประเทศและไดร บั ใบอนญุ าตจาก ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรอื ทง้ั จาํ ทง้ั ปรบั
นายทะเบยี นกลางแลว

á¹Ç·Ò§
ÃÒ¡ÒáÒú§Ñ ¤ºÑ 㪌 ¼ºÙŒ §Ñ ¤ÑºãªŒ ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ
¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ º·¡®ËÁÒ·Õàè ¡ÕèÂǢ͌ § º·¡Òí ˹´â·É ¼ÃŒÙ ºÑ â·É ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ¡Ѻ

๓.๔ ไมม เี อกสารตามทคี่ วาม öμ‹Ò§»ÃÐà·È
ตกลงฯ กาํ หนดไว เชน
การใชร ถโดยไมม เี อกสารทคี่ รบถว น ไมม กี ารกาํ หนดไวเ ปน การเฉพาะ - ผใู ชรถ - ผตู รวจการ หากฝา ฝน เหน็ ควร
– permit (กรณกี าํ หนด) ตามที่ความตกลงฯ กําหนดไว ในความตกลงฯ/กฎหมายภายใน - ผูขับรถ - ตาํ รวจ ผ ลั ก ดั น ก ลั บ
– หนังสือรับรองการ
ตรวจสภาพรถ ฯลฯ ประเทศ

๒๑๙

๒๒๑

ÀÒ¤¼¹Ç¡

๒๒๓

¢ÍŒ กาํ ˹´สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ

àÃèÍ× § ÊÞÑ ÞÒ³¨ÃҨà à¤Ãè×ͧËÁÒ¨ÃÒ¨ÃáÅФÇÒÁËÁÒ¢ͧ
ÊÞÑ ÞÒ³¨ÃÒ¨ÃáÅÐà¤Ãè×ͧËÁÒ¨ÃÒ¨Ã

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ แหงพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒
อันเปนพระราชบัญญัติท่ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง
มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๖ และมาตรา ๔๘ ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
จึงกําหนดสัญญาณจราจร เคร่ืองหมายจราจร และความหมายของสัญญาณจราจรและเคร่ืองหมาย
จราจรไวด ังตอไปนี้

¢ÍŒ ñ ใหใ ชส ญั ญาณจราจร และเครอื่ งหมายจราจรตามแบบทก่ี าํ หนด โดยภาพตวั อยา ง
ทายขอกําหนดนที้ ่ัวราชอาณาจักร ตั้งแตวันประกาศเปนตนไป สว นสัญญาณจราจรและเครอ่ื งหมาย
จราจรแบบเกาที่ใชอยูกอนวันประกาศ และยังมิไดเปล่ียนแปลงเปนแบบใหม ก็ใหใชไดไปพลางกอน
จนกวาจะไดเ ปลี่ยนเปน แบบใหมต ามขอกําหนดน้ี

¢ÍŒ ò สัญญาณจราจร เครื่องหมายจราจร และความหมายของสัญญาณจราจร
และเครอื่ งหมายจราจรตามขอ กาํ หนดนี้ ใหใ ชใ นเขตทางตามบทบญั ญตั แิ หง กฎหมายวา ดว ยการจราจร
ทางบก ทวั่ ราชอาณาจักร

ÊÑÞÞÒ³¨ÃÒ¨Ã

¢ŒÍ ó สัญญาณไฟจราจร หมายถึง โคมสัญญาณไฟท่ีใชควบคุมการจราจรมีขนาด
และตดิ ตง้ั หรอื ทาํ ใหป รากฏไวใ นทางในลกั ษณะทท่ี าํ ใหผ ขู บั ขหี่ รอื ผทู ตี่ อ งปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณมองเหน็ ได
โดยชดั เจน

การตดิ ตง้ั โคมสญั ญาณไฟจราจรตอ งประกอบดว ยดวงโคมไฟอยา งนอ ยสามดวง
โดยมโี คมสญั ญาณไฟจราจรสแี ดงอยตู อนบนหรอื ดา นขวามอื ของผขู บั ขหี่ รอื ผตู อ งปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณ
โคมสัญญาณไฟจราจรสีเหลืองอําพันอยูตอนกลาง และโคมสัญญาณไฟจราจรสีเขียวอยูตอนลาง
หรือดานซายมือของผูขับข่ีหรือผูที่ตองปฏิบัติตามสัญญาณ ในบางกรณีอาจมีโคมสัญญาณไฟจราจร
ลูกศรสเี ขยี วประกอบได

๒๒๔

¢ŒÍ ô สัญญาณดวยมือและแขนของพนักงานเจาหนาที่ หมายถึง สัญญาณจราจรที่
พนกั งานเจา หนา ท่แี สดงใหป รากฏขางหนา

¢ŒÍ õ สัญญาณนกหวีด หมายถึง สัญญาณจราจรที่พนักงานเจาหนาท่ีแสดงดวย
เสียงสญั ญาณนกหวีด

à¤ÃÍ×è §ËÁÒ¨ÃÒ¨Ã

¢ŒÍ ö ในขอ กาํ หนดนี้ “เครอ่ื งหมายจราจร” หมายความวา รปู ภาพ ขอ ความ ตวั หนงั สอื
ตัวเลข หมุด หลัก เสน แถบสี หรือสัญลักษณใดๆ ที่แสดง ติดต้ัง หรือทําใหปรากฏไวในเขตทาง
หรือทางหลวงในลักษณะและตําแหนงท่ีเห็นไดโดยงายและชัดเจน เพ่ือใหผูใชทางไมวาจะเปนผูขับข่ี
คนเดินเทา หรือผูควบคุมสตั วปฏบิ ตั ิตามความหมายของเครอื่ งหมายนั้นหรอื เปนการแจง ขอมูล หรือ
ใหค าํ แนะนาํ เกยี่ วกบั การใชท างหรอื ทางหลวงนน้ั เพอื่ ใหก ารจราจรเปน ไปโดยสะดวก รวดเรว็ ปลอดภยั

¢ŒÍ ÷ เคร่ืองหมายจราจรแบงเปน ๒ ชนดิ ดังน้ี
(๑) ปา ยจราจร ไดแ ก เครอื่ งหมายจราจรทท่ี าํ ใหป รากฏอยบู นแผน ปา ย กลอ ง ผนงั หรอื
ที่อน่ื ใด ทาํ ดวยแผน โลหะ ไม หรือวัสดอุ ืน่
(๒) เครอื่ งหมายจราจรบนพน้ื ทาง ไดแ ก เครอื่ งหมายจราจรทที่ าํ ใหป รากฏอยบู นพนื้ ทาง
ทางจราจร ไหลท าง ทางเทา ขอบทาง ขอบวงเวียน หรือขอบคันหนิ โดยการใช กระเบ้อื ง หมุดโลหะ
วัสดุสะทอนแสง สี หรือวัสดุอ่ืนใด ปู ตอก ฝง พน ทา รีดทับหรือทําโดยวิธีอ่ืนใดเพื่อใหปรากฏ
ซึง่ เครื่องหมายจราจร

ËÁÇ´ ñ
»Ò‡ ¨ÃÒ¨Ã

¢ÍŒ ø ปายจราจรแบง เปน ๓ ประเภท ดังนี้
(๑) ปายบงั คับ ไดแ ก ปา ยจราจรทีม่ ีความหมายเปน การบงั คับใหผูใชทางปฏิบัติตาม
ความหมายของเคร่ืองหมายจราจรท่ีปรากฏอยูในปายนั้น โดยการกําหนดใหผูใชทางตองกระทํา
งดเวน การกระทาํ หรือจํากัดการกระทําในบางประการหรือบางลักษณะ
(๒) ปา ยเตอื น ไดแ ก ปา ยจราจรทมี่ คี วามหมายเปน การเตอื นผใู ชท างใหท ราบลว งหนา
ถึงสภาพทางหรือขอมูลอยางอื่นท่ีเกิดขึ้นในทางหรือทางหลวงขางหนาอันอาจกอใหเกิดอันตราย
หรืออุบัติเหตุข้ึนได เพ่ือใหผูใชทางใชความระมัดระวังในการใชทางซึ่งจะชวยปองกันการเกิดอันตราย
หรืออบุ ตั เิ หตุดังกลา วได
(๓) ปายแนะนํา ไดแก ปายจราจรที่มีความหมายเปนการแนะนําใหผูใชทางทราบ
ขอ มลู อันเกยี่ วกบั การเดนิ ทางและการจราจร เชน เสนทางทจ่ี ะใช ทิศทาง ระยะทาง สถานท่ี รวมทงั้
ขอ มูลอื่น เปนตน เพอ่ื ประโยชนใ นการเดนิ ทางและการจราจร

