The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:06:01

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

วชิ า กม. (LA) ๒๑๒๐๖

กกาฎรหปมฏาิบยตัอิห่ืนทน้าเ่ี กท่ีย่ี วข้องกับ

ตาํ ÃÒàÃÂÕ ¹

ËÅÑ¡ÊÙμà ¹Ñ¡àÃÂÕ ¹¹ÒÂÊºÔ μÒí ÃǨ

ÇÔªÒ ¡Á.(LA)òñòðö ¡®ËÁÒÂÍè¹× ·àÕè ¡ÕèÂǢ͌ §¡ºÑ ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô˹ŒÒ·Õè

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผ หู น่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนที่ไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ สาํ ¹¡Ñ §Ò¹ตํา¾ÃÇ.Ȩá.òËõ‹§ªöÒôμÔ

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÞÑ

ÇªÔ Ò ¡®ËÁÒÂÍ×¹è ·Õàè ¡èÂÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ ¡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·èÕ Ë¹ŒÒ

º··èÕ ๑ ÊÔ·¸áÔ ÅÐàÊÃÕÀÒ¾μÒÁÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÞÙ ñ
- ความหมายของสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ๕
- รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๕
- กลไกการคุม ครองสิทธแิ ละเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู ๑๓

º··èÕ ò ¡®ËÁÒ»¡¤ÃͧáÅСÒþԨÒóҤ´»Õ ¡¤Ãͧ ñ÷
- สว นที่ ๑ หลกั การพน้ื ฐานของกฎหมายปกครอง ๑๙
- สวนที่ ๒ พระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ๒๖
- สว นท่ี ๓ พระราชบัญญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง ๓๗
พ.ศ.๒๕๔๒ ๕๐
- พ.ร.บ.วิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ๘๒
- พ.ร.บ.จัดตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒

º··èÕ ó ¾.Ã.º.¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´·Ò§ÅÐàÁÔ´¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õè ¾.È.òõóù ñõñ
- หลกั เกณฑการกระทําท่ีเปนการละเมิด ๑๕๕
- ขอบเขตการใชบงั คบั พระราชบญั ญัตคิ วามรับผิดทางละเมิดของเจา หนา ที่
พ.ศ.๒๕๓๙ ๑๕๗
- ขอบเขตการใชบงั คับตองเปน การกระทาํ ในการปฏบิ ัติหนา ที่ ๑๕๙
- สทิ ธเิ รียกคา เสยี หายของบุคคลภายนอกเมื่อเจาหนา ที่กระทําละเมิด
ในการปฏบิ ัตหิ นาที่ ๑๖๑
- บุคคลภายนอกฟอ งคดีตอศาล ๑๖๔
- การเรียกคา สินไหมทดแทนกรณหี นวยงานของรัฐเสียหายจากการกระทําละเมดิ
ของเจา หนาที่ ๑๗๐
- วธิ กี ารและขัน้ ตอนการทีห่ นว ยงานของรฐั เรยี กใหเ จา หนา ท่ชี ดใช
คา สนิ ไหมทดแทน ๑๗๑

º··Õè ô ¡®ËÁÒÂàÅ×Í¡μéѧà¡ÂèÕ Ç¡Ñºอาํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè¢Í§¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตําÃǨ ˹Ҍ
- การเลือกตง้ั ของประเทศไทย ñ÷ó
- บทบาทหนาท่ขี องขาราชการตํารวจในการเลือกตงั้ ๑๗๗
- แนวทางการปฏบิ ตั ิในการวางตัวเปนกลางของขาราชการตํารวจ ๑๗๘
- กฎหมายที่เกี่ยวของในกรณีขา ราชการตาํ รวจวางตวั ไมเ ปน กลาง ๑๗๙
๑๘๑



º··Õè ñ

Ê·Ô ¸áÔ ÅÐàÊÃÕÀÒ¾μÒÁÃ°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÙÞ

ñ. ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃÐจาํ º·

๑.๑ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับทฤษฎีกฎหมาย
รัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับแนวคิดวาดวยที่มาของสิทธิและเสรีภาพ ความหมาย และขอบเขต
การใชสิทธแิ ละเสรภี าพ

๑.๒ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับบทบัญญัติในเรื่อง
สทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน

๑.๓ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ
องคการตา ง ๆ ทเ่ี ขา มาคุมครองประชาชนจากการละเมิดสิทธติ ามที่บญั ญัตไิ วในรฐั ธรรมนูญ

ò. ʋǹนํา

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ในสว นทเ่ี กย่ี วกบั สทิ ธแิ ละเสรภี าพ
ของประชาชน กลไกสทิ ธแิ ละเสรภี าพ และอาํ นาจหนา ทขี่ ององคก ารตา ง ๆ ทเี่ ขา มาคมุ ครองประชาชน
จากการละเมดิ สทิ ธติ ามท่ีบัญญตั ไิ วใ นรฐั ธรรมนูญ

ó. à¹éÍ× ËÒμÒÁËÇÑ ¢ÍŒ

๓.๑ อํานาจอธิปไตย
๓.๒ ความหมายของสิทธแิ ละเสรีภาพตามรัฐธรรมนญู
๓.๓ การจํากดั สิทธแิ ละเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ
๓.๔ เขตอํานาจศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนญู

ô. ʋǹÊûØ

ในบทนไ้ี ดอ ธบิ ายถงึ ความเปน มาของสทิ ธแิ ละเสรภี าพ ความหมายของสทิ ธแิ ละเสรภี าพ
และไดก ลา วถงึ การจาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพตามรฐั ธรรมนญู วา ลกั ษณะการรบั รองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของ
รฐั ธรรมนญู มอี ยอู ยา งไร และไดก ลา วถงึ หลกั นติ ริ ฐั ทเ่ี ปน หลกั ทคี่ มุ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชน
จากการใชอาํ นาจรัฐ



õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ðนาํ

๕.๑ ผูสอนต้ังปญหาใหนักเรียนวินิจฉัยเปนรายบุคคล และสวนรวม เพื่อใหรูจักคิด
วิเคราะหและวจิ ารณเน้อื หาท่เี รียน ดวยการนาํ เทคนิค วิธีการตา ง ๆ เพอ่ื ใหผ ูเ รยี นสนใจและตดิ ตาม
การสอนตลอดเวลา และเชอื่ มโยงกบั วชิ าอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั เนอ้ื หา ซงึ่ ผเู รยี นตอ งสามารถบรู ณาการ
ความคิดได

๕.๒ ผสู อนตง้ั คาํ ถามเพอ่ื ประเมนิ ความรู ดว ยการทาํ แบบฝก หดั หลงั เรยี นและสรปุ เนอื้ หา
ทเ่ี รียนพรอ มทั้งสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ขาราชการตาํ รวจควรปฏบิ ตั ิ

๕.๓ ผสู อนแนะนําแหลงขอมูลท่จี ะศกึ ษาคน ควาเพมิ่ เติม

ö. ÃÒ¡ÒÃ͌ҧͧÔ

กุลพล พลวนั .สิทธมิ นษุ ยชนในสงั คมโลก.พิมพคร้ังที่ ๑ กรุงเทพมหานคร:สํานกั พิมพ
นติ ิธรรม, ๒๕๔๗

วษิ ณุ เครืองาม. “ท่มี าของสทิ ธิมนุษยชน” เอกสารประกอบการบรรยายในการฝกอบรม
สงั คมศาสตรเ พอื่ การพฒั นา:สทิ ธมิ นษุ ยชนในสงั คมไทย, สาํ นกั เสรมิ ศกึ ษาและบรกิ าร
สงั คม มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๓, หนา ๓.

อดุ มศกั ดิ์ สิทธพิ งษ.สทิ ธมิ นุษยชน.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน, ๒๕๔๘.



º··èÕ ñ

Ê·Ô ¸áÔ ÅÐàÊÃÕÀÒ¾μÒÁÃ°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ

Ê·Ô ¸áÔ ÅÐàÊÃÀÕ Ò¾μÒÁÃ°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÙÞ

ในอดตี เปน เวลานานหลายศตวรรษทม่ี นษุ ยพ ยายามหาคาํ ตอบทว่ี า มนษุ ยท กุ คนควรมสี ทิ ธิ
ประเภทหนงึ่ อันเปน สิทธิประจาํ ตวั ไมส ามารถโอนใหแ กก นั ได และไมอ าจถกู ทําลายลงไดโ ดยอํานาจ
ใด ๆ ขณะเดียวกันก็ไดมีการตอสูดิ้นรนเพื่อใหไดมาซ่ึงสิทธิเชนวานั้นตลอดมาระหวางผูใตปกครอง
และผูม อี ํานาจปกครอง ดงั นั้น จึงเกิดแนวความคิดในเรื่องของ “กฎหมายธรรมชาติ (Natural law)
และสิทธิตามธรรมชาติ (Natural Rights)” เพ่ือจํากัดอํานาจของรัฐ เนื่องจากผูใชอํานาจปกครอง
และผูอยูใตปกครองมักมีความขัดแยงกันอยูเสมอ เนื่องจากผูอยูใตอํานาจปกครองของรัฐพยายาม
ดน้ิ รนทจ่ี ะมสี ทิ ธเิ สรภี าพใหม ากทสี่ ดุ เทา ทจ่ี ะมไี ด แตใ นขณะเดยี วกนั ผมู อี าํ นาจปกครองรฐั กม็ แี นวโนม
ท่ีจะใชอ าํ นาจอยา งเตม็ ทเี่ สมอ

กฎหมายธรรมชาติ (natural law หรอื jus naturale) หมายถงึ กฎเกณฑท ่วั ไปท่ีเปน
สากลไมเปลี่ยนแปลงและไมถูกจํากัดดวยเวลาและสถานที่โดยมนุษยทุกคนสามารถรับรูกฎเกณฑน้ัน
ไดจ ากสามญั สํานกึ ของตนเอง มไิ ดเ กดิ จากการบัญญัติจากฝา ยบานเมอื ง ตลอดจนมสี ภาพบังคบั และ
ผกู พนั มนษุ ยท กุ คนเปน การทว่ั ไป กลา วคอื กอ ใหเ กดิ หนา ทต่ี อ งปฏบิ ตั ติ ามไมว า จะอยู ณ ทใี่ ดหรอื เวลาใด
นอกจากนี้กฎเกณฑดังกลาวยอมมีคาบังคับที่เหนือกวากฎหมายที่มนุษยบัญญัติขึ้น ดังนั้นกฎหมาย
บา นเมอื งจะขดั กบั กฎหมายธรรมชาตมิ ไิ ด ดงั นน้ั นกั นติ ศิ าสตรท ยี่ ดึ มน่ั ในแนวคดิ สาํ นกั กฎหมายธรรมชาติ
จึงเหน็ วากฎหมายบา นเมอื งทข่ี ัดกบั กฎหมายธรรมชาติจะสิ้นผลไปหรือใชบงั คบั ไมไ ด

สว นสทิ ธธิ รรมชาติ (natural rights) หมายถงึ ประโยชนห รอื ความชอบธรรมทตี่ ดิ ตวั มนษุ ย
มาแตกําเนิดซง่ึ ไมอ าจโอนใหแกกนั และไมอาจถกู ลว งละเมิดดวยอาํ นาจใดๆ มนษุ ยส ามารถรบั รสู ิทธิ
ดังกลาวมีอะไรบางดวยเพราะมนุษยมีเหตุผลจึงสามารถเขาถึง “เหตุผลตามธรรมชาติ” วาสิ่งใดผิด
สิ่งใดถูกและสิ่งใดที่เขามีความชอบธรรมท่ีพึงไดรับไมตองมีผูใดบอกกลาว แตเกิดจากสามัญสํานึก
โดยความชอบธรรมดงั กลา วตงั้ อยบู นหลกั ความตอ งการขน้ั พนื้ ฐานของมนษุ ยไ มว า จะเปน ความตอ งการ
ทางกายภาพหรอื ทางจติ ใจเพอื่ เปน หลกั ประกนั ความมนั่ คงและความปลอดภยั ใหเ ขาสามารถดาํ รงตน
อยูไดใ นสภาพแวดลอ มสมควรกับศกั ดศิ์ รแี ละเกียรตภิ มู แิ หงความเปนคน

ทงั้ นคี้ วามตอ งการทางกายภาพทมี่ นษุ ยต อ งการการรบั รองและคมุ ครอง ไดแ ก ความมนั่ คง
ความปลอดภัยในชีวติ รา งกาย และทรพั ยสิน เปนตน สว นความตอ งการทางจิตใจของมนุษย ไดแก
การเขาสังคมและการรวมตัวในกลุมของตน เปนตน ดังนั้นแนวคิดสิทธิมนุษยชนมีจุดเริ่มตนมาจาก
“สิทธิธรรมชาติ” โดยสาระสําคัญของแนวคิดดังกลาวมีวามนุษยท้ังหลายเกิดมาเทาเทียมกัน มนุษย
มีสิทธิบางประการท่ีติดตัวมาแตกําเนิดจนกระท่ังถึงแกความตาย สิทธิดังกลาว ไดแก สิทธิในชีวิต
เสรีภาพในรางกาย และความเสมอภาคซ่ึงเปนสิทธิที่มิอาจโอนใหแกกันไดและผูใดจะลวงละเมิดมิได
หากมีการลว งละเมิดกก็ อ ใหเกิดอันตรายหรอื กระทบกระเทือนตอความเปน คนได



สิทธิธรรมชาติซ่ึงรากฐานมาจากแนวคิดกฎหมายธรรมชาติมีเปาหมายที่แทจริง
เพ่ือจํากัดอํานาจรัฐซ่ึงใชอํานาจปกครองผูอยูใตอํานาจปกครองอยางไมมีขอบเขตหรือตามอําเภอใจ
แตอยางไรก็ตามรัฐในฐานะผูใชอํานาจปกครองก็มีแนวโนมท่ีจะใชอํานาจอยางเต็มท่ีเสมอ ดังนั้น
จึงมีความจําเปนท่ีจะตองจํากัดอํานาจรัฐใหลดนอยลงท่ีสุดเทาที่จะทําได ดวยเหตุนี้เองนักปรัชญา
ทางการเมืองจึงนําเอาแนวคิดตั้งแตสมัยกรีก-โรมันท่ีวาดวย “สิทธิตามธรรมชาติ” กับ “กฎหมาย
ธรรมชาติ” นํามาจัดระบบความคิดอยางเปนตรรกะใหเขากับสถานการณทางการเมือง การปกครอง
ในการอางความชอบธรรมตามธรรมชาติซึ่งคนทุกคนพึงไดรับประโยชนท่ีติดตัวมาต้ังแตกําเนิด
เพอื่ จาํ กดั อาํ นาจรฐั ประโยชนท คี่ นทกุ คนพงึ ไดร บั ดงั กลา วนนั้ เองเปน หลกั ประกนั ขนั้ พนื้ ฐานเพอ่ื คมุ ครอง
และรบั รองความตอ งการขนั้ พน้ื ฐานในฐานะทเ่ี ปน คนทม่ี ศี กั ดศิ์ รใี นสงั คม ฉะนน้ั การตรากฎหมายของรฐั
ที่ปราศจากความยุติธรรม สิ่งท่ีจะมีอํานาจเหนือกวากฎหมายบานเมืองซ่ึงบัญญัติเปนลายลักษณ
อักษรจากผูมีอํานาจน้ัน คือ “ธรรมชาติ” เชนนี้กฎหมายธรรมชาติจึงอยูเหนือกฎหมายบานเมือง
ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงไดเม่ือมีการเปล่ียนผูถืออํานาจ แตกตางจากกฎหมายธรรมชาติท่ีเปนกฎเกณฑ
ท่เี ปน สากลและไมเ ปลยี่ นแปลงดวยเวลาและสถานท่ี

นบั ตั้งแตคริสตศตวรรษที่ ๑๗ จอหน ลอ็ ค (John Locke) ไดป ระกาศถึงการมอี ยขู อง
สิทธิธรรมชาติในชีวิต เสรีภาพและในการแสวงหาความสุขของมนุษย “สิทธิธรรมชาติ” ก็พัฒนาเปน
สิทธมิ นุษยชน กลาวคอื สทิ ธทิ ง้ั หลายแหง มนษุ ยชาตเิ กดิ มขี น้ึ ตามกฎหมายธรรมชาติ สว นกฎหมายที่
ตราข้ึนในภายหลังน้ัน เปนเพียงการยอมรับหรือรับรองสิทธิท่ีไดมีอยูแลววา มีอยูจริง และรัฐบังคับ
คมุ ครองใหเ ทานน้ั ไมไดเ ปนผูกอต้ัง หรือประกาศสิทธิใหมนุษยแ ตอยางใด เชน สทิ ธิในชวี ิต เสรภี าพ
ในรา งกาย สิทธใิ นทรัพยสิน และความเสมอภาคซ่ึงเปน สทิ ธิทไ่ี มส ามารถโอนใหแ กกันได และใครผูใ ด
จะลว งละเมดิ มไิ ด ซงึ่ ตอ มามกี ารขยายความหมายครอบคลมุ ไปถงึ สทิ ธทิ จี่ ะไดร บั การคมุ ครองปอ งกนั
ไมใหถูกจับกุมคุมขังโดยอําเภอใจ สิทธิที่จะไมถูกลวงละเมิดในเคหสถาน สิทธิที่จะมีเสรีภาพในการ
เคลื่อนยา ยถนิ่ ท่ีอยู สิทธเิ สรีภาพในการส่อื สาร สิทธเิ สรภี าพในความคดิ เหน็ และสทิ ธเิ สรภี าพในการ
นบั ถือศาสนา สทิ ธิเสรภี าพในทางเศรษฐกิจ

ตอมาแนวความคิดในเร่ืองสิทธิตามธรรมชาติดังกลาว ไดมีการอธิบายขยายความ
จนกลายเปน สทิ ธใิ นการจาํ กดั อาํ นาจรฐั โดยใหเ หตผุ ลวา ประชาชนมอี าณาเขตหนงึ่ ทห่ี า มมใิ หผ ใู ชอ าํ นาจ
ปกครองรัฐลวงล้ําเขาไปใชอํานาจรัฐได เมื่อผูใชอํานาจปกครองรัฐมีพันธกรณีท่ีจะตองงดเวนไมใช
อาํ นาจรฐั จงึ เทา กบั ประชาชนของรฐั มสี ทิ ธใิ นการจาํ กดั อาํ นาจรฐั นน่ั เอง และนอกจากจะเปน การจาํ กดั
อาํ นาจรฐั ไมใ หล ว งละเมดิ สทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนแลว สทิ ธเิ สรภี าพของแตล ะบคุ คล กจ็ ะตอ งไมถ กู
ลว งละเมดิ จากการใชสิทธิเสรภี าพของบุคคลอื่นดว ย นั่นกห็ มายความวา การใชส ิทธิเสรีภาพของแตล ะ
บคุ คลจะตอ งใชภ ายในปรมิ ณฑลเขตแดนของสทิ ธเิ สรภี าพแหง ตน และตอ งไมล ว งเขา ไปในเขตแดนของ
สทิ ธิเสรภี าพของบคุ คลอน่ื



¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧÊÔ·¸ÔáÅÐàÊÃÕÀÒ¾

“Ê·Ô ¸”Ô (Rights) หมายถงึ อาํ นาจทก่ี ฎหมายรบั รองใหแ กบ คุ คลในอนั ทจ่ี ะกระทาํ การใด
ท่ีเก่ียวของกับชีวิต รางกายหรือทรัพยสินของตนหรือบุคคลอื่น หรือประโยชนท่ีกฎหมายรับรอง
และคุมครองให หรือประโยชนในทางใดทางหน่ึง ท้ังที่เปนรูปธรรมจับตองได และท่ีเปนนามธรรม
ถา กฎหมายโดยเฉพาะอยา งยง่ิ กฎหมายสงู สดุ คอื รฐั ธรรมนญู คมุ ครองและรบั รองสทิ ธใิ ด กจ็ ะกอ ใหเ กดิ
หนา ทแี่ กร ฐั หนวยงานของรัฐและเจาหนา ทขี่ องรัฐท่จี ะตอ งเคารพสิทธิน้นั ๆ รวมถึงกอ ใหเกิดหนาท่ี
แกป ระชาชนท่จี ะตอ งเคารพสทิ ธิซึง่ กันและกนั ดว ย

“àÊÃÀÕ Ò¾” (Liberty) หมายถงึ ภาวะของมนษุ ยท ไ่ี มต กอยภู ายใตก ารครอบงาํ ของผอู น่ื
หรอื อาํ นาจในการกาํ หนดตนเองโดยอสิ ระของบคุ คล หรอื ความมอี สิ ระทจี่ ะกระทาํ การหรอื งดเวน กระทาํ การ
ในเรื่องใดเรอ่ื งหนึ่ง เมอ่ื รัฐธรรมนญู คมุ ครองเสรภี าพใด กจ็ ะกอใหเ กดิ หนา ที่แกร ัฐ หนว ยงานของรฐั
ทจ่ี ะตอ งไมล ะเมดิ เสรภี าพนนั้ ความมอี สิ ระทจี่ ะกระทาํ การหรอื งดเวน กระทาํ การนเ้ี ปน ประโยชนช นดิ หนงึ่

สทิ ธนิ ั้น กอใหเ กิดหนา ท่แี กอ งคก รของรฐั หรือบุคคลอ่นื ในการทจ่ี ะตองกระทําการ หรอื
ละเวน กระทาํ การอยา งใดอยา งหนงึ่ เพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนแ กผ ทู รงสทิ ธนิ น่ั เอง แตเ สรภี าพนน้ั คอื อาํ นาจ
ของบคุ คลท่มี ีอยูเ หนือตนในการท่ีจะกระทาํ การอยางใดอยางหนึง่ ดวยอําเภอใจตน ผหู นง่ึ ผใู ดไมอ าจ
เขา มามอี ทิ ธพิ ลโนม นา วหรอื บงั คบั บญั ชาใหบ คุ คลกระทาํ การอยา งใด และแมว า การมเี สรภี าพจะมผี ล
ใหเกิดหนาที่แกบุคคลอ่ืนหรือองคกรของรัฐก็ตาม แตก็เปนหนาที่ท่ีจะตองละเวนจากการกระทําใดๆ
ที่เปนอุปสรรคหรือขัดขวางการใชเสรีภาพของผูทรงเสรีภาพเทานั้น มิไดมีอํานาจตามกฎหมาย
ในอันท่ีจะเรียกรองใหบุคคลอื่นหรือองคกรของรัฐกระทําการอยางใดอยางหนึ่งอันมีลักษณะเปนการ
สง เสริมการใชเสรภี าพของตนหรอื เอ้อื อาํ นวยใหตนใชเสรีภาพไดสะดวกขน้ึ แตอ ยางใด

Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ á˧‹ ÃÒªÍҳҨѡÃä·Â ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõöð

ÁÒμÃÒ ñ ประเทศไทยเปน ราชอาณาจกั รอนั หนึ่งอนั เดยี ว จะแบง แยกมิได
ÁÒμÃÒ ò ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข
คําอธบิ าย
รปู แบบของรฐั หมายถงึ ลกั ษณะอนั แสดงถงึ รฐั วา เปน ประเทศทมี่ กี ารปกครองและองคก ร
ทางการปกครองเปน เอกภาพ หรอื วา เปน กลมุ ของรัฐท่ีประกอบกันเปนประเทศ และจดั การปกครอง
รูปแบบของรัฐ มเี กณฑการพิจารณาจากโครงสรา งอาํ นาจรฐั และพิจารณาจากประมขุ ของรฐั
ñ. ¾¨Ô ÒóҨҡâ¤Ã§ÊÃÒŒ §ÍӹҨðÑ

