The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-07 09:18:55

11_TC22601_การจราจร

11_TC22601_การจราจร

๑๔๗

¢Ñ¹é μ͹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô
๑. การประชุมชี้แจง ข้ันตอนน้ีเปนข้ันตอนที่หัวหนาผูควบคุมการต้ังจุดตรวจทําหนาท่ี
ในการอธิบาย ชี้แจงรายละเอียดและขอมูลท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงานใหผูปฏิบัติไดรับทราบ
ในประเดน็ ตางๆ ดงั น้ี

๑) นโยบาย
๒) ระเบียบ คาํ สงั่ และขอกฎหมายทเี่ ก่ยี วของกบั การปฏิบตั ิหนาที่
๓) เปาหมายในการต้งั จุดตรวจ
๔) บริเวณทีต่ ง้ั จุดตรวจและหนาทร่ี ับผดิ ชอบของแตละนาย
๕) ฝกทบทวนทา สญั ญาณจราจรทจ่ี าํ เปนในการปฏิบตั หิ นา ที่
๖) ตรวจสอบความพรอมดานการแตงกายและความพรอ มดา นรางกาย
๗) ตรวจสอบความพรอ มดา นวสั ดแุ ละอปุ กรณที่จาํ เปน
๒. การเลอื กสถานทต่ี งั้ จดุ ตรวจและรปู แบบการตง้ั จดุ ตรวจในขนั้ ตอนนี้ เจา หนา ทตี่ ํารวจ
ท่ีเกี่ยวของกับการตั้งจุดตรวจควรคาํ นึงถึงหลักในการเลือกสถานที่และรูปแบบการตั้งจุดตรวจ
ท่ีเหมาะสม ดงั นี้
๑) เลือกจุดตรวจโดยคาํ นึงถึงความปลอดภัยของเจาหนาท่ีผูปฏิบัติ ผูขับข่ีท่ีถูก
เรียกตรวจ รวมถึงผลกระทบโดยภาพรวมตอประชาชนผูใชรถใชถนน ตลอดจนประชาชนที่พักอาศัย
อยใู นบริเวณใกลเ คียง
๒) การตงั้ จดุ ตรวจตอ งดําเนนิ การตามรปู แบบทส่ี าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตกิ ําหนดไว
อยา งเครงครัด
๓) เจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานตองจอดรถในลักษณะที่เปนระเบียบเรียบรอย มีความ
ปลอดภัย
๔) บรเิ วณจดุ ตรวจควรมโี ตะ และเกา อใี้ นจํานวนทเ่ี หมาะสมสําหรบั เจา หนา ทท่ี ท่ี าํ การ
ทดสอบเพอ่ื ยนื ยนั ผลและเจา หนา ทท่ี ที่ าํ หนา ทบ่ี นั ทกึ การจบั กมุ รวมถงึ จดั ไวส ําหรบั ผทู ถี่ กู เรยี กใหต รวจ
สาํ หรับการนงั่ รอเพ่ือตรวจยืนยนั ผล การรอบนั ทกึ จับกุมและรอการสง ตวั ไปยังสถานีตํารวจทอ งที่
๓. การปฏบิ ัตหิ นาทจี่ รงิ การปฏบิ ตั หิ นาทีข่ องเจาหนา ท่ตี าํ รวจในการตัง้ จดุ ตรวจเพอ่ื วัด
ระดับแอลกอฮอลข องผขู บั ขี่ มขี นั้ ตอนทส่ี ําคญั ดังนี้
๑) การเรยี กรถ ในการตงั้ จดุ ตรวจวดั แอลกอฮอลน น้ั บางครง้ั อาจมปี ญ หาดา นสภาพ
การจราจรที่ไมคลองตัวมากนัก เจาหนาที่ตํารวจจําเปนตองทําการสุมตรวจยานพาหนะที่ตองสงสัย
โดยพจิ ารณาไดจ ากพฤตกิ รรมในการขบั ข่ี และลกั ษณะภายนอกของยานพาหนะทมี่ กี ารตกแตง เพมิ่ เตมิ
ซึ่งการสุมตรวจน้ีจําเปนตองอาศัยความเชี่ยวชาญจากเจาหนาที่ที่มีประสบการณในการต้ังจุดตรวจ
มาเปน เวลานาน
๒) การเปา ทดสอบเบือ้ งตน เมอ่ื ผขู ับข่ีถูกเรียกหยดุ ใหตรวจเจาหนา ทที่ ี่ทาํ การเรยี ก
หรืออาจเปนเจาหนาท่ีนายอื่นจะทําการตรวจวัดระดับแอลกอฮอลเบื้องตน โดยการขอใหผูขับขี่ให
ความรวมมือในการตรวจวัดแอลกอฮอลนั้น เจาหนา ท่ีตาํ รวจจะตอ งใชถอยคาํ กิรยิ าและวาจาท่สี ุภาพ

๑๔๘

รวมถงึ ไมส อ งไฟฉายไปยงั บรเิ วณใบหนา ของผขู บั ขโ่ี ดยตรง หากผลการทดสอบเบอ้ื งตน ปรากฏวา ผขู บั ข่ี
มรี ะดบั แอลกอฮอลใ นเลอื ดเกนิ อตั ราทก่ี ฎหมายกําหนด เจา หนา ทตี่ ํารวจนายนนั้ จะแจง ใหผ ขู บั ขขี่ บั รถ
เขาไปในจุดที่เตรียมไวและเชิญตัวผูขับข่ีไปยังบริเวณท่ีจัดเตรียมไวสาํ หรับการตรวจวัดเพ่ือยืนยันผล
ตอ ไป

๓) การเปาทดสอบเพ่ือยืนยันผล ในข้ันตอนน้ีเจาหนาท่ีตาํ รวจระดับสัญญาบัตร
จะทําหนา ทใ่ี นการตรวจวดั เพอื่ ยนื ยนั ผล โดยมเี จา หนา ทร่ี ะดบั ชนั้ ประทวนเปน ผชู ว ย เจา หนา ทตี่ าํ รวจ
จะชแ้ี จงรายละเอียดในการตรวจวัด ขอกฎหมาย บทลงโทษ ตลอดจนคาํ แนะนาํ ใหผ ูขับข่ตี ระหนกั ถงึ
ความปลอดภยั บนทองถนน หากผลการตรวจวัดพบวา ผูข ับข่มี ีระดบั แอลกอฮอลใ นเลือดไมเกินอตั รา
ท่ีกฎหมายกาํ หนด เจาหนาท่ีผูปฏิบัติจะใหคําแนะนาํ เร่ืองการขับขี่อยางปลอดภัย กอนปลอยผูขับขี่
คนนน้ั ไป ในทางกลบั กนั หากผลการตรวจวดั พบวา ผขู บั ขม่ี รี ะดบั แอลกอฮอลใ นเลอื ดเกนิ อตั ราทก่ี ฎหมาย
กาํ หนด เจาหนาทีผ่ ปู ฏบิ ตั จิ ะทาํ บันทึกจับกมุ ทันที

๔) ทาํ บนั ทกึ จบั กมุ ขนั้ ตอนนเ้ี ปน ขน้ั ตอนสําหรบั การทาํ บนั ทกึ จบั กมุ ผขู บั ขท่ี ม่ี รี ะดบั
แอลกอฮอลเ กนิ อตั ราทก่ี ฎหมายกําหนด โดยเจา หนา ทต่ี ํารวจระดบั ชน้ั ประทวนจะเปน ผชู ว ยนายตาํ รวจ
ชั้นสญั ญาบตั รในการเขยี นบนั ทึกจับกุม กอ นทจี่ ะสงตอ ใหเจาหนาทีต่ าํ รวจนายอน่ื นาํ ผถู กู จับกุมไปสง
พนักงานสอบสวนของสถานีตาํ รวจทองท่ตี อ ไป

๕) นําสงพนักงานสอบสวน เม่ือทําบันทึกจับกุมผูขับขี่ท่ีมีระดับแอลกอฮอลเกิน
อตั ราทก่ี ฎหมายกาํ หนดเรยี บรอ ยแลว เจา หนา ทตี่ ํารวจทร่ี บั ผดิ ชอบการนาํ สง ตวั ผกู ระทาํ ความผดิ ไปยงั
พนักงานสอบสวนของสถานีตาํ รวจในพื้นที่ ท้ังน้ี ตองมีการจัดเตรียมยานพาหนะสาํ หรับการสงตัว
ผูกระทําความผิดไวใหพรอม เจาหนาท่ีตาํ รวจตองมีความเขมงวด ไมปลอยใหผูกระทําความผิดขับขี่
ยานพาหนะสวนตัวไปยังสถานีตํารวจเองเด็ดขาด หากผูกระทาํ ความผิดตองการนํารถไปดวย
ตองทาํ การประสานครอบครวั ญาติหรือเพอื่ นใหมานํารถไปแทน

๖) การทาํ บันทึกสอบสวน เมื่อพนักงานสอบสวนของสถานีตํารวจทองท่ีรับตัว
ผกู ระทาํ ความผดิ แลว จะทาํ การสอบสวนและสาํ นวนการสอบสวน สาํ หรบั เตรยี มการสง ฟอ งศาลภายใน
เวลา ๔๘ ชั่วโมง

๗) การคุมขังและการประกันตัว ในกรณีที่ผูกระทําความผิดไมตองการถูกคุมขัง ณ
สถานีตาํ รวจทองที่ ผูกระทาํ ความผดิ สามารถไดรบั การประกันตัวในวงเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ไมเ ชน นนั้
จะตองถูกคมุ ขังทสี่ ถานีตาํ รวจทอ งทีก่ อ นทจ่ี ะถูกสง ฟองศาลตอ ไป

๘) การสง ฟอ งศาล พนักงานสอบสวนจะสงฟอ งศาลแขวงภายใน ๔๘ ชว่ั โมง
๙) การตดิ ตามคดี เมอื่ การตดั สนิ คดสี น้ิ สดุ แลว หนว ยงานทที่ าํ หนา ทจี่ บั กมุ จะตดิ ตาม
ผลของคดี เพอื่ ประโยชนใ นการตดิ ตามและทาํ หนงั สอื ขอรบั สว นแบง เงนิ รางวลั นําจบั สําหรบั เจา หนา ที่
ผปู ฏบิ ตั ิ ทงั้ นีห้ นวยปฏบิ ัตติ อ งทาํ หนังสอื ไปยงั ศาลเพ่อื ขอรับเงนิ รางวลั นาํ จบั ภายใน ๖๐ วนั หลังจาก
คดสี น้ิ สดุ

๑๔๙

ô.ò ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤¢ ͧ¡ÒÃμé§Ñ ¨´Ø μÃǨ¨ÃÒ¨Ã

ประเภทของการต้ังจุดตรวจตามวตั ถปุ ระสงคใ นงานจราจร ไดแก
๑. การกวดขันตรวจจับ (Intensive Surveillance) มีวัตถุประสงคท่ีจะมุงจุดสนใจไปท่ี
ถนนเสนใดเสนหนึง่ ในชวงเวลาหนึง่ อยางเขมงวด ไมใ ชก ารออกตรวจโดยท่วั ไป ตัวอยา งเชน ในระยะ
เวลา ๑ - ๒ เดอื น จะสง เจาหนาท่ตี ํารวจออกตรวจจับโดยปรากฏตัวใหป ระชาชนเห็น พรอมกบั การตั้ง
จดุ ตรวจ เพอ่ื ตรวจจบั ความผดิ บางประเภท เชน ขบั รถเรว็ ไมส วมหมวกนริ ภยั ไมค าดเขม็ ขดั เมาสรุ าฯ
ซ่งึ เปน ความผิดทีส่ รางความสญู เสยี ใหช ุมชนมากที่สดุ ดงั น้ัน จงึ ควรจะเลอื กถนนทม่ี ีเหตุเกิดมากท่ีสดุ
เปนพนื้ ทีก่ วดขนั จบั กุม โดยอาจจะตง้ั จดุ ตรวจท่ีจุดใดจุดหน่งึ บนถนนเสน น้นั ปรบั จดุ ทีต่ ัง้ หรอื เปล่ียน
เวลาต้งั บา ง เพ่ือหลีกเลยี่ งการคาดเดาไดภ ายหลังจากการกวดขนั จับกุมอยางหนกั แลว พฤตกิ รรมการ
ขับข่ีของประชาชนในถนนยานน้ันก็จะเริ่มเปลี่ยนแปลงไป แตพฤติกรรมดังกลาวอาจจะกลับมาอีก
ถา เจาหนาทไ่ี มต รวจจับอยางตอ เน่ือง ดงั น้นั เมอ่ื หยุดพกั การกวดขนั ทจ่ี ดุ ใดไปแลว กไ็ มค วรจะเลกิ ไป
อยางถาวร ยงั จําเปนทจ่ี ะตอ งกลบั มาต้ังจดุ ตรวจอีก เชน ทุก ๑ เดือน จะกลบั มา ๒ ครั้ง จนกวาจะ
แนใจวาจะไมมีการฝาฝน อีก
๒. การตรวจจับแบบเฉพาะเรื่อง (Specializes Surveillance) การตรวจจับแบบน้ี
เปน วธิ กี ารทม่ี งุ ไปเพอื่ การแกป ญ หาทลี ะเรอื่ งในครง้ั ๆ หนง่ึ ซงึ่ อาจมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา การตรวจจบั
พรอม ๆ กันทุกเร่ืองไมวาผูขับขี่ไปกระทําผิดท่ีใดก็จะถูกตรวจจับเน่ืองจากตองการจะพุงเปาไปยัง
การแกป ญ หาเฉพาะดา นทจ่ี ําเปน สงู สดุ ของสถานี อาทิ ผฝู า ฝน สญั ญาณไฟ การขบั รถเรว็ การขบั รถเมาสรุ า
การแซงรถผดิ กฎหมาย พฤตกิ รรมทก่ี อ ใหเ กดิ อนั ตรายของรถบรรทกุ ฯลฯ การตรวจจบั แบบเฉพาะเรอื่ งนี้
อาจวางกาํ ลงั เจา หนาทกี่ ระจายไปในจุดสําคัญและใชการตั้งจดุ ตรวจ (Check Point) เปน กลไกหน่ึงใน
พน้ื ท่ี เพอ่ื ใหป ระชาชนตระหนกั วา เจา หนา ทต่ี าํ รวจกวดขนั เอาจรงิ และตอ งปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม อนงึ่
ในการตง้ั จดุ ตรวจแบบนจ้ี ะตอ งเตรยี มเครอื่ งมอื อปุ กรณใ นการตรวจวดั ไปดว ย เชน เครอื่ งวดั ความเมา
เครอื่ งตรวจจับความเร็ว เนื่องจากไมใชก ารตง้ั จุดตรวจท่วั ๆ ไป การตงั้ จุดตรวจแบบนีม้ เี ปา หมายไว
โดยเฉพาะ คอื กดดนั การกระทาํ ความผดิ ประเภทนน้ั อยา งรนุ แรง จนไมก ลา กระทาํ ผดิ หรอื เลกิ กระทาํ
ไปโดยรวดเรว็
๓. การต้ังจุดตรวจขา งทาง (Road side Checkpoints) หรือจุดตรวจกวดขนั วนิ ยั จราจร
หรอื ทเี่ รยี กกนั วา “ดา นลอย” มวี ตั ถปุ ระสงคส าํ หรบั ตรวจใบอนญุ าตขบั ข่ี ทะเบยี นรถ อปุ กรณส ว นควบ
ของรถและเอกสารประจาํ รถ เปน ตน ขอ ดขี องการตง้ั จดุ ตรวจขา งทาง ทาํ ใหเ จา หนา ทต่ี าํ รวจสามารถตรวจ
รถไดเ พมิ่ ขน้ึ เพราะไมท าํ ใหก ารจราจรหยดุ ชะงกั ชว ยใหเ จา หนา ทต่ี รวจพบรถทมี่ ลี กั ษณะไมป ลอดภยั ได
เปนเคร่ืองมือหลักในการตรวจสอบรถที่ชื่อไมตรงกับทะเบียนและรถเชา เพ่ือขัดขวางกระบวนการขน
ยาเสพตดิ ชว ยใหเ จา หนา ทสี่ ามารถตรวจสอบการใชอ ปุ กรณเ พอ่ื ความปลอดภยั เชน ยาง ไอเสยี รถยนต
เขม็ ขดั นริ ภัย กระจกเงา กระจกหนาและขาง ไฟสอ งสวา งและไฟสัญญาณอปุ กรณท ี่เก่ยี วของชวยนํา
รถทไี่ มสมบรู ณออกจากทองถนน หรอื ส่งั ไปซอมได

๑๕๐

โดยหลักการสําคัญในการตรวจจับความผิดจราจรควรมุงเนนความปลอดภัยมากกวา
ปริมาณการจับ แตในสถานการณจริง บางครั้งเจาหนาที่ตํารวจจราจรมักใหความสําคัญกับปริมาณ
การจบั กมุ มากกวา สงั เกตไดจ ากมสี ถติ กิ ารจบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ ตามกฎหมาย พ.ร.บ.จราจรทางบกฯ
หรอื พ.ร.บ.รถยนตฯ แตไ มค อ ยมีการเก็บขอมูล หรือการวเิ คราะหข อมลู ตอเนอื่ งภายหลงั จากการตัง้
ดานตรวจ จดุ ตรวจในแตล ะครง้ั วาสามารถกวดขนั วินยั จราจร และสามารถลดการสูญเสยี หรือปอ งกนั
การเกดิ อุบตั ิเหตทุ างถนนไดอ ยางแทจริงไดอ ยางไรบาง

ô.ó ¡ÒÃáÊ´§μÑÇ㹡ÒÃμÃǨ¨ºÑ áÅСÒÃμÃǨ¤¹Œ ö

ñ) ¡ÒÃáÊ´§μÑǢͧตาํ ÃǨ㹡ÒÃμÃǨ¨ºÑ
การแสดงตวั ของตาํ รวจจราจรหรอื ทางหลวงในการตรวจจบั มกั จะมผี เู ขา ใจวา ตาํ รวจ

ควรจะแอบซุมในความมืด หลบตามเสาไฟฟาหรือตนไม หรือต้ังจุดตรวจ (Check Point) ในที่มืด
เพ่ือดักจับผูกระทําผิดใหได มิใหมีโอกาสหลบหนี ตํารวจจึงมักจะไมคอยเอาจริงเอาจังในที่เปดเผย
หรือมกั จะปฏบิ ตั ติ วั ตามปกติเชน คนธรรมดาทว่ั ไปมากกวา

การตรวจจบั ความผดิ จราจรนนั้ มคี าํ สาํ คญั (Key Words) ทตี่ อ งกระทาํ อยู ๓ ขอ คอื
• ทาํ ตัวใหเปน ที่มองเห็น (Visible)
• กระตือรอื รน (Active)
• เปนตวั อยา งทีด่ ี (Good Example)
ทุกครง้ั ทีเ่ จา หนา ท่อี อกทํางาน จะตองแสดงตวั ใหเห็นไดชัดเจนในบรเิ วณทีม่ องเหน็
ไดชัด (Visible) เชน มีแสงไฟฟาสวาง มีผูผานไปมาจํานวนมาก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสราง
ความตระหนักถึงความเส่ียง (Perceived Risk) ใหแกประชาชน ซ่ึงจะไดรับผลกวางขวางมากกวา
การต้ังจดุ ตรวจแบบแอบซอ น สว นการตรวจจับแบบแอบซอนนนั้ นาจะใชไ ดใ นกรณดี ักจับผกู ระทาํ ผิด
และหลบหนใี นบางจดุ เปน กรณพี ิเศษเทา นัน้ ไมควรนํามาใชใ นกรณที ัว่ ไป
เจา หนา ทต่ี าํ รวจเมอ่ื ปรากฏตวั บนถนนแตล ะครงั้ จะตอ งแสดงตวั ในการทาํ งานอยา ง
กระตือรือรน (Active) กระฉับกระเฉง ไมค วรอยูนิง่ ดดู ายใหเกิดการกระทาํ ผดิ จราจรตอ หนา ในบาง
พื้นท่ีเจาหนาที่ตํารวจจราจรทํางานเฉพาะเม่ือรวมตัวกันตั้งจุดตรวจ แตเมื่อเลิกจุดตรวจแลวก็จะเดิน
ไปมาเหมือนประชาชนท่ัวไป ปลอยใหมีการกระทําผิดตอหนา ซ่ึงเปนส่ิงท่ีจะตองแกไขเพราะความ
กระตอื รอื รน ของตํารวจทาํ ใหต ํารวจนาเชือ่ ถอื เปนท่ีเคารพยําเกรง
เจา หนา ที่ตาํ รวจควรเปนตวั อยา งที่ดี (Good Example) อยเู สมอ ไมว าในเรอ่ื งการ
ขบั ขี่ การเคารพกฎจราจร ฯลฯ แตมีตาํ รวจจํานวนหนงึ่ ละเลยกฎจราจร ไมสนใจสายตาของประชาชน
เพราะคิดวาประชาชนจะเขาใจเองวาเปนการปฏิบัติหนาที่ หรือเช่ือวาตํารวจสามารถทําอะไรก็ได
เพราะมีสิทธพิ เิ ศษ

๑๕๑

ò) ¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ ö
เมื่อมีการวางกําลังเจาหนาที่และเรียกหยุดรถในบริเวณจุดตรวจแลว เจาหนาท่ีควร

ปฏบิ ัตติ วั ในการทาํ งานดังตอ ไปนี้
๒.๑) การพดู คยุ กบั ผฝู า ฝน (Contact with Violator) เมอ่ื สงั เกตเหน็ ผขู บั ขรี่ ถทฝ่ี า ฝน