๒๒๕

ʋǹ·Õè ñ
»Ò‡ º§Ñ ¤Ñº

¢ÍŒ ù ปา ยบงั คบั แบงเปน ๒ ประเภท ดงั นี้
(๑) ปายบังคับท่ีแสดงความหมายตามรูปแบบและลกั ษณะทีก่ าํ หนด
(๒) ปายบงั คบั ที่แสดงดวยขอ ความ หรอื สัญลักษณ หรือท้งั สองอยางรวมกนั
¢ŒÍ ñð ปา ยบงั คบั ทแ่ี สดงความหมายตามรปู แบบและลกั ษณะทกี่ าํ หนด ซงึ่ ปรากฏตาม
ตวั อยางในรูปท่ี ๑ ทา ยขอ กําหนดน้ีมีความหมายดังนี้
(๑) ปา ย “หยดุ ” หมายความวา ผขู บั ขตี่ อ งหยดุ รถกอ นถงึ ทางทขี่ วางขา งหนา หรอื เสน
แนวหยุด และรอใหรถและหรอื คนเดนิ เทา บนทางขวางขา งหนาผา นไปกอนเมื่อเหน็ วา ปลอดภัย และ
ไมเปนการกีดขวางการจราจรที่บริเวณทางแยกน้ันแลว จึงใหเคลื่อนรถตอไปไดดวยความระมัดระวัง
(บ.๑)
(๒) ปาย “ใหทาง” หมายความวา ผูขับข่ีตองระมัดระวังและใหทางแกรถหรือ
คนเดินเทาบนทางขวางขางหนาผานไปกอน เม่ือเห็นวาปลอดภัยและไมเปนการกีดขวางการจราจร
ทบ่ี ริเวณทางแยกนนั้ แลว จงึ ใหเคลื่อนรถผานไปไดดว ยความระมดั ระวัง (บ.๒)
(๓) ปาย “ใหรถสวนทางมากอน” หมายความวา ผูขับขี่ตองหยุดรถตรงตําแหนง
ที่ตดิ ต้ังปายและรอใหรถท่ีกาํ ลงั สวนทางมาผานไปกอน หากมีรถขา งหนาหยดุ รออยูกอน ก็ใหหยุดรอ
ถัดตอกันมาตามลําดับ เมื่อรถท่ีสวนทางมาไดผานไปหมดแลว จึงเคลื่อนรถท่ีหยุดตรงปายนี้
ผานไปได (บ.๓)
(๔) ปาย “หามแซง” หมายความวา หามขับรถแซงข้ึนหนารถคันอ่ืนในเขตทางที่
ตดิ ตั้งปา ย (บ.๔)
(๕) ปาย “หามเขา ” หมายความวา หา มรถทกุ ชนดิ เขา ไปในทศิ ทางทีต่ ิดตั้งปา ย (บ.๕)
(๖) ปาย “หามกลับรถในทางขวา” หมายความวา หามกลับรถไปทางขวาไมวาดวย
วิธใี ดๆ (บ.๖)
(๗) ปาย “หามกลบั รถไปทางซาย” หมายความวา หา มกลบั รถไปทางซา ยไมว าดวย
วธิ ีใดๆ (บ.๗)
(๘) ปาย “หา มเลีย้ วซา ย” หมายความวา หามเลี้ยวรถไปทางซา ย (บ.๘)
(๙) ปาย “หา มเลี้ยวขวา” หมายความวา หามเล้ียวรถไปทางขวา (บ.๙)
(๑๐) ปาย “หามเปลี่ยนชองเดินรถไปทางซา ย” หมายความวา หา มเปลย่ี นชองเดินรถ
หรอื ชองจราจรไปทางซา ย (บ.๑๐)
(๑๑) ปาย “หา มเปลยี่ นชอ งเดนิ รถไปทางขวา” หมายความวา หามเปลี่ยนชอ งเดินรถ
หรือชอ งจราจรไปทางขวา (บ.๑๑)

๒๒๖

(๑๒) ปาย “หามเล้ียวขวาหรือกลับรถ” หมายความวา หามเล้ียวรถไปทางขวา
หรอื กลับรถ (บ.๑๒)

(๑๓) ปาย “หามเลี้ยวซายหรือกลับรถ” หมายความวา หามเล้ียวรถไปทางซาย
หรือกลบั รถ (บ.๑๓)

(๑๔) ปาย “หามรถยนตผาน” หมายความวา หามรถยนตทุกชนิดผานเขาออก
ในเขตทางทตี่ ดิ ต้ังปา ย (บ.๑๔)

(๑๕) ปาย “หามรถบรรทุกผาน” หมายความวา หามรถบรรทุกทุกชนิดผานเขาออก
ในเขตทางทตี่ ดิ ตงั้ ปา ย (บ.๑๕)

(๑๖) ปาย “หามรถจักรยานยนตผาน” หมายความวา หามรถจักรยานยนตทุกชนิด
ผานเขาออกในเขตทางทีต่ ิดตัง้ ปา ย (บ.๑๖)

(๑๗) ปาย “หามรถพวงผาน” หมายความวา หามรถพวงหรือรถก่ึงพวงทุกชนิดผาน
เขา ออกในเขตทางที่ตดิ ตงั้ ปา ย (บ.๑๗)

(๑๘) ปา ย “หา มรถยนตสามลอ ผาน” หมายความวา หา มรถยนตสามลอทุกชนิดผาน
เขา ออกในเขตทางทต่ี ิดตงั้ ปาย (บ.๑๘)

(๑๙) ปาย “หามรถสามลอผาน” หมายความวา หามรถสามลอทุกชนิดผานเขาออก
ในเขตทางที่ตดิ ตงั้ ปาย (บ.๑๙)

(๒๐) ปา ย “หา มรถจักรยานผา น” หมายความวา หา มรถจกั รยานทุกชนดิ ผานเขา ออก
ในเขตทางที่ตดิ ตั้งปา ย (บ.๒๐)

(๒๑) ปาย “หามลอเล่ือนลากเข็นผาน” หมายความวา หามลอเลื่อนลากเข็นทุกชนิด
ผา นเขาออกในเขตทางทต่ี ิดตั้งปาย (บ.๒๑)

(๒๒) ปาย “หามรถยนตที่ใชในการเกษตรผาน” หมายความวา หามรถยนตท่ีใช
ในการเกษตรทุกชนดิ ผานเขา ออกในเขตทางทีต่ ดิ ตั้งปาย (บ.๒๒)

(๒๓) ปา ย “หา มเกวยี นผา น” หมายความวา หา มเกวยี นทกุ ชนดิ ผา นเขา ออกในเขตทาง
ท่ตี ดิ ต้ังปา ย (บ.๒๓)

(๒๔) ปา ย “หา มรถจกั รยานยนตแ ละรถยนตผ า น” หมายความวา หา มรถจกั รยานยนต
และรถยนตท ุกชนดิ ผานเขาออกในเขตทางที่ตดิ ต้งั ปา ย (บ.๒๔)

(๒๕) ปาย “หามรถจักรยาน รถสามลอ และลอเล่ือนลากเข็นผาน” หมายความวา
หามรถจกั รยาน รถสามลอ และลอ เลอื่ นลากเขน็ ทกุ ชนิด ผานเขา ออกในเขตทางทต่ี ิดตั้งปาย (บ.๒๕)

(๒๖) ปาย “หามรถจักรยานยนตและรถยนตสามลอผาน” หมายความวา หาม
รถจักรยานยนตแ ละรถยนตสามลอ ทกุ ชนิด ผา นเขา ออกในเขตทางท่ตี ิดตั้งปาย (บ.๒๖)

(๒๗) ปาย “หามใชเสียง” หมายความวา หามใชเสียงสัญญาณ หรือทําใหเกิดเสียง
ทกี่ อกวนรบกวนดว ยประการใดๆ ในเขตทางทีต่ ิดตง้ั ปา ย (บ.๒๗)

๒๒๗

(๒๘) ปาย “หามคนผาน” หมายความวา หามคนเดินเทาผานเขาออกในเขตทาง
ท่ีตดิ ตง้ั ปา ย (บ.๒๘)

(๒๙) ปาย “หา มจอดรถ” หมายความวา หา มจอดรถทกุ ชนดิ ระหวา งแนวเขตทกี่ ําหนด
เวน แตก ารหยดุ รบั สงคน หรือสงิ่ ของชั่วขณะซ่ึงตอ งกระทําโดยมชิ กั ชา (บ.๒๙)

(๓๐) ปาย “หามหยุดรถ” หมายความวา หามหยุดรถหรือจอดรถทุกชนิดระหวาง
แนวเขตท่กี าํ หนดเปนอันขาด (บ.๓๐)

(๓๑) ปา ย “หยดุ ตรวจ” หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งหยดุ รถทป่ี า ยนี้ เพอื่ ใหเ จา หนา ทตี่ รวจ
และใหเ คลื่อนรถตอไปไดเ มือ่ ไดร ับอนุญาตจากเจาหนาท่ผี ูตรวจแลว เทา น้ัน (บ.๓๑)

(๓๒) ปาย “จํากัดความเร็ว” หมายความวา หามใชความเร็วเกินกวาที่กําหนด
เปน “กิโลเมตรตอช่ัวโมง” ตามจํานวนตัวเลขท่ีระบุในปายน้ันๆ ในเขตทางที่ติดตั้งปายจนกวา
จะพนระยะทจ่ี ํากดั ความเรว็ น้นั (บ.๓๒)

(๓๓) ปาย “หามรถหนักเกินกําหนดผาน” หมายความวา หามรถทุกชนิดที่มีน้ําหนัก
เกินกวาท่ีกําหนดหรือเมื่อรวมน้ําหนักรถกับน้ําหนักบรรทุกเกินกวาที่กําหนดเปน “ตัน” ตามจํานวน
ตวั เลขทรี่ ะบุในปา ยน้ันๆ ผา นเขา ออกในเขตทางที่ตดิ ตง้ั ปา ย (บ.๓๓)