๑.๑ รฐั เดย่ี ว (Unitary State) คอื รฐั ทมี่ ศี นู ยก ลางในทางการเมอื งและการปกครอง
รวมกนั เปนอนั หน่ึงอนั เดียว เปน รัฐซง่ึ มีเอกภาพไมไดแ ยกออกจากกัน มกี ารใชอ าํ นาจสูงสุดทงั้ ภายใน
และภายนอกโดยองคก รเดยี วกนั ทั่วดินแดนของรัฐ อาํ นาจสูงสดุ ในที่น้ี ก็คือ อาํ นาจอธปิ ไตย (อํานาจ
นติ บิ ญั ญตั ิ อาํ นาจบรหิ าร และอาํ นาจตลุ าการ) ในรฐั เดย่ี ว บคุ คลทกุ คนในประเทศจะอยภู ายใตบ งั คบั บญั ชา
ของอํานาจแหงเดียวกันนี้ ทุกคนจะอยูในระบอบการปกครองเดียวกัน และอยูใตบทบัญญัติของ
กฎหมายอยางเดยี วกนั



รัฐเดี่ยวมีอยูมากในโลกนี้ และมีในทุกทวีป เชน ไทย ฯลฯ รัฐเดี่ยวนั้น
ไมจาํ เปน ตองตงั้ อยบู นผนื แผนดนิ เดยี วกนั และติดตอกนั ไป ตัวอยา งเชน ญ่ปี ุน อนิ โดนเี ซยี เปนตน
อาจประกอบดวยดินแดนหลายดินแดนอยูแยกหางจากกัน โดยมีประเทศอื่นค่ันอยูก็ได ตัวอยางเชน
ประเทศปากสี ถาน และตรุ กี เปนตน

๑.๒ รฐั รวม คอื รฐั ตา งๆ ตง้ั แต ๒ รฐั ขน้ึ ไป ซง่ึ ไดเ ขา มารวมกนั ภายใตร ฐั บาลเดยี วกนั
หรือประมุขเดยี วกัน อาจดว ยความสมคั รใจของทุกรัฐเพ่อื ประโยชนร ว มกัน โดยท่ีแตละรัฐตา งกย็ งั คง
มีสภาพเปนรัฐอยูอยางเดิม เพียงแตการใชอํานาจอธิปไตยไดถูกจํากัดลงไปบาง มากบางนอยบาง
ตามแตร ฐั ธรรมนญู จะกาํ หนด หรอื ตามแตข อ ตกลงทไ่ี ดใ หไ ว ทง้ั น้ี เพราะวา ไดน าํ เอาอาํ นาจนบี้ างสว น
มาใหร ฐั บาล หรอื ประมุข เปน ผใู ช ซง่ึ แตละรฐั นน้ั อยูภายใตอํานาจสูงสดุ เดียวกนั ในอดีตรัฐรวมจะมี
๒ รปู แบบ คือ สมาพนั ธรฐั และ สหพันธรัฐ แตป จจบุ นั นี้จะเหลือแต สหพันธรฐั

ลักษณะสําคัญของรูปแบบรัฐบาลตามแบบ สหพันธรัฐ (Federalism) คือ
การแบงแยกอํานาจ (Division of Power) ระหวางรัฐบาลกลาง (Central Government) และ
รัฐบาลมลรฐั (State Government) โดยทอ่ี งคป ระกอบของแตละหนวยที่มารวมตัวกนั เปน สหพนั ธรัฐ
ตอ งมขี อบเขตอาณาบรเิ วณทช่ี ดั เจน และทง้ั รฐั บาลกลาง และรฐั บาลทอ งถนิ่ ตา งมอี าํ นาจโดยตรงจาก
รฐั ธรรมนญู ของตนเอง และเปน อาํ นาจทไ่ี มก า วกา ยซงึ่ กนั และกนั อกี ทง้ั การสรา งสมดลุ ระหวา งอาํ นาจ
ระหวางทอ งถนิ่ และรฐั บาลกลางเปน สิง่ ทจี่ ําเปนอยา งยิ่ง

ดังน้ัน มลรัฐจึงมีอํานาจที่จะสามารถควบคุม ดูแลประชาชนภายในมลรัฐ
ของตน แตห ลกั การสําคญั คอื อํานาจน้ันตองไมข ดั กับความตองการ และสวสั ดิภาพของชาตโิ ดยสวน
รวมอํานาจ โดยท่ีหนาท่ีซ่ึงแตละมลรัฐมีภายในรัฐของตนได ก็อยางเชน การศึกษา การสาธารณสุข
กฎหมายการแตง งาน การหยา รา ง การเกบ็ ภาษีทองถน่ิ การควบคมุ และดาํ เนินการเลอื กตงั้ ดังนนั้
แมว า รัฐสองรัฐจะอยตู ิดกนั แตอาจมีกฎหมายในเรอื่ งเดียวกนั ตา งกนั ได

ò. ¾Ô¨ÒóҨҡ»ÃÐÁØ¢¢Í§Ã°Ñ
๒.๑ ราชอาณาจักร (Kingdom) คอื รัฐท่มี ีพระมหากษัตรยิ  (King) เปน ประมุข

ซึ่งการเขาสูตําแหนงพระมหากษัตริยเปนไปตามวิธีการสืบราชสันตติวงศและสถานะของประมุข
ของรัฐที่เปนพระมหากษัตริยจะอยูในฐานะท่ีละเมิดไมไดจะถูกวิพากษวิจารณในทางการเมือง จะถูก
ฟอ งรอ งในคดแี พง คดอี าญาไมไ ด รฐั ทม่ี พี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ จะมรี ปู แบบการปกครองในระบอบ
สมบูรณาญาสิทธริ าชย หรอื ประชาธปิ ไตยก็ได หากรัฐทม่ี ีพระมหากษัตริยเ ปนประมุขในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริยจะทรงมีพระราชอํานาจเพียงเทาที่รัฐธรรมนูญและกฎหมาย
ถวายแดพระองคเทาน้ัน ในกรณีท่ีไมมีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายถวายพระราชอํานาจดานใดให
พระมหากษตั ริย กห็ มายความวา พระมหากษัตริยไ มม ีพระราชอาํ นาจในประการนั้น

๒.๒ สาธารณรฐั (Republic) หรอื มหาชนรฐั หมายถงึ รฐั ซงึ่ มสี ามญั ชนเปน ประมขุ
กลาวคือ ผูเปนประมุขของรัฐมิไดอยูในฐานะที่อันเปนที่เคารพสักการะผูใดจะละเมิดมิไดเหมือน
พระมหากษตั รยิ  เปน เพยี งสามญั คนธรรมดาและถกู วพิ ากษว จิ ารณไ ด สามารถจะถกู ฟอ งรอ งในคดแี พง



หรือคดีอาญาไดเหมือนกับราษฎรอ่ืนทุกประการ ซึ่งประมุขของรัฐท่ีเปนสาธารณรัฐหรือมหาชนรัฐ
จะมชี อ่ื เรยี กแตกตางกนั เชน ประธานาธิบดี ทานผูน าํ เปนตน รปู แบบของการปกครองสาธารณรฐั
หรือมหาชนรัฐ ซ่ึงมีสามัญชนเปนประมุขมีการปกครองอยู ๒ ระบอบ คือ ระบอบประชาธิปไตย
กบั ระบอบเผด็จการ

ÁÒμÃÒ ñ ประเทศไทยเปน ราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดยี ว จะแบง แยกมิได
คําอธิบาย มาตรานี้มีสาระสาํ คัญ ๒ ประการ คอื
๑. การกลา วรปู แบบการปกครอง เพราะคาํ วา “ราชอาณาจกั ร” บง บอกถงึ ประมขุ ของรฐั
เปน “กษตั รยิ ” ถาประมุขของรฐั เปน บุคคลธรรมดา จะใชคําวา “สาธารณรัฐ”
๒. การกลาวถึงการจัดระเบียบแหงการใชอํานาจอธิปไตยของรัฐ ซึ่งคําวา “อันหน่ึง
อนั เดยี วจะแบง แยกมิได” หมายถึงการปกครองแบบรัฐเดี่ยว
ÁÒμÃÒ ò ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมุข
คาํ อธิบาย มาตรานี้มสี าระสาํ คัญ คอื
๑. เปน การวางหลกั การปกครอง ทมี่ พี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตางจากการปกครองท่ีมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
อกี แบบหนงึ่ คอื ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย ในลกั ษณะปรมติ าญาสทิ ธริ าชย (หรอื ราชาธปิ ไตย) เชน
ซาอดุ อี าระเบีย บรูไน เปน ตน
๒. ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งระบอบประชาธิปไตย อาจมปี ระมขุ ท่ีเปน กษตั รยิ  หรือเปน
ประมุขทเ่ี ปน บุคคลธรรมดา ตา งไปจากระบอบเผดจ็ การ เชน จนี เกาหลีเหนือ เปน ตน
ÁÒμÃÒ ó อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุข
ทรงใชอ ํานาจนนั้ ทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบญั ญัตแิ หง รฐั ธรรมนญู
รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล องคก รอสิ ระ และหนว ยงานของรฐั ตอ งปฏบิ ตั หิ นา ทใี่ หเ ปน ไป
ตามรฐั ธรรมนญู กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพอ่ื ประโยชนสว นรวมของประเทศชาติและความผาสกุ
ของประชาชนโดยรวม
คําอธบิ าย มาตรา ๓ น้ี กลา วถงึ สาระสาํ คัญ อยู ๓ ประการ ดังนี้
๑. อํานาจอธิปไตย ท่ีกลาวถึง “อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน” “อํานาจอธิปไตย
เปน ของชาติ” ใชร วมกันเปน “อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน”
๒. หลักการแบง แยกอาํ นาจ คือ อาํ นาจนิตบิ ญั ญัติ อาํ นาจบรหิ าร และอาํ นาจตลุ าการ
(ความเปน หลักนิติรัฐ) รวมการใชอ าํ นาจกึง่ นติ ิบัญญัติ กึง่ บริหาร ก่งึ ตลุ าการ ก็คอื องคก รอสิ ระ
๓. หลกั นิติธรรม กลา วคอื

๓.๑ ฝายปกครองกระทําตามอาํ เภอใจไมไ ด
๓.๒ ไมมีบุคคลใดอยูเ หนือกฎหมาย ทกุ คนตองอยูภายใตกฎหมาย
๓.๓ การบังคบั ใชก ฎหมายตองกระทําอยา งเสมอภาค



ÁÒμÃÒ ô ศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล
ยอ มไดร บั ความคมุ ครอง

ปวงชนชาวไทยยอ มไดร ับความคุมครองตามรฐั ธรรมนูญเสมอกัน
คําอธิบาย มาตราน้ี กลา วถึง
“สิทธิ” หมายถงึ สงิ่ ที่ “กฎหมายรับรอง” “คุมครองประโยชนใ ห”
๑. กฎหมายรบั รอง คอื รบั รองสทิ ธมิ นษุ ยชน (รบั รองสทิ ธทิ กุ คนทวั่ โลก เกย่ี วกบั ศกั ดศ์ิ รี
ความเปนมนษุ ย) กับสทิ ธพิ ลเมือง (รบั รองสิทธิเฉพาะพลเมอื งในรัฐนั้น)
๒. คมุ ครองประโยชนใ ห คอื คุมครองในชีวิตกับคมุ ครองในทรพั ยสิน

“เสรภี าพ” คอื ความเปน อสิ ระปราศจากการควบคมุ กกั ขงั หนว งเหนยี่ วตามทกี่ ฎหมาย
รบั รองคมุ ครองให

“เสมอภาค” คือ ทกุ คนไดรับการปฏิบตั ิอยา งเสมอภาคตามสทิ ธิ
ดังน้ันพลเมืองชาวไทยยอมไดรับการคุมครองทั้งสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง
แตพ ลเมืองในรัฐอน่ื ยอมไดรบั คมุ ครองเพยี งสทิ ธมิ นษุ ยชนเทานน้ั
ÁÒμÃÒ õ รฐั ธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สุดของประเทศ บทบัญญัตใิ ดของกฎหมาย กฎ
หรือขอบังคับ หรอื การกระทําใด ขดั หรือแยง ตอ รัฐธรรมนญู บทบญั ญัติหรอื การกระทาํ นั้นเปนอันใช
บังคบั มไิ ด
เมื่อไมมีบทบญั ญตั แิ หง รัฐธรรมนญู นี้บังคับแกกรณใี ด ใหกระทําการนนั้ หรือวนิ ิจฉยั กรณี
น้ันไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุข
คําอธิบาย มาตราน้ีกลาวถงึ อยู ๓ ประเดน็
๑. ความสูงสุดของรัฐธรรมนญู วา เปนกฎหมายสงู สุด กฎหมาย กฎ ระเบียบขอบงั คับ
อนื่ ใดจะขัดหรอื แยงกบั รัฐธรรมนูญใชบังคบั มไิ ด
๒. ท่มี าของกฎหมายลายลักษณอ กั ษร มีอยู ๓ ระดบั

(๑) ระดับรฐั ธรรมนญู
(๒) ระดบั กฎหมาย (กฎหมายบญั ญัติ)
(๓) ระดบั กฎ (กฎหมายลาํ ดบั รอง)
๓. กําหนดการอุดชองวางรัฐธรรมนูญในกรณีที่ไมมีบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ๒๕๖๐
ใชบงั คับใหใ ชจ ารตี การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ
ÁÒμÃÒ òõ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัติคุมครองไวเปน
การเฉพาะในรัฐธรรมนญู แลว การใดท่ีมิไดห ามหรอื จํากัดไวใ นรฐั ธรรมนูญหรือในกฎหมายอ่นื บคุ คล
ยอ มมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพทจ่ี ะทาํ การนน้ั ไดแ ละไดร บั ความคมุ ครองตามรฐั ธรรมนญู ตราบเทา ทก่ี ารใชส ทิ ธิ
หรอื เสรภี าพเชน วา นนั้ ไมก ระทบกระเทอื นหรอื เปน อนั ตรายตอ ความมน่ั คงของรฐั ความสงบเรยี บรอ ย
หรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน และไมละเมิดสิทธหิ รอื เสรภี าพของบคุ คลอน่ื



สิทธิหรือเสรีภาพใดท่ีรัฐธรรมนูญใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือใหเปนไปตาม
หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารที่กฎหมายบญั ญัติ แมยังไมม ีการตรากฎหมายน้นั ข้ึนใชบ ังคบั บุคคลหรอื ชุมชน
ยอมสามารถใชส ทิ ธหิ รอื เสรีภาพนัน้ ไดต ามเจตนารมณข องรฐั ธรรมนูญ

คําอธิบาย บุคคลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญ
สามารถยกบทบัญญัตแิ หงรฐั ธรรมนูญเพือ่ ใชสทิ ธทิ างศาลหรือยกข้ึนเปน ขอตอสคู ดีในศาลได

บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือจากการกระทํา
ความผดิ อาญาของบคุ คลอน่ื ยอ มมสี ทิ ธทิ จี่ ะไดร บั การเยยี วยาหรอื ชว ยเหลอื จากรฐั ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ

มาตรานน้ี บั เปน มาตราทส่ี าํ คญั เปน อยา งมากภายใตก ารปกครองแบบนติ ริ ฐั (Legal State)
กลาวคอื

๑. รฐั กระทาํ การใดๆ ทไี่ ปกระทบสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนไมไ ด เวน แตจ ะมกี ฎหมาย
กําหนดไว

๒. สทิ ธเิ สรีภาพของประชาชนตอ งไมกระทบกระเทือนตอ
๒.๑ ความมัน่ คงของรฐั
๒.๒ ความสงบเรียบรอย
๒.๓ ขัดตอศีลธรรมอันดขี องประชาชน
๒.๔ ไมล ะเมดิ ตอ สทิ ธเิ สรีภาพตอบุคคลอ่นื

๓. ในกรณีท่ีรัฐธรรมนูญใหสิทธิเสรีภาพ แตยังไมมีกฎหมาย หลักเกณฑวิธีการรองรับ
ใหบ คุ คลหรือชมุ ชนสามารถใชส ทิ ธิเสรีภาพตามรฐั ธรรมนูญได

๔. บคุ คลท่ถี ูกละเมดิ สิทธเิ สรีภาพตามรัฐธรรมนญู ยอ มใชส ิทธทิ างศาลได
๕. บุคคลท่ีถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพและไดรับความเสียหายยอมมีสิทธิไดรับการเยียวยา
จากการละเมิดได
ÁÒμÃÒ òö การตรากฎหมายทมี่ ผี ลเปน การจาํ กดั สทิ ธหิ รอื เสรภี าพของบคุ คลตอ งเปน ไป
ตามเง่ือนไขที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ ในกรณีท่ีรัฐธรรมนูญมิไดบัญญัติเง่ือนไขไว กฎหมายดังกลาว
ตองไมข ดั ตอหลักนิติธรรม ไมเพิม่ ภาระหรอื จาํ กัดสิทธหิ รือเสรภี าพของบุคคลเกินสมควรแกเหตุ และ
จะกระทบตอศักด์ิศรีความเปนมนุษยของบุคคลมิได รวมทั้งตองระบุเหตุผลความจําเปนในการจํากัด
สทิ ธแิ ละเสรภี าพไวด วย
กฎหมายตามวรรคหนง่ึ ตอ งมผี ลใชบ งั คบั เปน การทวั่ ไป ไมม งุ หมายใหใ ชบ งั คบั แกก รณใี ด
กรณีหน่ึงหรือแกบุคคลใดบคุ คลหน่ึงเปนการเจาะจง
คําอธิบาย มาตราน้ีกลาวถึงแนวคิดการปกครอง อยู ๒ หลัก คือ หลักนิติรัฐ (มาจาก
ภาคพนื้ ยโุ รป ระบบกฎหมาย Civil Law) กับหลักนติ ธิ รรม จากอังกฤษ (ระบบกฎหมาย Common
Law) ดังน้ี
๑. รฐั จะตรากฎหมายจาํ กัดสิทธเิ สรภี าพไมไ ด เวนแตก ฎหมายกําหนดไว และตอ งบอก
เหตุผลในการจํากดั สทิ ธเิ สรีภาพดวย

๑๐

๒. ตองกระทาํ ดวยสมควรแกเ หตุ
๓. การกระทําของรัฐจะกระทบตอ ศักดศิ์ รแี หง ความเปน มนษุ ยไ มได
๔. ในกรณที ี่รฐั ธรรมนญู ไมไ ดก ําหนดไว การกระทําของรฐั ตอ งไมข ดั ตอหลกั นติ ธิ รรม
๕. กระทําของรัฐตองกระทําอยางเสมอภาคตามกฎหมาย ใชบังคับเปนการท่ัวไป
ไมเฉพาะเจาะจง
๖. ในกรณที ร่ี ฐั ธรรมนญู ไมไดกําหนดไว การกระทําของรฐั ตอ งไมขดั ตอ หลกั นิติธรรม
ÁÒμÃÒ ò÷ บคุ คลยอ มเสมอกนั ในกฎหมาย มสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพและไดร บั ความคมุ ครอง
ตามกฎหมายเทา เทยี มกนั
ชายและหญงิ มสี ทิ ธเิ ทา เทยี มกัน
การเลอื กปฏบิ ัตโิ ดยไมเปนธรรมตอ บุคคล ไมวาดว ยเหตคุ วามแตกตางในเร่ืองถนิ่ กําเนิด
เชอ้ื ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายหรอื สขุ ภาพ สถานะของบคุ คล ฐานะทางเศรษฐกจิ
หรอื สงั คม ความเชอื่ ทางศาสนา การศกึ ษาอบรม หรอื ความคดิ เหน็ ทางการเมอื งอนั ไมข ดั ตอ บทบญั ญตั ิ
แหง รฐั ธรรมนญู หรอื เหตุอน่ื ใด จะกระทาํ มไิ ด
มาตรการทร่ี ฐั กาํ หนดขนึ้ เพอื่ ขจดั อปุ สรรคหรอื สง เสรมิ ใหบ คุ คลสามารถใชส ทิ ธหิ รอื เสรภี าพ
ไดเชน เดยี วกับบุคคลอื่น หรือเพอ่ื คมุ ครองหรอื อํานวยความสะดวกใหแ กเดก็ สตรี ผสู งู อายุ คนพิการ
หรอื ผูดอ ยโอกาส ยอ มไมถ อื วา เปน การเลอื กปฏบิ ัติโดยไมเ ปน ธรรมตามวรรคสาม
บคุ คลผเู ปนทหาร ตาํ รวจ ขาราชการ เจา หนา ทีอ่ ่นื ของรฐั และพนกั งานหรอื ลกู จา งของ
องคกรของรัฐยอมมีสิทธิและเสรีภาพเชนเดียวกับบุคคลท่ัวไป เวนแตท่ีจํากัดไวในกฎหมายเฉพาะใน
สว นท่ีเก่ยี วกับการเมอื ง สมรรถภาพ วินยั หรอื จรยิ ธรรม
คาํ อธบิ าย มาตราน้กี ลา วถงึ
๑. ความเสมอภาคในทางกฎหมายทั้งชายและหญิงมีสทิ ธเิ ทา เทยี มกนั
๒. การเลือกปฏบิ ัตเิ พราะเหตุ ความแตกตางของ ถ่นิ กาํ เนดิ เชอื้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ
ความพกิ าร สภาพทางกายหรอื สขุ ภาพ สถานะของบคุ คลฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื สงั คม ความเชอื่ ทาง
ศาสนา การศกึ ษาอบรม หรือความคดิ เห็นทางการเมืองอันไมข ัดตอ บทบัญญัติแหง รฐั ธรรมนูญ หรอื
เหตอุ ื่นใด กระทําไมได
๓. การทรี่ ัฐใหความสําคัญกบั เดก็ สตรี ผสู งู อายุ คนพิการ ผดู อ ยโอกาส ไมถือเปน การ
เลือกปฏิบัติ
๔. บุคคลท่ีเปนเจาหนาท่ีของรัฐ ซ่ึงเปนขาราชการกับลูกจาง ยอมมีสิทธิเสรีภาพ
เชน เดยี วกบั บคุ คลทั่วไป
ÁÒμÃÒ òø บุคคลยอ มมสี ิทธิและเสรีภาพในชวี ติ และรางกาย
การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทํามิได เวนแตมีคําส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุ
อยา งอน่ื ตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
การคนตัวบุคคลหรือการกระทําใดอันกระทบกระเทือนตอสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิต
หรอื รางกายจะกระทํามิได เวน แตมเี หตตุ ามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ

๑๑

การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรา ยหรือไรมนษุ ยธรรมจะกระทํา
มไิ ด