กฎจราจร เรียกรถใหหยุดในบริเวณดานตรวจแลวเดินเขาไปตรวจ เจาหนาที่ตํารวจจะเริ่มการพูดคุย
และปฏิบัติงาน ดงั น้ี

- แนะนาํ ตัวเอง
- แจง สาเหตทุ ่เี รยี กรถใหหยดุ
- ถามถงึ สาเหตทุ ต่ี อ งขบั รถฝาฝน วา มีเหตุผลความจาํ เปนอยางไร
- ขอดูใบอนญุ าตขับข่ี หรือหลักฐานอน่ื
- ตดั สินใจวาจะออกใบสงั่ หรอื ไมอ อกใบสั่งใหผฝู าฝน
- ถา ออกใบส่งั แลว สงใบส่ังพรอมกับแนะนาํ การไปชาํ ระคา ปรบั
- ถา วา กลา วตกั เตอื น กอ็ บรม ตกั เตอื นโดยเผชญิ หนา และบอกใหส ญั ญาวา
จะไมก ระทําผิดอีก เพื่อผลในการจดจาํ
การแนะนําตัวที่เหมาะสมนาจะเปนการเขาไปทักทายอยางปกติท่ีกระทํากัน
ในสังคมท่ัวไป สวนการทําความเคารพหรือไม ควรจะใหเปนวิจารณญาณของเจาหนาท่ีเอง เชน
ถาพบขาราชการหรือผูสูงอายุ แตประเด็นสําคัญไมไดอยูที่วิธีการแตอยูที่วัตถุประสงค คือ ตองการ
สรา งความเปน กนั เองและมีการตดิ ตอ สื่อสารท่ีเขาใจกันชดั เจนทีส่ ุดมากกวา
๒.๒) การตรวจคน รถ (Vehicle Searches) การตรวจคน รถของเจา หนา ทจ่ี ะกระทาํ ได
ก็ตอเมื่อมีเหตุผลที่กฎหมายใหอํานาจเทาน้ัน ไดแก มีเหตุผลที่ควรสงสัยวารถคันนี้มีส่ิงของที่ผิด
กฎหมาย หรอื สงิ่ ของทจ่ี ะนาํ ไปใชก ระทาํ ความผดิ หรอื สง่ิ ของทไี่ ดม าจากการกระทาํ ความผดิ ซกุ ซอ นอยู
การตรวจคนรถอาจเกิดขน้ึ หลงั จากเจา หนาท่ไี ดพูดคยุ กับผูขับขี่แลว เกิดความสงสยั ก็ได แตไมส ามารถ
กระทาํ ไดห ากจะใชเ ปน การตอบโต ผูข ับขท่ี ี่มีปากเสียงกบั ตํารวจ หรอื ไมพ อใจผูขับขี่
ในขณะทาํ การตรวจคน รถนนั้ ควรใหผขู ับข่ยี ืนหางจากเจา หนา ท่ี แตย งั คงยืน
ในบริเวณทส่ี ามารถมองเหน็ การตรวจคน และมีสิทธดิ ูการตรวจคนไดโดยตลอด
หลักการตรวจคนรถควรดาํ เนินการตามลําดบั ดงั นี้
- เรม่ิ จากเปด ฝากระโปรงทา ยรถและตรวจหาสงิ่ ของแบบวนตามเขม็ นาฬก า
(Clockwise Pattern) ในทายรถ
- ตอ ไปเดนิ ไปดานหนา รถและเปดฝากระโปรงหนา ตรวจ
- ตรวจดทู ใี่ ตกนั ชน
- ตรวจดูทตี่ ะแกรงชอ งลมหนารถ
- ตรวจดูที่หมอ นาํ้
- ตรวจดลู อ รถหนา หลังและซอกลอ

๑๕๒

- ตรวจดภู ายในหองโดยสาร เริ่มจากดา นหลงั ของแผงหนาปดรถ
- ตรวจดเู บาะหนา และใตเ บาะ
- ตรวจดทู ีพ่ ิงศรี ษะและทบี่ ังแดด
- ตรวจดูผา หมุ เบาะ ที่เก็บของหนา รถ และคอนโซล
- ตรวจดูเบาะหลงั และใตเ บาะ
- ตรวจดพู ้ืนรถ
การตรวจคน แตละครงั้ ลาํ ดบั และวธิ ีการตรวจคนรถ สามารถปรับตามสถานที่
และสิง่ ของทจ่ี ะคนหา แตจะตอ งกระทาํ โดยความนุมนวล ไมกอใหเ กิดความสกปรก ขา วของถูกร้ือคน
เสยี หายและควรจดั เกบ็ ขา วของใหอยูในสภาพเดิมในแตล ะข้ันตอนทีผ่ านไป

ô.ô ËÅ¡Ñ ã¹¡ÒÃμé§Ñ ¨´Ø μÃǨ¨ÃÒ¨Ã

ñ) ¡ÒÃμÑ駨شμÃǨ
¡ÒÃàÅÍ× ¡Ê¶Ò¹·èμÕ Ñ§é ¨Ø´μÃǨ สถานท่คี วรรองรบั ความปลอดภยั สาธารณะ และการ

ทํางานของเจา หนาท่ีตาํ รวจ โดยควรมลี ักษณะ ดงั น้ี
การตั้งจดุ ตรวจท่ีดีควรจะประกอบไปดวย หลักการดังน้ี
• เลอื กสถานท่ีทป่ี ลอดภัยเปน ส่งิ สาํ คญั อนั ดับแรกท่ตี อ งคาํ นึงถึง โดยหลกี เลี่ยง

บรเิ วณทางแยก ทางโคง เนนิ เขา และพนื้ ทไ่ี มม แี สงสวา งหรอื มคี วามมดื สนทิ มรี ะยะการมองเหน็ จาก
ผขู บั ขที่ เ่ี พยี งพอ มพี นื้ ทกี่ วา งพอใหเ จา หนา ทแ่ี ละผกู ระทาํ ผดิ จอดรถ โดยไมก ดี ขวางการจราจร นอกจากน้ี
อาจจะมีอุปกรณการตรวจรถอยูดวย แตตองไมกลายเปนสิ่งอันตรายควรเปนสิ่งท่ีสามารถเดินทางไป
ไดทัง้ กลางวนั และกลางคนื

• ใชรถยนตต ํารวจ ๑ คนั จอดบังเพ่อื ปอ งกันอนั ตราย
• ใชป ายเตอื น โดยตั้งหา งจากจุดตรวจเพยี งพอท่รี ถจะชะลอได
• วางกรวยยางบังคบั รถใหเ ดนิ ในชองที่ตองการ
• เลือกเจา หนาท่ตี าํ รวจ ทาํ หนาท่ีเปนผูหยดุ รถ (stopper) ๑ คน
• เจา หนา ทที่ ุกคนควรสวมเส้ือสะทอ นแสง
• ใชรถตาํ รวจอีก ๑ คนั เตรียมสําหรับการไลล า รถทีห่ ลบหนี
• มหี วั หนา จดุ ตรวจทคี่ อยตรวจสอบทงั้ การจดั การ และควบคมุ มารยาทเจา หนา ที่
• ทาํ งานโดยมขี นั้ ตอนทว่ี างแผนลว งหนา ดว ยความสภุ าพและปฏบิ ตั อิ ยา งมอื อาชพี
• ไมค วรตรวจกลางถนนทกุ ชองจราจร
• ไมควรเรยี กรถทกุ คนั ตรวจโดยไมมเี หตุผลหรือไมม ขี อสงสัยมากอ น

๑๕๓

ò) »ÃÐàÀ·¢Í§¨Ø´μÃǨ
จุดตรวจในประเทศไทยอาจจําแนกตามลักษณะการทํางาน ขนาดและจํานวน

เจาหนาที่ที่ใชได ๓ ลักษณะ เร่ิมจากลักษณะที่ใชมากท่ีสุดบนทางหลวง คือ แบบเสนตรง ตอมา
เปนแบบที่ใชบนทางหลวงเชนกันแตมีความซับซอนมากกวา คือ แบบวงกลม และแบบสุดทาย
เปน แบบทใี่ ชม ากทสี่ ดุ ในเมอื งทม่ี รี ถตดิ แตก ระทาํ ไดง า ยมคี วามคลอ งตวั สงู คอื แบบในเมอื ง ทง้ั นโี้ ดยมี
รายละเอียดของแตล ะประเภทดังนี้

๒.๑ จุดตรวจแบบที่ ๑ “จดุ ตรวจแบบเปน เสนตรง”
การต้ังจุดตรวจแบบนี้เหมาะสําหรับใชบนถนนในเมืองหรือทางหลวง ท่ีมีรถ

จํานวนไมหนาแนนมาก และรถอาจจะว่ิงดวยความเร็ว หากเลือกไดควรเลือกต้ังบริเวณที่มีไหลทาง
เพอื่ มพี น้ื ทใี่ นการทาํ งานแกเ จา หนา ที่ หรอื เลอื กตง้ั ในพน้ื ทท่ี เี่ ปน ทางบงั คบั ทรี่ ถจะตอ งชะลอความเรว็
กอนมาถึงจุดน้ี เชน มีทางโคง ถนนขรุขระ มีการกอสราง หรือคอขวด ซึ่งรถไมกลาใชความเร็วสูง
อยูแลว ซง่ึ จะทาํ ใหเจา หนา ท่ปี ลอดภยั กวาทจ่ี ะตองเรียกหยดุ รถท่ีมีความเรว็

ในการทํางานทุกคร้ังเจาหนาท่ีจะตองวางปายเตือนสําหรับจุดตรวจแบบนี้
ปายเตือนนี้มีเพ่ือใหสัญญาณแกผูขับขี่เตรียมตัวในการชะลอรถลงตามลําดับกอนมาถึงบริเวณที่
เรียกหยดุ อาจใชปา ยที่มีขอความใหร ะวัง ขางหนา มจี ดุ ตรวจ หรอื หากไมม ีก็ใชกรวยยางวางเตอื นเปน
ระยะๆ กอ นมาถงึ จดุ ตรวจกไ็ ด ควรจะวางปา ยเตอื นกอ นหนา จดุ ตรวจออกไปประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร
ซงึ่ ระยะทเ่ี วน ไวน เ้ี ปน ระยะทร่ี ถซง่ึ มาดว ยความเรว็ สงู สามารถชะลอรถลงมาไดพ อดโี ดยไมเ ปน อนั ตราย
หลักคิดมาจากการคํานวณระยะคิดและระยะหยุดของรถบนถนนไวเผ่ือสําหรับผูขับข่ี หากไมวาง
ปายเตือนเลย จะทําใหผูขับข่ีตองหยุดรถกะทันหัน ซ่ึงอาจจะเปนอันตราย อาจถูกฟองรองไว และ
ยังแสดงวาเจาหนาท่ีตํารวจไมมีความรูในเร่ืองความปลอดภัยดวย การตั้งจุดตรวจแบบเสนตรง
จงึ ควรดาํ เนนิ การดังน้ี โปรดดภู าพท่ี ๑

๑๕๔

ÀÒ¾·èÕ ñ : ¡ÒÃμé§Ñ ¨Ø´μÃǨẺ໚¹àʹŒ μç

๑๕๕

จากภาพขางตน จะเห็นไดวาในการตั้งจุดตรวจแบบเสนตรงนั้น เจาหนาท่ีอาจจะใชผิว
การจราจรเปน พื้นทเ่ี รียกหยดุ รถได แตจ ะตอ งแนใ จวา เปนพ้ืนที่ทปี่ ลอดภยั โดยมกี ารจดั การพรอ มกับ
ใชกรวยยางวางเปนแนวพ้ืนท่ีไว และเพ่ือปองกันรถท่ีมองไมเห็นจุดตรวจหรือหยุดไมทันว่ิงมาชน
เจา หนา ที่ กอ็ าจจะใชร ถยนตส ายตรวจจอดบงั ไว ๑ คนั เปน เสมอื นแนวกาํ แพงปอ งกนั ตวั ไว โดยเปด ไฟ
วบั วาบชว ยในการมองเหน็ ของผขู บั ข่ี สว นรถยนตท จ่ี อดนนั้ ใหห นั หวั รถออกในลกั ษณะพรอ มทจี่ ะวง่ิ ได
ทนั ทหี ากมเี หตทุ ี่จะตองไลติดตามผูขับขข่ี ้ึน

เม่ือรถยนตของประชาชนว่ิงใกลจุดตรวจ การจัดการภายในจุดตรวจจะตองมีเจาหนาท่ี
คนหนงึ่ ทาํ หนา ทเ่ี รยี กรถและคดั เลอื กรถ โดยจะเรยี กรถทต่ี อ งสงสยั วา กระทาํ ผดิ วงิ่ เขา ไปในพนื้ ทต่ี รวจ
เพื่อคัดกรองแตรถท่ีนา จะตรวจ สวนรถอืน่ ท่ีไมใชเ ปา หมายอาจจะแยกออกใหวิง่ บนถนนตอไป ทัง้ นี้
เพ่ือไมสรางปญหาการจราจร เพราะไมจําเปนวาการต้ังจุดตรวจทุกครั้งจะตองเรียกหยุดรถทุกคัน
เมื่อมีการคัดเลือกรถเขามาในพื้นที่ตรวจแลว หลังจากนั้นก็จะเปนหนาท่ีของตํารวจคนอื่นๆ ท่ีจะทํา
หนาท่ีตรวจตามเปาหมายของการต้ังจุดตรวจตอไป เชน การตรวจใบขับขี่ การตรวจลักษณะผูขับขี่
การตรวจสภาพรถ ฯลฯ

ขณะเดียวกันก็ควรมีเจาหนาท่ีเฝาระวังรถที่หลบหนีดวยอีก ๑ คน จัดใหยืนอยูทาย
ทสี่ ดุ ของจดุ ตรวจ เพราะการตงั้ จดุ ตรวจแตล ะครง้ั มกั จะมผี ขู บั ขที่ หี่ ลบเลย่ี งระหวา งทเ่ี จา หนา ทที่ าํ งาน
แอบขับรถออกจากจุดตรวจไปโดยไมมีใครสังเกตเห็น เจาหนาท่ีคนนี้จะคอยสังเกตรถที่หลบหนีนี้
และเรียกมาตรวจเองหรืออาจจะวิทยุแจงตํารวจอีก ๑ นาย ที่วางแผนใหจอดรถเลยจุดตรวจออกไป
คอยสกัดจบั ตวั ไว เพื่อทาํ ใหผ ูหลบหนีรวู าตํารวจเปน มอื อาชีพ ไมส ามารถหลบหนไี ด

การต้ังจุดตรวจแบบนี้ หัวหนาจุดตรวจจะตองคอยสังเกตและควบคุมการทํางานของ
ทุกคน ในกรณมี ีรถตดิ บนถนนเพราะการตรวจเปนสาเหตุ หัวหนาจุดตรวจอาจจะพิจารณาปลอยรถ
ทั้งหมดไปโดยไมเรียกเขาในพ้นื ที่ตรวจเปน ครงั้ คราว เพอ่ื แกปญ หาจราจรกอนกไ็ ด

การตรวจพบผูกระทําผิด เจาหนาท่ีอาจจะออกใบสั่งใหไปเสียคาปรับที่สถานีตํารวจ
หรอื อาจจะตงั้ โตะ ปรบั บรเิ วณจดุ ตรวจ ซง่ึ หากตง้ั โตะ ปรบั กจ็ ะมขี อ ดใี นเรอื่ ง การบงั คบั ใชก ฎหมายทรี่ วดเรว็
ซงึ่ จะสง ผลตอ การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของผกู ระทาํ ผดิ มากขนึ้ มไิ ดม ขี อ หา มหรอื ถอื วา เปน เรอ่ื งเสยี หาย

สําหรับปายเตือนกอนถึงจุดตรวจน้ันอาจจัดทําเปนแบบตูไฟฟามีแสงสวางหรือปาย
สะทอนแสงท่ีไมมีไฟฟาก็ได ข้ึนอยูกับภูมิประเทศและความสะดวก ขณะเดียวกันบริเวณจุดตรวจ
ก็อาจจะเพิ่มปายเตือนหรือตูไฟฟามีแสงสวางเขาไปอยูติดกันดวย เพ่ือเพ่ิมการสังเกตเห็นของผูขับข่ี
ไดชัดเจนข้นึ

มขี อสังเกตถงึ จุดตรวจในปจ จบุ นั จํานวนหนงึ่ ที่ไมมีการเตอื นแตว างกรวยยางขวางถนน
หางจากตัวจุดตรวจ ประมาณ ๑๕ เมตร ทําใหไมมีระยะหยุดระยะคิดเพียงพอ นอกจากน้ัน
ยงั วางกรวยยางยาวเปนเสนตรงตลอดระยะทาง ๑๕ เมตรดว ย ทําใหส้นิ เปลอื งกรวยยางจํานวนมาก
และไมสะดวกในการขนยาย การตั้งจุดตรวจแบบน้ีพบเห็นมากในเขตภูธร ฉะน้ันควรเปลี่ยนแปลง

๑๕๖

โดยใหเวนระยะหยุดระยะคิดเปนระยะทางประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ เมตร ท้ังน้ีอาจจะวางกรวยยาง
ทจ่ี ดุ แรกของระยะ ๑๕๐ หรอื ๒๐๐ เมตรกอ นถงึ จดุ ตรวจ เพยี ง ๑ กรวยกอ น ในลกั ษณะขวางกลางถนน
เพื่อเตือนรถท่ีวิ่งมาดวยความเร็วเปล่ียนชองจราจรและชะลอความเร็วเตรียมเขาจุดตรวจ ตอมาท่ี
ระยะประมาณ ๗๕ หรอื ๑๐๐ เมตรจากจุดตรวจ ใหว างกรวยยางอกี ครั้งหน่งึ แตว างเพ่ิมเปน ๓ กรวย
ในแนวขวางถนน ๑ ชอ ง เพอื่ เตอื นอกี ครง้ั หลงั จากนน้ั กจ็ ะถงึ จุดตรวจเลย หากทาํ แบบนจี้ ะประหยดั
กรวยยางและปลอดภัยมากกวา

หลกั การตง้ั จดุ ตรวจแบบเสนตรงโดยสรปุ คอื
- ใหรถท่ขี บั ขีม่ าบนถนนไดเห็นปา ยเตือนเพอื่ ชะลอรถลว งหนา
- ทจี่ ดุ ตรวจมเี จา หนา ทแ่ี ยกรถทจี่ ะตรวจ ออกจากรถทไ่ี มต อ งสงสยั และตรวจเฉพาะรถ
ท่ีตองสงสยั เทานน้ั เพอื่ ไมใ หประชาชนเสียเวลา
- รถท่ีจะตรวจ จะตองจัดการใหเ ขาจอดในทีป่ ลอดภยั
- การตรวจจะตองเปนไปอยา งรวดเร็ว คาํ นงึ ถงึ เวลาที่ประชาชนเสียไป
- การทํางานของเจาหนาที่จะตองตรงไปตรงมา อยางมืออาชีพ ตองตอบคําถามท่ี
ประชาชนถาม
- หากมีการหลบหนจี ะตองมกี ารวางแผนลว งหนา ท่จี ะจดั การ
- หากพบผูกระทาํ ผิดอาจจะออกใบสงั่ หรอื วา กลา วตักเตือน
- การตงั้ โตะปรบั เปน ผลดี ไมใ ชข อเสียหาย
- ระยะเวลาในการต้ังจุดตรวจไมควรนานเกินไป ตองคํานึงถึงเจาหนาที่ผูปฏิบัติวา
มคี วามเหนื่อยลา หรือยัง หากเจา หนา ทไี่ มพรอ มควรหยุด ไมควรทาํ ตอ ไป

๑๕๗

๒.๒ จดุ ตรวจแบบท่ี ๒ “จดุ ตรวจแบบวงกลม”
การตงั้ จดุ ตรวจแบบนี้ เปน การตง้ั จดุ ตรวจทใ่ี ชค นจาํ นวนมาก เปน การระดม

ครั้งใหญหรือมีเปาหมายเพ่ือบูรณาการหลายหนวยงาน โดยอาจใชพื้นท่ีริมถนน เชน โรงเรียน
สนามกีฬา ปมนํ้ามันเกา ในการตรวจแทนที่จะใชพื้นท่ีบนผิวการจราจรหรือไหลทาง ความลึกของ
พ้นื ทีว่ งกลมจากริมถนนไมค วรมากกวา ๕ - ๑๐ เมตร แตต ัวปา ยเตือนนนั้ ไปวางไวบนถนน หางจาก
จุดตรวจประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตรเชนเดิม ดวยเหตุผลเดียวกันคือเวนไวเผ่ือสําหรับระยะคิด
และระยะหยุดของผูขับข่ี จุดตรวจแบบนเี้ หมาะสําหรับตํารวจทางหลวง หรือตํารวจภธู รทตี่ งั้ จดุ ตรวจ
ในเขตนอกเมอื งหรอื ชานเมอื ง มรี ถไมห นาแนน มากรถวง่ิ ไดเ รว็ หรอื พน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตท อ่ี าจ
จะมกี ารตอ สกู บั เจา หนา ทขี่ ณะตง้ั จดุ ตรวจ โดยอาจใชก าํ ลงั ฝา ยปอ งกนั ปราบปรามรว มตง้ั จดุ ตรวจดว ย
เปนจุดตรวจที่เหมาะสําหรับจํานวนเจาหนาที่มาก เพื่อเปาหมายท้ังดานอาชญากรรมและจราจร
ไปพรอ มกัน