(๓๔) ปา ย “หา มรถกวา งเกนิ กาํ หนดผา น” หมายความวา หา มรถทกุ ชนดิ ทม่ี คี วามกวา ง
เกินกวาที่กําหนดเปน “เมตร” ตามจํานวนตัวเลขที่ระบุในปายนั้นๆ ผานเขาออกในเขตทางที่ติดตั้ง
ปา ย (บ.๓๔)

(๓๕) ปาย “หามรถสูงเกินกําหนดผาน” หมายความวา หามรถทุกชนิดท่ีมีความสูง
รวมทั้งของที่บรรทุกเกินกวาท่กี าํ หนดเปน “เมตร” ตามจาํ นวนตวั เลขทีร่ ะบุในปายนนั้ ๆ ผานเขา ออก
ในเขตทางท่ีตดิ ต้งั ปา ย (บ.๓๕)

(๓๖) ปาย “หามรถยาวเกนิ กําหนดผา น” หมายความวา หา มรถทุกชนิดทม่ี ีความยาว
เกินกวาที่กําหนดเปน “เมตร” ตามจํานวนตัวเลขที่ระบุในปายน้ันๆ ผานเขาออกในเขตทางที่ติดตั้ง
ปาย (บ.๓๖)

(๓๗) ปาย “ใหเดินรถทางเดียว” หมายความวา ผูขับขี่ตองขับรถตรงไปตามทิศทางที่
ปายกาํ หนดเปนทางเดินรถทางเดียวเทา นนั้ (บ.๓๗)

(๓๘) ปาย “ใหเดนิ รถทางเดยี วไปทางซา ย” หมายความวา ทางขา งหนา เปน ทางบังคบั
ใหเ ดินรถทางเดยี วไปทางซา ยเทา น้ัน (บ.๓๘)

(๓๙) ปาย “ใหเดินรถทางเดียวไปทางขวา” หมายความวา ทางขางหนาเปน ทางบงั คับ
ใหเดนิ รถทางเดยี วไปทางขวาเทานั้น (บ.๓๙)

(๔๐) ปาย “ใหชิดซาย” หมายความวา ผูขับขี่ตองขับรถผานไปทางดานซาย
ของปาย (บ.๔๐)

๒๒๘

(๔๑) ปาย “ใหชิดขวา” หมายความวา ผูขับข่ีตองขับรถผานไปทางดานขวา
ของปา ย (บ.๔๑)

(๔๒) ปา ย “ใหช ดิ ซา ยหรอื ชดิ ขวา” หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งขบั รถผา นไปทางดา นซา ย
หรอื ทางดานขวาของปาย (บ.๔๒)

(๔๓) ปา ย “ใหเลีย้ วซา ย” หมายความวา ผขู ับข่ีตองขับรถเลี้ยวไปทางซายแตท างเดยี ว
เทา น้ัน (บ.๔๓)

(๔๔) ปาย “ใหเ ลีย้ วขวา” หมายความวา ผขู บั ข่ีตองขบั รถเลี้ยวไปทางขวาแตทางเดยี ว
เทานนั้ (บ.๔๔)

(๔๕) ปา ย “ใหเ ลยี้ วซา ยหรอื เลยี้ วขวา” หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งขบั รถเลย้ี วไปทางซา ย
หรอื ไปทางขวาเทา นน้ั (บ.๔๕)

(๔๖) ปาย “ใหตรงไปหรอื เลย้ี วซา ย” หมายความวา ผขู ับข่ตี อ งขบั รถตรงไปหรือเล้ียว
ไปทางซา ยเทาน้ัน (บ.๔๖)

(๔๗) ปา ย “ใหตรงไปหรอื เล้ยี วขวา” หมายความวา ผขู ับขต่ี อ งขบั รถตรงไปหรือเลย้ี ว
ไปทางขวาเทา น้นั (บ.๔๗)

(๔๘) ปา ย “วงเวยี น” หมายความวา ผขู บั ขรี่ ถทกุ ชนดิ ตอ งขบั รถวนทางซา ยของวงเวยี น
และรถท่ีเริ่มจะเขาสูทางรอบบริเวณวงเวียนตองหยุดรอใหรถที่แลนอยูในทางรอบบริเวณวงเวียน
ผานไปกอ น หา มขบั รถแทรกหรอื ตัดหนา รถทแี่ ลนอยใู นเขตทางรอบบรเิ วณวงเวยี น (บ.๔๘)

(๔๙) ปา ย “ชอ งเดินรถประจาํ ทาง” หมายความวา ชอ งเดนิ รถทต่ี ิดตัง้ ปายเปนบริเวณ
ทก่ี าํ หนดใหเ ปน ชองเดนิ รถประจาํ ทาง (บ.๔๙)

(๕๐) ปาย “ชองเดินรถมวลชน” หมายความวา ชองเดินรถท่ีติดตั้งปายเปนบริเวณ
ทก่ี ําหนดใหเปนชองเดินรถมวลชน และใหใชไดเฉพาะรถที่มีจํานวนคนบนรถไมนอยกวาตัวเลขท่ีระบุ
ในปาย (บ.๕๐)

(๕๑) ปา ย “ชอ งเดนิ รถจกั รยานยนต” หมายความวา ชอ งเดนิ รถทตี่ ดิ ตง้ั ปา ยเปน บรเิ วณ
ท่กี าํ หนดใหเ ปนชอ งเดินรถจกั รยานยนต (บ.๕๑)

(๕๒) ปาย “ชองเดินรถจักรยาน” หมายความวา ชองเดินรถท่ีติดตั้งปายเปนบริเวณ
ท่ีกําหนดใหเปน ชองเดินรถจกั รยาน (บ.๕๒)

(๕๓) ปา ย “เฉพาะคนเดนิ ” หมายความวา บริเวณทีต่ ิดตัง้ ปายเปนบรเิ วณทก่ี ําหนดให
ใชไดเ ฉพาะคนเดนิ เทาเทานัน้ (บ.๕๓)

(๕๔) ปา ย “ความเร็วขนั้ ตํ่า” หมายความวา ผูข ับขต่ี องใชความเร็วไมต า่ํ กวา ท่ีกําหนด
เปน “กโิ ลเมตรตอชั่วโมง” ตามจาํ นวนตัวเลขทรี่ ะบุในปาย (บ.๕๔)

(๕๕) ปาย “สุดเขตบังคับ” หมายความวา หมดระยะบังคับตามความหมายของ
ปา ยบังคับที่ไดตดิ ต้งั ไวกอนท่จี ะถงึ ปา ยน้ี (บ.๕๕)

๒๒๙

¢ŒÍ ññ ปายบังคับที่แสดงดวยขอความ หรือสัญลักษณ หรือท้ังสองอยางรวมกัน
แบงเปน ๒ ประเภท ดงั น้ี

(๑) ประเภทติดต้ังประกอบปายบังคับที่แสดงความหมายตามรูปแบบและลักษณะ
ที่กําหนด จะใชบังคับเฉพาะบางชวงเวลา หรือบางเขต บางตอน หรือมีขอจํากัดหรือขอยกเวน
บางประการมลี กั ษณะเปน ปา ยส่ีเหล่ยี มพื้นสีขาว เสนขอบปายขอความและสญั ลกั ษณสีดาํ

(๒) ประเภทติดตั้งเด่ียว มีลักษณะเปนปายส่ีเหล่ียม พื้นสีขาว เสนขอบ ปายสีแดง
ขอความและสัญลักษณส ีแดง หรอื สดี ํา

ʋǹ·Õè ò
»‡ÒÂàμÍ× ¹

¢ŒÍ ñò ปา ยเตอื นแบงเปน ๓ ประเภท ดังน้ี
(๑) ปายเตอื นตามรปู แบบและลักษณะท่ีกําหนด
(๒) ปายเตือนที่แสดงดวยขอ ความ หรือสัญลักษณ หรอื ท้งั สองอยา งรวมกัน
(๓) ปา ยเตือนในงานกอสรา งตา งๆ
¢ÍŒ ñó ปา ยเตอื นทแี่ สดงความหมายตามรปู แบบและลกั ษณะทก่ี าํ หนดซงึ่ ปรากฏตาม
ตวั อยา งในรูปท่ี ๒ ทายขอ กาํ หนดนม้ี ีความหมายดังนี้
(๑) ปาย “ทางโคง ตางๆ” หมายความวา ทางขางหนา เปน ทางโคง ตามลักษณะลูกศร
ในปาย ควรขับรถใหช าลง และเพม่ิ ความระมดั ระวงั (ต.๑ - ต.๑๐)
(๒) ปาย “ทางแยกตางๆ” หมายความวา ทางขางหนาเปนทางแยกตามลักษณะ
สัญลักษณใ นปาย ควรขบั รถใหช าลง และเพม่ิ ความระมดั ระวงั (ต.๑๑ - ต.๒๐)
(๓) ปาย “วงเวียนขางหนา” หมายความวา ทางขางหนาเปนทางแยกมีวงเวียน
ควรขบั รถใหช าลง และเพมิ่ ความระมัดระวงั (ต.๒๑)
(๔) ปาย “ทางแคบทั้งสองดาน” หมายความวา ทางขางหนาแคบลงกวาทางที่
กําลังผานท้ังสองดา น ควรขบั รถใหชาลง และเพม่ิ ความระมัดระวัง (ต.๒๒)
(๕) ปา ย “ทางแคบดา นซาย” หมายความวา ทางขา งหนา ดา นซายแคบลงกวาทางท่ี
กาํ ลงั ผา น ควรขบั รถใหช า ลง และเพิม่ ความระมัดระวงั (ต.๒๓)
(๖) ปาย “ทางแคบดานขวา” หมายความวา ทางขางหนาดา นขวาแคบลงกวาทางที่
กาํ ลังผา น ควรขับรถใหชาลง และเพ่มิ ความระมัดระวงั (ต.๒๔)
(๗) ปาย “สะพานแคบ” หมายความวา ทางขางหนามีสะพานแคบรถสวนกันได
ไมสะดวก ควรขับรถใหชาลง และระมัดระวังอันตรายจากรถท่ีสวนมาจากอีกฝงหนึ่งของสะพาน
(ต.๒๕)
(๘) ปาย “ชอ งจราจรปด ดานซา ย” หมายความวา ทางเดินรถขางหนาปดการสัญจร
ทางดา นซา ย ผขู ับข่ีควรเปลีย่ นใชชอ งเดินรถท่ีเหลอื อยดู ว ยความระมดั ระวัง (ต.๒๖)