คาํ อธิบาย มาตรานีก้ ลาวถึง การรับรองสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน คอื
๑. การจบั กมุ และคมุ ขงั กระทาํ ไดต อ งมคี าํ สง่ั หรอื หมายศาล เวน มเี หตอุ น่ื เชน กระทาํ ผดิ
ซึ่งหนา ไมตอ งมีหมายศาล เปน ตน
๒. การคนตัวหรือการกระทําท่ีละเมิดสิทธิเสรีภาพในชีวิตและรางกายของประชาชน
กระทาํ ไมไ ด เวนแตม กี ฎหมายกําหนดไว
๓. การทรมาน การทารณุ หรอื ลงโทษดว ยวธิ กี ารโหดรา ยและไรม นษุ ยธรรมกระทาํ ไมไ ด
ÁÒμÃÒ òù บุคคลไมตองรับโทษอาญา เวนแตไดกระทําการอันกฎหมายท่ีใชอยูใน
เวลาทกี่ ระทาํ นัน้ บัญญตั เิ ปน ความผดิ และกําหนดโทษไว และโทษทจ่ี ะลงแกบคุ คลน้นั จะหนกั กวาโทษ
ทีบ่ ญั ญตั ิไวในกฎหมายที่ใชอ ยใู นเวลาที่กระทําความผดิ มไิ ด
ในคดอี าญา ใหส นั นษิ ฐานไวก อ นวา ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยไมม คี วามผดิ และกอ นมคี าํ พพิ ากษา
อนั ถงึ ทสี่ ดุ แสดงวา บคุ คลใดไดก ระทาํ ความผดิ จะปฏบิ ตั ติ อ บคุ คลนนั้ เสมอื นเปน ผกู ระทาํ ความผดิ มไิ ด
การควบคมุ หรอื คมุ ขงั ผตู อ งหาหรอื จาํ เลยใหก ระทาํ ไดเ พยี งเทา ทจี่ าํ เปน เพอ่ื ปอ งกนั มใิ ห
มีการหลบหนี
ในคดอี าญา จะบังคับใหบุคคลใหก ารเปนปฏิปก ษต อ ตนเองมไิ ด
คําขอประกันผูตองหาหรือจําเลยในคดีอาญาตองไดรับการพิจารณาและจะเรียก
หลักประกนั จนเกนิ ควรแกก รณมี ไิ ด การไมใ หประกนั ตอ งเปน ไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ
คําอธบิ าย มาตราน้ีกลาวถึง
๑. บุคคลจะรบั โทษทางอาญาไดน นั้ ตอ งกฎหมายบัญญตั ไิ วเปนความผิด
๒. จะลงโทษบุคคลใหหนกั กวาโทษท่บี ัญญตั ไิ มไ ด
๓. ในคดอี าญากฎหมายใหส นั นษิ ฐานไวก อ นวา ผตู อ งหาหรอื จาํ เลย กอ นทศี่ าลพพิ ากษา
ถอื วาไมมคี วามผดิ
๔. การควบคมุ หรือคมุ ขงั ผูตอ งหาหรอื จาํ เลยใหก ระทําไดเ พยี งเทา ท่จี ําเปน
๕. ในคดีอาญาจะบังคับใหบุคคลปฏปิ ก ษต อตนเองไมไ ด
๖. การเรียกประกนั ตวั ผูตองหาหรอื จําเลยจะเรียกหลกั ประกนั เกินควรแกก รณีไมไ ด
ÁÒμÃÒ óñ บุคคลยอมมีเสรีภาพบริบูรณในการถือศาสนาและยอมมีเสรีภาพในการ
ปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน แตตองไมเปนปฏิปกษตอหนาท่ีของปวงชน
ชาวไทยไมเปนอันตรายตอความปลอดภัยของรัฐ และไมขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน
คําอธิบาย มาตราน้ีกลา วถงึ สิทธิเสรีภาพทร่ี บั รองโดยสมบูรณ คือ การนบั ถือศาสนา
แตอยางไรกต็ ามสิทธิเสรีภาพการนับถือศาสนาตองไมเปนการกระทาํ ดังตอ ไปน้ี
๑. กระทําที่เปนปฏิปกษต อหนา ที่ปวงชนชาวไทย
๒. การกระทําตองไมเปนภัยอนั ตรายตอรัฐ

๑๒

๓. การกระทําตอ งไมขัดตอความสงบเรียบรอยของรัฐ
๔. การกระทําตองไมข ัดตอ ศีลธรรมอนั ดงี ามของประชาชน
ÁÒμÃÒ óó บุคคลยอมมเี สรภี าพในเคหสถาน
การเขา ไปในเคหสถานโดยปราศจากความยนิ ยอมของผคู รอบครอง หรอื การคน เคหสถาน
หรอื ทร่ี โหฐานจะกระทาํ มไิ ด เวน แตม คี าํ สงั่ หรอื หมายของศาลหรอื มเี หตอุ ยา งอน่ื ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
คาํ อธิบาย มาตรานีก้ ลา วถงึ ดังนี้
๑. สิทธิเสรีภาพของบุคคลในเคหสถาน (บาน, บา นเรอื น, ทอ่ี ยอู าศยั , ทพ่ี ักอาศัย)
๒. การเขา ไปในเคหสถานโดยไมไ ดรับความยินยอมกระทําไมได
๓. ขอยกเวน การเขา ไปในเคหสถานจะกระทําไดตอ ง

๓.๑ มีคาํ สัง่ ของศาล หรือ
๓.๒ มีหมายศาล หรอื
๓.๓ มีเหตุอ่ืนตามกฎหมายกําหนด เชน เหตุตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๙๒ (การคนโดยไมตอ งมหี มายคน)
ÁÒμÃÒ óø บุคคลยอ มมีเสรภี าพในการเดนิ ทางและการเลือกถน่ิ ทอ่ี ยู
การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหงกฎหมายท่ีตราข้ึนเพื่อความม่ันคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน
หรือการผังเมอื ง หรือเพ่ือรักษาสถานภาพของครอบครัว หรอื เพอ่ื สวสั ดภิ าพของผเู ยาว
คาํ อธิบาย มาตรานกี้ ลา วถึง
๑. บคุ คลมีสทิ ธเิ สรีภาพในการเดนิ ทาง ไมวาไปแหง หนใดท่ัวโลก
๒. บคุ คลมีสทิ ธเิ สรภี าพในการเลอื กถ่นิ ท่ีอยอู าศยั ในราชอาณาจักรไทย
๓. แตม ีขอยกเวนท่ตี องจาํ กดั สทิ ธเิ สรีภาพดงั กลาวขางตน คอื ตอ งอยภู ายใตก รอบของ
กฎหมายที่กําหนดไว
๓.๑ เพื่อความม่ันคงของรฐั
๓.๒ เพอื่ ความสงบเรียบรอ ย
๓.๓ เพือ่ สวัสดภิ าพของประชาชน
๓.๔ การผงั เมอื ง
๓.๕ เพอื่ รักษาสถานภาพของครอบครวั
๓.๖ เพ่ือสวสั ดิภาพของผูเยาว
ÁÒμÃÒ óù การเนรเทศบุคคลสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือหามมิใหผูมี
สญั ชาตไิ ทยเขา มาในราชอาณาจกั ร จะกระทํามิได
การถอนสัญชาตขิ องบคุ คลซงึ่ มสี ญั ชาติไทยโดยการเกดิ จะกระทาํ มไิ ด
คําอธบิ าย มาตรานกี้ ลาวถึง
๑. การเนรเทศบุคคลท่มี ีสญั ชาติไทยออกนอกเปน กระทําไมได
๒. การหามบุคคลทมี่ สี ัญชาตไิ ทยเขา ประเทศไทยกระทาํ ไมได
๓. การถอนบคุ คลทม่ี สี ัญชาติไทยโดยการเกดิ กระทําไมไ ด

๑๓

¡Åä¡¡ÒäØÁŒ ¤ÃÍ§Ê·Ô ¸áÔ ÅÐàÊÃÕÀÒ¾μÒÁÃ°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ

เมื่อรัฐไดรับรองสิทธิเสรีภาพดวยการบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญยอมทําใหกฎหมายหรือ
องคกรท้ังที่เกิดขึ้นจากรัฐธรรมนูญจะลวงละเมิดบทบัญญัติท่ีรับรองสิทธิเสรีภาพน้ันไมไดเพราะสิทธิ
เสรีภาพตามท่ีไดรับรองในรัฐธรรมนูญมีสถานะเปนสวนหนึ่งของรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุด
ซ่ึงองคกรใดๆ ของรัฐไมวาจะเปนองคกรนิติบัญญัติ องคกรบริหาร รวมท้ังองคกรตุลาการจะตองให
ความเคารพและใหความคุมครองโดยการใชอํานาจขององคกรเหลานั้นจะตองผูกพันอยูภายใตหลัก
ความชอบดวยรัฐธรรมนูญ และในกรณีที่องคกรเหลานั้นใชอํานาจหนาท่ีของตนละเมิดสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคลตามท่ีรัฐธรรมนูญไดบัญญัติรับรองไว การกระทําดังกลาวยอมถูกตรวจสอบไดโดยองคกร
ตุลาการ ดังนั้นจึงเห็นไดวาการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเปนเร่ืองที่สําคัญเพราะหากไมมี
ระบบคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน สิทธิเสรีภาพของประชาชนที่รับรองไวในรัฐธรรมนูญ
ยอมถกู ละเมดิ โดยงา ยซงึ่ ยอมเทากบั ประชาชนไมมสี ิทธเิ สรภี าพท่แี ทจ รงิ

รฐั ธรรมนญู ไดบ ญั ญตั หิ ลกั การคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพโดยศาลไวใ นมาตรา ๒๕ โดยใหบ คุ คล
ซงึ่ ถกู ละเมดิ สทิ ธเิ สรภี าพทรี่ ฐั ธรรมนญู รบั รองไวส ามารถยกบทบญั ญตั แิ หง รฐั ธรรมนญู นเ้ี พอื่ ใชส ทิ ธทิ าง
ศาลหรือยกข้ึนเปนขอตอสใู นศาลได

ÁÒμÃÒ òñò ในการที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด ถาศาล
เห็นเองหรือคูความโตแยงพรอมดวยเหตุผลวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตองดวยมาตรา ๕ และ
ยังไมมีวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับบทบัญญัติน้ัน ใหศาลสงความเห็นเชนวาน้ันตอ
ศาลรฐั ธรรมนญู เพอื่ วนิ จิ ฉยั ในระหวา งนนั้ ใหศ าลดาํ เนนิ การพจิ ารณาตอ ไปไดแ ตใ หร อการพพิ ากษาคดี
ไวชวั่ คราวจนกวาจะมีคําวนิ ิจฉัยของศาลรัฐธรรมนญู

ในกรณีที่ศาลรฐั ธรรมนญู เห็นวา คําโตแยงของคูค วามตามวรรคหนึง่ ไมเ ปน สาระอนั ควร
ไดรับการวนิ จิ ฉัย ศาลรัฐธรรมนญู จะไมร บั เรือ่ งดงั กลาวไวพจิ ารณาก็ได

คาํ วนิ จิ ฉยั ของศาลรฐั ธรรมนญู ใหใ ชไ ดใ นคดที งั้ ปวง แตไ มก ระทบตอ คาํ พพิ ากษาของศาล
อันถึงทส่ี ุดแลว เวนแตในคดอี าญาใหถ อื วาผซู ง่ึ เคยถกู ศาลพพิ ากษาวากระทําความผิดตามบทบญั ญตั ิ
แหงกฎหมายที่ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาไมชอบดวยมาตรา ๕ น้ัน เปนผูไมเคยกระทําความผิด
ดังกลาวหรือถาผูนั้นยังรับโทษอยูก็ใหปลอยตัวไป แตทั้งนี้ไมกอใหเกิดสิทธิท่ีจะเรียกรองคาชดเชย
หรือคา เสียหายใด ๆ

ÁÒμÃÒ òñó บคุ คลซง่ึ ถกู ละเมดิ สทิ ธหิ รอื เสรภี าพทร่ี ฐั ธรรมนญู คมุ ครองไวม สี ทิ ธยิ นื่ คาํ รอ ง
ตอศาลรัฐธรรมนญู เพื่อมีคาํ วนิ จิ ฉยั วา การกระทํานัน้ ขัดหรือแยง ตอ รฐั ธรรมนญู ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑ
วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของ
ศาลรัฐธรรมนญู

ñ. ÈÒÅÃ°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ การคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนโดยศาลรฐั ธรรมนญู สามารถ
ดาํ เนนิ การโดยผา นการตรวจสอบรา งกฎหมายกอ นการประกาศใชบ งั คบั ซง่ึ สามารถควบคมุ ไดท งั้ ในแง
“เน้ือหา” และ “วิธีการ” ในการตรากฎหมายนั้นวามีกรณีใดที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญหรือไม
คาํ วา “กฎหมาย” นน้ั หมายถงึ ทง้ั พระราชบญั ญตั ิ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู พระราชกาํ หนด

๑๔

และนอกจากนนั้ ในกรณที ศ่ี าลยตุ ธิ รรมหรอื ศาลปกครองจะใชบ ทบญั ญตั แิ หง กฎหมายและศาลเหน็ เอง
หรือคูกรณีโตแยงวาบทบัญญัติของกฎหมายน้ันขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญและยังไมมีคําวินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมนูญเก่ียวกับบทบัญญัติน้ันและยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เก่ียวกับ
บทบัญญัติดังกลาวใหศาลรอการพิจารณาและสงความเห็นน้ันตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะได
พิจารณาวินิจฉัย

ÁÒμÃÒ òñð ศาลรฐั ธรรมนญู มหี นาท่ีและอํานาจ ดังตอ ไปน้ี
(๑) พิจารณาวินิจฉยั ความชอบดว ยรฐั ธรรมนญู ของกฎหมายหรือรา งกฎหมาย
(๒) พิจารณาวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับหนาท่ีและอํานาจของสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองคกรอิสระ
(๓) หนาที่และอาํ นาจอน่ื ตามทบี่ ญั ญัติไวใ นรัฐธรรมนญู
การย่ืนคํารองและเงื่อนไขการยื่นคํารอง การพิจารณาวินิจฉัย การทําคําวินิจฉัย และ
การดําเนินงานของศาลรัฐธรรมนูญ นอกจากท่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแลว ใหเปนไปตาม
พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดว ยวิธีพจิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนญู
ใหน าํ ความในมาตรา ๑๘๘ มาตรา ๑๙๐ มาตรา ๑๙๑ และมาตรา ๑๙๓ มาใชบงั คับแก
ศาลรัฐธรรมนญู ดว ยโดยอนุโลม
การควบคมุ กฎหมายมิใหขดั หรือแยงตอ รฐั ธรรมนูญมขี ึ้นเพอ่ื วัตถปุ ระสงค ดังตอ ไปนี้
ñ. à¾è×Í»ÃÐ⪹¢ ͧ»ÃЪҪ¹ä·ÂʋǹÃÇÁ

โดยมิใหมีการบัญญัติกฎหมายท่ีกระทบกระเทือนตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ที่รฐั ธรรมนญู ไดบญั ญตั ริ ับรองไว

ò. à¾Í×è »ÃÐ⪹ã¹¡Òû¡¤Ãͧ»ÃÐà·È
ดว ยการรกั ษาดลุ ยภาพการปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องแตล ะองคก รตามทป่ี รากฏในรฐั ธรรมนญู

อันเปนกระบวนการถวงดุลอํานาจ ระหวางองคกรตางๆ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญในระบอบ
ประชาธิปไตย

ó. à¾×èͤÁŒØ ¤Ãͧ»¡»Í‡ §Ã°Ñ ¸ÃÃÁ¹ÞÙ ãËŒดําçÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ໹š ¡®ËÁÒÂʧ٠ÊØ´àÍÒäÇŒ
เม่ือบทบัญญัติกฎหมายใดมีขอความหรือเจตนารมณขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ

ก็จะตอ งมีการควบคุม โดยวนิ จิ ฉยั ใหก ฎหมายนั้นไมมผี ลใชบังคับ
ò. ÈÒÅ»¡¤Ãͧ มีอํานาจหนาท่ีในการพิจารณาการกระทําตางๆ ของฝายปกครอง

ที่มีผลกระทบตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน อยางไรก็ตามมีขอสังเกตคือ การคุมครองสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชนโดยศาลน้นั จะทําไดเฉพาะเม่อื เกดิ ขอพพิ าทเทาน้นั และตอ งเปนคดที ่ีอยูใ นเขตอาํ นาจ
ของศาลเทา นนั้

ÁÒμÃÒ ñù÷ ศาลปกครองมอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดปี กครองอนั เนอื่ งมาจากการใช
อาํ นาจทางปกครองตามกฎหมายหรอื เนอ่ื งมาจากการดาํ เนนิ กจิ การทางปกครอง ทงั้ น้ี ตามทก่ี ฎหมาย
บัญญตั ิ

ใหม ีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองช้ันตน

๑๕

อํานาจศาลปกครองตามวรรคหน่ึง ไมรวมถึงการวินิจฉัยช้ีขาดขององคกรอิสระซ่ึงเปน
การใชอาํ นาจโดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององคก รอิสระนั้น ๆ

การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดําเนินงานของศาลปกครองใหเปนไปตามกฎหมาย
วา ดวยการนนั้

ó. ÈÒÅÂØμÔ¸ÃÃÁ มีบทบาทอยางมากในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ สทิ ธเิ สรภี าพทเ่ี กย่ี วกบั กระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญาทม่ี กี ฎหมายบญั ญตั ใิ หศ าลทม่ี ี
เขตอาํ นาจพจิ ารณาคดอี าญา เขา มบี ทบาทในการคมุ ครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนในคดอี าญา เพอื่ เปน
หลกั ประกันสิทธแิ ละเสรภี าพตามกระบวนการยุตธิ รรม

๑๗

º··èÕ ò

¡®ËÁÒ»¡¤ÃͧáÅСÒþ¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ

ñ. ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃÐจําº·

๑.๑ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับทฤษฎีและหลักการ
พ้นื ฐานของกฎหมายปกครอง

๑.๒ เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจมคี วามรแู ละความเขา ใจเกย่ี วกบั หนว ยงานทางปกครอง
การกระทาํ ทางปกครอง และการใชอ าํ นาจปกครอง

๑.๓ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับข้ันตอนและวิธีการ
ในการออกคําส่งั ทางปกครองตามพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

๑.๔ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเก่ียวกับคดีที่ศาลปกครอง
มีอาํ นาจพจิ ารณาตามพระราชบัญญัตจิ ัดตงั้ ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒

ò. ʋǹนํา

ศาลปกครองคือศาลท่ีมีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง อันไดแก คดีหรือ
ขอ พพิ าทระหวา งหนว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั ดว ยกนั หรอื ระหวา งหนว ยงานรฐั หรอื เจา หนา ที่
ของรัฐกับเอกชน อันเน่ืองมาจากการปฏิบัติหนาท่ีหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานของรัฐ
หรือเจาหนาที่ของรัฐ เปนศาลที่มีอํานาจหนาท่ีในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลจากการ
กระทําทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายของหนวยงานรัฐและเจาหนาท่ี และคุมครองประโยชน
สาธารณะ ในขณะเดียวกัน ทั้งยังมีบทบาทท่ีสําคัญในการสรางและพัฒนาหลักกฎหมายปกครอง
และระเบียบแบบแผนของทางราชการ

ó. à¹Íé× ËÒμÒÁËÑÇ¢ŒÍ

๓.๑ หลักการพ้ืนฐานของกฎหมายปกครอง
๓.๒ พ.ร.บ.วธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
๓.๓ พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒
๓.๔ พ.ร.บ.ขอมลู ขาวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐

ô. ʋǹÊûØ

ในการฟองคดีตอศาล ประชาชนตองเขาใจในเบื้องตนกอนวาเปนคดีประเภทไหน
และอยใู นอาํ นาจของศาลไหน เพอ่ื ทจ่ี ะใชส ทิ ธติ ามกฎหมายไดถ กู ตอ ง คดที ฟ่ี อ งคดตี อ ศาลปกครองไมไ ด
กอ็ าจไปฟอ งยงั ศาลยตุ ธิ รรมตอ ไป การจดั ตง้ั ศาลปกครองจงึ มผี ลทส่ี าํ คญั ประการหนงึ่ คอื ทาํ ใหค ดแี พง
บางเรอื่ งท่ีเคยฟอ งทศ่ี าลยุติธรรม ตอ งมาฟอ งทศี่ าลปกครองแทน

๑๘

õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ðนาํ

๕.๑ ผูสอนตั้งปญหาใหนักเรียนวินิจฉัย เพื่อใหรูจักคิด วิเคราะหและวิจารณเน้ือหา
ท่ีเรียน ดวยการนําเทคนิค วิธีการตางๆ เพื่อใหผูเรียนสนใจและติดตามการสอนตลอดเวลา
และเชือ่ มโยงกบั วิชาอื่นๆ ท่เี กย่ี วขอ งกับเน้ือหา ซงึ่ ผูเรียนตอ งสามารถบรู ณาการความคิดได

๕.๒ ผสู อนตงั้ คาํ ถามเพอื่ ประเมนิ ความรู ดว ยการทาํ แบบฝก หดั หลงั เรยี นและสรปุ เนอ้ื หา
ท่เี รียนพรอ มทัง้ สอดแทรกคณุ ธรรมจรยิ ธรรมทข่ี าราชการตํารวจควรปฏิบตั ิ

๕.๓ ผูส อนแนะนาํ แหลงขอมลู ที่จะศกึ ษาคนควา เพม่ิ เติม

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §Í§Ô

ชาญชัย แสวงศักด์ิ. คํา͸ԺÒ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ. พิมพคร้ังท่ี ๒๒. กรุงเทพมหานคร:
สาํ นกั พมิ พ วิญชู น, ๒๕๕๘.

นันทวฒั น บรมานันท. ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ. พิมพค รั้งท่ี ๔. กรงุ เทพมหานคร: วิญูชน.
๒๕๕๗.

ฤทยั หงสส ริ .ิ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅСÒÃดาํ à¹¹Ô ¤´ãÕ ¹ÈÒÅ»¡¤Ãͧ. พมิ พค รง้ั ท่ี ๕, กรงุ เทพฯ:
สํานกั อบรมศึกษากฎหมายแหง เนติบัณฑติ ยสภา, ๒๕๕๗.

สาํ นกั วจิ ยั และวชิ าการ สาํ นกั งานศาลปกครอง. ÃÇÁËÅ¡Ñ ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ½Ã§èÑ àÈÊ. พมิ พ
ครั้งท่ี ๑. กรุงเทพมหานคร: สํานกั งานศาลปกครอง, ๒๕๔๗.

สุรยิ า ปานแปน และอนวุ ฒั น บุญนันท. ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ. พมิ พครงั้ ที่ ๕. กรงุ เทพฯ:
วญิ ชู น, ๒๕๕๖.