การต้ังจุดตรวจแบบนี้ เจาหนาท่ีสามารถตรวจรถไดเปนเวลานาน โดยไม
ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาการจราจรและปลอดภยั สงู โดยจะตอ งมผี เู รยี กหยดุ รถและคดั เลอื กรถเขา ตรวจ ๑ หรอื
๒ คน แตห ากอยใู นพ้นื ทอี่ ันตราย อาจจะเพิ่มเจา หนา ที่ติดอาวธุ สงครามเพอ่ื รักษาความปลอดภัยไว
ทจี่ ดุ น้ดี ว ย เม่ือรถเขา พน้ื ท่ตี รวจแลว กจ็ ะเปนหนาท่ตี รวจตามเปาหมาย โปรดดูภาพที่ ๒

๑๕๘

ÀÒ¾·Õè ò : ¡ÒÃμÑ駨´Ø μÃǨẺǧ¡ÅÁ

๑๕๙

จากภาพขางตน จะเห็นไดวาการตั้งจุดตรวจแบบน้ี เจาหนาที่สามารถใชเวลา
ในการตรวจไดนาน เชน การตรวจคนตัวรถที่ซุกซอนยาเสพติดอยางละเอียด โดยมีไฟฟาสองสวาง
ทเี่ ตรยี มตวั ไว หรอื ตรวจปส สาวะผขู บั ขี่ เมอ่ื รถเขา มาพนื้ ทต่ี รวจ เจา หนา ทอี่ าจแบง งานกนั ทาํ แยกยอ ย
ออกไปได เชน ตาํ รวจจราจร ตาํ รวจสายตรวจ เจา หนา ทกี่ รมการขนสง ทางบก เจา หนา ทด่ี า นกกั กนั สตั ว
ศลุ กากร ฯลฯ

นอกจากนี้หากใชจุดตรวจแบบนี้ในภารกิจการลดอุบัติเหตุ อาจจะแบงแยกงาน
เจาหนาท่ีผูตรวจออกไป เชน ตรวจใบขับข่ี ตรวจวัดความเมา ตรวจควันดํา เสียงดัง ฯลฯ มีโตะ
เปรียบเทียบปรับพรอม ซึ่งปกติกระทําไดยากในจุดตรวจทั่วไป เน่ืองจากจุดตรวจแบบนี้มีพ้ืนที่มาก
ดังนัน้ อาจจะเพม่ิ กจิ กรรมอ่ืนในจดุ ตรวจไดด วย เชน การรณรงคในชว งเทศกาลอาจจะเพมิ่ เจา หนาท่ี
พยาบาล ทน่ี ั่งพกั หรอื การใหความรูแ กผขู บั ข่ีฯ เขาไปดว ย

เมอื่ มกี ารตรวจเสรจ็ แลว รถแตล ะคนั จะวง่ิ ออกจากพนื้ ทต่ี รวจโดยมเี จา หนา ทค่ี ดั เลอื กรถ
หมายเลข ๓ ทาํ หนาทต่ี รวจสอบครงั้ สดุ ทาย เพ่ือปองกนั รถท่หี ลบเลี่ยง โดยมีกรวยยางต้งั ไวใ หรถว่ิง
เขาออกคนละทาง จุดตรวจแบบนี้สามารถต้ังขึ้นโดยมีระยะเวลานานได สามารถจัดที่พักสําหรับ
เจาหนาทใ่ี หห มนุ เวียนกนั ทํางาน จัดหาอาหารเครอื่ งดื่ม จดั หอ งสุขาได โดยอาจจะเปนจุดตรวจหลกั
ของสถานีตํารวจซ่ึงเปดใชเปนครั้งคราว เพ่ือใหผูใชถนนไมสามารถคาดเดาเวลาต้ังไดวาจะเปดใช
เม่ือใด แตไมควรเปดใชเปนเวลาที่แนนอนตายตัวจนประชาชนคาดหมายได เพราะประชาชนเรียนรู
ทจี่ ะหลบหลีกอยูเสมอ

หลักการตั้งจุดตรวจแบบวงกลมโดยสรุปคือ
- ใหร ถทขี่ ับข่ีมาบนถนนไดเ ห็นปายเตือนเพ่อื ชะลอรถลว งหนา
- จัดท่ีตรวจอยูในพ้ืนที่เฉพาะ ท่ีจะตองเล้ียวรถเขามาขางถนน ไมมีการตรวจบน
ผิวการจราจรเหมือนจุดตรวจแบบอื่นๆ
- จะตองมีเจาหนาที่คัดแยกรถ เพ่ือเรียกรถที่ตองสงสัยใหเขามาในพื้นที่ตรวจ
สวนรถอ่นื ๆ ท่ไี มตองสงสัยจะคดั แยกใหว ง่ิ บนถนนตอ ไปไมรบกวนเวลาผูขบั ข่ที ่เี ปนพลเมืองดี
- รถที่จะตรวจ จะมีเสนทางวนเปนวงกลมเพ่ือใหเจาหนาที่ตํารวจหลายคนเรียก
หยุดตรวจ
- การเรียกใหเขาชองตรวจใด อาจจะมีการประสานงานกันระหวางเจาหนาที่
คัดแยกกับผูตรวจเพราะผูหยุดรถรูลวงหนาวาตองสงสัยในเร่ืองใด เชน ขาดตอภาษี ไมคาดเข็มขัดฯ
หรือเปนเร่ืองพเิ ศษ เชน แอลกอฮอล ใชสารเสพติดฯ
- การทาํ งานของเจาหนาทจ่ี ะตองตรงไปตรงมา เชน สงสยั วากระทาํ ผิดเรอื่ งหนง่ึ
แตเ มือ่ ตรวจสอบแลว ไมผ ิด ก็ไมควรหาเรือ่ งอ่นื โยกโยเพอื่ หาเรื่องจะจบั ใหไ ด ควรปลอยไปใหเ ดินทาง
ตอ ไปโดยเร็ว

๑๖๐

- หากสงสยั มกี ารหลบหนี เจา หนา ทผี่ ปู ลอ ยรถออกสถู นน จะตอ งสอบถามผตู รวจวา
รถคันน้ีตรวจสอบเสร็จแลวหรือไม โดยสอื่ สารทางวิทยกุ ันตลอดเวลา

- หากพบผกู ระทาํ ผดิ อาจจะออกใบสง่ั หรอื วา กลา วตกั เตอื น การวา กลา วตกั เตอื น
ไมใ ชเ รอ่ื งทไ่ี มค วรทาํ อาจจะทาํ ไดห ากผขู บั ขข่ี าดเจตนา นา เชอื่ วา จะปรบั ปรงุ ตวั ได ไมจ าํ เปน วา จะตอ ง
เอาผลคดไี ปเสียท้งั หมด

- การตัง้ โตะ ปรับเปน ผลดี ไมใชข อเสยี หาย
- ระยะเวลาในการตั้งจุดตรวจไมควรนานเกินไป ตองคํานึงถึงเจาหนาที่ผูปฏิบัติ
วามคี วามเหน่อื ยลา หรอื ยงั หากเจาหนาท่เี หน่ือยแลว อาจจัดชุดไปสลบั เปลี่ยน หรอื หยดุ ตรวจไปเลย
และไมค วรมีคําส่ังตง้ั จุดตรวจ ๒๔ ชม. เตม็ ที่สําหรบั จดุ ตรวจแบบน้ีไมค วรเกิน ๔ ชม.
๒.๓ จดุ ตรวจแบบที่ ๓ “แบบในเมือง”

จดุ ตรวจแบบนมี้ กั จะเปน ขนาดเลก็ ทใี่ ชใ นเขตเมอื งของนครบาลหรอื อาํ เภอใหญ
ของตํารวจภูธร ท่ีอาจมีรถหนาแนนและรถติดขัด ว่ิงไดชา ซ่ึงแตเดิมมักจะมีกําลังเจาหนาท่ียืนอยู
ริมถนนเรยี กรถระหวา ง ๔ - ๕ คน ไมม เี ครอ่ื งมอื ในเร่ืองความปลอดภัย เรยี กรถใหจ อดขา งทางแลว
แยกกนั ตรวจ ทง้ั นโ้ี ดยควรทจ่ี ะตอ งเปลย่ี นแปลงวธิ กี ารตรวจแบบนใ้ี หเ กดิ ความปลอดภยั เพมิ่ ขนึ้ ไดแ ก
การเพิ่มปายเตือนระหวางระยะ ๑๐ - ๓๐ เมตร เพื่อใหผูขับขี่เตรียมตัวหยุดรถ ซึ่งเวนระยะทางไว
ไมมากนักเพราะรถวิ่งดวยความเร็วต่ําอยูแลว พรอมกันน้ันก็เพิ่มใหมีวางกรวยยาง และการจอดรถ
จกั รยานยนตเพอ่ื เปน กาํ แพงความปลอดภยั ดว ย

รถจักรยานยนตท่ีเปนกําแพงความปลอดภัยนี้ ยังอาจใชเปนรถติดตาม
รถหลบหนดี ว ย โดยใหน าํ รถจกั รยานยนตเ จา หนา ทท่ี มี่ หี ลายคนั มาจอดเปน กาํ แพงความปลอดภยั รว มกนั
หากเปนเวลากลางคืนควรจะตองมีไฟฉาย กระบองแสงสวางและเจาหนาท่ีควรสวมเสื้อสะทอนแสง
ทุกคน การตรวจแบบนี้หากมีรถยนต ก็ใหใชเปนกําแพงก้ันเขตปลอดภัยแทนรถจักรยานยนต
การตั้งจดุ ตรวจแบบนี้อาจพิจารณารปู แบบได ตามภาพที่ ๓

๑๖๑

ÀÒ¾·Õè ó : ¡ÒÃμé§Ñ ¨´Ø μÃǨ¢¹Ò´àÅç¡áººã¹àÁÍ× §

๑๖๒

จากภาพขางตน จะเห็นไดว าผูข บั ข่ีบนถนนจะมองเหน็ ปายเตอื นหรือตูไฟแสดงจดุ ตรวจ
ในระยะที่ใกลกับจุดตรวจมาก แตเนื่องจากเปนการตั้งจุดตรวจในเมืองท่ีรถวิ่งดวยความเร็วต่ํา ผูขับขี่
สามารถชะลอรถเตรียมตัวถูกเรียกหยุดได บุคคลสําคัญของการตั้งจุดตรวจคนแรกคือผูทําหนาที่
คัดแยกรถ เพราะถนนในเมืองจะมีรถติดขัดไดงาย หากคัดแยกไมดีจะทําใหเกิดรถติดได ดังนั้น
เจา หนา ทคี่ ดั แยกรถจะตอ งมที กั ษะทจ่ี ะตอ งแยกรถตอ งสงสยั ออกจากรถปกตทิ ว่ั ไป และใชห ลกั การเดมิ คอื
รถไมตองสงสัยหรือประชาชนท่ัวไปไมตองเดือดรอน แตจะถูกแยกใหขับขี่ตอไปโดยสะดวก หลักการ
สําคัญคือ การต้ังจุดตรวจไมใชจะตองตรวจรถทุกคัน การเรียกรถแตละคันเปนการรบกวนสิทธิของ
ประชาชนทตี่ าํ รวจจะตองเคารพดว ย

ผทู ถี่ กู คดั แยกจะตอ งเขา ไปในพนื้ ทต่ี รวจทจี่ ดั ไวโ ดยมเี จา หนา ทตี่ าํ รวจรอตรวจ เจา หนา ท่ี
คัดแยกจะตอ งใชสัญญาณมอื สอื่ สารกบั เจา หนาทีผ่ ูตรวจ วา ใหรับรถทส่ี ง ไป โดยอาจจะมกี ารพูดดวย
วาจาหรอื สญั ลกั ษณต อ กนั เพอ่ื ใหเ กดิ ความเขา ใจตรงกนั เชน ไมส วมหมวก หรอื ไมต ดิ แผน ปา ยทะเบยี น
การตรวจอาจจะกระทาํ โดยตํารวจกลุมเลก็ ๆ ประมาณ ๔-๕ คน หรอื กลมุ ใหญข ้นึ ประมาณ ๗-๑๐ คน
กไ็ ด แตถ ึงแมจ ะมีตาํ รวจนอยเชน ๕ คน แตท ่ีขาดไมไดคอื ผทู าํ หนาท่รี ะวงั หลงั เมอื่ รถหลบหนี ทอ่ี าจ
จะตองตรวจดวยและสอดสองรถหลบเลี่ยงไปดวยพรอมกัน โดยอาจจะตองจอดรถจักรยานยนตไว
เพอื่ การติดตามดา นหลงั สุดของจดุ ตรวจ

เนื่องจากมีการวางกรวยยาง ฉะน้ันเจาหนาท่ีจะมีพื้นที่ทํางานชัดเจนวาเรียกรถได
ครงั้ ละเทา ใด ซงึ่ ผแู ยกคดั รถจะตอ งสง รถเขา มาตรวจเทา ทม่ี พี น้ื ที่ การวางกรวยยางนย้ี งั มปี ระโยชนอ น่ื ๆ
ดวย คอื เร่ืองความปลอดภยั จากการถูกรถเฉ่ยี วชน และการปองกนั การหลบหนี โดยผถู กู เรียกตรวจ
ไมสามารถใชเวลาชุลมนุ หลบหนีไปจากจุดตรวจไดเหมอื นแตกอน เพราะมแี นวกรวยยางที่สังเกตเหน็
ไดช ดั ถา มรี ถฝาออกไป และมีการจัดชองทางออกไวเ ฉพาะแลว

หลักการตั้งจดุ ตรวจขนาดเลก็ ในเมอื ง โดยสรุปคือ
- ใหร ถทข่ี ับขม่ี าบนถนนไดเ ห็นปา ยเตือนเพอ่ื ชะลอรถลว งหนา
- การตรวจอาจใชผวิ การจราจรหรอื ไหลท าง แตมีการก้นั ใหเหน็ พ้ืนท่เี ฉพาะนแี้ ลว
- มีเจาหนาท่ีคัดแยกรถและสงใหผูตรวจโดยประสานงานทางวาจาหรือสัญลักษณ
ทา ทาง ไมตองใชว ทิ ยสุ ือ่ สารก็ได
- รถทจ่ี ะเขา ชอ งตรวจควรมจี าํ นวนไมม าก แตจ ะตอ งควบคมุ ใหส มดลุ ไมเ กดิ การชลุ มนุ
หรือทําใหร ถติด
- การทาํ งานของเจา หนา ทจ่ี ะตอ งตรงไปตรงมา และไมแ สดงกริ ยิ าอาการทผ่ี ขู บั ขที่ ว่ั ไป
มองเห็นวา ไมสุภาพเพราะมผี ขู บั ขผ่ี านไปมาจาํ นวนมาก
- มีการควบคุมรถท่ีจะหลบหนีโดยวางตัวเจาหนาท่ีระวังหลังไวเชนปกติ แมจะมี
เจาหนาที่จํานวนนอ ย

๑๖๓

- หากพบผูกระทําผิดอาจจะออกใบสั่งหรือวากลาวตักเตือน การวากลาวตักเตือน
เปน เรอื่ งท่ีกระทําได ไมใชเ รอ่ื งเสียหายหรือมองไปในทางทจุ รติ

- การตั้งโตะปรับเปนผลดี สามารถกระทําไดระยะเวลาในการตั้งจุดตรวจไมควรนาน
เกนิ ไป เต็มท่ีไมควรเกนิ ๒ ชม.

จากหลักการตั้งจุดตรวจที่ไดกลาวมาไดจําแนกประเภทของการตั้งจุดตรวจออกเปน
๓ ประเภทหลกั ไดแ ก

ñ. ¡ÒÃμÑ駨شμÃǨ໚¹àÊŒ¹μçเหมาะสําหรับใชบนถนนในเมืองหรือทางหลวงท่ีมีรถ
จาํ นวนไมห นาแนนมาก และรถอาจจะว่งิ ดว ยความเรว็

ò. ¡ÒÃμÑ駨شμÃǨ໚¹Ç§¡ÅÁเปนการต้ังจุดตรวจท่ีใชคนจํานวนมาก เปนการระดม
ครง้ั ใหญห รอื มเี ปาหมายเพอ่ื บรู ณาการหลายหนว ยงาน

ó. ¡ÒÃμÑ駨شμÃǨ¢¹Ò´àÅç¡áººã¹àÁ×ͧจุดตรวจแบบนี้มักจะเปนขนาดเล็กท่ีใช
ในเขตเมืองของนครบาลหรืออําเภอใหญของตํารวจภูธร ท่ีอาจมีรถหนาแนนและรถติดขัด ว่ิงไดชา
ซ่ึงรูปแบบการตั้งจุดตรวจท้ัง ๓ แบบ เปนการพิจารณาจากสภาพถนน และปริมาณของรถที่สัญจร
ไปมาเพ่อื เปนหลกั ในการพิจารณา ตัง้ จดุ ตรวจใหเกดิ ความปลอดภัยในการปฏบิ ัตหิ นาที่

ó) ¡ÒÃμ§Ñé ¨Ø´μÃǨà¾×èÍÅ´ÍºØ ÑμàÔ ËμØ
๓.๑ การตงั้ จดุ ตรวจเพอ่ื ควบคมุ อบุ ตั เิ หตุ มขี อ พจิ ารณาเพม่ิ เตมิ ในการตง้ั ๒ ขอ คอื
๓.๑.๑ ขอมูลอุบัติเหตุท่ัวไปในพื้นท่ี ไดแก ผูวางแผนตั้งจุดตรวจจะตอง

ทราบขอมูลสถานที่และเวลาเกิดอุบัติเหตุสูงสุดในแตละเดือนของสถานีตํารวจแหงนั้นเสียกอน
เพ่ือใชพิจารณาในการวางแผนตั้งจุดตรวจ โดยควรท่ีจะเลือกต้ังจุดตรวจในบริเวณที่มีอุบัติเหตุเกิด
สงู ทสี่ ุดกอ น เชน อบุ ัตเิ หตเุ กิดบนถนนเสนใด สว นเวลาท่เี กดิ อบุ ัติเหตสุ งู สุดกค็ วรออกไปตัง้ จุดตรวจ
ในเวลาน้ันดวย เชน เวลากลางคืน เม่ือรวมกันก็จะไดสถานท่ีต้ังจุดตรวจที่เหมาะสมคือ สถานท่ี
และเวลาทเ่ี กิดอุบัตเิ หตุสูงสดุ ไมใชตงั้ จุดตรวจในทีเ่ ดิมเวลาเดิม หรอื ตงั้ จุดตรวจทม่ี ไี ฟฟาไวตอ สายไฟ

ดังนั้นการต้ังจุดตรวจโดยท่ัวไปท่ีเจาหนาที่ตํารวจสถานีตางๆ ออกไปตั้ง
จุดตรวจ ในเวลาวา งจากการจัดการจราจร เชน ๑๐.๐๐ น. หรือ ๑๔.๐๐ น. จงึ ไมใ ชก ารตัง้ จดุ ตรวจ
เพ่ือลดอุบัติเหตุดวยเชนกัน แตเปนการต้ังจุดตรวจเพ่ือทําผลงานหรือสรางสถิติการออกใบสั่งเทาน้ัน
ไมส ามารถนํามาอา งไดว า ไดวางมาตรการเพ่อื ควบคุมอบุ ตั ิเหตุในพ้ืนทแี่ ลว เพราะการวางมาตรการ
เพ่ือควบคุมอุบัติเหตุจะตองใชขอมูลอุบัติเหตุจริงๆ และมีแนวทางที่สอดคลองกันจริง การตั้ง
จดุ ตรวจจราจร จงึ อาจจะแยกไดเ ปน ๒ แบบ คอื การตง้ั จดุ ตรวจเพอื่ กวดขนั วนิ ยั จราจรทวั่ ไป กบั การตง้ั
จุดตรวจเพื่อควบคุมอุบัติเหตุ ซึ่งแทจริงแลวแตกตางกัน ไมสามารถจะทําเรื่องเดียวแลวอางวาใช
ทงั้ สองวัตถุประสงคได

๑๖๔

๓.๑.๒ ขอมูลอุบัติเหตุเฉพาะทาง ไดแก การเก็บขอมูลอุบัติเหตุสําคัญ
บางประเภทเพอื่ ใชใ นการแกไ ข เชน อบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากความเมา ซง่ึ ทราบขอ มลู วา สถานบนั เทงิ ยา นใด
เปน สาเหตุ กว็ างแผนตงั้ จดุ ตรวจเมอ่ื สถานบนั เทงิ ปด รา นบนถนนในยา นนนั้ อบุ ตั เิ หตทุ เ่ี กดิ จากการขบั รถเรว็
ก็ตั้งจุดตรวจบนถนนท่ีมีขอมูลการขับรถเร็ว หรืออุบัติเหตุท่ีเกิดจากการฝาไฟแดง ก็ตั้งชุดตรวจจับ
ทางแยกทมี่ กั จะมกี ารขบั รถฝา ไฟแดง เปน เรอื่ งการวางแผนลดอบุ ตั เิ หตใุ นแตล ะประเภทเฉพาะเจาะจง
ลงไป โดยเร่มิ จากการมีขอมูลและนาํ ขอมูลมาใชใ นการตดั สนิ ใจ