๒๓๐

(๙) ปาย “ชอ งจราจรปด ดา นขวา” หมายความวา ทางเดินรถขา งหนา ปดการสัญจร
ทางดา นขวา ผูขบั ข่ีควรเปลี่ยนใชช อ งเดินรถทเ่ี หลอื อยดู วยความระมดั ระวงั (ต.๒๗)

(๑๐) ปา ย “ทางขา มทางรถไฟไมม เี ครอ่ื งกน้ั ทาง” หมายความวา ทางขา งหนา มที างรถไฟ
ตดั ผา นและไมม ีเครอื่ งก้นั ทาง ควรขับรถใหชาลง และสงั เกตดูรถไฟทง้ั ทางขวาและทางซาย ถามีรถไฟ
กําลังจะผานมาควรหยุดรถใหหางจากทางรถไฟอยางนอย ๕ เมตร และรอคอยจนกวารถไฟน้ัน
ผา นพนไปและปลอดภัยแลว จึงเคล่ือนรถตอไป ไมค วรขับรถตดั หนา รถไฟในระยะที่อาจเกิดอันตราย
เปนอนั ขาด (ต.๒๘)

(๑๑) ปา ย “ทางขา มทางรถไฟมีเครอื่ งกั้นทาง” หมายความวา ทางขา งหนา มที างรถไฟ
ตัดผานและมีร้ัวหรือมีเครื่องกั้นทาง กอนท่ีจะขับรถผานปายน้ี ควรขับรถใหชาลงและพรอมท่ีจะ
หยุดรถเม่ือมีเสียงสัญญาณของเจาหนาท่ีดังข้ึน หรือเจาหนาที่ไดกั้นทางหรือมีเครื่องกั้นทางปดกั้น
ถาขางหนามีรถหยุดอยูกอนใหหยุดรอถัดตอมาตามลําดับ เม่ือเปดเครื่องกั้นทางแลวรถที่หยุดรอ
จึงเคลื่อนตามกนั ไป (ต.๒๙)

(๑๒) ปาย “ทางขามทางรถไฟติดทางแยก” หมายความวา ทางขางหนามีทางขาม
ทางรถไฟอยูติดทางแยกตามลักษณะสัญลักษณ ควรขับรถดวยความระมัดระวังกอนขามทางรถไฟ
ควรมองดานซายและดานขวาตามแนวทางรถไฟ เม่ือเห็นวาปลอดภัยจึงขับรถตอไป ในกรณีที่มี
เครอ่ื งกน้ั ทางควรปฏิบตั ิตามสัญญาณเครือ่ งกน้ั ทาง (ต.๓๐)

(๑๓) ปาย “ทางแคบ” หมายความวา ทางขา งหนา แคบลงกวา ทางทก่ี าํ ลงั ผา น มขี นาด
ตามจาํ นวนตวั เลขทกี่ าํ หนดเปน “เมตร” ตามทร่ี ะบใุ นปา ย รถทม่ี ขี นาดกวา งไมเ กนิ จาํ นวนตวั เลขทรี่ ะบุ
ในปายใหผานไปได ควรขบั รถใหช าลง และเพิม่ ความระมัดระวงั (ต.๓๑)

(๑๔) ปา ย “ทางลอดตํ่า” หมายความวา ทางขา งหนาจะตอ งลอดชองลอดต่ํา มีขนาด
ตามจํานวนตัวเลขท่กี าํ หนดเปน “เมตร” ตามทีร่ ะบุในปา ย รถทีม่ ีความสูงหรอื รวมทัง้ สิ่งของทบี่ รรทุก
สงู ไมเ กินจาํ นวนตวั เลขท่รี ะบุในปา ยใหผ า นไปได ควรขบั รถใหชา ลง และเพม่ิ ความระมัดระวัง (ต.๓๒)

(๑๕) ปา ย “ทางขน้ึ ลาดชัน” หมายความวา ทางขา งหนา เปนทางลาดชันข้นึ ทางข้นึ เขา
หรือข้ึนเนิน สันเขาหรือสันเนินมีความลาดชันตามจํานวนตัวเลขท่ีกําหนดเปน “รอยละ” ตามที่ระบุ
ในปายซ่ึงอาจบังสายตาใหมองไมเห็นรถท่ีสวนมา ควรขับรถใหชาลง เดินรถใกลขอบทางดานซาย
ใหมากและระมดั ระวงั อนั ตรายจากรถทีส่ วนทางมา (ต.๓๓)

(๑๖) ปาย “ทางลงลาดชนั ” หมายความวา ทางขา งหนาเปนทางลาดชนั ลงทางลงเขา
หรือลงเนินมีความลาดชันตามจํานวนตัวเลขท่ีกําหนดเปน “รอยละ” ตามท่ีระบุในปาย ควรขับรถให
ชา ลงเดนิ รถใกลข อบทางดานซายใหมาก ควรใชเ กียรต า่ํ เพอื่ ความปลอดภัย และไมปลดเกยี รหรือดบั
เครื่องยนตเ ปนอันขาด (ต.๓๔)

(๑๗) ปาย “เตอื นรถกระโดด” หมายความวา ทางขา งหนาเปลย่ี นระดับอยางกะทนั หนั
เชน บริเวณคอสะพาน ทางขามทอระบายนํ้า หรือคันชะลอความเร็ว เปนตน ควรขับรถใหชาลง
และเพม่ิ ความระมดั ระวัง (ต.๓๕)

๒๓๑

(๑๘) ปาย “ผิวทางขรุขระ” หมายความวา ทางขางหนาขรุขระมากเปนหลุมเปนบอ
หรอื เปน สนั ติดตอ กัน ควรขับรถใหชาลง และเพิม่ ความระมดั ระวงั (ต.๓๖)

(๑๙) ปาย “ทางเปนแอง” หมายความวา ทางขางหนาเปลี่ยนระดับลงกะทันหัน
หรอื เปน แอง ควรขบั รถใหช า ลง และเพิ่มความระมดั ระวงั (ต.๓๗)

(๒๐) ปา ย “ทางล่ืน” หมายความวา ทางขางหนา ล่นื อาจเกิดอบุ ัตเิ หตไุ ดงาย ควรขับรถ
ใหช าลง และระมัดระวังการลนื่ ไถล ไมควรใชหา มลอ แรงๆ ทันที การหยุดรถ การเบารถ หรอื เล้ยี วรถ
ในทางล่นื ตองกระทําดว ยความระมดั ระวังเปนพเิ ศษ (ต.๓๘)

(๒๑) ปาย “ผิวทางรวน” หมายความวา ทางขางหนาอาจมีวัตถุผิวทางหลุดกระเด็น
เมอื่ ขบั รถดว ยความเรว็ สงู ควรขบั รถใหช า ลง และระมดั ระวงั อนั ตรายอนั อาจเกดิ จากวสั ดผุ วิ ทาง (ต.๓๙)

(๒๒) ปา ย “ระวงั หนิ รว ง” หมายความวา ทางขา งหนา อาจมหี นิ รว งลงมาในผวิ ทางทาํ ให
กดี ขวางการจราจร ควรขบั รถใหช า ลง และเพิม่ ความระมัดระวงั (ต.๔๐)

(๒๓) ปา ย “สะพานเปด ได” หมายความวา ทางขา งหนา ตอ งผา นสะพานทอ่ี าจตอ งเปด
ใหเรอื ผา น ควรขบั รถใหช า ลงและระมัดระวังในการหยุดรถเม่ือเจา หนาที่จะปดกัน้ ทางเพื่อเปด สะพาน
ใหเ รอื ผานเพื่อมใิ หเ กดิ อนั ตรายตอรถขา งหนา และรถขางหลัง (ต.๔๑)

(๒๔) ปาย “เปล่ียนชองทางจราจร” หมายความวา ควรเปลี่ยนชองจราจรหรอื เปลย่ี น
ชองเดนิ รถ ตามสญั ลักษณใ นปา ย ควรขับรถใหช า ลง และเพิ่มความระมัดระวัง (ต.๔๒ - ต.๔๓)