àǺç ä«μá¹Ðนาํ สาํ ËÃºÑ ¤Œ¹¤ÇÒŒ à¾ÁèÔ àμÔÁ
http://public-law.net/
เพจ facebook : หลกั กฎหมายปกครองวนั ละเร่ือง

๑๙

º··èÕ ò

¡®ËÁÒ»¡¤ÃͧáÅСÒþ¨Ô ÒóҤ´»Õ ¡¤Ãͧ

ʋǹ·Õè ñ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃ¾×¹é °Ò¹¢Í§¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ

กฎหมายปกครองเปนกฎหมายที่ใหอํานาจปกครองแกฝายปกครอง เพ่ือใหการดําเนิน
กิจกรรมทางปกครองสามารถบรรลุวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพ อํานาจปกครองนี่เองที่ทําให
ฝายปกครองสามารถบังคับเอกชนใหปฏิบัติตามกฎหมายหรือคําส่ังทางปกครองไดเองฝายเดียว
โดยไมจ าํ เปน ตอ งไดร บั ความยนิ ยอมจากเอกชนผนู นั้ อาจกลา วไดว า อาํ นาจปกครองเปน ลกั ษณะพเิ ศษ
ท่ีทําใหก ฎหมายปกครองแตกตา งจากกฎหมายเอกชน

ñ. ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ½Ò† »¡¤Ãͧ
ฝายปกครองเปนองคกรของรัฐฝายบริหาร ที่จัดทําภารกิจทางปกครองอันเปน

สวนหน่ึงของภารกิจทางบริหาร โดยท่ัวไปฝายปกครองจึงหมายถึงองคกรและเจาหนาที่ของรัฐ
ฝา ยบรหิ ารทใ่ี ชอ าํ นาจมหาชนจากกฎหมายระดบั พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู หรอื พระราชบญั ญตั ิ
เพ่ือจัดทําบริการสาธารณะใหบรรลุผลเปนรูปธรรมโดยตองคํานึงถึงประโยชนสาธารณะ และ
เพอ่ื สนองความตอ งการของสว นรวมในรปู แบบของงานประจาํ ฝา ยปกครองจะมเี อกสทิ ธบ์ิ างประการ
และสามารถริเริ่มดําเนินงานไดเองโดยไมตองมีผูรองขอและการดําเนินการน้ันจะตองผูกพันอยูกับ
กฎหมายที่ใหอ ํานาจ

ò. »ÃÐàÀ·¢Í§½Ò† »¡¤Ãͧ
ฝายปกครองอาจจําแนกออกไดเปน ๒ ประเภท คือ ๑.ฝายปกครองท่ีไมอยูใน

บังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล และ ๒.ฝายปกครองที่อยูในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแล
ของรัฐบาล

ò.ñ ½Ò† »¡¤Ãͧ·èäÕ Á‹ÍÂÙã‹ ¹ºÑ§¤ºÑ ºÑÞªÒËÃ×Íกํา¡ºÑ ´ÙáŢͧÃÑ°ºÒÅ
ò.ñ.ñ ¤³ÐÃÑ°Á¹μÃÕ
คณะรัฐมนตรีซ่ึงประกอบดวยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่น

อกี ไมเ กนิ ๓๕ คน เปน องคก รสายบรหิ ารทไี่ ดร บั อาํ นาจทง้ั จากกฎหมายระดบั รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย
ระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติ ดังน้ันเฉพาะกรณีท่ีคณะรัฐมนตรี
ใชอ าํ นาจตามกฎหมายระดบั พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู หรอื พระราชบญั ญตั เิ ทา นนั้ ทจี่ ะถอื วา
คณะรฐั มนตรจี ะทาํ การในฐานะของฝา ยปกครอง เชน คณะรฐั มนตรอี าศยั อาํ นาจตามพระราชบญั ญตั ิ
การทา อากาศยานแหงประเทศไทย พ.ศ.๒๕๒๒ มีมติใหกรรมการการทา อากาศยานแหงประเทศไทย
พน จากตาํ แหนงยอมเปน การใชอํานาจในฐานะฝายปกครอง เปน ตน

๒๐

ò.ñ.ò ¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃáÕ ÅÐÃÑ°Á¹μÃÕáμÅ‹ Ф¹
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีแตละคน เปนเจาหนาที่สายบริหาร

ทไี่ ดร บั อาํ นาจจากกฎหมายระดบั รฐั ธรรมนญู และกฎหมายระดบั พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
หรือพระราชบัญญัติเชนกัน ดังนั้นเฉพาะกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีใชอํานาจตามกฎหมาย
ระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติเทาน้ัน ท่ีจะถือวานายกรัฐมนตรี
หรือรัฐมนตรีกระทําการในฐานะฝายปกครอง เชน รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ ม อาศัยอาํ นาจตาม พ.ร.บ.ปา ไม พ.ศ.๒๔๘๔ เพิกถอนใบอนุญาตตัง้ โรงงานแปรรปู ไม
ของเอกชนเปนการใชอํานาจในฐานะฝา ยปกครอง เปนตน

ò.ñ.ó ͧ¤¡ ÃÍÊÔ ÃÐμÒÁÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ
องคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู เปน หนว ยงานของรฐั ทต่ี ง้ั ขน้ึ เพอื่ ทาํ หนา ที่

ตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐธรรมนูญของรัฐบาล ดวยเหตุน้ีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญจึงเปน
ฝา ยปกครองทไ่ี มอ ยใู นบงั คบั บญั ชาหรอื กาํ กบั ดแู ลของรฐั บาล ไดแ ก คณะกรรมการการเลอื กตงั้ (กกต.)
ผูตรวจการแผนดิน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผนดิน เชน การที่ กกต.อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
คณะกรรมการการเลอื กตงั้ พ.ศ.๒๕๔๑ ออกระเบยี บ กกต. วา ดว ย กกต.ประจาํ จงั หวดั และผอู าํ นวยการ
การเลอื กตง้ั ประจาํ จงั หวดั พ.ศ.๒๕๔๑ ยอ มเปน การใชอ าํ นาจทางปกครองในลกั ษณะของการออกกฎ

ò.ñ.ô ͧ¤¡ Ã͹×è μÒÁÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ
คําวา “องคกรอ่ืนตามรัฐธรรมนูญ” ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรกตาม

รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ หากพจิ ารณาจากหลกั แบง แยกอาํ นาจจะพบวา
องคกรอ่ืนตามรัฐธรรมนูญ ไดแก องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และ
สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นั้น มิใชองคกรท่ีใชอํานาจนิติบัญญัติและมิใชองคกรที่ใช
อาํ นาจตลุ าการ จงึ อาจกลา วไดว า องคก รอนื่ ตามรฐั ธรรมนญู เปน สว นหนงึ่ ขององคก รทใ่ี ชอ าํ นาจบรหิ าร
เมอ่ื ภารกจิ ขององคก รอนื่ ตามรฐั ธรรมนญู มใิ ชก ารดาํ เนนิ งานในทางการเมอื ง ดว ยเหตนุ อ้ี งคก รอน่ื ตาม
รฐั ธรรมนญู ยอ มเปน ฝา ยปกครองไดเ ชน กนั แตท งั้ นตี้ อ งพจิ ารณาลกั ษณะของการใชอ าํ นาจประกอบดว ย
เชน คณะกรรมการอัยการ (ก.อ.) กระทําการโดยอาศัยอาํ นาจตามพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบขาราชการ
ฝา ยอยั การ พ.ศ. ๒๕๕๓ ตองถอื วา ก.อ.กระทาํ การในฐานะฝายปกครอง สว นกรณีท่ีพนักงานอัยการ
จะทําการโดยอาศัยอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้น และการกระทําละเมิด
อันเกิดจากการใชอํานาจดังกลาวจะเปนคดีท่ีอยูในเขตอํานาจของศาลยุติธรรม แตหากพิจารณา
จากความหมายของฝา ยปกครองขา งตน แลว กถ็ อื ไดว า พนกั งานอยั การกระทาํ การในฐานะฝา ยปกครอง
เชนกัน เพราะในขั้นตอนของการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการอาจมีการกระทําทางปกครอง
ปะปนอยูดว ย

๒๑

ò.ñ.õ ˹Nj §ҹÍÔÊÃТͧðÑ
หนวยงานอิสระของรัฐเปนหนวยงานของรัฐที่ต้ังข้ึน เพ่ือทําหนาท่ี

เปนหนว ยธุรการขององคก รตุลาการ องคก รนิตบิ ัญญัติ องคกรอสิ ระตามรฐั ธรรมนูญ และองคก รอื่น
ตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งไมอยูในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล เชน สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ
สํานักงานศาลยุติธรรม สํานักงานศาลปกครอง สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร สํานักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา สํานักงานคณะกรรมการการเลือกต้ัง สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน สํานักงาน
อยั การสูงสุด สาํ นักงานคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหงชาติ เปน ตน

ò.ò ½†Ò»¡¤Ãͧ·èÍÕ Â‹ãÙ ¹º§Ñ ¤ÑººÞÑ ªÒËÃÍ× กํา¡Ñº´ÙáÅ¢Í§Ã°Ñ ºÒÅ
ò.ò.ñ ÃÒª¡ÒÃÊÇ‹ ¹¡ÅÒ§
ราชการสวนกลางเปนหนวยงานทางปกครองตามหลักการรวม

อาํ นาจทางปกครองที่อยูในบงั คับบญั ชาของคณะรัฐมนตรีและรฐั มนตรเี จากระทรวง ไดแ ก กระทรวง
ทบวง กรม รวมถงึ สว นราชการท่ีเรียกช่อื อยางอน่ื และมฐี านะเปนกรม เชน สาํ นกั งานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน สํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค
สํานักงบประมาณ ราชบัณฑิตยสถาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานปองกันและปราบปราม
การฟอกเงนิ มหาวทิ ยาลัยของรัฐซึ่งเปนสว นราชการ เปนตน ระบบกฎหมายไทยยอมรบั วาหนว ยงาน
เหลา นีม้ ีฐานะเปนนติ บิ ุคคลมหาชน

ò.ò.ò ÃÒª¡ÒÃʋǹÀÁÙ ÀÔ Ò¤
ราชการสว นภมู ภิ าคเปน หนว ยงานทางปกครองตามหลกั การแบง แยก

อาํ นาจทางปกครอง ทอ่ี ยใู นบงั คบั บญั ชาของราชการสว นกลางทง้ั หลายโดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย
ไดแ ก จงั หวดั และอาํ เภอ ระบบกฎหมายไทยยอมรบั วา จงั หวดั มฐี านะเปน นติ บิ คุ คลเชน เดยี วกบั กระทรวง
ทบวงและกรม สว นอาํ เภอไมมฐี านะเปน นติ ิบคุ คลมหาชน

ò.ò.ó ÃÒª¡ÒÃʋǹ·ÍŒ §¶è¹Ô
ราชการสว นทอ งถน่ิ ทรี่ ฐั ธรรมนญู เรยี กวา “องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ”

เปน หนว ยงานทางปกครองตามหลกั การกระจายอาํ นาจทางปกครองในทางพนื้ ท่ี โดยอยใู นกาํ กบั ดแู ล
ของราชการสวนกลางและสวนภูมิภาค ไดแก เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหาร
สว นจังหวัด กรงุ เทพมหานคร และเมืองพทั ยา

ò.ò.ô ÃÑ°ÇÔÊÒË¡Ô¨
รัฐวิสาหกิจเปนหนวยงานทางปกครองตามหลักการกระจายอํานาจ

ทางปกครองในทางกิจการ ซ่ึงดําเนินกิจกรรมในทางพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ที่มีลักษณะ
มงุ แสวงหาผลกาํ ไรโดยอยใู นกาํ กบั ดแู ลของคณะรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรกี ระทรวงทรี่ บั ผดิ ชอบ รฐั วสิ าหกจิ
อาจแบงออกไดเปน ๔ ประเภทตามกฎหมายท่จี ัดต้งั ดังตอไปนี้

๑) รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ เชน การไฟฟา
สว นภมู ภิ าค การประปาสว นภมู ภิ าค การเคหะแหง ชาติ การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย การรถไฟฟา
ขนสง มวลชนแหง ประเทศไทย สํานักงานสลากกนิ แบง รัฐบาล ธนาคารอาคารสงเคราะห เปน ตน

๒๒

๒) รัฐวิสาหกิจท่ีจัดตั้งข้ึนโดยพระราชกฤษฎีกา ซ่ึงออกตามความ
ในมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติวาดวยการจัดต้ังองคกรของรัฐบาล พ.ศ.๒๔๙๖ เชน องคการ
ขนสงมวลชนกรุงเทพ องคการจัดการน้ําเสีย องคการตลาด องคการตลาดเพ่ือเกษตรกร องคการ
สงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย องคการสะพานปลา องคการอุตสาหกรรมปาไม องคการ
สวนยาง องคก ารสวนสตั ว องคก ารสวนพฤกษศาสตร องคก ารพพิ ธิ ภณั ฑว ทิ ยาศาสตรแ หง ชาติ สถาบนั
การบนิ พลเรอื น เปนตน

๓) รฐั วสิ าหกจิ ทจี่ ดั ตงั้ ขน้ึ โดยมตคิ ณะรฐั มนตรี รฐั วสิ าหกจิ ประเภทนี้
ไมม ฐี านะเปน นติ บิ คุ คล แตห ากเปน หนว ยงานในสงั กดั ราชการสว นกลาง เชน โรงงานยาสบู และโรงงานไพ
เปน รฐั วสิ าหกจิ ในสงั กดั กระทรวงการคลงั โรงพมิ พต าํ รวจเปน รฐั วสิ าหกจิ ในสงั กดั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ
เปนตน

๔) รฐั วสิ าหกจิ ทจี่ ดั ตง้ั ขนึ้ โดยกฎหมายเอกชน ไมว า จะจดั ตง้ั ขนึ้ ตาม
ประมวลกฎหมายแพง และพาณิชยในรูปบริษทั จํากดั เชน บรษิ ัท ขนสง จํากดั บรษิ ทั ไปรษณยี ไทย
จาํ กัด บริษัท ไทยเดนิ เรอื ทะเล จํากัด บริษทั ไมอ ัดไทย จาํ กดั บริษัท วทิ ยุการบินแหง ประเทศไทย
จํากดั เปนตน หรือจดั ตั้งขนึ้ ตามพระราชบัญญัตมิ หาชนจาํ กัด พ.ศ. ๒๕๓๕ ในรูปบรษิ ัทมหาชนจํากดั
เชน บรษิ ัท ปตท. จาํ กัด(มหาชน) บรษิ ัท ธนาคารกรงุ ไทย จาํ กัด(มหาชน) บรษิ ทั อสมท จาํ กดั (มหาชน)
บรษิ ทั ทโี อที จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) บรษิ ทั การบนิ ไทย จาํ กดั (มหาชน)
บรษิ ัท การทาอากาศยาน จาํ กดั (มหาชน) เปน ตน

อยางไรก็ตามเฉพาะรัฐวสิ าหกจิ ทตี่ ้ังขนึ้ โดยพระราชบัญญัติ พระราช
กฤษฎีกา และมติคณะรัฐมนตรีเทานั้น ท่ีเปนฝายปกครอง สวนรัฐวิสาหกิจที่จัดต้ังขึ้นตามกฎหมาย
เอกชนยอมเปนองคกรเอกชนเทานั้น แตอาจเปนฝายปกครองไดหากไดรับมอบหมายใหใชอํานาจ
ปกครอง

ò.ò.õ ͧ¤¡ ÒÃÁËÒª¹
องคการมหาชนเปนหนวยงานทางปกครองตามหลักการกระจาย

อาํ นาจทางปกครองในทางกจิ การ ซง่ึ ดาํ เนนิ กจิ กรรมในทางสงั คมและวฒั นธรรมทมี่ ลี กั ษณะไมม งุ แสวงหา
ผลกําไร โดยอยูในกํากับดูแลของคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกระทรวงที่รับผิดชอบ องคการมหาชน
อาจแบง ออกเปน ๒ ประเภท ตามกฎหมายทจ่ี ัดตง้ั ดังตอไปนี้

๑) องคก ารมหาชนทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ โดยพระราชบญั ญตั ิ เชน มหาวทิ ยาลยั
หรอื สถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั ซง่ึ ไมเ ปน สว นราชการและอยใู นกาํ กบั ของรฐั สาํ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ
การวิจัย ธนาคารแหงประเทศไทย สถาบันพระปกเกลา กองทนุ บําเหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ กองทุน
หมบู า นและชมุ ชนเมอื งแหง ชาติ กองทนุ สนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ สาํ นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพ
แหง ชาติ เปน ตน ซงึ่ สงั เกตวา มหาวทิ ยาลยั ของรฐั ซงึ่ เปน สว นราชการ ยอ มมฐี านะเปน ฝา ยปกครองประเภท
ราชการสว นกลางอันมีฐานะเปน กรม เชน มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

๒๓

เปน ตน แตเ มอื่ มหาวทิ ยาลยั ของรฐั ซงึ่ เปน สว นราชการไดอ อกนอกระบบราชการ เปน มหาวทิ ยาลยั ของรฐั
ซง่ึ ไมเ ปน สว นราชการและอยใู นกาํ กบั ของรฐั มหาวทิ ยาลยั แหง นน้ั ยอ มมฐี านะเปน ฝา ยปกครองประเภท
องคก ารมหาชน เชน จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร เปน ตน

๒) องคก ารมหาชนทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ โดยพระราชกฤษฎกี า ซง่ึ ออกตามความใน
มาตรา ๕ แหง พระราชบญั ญตั อิ งคก ารมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ เชน สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ
สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา สถาบันเทคโนโลยี
นวิ เคลยี รแ หง ชาติ ศนู ยม านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ โรงพยาบาลบา นแพว สาํ นกั งาน
นวตั กรรมแหงชาติ สาํ นกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา เปนตน

ò.ò.ö ˹Nj §ҹ·èäÕ ´ŒÃѺÁͺËÁÒÂãË㌠ªอŒ าํ ¹Ò¨·Ò§»¡¤Ãͧ
หนวยงานของรัฐท่ีใชอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจตุลาการและอํานาจ

ทางการเมืองตลอดจนองคกรเอกชน ยอมไมใชฝายปกครองในทางรูปแบบ แตการใหหนวยงาน
ของรฐั ดงั กลา วและองคก รเอกชนใชอ าํ นาจทางปกครอง จงึ เปน การกระจายอาํ นาจทางปกครองในทาง
กจิ การอยางหนงึ่ ดังนัน้ เมอ่ื หนว ยงานของรัฐดงั กลา วและองคก รเอกชนใชอํานาจปกครอง ยอมถอื วา
เปนฝายปกครองในทางเน้ือหาแลว เชน สภาทนายความใชอํานาจตามพระราชบัญญัติทนายความ
พ.ศ.๒๕๒๘ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ทนายความ หรือสภามหาวิทยาลัยเอกชนใชอ ํานาจตาม
พระราชบัญญัตสิ ถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.๒๕๔๖ อนมุ ตั ิปริญญาบตั ร เปน ตน

กลาวโดยสรุป ฝายปกครอง หมายถึง บรรดาองคกรของรัฐหรือเจาหนาท่ี
ของรฐั ทอี่ ยใู นบงั คบั บญั ชาหรอื กาํ กบั ดแู ลของคณะรฐั มนตรี นายกรฐั มนตรี หรอื รฐั มนตรคี นใดคนหนง่ึ
องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ หนวยงานอิสระของรัฐและองคกรเอกชน
ในกรณีที่องคกรเหลาน้ี ใชอํานาจปกครองตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
หรือพระราชบญั ญัติ

ó. ¡ÒáÃÐทาํ ·Ò§»¡¤Ãͧ

การกระทําทางปกครองเปนเครื่องมือในทางกฎหมายท่ีฝายปกครองใชดําเนินกิจกรรม
ทางปกครองเพ่ือใหก ารจัดทําบริการสาธารณะทม่ี ีความหลากหลายสาํ เร็จลุลวงไปดวยดี

ó.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡ÒáÃÐทํา·Ò§»¡¤Ãͧ
การกระทําทางปกครองเปนการกระทําทางการบริหารประเภทหนึ่ง ที่ใชอํานาจ

ปกครองตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติในการจัดทํา
บริการสาธารณะ เพื่อตอบสนองความตองการของสวนรวม อันมีลักษณะเปนงานประจําตกอยู
ภายใตก ารควบคุมตรวจสอบความชอบดว ยกฎหมาย เชน การตราพระราชกฤษฎีกาหรือกฎกระทรวง
การออกคําสั่งลงโทษทางวินัยขาราชการ การร้ือถอนอาคารโดยเจาพนักงานควบคุมอาคาร การทํา
สัญญาจางเอกชนกอสรางถนนสาธารณะ เปน ตน

๒๔

ó.ò »ÃÐàÀ·¢Í§¡ÒáÃÐทํา·Ò§»¡¤Ãͧ
การกระทําทางปกครองเปนการกระทําของฝายปกครองในบริบทของกฎหมาย

มหาชนทมี่ คี วามหลากหลาย ทาํ นองเดยี วกนั กบั ความหลากหลายของภารกจิ ในทางปกครอง โดยทวั่ ไป
การกระทาํ ทางปกครองอาจจาํ แนกได ๒ ประเภท คอื ๑.การกระทาํ ในทางขอ เทจ็ จรงิ และ ๒.การกระทาํ
ที่มุงตอ ผลในทางกฎหมาย

ó.ò.ñ ¡ÒáÃÐทาํ ã¹·Ò§¢ŒÍà·¨ç ¨ÃÔ§
การกระทําในทางขอเท็จจริง เปนการกระทําทางปกครองที่ฝายปกครอง

ไมไดมีการแสดงเจตนาเพื่อใหเกิดนิติสัมพันธทางกฎหมาย กลาวคือเปนการกระทําท่ีฝายปกครอง
ไมต องการใหเกดิ ความเคลอ่ื นไหวในสิทธติ ามกฎหมาย แตมีลกั ษณะเปน การปฏิบัติการเพือ่ ใหภารกจิ
ทางปกครองบรรลผุ ลไดใ นทางขอ เทจ็ จรงิ ซงึ่ มกี รณเี ดยี วคอื “ปฏบิ ตั กิ ารทางปกครอง” ดงั นน้ั การกระทาํ
ท่ีเปนการปฏิบัติการทางปกครอง จึงไมมีปญหาเร่ืองความสมบูรณของการกระทําเพียงแตหาก
การกระทํานั้นไมชอบดวยกฎหมายอันเปนการละเมิด ยอมกอใหเกิดนิติสัมพันธทางกฎหมาย
ท่ผี เู สียหายจะเรียกรองใหฝ า ยปกครองควรใชคา สินไหมทดแทนได

ตวั อยา ง การกระทาํ ทางปกครองทม่ี ลี กั ษณะเปน การปฏบิ ตั กิ ารทางปกครอง
เชน การออกประกาศเตือนใหประชาชนระวังอันตรายจากสารเมลามีน การยกรถยนตที่จอดอยูในที่
หา มจอดไปไวท ส่ี ถานตี าํ รวจ การรอื้ ถอนอาคารทปี่ ลกู สรา งโดยผดิ กฎหมาย การขบั ไลบ คุ คลทอี่ าศยั อยู
ในบริเวณปาสงวนแหงชาติ โดยไมชอบดวยกฎหมายใหออกไปจากเขตปาสงวน การสลายการชุมนุม
การวางระบบการขนสงปโตรเลียมทางทอ ในท่ีดินของเอกชน เปนตน

ó.ò.ò ¡ÒáÃÐทํา·ÕèÁ‹§Ø μ‹Í¼Å·Ò§¡®ËÁÒÂ
การกระทาํ ทม่ี งุ ตอ ผลทางกฎหมายแบง ไดเ ปน ๒ ประเภทคอื ๑.การกระทาํ

ฝา ยเดยี ว ซงึ่ ไดแ ก กฎและคาํ สงั่ ทางปกครอง และ ๒.การกระทาํ สองฝา ย ซงึ่ ไดแ ก สญั ญาทางปกครอง
ñ) ¡®
กฎ หมายถึง กฎหมายลําดับรองท่ีฝายปกครองตราข้ึน โดยอาศัย

อาํ นาจตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั หิ รอื พระราชกาํ หนดฉบบั ใดฉบบั หนงึ่
ซึ่งเปนกฎหมายแมบท เพ่ือกําหนดรายละเอียดใหเปนไปตามกฎหมายแมบท โดยมีผลบังคับเปน
การทวั่ ไป โดยไมม ุง หมายใหใ ชบังคับแกกรณีใด หรือบคุ คลใดเปนการเฉพาะ ทั้งนไี้ มว าจะเรยี กชอ่ื วา
อยา งไรกต็ าม เรียกวาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบญั ญัตทิ องถ่ิน ระเบียบ
หรือขอ บังคบั กไ็ ด ดังนนั้ กฎจงึ มลี กั ษณะสําคญั ๒ ประการดงั นี้