การวางแผนตงั้ จดุ ตรวจแบบเฉพาะเจาะจงนี้ อาจจะไดข อ มลู อบุ ตั เิ หตหุ ลายประเภท
ซึ่งสถานีตํารวจจะตองจัดลําดับความสําคัญกอน จึงจะวางแผนควบคุมได โดยใหความสําคัญกับ
ประเภทอุบัติเหตุท่ีเสียหายมากกอน อาทิ มีขอมูลอุบัติเหตุจาก ความเมา ขับรถเร็ว ฯ เปนเร่ืองท่ี
สถานตี ํารวจดําเนนิ การกอ นเพราะมผี ูเสยี ชีวติ และบาดเจบ็ จาํ นวนมาก แตอ บุ ตั ิเหตุจากสาเหตอุ น่ื ท่มี ี
ความเสียหายนอย ก็รอไวดําเนินการในภายหลังได โดยผูบังคับบัญชาในยุคใหมจะตองเปลี่ยน
จากบทบาทผูตรวจการณบนทองถนน ที่ตรวจดูความเรียบรอยท่ัวไป เปนผูกํากับแผนงาน กิจกรรม
โดยใชขอมลู มาพจิ ารณาแทน

¢ŒÍ椄 à¡μ การจดั ลาํ ดบั ความสาํ คญั ในการตง้ั จดุ ตรวจจราจรนนั้ มกั จะมกี ารสบั สน
ไปกับการควบคุมการจราจร โดยไมเห็นความสําคัญของการควบคุมอุบัติเหตุ ดังนั้นในแตละสถานี
ตํารวจ จึงมกี ารออกคาํ สั่งใหนํากาํ ลงั ตํารวจจราจรไปจัดการจราจรประจําวนั ตามจดุ ตางๆ เกอื บหมด
แตไมมีการวางแผนเพ่ือลดอุบัติเหตุแตอยางใด ซึ่งแสดงถึงการวางแผนที่สับสน ระหวางแผนงาน
อบุ ตั เิ หตแุ ละแผนงานจดั การจราจร ทจ่ี ะตอ งมที งั้ ๒ ดา น แตห วั หนา สถานตี าํ รวจหรอื รองผกู าํ กบั จราจร
จํานวนมากยังไมสามารถแยกแยะความสําคัญ หรือแบงหมวดหมูงาน แตปฏิบัติงานเหมือน
ทเ่ี คยทาํ มาแลว ท้งั ทเ่ี ปนเร่อื งสาํ คัญเทา เทยี มกันทัง้ คู

การตงั้ จดุ ตรวจเพอื่ ลดอบุ ตั เิ หตจุ ะเกดิ ผลดไี ด จะตอ งอาศยั ผบู งั คบั บญั ชาและนโยบาย
ทส่ี อดคลอ งกนั เพอื่ สนบั สนนุ ใหม กี ารปฏบิ ตั ดิ า นการตรวจจบั แตเ ปน การตรวจจบั เฉพาะทางทม่ี ขี อ มลู
ในการตดั สนิ ใจ ดว ยเหตนุ ก้ี องบญั ชาการตาํ รวจนครบาลและภธู รในอนาคต จงึ ควรจะแยกประเภทงาน
จราจรใหมีน้ําหนักเทากัน ระหวางการควบคุมอุบัติเหตุและการอํานวยความสะดวกดานการจราจร
โดยใหสถานีตํารวจแตละแหงตองมีแผนงานรองรับ คอยตรวจสอบกิจกรรมวาสอดคลองกันหรือไม
และตรวจสอบจากสถิติขอมูลอุบัติเหตุจราจรภายหลังดําเนินการมาประกอบการพิจารณาจึงจะทําให
การต้ังจุดตรวจจราจรในอนาคตมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล

๑๖๕

การต้ังจุดตรวจเพื่อลดอุบัติเหตุ จากงานวิจัยตางประเทศท่ีนาสนใจสามารถนํามา
เปนขอมลู ประกอบการพิจารณาตั้งจุดตรวจ ดงั นี้ -.

ò) ¡ÒÃμéѧ¨Ø´μÃÇ¨Ç´Ñ áÍÅ¡ÍÎÍŏ

àÁ×ͧ ÃٻẺ ਺ç -μÒ ¨Ò¡´èÁ× áÅÇŒ ¢Ñº ਺ç -μÒ´nj ÂÊÒàËμØÍè¹×

Modesto ตํารวจ ๖-๑๒ นาย/คืนละ ๑ จุด -๙.๓ % +๑๒.๙ %
Ventura ตาํ รวจ ๓-๕ นาย/คนื ละ ๓ จดุ -๓๙.๗ % -๗.๔ %
Visalia ตาํ รวจ ๓-๕ นาย/คืนละ ๑ จดุ -๑๔.๗ % +๓.๕ %
Ontario หนวยลาดตระเวน -๑๘.๐ % -๓.๙ %

μÒÃÒ§·èÕ ó.ò การตั้งจุดตรวจวัดความเมารูปแบบตางๆ กับความสามารถในการลดการเจ็บ-ตาย
จากด่มื แลวขบั

¡ÒáÃШÒÂกําÅѧตําÃǨ໚¹Ë¹‹ÇÂàÅç¡ (ó-õ ¹ÒÂ) á실Ãͺ¤ÅØÁËÅÒ¨ش䴌¼Å´Õ
áÅШÐãËŒ¼Å㹡ÒÃŴ਺ç μÒ¨ҡàÁÒáÅÇŒ ¢ºÑ ÁÒ¡¡ÇÒ‹ Ç¸Ô ¡Õ ÒÃÍ×è¹æ ในสถานการณท ่ีทรพั ยากร (คน-
เวลา-เงนิ )มจี าํ กัด... การตง้ั ดาน ตอ งพจิ ารณาถงึ ขอ มูลวา จุดใด (แผนท่อี บุ ัตเิ หตุ) ชวงเวลาใด (นาฬก า
อุบัติเหตุ) จึงจะเกิดผลมากท่ีสุด ซ่ึงในหลายพื้นที่... การเพ่ิมข้ึนของจุดตรวจ นอกจากจะลดจํานวน
อุบตั ิเหตุ การบาดเจ็บ เสียชีวิตแลว...คดอี าชญากรรมอื่นๆ กล็ ดลงดวย

ò) ¡ÒÃμÑ§é ¨´Ø μÃǨ¨Ñº “¤ÇÒÁàÃçÇ”
รถทแี่ ลน ดว ยความเรว็ ทแ่ี ตกตา งกนั มากบนถนน นาํ ไปสกู ารเกดิ อบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั เิ หตุ

จากความเร็วที่มีผูเสียชีวิต มักเกิดกับถนนตรงหรือทางโคงมากกวาทางแยกบนถนนที่มีชองจราจร
มากกวา ๑ ชองจราจร และในชวงทฝ่ี นตก

ขอมูลจาก NHTSA (National Highway and Traffic Safety Administration)
พบวา ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอพฤตกิ รรมการขับขี่เรว็

o พฤติกรรมของผูขับขเี่ พศชาย อายุ ๑๕-๒๐ ป มีพฤติกรรมขบั ข่ีรถเรว็ มากที่สดุ
o ปริมาณแอลกอฮอลใ นเลอื ดทเี่ พิม่ มากขึน้ สงผลตอพฤตกิ รรมการขับขเ่ี ร็ว
o ชว งเวลาหลงั เทย่ี งคนื ถงึ ตสี าม เปน ชว งเวลาทผ่ี ขู บั ขมี่ พี ฤตกิ รรมขบั ขเี่ รว็ มากทสี่ ดุ
จากขอมูลดงั กลา วแสดงใหเ ห็นวา “¤¹¢ºÑ öÁáÕ ¹Ç⹌Á·è¨Õ Ð㪌¤ÇÒÁàÃÇç μÒÁÊÀÒ¾¶¹¹ÁÒ¡¡Ç‹Ò¾¡Ô ´Ñ
º¹»‡ÒÂจํา¡´Ñ ¤ÇÒÁàÃçÇ”

๑๖๖

การตั้งจุดตรวจจะยังคงมีผลตอการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการขับข่ีเร็วในระยะหาง
ออกไปอีก ประมาณ ๔ กิโลเมตร จากตาํ แหนง ทีต่ ัง้ จุดตรวจ ดังน้ันการเลือกตงั้ จดุ ตรวจทีม่ คี วามถ่ีของ
จดุ เสย่ี งในชว ง ๔ กโิ ลเมตร จงึ เปน ตาํ แหนง การตง้ั ดา นทมี่ ผี ลตอ การลดอบุ ตั เิ หตไุ ดส งู สดุ จากการศกึ ษา
วจิ ัยพบวา มาตรการเขมงวดในการตั้งจุดตรวจจับความเรว็ สามารถลดการสูญเสียชีวิตลงไดรอยละ ๖
และลดการชนแบบรุนแรงไดถ ึงรอ ยละ ๑๔

ÀÒ¾·Õè ô รปู แบบ แบงพน้ื ทอ่ี อกเปน ๕ โซน

๑๖๗

คาํ อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในการตั้งจุดตรวจแบบแบง พื้นทอี่ อกเปน ๕ โซน

พนื้ ทส่ี ว นที่ ๑ เปน พนื้ ที่ เฝา สงั เกตรถและบคุ คลทอ่ี ยภู ายในรถทจี่ ะวงิ่ ผา นเขา มาในบรเิ วณพน้ื ทตี่ ง้ั จดุ ตรวจ
มีเจาหนาที่ตาํ รวจอยปู ฏบิ ัติ ๒ นาย โดยอยูก อนถึงพนื้ ที่ตัง้ จุดตรวจหา งประมาณ ๒๐-๑๐๐
เมตร (ตามสภาพพื้นท)่ี

พน้ื ทส่ี ว นที่ ๒ เปน พน้ื ท่ที ีพ่ จิ ารณาคดั กรองรถเพอื่ เรียกรถเขา มาสพู ้นื ทต่ี รวจคน มีเจาหนาทตี่ ํารวจ ๒ นาย
และเจา หนา ท่ีตํารวจท่ีทาํ หนาที่เปนหัวหนา จดุ ตรวจ ๑ นาย รวมเจา หนาท่จี ํานวน ๓ นาย

พนื้ ทสี่ ว นท่ี ๓ เปน พนื้ ทตี่ รวจคน มเี จา หนา ทต่ี าํ รวจทาํ หนา ทต่ี รวจคน รถและบคุ คลตอ งสงสยั ทนี่ งั่ มา ๒ ชดุ
ปฏบิ ัติ (๑ ชุดปฏิบตั ิมี ๓ – ๔ คน รถท่ีเขาทําการตรวจคน ควรมไี มเกิน ๒ คัน ในแตล ะชว ง
ทท่ี าํ การตรวจคน และการตรวจคน ใชเ จา หนา ทต่ี าํ รวจ ๓ – ๔ คนตอ รถทาํ การตรวจคน ๑ คนั
โดยคน ๒ คน คมุ กนั ๑ - ๒ คน) มเี จา หนา ทตี่ าํ รวจอกี ๑ คน ทาํ หนา ทบี่ นั ทกึ ภาพขณะตรวจคน
ไวเปนหลักฐาน และมีเจาหนาท่ีตํารวจอีก ๑ คน ทําหนาท่ีคอยควบคุมการปลอยรถออก
จากพื้นที่ตรวจคน เพ่อื ปอ งกนั อุบัตเิ หตุ รวมเจาหนา ที่ตํารวจที่อยใู นพน้ื ท่นี ี้ ๘ - ๑๑ คน

พน้ื ทสี่ ว นท่ี ๔ เปนพื้นท่ีคอยสกัดรถ หากรถตองสงสัยท่ีเขามาในพื้นท่ีต้ังจุดตรวจไมยอมหยุดรถใหทําการ
ตรวจคน เจาหนาท่ีตํารวจที่อยูปฏิบัติหนาท่ีทายพ้ืนที่จุดตรวจนี้จะทําหนาท่ีนํารถตํารวจ
ที่จอดอยูทายจุดตรวจเขาสกัดขวางกันไมใหผานหรือไลติดตามหากหลบหนี ในสวนน้ีจะมี
เจาหนาที่ตํารวจทําหนาท่ีประจํารถยนต ๑ คัน ๑ คน และเจาหนาที่ตํารวจประจํา
รถจักรยานยนต ๑ คนั ๒ คน รวมเจา หนา ที่จาํ นวน ๓ คน

พนื้ ทส่ี ว นที่ ๕ เปนพ้ืนที่ควบคุมผกู ระทําความผิด หรอื พ้นื ท่ีบรกิ ารประชาชน มเี จา หนาทต่ี าํ รวจอยูปฏบิ ัติ
อยา งนอ ย ๑ คน

จากภาพประกอบดงั กลา วและคาํ อธบิ ายเพมิ่ เตมิ การตงั้ จดุ ตรวจแบบแบง พนื้ ทอ่ี อกเปน
๕ โซน ลกั ษณะจดุ ตรวจดงั กลา วเปน หลกั พน้ื ฐานในการวางกาํ ลงั และตาํ แหนง หนา ทข่ี องเจา หนา ทตี่ าํ รวจ
ซง่ึ ตอ งใชก าํ ลงั พลทมี่ ปี รมิ าณเพยี งพอ มลี กั ษณะการวางกาํ ลงั แบบการตงั้ จดุ ตรวจเปน วงกลม เปน การตงั้
จุดตรวจท่ีใชคนจํานวนมาก เปนการระดมครั้งใหญหรือมีเปาหมายเพ่ือบูรณาการหลายหนวยงาน
ซึ่งในการปฏิบัติหนาที่จริง หากไมมีกําลังพลเพียงพอหรือสถานที่ต้ังไมเหมาะสมก็ควรตองพิจารณา
ในรูปแบบอ่ืนท่เี หมาะสม และคาํ นึงถึงความปลอดภัยตอ ผปู ฏบิ ัตงิ านตอ ไป

๑๖๘

ÀÒ¾·Õè õ แสดงการต้ังจุดตรวจในทางเดินรถท่ีมีการจราจรไปในทิศทางเดียวกัน

(One Way)

ÀÒ¾·èÕ ö แสดงการตงั้ จุดตรวจในทางเดินรถทีม่ กี ารจราจรสวนกัน (Two Way)

๑๖๙

ÀÒ¾·Õè ÷ แสดงการต้งั จดุ สกดั ในถนนสายเล็ก โดยใชรถยนตชวยเปนสงิ่ กีดขวาง

ÀÒ¾·èÕ ø แสดงการตัง้ จุดสกดั ในถนนสายเล็ก โดยหลมุ บอบนถนนเปนเคร่อื งชวย

๑๗๐

ÀÒ¾·Õè ù แสดงการต้งั จดุ สกดั ในถนนสายเลก็ โดยใชเ คร่อื งกดี ขวางชว ย

๑๗๑

ÀÒ¾·èÕ ñð การตงั้ จุดตรวจแบบ สองชอ งจราจรตอ ทศิ ทาง (ใชพ ื้นท่จี อดรถทมี่ อี ยู)

150-200 ม. ÊÑÞÅѡɳ
จุดตรวจสอบไมควรอยูใน รถตํารวจ
ตาํ แหนง ทส่ี ามารถมองเหน็ ได ปายเตือน
ตงั้ แตร ะยะประมาณ 300 ม. ตาํ รวจทที่ าํ หนา ทหี่ ยดุ หรอื
ตรวจสอบรถยนตบ นถนน
ตํารวจทท่ี าํ หนา ที่
ตรวจสอบรถยนต
รถยนตที่ถูกตรวจสอบ

Í»Ø ¡Ã³·ÕèμÍŒ §ãªŒ
■ แสงไฟและเสอ้ื กก๊ั ทส่ี ะทอ นแสงได

ตลอดเวลา
■ ปา ยเตือนทส่ี ะทอ นแสงได
■ ไฟเตือนกะพริบสีเหลืองติดตั้ง

บนปายเตือน
■ กรวยทส่ี ะทอ นแสงได (ถา จาํ เปน )
ËÁÒÂàËμØ
ภายหลังจากการตรวจสอบ ตํารวจ
ทคจวาที่ ากํามจหสดุ นะตดารทววกต่ีจใรสนวอรจถบสยไอนดบตอคจยนัะา ดตงงัปอกงลลออา าํวดนอภอวยั ยก
เกาะกลาง

POLICE POLICE

๑๗๒

ÀÒ¾·Õè ññ รปู แบบการต้ังจดุ ตรวจ สองชอ งจราจรตอ ทิศทาง (ใชพ ้ืนท่ีไหลท าง)

ÊÑÞÅ¡Ñ É³
รถตํารวจ
ปายเตือน
ตตาํรรววจจสทอท่ีบาํ รหถนยานทตห่ี บ ยนดุ ถหนรนอื
ตตราํ วรวจจสทอีท่บาํรหถยนนา ทตี่
รถยนตทีถ่ ูกตรวจสอบ
กรวยท่ีสะทอนแสงได

การวางกรวย

150-200 ม. ÍØ»¡Ã³·μÕè ÍŒ §ãªŒ
จุดตรวจสอบไมควรอยูใน แกไปฟสราเงวยตไยฟเอื ตทแนือลส่ีกะนะะเทพทสอ้ืรอีส่ บิกะนกส๊ัทแทเี อหสสี่ ลงนะไอืทแดงอสตน(งดถิ ไแตาดสจง้ังบาํไดนเปตปลนา อย)ดเตเวอื ลนา
ตาํ แหนง ทส่ี ามารถมองเหน็ ได ■
ตงั้ แตร ะยะประมาณ 300 ม. ■

POLICE ■

เกาะกลาง ËÁÒÂàËμØ
ทภาท่ี ยาํ หหลนังา จทาตี่ กรกวาจรสตอรบวจจะสตออบงอตาํ ํานรววยจ
ความสะดวกในรถยนตคันดังกลาว
ออกจากจดุ ตรวจสอบไดอ ยา งปลอดภยั

POLICE

๑๗๓

ÀÒ¾·èÕ ñò ทางหลวงขนาดสองชอ งจราจร (ใชพ น้ื ทห่ี ยดุ รบั สง รถโดยสารหรอื พนื้ ทจ่ี อดรถ)

150-200 m. ÊÑÞÅ¡Ñ É³
จุดตรวจสอบไมควรอยูใน รถตาํ รวจ
ตาํ แหนง ทสี่ ามารถมองเหน็ ได ปายเตือน
ตงั้ แตร ะยะประมาณ 300 ม. ตาํ รวจทที่ าํ หนา ทห่ี ยดุ หรอื
ตรวจสอบรถยนตบ นถนน
ตาํ รวจทท่ี ําหนา ท่ี
ตรวจสอบรถยนต

รถยนตท ่ีถกู ตรวจสอบ

Í»Ø ¡Ã³·èμÕ ÍŒ §ãªŒ
■ แสงไฟและเสื้อกั๊กที่สะทอนแสงได

ตลอดเวลา
■ ปายเตือนทส่ี ะทอ นแสงได
■ ไฟเตือนกะพริบสเี หลืองตดิ ต้ังบนปา ย
ËÁÒÂàËμØ
ภายหลังจากการตรวจสอบ ตาํ รวจท่ที ํา
สหะนดาวทกี่ตใรนวรจถสยอนบตจคะันตดอังงกอลําานวอวยอคกวจาามก
จดุ ตรวจสอบไดอยา งปลอดภัย

POLICE

๑๗๔

ÀÒ¾·èÕ ñó รูปแบบการตงั้ จุดตรวจสองชอ งจราจร รถวิ่งสวน (ใชพืน้ ทข่ี องไหลทาง)

ÊÞÑ Å¡Ñ É³
รถตํารวจ
ปา ยเตือน
ตตาํรรววจจสทอท่ีบาํรหถนยานทตหี่ บ ยนดุ ถหนรนอื
ตํารวจท่ีทาํ หนาท่ี
ตรวจสอบรถยนต
รถยนตท ่ีถกู ตรวจสอบ
กรวยทสี่ ะทอ นแสงได

การวางกรวย

150-200 m. ■■■■ÍØ»ไปตกปแ¡ฟสรลÃาาว³เงยยอตยไเเด·ฟืตตอทเμèÕอืือแวนส่ี ลŒÍลนนะกา§ะททะãเพอ่ีสสªะนรื้อŒ ทิบแกอสส๊ักงนีเทหไแี่สดลสะ ือ(งทถไงอาดตจนิดาํ แตเสปั้งงบนไ)นด
จุดตรวจสอบไมควรอยูใน ËÁÒÂàËμØ
ตาํ แหนง ทสี่ ามารถมองเหน็ ได ภายหลงั จากการตรวจสอบ ตาํ รวจที่ทาํ
ตงั้ แตร ะยะประมาณ 300 ม. หนาที่ตรวจสอบจะตองอํานวยความ
จสุดะตดรววกจใสนอรบถยไดนอ ตยคาันงปดลังกอลดาภวัยออกจาก
POLICE

๑๗๕

ÀÒ¾·èÕ ñô บริเวณชุมชน (ใชพ้นื ท่ีหยดุ รับสงรถโดยสารหรอื พืน้ ท่ีจอดรถ)

50-75 ม. ÊÞÑ Å¡Ñ É³
รถตาํ รวจ
ปายเตอื น
ตาํ รวจทท่ี าํ หนา ทหี่ ยดุ หรอื
ตรวจสอบรถยนตบ นถนน
ตาํ รวจท่ที าํ หนาที่
ตรวจสอบรถยนต