(๒๕) ปา ย “ออกทางขนาน” หมายความวา ทางหลกั ขา งหนา มชี อ งเปด ออกทางขนาน
ผขู บั ขบ่ี นทางหลกั ทจ่ี ะออกทางขนาน ควรเตรยี มตวั เพอื่ ออกทางขนาน และสาํ หรบั ผขู บั ขบ่ี นทางขนาน
ควรระมัดระวงั รถท่จี ะมารวมในทศิ ทางเดียวกนั (ต.๔๔)

(๒๖) ปาย “เขาทางหลัก” หมายความวา ทางขนานขางหนา มีชองเปดเขาทางหลัก
ผูขับขี่บนทางขนานที่จะเขาทางหลัก ควรเตรียมตัวเพ่ือเขาทางหลัก และสําหรับผูขับขี่บนทางหลัก
ควรระมดั ระวงั ทีจ่ ะมารวมในทิศทางเดยี วกนั (ต.๔๕)

(๒๗) ปา ย “ทางรว ม” หมายความวา ทางขา งหนา อาจมรี ถเขา มารว มในทศิ ทางเดยี วกนั
จากทางซายหรือทางขวาตามลักษณะสัญลักษณในปาย ควรขับรถใหชาลง และเพิ่มความระมัดระวัง
(ต.๔๖ - ต.๔๗)

(๒๘) ปาย “ทางคูขางหนา” หมายความวา ทางขางหนาเปนทางคูมีเกาะหรือสิ่งอ่ืน
แบง การจราจรเปน สองทศิ ทางไปทางหนงึ่ มาทางหนง่ึ ควรขบั รถชดิ ไปทางดา นซา ยดว ยความระมดั ระวงั
(ต.๔๘)

(๒๙) ปาย “ส้ินสุดทางคู” หมายความวา ทางขางหนาเปนทางรวมที่ไมมีเกาะ
หรือสิ่งอน่ื ใดแบง การจราจร ควรขับรถใหช าลง เดินรถใกลขอบทางดานซายและเพ่ิมความระมดั ระวงั
(ต.๔๙)

(๓๐) ปา ย “จุดกลับรถ” หมายความวา ทางขา งหนา มีท่ีกลบั รถ (ต.๕๐ - ต.๕๑)

๒๓๒

(๓๑) ปาย “ทางเดินรถสองทาง” หมายความวา ทางขา งหนา เปนทางเดินรถสองทาง
ควรขบั รถใหช า ลง เดนิ รถใกลข อบทางดา นซา ย และใหร ะมดั ระวงั อนั ตรายจากรถทส่ี วนทางมา (ต.๕๒)

(๓๒) ปา ย “สญั ญาณจราจร” หมายความวา ทางขา งหนา มสี ญั ญาณไฟจราจร ควรขบั รถ
ใหชา ลง และพรอมทจี่ ะปฏบิ ตั ิตามสญั ญาณไฟจราจร (ต.๕๓)

(๓๓) ปาย “หยุดขางหนา ” หมายความวา ทางขา งหนามีปายหยดุ ติดต้งั อยู ควรขบั รถ
ใหช า ลง และเตรียมพรอมทจ่ี ะหยดุ รถ เมื่อถงึ ปายหยดุ (ต.๕๔)

(๓๔) ปาย “ใหทางขางหนา” หมายความวา ทางขางหนามีปายใหทางติดตั้งอยู
ควรขับรถใหชา ลง และเตรียมพรอมท่ีจะใหทางเมอ่ื ถงึ ปายใหท าง (ต.๕๕)

(๓๕) ปาย “ระวังคนขามถนน” หมายความวา ทางขางหนามีทางสําหรับคนขาม
หรือมีหมูบานราษฎรอยูขางทาง ซึ่งมีคนเดินขามไปมาอยูเสมอ ควรขับรถใหชาลง และระมัดระวัง
คนขา มทาง ถามคี นกาํ ลังเดนิ ขา มทางควรหยุดใหคนเดินขา มทางไปไดโดยปลอดภัย (ต.๕๖)

(๓๖) ปาย “โรงเรียนระวังเด็ก” หมายความวา ทางขางหนามีโรงเรียนต้ังอยูขางทาง
ควรขับรถใหชาลงและระมัดระวังอุบัติเหตุซึ่งอาจเกิดข้ึนแกเด็กนักเรียน ถาเด็กนักเรียนกําลังเดิน
ขามทาง ควรหยุดรถใหเด็กนักเรียนขามทางไปไดโดยปลอดภัย ถาเปนเวลาท่ีโรงเรียนกําลังสอน
ควรงดใชเ สียงสัญญาณและหยุดการกอ ใหเ กิดเสยี งรบกวนดว ยประการใดๆ (ต.๕๗)

(๓๗) ปา ย “ระวงั สตั ว” หมายความวา ทางขา งหนา อาจมสี ตั วข า มทางควรขบั รถใหช า ลง
และเพิ่มความระมดั ระวัง (ต.๕๘)

(๓๘) ปา ย “ระวังเคร่อื งบินบนิ ตา่ํ ” หมายความวา ทางขางหนา เขาใกลส นามบิน และ
อาจมีเครื่องบินบินขึ้นลงในระดับต่ํา ควรขับรถใหชาลง หากเห็นเครื่องบินกําลังข้ึนหรือลงผาน
ทางขา งหนา ควรหยุดรถใหเครื่องบินผานไปไดโดยปลอดภัย (ต.๕๙)

(๓๙) ปา ย “ระวงั อนั ตราย” หมายความวา ทางขา งหนา อาจมอี นั ตราย เชน เกดิ อบุ ตั เิ หตุ
ทางทรุด เปน ตน ควรขบั รถใหช า ลง และเพ่ิมความระมดั ระวัง (ต.๖๐)

(๔๐) ปา ย “เขตหามแซง” ใชต ดิ ตง้ั ทางดา นขวาของทาง หมายความวา ทางชวงนน้ั มี
ระยะมองเหน็ จาํ กดั ผขู บั ขอ่ี าจไมส ามารถมองเหน็ รถทส่ี วนมาในระยะทจี่ ะแซงรถอน่ื ไดอ ยา งปลอดภยั
(ต.๖๑)

(๔๑) ปา ย “เตอื นแนวทางตา งๆ” หมายความวา ทางตอนนน้ั มกี ารเปลยี่ นแปลงแนวทาง
ตามทศิ ทางท่ีช้ไี ป ควรขับรถใหช าลง และเพมิ่ ความระมัดระวงั (ต.๖๒ - ต.๗๓)

(๔๒) ปา ย “สลบั กันไป” หมายความวา ทางขางหนาจํานวนชอ งเดินรถหรือชอ งจราจร
ลดลงควรขับรถใหช า ลง และสลบั กนั ไปดานละคันอยา งระมดั ระวงั (ต.๗๔)

¢ÍŒ ñô ปายเตือนแสดงดวยขอความ หรือสัญลักษณ หรือทั้งสองอยางรวมกัน
มีลักษณะเปนปายสี่เหล่ียม พื้นสีเหลือง เสนขอบปาย ขอความ และสัญลักษณสีดําใชติดต้ังเดี่ยว

๒๓๓

หรอื ตดิ ตง้ั ประกอบปา ยเตอื นตามขอ ๑๓ ใหผ ขู บั ขป่ี ฏบิ ตั ติ ามหรอื เพมิ่ ความระมดั ระวงั เพอ่ื ปอ งกนั อนั ตราย
หรอื อุบตั ิเหตุ

¢ÍŒ ñõ ปายเตือนในงานกอสรางตางๆ ซึ่งปรากฏตามตัวอยางในรูปท่ี ๓
ทายขอกําหนดนม้ี ีความหมายดงั น้ี

(๑) ปา ย “สาํ รวจทาง” หมายความวา ทางขา งหนา กาํ ลงั มงี านสาํ รวจอยบู นผวิ จราจร
หรือทางเดินรถหรือใกลกับผิวจราจรหรือทางเดินรถ ควรขับรถใหชาลง และเพ่ิมความระมัดระวัง
(ตก.๑)

(๒) ปาย “งานกอสราง” หมายความวา ทางขางหนากําลังมีงานกอสรางอยูบนผิว
จราจรหรอื ทางเดนิ รถ หรอื ใกลก บั ผวิ จราจร หรอื ทางเดนิ รถ ควรขบั รถใหช า ลง และเพม่ิ ความระมดั ระวงั
(ตก.๒)

(๓) ปาย “คนทํางาน” หมายความวา ทางขางหนามีคนกําลังทํางานอาจมีการวาง
อุปกรณหรือวัสดุบนผิวจราจร หรือทางเดินรถ หรือใกลกับผิวจราจร หรือทางเดินรถ ควรขับรถให
ชา ลง และเพิ่มความระมดั ระวงั (ตก.๓)

(๔) ปา ย “เครอื่ งจกั รกาํ ลงั ทาํ งาน” หมายความวา ทางขา งหนา มเี ครอื่ งจกั รกาํ ลงั ทาํ งาน
บนผิวจราจรหรือทางเดินรถ หรือใกลกับผิวจราจร หรือทางเดินรถ ควรขับรถใหชาลง และเพ่ิม
ความระมัดระวัง (ตก.๔)