๑. บุคคลที่ถูกบังคับใหกระทําการถูกหามมิใหกระทําการหรือไดรับ
อนุญาตใหกระทําการ ตองเปน บุคคลท่ถี ูกนยิ ามไวเปนประเภท เชน ผูใด ขา ราชการ คนตา งดา ว ฯลฯ
ดงั นัน้ เราจงึ ไมอาจทราบจํานวนท่ีแนน อนของบคุ คลทอี่ ยูภายใตการบงั คบั ของกฎ

๒๕

๒. บุคคลซ่ึงถูกนิยามไวเปนประเภทที่จะถูกบังคับใหกระทําการ
ถูกหามมิใหกระทําการหรือไดรับอนุญาตใหกระทําการ ตองเปนกรณีที่ถูกกําหนดไวเปนนามธรรม
กลาวคือทุกครั้งท่ีมีกรณีดังกลาวที่กําหนดไวเกิดขึ้น บุคคลประเภทนั้นมีหนาที่ตองจัดทําการงดเวน
กระทําการหรอื มสี ิทธกิ ระทําการซาํ้ ๆ ตอไปเรอ่ื ยๆ

ตัวอยาง การกระทําทางปกครองท่ีมีลักษณะเปนกฎ เชน ระเบียบ
กกต. วาดวย กกต.ประจําจังหวัด มติคณะรัฐมนตรีท่ีเห็นชอบใหอนุมัติงบประมาณรายจายท่ีมี
การจดั สรรงบประมาณเพมิ่ เตมิ เพอ่ื เพม่ิ เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง และประโยชนต อบแทนอยา งอน่ื ของสมาชกิ
วฒุ สิ ภาและสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร พระราชกฤษฎกี ากาํ หนดบรเิ วณทดี่ นิ ใหเ ปน เขตรกั ษาพนั ธสุ ตั วป า
หนงั สอื เวยี นกระทรวงมหาดไทย เรอื่ งแนวทางการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การเบกิ จา ยคา ใชจ า ยในการฝก อบรม
ขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน กฎกระทรวงวาดวยรถยนตรับจางบรรทุกผูโดยสารไมเกินเจ็ดคน
ทจ่ี ดทะเบยี นในเขตกรุงเทพฯ เปนตน

ò) คําÊèѧ·Ò§»¡¤Ãͧ
คาํ สงั่ ทางปกครอง หมายถงึ การใชอ าํ นาจตามกฎหมายของเจา หนา ที่

ทม่ี ผี ลเปน การสรา งนติ สิ มั พนั ธข น้ึ ระหวา งฝา ยปกครองกบั ผรู บั คาํ สง่ั ในอนั ทจ่ี ะเปลย่ี นแปลง โอน สงวน
ระงบั หรอื มผี ลกระทบตอสถานภาพของสทิ ธหิ รอื หนาท่ีของบุคคล ไมว า จะเปน การชั่วคราวหรือถาวร
ในลกั ษณะทมี่ ผี ลบงั คบั เฉพาะกรณโี ดยมงุ หมายใหใ ชบ งั คบั แกก รณใี ดกรณหี นงึ่ หรอื บคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ
เปนการเฉพาะเจาะจง อาจเปนการสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง
หรือการจดทะเบียนก็ได

ตัวอยาง การกระทําทางปกครองท่ีมีลักษณะเปนคําส่ังทางปกครอง
เชน คาํ ส่งั ปลดออกจากราชการ คาํ สงั่ สภาการพยาบาลทไ่ี มรับรองปรญิ ญาบตั รทใ่ี ชสมคั รขนึ้ ทะเบียน
การออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ คําส่ังรับจดทะเบียนแกไขเปลี่ยนแปลงกรรมการและกรรมการ
ผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัท คําสั่งใหรื้อถอนอาคาร คําส่ังไมอนุญาตใหเขาทําเหมืองแร
ประกาศผลการสอบคัดเลือกลูกจางช่ัวคราว เปน ตน

ó) ÊÞÑ ÞÒ·Ò§»¡¤Ãͧ
สัญญาทางปกครอง หมายถึง สัญญาทีค่ ูสญั ญาอยา งนอ ยฝา ยหน่งึ

ฝา ยใดเปน หนว ยงานทางปกครองหรอื เปน บคุ คลซงึ่ กระทาํ การแทนรฐั มลี กั ษณะเปน สญั ญาสมั ปทาน
สัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะ สัญญาจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค สัญญาที่แสวงประโยชนจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติ สญั ญาทหี่ นว ยงานทางปกครองหรอื บคุ คลซงึ่ กระทาํ การแทนรฐั ตกลงใหค สู ญั ญา
ฝา ยหนง่ึ เขา ดาํ เนนิ การหรอื เขา รว มดาํ เนนิ การจดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะโดยตรง หรอื สญั ญาทมี่ ขี อ กาํ หนด
ในสัญญาซึง่ มลี กั ษณะพเิ ศษทีแ่ สดงถึงเอกสิทธ์ิของรฐั เพือ่ ใหบ ริการสาธารณะบรรลผุ ล

ตวั อยา งของการกระทาํ ทางปกครองทม่ี ลี กั ษณะเปน สญั ญาทางปกครอง
ไดแก สญั ญาสัมปทาน เชน สญั ญาเขารว มงานและดําเนินการสถานีวทิ ยุโทรทัศนระหวา ง สาํ นกั งาน
ปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรีกบั ไอทวี ี สัญญาอนุญาตใหเอกชนใชค ลืน่ ความถี่ สญั ญาตัง้ เครือขายสือ่ สาร
ผานดาวเทียม

๒๖

สัญญาที่จัดใหทําบริการสาธารณะ เชน สัญญาจางกอสรางอาคาร
ของหนว ยงานทางปกครอง สญั ญากยู มื เงินโครงการจัดหาปุยเคมีเพื่อชวยเหลือเกษตรกร สญั ญาจา ง
บุคลากรในหนวยงานทางปกครอง สัญญาลาศกึ ษาตอของขา ราชการ

สัญญาจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค เชน สัญญาจางกอสรางปรับปรุง
กจิ การประปา สญั ญารบั เหมากอ สรางปรับปรุงผวิ จราจร

สญั ญาทใ่ี หแ สวงประโยชนจ ากทรพั ยากรธรรมชาติ เชน สญั ญาอนญุ าต
ใหเ อกชนขดุ ดนิ ลกู รงั สัญญาสัมปทานใหทาํ ปา ไมช ายเลน

อยางไรก็ตาม หากสัญญาน้ันไมไดมีลักษณะเปนสัญญาสัมปทาน
สัญญาที่ใหจัดทําบริการสาธารณะ สัญญาจัดใหมีส่ิงสาธารณูปโภค สัญญาที่ใหแสวงประโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติ หรือสัญญาที่หนวยงานทางปกครองหรือบุคคลซึ่งกระทําการแทนรัฐตกลงให
คูสัญญาฝายใดฝายหน่ึงเขาดําเนินการหรือเขารวมดําเนินการบริการสาธารณะโดยตรง หรือสัญญา
ที่มีขอกําหนดในสัญญาซึ่งมีลักษณะท่ีแสดงเอกสิทธ์ิของรัฐ สัญญานั้นยอมไมใชสัญญาทางปกครอง
แตเปนสัญญาตามกฎหมายเอกชนที่เรียกวาสัญญาทางแพง เชน สัญญาขอใชนํ้าประปาหรือไฟฟา
สญั ญาจา งเอกชนทาํ ความสะอาดอาคาร สัญญากูย ืมเงินกองทนุ เงินใหก ยู ืมเพื่อการศึกษา เปน ตน

ÊÇ‹ ¹·èÕ ò ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÇ¸Ô »Õ ¯ÔºμÑ ÃÔ Òª¡Ò÷ҧ»¡¤Ãͧ ¾.È.òõóù

พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ตราขนึ้ เพอ่ื ใชบ งั คบั ในฐานะเปน
กฎหมายกลางทก่ี าํ หนดหลกั เกณฑท วั่ ไป เกย่ี วกบั กระบวนการออกคาํ สง่ั ทางปกครองและกระบวนการ
ภายหลังการออกคําส่ังทางปกครอง ท้ังน้ีเพื่อใหเกิดมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบัติราชการของ
เจาหนาท่ีและเพื่อสรางกลไกในการควบคุมเชิงปองกันไมใหเจาหนาที่ใชอํานาจตามอําเภอใจเขาไป
กระทบตอสิทธิของเอกชน ทําใหการปฏิบัติราชการของเจาหนาที่มีมาตรฐานเดียวกันและเปนไป
ตามมาตรฐานขั้นต่ําท่ีเจาหนาที่พึงปฏิบัติตอเอกชน ท้ังยังสงผลใหการใชบังคับกฎหมายปกครอง
เฉพาะเรื่องเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกัน พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ ยังไดกําหนด
หลกั เกณฑท ปี่ ระกนั ความเปน ธรรมแกเ อกชนผเู ปน คกู รณใี นการพจิ ารณาทางปกครอง ดว ยการรบั รอง
และคมุ ครองสทิ ธขิ องเอกชนไวโ ดยแจง ชดั และเปด โอกาสใหเ อกชนเขา มามบี ทบาทในการพจิ ารณาทาง
ปกครอง อนั เปน การยอมรบั สถานะของเอกชนวา เปน ผทู รงสทิ ธไิ มใ ชผ ถู กู กระทาํ ดว ยเหตนุ ห้ี ลกั เกณฑ
ขั้นตาํ่ ทกี่ ําหนดไวใ น พ.ร.บ.วธิ ีปฏบิ ัติฯ จงึ เปนมาตรการสาํ คญั ในการปองกนั ไมใ หเจา หนา ท่ใี ชอ าํ นาจ
ตามอาํ เภอใจควบคูไปกบั การประกันสทิ ธขิ องเอกชนเพื่อธาํ รงรกั ษาไวซึง่ หลักนิติรัฐ

ทง้ั นี้ การที่ พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ตั ฯิ มลี กั ษณะเปน กฎหมายกลางซงึ่ หนว ยงานสามารถนาํ กฎหมาย
ฉบบั นไ้ี ปปรับใชไดก บั กฎหมายอืน่ ๆ ในกรณที กี่ ฎหมายอน่ื น้ันมีบทบัญญตั ิท่ีกําหนดมาตรฐานในการ
ปฏิบัติงานตา่ํ กวาท่ีพระราชบญั ญตั ินก้ี าํ หนด ดงั น้นั กฎหมายใดกาํ หนดวธิ ปี ฏิบัติราชการทางปกครอง

๒๗

เร่ืองใดไวโดยเฉพาะและมีหลักเกณฑท่ีประกันความเปนธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการ
ไมตํ่ากวาหลักเกณฑที่กําหนดใน พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
กใ็ หเปนไปตามกฎหมายดังกลาว ตามมาตรา ๓

“ÁÒμÃÒ ó วิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปน ไปตามท่กี ําหนด
ในพระราชบัญญัติน้ีเวนแตในกรณีท่ีกฎหมายใดกําหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเร่ืองใดไว
โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑท่ีประกันความเปนธรรม หรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมตํ่ากวา
หลักเกณฑท่กี ําหนดในพระราชบญั ญัตนิ ้ี

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับขั้นตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงท่ีกําหนด
ในกฎหมาย”

ดงั นน้ั ตามมาตรา ๓ วรรค ๒ กรณีหลักเกณฑเกยี่ วกับ “ขน้ั ตอนและระยะเวลาอุทธรณ
หรอื โตแ ยง ” ไมจ าํ ตอ งพจิ ารณาวา มมี าตรฐานตาํ่ กวา พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ตั ฯิ หรอื ไม ทงั้ นเ้ี พราะเจตนารมณ
ของผรู า งกฎหมายเฉพาะแตล ะฉบบั มคี วามแตกตา งกนั อกี ทงั้ สาระในแตล ะกฎหมายอาจไมเ หมอื นกนั
จงึ เปน การยากทจี่ ะใหปฏบิ ัตติ าม พ.ร.บ.วธิ ีปฏิบัตฯิ ทง้ั หมด

ñ. ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅÐͧ¤» ÃСͺ¢Í§คําÊÑ觷ҧ»¡¤Ãͧ
ñ.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧคําÊÑ觷ҧ»¡¤Ãͧ
พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ัติฯ มาตรา ๕ ไดก าํ หนดบทนิยามของคาํ วา คําสง่ั ทางปกครอง

ไวเปน การเฉพาะโดยให “คําสัง่ ทางปกครอง” หมายความวา
(๑) การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ท่ีมีผลเปนการสรางนิติสัมพันธ

ขน้ึ ระหวา งบคุ คลในอนั ทจ่ี ะกอ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน ระงบั หรอื มผี ลกระทบตอ สถานภาพของสทิ ธิ
หรือหนาท่ีของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การส่ังการ การอนุญาต การอนุมัติ
การวินจิ ฉยั อุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบยี น แตไ มหมายความรวมถงึ การออกกฎ

(๒) การอนื่ ทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง
บทบัญญัติดังกลาวแสดงใหเห็นวาคําสั่งทางปกครองมี ๒ ความหมาย

คือ ความหมายโดยแท ตามมาตรา ๕(๑) และความหมายโดยผลของกฎหมาย ตามมาตรา ๕(๒)
ซึง่ ปจ จุบนั นายกรฐั มนตรไี ดออกกฎกระทรวงฉบบั ที่ ๑๒ เพอื่ กาํ หนดใหก ารดําเนนิ การใดหรอื คาํ ส่ังใด
เปน คาํ สงั่ ทางปกครองโดยกาํ หนดวา ใหก ารดาํ เนนิ การของเจา หนา ทดี่ งั ตอ ไปนี้ เปน คาํ สง่ั ทางปกครอง
ใหการดาํ เนินการของเจาหนาที่ดงั ตอไปน้ี เปนคําสั่งทางปกครอง

๑. การดําเนินการเก่ียวกับการจัดหาหรือใหสิทธิประโยชนในกรณี
ดังตอไปนี้

(๑) การส่งั รบั หรอื ไมรับคําเสนอขาย รับจาง แลกเปลี่ยน ใหเ ชา ซอ้ื
เชา หรือใหส ิทธปิ ระโยชน

๒๘

(๒) การอนมุ ัตสิ ่ังซือ้ จาง แลกเปลี่ยน เชา ขาย ใหเชา หรอื ใหส ิทธิ
ประโยชน

(๓) การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคําเสนอหรือการดําเนินการ
อ่นื ใดในลกั ษณะเดยี วกัน

(๔) การสง่ั ใหเ ปน ผทู ้งิ งาน
๒. การใหหรอื ไมใหท ุนการศึกษา

ตวั อยา งของคาํ ส่งั ทางปกครองตามกฎกระทรวงฉบบั ท่ี ๑๒ เชน
- ประกาศของสํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล เร่ืองประกาศรายชื่อ
ผูผานการพิจารณาขอเสนอดานเทคนิคตามสัญญาเอกสารจางบริการระบบเกมสลากเปนการสั่ง
ไมร ับคําเสนอรบั จางงานอันเปน คาํ สัง่ ทางปกครองตามขอ ๑(๑) ของกฎกระทรวง
- หนังสือของผูอํานวยการโรงพยาบาลท่ีแจงใหผูฟองคดีทราบวา
จังหวัดพจิ ิตรไดค ัดเลอื กผูฟอ งคดีเปนคูสญั ญาและใหผ ฟู อ งคดมี าทําสญั ญาเปนการอนมุ ตั จิ างอนั เปน
คาํ สัง่ ทางปกครองตามขอ ๑(๒) ของกฎกระทรวง
- หนงั สอื ของสาํ นกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรที แ่ี จง ยกเลกิ การประกวด
ราคาจดั ซ้ือระบบสารสนเทศ การประชมุ คณะรัฐมนตรแี บบอิเล็กทรอนกิ สใหผูฟ องคดีทราบ เปนการ
ยกเลกิ กระบวนการพิจารณาคาํ เสนออนั เปนคําสง่ั ทางปกครองตามขอ ๑(๓) ของกฎกระทรวง
ñ.ò ͧ¤» ÃСͺ¢Í§คาํ ʧÑè ·Ò§»¡¤Ãͧ
หากพิจารณาจากความหมายโดยแทของคําส่ังทางปกครองท่ีหมายถึงการใช
อํานาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธข้ึนระหวางบุคคล ในอันที่จะ กอ
เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอ สถานภาพของสิทธหิ รือหนา ทข่ี องบุคคล ไมวาจะ
เปน การถาวรหรอื ชวั่ คราว เชน การสงั่ การ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอทุ ธรณ การรบั รอง
และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎแลว เราอาจแยกแยะองคประกอบของ
คําส่งั ทางปกครองไดเปน ๕ ประการ ดังนี้
ñ.ò.ñ คําÊè§Ñ ¹Ñé¹μÍŒ §à»¹š ¡ÒáÃÐทําâ´Âà¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè
คําส่ังทางปกครองจะตองกระทําโดยเจาหนาที่ซึ่งมีอํานาจหนาท่ี
ในเรอ่ื งนน้ั ตามมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.บ.วิธปี ฏบิ ตั ฯิ
“ÁÒμÃÒ õ “เจาหนาที่” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือ
นติ บิ คุ คล ซงึ่ ใชอ าํ นาจหรอื ไดร บั มอบใหใ ชอ าํ นาจทางปกครองของรฐั ในการดาํ เนนิ การอยา งหนง่ึ อยา งใด
ตามกฎหมาย ไมว า จะเปน การจดั ตง้ั ขนึ้ ในระบบราชการ รฐั วสิ าหกจิ หรอื กจิ การอน่ื ของรฐั หรอื ไมก ต็ าม
ÁÒμÃÒ ñò คาํ สง่ั ทางปกครองจะตอ งกระทาํ โดยเจา หนา ทซี่ งึ่ มอี าํ นาจ
หนา ท่ใี นเรอ่ื งนน้ั ”
ดังน้ัน โดยหลักแลวเอกชนไมใชเจาหนาที่ การกระทําตาง ๆ ของ
เอกชนทเี่ ปน การแสดงเจตนาใหบ คุ คลอนื่ กระทาํ การอยา งใดอยา งหนงึ่ จงึ ไมถ อื เปน คาํ สง่ั ทางปกครอง
เวนแตเอกชนนั้นจะไดรับมอบอํานาจปกครองใหกระทําการบางอยางแทนรัฐ การกระทําของเอกชน

๒๙

ท่ีรับมอบอํานาจจึงอาจเปนคําสั่งทางปกครองได เชน มหาวิทยาลัยเอกชนอนุมัติปริญญาบัตร
ใหแ กน กั ศกึ ษาทเี่ รยี นครบหลกั สตู ร สถานตรวจสภาพรถของเอกชนออกใบรบั รองวา รถยนตค นั ทมี่ ารบั
การตรวจผานการตรวจสภาพ สภานายกพิเศษแหงสภาทนายความในอํานาจลบช่ือทนายความ
ออกจากทะเบียนทนายความ เปนตน

ñ.ò.ò คําʧèÑ ¹Ñ¹é μŒÍ§à»¹š ¡ÒÃ㪌อาํ ¹Ò¨»¡¤ÃͧμÒÁ¡®ËÁÒ½҆ Âà´ÂÕ Ç
การกระทาํ โดยเจา หนา ทอี่ นั จะถอื วา เปน คาํ สงั่ ทางปกครองนน้ั จะตอ ง

เกิดจากการใชอํานาจปกครองตามกฎหมายฝายเดียวบังคับแกเอกชน โดยเอกชนผูนั้นไมจําตอง
ยินยอมดวย และตองเปนการใชอํานาจตามกฎหมายปกครองเทาน้ัน การกระทําของเจาหนาที่
อนั เปน การกระทาํ ลงในแดนของกฎหมายเอกชนหรอื กระทาํ โดยการใชอ าํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ อาํ นาจตลุ าการ
และอาํ นาจทางการเมอื ง หรอื กระทาํ โดยใชอ าํ นาจตามสญั ญา เชน โรงเรยี นออกหนงั สอื เลกิ สญั ญาจา ง
เอกชนทเ่ี ขามาขายอาหาร รัฐสภาออกกฎหมาย ศาลมคี าํ พิพากษา พระมหากษัตริยป ระกาศสงคราม
นายกรฐั มนตรปี ลดรฐั มนตรี จงึ ไมเ ปนคาํ สงั่ ทางปกครอง

ñ.ò.ó คาํ Êèѧ¹¹Ñé μÍŒ §à»¹š ¡ÒÃÊÃÒŒ §¹μÔ ÔÊÁÑ ¾Ñ¹¸¢ éÖ¹ÃÐËÇÒ‹ §º¤Ø ¤Å
คําส่ังทางปกครองเปนการกระทําท่ีมุงในทางกฎหมายท่ีมีลักษณะ

เปนการสรางนติ สิ มั พันธข ้นึ ระหวางบคุ คล ในอนั ท่จี ะ กอ เปลยี่ นแปลง โอน สงวน ระงบั หรือมีผล
กระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน คําส่ัง
อนญุ าตใหต งั้ โรงงาน คาํ สงั่ ใหร อ้ื ถอนอาคาร คาํ สง่ั ใหร อ้ื ถอนสงิ่ ปลกู สรา งทรี่ กุ ลา้ํ ทางสาธารณประโยชน
การออกหนงั สือรับรองการทาํ ประโยชน หรอื การจดทะเบียนโอนมรดก เปน ตน

ดวยเหตุนี้คําส่ังทางปกครองจึงแตกตางจากปฏิบัติการทางปกครอง
เพราะปฏบิ ตั กิ ารทางปกครองเปน การกระทาํ ทไ่ี มไ ดม งุ หมายผลในทางกฎหมายแตอ ยา งใด แตเ ปน การ
กระทําเพื่อใหบรรลุผลทั้งขอเท็จจริงบางประการ เชน เจาพนักงานตามกฎหมายควบคุมอาคาร
เขาดาํ เนินการรอื้ ถอนอาคารท่ีกอ สราง เปน ตน

ในประเด็นนี้มีขอสังเกตวาการยื่นคําขอใหเจาหนาท่ีออกใบอนุญาต
ตาง ๆ แมวาในขณะท่ีย่ืนคําขอนั้นผูย่ืนคําขอจะยังไมมีสิทธิท่ีจะกระทําการใด ๆ ตามที่ย่ืนคําขอไว
แตเมื่อเจาหนาที่ไมอนุญาตตามคําขอ ผูย่ืนคําขอจึงไมมีสิทธิเชนเดิม ในกรณีนี้หากพิจารณาผิวเผิน
ดูเหมือนวาจะไมกระทบสิทธิยื่นคําขอแตอยางใด แตความเปนจริงแลวการยืนยันของเจาหนาท่ีวา
ผูยื่นคําขอไมมีสิทธิตามขอน้ัน ยอมถือเปนการกระทําที่กระทบสิทธิของผูยื่นคําขอเชนกัน ดังนั้น
การไมอนมุ ตั หิ รือไมอนญุ าตดงั กลาวจงึ เปน คําส่ังทางปกครอง

ñ.ò.ô คาํ Êèѧ¹Ñé¹μÍŒ §ÁÕ¼Å੾ÒСóÕ
คําส่ังทางปกครองตองมีผลบังคับแกบุคคลใดบุคคลหน่ึงหรือกรณีใด

กรณีหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจง ดวยเหตุน้ีคําส่ังทางปกครองจึงแตกตางจากกฎ เพราะกฎเปนการท่ี
เจา หนา ทใี่ ชอ าํ นาจปกครองกาํ หนดกฎเกณฑห รอื สรา งนติ สิ มั พนั ธใ นลกั ษณะทมี่ ผี ลบงั คบั เปน การทว่ั ไป
โดยไมม งุ หมายใหใ ชบงั คบั แกบ ุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกรณีใดกรณีหน่งึ โดยเฉพาะเจาะจง

๓๐

ñ.ò.õ คาํ ÊÑ觹¹Ñé μÍŒ §Á¼Õ Åâ´ÂμçÍÍ¡ä»ÀÒ¹͡½†Ò»¡¤Ãͧ
คําส่ังทางปกครองเปนกฎเกณฑที่มีผลโดยตรงออกไปภายนอก

ฝา ยปกครอง ดงั นน้ั คาํ สงั่ ทางปกครองจงึ มผี ลเปน การ กอ เปลย่ี นแปลง โอน สงวน ระงบั หรอื มผี ลกระทบ
ตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาท่ีของบุคคล ที่มีสถานะเปนประชาชนทั่วไปซึ่งอยูภายนอกองคกร
ฝา ยปกครอง ดว ยเหตนุ คี้ าํ สง่ั ทางปกครองจงึ แตกตา งจากคาํ สง่ั ภายในฝา ยปกครองหรอื มาตรการภายใน
ฝายปกครอง เพราะคําสั่งภายในฝายปกครองเปนคําส่ังท่ีมีผลตอเจาหนาที่ซ่ึงเปนบุคลากรภายใน
ฝา ยปกครองเทา น้นั ประชาชนท่ัวไปไมตอ งปฏิบัติตามคําสัง่ ภายในศาลปกครองดงั กลาว

อยางไรก็ดีในบางกรณีแมผูรับทราบคําส่ังจะเปนเจาหนาที่ซึ่งเปนบุคลากร
ภายในฝา ยปกครอง แตคาํ ส่งั ดงั กลา วอาจเปน คาํ สง่ั ทางปกครองกไ็ ด ถาคําสงั่ น้นั มีผลกระทบโดยตรง
ตอสถานะสวนตัวของเจาหนาท่ี ดุจดังเปนประชาชนท่ัวไป ก็ถือไดวาคําส่ังนั้นมีผลออกไปภายนอก
ฝา ยปกครองแลว เชน คําสัง่ บรรจุแตง ตง้ั บคุ คลเขา รบั ราชการ คําสัง่ ลงโทษทางวินัยขาราชการ คาํ สัง่
โยกยา ยขา ราชการหรอื ใหไ ปชว ยราชการโดยมผี ลเปน การเปลย่ี นแปลงลกั ษณะงานอยา งสน้ิ เชงิ เปน ตน

แตถาคําส่ังนั้นมีผลใหเจาหนาที่ตองปฏิบัติราชการตามหนาที่ในฐานะที่เปน
สว นหนง่ึ ขององคก รฝา ยปกครอง คาํ สงั่ นนั้ ยอ มไมใ ชค าํ สง่ั ทางปกครองแตเ ปน คาํ สงั่ ภายในฝา ยปกครอง
เชน คาํ ส่ังแตง ตงั้ คณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจรงิ คาํ สงั่ แตงตัง้ คณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั รายแรง
และไมรายแรง คําสั่งโยกยายขาราชการหรือใหไปชวยราชการโดยไมมีผลเปนการเปลี่ยนแปลง
ลกั ษณะงานอยา งสนิ้ เชงิ เปนตน

ó. ਌Ò˹ŒÒ·èÕ¼ÁŒÙ อÕ าํ ¹Ò¨¾¨Ô Òóҷҧ»¡¤Ãͧ
ó.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧà¨ÒŒ ˹ŒÒ·èÕ
โดยปกติเจาหนาท่ียอมเปนผูมีอํานาจพิจารณาทางปกครอง ซึ่งมาตรา ๕

ใหความหมายวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซีึ่งใชอํานาจหรือไดรับมอบหมายใหใชอํานาจ
ปกครองของรัฐ ในการดําเนินการอยางหน่ึงอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการจัดต้ังขึ้นในระบบ
ราชการ รัฐวิสาหกจิ หรือกิจการอ่ืนของรัฐหรอื ไมก ็ตาม

ดงั นนั้ เอกชนจงึ ไมใ ชเ จา หนา ทต่ี ามความหมายดงั กลา ว ทาํ ใหไ มอ าจพจิ ารณา
ทางปกครองเพ่ือจัดใหมีคําสั่งทางปกครองได เวนแตเอกชนผูน้ันจะไดรับมอบใหใชอํานาจปกครอง
กระทําการบางอยางแทนรัฐ เชนน้ีเอกชนผูน้ันยอมมีฐานะเปนเจาหนาท่ีท่ีมีอํานาจดําเนินกระบวน
พิจารณาทางปกครองเพื่อจัดใหมีคําสั่งทางปกครองได เชน มหาวิทยาลัยเอกชนอนุมัติปริญญาบัตร
ใหแกนักศึกษาที่เรียนครบหลักสูตร หรือสถานตรวจสภาพรถของเอกชนออกใบรับรองวารถยนต
คันทีม่ ารับการตรวจสภาพผา นการตรวจสภาพ

ó.ò à¨ÒŒ ˹ŒÒ·èÕμÍŒ §ÁอÕ าํ ¹Ò¨ÍÍ¡คาํ ʧèÑ ·Ò§»¡¤Ãͧ
พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติฯ มาตรา ๑๒ กําหนดใหคําสั่งทางปกครองจะตองกระทํา

โดยเจา หนา ท่ี ซงึ่ มอี าํ นาจหนา ทใี่ นเรอื่ งนน้ั ซง่ึ การพจิ ารณาวา เจา หนา ทผี่ ใู ดมอี าํ นาจหนา ทใ่ี นเรอื่ งนนั้
จะตอ งพจิ ารณาตามหลักเกณฑดงั ตอไปน้ี

๓๑

ñ) ¾¨Ô ÒóÒã¹á§à‹ Ãè×ͧ·èÕÁÕอํา¹Ò¨ คําส่ังทางปกครองตองออกโดยเจาหนา ท่ี
ผูมีอํานาจในเรื่องน้ัน ในเบื้องตนจึงตองพิจารณาเสียกอนวาเร่ืองท่ีจะออกคําสั่งทางปกครองน้ัน
เปน อํานาจหนา ท่ขี องฝายปกครององคกรใด เมอื่ ทราบวา เรือ่ งนั้นเปน อาํ นาจหนา ทขี่ องฝา ยปกครอง
องคกรใดแลว ยอมตองพิจารณาตอไปวาเรื่องนั้นเปนอํานาจหนาที่ของเจาหนาที่ตําแหนงใดใน
ฝา ยปกครององคก รนนั้ เชน การถอนสญั ชาตไิ ทยของบคุ คลเปน อาํ นาจหนา ทขี่ องกระทรวงมหาดไทย
ตาม พ.ร.บ.สญั ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ กาํ หนดใหร ฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยเปน เจา หนา ทผี่ มู อี าํ นาจ
ในการถอนสญั ชาติไทยของบคุ คล

ò) ¾Ô¨ÒóÒã¹á§‹¾é×¹·Õè·èÕÁÕอํา¹Ò¨ นอกจากเจาหนาที่จะออกคําส่ังทาง
ปกครองในเร่ืองทต่ี นมีอํานาจแลว เจา หนา ท่จี ะตองออกคําสัง่ นั้นภายในพืน้ ท่ที ตี่ นมอี าํ นาจดวย เชน
ผูบัญชาการตํารวจนครบาลมีอํานาจในการออกใบอนุญาตต้ังสถานบริการ ตาม พ.ร.บ.สถานบริการ
พ.ศ.๒๕๐๙ เฉพาะในเขตกรงุ เทพฯ แตไ มม อี าํ นาจในการออกใบอนญุ าตตง้ั สถานบรกิ ารในเขตจงั หวดั อน่ื
เพราะการออกใบอนุญาตตง้ั สถานบริการในเขตจังหวดั อ่นื เปนอาํ นาจของผวู าราชการจงั หวัดนั้น ๆ

ó) ¾Ô¨ÒóÒã¹á§‹àÇÅÒ·ÕèÁÕอํา¹Ò¨ เม่ือทราบวาเจาหนาที่ตําแหนงใดเปน
ผูมีอํานาจออกคําสั่งทางปกครองในเร่ืองและพ้ืนที่นั้น ๆ แลว ยอมตองพิจารณาตอไปวาเจาหนาท่ี
คนใดเปนผูรับการแตงตั้งใหเขาสวนตําแหนงท่ีมีอํานาจออกคําส่ังทางปกครองนั้น โดยเจาหนาที่
ยอมมีอํานาจออกคําสั่งทางปกครองไดเฉพาะในเวลาท่ีตนดํารงตําแหนงดังกลาวเทาน้ัน คําสั่ง
ทางปกครองท่ีเจาหนาท่ีคนน้ันออกกอนท่ีควรจะรับการแตงต้ังใหดํารงตําแหนงหรือภายหลังที่ตน
พนจากตําแหนง ไปแลวยอ มไมชอบดว ยกฎหมาย

ซ่ึงโดยหลักตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
คาํ สง่ั ทางปกครองจะตอ งกระทาํ โดยเจา หนา ทซ่ี งึ่ มอี าํ นาจหนา ทใ่ี นเรอ่ื งนน้ั และเจา หนา ทจ่ี ะตอ งไมม สี ว น
ไดเ สียในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณา และมีความเปนกลาง โดยมาตรา ๑๓ แหงพระราชบัญญตั ิวิธปี ฏบิ ัตริ าชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดว างหลักวา เจา หนา ท่ีดงั ตอไปนีจ้ ะทําการพิจารณาทางปกครองไมได คือ

(๑) เปนคกู รณีเอง
(๒) เปนคูหมั้นหรอื คสู มรสของคกู รณี
(๓) เปน ญาตขิ องคกู รณี คอื เปน บพุ การหี รอื ผสู บื สนั ดานไมว า ชนั้ ใด ๆ หรอื เปน
พน่ี อ งหรอื ลกู พล่ี กู นอ งนบั ไดเ พยี งภายในสามชนั้ หรอื เปน ญาตเิ กย่ี วพนั ทางแตง งานนบั ไดเ พยี งสองชนั้
(๔) เปน หรอื เคยเปน ผแู ทนโดยชอบธรรม หรอื ผพู ทิ กั ษ หรอื ผแู ทนหรอื ตวั แทน
ของคูกรณี
(๕) เปน เจาหนห้ี รือลกู หน้ี หรอื เปน นายจา งของคกู รณี
(๖) กรณอี น่ื ตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง
ซ่ึงหากเกิดกรณีท่ีเจาหนาท่ีเปนผูมีลักษณะขางตน คูกรณี ซ่ึงหมายถึงผูยื่น
คําขอหรือผูคัดคานคําขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคําส่ังทางปกครอง และผูซ่ึงไดเขามา

๓๒

ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเน่ืองจากสิทธิของผูน้ันจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคําส่ัง
ทางปกครอง สามารถคดั คานการดําเนินการของบคุ คลดังกลา วได ซ่งึ เมื่อเจา หนาทผี่ ูใดถกู คดั คา นให
เจาหนาท่ีผูนั้นหยุดการพิจารณาเรื่องไวกอน และแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปช้ันหน่ึงทราบ
เพื่อที่ผูบังคับบัญชาดังกลาวจะไดมีคําสั่งตอไป สําหรับการยื่นคําคัดคาน การพิจารณาคําคัดคาน
และการส่ังใหเจาหนาท่ีอ่ืนเขาปฏิบัติหนาท่ีแทนผูที่ถูกคัดคานใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
กําหนดในกฎกระทรวง นอกจากกรณีทเี่ ปน ผมู สี วนไดเ สยี ตามทรี่ ะบุไวขา งตนแลว หากเจาหนา ท่ีผนู น้ั
มลี กั ษณะซงึ่ มสี ภาพรา ยแรงอนั อาจทาํ ใหก ารพจิ ารณาทางปกครองไมเ ปน กลาง เจา หนา ทหี่ รอื กรรมการ
ผูนน้ั จะทําการพจิ ารณาทางปกครองในเรอื่ งนัน้ ไมไ ดเ ชน กนั

ô. ¤‹Ù¡Ã³Õ㹡Òþ¨Ô Òóҷҧ»¡¤Ãͧ
ô.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤¡Ù‹ óÕ
ตามมาตรา ๕ แหง พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙

ใหนิยามความหมายของคําวา “คูกรณี” วาหมายถึงผูยื่นคําขอหรือผูคัดคานคําขอผูอยูในบังคับ
หรือจะอยูในบังคับของคําส่ังทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
เนอื่ งจากสทิ ธขิ องผนู น้ั จะถกู กระทบกระเทอื นจากผลของคาํ สง่ั ทางปกครอง ซงึ่ ตามมาตรา ๒๑ คกู รณี
ดงั กลาวอาจเปน บคุ คลธรรมดา คณะบุคคล หรอื นติ บิ ุคคล ก็ไดต ามขอบเขตทส่ี ิทธิของตนถกู กระทบ
กระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลีกเลี่ยงได อยางไรก็ดี บุคคลดังกลาวจะตองเปน
ผมู ีความสามารถกระทําการในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองตามมาตรา ๒๒ ได ดงั น้ี

ÁÒμÃÒ òñ บคุ คลธรรมดา คณะบคุ คล หรือนติ บิ ุคคล อาจเปน คกู รณใี นการ
พิจารณาทางปกครองไดตามขอบเขตท่ีสิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือน
โดยมอิ าจหลีกเล่ียงได

ÁÒμÃÒ òò ผมู คี วามสามารถกระทาํ การในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง
ไดจ ะตองเปน

(๑) ผูซ ง่ึ บรรลุนิติภาวะ
(๒) ผูซ่ึงมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดใหมีความสามารถกระทําการในเร่ือง
ที่กําหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจํากัดตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย
(๓) นิติบุคคลหรอื คณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผแู ทนหรือตวั แทน แลว แต
กรณี
(๔) ผูซ่ึงมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายใน
ราชกิจจานุเบกษากําหนดใหมีความสามารถกระทําการในเร่ืองท่ีกําหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุ
นติ ิภาวะหรือความสามารถถูกจํากัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย

๓๓

ซงึ่ ทงั้ นี้ บคุ คลธรรมดา คณะบคุ คล หรอื นติ บิ คุ คล อาจเปน คกู รณใี นการพจิ ารณา
ทางปกครองไดต ามขอบเขตทสี่ ทิ ธิของตนถูกกระทบกระเทือน หรอื อาจถกู กระทบกระเทอื นโดยไมอ าจ
หลกี เลย่ี งไดเ มอ่ื พจิ ารณาจากความหมายของคกู รณแี ลว จะเหน็ ไดว า คกู รณี ไดแ ก บคุ คล ดงั ๔ ประเภท
ตอไปน้ี

ñ) ¼ŒÙÂ×è¹คาํ ¢Í
ไดแก บุคคลที่รองขอใหเจาหนาที่ดําเนินการออกคําสั่งทางปกครอง

ตามทต่ี นประสงค ในกรณที ก่ี ฎหมายกาํ หนดใหค าํ สง่ั ทางปกครองนนั้ จะออกไดก ต็ อ เมอ่ื มผี ยู น่ื คาํ ขอ เชน
ผูยน่ื คําขอใบอนุญาตเปด สถานบริการ ผยู ื่นคําขอใบอนุญาตขอจัดต้ังโรงงานอตุ สาหกรรม ผยู ืน่ คําขอ
ใบอนุญาตขบั ขี่รถยนต ผูย นื่ คาํ ขอออกโฉนดทีด่ ิน เปน ตน

ò) ¼¤ÙŒ Ñ´¤ÒŒ ¹คํา¢Í
ไดแก บุคคลที่รับผลกระทบจากการย่ืนคําขอของผูย่ืนคําขอและเขามา

คัดคานในกระบวนพิจารณาทางปกครอง เพื่อมิใหเจาหนาที่ออกคําส่ังทางปกครองตามที่มี
ผูยืน่ คาํ ขอไว เชน บุคคลทคี่ ดั คานวา เจาหนาที่ออกโฉนดทดี่ นิ ใหผูยืน่ คาํ ขอไมไ ด เพราะที่ดนิ ไมใชท ด่ี ิน
ของผูยนื่ คาํ ขอแตเ ปนของผคู ดั คาน เปนตน

ó) ¼ŒÙÍÂً㹺§Ñ ¤Ñº¢Í§คาํ Êè§Ñ ·Ò§»¡¤Ãͧ
ไดแ ก บคุ คลท่ีไดรบั คําสัง่ ทางปกครองซึง่ มงุ หมายบังคบั เอากบั ตนใหตอง

กระทําการหรืองดเวนกระทาํ การอยางใดอยางหน่งึ เชน ขาราชการท่ถี ูกลงโทษทางวนิ ยั ทนายความ
ทถี่ ูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ทนายความ เปน ตน

ô) º¤Ø ¤Å·äèÕ ´àŒ ¢ÒŒ ÁÒ㹡Ãкǹ¡Òþ¨Ô Òóҷҧ»¡¤Ãͧà¹Í×è §¨Ò¡Ê·Ô ¸¢Ô ͧ
¼ÙŒ¹Ñ¹é ¨Ð¶¡Ù ¡Ãзº¡ÃÐà·Í× ¹¨Ò¡¼Å¢Í§คําÊÑ觷ҧ»¡¤Ãͧ

ไดแก บุคคลที่ย่ืนคํารองขอเขามาในกระบวนพิจารณาทางปกครองดวย
ตนเองหรือถูกเรียกเขามาโดยผูมีอํานาจพิจารณาออกคําส่ังทางปกครอง เนื่องจากหากไดมีการออก
คําส่ังทางปกครองแลวคําสั่งทางปกครองน้ันจะมีผลกระทบกระเทือนตอสิทธิของบุคคลดังกลาว เชน
เจาหนาท่ีกําลังพิจารณาคําขอออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานใหผูย่ืนคําขอ ชาวบานซึ่งอยูใน
บริเวณใกลเคียงกับท่ีตั้งโรงงานถูกเจาหนาที่เรียกเขามาสอบถามขอเท็จจริง เชนน้ีถือวาชาวบานผูนั้น
เปน คกู รณีแลว

ô.ò ÊÔ·¸¢Ô ͧ¤‹Ù¡Ã³Õ
พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ไดบัญญัติรับรองสิทธิ

ที่สาํ คัญของคูกรณีในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง ไว ๙ ประการ คอื
(๑) สทิ ธมิ ีที่ปรกึ ษาหรอื ผูท ําการแทน
(๒) สทิ ธไิ ดรับการพิจารณาจากเจาหนาทซ่ี ่งึ มคี วามเปน กลาง
(๓) สิทธิท่ีจะไดรับคําแนะนําและไดรับแจงสิทธิหนาท่ีตาง ๆ ในการติดตอ

เจาหนาที่

๓๔

(๔) สิทธิไดรับการแจง จากเจาหนาทใ่ี นกรณีคําสั่งมีผลกระทบตอ ตน
(๕) สิทธิท่จี ะโตแ ยงแสดงพยานหลกั ฐาน
(๖) สิทธิทจ่ี ะไดต รวจเอกสารของเจา หนาท่ี
(๗) สทิ ธไิ ดร บั ทราบเหตุผลของคาํ ส่ัง
(๘) สิทธิไดร บั แจงวธิ กี ารอุทธรณห รอื โตแยง และสิทธใิ นการอทุ ธรณค ําส่ัง
(๙) สิทธิในการขอใหพิจารณาใหม
õ. คาํ Êèѧ·Ò§»¡¤Ãͧ
õ.ñ ÃٻẺ¢Í§คําÊèѧ
คําสั่งทางปกครองอาจทําเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมาย
ในรปู แบบอ่ืนก็ได แตต องมขี อความหรอื ความหมายทช่ี ัดเจนเพียงพอที่จะเขา ใจได
“ÁÒμÃÒ óô คําส่ังทางปกครองอาจทําเปนหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อ
ความหมายในรูปแบบอ่ืนก็ได แตต องมีขอความหรอื ความหมายทช่ี ดั เจนเพียงพอท่จี ะเขาใจได”
โดยในสวนคําสัง่ ทางปกครอง เปน คําสง่ั ดวยวาจาน้ัน ถา ผูรับคาํ สงั่ นั้นรอ งขอ
โดยมเี หตอุ นั สมควรภายในเจด็ วนั นบั แตว นั ทมี่ คี าํ สง่ั ดงั กลา ว เจา หนา ทผ่ี อู อกคาํ สงั่ นนั้ ตอ งยนื ยนั คาํ สงั่
น้นั เปน หนังสอื
“ÁÒμÃÒ óõ ในกรณที ค่ี าํ ส่ังทางปกครองเปนคาํ สง่ั ดวยวาจา ถาผรู ับคาํ สั่งนนั้
รอ งขอและการรอ งขอไดก ระทาํ โดยมเี หตอุ นั สมควรภายในเจด็ วนั นบั แตว นั ทมี่ คี าํ สง่ั ดงั กลา ว เจา หนา ที่
ผูออกคําสงั่ ตองยืนยันคาํ สงั่ นน้ั เปน หนงั สอื ”
õ.ò ÊÒÃÐสาํ ¤ÑÞ«èÖ§μŒÍ§ÁÕã¹คําÊè§Ñ
มาตรา ๓๖ แหง พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กําหนดใหคําส่ังทางปกครองท่ีทําเปนหนังสืออยางนอยตองระบุ วัน เดือนและปท่ีทําคําสั่ง ชื่อและ
ตาํ แหนง ของเจาหนา ที่ผูท ําคําสั่ง พรอมทัง้ มลี ายมือชอื่ ของเจาหนา ท่ีผูทําคาํ สงั่ นน้ั
õ.ó ˹Ҍ ·Õè㹡ÒÃᨌ§àËμؼÅ㹡ÒÃÍÍ¡คาํ Êè§Ñ
เพอ่ื ประโยชนในการโตแ ยง สิทธิของคกู รณี พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ตั ฯิ จงึ มบี ทบญั ญตั ิ
รองรับสิทธิไดรับทราบเหตุผลของคําสั่งหรือการใชดุลพินิจของฝายปกครอง มาตรา ๓๗ ไดบัญญัติ
ใหเจาหนาท่ีทางปกครองมีหนาที่โดยทั่วไปที่จะตองใหเหตุผลในการจัดทําคําสั่ง กลาวคือ ในการทํา
คาํ สง่ั ทางปกครองทท่ี าํ เปน หนงั สอื และการยนื ยนั คาํ สง่ั ทางปกครองเปน หนงั สอื เจา หนา ทตี่ อ งจดั ใหม ี
เหตุผลไวด ว ย และเหตผุ ลนัน้ อยา งนอ ยตองประกอบดวยขอ เทจ็ จรงิ อนั เปน สาระสาํ คญั ขอ กฎหมาย
ที่อางองิ และขอ พิจารณาและขอ สนับสนนุ ในการใชดลุ พนิ ิจ
“ÁÒμÃÒ ó÷ คําสั่งทางปกครองท่ีทําเปนหนังสือและการยืนยันคําสั่งทาง
ปกครองเปนหนังสอื ตอ งจัดใหมเี หตผุ ลไวด ว ย และเหตุผลนน้ั อยา งนอ ยตองประกอบดว ย
(๑) ขอเทจ็ จรงิ อนั เปนสาระสาํ คัญ
(๒) ขอกฎหมายท่ีอางองิ