รถยนตท ถ่ี ูกตรวจสอบ

ÍØ»¡Ã³· μÕè ÍŒ §ãªŒ
■ แสงไฟและเส้ือก๊ักท่ีสะทอนแสงได

ตลอดเวลา
■ ปา ยเตอื นทส่ี ะทอ นแสงได
■ ไฟเตือนกะพริบสีเหลืองติดตั้งบนปาย

เตือน
■ กรวยที่สะทอ นแสงได (ถาจาํ เปน)
ËÁÒÂàËμØ
ภายหลงั จากการตรวจสอบ ตาํ รวจทที่ าํ หนา ที่
ตรวจสอบจะตองอํานวยความสะดวกใน
รอถยยา นงปตลคอันดดภังยักลาวออกจากจุดตรวจสอบได

POLICE

๑๗๖

จากเน้อื หาทีไ่ ดก ลาวมาเปนเร่อื งของรูปแบบการต้ังจดุ ตรวจประเภทตา ง ๆ สามารถนาํ
ไปปรับใชไดตามสถานการณตางๆ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมในแตละพื้นท่ี แตส่ิงหน่ึงที่ตองคํานึงถึง
ใหม ากเพ่อื สรางความปลอดภัยใหกบั เจา หนา ทีต่ ํารวจจราจรผูปฏิบัตหิ นา ทบี่ ริเวณจดุ ตรวจ คือ ความ
เขา ใจพืน้ ฐานของ หลักการการบริหารจราจรในบริเวณทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงชอ งจราจรมาประกอบการ
พจิ ารณารปู แบบการตง้ั จดุ ตรวจ เพอื่ ความปลอดภยั ซงึ่ ในเลม นไ้ี ดน าํ หลกั การสากลมาแนะนาํ ใหท ราบดงั นี้

ËÅÑ¡¡ÒáÒúÃÔËÒèÃÒ¨Ã㹺ÃÔàdz·èÕÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ª‹Í§¨ÃҨà »ÃСͺ仴ŒÇÂ
ËÅÑ¡¡Òôѧ¹éÕ

Advance warning area

มกี ารเตอื นลว งหนา เพอื่ ใหผ ขู บั ขที่ ราบวา จะมกี ารเปลยี่ นแปลงชอ งจราจรอยา งไรขา งหนา
เพือ่ ใหผูขับขี่ชะลอ เปลยี่ นชองจราจร ลดการติดขดั บรเิ วณจดุ ท่จี ะมกี ารเบ่ียงการจราจร

Transition Area

มีระยะการเบ่ียงชอ งจราจรทย่ี าวเพยี งพอ เหมาะสม ชัดเจน

Working/Activity Area

มีการก้นั พน้ื ท่ที าํ งาน และพ้ืนทจ่ี ราจรชัดเจน กําหนดความเรว็ ในการควบคมุ

Termination Area

แจงผูขับข่ีถึงจุดสิ้นสุดการเบ่ียงการจราจร เพื่อใหคืนสภาพ การเดินทางอยางรวดเร็ว
ปลอดภยั

๑๗๗

SDWCLeiihgorgaenrenkcnntsidoeplniazcoinefgtrdaevveilce

Downstream Taper nleTotesrrmmtraianlffiaotcpioernreasAtuiromenaes
Buffer Space (longitudinal)
tthoTaerplaloaafficwstcssivtSithtrpyaroaffiacurcegeha
Bapunfpoffdr(lorraeotwtrteverociSardratffipekiloa)escncrse awnodisrkWmseoaersrttke,areSisaqipdluaesipctofemoraregnet isAtacwktihevesitryeplAwarcoeerak
prtorvaiffiBd(loeucsnffagepnirtrduoSdtwpeinacoactrilkeo)enrsfor

omfToritavsnesnsiottirromanffiaAlcrpeoaautht

Shoulder Taper

AdtveallesnxctpereaWcffitcaarwhneihnaagdtAtorea

๑๗๘

ÊÙμ÷ãÕè ªãŒ ¹¡ÒÃคาํ ¹Ç³

Table 6C-3. Taper Length Criteria for Temporary Traffic Control Zones

Type of Taper Taper Length

Merging Taper at least L

Shifting Taper at least 0.5 L

Shoulder Taper at least 0.33 L

One-Lane, Two-Way Traffic Taper 50 feet minimum, 100 feet maximum

Downstream Taper 100 feet per lane

Note : Use Table 6C-4 to calculate L

Table 6C-4. Formulas for Determining
Taper Length

Speed (S) Taper Length (L) in feet

40 mph or less L = WS2/ 60

45 mph or more L = WS

Where :
● L = taper length in feet
● W = width of offset in feet
● S = posted speed limit, or off-peak 85th-percentile speed prior to work starting, or the
anticipated operating speed in mph

Table 6C-1. Recommended Advance Warning Sign Minimum Spacing

Road Type Distance Between Signs**
A BC

Urban (low speed)* 100 feet 100 feet 100 feet

Urban (high speed)* 350 feet 350 feet 350 feet

Rural 500 feet 500 feet 500 feet

Expressway / Freeway 1,000 feet 1,500 feet 2,640 feet

๑๗๙

¡ÒûÃÐÂ¡Ø μãªŒËÅ¡Ñ ¡ÒúÃÔËÒèÃҨà ¡ºÑ ¨Ø´μÃǨ ¨Ø´Ê¡Ñ´ áÅÐ ´‹Ò¹
´‹Ò¹μÃǨ ต้งั เปนการถาวร รปู แบบ การบรหิ ารจราจรใหนาํ มาประยุกตใ ชได (Advance

Warning, Transition)

¨Ø´μÃǨ / ¨Ø´Ê¡Ñ´ ควรนําหลักการบริหารจราจรมาประยุกต แตกรณีจําเปน
เพอื่ ความมน่ั คง ถา จะไมต อ งการเตอื นลว งหนา (Advance Warning) กส็ ามารถลดชดุ ปา ยเตอื นลว งหนา
ออกตามความเหมาะสมของภารกิจ

¡ÒÃầ‹ ¾é×¹·ºèÕ ÃàÔ Ç³¨´Ø μÃǨ ¨´Ø Ê¡´Ñ ´Ò‹ ¹
à»ÃÂÕ ºà·Õºã¹ËÅÑ¡¡ÒúÃËÔ ÒèÃҨà = Activity/Working Area

หลังจากสน้ิ สุดการตรวจแลว ตองวางตาํ แหนง Termination Area (พนื้ ที่สนิ้ สดุ การต้งั
จุดตรวจ) ไดแก Buffer Space + Dowstream Taper

ÊÃØ»â´ÂËÅÑ¡¡ÒÃμéѧ¨Ø´μÃǨ ¨Ø´Ê¡Ñ´ ´‹Ò¹ã¹ºÃÔàdz·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ª‹Í§¨ÃÒ¨Ã
μŒÍ§คาํ ¹§Ö ¶Ö§¾¹×é ·èÕ¡ÒèѴ¡ÒÃàËÅ‹Ò¹Õé¾Ô¨ÒóÒà¾Í×è ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ

Advance Warning Area (¾×é¹·Õè¡ÒÃàμ×͹ÅÇ‹ §Ë¹ÒŒ )
กรณีดานท่ีตั้งถาวร ตองมีปายเตือนลวงหนากอนถึงดานวาจะปดชองจราจรไหน
เปนระยะๆ หางกอนถึงดาน ๕๐๐ – ๑,๐๐๐ เมตร (กรณีจุดตรวจ จุดสกัด พิจารณาเปนกรณี
ตามภารกิจวาการเตือนลว งหนา มีผลกระทบตอความมัน่ คงของภารกิจหรอื ไม)
Transition Area (¾×¹é ·ÕèºÃÔàdzà»ÅÂÕè ¹/àºèÕ§¡ÒèÃÒ¨Ã)
ในการต้ังจุดตรวจ จุดสกัด ดาน ตองมีการเบ่ียงการจราจรดวยกรวยยางที่เห็นเดนชัด
โดยระยะวางกรวยยาง ตองมีระยะยาวพอสมควรใหรถท่ีชะลอความเร็วสามารถชะลอรถและเบ่ียง
การจราจรไดอยางปลอดภัยกอนเขาดาน โดยมีระยะตามสูตรการคํานวณ (โดย แผงเตือน/ปายไฟ
จดุ ตรวจ จะวางอยหู ลงั แนวกรวยยางท่ีเบย่ี งจราจร)

๑๘๐

Activity/Working Area (¾é¹× ·èÕºÃàÔ Ç³¨Ø´μÃǨ ¨Ø´Ê¡´Ñ ´Ò‹ ¹)
พื้นที่ชวงดังกลาวจะกําหนดตามภารกิจของเจาหนาที่ โดยพื้นท่ีเฝาสังเกตจะเริ่มต้ังแต
สน้ิ สุด แนวเบยี่ งการจราจร ระยะทางของพื้นท่บี ริเวณจดุ ตรวจ พิจารณาจาก กาํ ลังพล ยานพาหนะ
ท่ตี อ งใช

Termination Area

มีการคืนสภาพการจราจรปกติ โดยวางกรวยยาง เพ่ือคืนชองจราจรระยะทางประมาณ
๓๐-๕๐ เมตร ตามความเหมาะสม

¡ÒÃầ‹ ¾×é¹·ÕèºÃàÔ Ç³¨Ø´μÃǨáμÅ‹ оé¹× ·àÕè ¾×èÍãËŒà¡´Ô ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ
(áμÅ‹ оé×¹·èμÕ ÍŒ §ÁÕÃÐÂÐËÒ‹ § à¾×Íè ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ)

๑ พงษสันต คงตรแี กว (๒๕๕๑), การตรวจจับความผดิ จราจร Traffic Surveillance เอกสารประกอบการสอนวิชาจราจร,
นครปฐม : โรงเรียนนายรอ ยตํารวจ

๒ Stuster JW, Blowers PA. Experimental evaluation of sobriety checkpoint programs. Washington, DC: U.S.
Department of Transportation, National Highway Safety Traffic Administration, ๑๙๙๕. DOT HS ๘๐๘ ๒๘๗

๑๘๑

บทท่ี ๕

การบังคบั ใชก ฎหมายใหม ปี ระสิทธิภาพ

õ.ñ ¨ÔμÇÔ·ÂÒ㹡Òúѧ¤ºÑ 㪡Œ ®ËÁÒÂ

¨μÔ Ç·Ô ÂÒ หมายถงึ วชิ าทว่ี า ดว ยการศกึ ษาเกย่ี วกบั พฤตกิ รรม หรอื กริ ยิ าอาการของมนษุ ย
รวมถึงความพยายามที่จะศึกษาวามีอะไรบางหรือตัวแปรใดบาง ในสถานการณใดที่เกี่ยวของกับการ
ทาํ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมตา ง ๆ ซง่ึ ขอ มลู ดงั กลา วจะทาํ ใหส ามารถคาดคะเน หรอื พยากรณไ ดโ ดยใชแ นวทาง
หรอื วิธกี ารทางวิทยาศาสตรเ ปน เคร่อื งมือชว ยในการวเิ คราะห

ปญ หาดา นการจราจรทเ่ี กดิ ขนึ้ ทาํ ใหม คี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ทจ่ี ะตอ งมกี ารกาํ หนดวธิ กี าร
เชงิ กลยทุ ธใ หส งั คมไดร บั รถู งึ ปญ หา ตระหนกั วา เปน ปญ หาทสี่ าํ คญั ของสงั คม โดยมงุ เปา ไปยงั ทศั นคติ
และพฤตกิ รรมของประชาชนในการใชร ถใชถ นน วธิ กี ารทางจติ วทิ ยา หรอื จติ วทิ ยาจราจรไดถ กู นาํ มาใช
ในประเทศท่พี ัฒนาแลว ทงั้ หลาย อยา งเชน ประเทศญป่ี ุน เปน วิถที างในการเรยี นรคู วามจรงิ เก่ียวกบั
ปญ หาการขบั ข่ี และการใชพ ื้นที่ของถนนรวมกบั คนอนื่ ๆ และครอบคลมุ ในเรอื่ งของการใหการศกึ ษา
เพือ่ สรา งวัฒนธรรมความปลอดภัยดวย การบังคับใชก ฎหมายเปนเครอ่ื งมอื อยา งหนึ่งในทางจติ วทิ ยา
เพอ่ื ใหเ กดิ การแปลงพฤตกิ รรมทด่ี ใี นการใชร ถใชถ นน ขณะเดยี วกนั ตอ งคาํ นงึ ถงึ กระบวนการปรบั เปลยี่ น
พฤติกรรมใหครบกระบวนการ โดยเฉพาะอยางยิ่งตองแกไขสาเหตุนํากอนการกระทําพฤติกรรม
การขบั ข่ีที่ละเมิดกฎหมาย

ในสวนของการบังคับใชกฎหมายซึ่งเปนบทบาทสําคัญของตํารวจ ตองใหความสําคัญ
ตอการสรางการยอมรับ การบังคับใชกฎหมายของประชาชนและการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการขับขี่
ทดี่ ขี ้ึน ดงั นั้น จติ วทิ ยาการบังคบั ใชก ฎหมายตอ งเปนการบรู ณาการดวยหลกั การเบื้องตน ๔ ประการ
เขาดว ยกนั เพอ่ื ใหเกดิ ผลดงั ตอไปนี้คอื

ñ. ãËŒ»ÃЪҪ¹ÃѺÃÙŒ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂÁÒ¡¢éÖ¹ ซ่ึงไดแก การต้ังจุดตรวจ และ
ดา นจราจรในจดุ ตา งๆ ทเ่ี ดน ประชาชนเหน็ ไดช ดั เจน มกี ารเปลยี่ นสถานท่ี ความเขม งวดในการตรวจจบั
และเวลาท่ีออกไปตรวจจบั อยูเรอ่ื ยๆ และในแตล ะทีมงานควรมตี ํารวจอยหู ลายๆ คน มกี ารแตง กาย
ที่เหน็ เดน ชดั มีรายชอ่ื หัวหนา ชุดปฏิบัตกิ ารพรอ มหมายเลขโทรศพั ท

ò. ó礏ãËŒÁÕ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒ«íéÒËÅÒÂæ ¤Ãéѧ เพื่อยํ้าใหผูขับข่ีและผูโดยสาร
รถจกั รยานยนตท ราบวา มกี ารเสยี่ งในการถกู จับสูงไดใ นทุกที่และทุกเวลา หากมีการฝา ฝนกฎหมาย

ó. Á¡Õ Òúѧ¤ÑºãªÍŒ ‹ҧࢌÁ§Ç´áÅÐÊมํ่าàÊÁÍ ไมม ีการแบง แยกหรือเลือกปฏบิ ตั ิ ซึง่ จะ
นาํ ไปสูการเปลย่ี นแปลงอยางถาวรของพฤติกรรมของผูใชรถใชถนน

ô. à¼Âá¾Ã‹¢ŒÍÁÙÅ¡Òúѧ¤ÑºãªŒ¡®ËÁÒÂÍ‹ҧá¾Ã‹ËÅÒ ทั้งน้ีเพราะกฎหมายจราจร
เปนกฎหมายที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของผูใชรถใชถนนจึงตองอาศัยความรวมมือจากประชาชน
ทัว่ ไป

๑๘๒

ฉะนั้น การบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ตํารวจจราจร เพ่ือใหประชาชนปฏิบัติตาม
กฎหมายดวยการรักษาวินยั ในการขับข่ี หรอื โดยสารยวดยานพาหนะ แมก ฎหมายไดม ขี อบังคบั ไวแลว
ก็ตาม แตก็ไมไดหมายความวาผูใชรถใชถนนจะไมฝาฝนกฎหมายจราจร ตรงกันขามผูขับขี่กลับมอง
ไมเ หน็ ความสาํ คญั ของกฎหมายจราจรดว ยซา้ํ ไป เนอื่ งจากเหน็ วา มโี ทษเลก็ นอ ย เปน เหตใุ หก ารปฏบิ ตั งิ าน
ถูกผูบังคับบัญชา หรือแมแตประชาชนท่ัวไป ตําหนิติเตียน วาไมเขมงวดในการบังคับใชกฎหมาย
จนเกดิ การกระทาํ ความผดิ กฎจราจรอยา งตอ เนอื่ ง และกลายเปน วฒั นธรรมทปี่ ฏบิ ตั ติ ามกนั มาอยา งผดิ ๆ
จิตวิทยาการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่ตํารวจจึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่ตํารวจตองเรียนรู
โดยเฉพาะอยางยิ่ง การปฏิบัติหนาที่ของตํารวจในยุคศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงเปนยุคของโลกแหงการใช
เทคโนโลยี สังคมออนไลน (Social Media) หมายถึง สังคมท่ีมีการตอบสนองไดหลายทิศทาง
โดยผานเครือขายอินเทอรเน็ต ซ่ึงก็คือ เว็บไซต ที่บุคคลบนโลกน้ีสามารถมีปฏิสัมพันธโตตอบกันได
ขณะนเ้ี ทคโนโลยเี วบ็ ไดพ ฒั นาเขา สยู คุ ๔.๐ มกี ารพฒั นาเวบ็ ไซตท เี่ รยี กวา Web application คอื เวบ็ ไซต
ท่ีมีโปรแกรมตางๆ มีการตอบโตกับผูใชงานมากข้ึน ซึ่งก็เปนประโยชนตอการพัฒนางานเจาหนาท่ี
ตํารวจ ขณะเดียวกันก็เปนสื่อที่ตํารวจตองระมัดระวังเน่ืองจากความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี
ก็ทําใหคนรายใชเปนเคร่ืองมือในการจับผิดการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจในหลายรูปแบบ เชน
เมื่อไมพอใจการปฏิบัติงานของตํารวจก็จะหลอกลอใหตํารวจตกเปนเครื่องมือทางอารมณ
แลว แอบถา ยคลปิ วดิ ีโอ ซ่งึ เจาหนาท่ีอาจถูกกลนั่ แกลงโดยรูเทาไมถ งึ การณไ ด

การบงั คบั ใชก ฎหมายจงึ มสี ถานะเปน กลไกการลงโทษเพอ่ื ทาํ ใหพ ฤตกิ รรมทไี่ มเ หมาะสมยตุ ลิ ง
อยางไรก็ตาม ¹Ñ¡¨ÔμÇÔ·ÂÒ์¹ÂéíÒÇ‹Ò ¡ÒÃŧâ·É·ÕèÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡ÒûÃѺà»ÅÕè¹¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¹Ñé¹
¨ÐμÍŒ §à»¹š ä»â´Â·èÕ¼ÙŒ·¶Õè ¡Ù »ÃѺà»ÅèÕ¹¾Äμ¡Ô ÃÃÁÃºÑ ÃŒÙ (ãËŒ¤ÇÒÁÃ)ŒÙ ÇÒ‹ ¼Œ·Ù Õèŧâ·É (ตาํ ÃǨ) ¡ÃÐทํา
¡ÒÃŧâ·É´ŒÇÂà¨μ¹Ò·èÕ´Õ ÁØ‹§ËÇѧãËŒ¼ÙŒ¶Ù¡Å§â·Éä´Œ»ÃÐ⪹¨Ò¡¡ÒûÃѺà»ÅÕè¹¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¹éѹ
Í¡Õ ·§éÑ ¡ÒÃŧâ·É¨ÐμÍŒ §äÁท‹ าํ ã˼Œ ¶ŒÙ ¡Ù ŧâ·ÉÃʌ٠¡Ö ÇÒ‹ μ¹àͧä´ÃŒ ºÑ ¡ÒÃŧâ·É·äÕè Áà‹ »¹š ¸ÃÃÁ ËÃÍ× Ã¹Ø áç
à¡¹Ô ä»Í¡Õ ´ÇŒ  เนอ่ื งจากการลงโทษทร่ี นุ แรงจะทาํ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมการตอ ตา น ดงั นนั้ เจา หนา ทตี่ าํ รวจ
จราจรจงึ จาํ เปน ตอ งใชศ ลิ ปะทด่ี ใี นการบงั คบั ใชก ฎหมายเพอื่ ใหผ ขู บั ขย่ี อมรบั การบงั คบั ใชก ฎหมายนน้ั
ไมเ กิดการตอตาน หรอื มีทัศนคตทิ ีไ่ มด ีตอ ตาํ รวจ อกี ท้ังเกิดการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการใชรถใชถนน
ทเ่ี ปนไปตามกฎหมายจราจรในที่สุด

ÈÅÔ »Ð¡Òúѧ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒ¨ÃÒ¨Ãã¹ºÃºÔ ·Êѧ¤ÁÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â
เจา หนา ทต่ี าํ รวจจะตอ งแสดงบทบาทหนา ทด่ี งั ตอ ไปนใี้ หป รากฏแกส งั คมโดยทวั่ กนั ในพนื้ ที่
รบั ผดิ ชอบของแตล ะสถานเี พอื่ ใหส รา งความเขา ใจจนกลายเปน กระแสเชงิ บวกในสงั คม และเปน การสรา ง
ความชอบธรรมในการปฏิบัติหนาที่ในการบังคับใชกฎหมายจราจรในบริบทที่สังคมไทยยังไมสามารถ
แกไขเหตปุ จ จยั นําท่ีทําใหเกดิ พฤตกิ รรมที่ไมเ หมาะสมได ดังนี้
ñ. ËҾǡ

การเดินเขาหาภาคีเครือขาย ผูมีสวนไดเสียในทุกกลุม ทุกอาชีพ และสรางความ
สมั พนั ธท แี่ นน แฟน ในบรบิ ทของการทาํ งานรว มกนั โดยทตี่ าํ รวจเปด พนื้ ทใ่ี หภ าคเี ครอื ขา ยไดม สี ว นรว ม