(๕) ปาย “ทางเบี่ยงซาย” หมายความวา ทางขางหนามีงานกอสรางจําเปนตอง
เปลยี่ นแนวทางการจราจรไปใชท างเบย่ี งหรอื ทางชว่ั คราวทางดา นซา ยควรขบั รถใหช า ลง และเพม่ิ ความ
ระมดั ระวงั (ตก.๕)

(๖) ปา ย “ทางเบย่ี งขวา” หมายความวา ทางขา งหนา มงี านกอ สรา งจาํ เปน ตอ งเปลยี่ น
แนวทางการจราจรไปใชทางเบ่ียงหรือทางช่ัวคราวทางดานขวา ควรขับรถใหชาลง และเพ่ิมความ
ระมัดระวัง (ตก.๖)

(๗) ปา ย “เบย่ี งเบนการจราจร” หมายความวา ทางขา งหนา มงี านกอ สรา งจาํ เปน ตอ ง
เปลย่ี นแนวทางการจราจรไปใชท างเบ่ยี งหรอื ทางชวั่ คราวตามลกั ษณะสัญลกั ษณในปาย ควรขบั รถให
ชา ลงและเพม่ิ ความระมดั ระวงั (ตก.๗ - ตก.๒๔)

(๘) ปา ย “เตอื นแนวทางตา งๆ” หมายความวา บรเิ วณทต่ี ดิ ตง้ั ปา ยมกี ารเปลยี่ นแนวทาง
การจราจรไปตามทิศทางที่ชไี้ ป ควรขับรถใหช า ลง และเพิม่ ความระมดั ระวัง (ตก.๒๕ - ตก.๒๖)

(๙) ปาย “เตือนขอความตางๆ” มีลักษณะเปนปายส่ีเหลี่ยม พื้นสีสมเสนขอบปาย
ขอความและสัญลักษณสีดํา ใชติดตั้งเดี่ยว หรือติดตั้งประกอบปายเตือนในงานกอสรางตามขอ ๑๕
ผขู ับขีค่ วรปฏบิ ัตติ ามขอ ความและสัญลักษณที่ระบุในปาย และเพม่ิ ความระมดั ระวงั

๒๓๔

ʋǹ·Õè ó
»‡ÒÂá¹Ðนํา

¢ÍŒ ñö ปา ยแนะนาํ ซง่ึ ปรากฏตามตวั อยา งในรปู ที่ ๔ ทา ยขอ กาํ หนดนเี้ ปน ปา ยจราจร
ทใ่ี ชเพื่อแนะนาํ ผใู ชท างใหเดินทางไปสจู ุดหมายปลายทางไดถ ูกตองหรือใหค วามรูหรือขา วสาร ขอ มลู
อ่ืนๆ ทจ่ี ะเปนประโยชนตอผูใชทางตามความหมายของปา ยนน้ั เชน แนะนําทิศทางของการเดินทาง
ลวงหนา จุดหมายปลายทาง บอกสถานท่ี บอกระยะทาง ตําแหนงคนเดินขามทาง ขอมูลสําคัญ
และทางเดนิ รถประจาํ ทาง เปน ตน

ลกั ษณะของปายแนะนํา เปน ปายสเี่ หลยี่ มจตั รุ สั หรือสีเ่ หลีย่ มผนื ผา มี ๒ ชนดิ ดงั นี้
(๑) ชนิดพ้ืนสีขาว เสน ขอบปา ย ขอ ความและสัญลักษณสดี ํา
(๒) ชนดิ พน้ื สเี ขยี ว หรอื สนี าํ้ เงนิ หรอื สนี าํ้ ตาล เสน ขอบปา ย ขอ ความและสญั ลกั ษณ
สขี าว สีเหลือง สแี ดง หรือสอี ่ืนตามความหมายของปา ยน้ัน

ËÁÇ´ ò
à¤ÃèÍ× §ËÁÒ¨ÃҨú¹¾×é¹·Ò§

¢ŒÍ ñ÷ เคร่ืองหมายจราจรบนพื้นทางแบง เปน ๒ ประเภท ดังนี้
(๑) เคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทางประเภทบังคับ ไดแก เครื่องหมายจราจรท่ีมี
ความหมายเปน การบงั คบั ใหผ ใู ชท างปฏบิ ตั ติ ามความหมายของเครอื่ งหมายนน้ั โดยกาํ หนดใหผ ใู ชท าง
ตอ งกระทํา งดเวนการกระทาํ หรอื จํากัดการกระทําในบางประการหรอื บางลกั ษณะ
(๒) เคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทางประเภทเตือน ไดแก เคร่ืองหมายจราจรที่มี
ความหมายเปนการเตือนผูใชทางใหทราบลวงหนาถึงสภาพทางหรือขอมูลอยางอื่นท่ีเกิดข้ึนในทาง
หรอื ทางหลวงขา งหนา อนั อาจกอ ใหเ กดิ อนั ตรายหรอื อบุ ตั เิ หตขุ นึ้ ไดเ พอ่ื ใหผ ใู ชท างใชค วามระมดั ระวงั
ในการใชทาง ซง่ึ จะชว ยปองกันการเกดิ อันตรายหรืออุบตั ิเหตุดังกลา วได

ʋǹ·èÕ ñ
à¤ÃÍ×è §ËÁÒ¨ÃҨú¹¾¹é× ·Ò§»ÃÐàÀ·º§Ñ ¤ºÑ

¢ÍŒ ñø เครื่องหมายจราจรบนพื้นทางประเภทบังคับที่แสดงความหมายตามรูปแบบ
และลกั ษณะท่ีกําหนด ซึ่งปรากฏตามตัวอยา งในรูปที่ ๕ ทายขอ กําหนดนี้ มีความหมายดงั นี้

ก. เครื่องหมายจราจรตามแนวทางเดนิ รถ
(๑) “เสนแบงทิศทางจราจรปกติ” มีลักษณะเปนเสนประสีเหลือง

หมายความวา เปนเสนแสดงการแบงแยกการจราจรของรถที่มีทิศทางตรงกันขาม ผูขับข่ีตองขับรถ
ทางดานซา ยของเสน ยกเวน ในกรณีทต่ี องการเลีย้ วขวาหรือแซงขึ้นหนา รถคันอื่น (พบ.๑)

๒๓๕

(๒) “เสนแบงทิศทางจราจรหามแซง” มีลักษณะเปนเสนทึบสีเหลือง
เดี่ยวหรือคู หมายความวา ผูขับข่ีตองขับรถไปทางดานซายของเสน หามขับรถผาน หรือครอมเสน
โดยเด็ดขาด (พบ.๒ - พบ.๓)

(๓) “เสน แบง ทศิ ทางจราจรหา มแซงเฉพาะดา น” มลี ักษณะเปนเสน ทึบ
สีเหลืองคูกับเสนประสีเหลือง หมายความวา รถที่อยูทางดานเสนทึบหามผานหรือครอมเสนทึบ
โดยเด็ดขาดสวนรถท่อี ยูท างดา นเสน ประ เมอ่ื เห็นวา ปลอดภยั อาจแซงขน้ึ หนารถคันอ่นื หรือขามเสน
ดงั กลา วนีด้ ว ยความระมดั ระวงั (พบ.๔)

(๔) “เสนแบงชองเดินรถ” หรือ “เสนแบงชองจราจร” มีลักษณะเปน
เสนประสีขาวแบงทางเดินรถ หรือทางจราจรที่มีทิศทางเดียวกันใหเปนชองเดินรถหรือชองจราจร
หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งขบั รถภายในชอ งเดนิ รถหรอื ชอ งจราจร หา มขบั รถครอ มเสน เวน แตจ ะเปลย่ี น
ชองเดนิ รถหรอื ชอ งจราจร (พบ.๕)

(๕) “เสนหามเปลี่ยนชองเดินรถ” หรือ “เสนหามเปล่ียนชองจราจร”
มีลักษณะเปนเสนทึบสีขาวแบงทางเดินรถหรือทางจราจรในทิศทางเดียวกันใหเปนชองเดินรถ
หรือชองจราจร หมายความวา ผูขับขี่ตองขับรถภายในชองเดินรถหรือชองจราจร หามขับรถผาน
หรอื ครอมเสน (พบ.๖)

(๖) “เสนแบงชองเดินรถประจําทาง” มีลักษณะเปนเสนประสีเหลือง
กวางและถ่ี กรณสี วนทางจราจรปกติ และเสน ประสีขาว กวา งและถ่ี กรณที ิศทางเดยี วกบั ทางจราจร
ปกติ ทั้งน้ี โดยมลี ูกศรสีเหลือง และอาจมคี ําวา “รถประจําทาง” หรอื “BUS” สีเหลืองประกอบดวย
หมายความวา เปนชองเดินรถประจําทาง หามขับรถประเภทอื่นเขาไปในชองเดินรถประจําทาง
(พบ.๗ - พบ.๘)

(๗) “เครื่องหมายหามจอดรถ” มีลักษณะเปนแถบสีเหลืองสลับขาว
แสดงที่ขอบคันหินหรือขอบทางดานซายของทางเดินรถ หรือทางจราจรหรือท่ีอื่นๆ หมายความวา
หา มจอดรถทกุ ชนดิ ระหวา งแนวเขตทก่ี าํ หนด เวน แตก ารหยดุ รบั สง คน หรอื สง่ิ ของชว่ั ขณะซงึ่ ตอ งกระทาํ
โดยมชิ ักชา (พบ.๙)