๓๕

(๓) ขอ พิจารณาและขอสนบั สนนุ ในการใชดลุ พนิ ิจ
นายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษากาํ หนดใหค าํ สง่ั ทางปกครองกรณหี นงึ่ กรณใี ดตอ งระบเุ หตผุ ลไวใ นคาํ สงั่ นน้ั เองหรอื ในเอกสาร
แนบทายคาํ ส่งั น้นั กไ็ ด
บทบญั ญัติตามวรรคหนง่ึ ไมใชบ ังคบั กับกรณีดงั ตอ ไปนี้
(๑) เปนกรณีท่ีมผี ลตรงตามคําขอและไมก ระทบสิทธิและหนาท่ขี องบคุ คลอื่น
(๒) เหตุผลน้ันเปนที่รกู ันอยูแ ลว โดยไมจ ําตองระบอุ ีก
(๓) เปนกรณีทีต่ อ งรกั ษาไวเ ปน ความลบั ตามมาตรา ๓๒
(๔) เปนการออกคําสั่งทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวนแตตองให
เหตุผลเปน ลายลกั ษณอ กั ษรในเวลาอนั ควร หากผอู ยูใ นบงั คบั ของคาํ สง่ั นน้ั รองขอ”
ö. ¡ÒÃÍØ·¸Ã³คาํ ÊÑ觷ҧ»¡¤Ãͧ
การอทุ ธรณค าํ สงั่ ทางปกครองเปน กระบวนการทบทวนคาํ สง่ั ทางปกครอง ซงึ่ เปน การ
ควบคุมภายในฝายปกครองแบบแกไขวิธีหนึ่ง เพื่อใหเจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองและผูมีอํานาจ
พิจารณาอุทธรณไดพิจารณาแกไขเปลี่ยนแปลงคําส่ังทางปกครองใหถูกตอง และเพ่ือแกไขเยียวยา
ความเดอื ดรอนเสียหายของคูก รณี ซ่งึ ถกู กระทบกระเทือนจากผลของคําสัง่ ทางปกครอง กอนทีจ่ ะนาํ
คดขี น้ึ วนิ จิ ฉยั อยา งองคก รตลุ าการอกี ครงั้ การอทุ ธรณค าํ สงั่ ทางปกครองยงั เปน เงอื่ นไขการฟอ งคดตี อ
ศาลปกครองอกี ดว ย ซึง่ หากคําส่งั ทางปกครองดงั กลาวเปนคาํ สง่ั ท่ีอาจอุทธรณภายในฝายปกครองได
แตค กู รณไี มไ ดอ ทุ ธรณห รอื อทุ ธรณโ ดยไมช อบดว ยกฎหมายผนู น้ั ยอ มไมม สี ทิ ธฟิ์ อ งคดตี อ ศาลปกครอง
ตามมาตรา ๔๒ วรรคสอง แหง พ.ร.บ.จัดตง้ั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒
ดงั ไดก ลา วมาแลว วา ในกรณที กี่ ฎหมายเฉพาะกาํ หนดขนั้ ตอนและระยะเวลาอทุ ธรณ
คาํ สง่ั ทางปกครองไวเ ชน ใดแลว เจา หนา ทจี่ ะตอ งนาํ หลกั เกณฑเ กย่ี วกบั ขน้ั ตอนและระยะเวลาอทุ ธรณ
ทก่ี าํ หนดไวในกฎหมายเฉพาะมาบงั คบั ใชเสมอ ตาม มาตรา ๓ วรรคสอง แมข้นั ตอนและระยะเวลา
อุทธรณที่กําหนดในกฎหมายเฉพาะจะมีหลักเกณฑท่ีประกันความเปนธรรมหรือมีมาตรฐานในการ
ปฏิบัตริ าชการตํ่ากวาหลักเกณฑท ก่ี ําหนดไวใ น พ.ร.บ.วธิ ปี ฏบิ ัตฯิ กต็ าม แตใ นกรณที ีก่ ฎหมายเฉพาะ
ไมไดก ําหนดขนั้ ตอนและระยะเวลาการอุทธรณไ วเลย เจา หนาที่จะตอ งนําหลักเกณฑเ กีย่ วกบั ขนั้ ตอน
และระยะเวลาอทุ ธรณท ่กี าํ หนดใน พ.ร.บ.วธิ ีปฏบิ ัติมาใชบ งั คับแกกรณตี ามมาตรา ๓ วรรคหนึ่ง
ö.ñ ÃÐÂÐàÇÅÒÍØ·¸Ã³ค าํ Êè§Ñ ·Ò§»¡¤Ãͧ
คูกรณีตองย่ืนอุทธรณคําส่ังทางปกครองตอเจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครอง
ภายใน ๑๕ วัน นับแตวนั ท่ีรับแจงคาํ ส่ังดงั กลาวตามมาตรา ๔๔ วรรคหนง่ึ
“ÁÒμÃÒ ôô ภายใตบ งั คบั มาตรา ๔๘ ในกรณที ค่ี าํ สงั่ ทางปกครองใดไมไ ดอ อก
โดยรฐั มนตรี และไมม กี ฎหมายกาํ หนดขนั้ ตอนอทุ ธรณภ ายในฝา ยปกครองไวเ ปน การเฉพาะ ใหค กู รณี
อทุ ธรณค าํ สง่ั ทางปกครองนน้ั โดยยนื่ ตอ เจา หนา ทผ่ี ทู าํ คาํ สงั่ ทางปกครองภายในสบิ หา วนั นบั แตว นั ทตี่ น
ไดรบั แจงคําสั่งดงั กลาว

๓๖

คาํ อทุ ธรณต อ งทาํ เปน หนงั สอื โดยระบขุ อ โตแ ยง และขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ กฎหมาย
ท่อี างองิ ประกอบดวย

การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง เวนแตจะมี
การสั่งใหท ุเลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหนงึ่ ”

อยา งไรกต็ ามถา เจา หนา ทผี่ ทู าํ คาํ สงั่ ทางปกครองละเลยไมแ จง สทิ ธอิ ทุ ธรณใ ห
คกู รณที ราบตามมาตรา ๔๐ วรรคหนง่ึ ระยะเวลาอทุ ธรณค าํ สง่ั จะเร่ิมนบั ใหมต้งั แตว นั ทีเ่ จา หนาทแ่ี จง
สทิ ธอิ ทุ ธรณ แตห ากไมม กี ารแจง ใหมแ ละเวลาการอทุ ธรณค าํ สงั่ นน้ั สนั้ กวา หนง่ึ ป ใหร ะยะเวลาอทุ ธรณ
ขยายเปน ๑ ปนับแตวันที่ไดรับคําสั่งทางปกครอง ตามมาตรา ๔๐ วรรคสอง ท้ังน้ีในกรณีที่คูกรณี
ยืน่ อุทธรณคําสั่งเกนิ กวา กําหนดระยะเวลายอมถอื ไมไดว า มีการย่ืนอุทธรณคาํ สงั่ น้ันแตอ ยา งใด

“ÁÒμÃÒ ôð คาํ สงั่ ทางปกครองทอี่ าจอทุ ธรณห รอื โตแ ยง ตอ ไปไดใ หร ะบกุ รณี
ที่อาจอทุ ธรณห รอื โตแ ยง การย่ืนคําอุทธรณหรอื คาํ โตแยง และระยะเวลาสําหรบั การอทุ ธรณห รอื การ
โตแ ยงดงั กลาวไวดวย

ในกรณที ม่ี กี ารฝา ฝน บทบญั ญตั ติ ามวรรคหนงึ่ ใหร ะยะเวลาสาํ หรบั การอทุ ธรณ
หรือการโตแยงเร่ิมนับใหมตั้งแตวันท่ีไดรับแจงหลักเกณฑตามวรรคหนึ่ง แตถาไมมีการแจงใหม
และระยะเวลาดงั กลา วมรี ะยะเวลาสนั้ กวา หนง่ึ ป ใหข ยายเปน หนง่ึ ปน บั แตว นั ทไ่ี ดร บั คาํ สงั่ ทางปกครอง”

ö.ò ÃٻẺ¢Í§คําÍ·Ø ¸Ã³
คาํ อทุ ธรณต อ งทาํ เปน หนงั สอื โดยระบขุ อ โตแ ยง และขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ กฎหมาย

ท่ีอางอิงประกอบดวยตามมาตรา ๔๔ วรรคสอง ดังน้ันในกรณีที่คูกรณีอุทธรณคําส่ังทางปกครอง
ดว ยวาจา หรอื เพยี งแตข อใหต รวจสอบขอ เทจ็ จรงิ ใหม โดยนาํ พยานหลกั ฐานและพยานบคุ คลไปชแ้ี จง
ตอเจา หนา ท่ีผูท ําคาํ สง่ั ทางปกครองยอ มไมถือเปน การอุทธรณค าํ สัง่ แตอ ยา งใด

ö.ó ¼Å¢Í§¡ÒÃÍØ·¸Ã³ค ําÊÑ§è ·Ò§»¡¤Ãͧ
มาตรา ๔๔ วรรค ๓ กําหนดผลของการอุทธรณคําส่ังทางปกครองไววา

การอุทธรณคําส่ังทางปกครองไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําส่ังทางปกครอง เวนแตจะมีการสั่ง
ใหทุเลาการบงั คบั ตามมาตรา ๕๖ วรรคหนึง่ ดังน้นั เจา หนา ท่ผี ทู าํ คําส่งั ทางปกครองจึงยังคงบงั คบั การ
ใหเปนไปตามคําส่ังทางปกครองนั้นได อยางไรก็ตามเจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครอง เจาหนาที่
ผูมอี ํานาจพิจารณาอุทธรณ หรือองคกรวินจิ ฉัยคดปี กครอง ยอ มมีอาํ นาจทจี่ ะสงั่ หรือมคี าํ สง่ั ใหท ุเลา
การบงั คับตามคาํ สัง่ ทางปกครองน้ันได ตามมาตรา ๕๖

“ÁÒμÃÒ õö เจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครองมีอํานาจที่จะพิจารณาใช
มาตรการบังคับทางปกครองเพ่ือใหเปนไปตามคําส่ังของตนไดตามบทบัญญัติในสวนน้ี เวนแตจะมี
การสงั่ ใหทุเลาการบงั คับไวกอนโดยเจาหนา ที่ผูทาํ คาํ สง่ั นน้ั เอง ผูมอี าํ นาจพิจารณาคาํ อทุ ธรณหรือผูม ี
อํานาจพจิ ารณาวินจิ ฉัยความถกู ตอ งของคําสงั่ ทางปกครองดังกลาว

เจาหนาท่ีตามวรรคหน่ึงจะมอบอํานาจใหเจาหนาที่ซึ่งอยูใตบังคับบัญชา
หรือเจาหนาทอ่ี ื่นเปนผดู ําเนนิ การกไ็ ดตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารที่กําหนดในกฎกระทรวง

๓๗

ใหเจาหนาที่ตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับทางปกครอง
เพียงเทาท่ีจําเปนเพ่ือใหบรรลุตามวัตถุประสงคของคําสั่งทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูใน
บงั คบั ของคาํ สั่งทางปกครองนอ ยท่ีสุด”

ʋǹ·Õè ó ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¨Ô ´Ñ μ§Ñé ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô ¾Õ ¨Ô ÒóҤ´»Õ ¡¤Ãͧ ¾.È.òõôò

ศาลปกครองเปน องคก รตลุ าการทจ่ี ดั ตงั้ ขนึ้ แยกออกมาเปน เอกเทศจากศาลยตุ ธิ รรมภายใต
ระบบ “ศาลค”ู เพอ่ื ใหศ าลปกครองทาํ หนา ทเี่ ปน องคก รทใี่ ชอ าํ นาจตลุ าการในกระบวนการทางปกครอง
แยกตางหากจากศาลยุติธรรม ท่ีใชอํานาจตุลาการในกระบวนการยุติธรรมทางแพงและทางอาญา
ดว ยเหตนุ ศี้ าลปกครองจงึ มอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดปี กครองโดยเฉพาะ อนั หมายถงึ คดพี พิ าทระหวา ง
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐกับเอกชน และคดีพิพาทระหวางหนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนา ทข่ี องรฐั ดว ยกันเอง อนั เนอ่ื งมาจากการใชอํานาจปกครองตามกฎหมายหรือเนือ่ งมาจาก
การดาํ เนนิ กจิ การทางปกครองของหนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั ทงั้ น้ี ตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ น
พ.ร.บ.จดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ เชน คดพี พิ าทเกย่ี วกบั การทหี่ นว ยงาน
ทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายไมวาจะเปนการออกกฎ คําส่ัง
หรือการกระทําอื่นใด คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอ
หนา ทต่ี ามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหต อ งปฏบิ ตั ิ หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทด่ี งั กลา วลา ชา เกนิ สมควร คดพี พิ าทเกย่ี วกบั
การกระทาํ ละเมดิ ทางปกครองหรอื ความรบั ผดิ อยา งอน่ื คดพี พิ าทเกยี่ วกบั สญั ญาทางปกครอง เปน ตน

ดวยเหตุที่ลักษณะคดีปกครองมีพื้นฐานจากขอพิพาทที่เกิดจากความสัมพันธท่ีไม
เทา เทยี มกนั ประกอบกบั เอกสารหลกั ฐานสว นใหญอ ยใู นความครอบครองของคกู รณฝี า ยทเี่ ปน หนว ยงาน
ทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ ซึ่งคูกรณีฝายรัฐมีความพรอมหรือความสามารถในการเสนอ
ขอเท็จจริงและแสดงพยานหลักฐานตอศาลมากกวาคูกรณีฝายเอกชน ดังนั้น การดําเนินกระบวน
วิธีพิจารณาคดีปกครองจึงตองมีลักษณะพิเศษโดยใช “วิธีพิจารณาระบบไตสวน” อันเปนระบบ
วธิ พี จิ ารณาทศ่ี าลจะเปน ผมู อี าํ นาจหนา ทส่ี าํ คญั ในการควบคมุ และกาํ กบั การดาํ เนนิ คดเี พอ่ื ใหส ามารถ
ตรวจสอบและคน หาขอ เท็จจรงิ ไดอ ยางถกู ตองครบถวน

วิธีพิจารณาระบบไตสวน กลาวคือเปนระบบที่ตุลาการศาลปกครองมีหนาที่แสวงหา
ขอเท็จจริงท้ังปวงท่ีเก่ียวกับคดี โดยไมจํากัดเฉพาะที่เสนอโดยคูกรณี อยางไรก็ตามในการแสวงหา
ขอเท็จจริงและพยานหลักฐานของศาลในระบบไตสวน ศาลยอมตองแสวงหาขอเท็จจริงจากคูกรณี
ทั้งสองฝายเสียกอน ดังน้ันคูความทั้งสองฝายยังคงมีหนาที่รวบรวมพยานหลักฐานทั้งหมดที่เห็นวา
จําเปนตามขออางขอตอสูของตนและหักลางนําเสนอ เพื่อใหศาลพิจารณาแตหากศาลเห็นวา
พยานหลักฐานท่ีท้ังสองฝายนําเสนอตอศาลน้ันยังไมครบถวนเพียงพอท่ีจะพิจารณาพิพากษาคดี
ศาลกส็ ามารถรวบรวมและแสวงหาพยานหลกั ฐานไดด ว ยตนเอง อกี ทงั้ การพจิ ารณาพพิ ากษาคดปี กครอง
ศาลสามารถพิจารณาขอเท็จจริงและพฤติการณตาง ๆ เกี่ยวกับคดีไดจากส่ิงท่ีปรากฏเปนเอกสาร

๓๘

หลักฐานท่ีเปนลายลักษณอักษรทําใหไมไดเนนการสืบพยานบุคคลดังที่พบในคดีแพงและคดีอาญา
กลา วอกี ทางหนง่ึ ไดวาวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครองเปน วธิ ีพิจารณาท่ใี ชเ อกสารเปนหลกั

ñ. ¤´·Õ ÍèÕ ÂãÙ‹ ¹à¢μอาํ ¹Ò¨¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
พ.ร.บ.จดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ บญั ญตั เิ ขตอาํ นาจ

ของศาลปกครองไวในมาตรา ๙ ความวา
“ÁÒμÃÒ ù ศาลปกครองมอี าํ นาจพิจารณาพิพากษาหรอื มีคาํ สง่ั ในเรอ่ื งดังตอไปนี้
(๑) คดพี พิ าทเกยี่ วกบั การทห่ี นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั กระทาํ การ

โดยไมชอบดวยกฎหมายไมวาจะเปนการออกกฎ คําส่ังหรือการกระทําอื่นใดเน่ืองจากกระทํา
โดยไมม อี าํ นาจหรอื นอกเหนอื อาํ นาจหนา ทห่ี รอื ไมถ กู ตอ งตามกฎหมาย หรอื โดยไมถ กู ตอ งตามรปู แบบ
ขน้ั ตอน หรอื วธิ กี ารอนั เปน สาระสาํ คญั ทกี่ าํ หนดไวส าํ หรบั การกระทาํ นน้ั หรอื โดยไมส จุ รติ หรอื มลี กั ษณะ
เปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม หรือมีลักษณะเปนการสรางขั้นตอนโดยไมจําเปนหรือสรางภาระ
ใหเ กดิ กับประชาชนเกินสมควร หรือเปนการใชดลุ พนิ จิ โดยมิชอบ

(๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐละเลยตอ
หนาทีต่ ามที่กฎหมายกาํ หนดใหต อ งปฏบิ ัติ หรอื ปฏบิ ตั หิ นาที่ดงั กลาวลา ชาเกนิ สมควร

(๓) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอ่ืนของหนวยงาน
ทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั อนั เกดิ จากการใชอ าํ นาจตามกฎหมาย หรอื จากกฎ คาํ สง่ั ทางปกครอง
หรือคําสั่งอื่น หรือจากการละเลยตอหนาท่ีตามท่ีกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่
ดงั กลาวลาชา เกนิ สมควร

(๔) คดพี พิ าทเกย่ี วกับสญั ญาทางปกครอง
(๕) คดีท่ีมีกฎหมายกําหนดใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐฟองคดี
ตอศาลเพอ่ื บงั คบั ใหบุคคลตอ งกระทําหรอื ละเวนกระทาํ อยา งหนงึ่ อยา งใด
(๖) คดีพิพาทเก่ียวกับเร่อื งที่มกี ฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง
เรอ่ื งดงั ตอ ไปน้ีไมอ ยูในอาํ นาจศาลปกครอง
(๑) การดําเนินการเก่ยี วกับวินยั ทหาร
(๒) การดาํ เนนิ การของคณะกรรมการตลุ าการตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการ
ฝายตุลาการ
(๓) คดีที่อยูในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร
ศาลทรพั ยสนิ ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ศาลลม ละลาย หรอื ศาลชาํ นญั พิเศษอ่ืน
จะเห็นไดวาคดีท่ีอยูในเขตอํานาจของศาลปกครองจะตองประกอบดวยหลักเกณฑ
๒ ประการ ไดแ ก ๑) ลกั ษณะของคกู รณี และ ๒) ลกั ษณะของขอ พพิ าท ซง่ึ แตล ะหลกั เกณฑม ขี อ พพิ าทดงั น้ี

๓๙

ñ.ñ Å¡Ñ É³Ð¢Í§¤¡Ù‹ óÕ
เปนหลักเกณฑประการแรกท่ีใชในการพิจารณาวาคดีพิพาทดังกลาวเปนคดี

ปกครองท่ีอยูในเขตอํานาจของศาลปกครองหรือไม ซึ่งคดีปกครองในเขตอํานาจของศาลปกครอง
จะตองเปนคดพี ิพาทระหวา งคูกรณอี ยา งใดอยา งหนึ่งได ๒ ลกั ษณะดงั ตอ ไปนี้

๑) คดีที่มีคูกรณีฝายแรกเปนหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
สวนคกู รณอี กี ฝา ยหนึง่ เปนเอกชน (ฝา ยปกครองกบั เอกชน)

๒) คดีที่มีคูกรณีท้ังสองฝายเปนหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
ดวยกนั (ฝายปกครองดวยกนั )

ñ.ò ÅѡɳТͧ¢ŒÍ¾Ô¾Ò·
ลักษณะของขอพิพาทเปนหลักเกณฑประการที่สองที่ใชในการพิจารณาวา

คดีพิพาทดังกลาวเปนคดีปกครองท่ีอยูในเขตอํานาจของศาลปกครองหรือไม ซ่ีึงคดีปกครองที่อยูใน
เขตอํานาจของศาลปกครองจะตองเปนคดที ม่ี ขี อ พพิ าทอยา งใดอยางหนงึ่ ใน ๓ ลกั ษณะดังตอไปน้ี

๑) คดีท่ีมีขอพิพาทอันเน่ืองมาจากการใชอํานาจปกครองตามกฎหมายของ
หนวยงานทางปกครองหรือเจา หนาที่ของรฐั ซ่ึงหมายถงึ คดพี พิ าทเก่ยี วกับการกระทาํ ทางปกครองท่ีมี
ลกั ษณะเปน การกระทาํ ฝา ยเดยี ว ไมวา จะเปนการออก กฎ คาํ ส่ัง หรอื การกระทําอ่ืนใด ตามมาตรา ๙
วรรคหนง่ึ (๑) แหง พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครองฯ

๒) คดีพิพาทอันเนื่องมาจากการดําเนินกิจการทางปกครองของหนวยงาน
ทางปกครองหรือเจาหนาท่ีรัฐ ซึ่งหมายถึงคดีพิพาทเก่ียวกับการละเลยหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนด
ใหต อ งปฏบิ ตั หิ รอื ปฏบิ ตั หิ นา ทดี่ งั กลา วลา ชา เกนิ สมควร คดพี พิ าทเกยี่ วกบั การกระทาํ ละเมดิ ทางปกครอง
หรอื ความรบั ผิดอยางอ่ืน และคดพี ิพาทเก่ยี วกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่งึ (๒) (๓)
(๔) แหง พ.ร.บ.จัดตัง้ ศาลปกครองฯ

๓) ศาลคดีท่ีมีขอพิพาทเกี่ยวกับเร่ืองที่กฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจ
ของศาลปกครอง ซงึ่ หมายถงึ คดปี กครอง มาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๕) (๖) แหง พ.ร.บ.จดั ตง้ั ศาลปกครองฯ

ò. ¢ÍŒ ¾Ô¨ÒóÒà¡ÂÕè Ç¡ÑºÅ¡Ñ É³Ð¢Í§¢ŒÍ¾¾Ô Ò·
นอกจากจะตองมีคูกรณีอยางนอยฝายใดฝายหน่ึงเปนหนวยงานทางปกครอง

หรือเจาหนาท่ีของรัฐแลว ขอพิพาทท่ีนํามาฟองตอศาลปกครองไดน้ันจะตองเปนขอพิพาทอันเน่ือง
มาจากการใชอํานาจทางปกครองตามกฎหมายหรอื การดําเนนิ กิจกรรมทางปกครองดวย ซง่ึ มาตรา ๙
วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ.จัดต้ังศาลปกครองฯ ไดกําหนดลักษณะของคดีที่อยูในอํานาจพิจารณาของ
ศาลปกครองไวดังนี้

ò.ñ ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÂèÕ Ç¡ºÑ ¡Ò÷ËèÕ ¹Ç‹ §ҹ·Ò§»¡¤ÃͧËÃÍ× à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢Õè Í§Ã°Ñ ¡ÃзÒí ¡ÒÃ
â´ÂäÁ‹ªÍº´ÇŒ ¡®ËÁÒÂ