๑๘๓

ในทกุ ขนั้ ตอนของกระบวนการทาํ งานนนั้ นอกจากจะทาํ ใหต าํ รวจมพี ลงั มวลชนในการรว มทาํ งานแลว
ยังชวยเสริมสรางพลังอํานาจแกตํารวจในกรณีที่มีการตอตาน ตอรอง ขัดขืนการบังคับใชกฎหมาย
อกี ดว ย

สงิ่ ทค่ี วรตระหนกั คอื อยา คดิ ตดิ กรอบเพยี งการตดิ ตอ เชอ่ื มความสมั พนั ธก บั กลมุ ภาคี
เครือขายท่ีเปนกลุมคนทํางานแตเพียงเทาน้ัน กลุมผูใชรถใชถนนก็นับวาเปนภาคีเครือขายที่สําคัญ
เชน เดยี วกนั ไมว า จะเปน นกั เรยี น นสิ ติ นกั ศกึ ษา คนงาน กลมุ แมบ า น แมค า คนขบั รถโดยสารประจาํ ทาง
เปน ตน

อีกท้ังการสรางความสัมพันธก็ไมควรจํากัดวงกิจกรรมอยูเพียงการทํางาน ประชุม
หารือรวมกันแตเพียงเทานั้น หากแตการเลนกีฬา การจัดกิจกรรมสันทนาการตางๆ ก็สามารถสราง
ความสัมพันธที่แนนแฟนและนํามาซึ่งความรวมมือที่ดีท่ีอาจจะมากกวาการทําบันทึกขอตกลงรวม
(MOU) ดวย ดังท่ีพบวาหนวยงานราชการ หรือสถานศึกษาหลายแหงทํา MOU รวมกับตํารวจ
แตก็มิไดดําเนินการอยางเขมแข็งเทาท่ีควร ดังน้ัน การสรางเครือขายจึงควรเริ่มตนดวยการมุงเนนท่ี
คุณภาพมากกวามุงเนนปริมาณ เม่ือความสัมพันธมีความใกลชิดแนนแฟนแลวจึงเพ่ิมจํานวนภาคี
มากขนึ้ เรอื่ ยๆ ทงั้ นต้ี าํ รวจควรเรม่ิ ตน เดนิ เขา หาภาคที เ่ี ปน กลมุ เปา หมายทเี่ ฉพาะเจาะจงกบั ปญ หาดว ย

ท้ังนี้ ตํารวจจราจรอาจจะใชเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบตางๆ เพ่ือสรางกลุม
ทางสังคมใหมีความใกลชิดกันมากยิ่งขึ้น มีการติดตอสัมพันธกันโดยมีกิจกรรมในการทํางานดานการ
จราจรรว มกันในรูปแบบตา งๆ เชน การใชร ะบบไลนกลุม Social Network เปน ตน การทํางานรวมกัน
เปน โซนและการมองเหน็ ความเหมอื นความตา งระหวา งโซนอน่ื ๆ ในมติ เิ รอื่ งตา งๆ นน้ั อาจจะสามารถ
สรา งบรรยากาศในการรว มมอื ทเี่ ขม แขง็ มากขน้ึ ทงั้ นเ้ี จา หนา ทต่ี าํ รวจจะตอ งทาํ การพจิ ารณาตามบรบิ ท
ของสังคม วัฒนธรรมทีแ่ ตกตางกันไปในแตท อ งท่ี กลยุทธท่ดี ีของทแี่ หงหนง่ึ อาจจะไมเหมาะสมกบั อีก
แหง หน่ึงกไ็ ด

ส่ิงท่ีสําคัญในการเสริมพลังอํานาจใหตํารวจสามารถบังคับใชกฎหมายไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ลดการตอ ตา น และสรา งการยอมรบั จากประชาชนสว นรวมได คอื การสือ่ สารผานส่อื
ตางๆ ที่มากพออยางทั่วถึง และตอเน่ืองถึงการกระทําของตํารวจทุกๆ กิจกรรม เนื่องจากจะทําให
ประชาชนรบั รขู า วสารอยา งตอ เนอื่ ง ซมึ ซบั เขา ไปในภาพจาํ วา “ตาํ ÃǨÁ¤Õ ÇÒÁÁ§‹Ø Á¹èÑ Á¤Õ ÇÒÁ¾ÂÒÂÒÁ
㹡Òû¯ÔºμÑ Ô˹ŒÒ·ÕÍè ‹ҧàμçÁ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ¶§Ö áÁŒÇÒ‹ ¨Ðทาํ §Ò¹´ÇŒ ¤ÇÒÁ¢Ò´á¤Å¹·Ã¾Ñ ÂÒ¡ÃμÒ‹ §æ
â´ÂÁàÕ ¨μจํา¹§à¾×Íè ãË»Œ ÃЪҪ¹ Êдǡ ÃÇ´àÃÇç áÅж֧·ÕèËÁÒÂÍÂÒ‹ §»ÅÍ´ÀÂÑ ”

ò. 㪢Œ ŒÍÁÅ٠໹š ÍÒÇظ·Ò§»˜ÞÞÒ㹡Ò÷íÒ§Ò¹
ตํารวจจราจรตองทํางานอยางมืออาชีพ (Professional) น่ันหมายความวา ตองใช

หลกั วชิ าการ มขี อ มลู ในระดบั พน้ื ทที่ ส่ี ามารถนาํ มาใชป ระโยชนใ นการโนม นา ว ชกั จงู วางแผนการทาํ งาน
ท้ังในสวนของตํารวจ และในสวนท่ีตองการใหภาคีเครือขายและผูมีสวนไดเสียเห็นความสําคัญ
เห็นความจําเปนที่จะตองเขามารวมมือกันในการแกไขปองกันพฤติกรรมการขับข่ีท่ีละเมิด
กฎหมายจราจร

๑๘๔

การนําขอมูลที่เฉพาะเจาะจง ที่เกิดข้ึนในพื้นที่แตละแหงมาใชน้ันจะสามารถสราง
ความตระหนักในปญหาที่ทําใหประชาชนรับรูวาเปนปญหาใกลตัวไดมากกวาการใชขอมูลระดับชาติ
ที่ไมเ ฉพาะเจาะจง

อีกทั้งขอมูลจะทําใหการทํางานของตํารวจภายใตทรัพยากรท่ีจํากัดเปนไปอยางมี
ประสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ดว ย เรยี กไดว า สามารถแกป ญ หาตามความสาํ คญั กอ นหลงั สามารถแกป ญ หาได
ถูกที่ ถูกคน ถูกเวลา โดยใชข อมลู ที่มปี ระสทิ ธิภาพในการตดั สนิ ใจ การทํางานอยา งมอื อาชพี น้ีจะสรา ง
ศรัทธาและการยอมรับที่ดีในที่สดุ

ó. ¡ÒûÃЪÒÊÁÑ ¾Ñ¹¸ã ¹§Ò¹¨ÃÒ¨Ã
“วิสัยทัศน” ในการประชาสัมพันธในงานจราจร “การสรางภาพลักษณที่ดี และการ

สื่อสารงานจราจรสูสงั คม”
ó.ñ ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾¹Ñ ¸ã¹§Ò¹¨ÃÒ¨Ã
สามารถจาํ แนกองคป ระกอบสาํ คญั ของการประชาสมั พนั ธอ อกเปน ๔ ประการ

คือ
๑. องคกร สถาบนั หรือหนวยงานในงานจราจร หนว ยงานจราจรแตละ สภ.

ศูนยปฏิบัตกิ ารจราจร
๒. ขาวสารประชาสัมพันธในงานจราจร ขอมูลเก่ียวกับเสนทาง ทางลัด

ถนนเสีย การเปดปดถนนเปนชวงเวลา การยายสถานที่ราชการ หางราน การซอมผิวทาง
ขบวนแหประเพณีตางๆ

๓. สื่อประชาสัมพันธในงานจราจร สวนใหญตํารวจมักจัดทําเปนแผนปาย
ปายสัญลกั ษณ การออกรายการวทิ ยุ ทวี ที องถิ่น หนังสอื พมิ พท อ งถ่ิน ในปจจุบันมสี อ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส
ทีใ่ ชใ นชีวิตประจําวนั มากข้ึน แมจะเขา ถงึ ไดน อ ยราย แตสามารถแพรขา วไดอยางรวดเรว็ เชน เฟซบกุ
(facebook) ไลน (line)

๔. กลุมประชาชนเปาหมายของการประชาสัมพันธในงานจราจร ไดแก
กลุม บุคคลหรอื ประชาชนทีเ่ ปนเปา หมายในการสอื่ สารประชาสัมพันธค รงั้ น้นั ๆ ดงั น้ี

๔.๑ กลุมประชาชนภายใน เจาหนา ที่ตาํ รวจทุกนาย ไวส ําหรบั สอื่ สาร
รับคาํ สง่ั แสดงผลการปฏบิ ัติ

๔.๒ กลุมประชาชนภายนอก กลุมประชาชนทว่ั ไป
ó.ò ¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾¹Ñ ¸à ª§Ô Ã¡Ø (Pro-active Public Relation)

หมายถึง การประชาสัมพันธที่มีการชี้แจงและใหความรูความเขาใจกับกลุม
เปาหมายโดยตรง โดยมีการวางแผนไวลวงหนากอนที่จะมีกิจกรรม หรือเหตุการณใด เพื่อใหเกิด
ความยอมรบั และความรว มมือ

๑๘๕

Â·Ø ¸ÈÒÊμᏠÒûÃЪÒÊÁÑ ¾¹Ñ ¸àªÔ§ÃØ¡ ÁÕ ô »ÃСÒà ¤×Í
ñ. Â·Ø ¸ÈÒÊμÏ¡ÒÃà¼Âá¾Ã‹¢‹ÒÇÊÒà »ÃСͺ´ŒÇÂ

๑.๑ มีการวางแผนปฏบิ ตั กิ ารประชาสัมพันธ
๑.๒ เนน ความชัดเจนของการกาํ หนดวิธกี ารตางๆ
๑.๓ ดําเนินยทุ ธวิธตี ามแผนใหครบถว น
ò. Â·Ø ¸ÈÒÊμᏠÒêѡ¨Ù§ã¨ »ÃСͺ´ÇŒ Â
๒.๑ การกําหนดแผน หรือวิธีการท่ีจะจูงใจประชาชนกลุมเปาหมาย
ใหเ หน็ พอ งกับเนอ้ื หาท่ีนาํ ไปประชาสมั พันธอ ยางเปนขนั้ ตอน
๒.๒ นําขาวสารใหถึงผูรับสารกลุมเปาหมายโดยตรงแบบเผชิญหนา
(face to face)
ó. ÂØ·¸ÈÒÊμÏ¡ÒèѴͧ¤¡Òà ໚¹¡ÒÃกํา˹´μÑǺؤ¤Åทํา§Ò¹ μŒÍ§ãªŒ
ºØ¤Åҡ÷ÁÕè Õ¤³Ø ÊÁºμÑ ´Ô ѧ¹Õé
๓.๑ เปนนักประชาสัมพันธท่ีแทจริง เปนผูชํานาญในวิชาชีพ
การประชาสมั พันธ
๓.๒ มภี ูมปิ ญญา
๓.๓ มคี วามรับผิดชอบ
๓.๔ มีความรอบรใู นงานหลายสาขาวิชาชพี
๓.๕ มคี วามอดทน เสียสละ มานะ สงู าน
๓.๖ มีจรรยาบรรณ
๓.๗ ไมหวนั่ ตอ ปญ หา
ô. Â·Ø ¸ÈÒÊμÏ¡ÒÃäμÃμ‹ Ãͧ เปนการทบทวนและใครค รวญการดาํ เนนิ การ
ประชาสัมพันธที่ดําเนินไปแลว เพื่อจะไดปรับแผนหรือแกไขปญหาใหสอดคลองกับเหตุการณท่ีกําลัง
เผชิญอยูไดท นั ทว งที

การส่ือสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ การส่ือสารเชิงรุก
๑. กอ เสริมสรา ง ๑. ใหค วามรู
๒. กนั ปองกนั ๒. สรา งความเขา ใจ
๓. แก รกั ษา ๓. เนน การแสดงออก
๔. กู ฟนฟู ๔. รวดเร็วฉับไว
๕. ตรงประเดน็

๑๘๖

ó.ó ¡ÒÃãªÊŒ Íè× »ÃЪÒÊÁÑ ¾¹Ñ ¸μÒ‹ §æ 㹧ҹ¨ÃÒ¨Ã
ñ. ÊÍ×è ºØ¤¤Å ประกอบดวย
- สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาติ
- กองบญั ชาการ
- กองบงั คับการ
- กองกาํ กบั การ
- ขา ราชการตาํ รวจ
- บคุ คลท่ีมชี ่ือเสยี งหรือผูน าํ ชมุ ชน
ò. ÊÍ×è ʧèÔ ¾ÔÁ¾ ประกอบดวย
- ใบปลวิ แผน พับ โปสเตอร
- จดหมายขา ว
- ปา ยประกาศ
- สตกิ๊ เกอร
- แผน ปา ยประชาสมั พันธ
ó. Ê×èÍÁÇŪ¹ ประกอบดว ย
- สถานีวิทยุขาวสารดา นจราจร ระดับประเทศ/ระดบั ทองถ่นิ
- โทรทศั น
- หนงั สือพมิ พ
- นติ ยสาร
- ภาพยนตร
- เครอื ขา ยท่ใี ชใ นการประชาสัมพนั ธ (Connection)
ô. ÊÍè× ¡¨Ô ¡ÃÃÁ ประกอบดว ย
- นิทรรศการ
- โครงการ
- การประกวด
- การแขงขัน
- การรณรงค
õ. ÊèÍ× âÊμ·ÈÑ ¹ ประกอบดวย
- ปา ยสลบั ขอความ
- เวบ็ ไซต
- Application
- Line
- Facebook
- Video Clip
- Spot โฆษณา

๑๘๗

ó.ô à·¤¹Ô¤¡ÒÃ㪌Ê×Íè »ÃЪÒÊÑÁ¾Ñ¹¸
● สะดวกในการเขาถึงหลายชองทาง
● งายตอ การจดจํา
● รวดเร็วและทันสถานการณ
● ใชข อ ความท่ที นั สมัย เขาใจงา ยและนา สนใจ

ó.õ ÀÒ¤Õà¤Ã×Í¢‹Ò»ÃЪÒÊÁÑ ¾Ñ¹¸
● ปจจัยแหงความสําเร็จในงานประชาสัมพันธ คือ การมีสวนรวม

ทุกภาคสวนท้ังภายในและภายนอกองคกรอยางเขมแข็ง เชน ชุมชน ผูนําทองถ่ิน หนวยราชการ
ส่ือมวลชน สถานศกึ ษา เอกชน ฯลฯ

● การสรางสอ่ื สมั พันธก บั องคก รภายในและภายนอกองคก ร
● ส่ือมวลชนทุกแขนงเพื่อสรางสัมพันธไมตรี/ทุกภาคสวนท้ังภาครัฐ
และเอกชน
● การสง ขาวสารเปนไปอยางตอเนอ่ื งและชัดเจน
● ตดิ ตอ ประสานงานโดยขอหมายเลขโทรศพั ท e-mail, line หรอื เทคโนโลยี
การสงขอมูลอนื่ ๆ ท่สี ะดวก
● มีการสรางความสัมพันธท่ีดีโดยมีการนัดกับสื่อและองคกรภายใน
เดอื นละ ๑ คร้งั หรอื ประชมุ หรือในรปู แบบสภากาแฟ

¡ÒûÃЪÒÊÑÁ¾¹Ñ ¸· ´Õè ·Õ ÊÕè ش㹧ҹ¨ÃҨà ¤Í×
“à¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õตè าํ ÃǨ·Ø¡¹Ò”

º·ÊÃØ»
การทงี่ านประชาสมั พนั ธข องหนว ยงานจราจรจะดาํ เนนิ ไปไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ยอ มขนึ้
อยูกับปจจัยหลายๆ ดาน ที่สําคัญท่ีสุดคือ ตัวของขาราชการตํารวจจราจรซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีอยูบน
ทองถนนนั่นเอง ถาพวกเขามีการประชาสัมพันธท่ีดี มีความสามารถในการประชาสัมพันธใหแก
หนวยงาน รูจักการสรางความเขาใจอันดีใหเกิดแกประชาชน หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของแลว
งานประชาสมั พนั ธของหนวยงานจราจรก็ยอ มจะประสบผลสําเรจ็ ไดโดยงา ย
ตาํ รวจจราจรทเี่ ปน นกั ประชาสมั พนั ธ จะตอ งเปน ตาํ รวจทท่ี าํ งานเพอื่ การสรา งสรรค ธาํ รงไว
ซ่ึงความสัมพันธอันดีงามระหวางหนวยงานจราจรกับกลุมประชาชน ตํารวจที่วานี้ไมจําเปนตองเปน
ตาํ รวจทมี่ รี ปู รา งหนา ตาดี มบี คุ ลกิ ทชี่ วนตอ งตาผพู บเหน็ หรอื คลอ งแคลว พดู เกง เสมอไป แตส รปุ แลว
ควรจะตองเปนผูมีคุณสมบัติดังน้ี คือ เฉลียวฉลาด ซ่ือสัตยสุจริต มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค
มคี วามสามารถในการเขียน พดู ไดดี มคี ณุ ธรรม กลาทจี่ ะทําในสง่ิ ท่ีถูกตอ ง รูจักข้นั ตอนในการทาํ งาน
และที่สําคัญท่ีสุดก็คือ ตองมีความรูในการประชาสัมพันธเปนอยางดี จึงจะเปนนักประชาสัมพันธ
ทสี่ มบูรณแบบได

๑๘๘

ตาํ รวจไทยทกุ คนตอ งตระหนกั วา วชิ าชพี ของตนเองนนั้ ยอ มจะตอ งเกย่ี วขอ งกบั ประชาชน
ไมท างตรงกท็ างออ ม การศกึ ษาวา ทาํ อยา งไรจงึ จะสามารถเขา กบั ประชาชนไดด ี จงึ เปน เรอ่ื งทน่ี า สนใจ
ยอมหวังวาถา ไดศกึ ษาเรยี นรเู ขาใจถึงหลกั การประชาสัมพันธแลว ก็นา จะนาํ วชิ าความรูท่ีไดร ับนไ้ี ปใช
ใหเ ปน ประโยชนใ นการทาํ งานตอ ไปได สดุ ทา ยนข้ี อฝากคตเิ ตอื นใจสาํ หรบั ตาํ รวจจราจรทต่ี อ งการเปน
นกั ประชาสมั พนั ธท ด่ี วี า “ภาพลกั ษณข องเราจะดหี รอื เลว เปน ผลมาจากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ขิ องตวั เราเอง
โดยแท” (the result of our conduct) ซงึ่ เปน คติของ ARISTOTLE นกั ปราชญผ ูย่ิงใหญของโลก
ท่ีกลา วไวเ มือ่ หลายพันปมาแลว และก็ยงั คงเปน อมตะอยเู สมอตราบจนทุกวนั นี้

ô. ¡Òú§Ñ ¤Ñºãª¡Œ ®ËÁÒ·ËÕè ÅÒ¡ËÅÒÂáÅÐàËÁÒÐÊÁ
การบงั คบั ใชก ฎหมายเพอื่ การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมนนั้ เปน ขน้ั ตอนสดุ ทา ยทน่ี าํ มาใช

ภายหลังจากมีการใชกลยทุ ธต า งๆ อยา งครบถวนมาระยะเวลาหน่ึงแลว นนั่ หมายถงึ ตํารวจตองผา น
ขนั้ ตอนการกระทําดังตอไปนม้ี าแลว

๑) มีการรวบรวมขอมูล และนําเสนอขอมูลที่เปนปญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนแหงนั้น
แลว จนทําใหประชาชนตระหนักเห็นปญหา และเกิดความเขาใจวาตํารวจมีความต้ังใจ มุงมั่นที่จะ
แกป ญหาเพอ่ื ใหป ระชาชนไดรบั ผลประโยชนจากการแกไ ขปองกันปญหาเหลาน้นั

๒) มกี ารสรา งภาคเี ครอื ขา ยทม่ี คี ณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย มคี วามเปน ผมู สี ว นไดเ สยี
ทุกภาคสวน และมีจํานวนท่ีมากพอโดยมีความสัมพันธท่ีดีตอกันระหวางตํารวจจราจรกับภาคี
เหลานนั้

๓) มีการสอ่ื สารในรปู แบบตางๆ จนสามารถสรา งกระแสทางสงั คมในระดับชุมชน
ท่ีตอ งการแกป ญหา จนเปน ที่รบั รกู นั อยางทัว่ ถึง ชดั เจน

๔) มีการส่ือสารใหเห็นวาตํารวจคํานึงถึงความสะดวก ความปลอดภัยในชีวิต
และทรัพยสนิ ของประชาชนเปน สาํ คัญ และมงุ มัน่ ทาํ เพอ่ื ใหประชาชนในชุมชนปลอดภยั และผาสกุ

๕) ดําเนินการบังคับใชกฎหมายในระดับที่มีความรุนแรงนอยและเพิ่มระดับ
ตามพฤติกรรมการกระทําผิด โดยจะตองยึดมั่นในหลักความยุติธรรมในการบังคับใชกฎหมาย
และแสดงใหป ระชาชนเหน็ ความโปรงใสในการดาํ เนนิ การเพื่อสรา งศรัทธาและความเช่อื มั่น