(๘) “เครื่องหมายหามหยุดรถ” มีลักษณะเปนแถบสีแดงสลับสีขาว
แสดงที่ขอบคันหินหรือขอบทางดานซายของทางเดินรถ หรือทางจราจรหรือที่อ่ืนๆ หมายความวา
หา มหยุดรถ หรอื จอดรถทุกชนดิ ระหวางแนวเขตทีก่ าํ หนดเปน อนั ขาด (พบ.๑๐)

ข. เครือ่ งหมายจราจรขวางแนวทางเดนิ รถ
(๑) “เสน แนวหยดุ ” มลี กั ษณะเปน เสน ทบึ สขี าวกวา ง และขวางแนวทาง

เดนิ รถ หมายความวา เมอื่ มสี ญั ญาณจราจรบังคบั หยุด หรอื ปา ยหยดุ ผขู ับขตี่ อ งหยุดรถกอนถงึ เสน
แนวหยดุ และเมอื่ ไดร บั สญั ญาณจราจรใหไ ป หรอื เมอ่ื ไมเ ปน เหตใุ หก ดี ขวางการจราจรแลว ใหผ า นเสน
แนวหยุดไปได (พบ.๑๑)

๒๓๖

(๒) “เสนใหทาง” มีลักษณะเปนเสนประสีขาวกวาง และขวางแนวทาง
เดนิ รถ หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งขบั รถใหช า ลง หากเหน็ วา จะไมป ลอดภยั ตอ รถคนั อนื่ หรอื คนเดนิ เทา
ในทางขวางหนา หรอื เปน การกดี ขวางการจราจร ผขู ับขตี่ องหยุดรถกอ นถงึ แนวเสน ใหท าง (พบ.๑๒)

(๓) “เสน ทางขาม” มีลกั ษณะเปนแถบสขี าวกวางและยาวหลายๆ แถบ
ประกอบกันขวางทางเดินรถ หรือเปนเสนทึบสีขาวสองเสนขนานกันขวางแนวทางเดินรถ และมีเสน
แนวหยดุ หรอื เสน ใหท างประกอบ หมายความวา ผขู บั ขตี่ อ งขบั รถใหช า ลงและพรอ มทจ่ี ะหยดุ รถไดท นั
ทว งที เมอื่ มคี นเดนิ ขา มทาง ณ ทางขา มนนั้ ในเขตทางขา มทไี่ มม เี จา หนา ท่ี หรอื สญั ญาณจราจร ใหค น
มีสิทธิขามทางไปกอน ฉะนั้น ในขณะที่คนกําลังเดินอยูในทางขาม ผูขับขี่ตองหยุดรถกอนถึงเสน
แนวหยดุ หรอื เสน ใหท างและเมอื่ คนเดนิ ขา มทางไดข า มไปแลว จงึ จะเคลอื่ นรถตอ ไปได (พบ.๑๓ - พบ.๑๔)

(๔) “เสนทแยงหามหยุดรถ” มีลักษณะเปนเสนทึบสีเหลือง ลากทแยง
ตัดกันภายในกรอบเสนทึบสีเหลือง หมายความวา หามหยุดรถทุกชนิดภายในกรอบเสนทแยง
หา มหยุดรถ ยกเวนรถที่หยดุ รอเพอ่ื เล้ยี วขวา (พบ.๑๕)

ค. เคร่อื งหมายอน่ื ๆ
(๑) “ลูกศร” มีลักษณะเปนลูกศรสีขาวหรือสีเหลือง แสดงทิศทางการ

จราจรใหร ถตรงไป เลยี้ วซา ย เลย้ี วขวา เลย้ี วกลบั หรอื รว มกนั หมายความวา เมอื่ ปรากฏในชอ งเดนิ รถ
หรอื ชอ งจราจรใด ผขู บั ขที่ อ่ี ยใู นชอ งเดนิ รถหรอื ชอ งจราจรนน้ั ตอ งปฏบิ ตั ติ ามเครอ่ื งหมายนน้ั (พบ.๑๖)

(๒) “ใหท าง” มลี กั ษณะเปน รปู สามเหลย่ี มมมุ แหลมสขี าว โดยมมุ แหลม
ช้สี วนทศิ ทางการจราจร แสดงหรอื ทาํ ใหปรากฏบนพ้นื ทางประกอบเสนใหทาง หมายความวา ผูข ับข่ี
ตองขับรถใหชาลง ถาเห็นวาไมปลอดภัยตอรถคันอ่ืนหรือคนเดินเทาในทางขวางหนา หรือเปนการ
กดี ขวางการจราจรผูขับขต่ี อ งหยุดรถกอนถงึ เสนใหท าง (พบ.๑๗)

(๓) “เขตปลอดภัย หรือเกาะสี” มีลักษณะเปนแถบหรือเสนทึบสีขาว
หรือสีเหลืองตีทแยงกับแนวทิศทางการจราจร หรือเปนลักษณะกางปลา และลอมรอบดวยเสนทึบ
สีขาว หรือสเี หลอื ง หมายความวา หา มขบั รถลา้ํ เขา ไปในพ้นื ทดี่ ังกลาว (พบ.๑๘)

(๔) “ชอ งเดินรถมวลชน” มีลักษณะเปนรูปสเี่ หลีย่ มขนมเปยกปูนสขี าว
มุมแหลม อยูในทิศทางการจราจร ภายในส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูนอาจมีตัวเลขแสดงจํานวนข้ันต่ําของ
คนบนรถมวลชน หมายความวา ชอ งเดนิ รถหรอื ชอ งจราจรทม่ี เี ครอื่ งหมายชอ งเดนิ รถมวลชนเปน ชอ ง
เดินรถหรือชองจราจรสําหรับรถตามชนิด หรือประเภทที่กําหนด หรือรถท่ีมีจํานวนคนบนรถ
ไมน อ ยกวา ท่ีกําหนด (พบ.๑๙)

(๕) “เสน ชอ งจอดรถ” มลี กั ษณะเปน เสน ทบึ สขี าว แสดงขอบเขตของชอ ง
จอดรถ หมายความวา ผขู บั ขต่ี อ งจอดรถภายในกรอบเสน ชอ งจอดรถ หา มจอดรถครอ มเสน หรอื ทาํ ให
สวนใดของรถลํ้าออกไปนอกแนวท่ีกาํ หนด (พบ.๒๐)

๒๓๗

(๖) “ขอ ความบงั คบั บนพนื้ ทาง” มลี กั ษณะเปน ขอ ความสขี าวบนพนื้ ทาง
เชน คาํ วา “หยุด” “ลดความเร็ว” “ขบั ชาๆ” เปนตน หมายความวา ผูขบั ข่ตี องปฏิบัติตามขอความนน้ั ๆ
(พบ.๒๑)

ʋǹ·Õè ò
à¤Ã×èͧËÁÒ¨ÃҨú¹¾¹é× ·Ò§»ÃÐàÀ·àμ×͹

¢ÍŒ ñù เครื่องหมายจราจรบนพ้ืนทางประเภทเตือนท่ีแสดงความหมายตามรูปแบบ
และลกั ษณะที่กาํ หนด ซึ่งปรากฏตามตัวอยา งในรปู ที่ ๖ ทา ยขอ กําหนดน้มี ีความหมายดังน้ี

(๑) “เสนขอบทาง” มีลักษณะเปนเสนทึบหรือเสนประหรือแถบสี สีขาว ยกเวน
เสนขอบทางดานติดกับเกาะกลางหรือฉนวนแบงทิศทางการจราจรเปนสีเหลือง หมายความวา
เปน แนวสดุ ขอบทางเดนิ รถ (พต.๑ - พต.๔)

(๒) “เสนแนวชองจราจรผานทางแยก” มีลักษณะเปนเสนประหรือเสนทึบสีขาว
แสดงแนวชองเดนิ รถหรือชองจราจรบริเวณทางแยก หมายความวา ควรขบั รถไปตามแนวชองเดินรถ
หรอื ชองจราจรดังกลาว (พต.๕)

(๓) “เสนชะลอความเร็ว” มีลักษณะเปนเสนหลายๆ เสน ขวางชองเดินรถหรือชอง
จราจรหมายความวา ควรขับรถใหชาลง และเพิม่ ความระมดั ระวัง (พต.๖)

(๔) “เสนทางรถไฟผาน” มีลักษณะเปนกากบาทสีขาว ลากทแยงตัดกันพรอมมี
อกั ษรโรมนั RR ประกอบ หมายความวา ทางขา งหนามที างรถไฟตดั ผา น ควรขบั รถใหชา ลง และเพม่ิ
ความระมัดระวงั (พต.๗)

(๕) “เครือ่ งหมายขาวดํา” มีลกั ษณะเปนแถบสีขาวสลบั สีดาํ แสดงหรือทาํ ใหป รากฏ
ทข่ี อบคนั หนิ หรอื สง่ิ กีดขวางอืน่ ๆ เพื่อใหผูใชทางเห็นขอบคนั หนิ หรอื สง่ิ กีดขวางนัน้ ๆ ไดชดั เจนยง่ิ ข้นึ
(พต.๘)