ท้ังนี้ ควรดําเนินการสื่อสารทางสังคมอยางตอเนื่องโดยเปล่ียนแปลงกลยุทธ
ในการสอ่ื สารดวย เพอื่ ดึงดูดความสนใจ สรา งการจดจาํ และการยอมรับ

º·ÊûØ
จิตวิทยาสังคมกับการบังคับใชกฎหมายจราจร เปนการท่ีตํารวจจราจรพึงตระหนักวา
การทาํ งานของตาํ รวจเปน ปฏบิ ตั กิ ารทางสงั คมจติ วทิ ยาโดยมเี ปา หมายเพอ่ื เปลย่ี นและสรา งพฤตกิ รรม
การใชรถใชถนนของประชาชนใหเปนไปอยางปลอดภัยและเคารพสิทธิในการใชรถใชถนนซึ่งเปนพื้นท่ี
สาธารณะรว มกนั

๑๘๙

การปฏิบัตกิ ารทางสงั คมจติ วิทยา มดี ังตอไปนี้
๑. ทบทวน พัฒนาตนเอง เพ่ือสรางศรัทธาและการยอมรับ โดยใชหลัก “สุภาพบุรุษ
จราจร”
๒. เขาใจประวัติศาสตร สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของประชาชนที่เก่ียวของกับ
การใชร ถใชถ นนอยา งลกึ ซงึ้ เพอ่ื ทาํ ความเขา ใจสาเหตขุ องปญ หากอ นคดิ วางแผนแกไ ขปญ หาไดอ ยา ง
ตรงเปา หมาย
๓. ใหความสําคัญกับการจัดเก็บขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือนําขอมูลมาใชประโยชน
ใหมากทส่ี ุด เรยี กวาเปนการทาํ งานในรปู แบบตาํ รวจมืออาชีพ
๔. แสดงบทบาทของนักส่ือสารมวลชนในทุกรูปแบบ และเปดชองทางการส่ือสาร
ที่สามารถเขาถงึ กลุมเปา หมายใหไดมากท่สี ดุ เพือ่ สรางความรู ความประทบั ใจ ความเชือ่ มัน่ ศรทั ธา
รว มกันกบั ประชาชน โดยทํางานเปน ทีมในแนวระนาบ และใหเกียรติกบั ทุกๆ ฝา ย อีกทั้งพึงหลีกเลี่ยง
การแสดงภาพเดนเพียงลาํ พงั หรือเฉพาะกลมุ เทา น้ัน เพือ่ ปองกนั การเกดิ กลุมตรงขา ม
๕. เทคนคิ การสอื่ สารจะตอ งทาํ ใหเ หน็ เนอื้ หาสาระของความพยายามอยา งแรงกลา ของ
ตาํ รวจที่จะกระทาํ ทกุ วิถีทางในการรกั ษาชวี ติ และทรัพยส นิ ของประชาชนในการใชรถใชถ นน นําเสนอ
อยางตอเนื่อง ใชวิธีการส่ือสารที่หลากหลาย เปล่ียนแปลงไปตามบริบทสถานการณเพื่อสราง
ความสนใจในการรบั สาร
๖. สรา งดา นในการปะทะกอ นการปะทะกบั ตาํ รวจ โดยการใชพ ลงั มวลชนทม่ี พี ลงั อาํ นาจ
ในการปองกันหรือบังคับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กอนที่จะถึงขั้นการดําเนินการบังคับใชกฎหมายของ
ตาํ รวจ
ยกตวั ยา งเชน ทมี เจา หนา ทตี่ าํ รวจจราจรของสถานตี าํ รวจแมร มิ จงั หวดั นา น สรา งความสมั พนั ธ
อยางเขมแข็งกับภาคีเครือขายทุกภาคสวนโดยเฉพาะอยางย่ิงกลุมผูนําชุมชนซ่ึงเปนผูนําเชิง
บารมแี ละใหข อ มลู ใหแ นวทางแลกเปลย่ี นโนม นา วใหผ นู าํ เหลา นเี้ กดิ แรงบนั ดาลใจในการชว ยรกั ษาชวี ติ
ของชาวแมร ิมจากอบุ ัตเิ หตทุ างถนน ทาํ ใหผูนํามสี ว นรวมอยา งเขมแข็งในรูปแบบตา งๆ เชน การสรา ง
กฎระเบยี บหมบู า นในการปกครองดแู ล บงั คบั ควบคมุ พฤตกิ รรมระหวา งกนั การสอ่ื สารโดยการใชเ สยี ง
ตามสายเพอ่ื เตอื นลกู บา น และเยาวชนใหส วมหมวกนริ ภยั “พนี่ อ งทกุ ทา น วนั นจ้ี ะขบั ขร่ี ถมอเตอรไ ซค
อยาลืมใสหมวกกันน็อกดวย หากทานไมใสนอกจากจะเปนการปองกันอันตรายแลว ยังจะถูกตํารวจ
จับดวย ตํารวจแจง มาวา ต้ังแตน ี้จะจบั จรงิ แลว ปรับ ๕๐๐ บาท และไมสามารถชว ยไดด ว ย จึงขอเตอื น
พีน่ อ งไว อยา ลืมสวมหมวกกันน็อกดวย”
การกระทาํ ดงั กลา วจะเปน การลดแรงกดดนั ลดการตอ ตา นและสรา งการยอมรบั การบงั คบั
ใชก ฎหมายโดยประชาชนยังมีทัศนคตทิ ่ดี ตี อ ตํารวจดว ย

๑๙๐

õ.ò ·¡Ñ ÉÐ㹡Òú§Ñ ¤Ñºãª¡Œ ®ËÁÒÂ

การบังคับใชก ฎหมายจราจร หมายถงึ การบังคับใหผใู ชรถใชถ นนไดป ฏิบัติตามกฎหมาย
ขอบังคับเกี่ยวกับการจราจร การขนสงทางบก เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม และเพ่ือ
เปน การสรา งวนิ ยั ในการขบั ขใ่ี หแ กป ระชาชนผใู ชร ถใชถ นน การบงั คบั ใชก ฎหมายจราจร เปน มาตรการ
ทสี่ าํ คญั มาตรการหนง่ึ ในการแกไ ขปญ หาจราจร ซงึ่ การบงั คบั ดว ยกฎหมายใหผ ใู ชร ถใชถ นนตอ งปฏบิ ตั ิ
ตามกฎหมายจราจร เพอ่ื ใหเ กดิ ความเรยี บรอ ยในสงั คม โดยมจี ดุ ประสงคเ พอื่ ทจ่ี ะเปน การขม ขมู ากกวา
จะเปน การแกแ คน ผกู ระทาํ ความผดิ กฎหมายจราจรทอี่ อกมาใชบ งั คบั กเ็ พอื่ ความสะดวกและปลอดภยั
ของผูใชรถใชถนน วิธีการท่ีจะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีประสิทธิภาพ ก็โดยผานการดําเนินการ
ตามกระบวนการยตุ ธิ รรม ซงึ่ หมายความวา หนว ยงานในกระบวนการยตุ ธิ รรม คอื ตาํ รวจ อยั การ ศาล
และราชทัณฑ จะตองประสานกันในการท่ีจะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีความแนนอน รวดเร็ว
เสมอภาค และมีโทษท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะทําใหกฎหมายมีผลใชบังคับในการขมขูยับยั้งใหคนเกิด
ความเกรงกลัวและไมกลา ท่ีจะกระทาํ ผิด ความแนน อน รวดเร็ว เสมอภาค และการมโี ทษทเ่ี หมาะสม
สาํ หรับการบงั คับใชกฎหมายแยกออกพจิ ารณา ดงั น้ี

๒.๑ การบังคบั ใชก ฎหมายตอ งมีความแนนอน
การทาํ ใหก ารบงั คบั ใชก ฎหมายมคี วามแนน อน หมายความวา จะตอ งทาํ ใหผ กู ระทาํ

ความผดิ มคี วามรสู ึกวามโี อกาสทจ่ี ะถูกจับกมุ และถกู ลงโทษ เมอ่ื มกี ารกระทําความผดิ หากเมอื่ มกี าร
กระทําความผิดเกิดข้ึนมาแลว ผูกระทําความผิดสามารถหลีกเลี่ยงการถูกจับกุม และการถูกลงโทษ
ไปไดแ ลว ผกู ระทาํ ความผดิ กจ็ ะไมเ กดิ ความเกรงกลวั เพราะคดิ วา มโี อกาสทจ่ี ะหลดุ รอดจากการถกู จบั กมุ
ไปได และคมุ คา ทจี่ ะเสย่ี งตอ การกระทาํ ความผดิ เนอ่ื งจากมโี อกาสทจี่ ะไดร บั ประโยชนจ ากการกระทาํ
ความผดิ แตผ ลเสียไมมี หรือมีโอกาสท่ีจะไดร ับผลเสยี นอยมาก

๒.๒ การบังคบั ใชกฎหมายตอ งมีความรวดเรว็
การทจี่ ะทาํ ใหก ารบงั คบั ใชก ฎหมายมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากจะตอ งทาํ ใหก ารบงั คบั

ใชก ฎหมายมคี วามแนน อนแลว ยงั จะตอ งทาํ ใหก ารบงั คบั ใชก ฎหมายมคี วามรวดเรว็ ดว ย ทวี่ า การบงั คบั
ใชกฎหมายมีความรวดเร็ว หมายความวา หลังจากท่ีมีการกระทําความผิดเกิดขึ้นแลว จะตองมีการ
จับกุมลงโทษผูกระทําความผิดใหไดอยางรวดเร็ว เพ่ือใหผูกระทําความผิดเกิดความเกรงกลัวไมกลา
กระทาํ ความผดิ อกี ซง่ึ ตา งกบั กรณที มี่ กี ารกระทาํ ความผดิ เกดิ ขน้ึ แตส ามารถจบั กมุ ไดเ มอ่ื เวลาทลี่ ว งเลย
มา ๓-๔ ป แลว ผลในการขม ขูย บั ยงั้ จะลดลง เพราะคนโดยทว่ั ไปจะมองไมเ หน็ ตวั อยางหรอื ผลรา ย
ท่ีไดรับจากการกระทําความผิด เชน มีคดีฆาตกรรมอยางโหดเห้ียม เปนขาวตามหนาหนังสือพิมพ
แตไ มส ามารถจบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ มาลงโทษไดอ ยา งรวดเรว็ หรอื จบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ ไดเ มอื่ ระยะ
เวลาไดผ า นไปแลว ๒-๓ ป ประชาชนกจ็ ะลมื เหตกุ ารณด งั กลา ว หรอื กรณที ม่ี กี ารจบั กมุ ไดอ ยา งรวดเรว็
แตก ารพจิ ารณาคดเี ปน ไปอยา งลา ชา ใชเ วลา ๒-๓ ป แมผ กู ระทาํ ความผดิ จะถกู ลงโทษ แตป ระชาชนกอ็ าจ
จะลมื เลอื นเหตกุ ารณท เ่ี กดิ ขน้ึ ไปแลว เชน นจ้ี ะทาํ ใหผ ลในการขม ขู ยบั ยงั้ ของการบงั คบั ใชก ฎหมายลดลง

๑๙๑

ดงั นั้น เพ่ือจะทําใหวัตถุประสงคของการบังคบั ใชก ฎหมาย อนั เปน การขมขูยบั ยัง้
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน กระบวนการยุติธรรมของไทย จึงตองตอบสนองตอการเรง
การดําเนินการเก่ียวกับคดีสําคัญๆ ที่เปนท่ีสะเทือนขวัญประชาชน และท่ีประชาชนใหความสนใจ
โดยเม่ือตํารวจสามารถจับกุมผูกระทําผิดไดอยางรวดเร็วภายในเวลาไมก่ีวัน ก็สามารถเรงทําสํานวน
สงพนักงานอัยการเพื่อยื่นฟองตอศาล ศาลก็จะไดเรงการพิจารณาและตัดสินดวยความรวดเร็ว
โดยใชเ วลาเพยี ง ๑๕ วนั นบั แตจ บั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ ได เปน ตน ซงึ่ ยอ มจะทาํ ใหป ระชาชนไดเ หน็ ผล
ของโทษทผ่ี กู ระทาํ ความผดิ ไดร บั จากการกระทาํ ความผดิ และทาํ ใหก ารบงั คบั ใชก ฎหมายมปี ระสทิ ธภิ าพ
เพม่ิ มากขน้ึ

๒.๓ การบงั คับใชกฎหมายตองยดึ หลกั เสมอภาค
การบงั คบั ใชก ฎหมายตอ งยดึ หลกั ความเสมอภาค กลา วคอื จะตอ งบงั คบั ใชก ฎหมาย

กับบคุ คลทกุ คนโดยไมมีการเลือกปฏบิ ตั ิ แตจะตองมกี ารปฏิบัติดว ยความเทาเทยี มกนั โดยไมค ํานงึ ถงึ
ความแตกตา งในเรอื่ ง ฐานะ อํานาจ ตําแหนง ศาสนา เช้ือชาติ สีผิว และอน่ื ๆ มิฉะนัน้ จะทําใหการ
บงั คับใชกฎหมายไมมผี ลในการขม ขู ยับย้งั หรอื ทาํ ใหผ ลในการขม ขู ยบั ยั้งลดลง

การบังคับใชกฎหมายที่ไมเทาเทียมกัน จะมีผลทําใหผลในการขมขู ยับย้ังลดลง
น้ันเน่ืองมาจากผูท่ีคิดวาตนมีอภิสิทธิ์ หรือจะเปนผูท่ีมีสิทธิไดรับการยกเวนในการถูกจับกุมลงโทษ
และจะไมเกรงกลัวตอการกระทําความผิด เพราะคิดวา เมื่อทําความผิดแลวจะสามารถหลุดรอด
หรอื ไดร บั การละเวน ในการบงั คบั ใชก ฎหมายได นอกจากนก้ี ารบงั คบั ใชก ฎหมายทไี่ มเ ทา เทยี มกนั ยงั เปน การ
เปด ชองทางใหม ขี อยกเวน หรือขอ แกต วั ในการหลบหนจี ากการดําเนนิ คดีลงโทษได ซึง่ จะมผี ลตามมา
ก็คือ ทําใหคนไมเกรงกลัวการบังคับใชกฎหมาย ด่ังคํากลาวท่ีวา “บุคคลทุกคนมีสิทธิเทาเทียมกัน
ภายใตกฎหมาย ดังนั้นไมวาผูใดกระทําความผิดในลักษณะเดียวกัน จะตองไดรับโทษเชนเดียวกัน”
หรอื กลา วอกี นยั หนง่ึ การบงั คบั ใชก ฎหมายและการลงโทษ จะตอ งกระทาํ อยา งเสมอภาค และเทา เทยี มกนั
โดยคาํ นงึ ถึง “การกระทําความผดิ ” มใิ ช “ผูกระทาํ ความผดิ ”

๒.๔ การบังคับใชกฎหมายจะตอ งมบี ทลงโทษทีเ่ หมาะสม
ปจจัยที่สําคัญประการหน่ึงท่ีจะทําใหการบังคับใชกฎหมายมีผลในการขมขูหรือ

ยบั ยงั้ หรอื ไมน น้ั อยทู บ่ี ทโทษ ถา บทลงโทษไมร นุ แรงหรอื มบี ทลงโทษทเี่ บา กจ็ ะทาํ ใหผ กู ระทาํ ความผดิ
และคนทว่ั ไปไมเ กดิ ความเกรงกลวั เพราะผลประโยชนท จ่ี ะไดร บั จากการกระทาํ ความผดิ จะมมี ากกวา
ผลรา ยทไ่ี ดร บั จากการถกู ลงโทษ ถอื ไดว า เปน สง่ิ ทคี่ มุ คา ตอ การเสย่ี ง “การลงโทษจะตอ งใหเ ปน อตั ราสว น
กบั การกระทาํ ความผดิ ” กลาวคือ โทษท่จี ะลงนั้น จะตองมากพอทจ่ี ะทาํ ใหผ กู ระทาํ ความผดิ เกิดความ
รสู กึ เกรงกลวั และสญู เสยี เกนิ กวา ประโยชนท ไ่ี ดร บั จากการกระทาํ ความผดิ ดงั นนั้ การทจ่ี ะทาํ ใหก ารบงั คบั
ใชกฎหมายมีผลทําใหผูกระทําความผิดเกิดความเกรงกลัวจะตองมีบทลงโทษที่เหมาะสมกับความผิด
คําวา “เหมาะสม” หมายความวา โทษที่จะลงจะตองไมเบาจนเกินไป และไมหนักจนเกินไป
เพราะหากการบงั คบั ใชก ฎหมายมบี ทลงโทษทหี่ นกั เกนิ ความเหมาะสม จะกอ ใหเ กดิ ผลเสยี ๓ ประการ
คือ (จรุ ีรตั น ประยูรฉตั รพันธ, ๒๕๓๙: ๕๓-๕๔)

๑๙๒

๑) ทําใหผูเสียหายหรือเหย่ือไดรับผลรายจากการกระทําความผิดรุนแรงมากขึ้น
ทั้งน้ีเพราะผูกระทําความผิดจะพยายามปกปดการกระทําความผิดของตน มิใหมีผูลวงรูหรือมีพยาน
รเู หน็ เชน ในกรณคี วามผดิ ทมี่ โี ทษประหารชวี ติ สาํ หรบั คดขี ม ขนื ผกู ระทาํ ความผดิ กจ็ ะไมเ พยี งแตข ม ขนื
อยางเดียว แตจ ะฆา เหย่อื เพอ่ื ปกปดความผดิ ของตนเองดว ย เพราะถึงอยา งไรการกระทําผดิ แตเพยี ง
การขมขืน ก็จะตองถูกลงโทษประหารชีวิตอยูแลว การฆาเหยื่ออาจทําใหตนเองหลุดรอดจากการถูก
ลงโทษได เปน ตน

๒) ทําใหผูกระทําความผิดมีโอกาสหลุดรอดจากการดําเนินคดีตามกระบวนการ
ยุติธรรมไดมากข้ึน เพราะย่ิงมีโทษรุนแรงมากข้ึนเทาไร ก็ตองมีพยานหลักฐานท่ีเพียงพอและม่ันคง
ในการทจี่ ะลงโทษจาํ เลยมากขน้ึ เทา นน้ั หากพยานหลกั ฐานไมเ พยี งพอ กจ็ ะทาํ ใหจ าํ เลยมโี อกาสหลดุ รอด
จากการถกู พพิ ากษาลงโทษได เพราะศาลจะถอื คติ “ปลอ ยคนผดิ สบิ คน ดกี วา เอาคนบรสิ ทุ ธมิ์ าลงโทษ
เพยี งคนเดยี ว” ดงั นนั้ ถา ไมม พี ยานหลกั ฐานทเ่ี พยี งพอและมนี า้ํ หนกั จรงิ ๆ กจ็ ะเปด โอกาสใหผ กู ระทาํ
ความผิดหลุดรอดไปได และย่ิงโทษหนักเทาใดก็ยิ่งตองการพยานหลักฐานมากขึ้น และย่ิงมีโอกาส
หลุดรอดมากขนึ้

๓) จะทาํ ใหเกดิ การกล่นั แกลง โดยการโยนความผิดใหผ ูอ่นื เพ่อื ใหผูอื่นไดร บั โทษ
แทนการกระทําความผิดของตนเอง เชน ในบางประเทศ การพกอาวุธปนมีโทษหนักถึงประหารชีวิต
ดงั นนั้ หากตอ งการเอาชวี ติ ของผอู น่ื ก็เพยี งการกล่ันแกลงใหบุคคลนัน้ มอี าวุธอยใู นความครอบครอง
เทา นัน้

ดังนั้น การมีบทลงโทษท่ีหนักเกินไป ก็จะเกิดผลเสียซึ่งเปนผลกระทบทําให
การบังคับใชกฎหมายดอยประสิทธิภาพลง ในขณะเดียวกัน การมีบทลงโทษท่ีเบาเกินไปก็จะทําให
การบังคับใชกฎหมายไมมีผลในการขมขูและยับย้ัง ดังน้ันการบังคับใชกฎหมายจะใหมีผลในการขมขู
ยับยง้ั และมีประสิทธิภาพ จะตองมีบทลงโทษท่เี หมาะสม ในขณะเดยี วกันการบงั คับใชก ฎหมายตองมี
ความรวดเรว็ แนน อน และเสมอภาค ประกอบดว ย การมโี ทษรนุ แรงแตเ พยี งอยา งเดยี วไมอ าจมผี ลในการ
ขมขู ยับยง้ั หากไมส ามารถจับกมุ และนาํ ตวั ผกู ระทาํ ความผดิ มาลงโทษได แตก ารจะทําใหมีการบังคบั
ใชก ฎหมายมปี ระสิทธิภาพ กระบวนการยตุ ธิ รรมจะตองมบี ทบาทอยางมาก ในการทาํ ใหการบงั คบั ใช
กฎหมายมีความแนนอน รวดเร็ว เสมอภาค และเหมาะสม