(๖) “ขอความเตอื น หรอื แนะนําบนพนื้ ทาง” แสดงอักษร ขอความ หรอื สัญลักษณ
ใหปรากฏบนพื้นทาง หรือในบางกรณีอาจใชภาษาอังกฤษท่ีเขาใจงายและเปนคําที่เปนสากลนิยม
เพ่ือแนะนําหรือเตือนการจราจร เชน แสดงชื่อสถานท่ีตอทายลูกศร เตือนใหระมัดระวังสภาพทาง
หรือการจราจร หมายความวา ผูใชทางควรปฏิบัติตาม และระมัดระวังการใชทาง ใชชองเดินรถ
หรอื ชอ งจราจรใหถกู ตอง เปนตน (พต.๙)

๒๓๘

ËÁÇ´·Õè ó
ÍØ»¡Ã³¨ÃÒ¨Ã

¢ÍŒ òð อปุ กรณจ ราจร ไดแ ก ส่งิ ใดๆ ทีแ่ สดง ตดิ ตงั้ หรือทําใหป รากฏไวใ นเขตทาง
หรือทางหลวงเพ่ือประโยชนตอการจัดการจราจร หรือควบคุมการจราจรเปนการเฉพาะหนาชั่วคราว
เชน กรวยยาง หลกั นาํ ทาง แผงกัน้ เปนตน ซ่งึ ปรากฏตามตัวอยา งในรูปที่ ๗ ทายขอกาํ หนดนี้

ทง้ั น้ี ตัง้ แตวันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตน ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๕ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๖
¾ÅตําÃǨàÍ¡ ÊÑ¹μ ÈÃμØ Ò¹¹·
ผูบัญชาการตาํ รวจแหง ชาติ

(ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๒๑ ตอนท่ี ๓๒ ง วันท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๔๗)

๒๓๙

๒๔๐

๒๔๑

√Ÿª∑Ë’ Û ªÑ“¬‡μ◊Õπ„πß“π°àÕ √â“ß

μ°.Ò μ°.Ú μ°.Û μ°.Ù μ°.ı μ°.ˆ
μ°.˜ μ°.¯ μ°.˘ μ°.Ò μ°.ÒÒ μ°.ÒÚ
μ°.ÒÛ μ°.ÒÙ μ°.Òı μ°.Òˆ μ°.Ò˜ μ°.Ò¯

μ°.Ò˘ μ°.Ú μ°.ÚÒ μ°.ÚÚ μ°.ÚÛ μ°.ÚÙ

μ°.Úı μ°.Úˆ

μ°.Ò  ”√«®∑“ß μ°.ˆ ∑“߇∫’ˬߢ«“
μ°.Ú ß“π°Õà  √“â ß μ°.˜-μ°.ÚÙ ‡∫’¬Ë ߇∫π°“√®√“®√
μ°.Û §π∑”ß“π μ°.Úı-μ°.Úˆ ‡μÕ◊ π·π«∑“ßμà“ßÊ
μ°.Ù ‡§√Ë◊Õß®—°√°”≈—ß∑”ß“π
μ°.ı ∑“߇∫¬’Ë ß´â“¬

๒๔๒

√ªŸ ∑Ë’ Ù ªÑ“¬·π–π”

π.Ò π.Ú
π.Û π.Ù π.ı π.ˆ

π.˜ π.¯ π.˘ π.Ò π.ÒÒ π.ÒÚ π.ÒÛ

π.ÒÙ π.Òı π.Òˆ π.Ò˜ π.Ò¯

π.Ò ·π–π”≈«à ßÀπ“â π.¯ ‡¥‘π√∂∑“߇¥¬’ « π.Òı ™Õà ߇¥‘π√∂ª√–®”∑“ß

π.Ú ∫Õ°®¥ÿ À¡“¬ª≈“¬∑“ß π.˘ ∑“ßμ—π π.Òˆ  ”À√∫— §πæ°‘ “√

π.Û ∫Õ°®ÿ¥À¡“¬ª≈“¬∑“ß π.Ò ∑“߇¢â“-ÕÕ°∑“ߥà«π π.Ò˜  ‘πÈ  ÿ¥™Õà ߇¥‘π√∂ª√–®”∑“ß

π.Ù ∫Õ°√–¬–∑“ß π.ÒÒ ®¥ÿ °≈—∫√∂ π.Ò¯ ™Õà ߇¥π‘ √∂¡«≈™π

π.ı ∫Õ° ∂“π∑Ë’ π.ÒÚ ‡√¡Ë‘ μâπ∑“ߥ«à π (∑“ßÀ≈«ß懑 »…)

π.ˆ μ”·Àπßà ∑“ߢ“â ¡ π.ÒÛ  È‘π ÿ¥∑“ߥà«π (∑“ßÀ≈«ß摇»…)

π.˜ ‚√ß欓∫“≈ π.ÒÙ ‡√Ë‘¡™àÕ߇¥‘π√∂ª√–®”∑“ß

๒๔๓

√Ÿª∑’Ë ı ‡§√◊ËÕßÀ¡“¬®√“®√∫πæ◊Èπ∑“ߪ√–‡¿∑∫ß— §—∫

°. ‡§√Ë◊ÕßÀ¡“¬®√“®√μ“¡·π«∑“߇¥‘π√∂
(Ò) ‡ πâ ·∫àß∑‘»∑“ß®√“®√ª°μ‘ (æ∫.Ò)

(Ú) ‡ âπ·∫àß∑‘»∑“ß®√“®√À“â ¡·´ß
‡ πâ ∑÷∫ ’‡À≈Õ◊ ߇¥’¬Ë « (æ∫.Ú)
‡ âπ∑∫÷  ‡’ À≈Õ◊ ß§àŸ (æ∫.Û)

(Û) ‡ πâ ·∫àß∑»‘ ∑“ß®√“®√À“â ¡·´ß‡©æ“–¥“â π (æ∫.Ù)

(Ù) ‡ πâ ·∫àß™àÕ߇¥‘π√∂ À√◊Õ ‡ âπ·∫àß™Õà ß®√“®√ (æ∫.ı)

(ı) ‡ πâ Àâ“¡‡ª≈Ë’¬π™Õà ߇¥‘π√∂ À√Õ◊ ‡ âπÀâ“¡‡ª≈Ë’¬π™Õà ß®√“®√ (æ∫.ˆ)

๒๔๔

√ªŸ ∑’Ë ı μÕà

(ˆ) ‡ âπ·∫àß™Õà ߇¥π‘ √∂ª√–®”∑“ß
‡ âπª√– ’‡À≈Õ◊ ß °«â“ß·≈–∂Ë’ °√≥ ’ «π°√–· °“√®√“®√ª°μ‘ (æ∫.˜)

‡ πâ ª√– ’¢“« °«â“ß·≈–∂Ë’ °√≥∑’ »‘ ∑“߇¥¬’ «°—∫°√–· °“√®√“®√ª°μ‘ (æ∫.¯)

๒๔๕

√Ÿª∑Ë’ ı μÕà

(˜) ‡§√◊ÕË ßÀ¡“¬À“â ¡®Õ¥√∂ (æ∫.˘)

(¯) ‡§√Ë◊ÕßÀ¡“¬Àâ“¡À¬¥ÿ √∂ (æ∫.Ò)

¢. ‡§√◊ÕË ßÀ¡“¬®√“®√¢«“ß·π«∑“߇¥‘π√∂
(Ò) ‡ âπ·π«À¬¥ÿ (æ∫.ÒÒ)

(Ú) ‡ âπ„Àâ∑“ß (æ∫.ÒÚ)

๒๔๖

√ªŸ ∑Ë’ ı μàÕ (æ∫.ÒÙ)

(Û) ‡ âπ∑“ߢ“â ¡ (æ∫.ÒÛ)

(Ù) ‡ âπ∑·¬ßÀ“â ¡À¬¥ÿ √∂ (æ∫.Òı)

§. ‡§√◊ËÕßÀ¡“¬ÕËπ◊
(Ò) ≈Ÿ°»√ (æ∫.Òˆ)

(Ú) „À∑â “ß (æ∫.Ò˜)

๒๔๗

√ªŸ ∑’Ë ı μÕà

(Û) ‡¢μª≈Õ¥¿¬— À√Õ◊ ‡°“– ’ (æ∫.Ò¯)
(Ù) ™Õà ߇¥‘π√∂¡«≈™π (æ∫.Ò˘)
(ı) ‡ âπ™àÕ߮ե√∂ (æ∫.Ú)

(ˆ) ¢Õâ §«“¡∫ß— §∫— ∫πæ◊Èπ∑“ß (æ∫.ÚÒ)

๒๔๘

√Ÿª∑Ë’ ˆ ‡§√◊ÕË ßÀ¡“¬®√“®√∫πæÈπ◊ ∑“ߪ√–‡¿∑‡μÕ◊ π

(Ò) ‡ âπ¢Õ∫∑“ß
‡ πâ ∑÷∫ ¢’ “« (æμ.Ò)
‡ πâ ª√– ’¢“« (æμ.Ú)
‡ πâ ∑∫÷  ‡’ À≈◊Õß (æμ.Û)

‡ πâ ª√– ’‡À≈◊Õß (æμ.Ù)
(Ú) ‡ πâ ·π«™Õà ß®√“®√º“à π∑“ß·¬° (æμ.ı)

(Û) ‡ πâ ™–≈Õ§«“¡‡√Á« (æμ.ˆ)


Click to View FlipBook Version