สําหรับการบังคับใชกฎหมายจราจรในประเทศไทย มีเจาหนาที่ตํารวจและ
เจาหนาท่ีของกรมการขนสงทางบก เปนผูมีอํานาจบังคับใชกฎหมายท่ีเก่ียวของกับการจราจร
โดยเจา หนา ทต่ี าํ รวจจะตอ งหามาตรการกวดขนั มใิ หม กี ารฝา ฝน กฎจราจรและรกั ษากฎหมายใหศ กั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
โดยนาํ กฎหมายทม่ี อี ยแู ลว มาปฏบิ ตั อิ ยา งจรงิ จงั และใหเ ครง ครดั ยงิ่ ขนึ้ ดว ยความซอื่ สตั ยแ ละซอ่ื ตรงตอ
หนา ทขี่ องตนเอง และจะตอ งไมม กี ารปลอ ยปละหรอื ละเลยใหม กี ารละเมดิ ตอ กฎหมายจราจร เพราะหาก
มกี ารปลอ ยปละหรอื ละเลยแลว อาจจะทาํ ใหเ กดิ อบุ ตั เิ หตแุ ละยงั ความเสยี หายใหแ กช วี ติ และทรพั ยส นิ ได
และนอกจากน้ีอาจจะทําใหเกิดปญหาการจราจร โดยจุดมุงหมายสําคัญของการบังคับใชกฎหมาย

๑๙๓

จราจร กเ็ พือ่ เปนการขมขู ยับยงั้ ผลู ะเมดิ หรอื ผมู แี นวโนมวาจะละเมิดตอ กฎหมาย กฎ หรือระเบยี บ
ท่ีเก่ียวกับการจราจร ในขณะเดียวกันการบังคับใชกฎหมายจราจรที่เหมาะสมนั้น มิใชเพียงเพื่อทําให
ผูละเมิดไดเรียนรูท่ีจะหลีกเล่ียงพฤติกรรมละเมิดกฎหมาย หรือลดพฤติกรรมท่ีเห็นแกประโยชน
สวนตน ในการใชรถใชถนน โดยไมคํานึงถึงบุคคลอื่น แตวัตถุประสงคของการควบคุมการจราจร
โดยทวั่ ไป กเ็ พอื่ ความปลอดภยั และเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยของผใู ชร ถใชถ นน ตลอดจนเพอื่ ใหก ารจราจร
มีความคลอ งตัวสามารถเคลอ่ื นไหวไดโดยไมติดขัด

õ.ó ÂØ·¸Ç¸Ô ãÕ ¹¡ÒèºÑ ¡ÁØ ¼Œ¡Ù ÃÐทํา¼´Ô ¡®¨ÃÒ¨Ãã¹Å¡Ñ ɳÐμÒ‹ §æ

“¡®¨ÃҨà ¤Í× ¡®á˧‹ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ”
เมื่อทุกคนปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัดจะทําใหการจราจรบนทองถนน
ไมต ดิ ขดั และตรงกนั ขา ม หากมบี างคนไมป ฏบิ ตั ติ ามกฎจราจรกจ็ ะทาํ ใหเ กดิ ปญ หาการจราจรตดิ ขดั ขน้ึ ได
นอกจากน้ีท่ีสําคัญอยางย่ิง คือ การปฏิบัติตามกฎจราจรจะเปนการปองกันอุบัติเหตุท่ีจะนํามาซ่ึง
ความสูญเสียชีวิต รางกาย และทรัพยสินของประชาชนและประเทศชาติ ในปจจุบันน้ียังมีผูฝาฝน
กฎหมายจราจรเปน จาํ นวนมาก และเปน สาเหตใุ หเ กดิ อบุ ตั เิ หตอุ ยเู สมอๆ ดงั จะเหน็ ไดจ ากขา วอบุ ตั เิ หตุ
ตามถนนสายตางๆ ทั้งในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด ดังนั้น เจาหนาที่ตํารวจเมื่อออกปฏิบัติ
หนาที่ควรตระหนักวากําลังชวยลดและปองกันการเสียชีวิตและบาดเจ็บใหกับประชาชน และระหวาง
การออกตรวจทกุ ครัง้ เจาหนาทตี่ ํารวจควรจะสอดแทรกขอ มลู ใหค าํ แนะนาํ ตอผูข บั ขที่ ุกครั้ง การเพม่ิ
ความปลอดภยั ทางถนนนน้ั ควรจะใชก ารแกไ ขทางจติ วทิ ยา (Psychological correct) ตอ ผกู ระทาํ ผดิ ดว ย
โดยเจา หนา ทต่ี าํ รวจอาจใหค าํ แนะนาํ ตอ ผขู บั ขที่ ขี่ าดความรหู รอื ประพฤตไิ มเ หมาะสม สาระสาํ คญั ทสี่ ดุ
ของกฎจราจรนน้ั อยทู เี่ จา หนา ทต่ี าํ รวจเขา ถงึ ผขู บั ขแ่ี ตล ะคน (Individual) ดว ยการใหข อ มลู หรอื แนะนาํ
เม่ือมีโอกาสเพ่ือใหเขาใจกฎจราจรมากกวาเนนปริมาณการจับกุม เจาหนาท่ีตํารวจควรปฏิบัติงาน
อยา งหนักแนน แตยุตธิ รรม (Firm but Fair) ตลอดเวลา โดยเคารพตอสทิ ธิของประชาชน ตองสภุ าพ
ไมหยาบคาย หรือแสดงความไมเคารพตอผูใชถนน หรือแมแตผูใชถนนจะแสดงความหยาบคาย
ไมสุภาพ หรือแสดงความไมเคารพตอเจาหนาท่ีตํารวจ ก็ไมควรท่ีจะกระทําเชนนั้นตอบกลับไป
เจา หนาทต่ี ํารวจทุกคนควรจดจาํ ไววาไดถูกฝกฝนมาเพอื่ เปนผสู งบ ใจเยน็ และเกงกลา ในยามฉุกเฉิน
หรอื ยามท่ตี องตอสูกับเหตุรา ย สามารถควบคมุ อารมณจ ากการดูถกู การทาทาย ย่ัวยุ และเหตกุ ารณ
เลวรา ย ๆ ได การเปนตัวอยา งทด่ี ีเปนส่งิ ทส่ี าํ คัญมาก โดยเฉพาะเจา หนาทต่ี าํ รวจและตาํ รวจจราจร
ซ่ึงเปนตัวอยางท่ีถูกสนใจ ถูกวิพากษวิจารณอยางมาก เจาหนาท่ีตํารวจคนหนึ่งจะตองยอมลําบาก
เพื่อจะเปนตัวอยางของพฤติกรรมที่ดี รถยนตที่เจาหนาที่ตํารวจใชโดยเฉพาะรถท่ีมีสัญลักษณตํารวจ
จําเปนจะตองมีการขับข่ีใหเปนตัวอยางท่ีดีตามแบบแผนท่ีกําหนดไว ถาเจาหนาท่ีตํารวจเปนผูฝาฝน
กฎหมายแลว เจา หนาท่ีตาํ รวจจะไปชักชวนใหประชาชนปฏบิ ัติตามกฎหมายไดอ ยา งไร

๑๙๔

ñ) ÂØ·¸ÇÔ¸Õ¡ÒÃμÃǨμÃҨѺ¡ØÁ¤ÇÒÁ¼Ô´¡®¨ÃҨà ในการเตรียมแนวทางปฏิบัติ
ในการตรวจตราจับกุมความผิดกฎจราจร การจัดการของเจาหนาที่ตํารวจในเร่ืองดังกลาวจําเปน
ตองใชยุทธวิธี (tactics) มาดําเนินการ การวางแผนดําเนินการเก่ียวกับการตรวจตราจับกุมจะตอง
ดําเนินการในเชิงบวก (Positive) ที่ถูกกําหนดโดยมีปจจัยของเวลา (time) โครงการ (Projects)
จะตอ งกาํ กบั อยา งแนน อนตายตวั ซงึ่ เมอื่ มแี ผนหรอื การดาํ เนนิ การเสรจ็ แลว กจ็ ะตอ งมกี ารประเมนิ ผล
(Evaluate) ตามมา โดยแผนตาง ๆ ท่ีจะดําเนินการควร¨ÐμŒÍ§ÁÕ¢ŒÍÁÙÅ¢ŒÍà·ç¨¨ÃԧʹѺʹعจึงจะ
ดาํ เนินการได แผนประเภทตา ง ๆ ทเ่ี จาหนา ทีต่ ํารวจสามารถนํามาใช ดงั ตวั อยางตอไปน้ี

๑.๑) แผนกวดขันตรวจตราจับกุม (Intensive Surveillance) การตรวจตรา
จับกุม โดยมุงจุดสนใจไปที่ถนนเสนใดเสนหน่ึง ในระยะเวลาหนึ่งเวลาใดเปนส่ิงที่สําคัญมาก เชน
ในระยะเวลา ๑-๒ เดอื นทมี่ กี ารกวดขนั จะมกี ารสง เจา หนา ทตี่ าํ รวจออกตรวจ โดยปรากฏตวั ตอ ประชาชน
อยา งคึกคักเขมแข็งในการออกตรวจจบั ความผดิ อาทิ การขบั รถเร็วเปนหลัก เปนตน

เมื่อจะมีการเลือกถนนที่จะทําการตรวจจับน้ัน ควรจะเลือกถนนท่ีมีความ
จาํ เปน สงู ทสี่ ดุ ในชอ งจราจรทจี่ าํ เปน ทส่ี ดุ ใหไ ดเ ปน สง่ิ สาํ คญั มาก นอกจากนี้ ระยะเวลาซงึ่ มกี ารจราจร
หนาแนน มากทสี่ ดุ กเ็ ปน สง่ิ สาํ คญั ทตี่ อ งตรวจสอบ เพราะจาํ เปน จะตอ งใชเ ปน ขอ มลู ประกอบการทาํ งาน
รวมไปถึงการเคล่ือนยายจุดตรวจไปยังสถานที่แตกตางกัน ไมใชจุดเดิมที่จําเจก็จําเปนดวย ภายหลัง
จากการกวดขันจับกุมอยางหนักแลว จะปรากฏวาพฤติกรรมการขับขี่ของประชาชนในถนนยานนั้น
ก็จะเปลี่ยนแปลงไปอยางมากดวย แตเมื่อเลิกการกวดขันตรวจจับท่ีจุดใดไปแลวก็ไมควรจะเลิกรา
ไปอยางถาวร เพราะยังจําเปนที่จะตองกลับมาตรวจจับอีก เชน ทุก ๑ เดือนจะกลับมา ๒ ครั้ง
เพื่อทจ่ี ะสรางการจดจําแกประชาชนในยา นน้ันใหรสู ึกวาเจาหนาทตี่ าํ รวจทํางานอยางสมา่ํ เสมอ

การกวดขนั จบั กมุ เฉพาะแหง ทสี่ าํ คญั อกี ประการหนงึ่ ไดแ ก การตรวจจบั ผขู บั รถ
ดวยความเร็วสูงบริเวณโรงเรียนในชวงเปดเทอม ยุทธวิธีดําเนินการก็คือ การออกตรวจจับปรากฏตัว
เจา หนา ทตี่ ามบรเิ วณหนา โรงเรยี นตา ง ๆ ใหม ากทส่ี ดุ เทา ทจ่ี ะทาํ ได ในชว งเปด เทอม ระยะแรกประมาณ
๑-๒ สปั ดาหแ รก เพอ่ื เปน การเตอื นผขู บั ขเ่ี กย่ี วกบั ความปลอดภยั ภายหลงั จากทโี่ รงเรยี นหยดุ ปด เทอม
ไปเปน เวลานาน

การดาํ เนินการทง้ั หลายทใ่ี ชทรพั ยากรตา ง ๆ ไป วิธีการท่ีใชแตละวิธีและเวลา
ทํางานที่เสียไป จะตองมีการจดบันทึกเปนหลักฐานเอกสารท้ังส้ินเพ่ือผลในอนาคต ทั้งน้ี รวมถึง
การบนั ทกึ เกย่ี วกบั การใชใ บสง่ั ขณะกวดขนั และจาํ นวนอบุ ตั เิ หตเุ ฉลย่ี ทลี่ ดลงไปในชว งทด่ี าํ เนนิ การดว ย

๑.๒) การตรวจตราจบั กมุ แบบเฉพาะเรอื่ ง (Specialized Surveillance) ในบาง
กรณกี ารตรวจตราจบั กมุ กค็ วรทจ่ี ะมงุ ไปทกี่ ารตรวจจบั แกป ญ หาทลี ะเรอื่ งในครงั้ ๆ หนง่ึ ซง่ึ อาจจะเปน
วิธีทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากกวาตรวจจับพรอม ๆ กนั หลาย ๆ เรื่อง อาทิ

• ผูฝา ฝน สัญญาณไฟ
• การขบั รถเร็ว

๑๙๕

• ไมย อมใหผ ขู ามถนนไปกอ น
• การแซงรถผิดกฎหมาย
• การควบคมุ รถพวงทา ยรถบรรทุก
• ผูขบั ข่ีมนึ เมาสรุ า
ʶҹ·ÕèáÅÐàÇÅÒ㹡ÒèѴàÇÃÍÍ¡μÃǨμÃҨѺ¡ÁØ
ในทางทฤษฎี การออกตรวจตราจบั กมุ ควรจะดาํ เนนิ การทกุ เสน ทางของ
ถนนทั่วเขตพ้ืนท่ีจังหวัดหรือเมือง โดยสับเปล่ียนชั่วโมงท่ีออกทํางานกันไปทั้งกลางวันและกลางคืน
แตอ ยา งไรกต็ าม สว นทส่ี าํ คญั และควรมากอ น คอื ถนนหรอื พนื้ ทซี่ ง่ึ มคี วามตอ งการใหเ จา หนา ทตี่ าํ รวจ
ออกตรวจตราจับกุมมากท่ีสุด และดําเนินการในชวงเวลาที่มีการจราจรมากท่ีสุด หรือตองการคน
มาตรวจจับท่ีสุด เมื่อจําเปนตองมีการประเมินความจําเปนที่จะตองตรวจจับ ควรท่ีจะพิจารณาออก
ตรวจจบั บนถนนทม่ี กี ารจราจรหนาแนน ในหลายชว งเวลา หรอื เลอื กถนนทม่ี อี บุ ตั เิ หตจุ ราจรในชว งเวลา
และสถานท่เี ดิม ๆ อยเู สมอ นอกจากนี้ ยงั จะตอ งระมดั ระวังเตรยี มวางแผนทีจ่ ะแกไข หากเสนกราฟ
อตั ราอบุ ตั ิเหตเุ ริ่มตกี ลับมจี าํ นวนอบุ ัติเหตสุ งู ขึน้ มาอีก
¡ÒÃÂÍÁã˽Œ †Ò½„¹à»š¹Èٹ (Zero Tolerance)
ภารกจิ ดา นความปลอดภยั บนทอ งถนน (Road Safety) จาํ เปน อยา งมาก
ทเ่ี จา หนา ทจ่ี ะตอ งชนี้ าํ หรอื สง สญั ญาณ (Signals) หลายประเภทใหป ระชาชนไดร บั รสู ญั ญาณดงั กลา ว
ไดแ ก
• หามทําแบบน้นั (Don’t do that)
• ทาํ ไดแบบนี้ (Do like this)
เม่ือใดท่ีเจาหนาที่เห็นผูกระทําผิดขึ้น เขาจะตองรีบเขามาจัดการ
โดยไมนั่งเฉย การจัดการน้ันอาจจะเปนการตักเตือนถึงขั้นออกใบสั่งก็ตาม แตส่ิงท่ีสําคัญก็คือ
เจาหนาที่ไดมีการดําเนินการตอบโตข้ึนมาทันควัน เมื่อกําลังมีอะไรเกิดขึ้นตอหนา และเจาหนาท่ี
ตํารวจเองก็จะตองเปนตัวอยางที่ดี (Good Examples) ในดานการจราจรอยูเสมอดวย ไดแก
การใชเข็มขัดนิรภัย การขับรถโดยอัตราความเร็วตามท่ีกฎหมายกําหนด ฯลฯ เพราะถาหาก
เจา หนาที่ตาํ รวจไมปฏิบัตติ ามกฎหมายแลว ทําไมประชาชนจะตอ งปฏบิ ตั ดิ ว ย
ส่ิงสาํ คญั ที่สดุ คอื ผบู งั คบั บญั ชาระดับสูงจะตองปฏบิ ัติตามกฎและเปน
ตัวอยางที่ดีตอผูอื่นดวย มิฉะนั้นก็จะเปนไปไมไดท่ีจะประสบความสําเร็จในการบังคับใหผูอ่ืนปฏิบัติ
ถูกตอง ถาเจาหนาท่ีตํารวจเพิกเฉยที่จะเขาไปเก่ียวของหรือจัดการเม่ือมีการกระทําผิด ส่ิงน้ีเปนการ
สงสญั ญาณใหทราบวา
• กฎหมายไมม ีความสําคญั
• เจาหนาทต่ี าํ รวจไมมคี วามสนใจ
• เจา หนา ท่ตี าํ รวจไมมีความรู

๑๙๖

นค่ี อื ความเลวรา ยตอ สงั คม ซง่ึ หมายความวา ประชาชนกจ็ ะสรา งกฎหมาย
ของตวั เองข้ึนมาและในที่สุดอาจจะสง ผลถงึ ปญ หาของระบอบประชาธปิ ไตย ซึง่ แนน อนจะเกดิ ปญ หา
ความปลอดภัยบนทองถนนขึ้นดวย ถาเจาหนาที่ตํารวจเพิกเฉยดังกลาว ในหลายประเทศ หลักการ
เรอื่ ง การยอมใหฝาฝน เปน ศนู ย (Zero Tolerance) หรือไมย อมผอนปรนแกการกระทาํ ผดิ ใด ๆ เลย
เปนส่ิงท่ีไดรับผลดีอยางมากในการใชปราบปรามอาชญากรรมเล็กนอย ซ่ึงก็ไดรับผลดีเชนกัน
เมือ่ นํามาใชกบั งานดานการตรวจตราจบั กมุ ความผิดจราจร

ò) ¡ÒèºÑ ¡ØÁ¼¡ŒÙ ÃÐทาํ ¼´Ô ¡®¨ÃÒ¨Ãã¹Å¡Ñ ɳÐμÒ‹ § æ
๒.๑ การตรวจผูขับขี่และยานพาหนะ (Driver and Vehicle checks) เม่ือ

ยานพาหนะคันหน่ึงถูกเรียกใหหยุดริมถนน ส่ิงน้ันไดสงสัญญาณใหแกผูขับขี่รถคันน้ันและผูขับข่ีรถ
คันอ่ืน ๆ เพื่อเตือนใหระมัดระวัง ดังนั้นเจาหนาท่ีตํารวจจะตองรีบถือเอาโอกาสนี้สงสัญญาณไปยัง
ภายนอก (Send Out) ใหมากเทาท่ีจะทําได โดยใหประชาชนเห็นภาพการทํางานใหมากท่ีสุด
ดว ยเหตนุ จ้ี งึ เปน เรอื่ งสาํ คญั ทจ่ี ะตอ งเลอื กสถานทเี่ รยี กตรวจรถ การแสดงตวั ใหเ หน็ ไดช ดั เจน และวธิ กี าร
จอดรถตํารวจทาํ งานกจ็ ะตอ งจอดใหปรากฏตอ สายตาประชาชนอยางมืออาชพี (Professional) ดว ย

เมอื่ เจา หนา ทตี่ าํ รวจทาํ การตรวจรถ จะตอ งตรวจดทู กุ สง่ิ ใหม ากทส่ี ดุ เทา ที่
จะมากได พรอ มกบั ตรวจวดั แอลกอฮอล (Alco Check) ตอ ผขู บั ขดี่ ว ย ในบางประเทศเจา หนา ทต่ี าํ รวจ
สามารถเรียกตรวจวัดแอลกอฮอลไดโดยไมตองมีเหตุควรสงสัยมากอน และในบางประเทศเจาหนาที่
ตํารวจตองมีเหตุพิเศษที่สงสัยวาผูขับขี่ด่ืมสุรามากอนจึงจะเรียกตรวจวัดดวยเครื่องได การเรียกตรวจ
แบบน้ีแมวาบางครั้งเจาหนาที่ตํารวจเรียกตรวจแกผูขับขี่ดวยความเร็ว แตการสงสัญญาณออกมาน้ัน
แสดงวา เจา หนาที่ตํารวจอาจตรวจผขู บั ข่ที ่ีด่มื สรุ าไปดวย ซ่งึ มีผลดตี อ พฤตกิ รรมการขับข่โี ดยรวม

๒.๑.๑ การตั้งจุดตรวจประจําที่ (Stationary Check Point) การต้ัง
จดุ ตรวจประจาํ ทห่ี รอื อยกู บั ท่ี เปน วธิ กี ารตง้ั จดุ ตรวจพน้ื ฐานทใี่ ชก นั มากทส่ี ดุ ทวั่ โลก มขี อ ดจี าํ นวนมาก
แตก ม็ ีขอ เสยี ดวยเชน กนั

ขอ ดี คือ
• ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ (safe) ควรหาสถานทซี่ งึ่ ปลอดภยั ตอ เจา หนา ทตี่ าํ รวจ
และประชาชนในการตง้ั จดุ ตรวจ
• »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ (Effective) เนื่องจากงายที่จะตรวจผูขับข่ีหรือ
รถจาํ นวนมาก
• »‡Í§¡¹Ñ ¡ÒáÃзÒí ¼Ô´ (Preventive) เพราะการตรวจทุกครั้งสามารถ
เปน ทเี่ หน็ ได และประชาชนทใ่ี ชถ นนเหน็ เปน จาํ นวนมาก หรอื ผขู บั ขจ่ี าํ นวนมากจงึ ไดร บั สญั ญาณเตอื น
(Warning Signals) จากผูขบั ขีอ่ น่ื ๆ ท่มี าบอก ซ่ึงไดชว ยใหท องถนนลดความตงึ เครียดและพฤติกรรม
ขบั ขีท่ ่ไี มด ีลงไป


Click to View FlipBook Version