การกระทําอันเปน วตั ถุแหงคดีตามมาตรา ๙ วรรค (๑) จะตอ งเปนการกระทาํ
ฝายเดียวของฝายปกครอง ไดแก กฎ คําสั่ง และการกระทําอื่นใด และการกระทํานั้นมีเหตุท่ีทําให
การกระทําไมชอบดวยกฎหมาย

๔๐

ò.ñ.ñ ¡ÒáÃÐทํา·èàÕ »š¹ÇμÑ ¶ØáË‹§¤´Õ
๑) กฎ
เฉพาะกฎทเ่ี ปน ผลผลติ จากการใชอ าํ นาจปกครองเทา นนั้ ทอ่ี ยใู น

เขตอาํ นาจของศาลปกครอง ดงั นน้ั กฎทอ่ี าจนาํ มาฟอ งคดตี อ ศาลปกครองไดต ามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๑)
จะตองเปนการใชอํานาจรัฐตามกฎหมายของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐท่ีท่ีออก
โดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ เชน พระราชกฤษฎีกายกเลิกกฎหมายวาดวย
การไฟฟา ฝา ยผลติ แหง ประเทศไทย มตขิ อง ก.พ.ซงึ่ กาํ หนดใหผ ทู ร่ี บั ปรญิ ญาตรเี กยี รตนิ ยิ มทกุ สาขาวชิ า
เปนคุณวุฒิที่สมัครเขารับราชการโดยวิธีคัดเลือกได ขอบังคับสภาวิศวกรวาดวยการออกใบอนุญาต
ใหแกผูขอประกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคุม เปน ตน

ò) คาํ Êѧè
คําส่ังที่อาจนํามาฟองคดีตอศาลปกครองไดตามมาตรา ๙

วรรคหนง่ึี (๑) ไมไ ดห มายความเฉพาะคาํ สง่ั ทางปกครองเทา นน้ั แตห มายความรวมถงึ คาํ สง่ั ทางปกครอง
ทั่วไปและคาํ สง่ั ภายในฝา ยปกครองดวย เชน

- คาํ สงั่ ทางปกครอง
การกระทําใดจัดเปนคําสั่งทางปกครองหรือไมนั้นจําตอง

พจิ ารณาจากบทนิยามตามมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ.วิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง ตามท่ไี ดกลา วมาแลว
ในสว นที่ ๒ ซงึ่ คาํ สง่ั ทางปกครองนน้ั ไมจ าํ เปน ตอ งเรยี กชอ่ื วา คาํ สงั่ เทา นน้ั อาจจะเรยี กชอื่ อยา งอน่ื กไ็ ด
เชน หนังสือท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตไมอนุญาตใหผูฟองคดีเขาใชท่ีราชพัสดุ ประกาศผลการสอบ
คัดเลอื กลกู จา งชัว่ คราวตําแหนง ครูผูดูแลเดก็ ขององคการบริหารสว นตาํ บล เปนตน

- คาํ สง่ั ทางปกครองท่ัวไป
คาํ สง่ั ทางปกครองทวั่ ไป เปน คาํ สง่ั ทางปกครองทไ่ี มไ ดม ผี ลใช

บงั คบั กบั บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ เปน การเฉพาะและเปน คาํ สง่ั ทางปกครองทมี่ ผี ลใชบ งั คบั กบั บคุ คลไมจ าํ กดั
จาํ นวน เชน แจงประกาศสอบราคาโครงการของหนวยงานของรัฐ ประกาศประมลู จางเหมากอสรา ง
ดว ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสข องรฐั เปน ตน

- คําสั่งภายในฝายปกครอง เชน คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการ
ดาํ เนนิ การทางวินัย คาํ ส่ังใหไ ปชว ยราชการ

ó) ¡ÒáÃÐทาํ Í×¹è ã´
การกระทําอื่นใดตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) ตองมีลักษณะ

เปนการกระทําฝายเดียว แตไมใชกฎหรือคําสั่ง เชน การที่สํานักงานเขตกําหนดจุดสรางสะพานลอย
บริเวณหนาอาคารของผูฟองคดี การที่หนวยพัฒนาการเคล่ือนท่ี ๒๒ ขุดดินในที่ดินของผูฟองคดี
เพอื่ กอ สรา งถนนโดยผฟู อ งคดไี มย นิ ยอมและไมม กี ฎหมายเวนคนื ทดี่ นิ การทเ่ี ทศบาลขดุ พนื้ ผวิ ทางเทา
และตัดไมท ีอ่ ยบู นทางเทาออกไปโดยไมชอบดวยกฎหมาย เปนตน

๔๑

ò.ñ.ò ÊÒàËμ·Ø èทÕ ําãËŒ¡ÒáÃÐทําäÁ‹ªÍº´ŒÇ¡®ËÁÒÂ
สาเหตุที่ทําใหการกระทําไมชอบดวยกฎหมายตามมาตรา ๙

วรรคหนง่ึ (๑) มีอยหู ลายสาเหตดุ วยกนั เชน
๑) การกระทําโดยไมมีอํานาจหรือนอกเหนือเขตอํานาจหนาที่

หรือไมถูกตองตามกฎหมาย
๒) กระทาํ การโดยไมถ กู ตอ งตามรปู แบบ ขนั้ ตอน หรอื วธิ กี ารอนั เปน

สาระสําคญั ที่กําหนดไวส าํ หรับการกระทาํ นั้น
๓) กระทําโดยไมส จุ ริต
๔) กระทําโดยมีลักษณะเปนการเลือกปฏิบตั ิทไี่ มเ ปน ธรรม
๕) กระทาํ โดยมลี กั ษณะเปน การสรา งขนั้ ตอนโดยไมจ าํ เปน หรอื สรา ง

ภาระใหเกิดกบั ประชาชนเกนิ สมควร
๖) กระทาํ โดยใชดุลพินิจโดยมชิ อบ

ò.ò ¤´¾Õ Ô¾Ò·à¡ÂÕè ǡѺ¡Ò÷ÕËè ¹Ç‹ §ҹ·Ò§»¡¤Ãͧ ËÃ×Í਌Ò˹ŒÒ·Õè¢Í§ÃÑ°ÅÐàÅÂ
μ‹Í˹ŒÒ·μÕè ÒÁ·Õ¡è ®ËÁÒÂกาํ ˹´ãËμŒ ÍŒ §»¯ÔºμÑ Ô ËÃÍ× »¯ºÔ ÑμÔ˹Ҍ ·´Õè §Ñ ¡ÅÒ‹ ÇÅ‹ÒªŒÒà¡Ô¹ÊÁ¤ÇÃ

ò.ò.ñ ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÂÕè Ç¡ºÑ ¡Ò÷ËèÕ ¹Ç‹ §ҹ·Ò§»¡¤ÃͧËÃÍ× à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢Õè ͧðÑ
ÅÐàÅÂμÍ‹ ˹Ҍ ·èÕμÒÁ·Õ¡è ®ËÁÒÂกํา˹´ãËŒμÍŒ §»¯ºÔ μÑ Ô

การละเลยตอ หนา ทต่ี ามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหต อ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๙
วรรคหนง่ึ (๒) หมายถงึ การทหี่ นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ไมด าํ เนนิ การตามทก่ี ฎหมาย
ใหต อ งปฏบิ ตั โิ ดยปราศจากเหตผุ ลทจ่ี ะกลา วอา งได ไมว า จะไมด าํ เนนิ การดงั กลา วจะเกดิ ขนึ้ โดยเจตนา
หรือประมาทเลินเลอก็ตาม คดีปกครองประเภทนี้จึงเปนกรณีท่ีหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่
ของรฐั มหี นา ทต่ี ามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหต อ งปฏบิ ตั ิ โดยกฎหมายอาจจะกาํ หนดหนา ทม่ี ลี กั ษณะทวั่ ไป
หรอื หนา ทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะเรอ่ื งกไ็ ด เชน กรณฟี อ งวา นายอาํ เภอไมด าํ เนนิ การจดทะเบยี นสมรสใหก บั
คนตา งดา วโดยอางวา ไมมหี ลกั ฐานของคนตางดาวใหท าํ การตรวจสอบ กรณีฟองวา เจาพนกั งานที่ดิน
ซงึ่ เกดิ ความผดิ พลาดในการปก หลกั เขตทดี่ ิน ไมไ ดด ําเนนิ การแกไ ขผลการรังวดั และทําการปกหลักเขต
เสียใหม เปนตน

ò.ò.ò ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÂÕè Ç¡ºÑ ¡Ò÷ËÕè ¹Ç‹ §ҹ·Ò§»¡¤ÃͧËÃÍ× à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢Õè ͧðÑ
»¯ÔºμÑ Ô˹Ҍ ·ÕèμÒÁ·èÕ¡®ËÁÒÂกํา˹´ãËŒμŒÍ§»¯ÔºÑμÅÔ Ò‹ ªŒÒÅÇ‹ §àÅÂÃÐÂÐàÇÅÒÍѹÊÁ¤ÇÃ

คดีปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๒) ประเภทน้ีเปนกรณีท่ี
เจาหนาท่ีของรัฐไดเร่ิมตนดําเนินการตามหนาที่นั้นแลว แตดําเนินการลาชาไมแลวเสร็จจนลวงเลย
ระยะเวลาอันสมควร จึงกอใหเกิดผลกระทบตอผูฟองคดี เชน การที่นิคมอุตสาหกรรมใชเวลาในการ
เจรจาเก่ียวกับการซ้ือท่ีดินซึ่งอยูในแนวเขตเวนคืนท่ีดินแตตกสํารวจเปนระยะเวลากวา ๔ ป การที่
ก.ตร. ไมพ จิ ารณาอทุ ธรณใ หแ ลว เสรจ็ ภายในระยะเวลา ๙๐ วนั กรณฟี อ งขอใหร ฐั มนตรวี า การกระทรวง
มหาดไทยพจิ ารณาคาํ รองขอมสี ญั ชาตไิ ทยใหแ ลวเสร็จโดยเรว็ เปนตน

๔๒

ò.ó ¤´Õ¾Ô¾Ò·à¡ÕèÂǡѺ¡ÒáÃÐทําÅÐàÁÔ´ËÃ×ͤÇÒÁÃѺ¼Ô´Í‹ҧÍè×¹¢Í§Ë¹‹Ç§ҹ
·Ò§»¡¤ÃͧËÃ×Í਌Ò˹ŒÒ·Õè¢Í§ÃÑ°

ò.ó.ñ ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡èÕÂÇ¡ºÑ ¡ÒáÃÐทาํ ÅÐàÁ´Ô ·Ò§»¡¤Ãͧ
คดลี ะเมดิ ทอ่ี ยใู นเขตอาํ นาจของศาลปกครองตอ งเปน คดลี ะเมดิ ทเ่ี กดิ

จากการใชอํานาจตามกฎหมาย หรอื จากกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือคําส่งั อ่นื หรือเกดิ จากการละเลย
ตอ หนา ทต่ี ามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหต อ งปฏบิ ตั ิ หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทดี่ งั กลา วลา ชา เกนิ สมควร ตามมาตรา ๙
วรรคหนงึ่ (๓) เชน กรณที ขี่ า ราชการในสงั กดั ของสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตซิ ง่ึ ไดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั ิ
หนา ทใ่ี นตาํ แหนง ผชู ว ยเจา หนา ทก่ี ารเงนิ ไดอ าศยั โอกาสในการปฏบิ ตั หิ นา ทย่ี กั ยอกเงนิ ของทางราชการ
ท่ีตนเองมีหนาที่ดูแลไปโดยทุจริต กรณีท่ีกรมทางหลวงไมดูแลรักษาตรวจตราฝาทอระบายน้ําใหอยู
ในสภาพเรียบรอยและไมจัดใหมีเคร่ืองหมายแจงการกอสรางเพ่ือความปลอดภัยของผูใชรถใชถนน
จนเปน เหตใุ หผใู ชถ นนเกดิ อุบตั เิ หตุ เปน ตน

หากคดีละเมิดไมไดเกิดจากการใชอํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ
คําส่ังทางปกครองหรือคําสั่งอื่น หรือจากการละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ
หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทด่ี งั กลา วลา ชา เกนิ สมควร คดลี ะเมดิ นนั้ ยอ มอยใู นเขตอาํ นาจของศาลยตุ ธิ รรม เชน กรณี
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยกลา วไขขา วตอ ประชาชนโดยการใหส มั ภาษณก บั สอื่ มวลชนอนั เปน
เหตุละเมิดผูฟองคดี กรณีท่ีแพทยประจําโรงพยาบาลของรัฐไมไดฉีดเซรุมแกพิษงูใหแกบุตรสาวของ
ผฟู อ งคดแี ตก ลบั ใหน า้ํ เกลอื และฉดี ยาแกป วดแทนเปน เหตใุ หบ ตุ รสาวของผฟู อ งคดถี งึ แกค วามตาย เปน ตน

ò.ó.ò ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÕÂè Ç¡ºÑ ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ÍÂÒ‹ §Íè×¹¢Í§½†Ò»¡¤Ãͧ
คดพี พิ าทเกย่ี วกบั ความรบั ผดิ อยา งอนื่ ของฝา ยปกครองตามมาตรา ๙

วรรคหนึ่ง (๓) ที่อยูในเขตอํานาจของศาลปกครองตองเปนคดีพิพาทเกี่ยวกับความรับผิดที่เกิดจาก
การใชอํานาจตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําสั่งทางปกครองหรือคําสั่งอ่ืนหรือจัดการละเลยตอหนาท่ี
ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ หรือปฏิบัติหนาท่ีดังกลาวลาชาเกินสมควร เชน ความรับผิด
ทจ่ี ะตอ งชดใชท ดแทนแกเ จา ของอสงั หารมิ ทรพั ยท ถ่ี กู เวนคนื ตาม พ.ร.บ.วา ดว ยการเวนคนื อสงั หารมิ ทรพั ย
พ.ศ.๒๕๐๓ ความรับผิดท่ีจะตองจายเงินบําเหน็จบํานาญ ตาม พ.ร.บ.บําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ.๒๕๓๙ เปน ตน

ò.ô ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÂÕè ǡѺÊÞÑ ÞÒ·Ò§»¡¤Ãͧ
คดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) เปน

คดีพิพาทเก่ยี วกับสญั ญาทางปกครองในการตคี วามสญั ญา การแกไขเพ่ิมเติมสัญญา การเลกิ สัญญา
ตลอดจนการเรยี กคา เสยี หายอนั เกดิ จากการปฏบิ ตั ผิ ดิ สญั ญา ทงั้ นคี้ วามหมายของสญั ญาทางปกครอง
เปนไปตามบทนิยามในมาตรา ๓ แหง พ.ร.บ.จดั ตง้ั ศาลปกครองฯ ที่บญั ญัตวิ า “สญั ญาทางปกครอง
หมายความรวมถึงสัญญาท่ีคูสัญญาอยางนอยฝายใดฝายหนึ่งเปนหนวยงานทางปกครองหรือเปน
บคุ คลซง่ึ กระทาํ การแทนรฐั และมลี กั ษณะเปน สญั ญาสมั ปทาน สญั ญาทใี่ หจ ดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะ หรอื
จดั ใหม สี งิ่ สาธารณปู โภค หรอื แสวงประโยชนจ ากทรัพยากรธรรมชาต”ิ รายละเอียดซงึ่ ไดก ลา วมาแลว
ในสวนที่ ๑

๔๓

ò.õ ¤´·Õ ÁÕè ¡Õ ®ËÁÒÂกาํ ˹´ãËËŒ ¹Ç‹ §ҹ·Ò§»¡¤ÃͧËÃÍ× à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢Õè Í§Ã°Ñ ¿Í‡ §¤´Õ
μÍ‹ ÈÒÅà¾Í×è ºÑ§¤Ñºã˺Œ ¤Ø ¤ÅμÍŒ §¡ÃÐทาํ ËÃÍ× ÅÐàÇŒ¹¡ÃÐทาํ ÍÂÒ‹ §Ë¹è§Ö Í‹ҧã´

คดที ม่ี กี ฎหมายกาํ หนดใหห นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ฟอ งคดี
ตอ ศาลเพอื่ บงั คบั ใหบ คุ คลตอ งกระทาํ หรอื ละเวน กระทาํ อยา งหนง่ึ อยา งใดตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๕)
เชน พ.ร.บ.การเดินเรอื ในนานนา้ํ ไทย พ.ศ.๒๔๕๖ มาตรา ๙๐ วรรค ๒ ไดก ําหนดใหเจาทาสามารถ
รอ งขอตอ ศาลเพอ่ื มคี าํ สงั่ ใหเ จา ทา เปน ผจู ดั การรอื้ ถอนแพคนอยู เรอื นทป่ี ก เสาลงในนาํ้ ในกรณที เ่ี จา ของ
ไมร ้ือถอนภายในเวลาทเ่ี จาทาหรอื เจา พนกั งานทอ งถิ่นผมู หี นา ทก่ี ําหนด นอกจากนม้ี าตรา ๑๑๗ ตรี
แหง พ.ร.บ.ดังกลาว กําหนดใหเจาหนาที่สามารถรองขอใหศาลส่ังบุคคลท่ีรุกล้ําลําน้ํา หรือถอน
สิ่งปลกู สรางออกไป เปน ตน

หลกั การของคดปี กครองตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๕) นี้ เปน การบญั ญตั ยิ กเวน
หลกั การทวั่ ไปทฝี่ า ยปกครองสามารถใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองเพอ่ื ใหเ ปน ไปตามคาํ สง่ั ทางปกครอง
ไดดว ยตนเอง ตามมาตรา ๕๖ วรรคหนง่ึ แหง พ.ร.บ.วิธีปฏบิ ัติฯ โดยไมจําตอ งอาศัยอํานาจของศาล
เพื่อออกคําบังคบั ตามคําส่งั ทางปกครองนัน้ คดีปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๕) ปรากฏอยูใน
กฎหมายเกา ซ่งึ ปจจบุ ันไมคอยปรากฏบทบัญญัตใิ นลกั ษณะดงั กลาวแลว

ò.ö ¤´¾Õ ¾Ô Ò·à¡ÂèÕ Ç¡ºÑ àÃÍè× §·ÁÕè ¡Õ ®ËÁÒÂกาํ ˹´ãËÍŒ Âã‹Ù ¹à¢μอาํ ¹Ò¨¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
คดีพิพาทเก่ียวกับเร่ืองที่มีกฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจศาลปกครอง

ตามมาตรา ๙ วรรคหนงึ่ (๖) เชน คดพี ิพาทเก่ยี วกับคาํ วนิ จิ ฉัยอุทธรณของคณะกรรมการพิทกั ษร ะบบ
คุณธรรมตามมาตรา ๑๑๖ วรรคสอง แหง พ.ร.บ.ระเบียบขา ราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ เปน ตน

ตัวอยาง กฎหมายที่มีบทบัญญัติกําหนดใหเม่ือมีขอพิพาทอยูในอํานาจของ
ศาลปกครอง เชน พระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.๒๕๑๘ พระราชบัญญัติ
การผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ พระราชบัญญัติระเบียบราชการเมืองพัทยา พ.ศ.๒๕๒๑ พระราชบัญญัติ
การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.๒๕๔๔ พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
พ.ศ.๒๕๔๔ พระราชบญั ญตั ิอนุญาโตตลุ าการ พ.ศ.๒๕๔๕ เปน ตน

ó. ¤´Õ·äèÕ ÁÍ‹ ÂÙã‹ ¹à¢μอาํ ¹Ò¨¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
ศาลปกครองมีอํานาจที่จะพิจารณาพิพากษาคดีเก่ียวกับการกระทําทางปกครอง

ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหอยูในเขตอํานาจเทาน้ัน แตอยางไรก็ดีท่ีมีผูนําคดีที่ไมอยูในเขตอํานาจ
มายนื่ ฟอ งตอ ศาลเปน จาํ นวนมาก ศาลปกครองจงึ ไมอ าจรบั คดดี งั กลา วไวพ จิ ารณาได โดยคดที ไ่ี มอ ยใู น
เขตอาํ นาจศาลปกครองดงั กลา ว อาจแบง ไดเ ปน ๑) คดพี พิ าททไี่ มไ ดเ กดิ จากการใชอ าํ นาจทางปกครอง
และ ๒) คดีพิพาทท่ีเกิดจากการใชอํานาจทางปกครองแตมีลักษณะพิเศษจึงมีการยกเวนไว ซ่ึงคดี
ทไี่ มอยใู นเขตอํานาจของศาลปกครอง

๔๔

ó.ñ ¤´Õ¾¾Ô Ò··ÕèäÁ‹ä´Œà¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃãªอŒ ํา¹Ò¨·Ò§»¡¤Ãͧ
คดีพิพาทที่ไมไดเกิดจากการใชอํานาจปกครองยอมไมใชคดีปกครอง ดังนั้น

คดีท่ีไมอยูในอํานาจของศาลปกครองตามหลักกฎหมายทั่วไปและตามแนวคําวินิจฉัยของศาล เชน
การกระทาํ ในทางนติ บิ ญั ญตั ิ ทางตลุ าการและการกระทาํ ของรฐั บาลทเี่ ปน งานดา นนโยบาย หรอื งานดา น
การเมอื งหรอื นโยบายตา งประเทศหรอื ในความสมั พนั ธก บั ฝา ยนติ บิ ญั ญตั ิ ขอ พพิ าทเกย่ี วกบั กระบวนการ
ยตุ ธิ รรมทางอาญา ขอ พพิ าทเกย่ี วกบั การดาํ เนนิ งานของเจา พนกั งานบงั คบั คดใี นกระบวนการบงั คบั คดี
ของศาลยุติธรรมตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง ขอพิพาทเก่ียวกับกิจการทางศาสนา
ขอ พพิ าทเก่ียวกับกจิ กรรมทางพาณชิ ยกรรม อตุ สาหกรรม ของรฐั วสิ าหกิจ ขอ พิพาทเก่ียวกับกิจกรรม
การแสวงหารายไดข องหนวยงานทางปกครอง

ó.ò ¤´¾Õ ¾Ô Ò··àèÕ ¡´Ô ¨Ò¡¡ÒÃãªอŒ าํ ¹Ò¨·Ò§»¡¤Ãͧáμ‹ÁÕÅ¡Ñ É³Ð¾àÔ ÈÉ
แมวาศาลปกครองจะเปนศาลท่ีเขตอํานาจทั่วไปในการพิจารณาพิพากษาคดี

ปกครองแตด ว ยลกั ษณะพเิ ศษ จงึ ไดม กี ารยกเวน คดปี กครองบางประเภทแมจ ะเปน คดพี พิ าททางปกครอง
แต พ.ร.บ.จดั ต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๙ วรรค ๒ บัญญตั ิ
ไมใ หอ ยใู นอาํ นาจศาลปกครองมี ๓ กรณีดวยกนั คือ

๑) การดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั วนิ ัยทหาร
๒) การดําเนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขา ราชการฝายตุลาการ
๓) คดีทีอ่ ยใู นอาํ นาจของศาลชาํ นัญพิเศษ
ô. ¤´Õ·ÕèÍ‹Ùã¹อาํ ¹Ò¨¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧʧ٠ÊØ´
ศาลปกครองสูงสุดมีเพียงศาลเดียวจึงไมมีขอจํากัดดานเขตอํานาจ ดังนั้นคดีท่ีอยู
ในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด ไมวามูลคดีจะเกิดท่ีใด หรือผูฟองคดีมีภูมิลําเนาอยูท่ีใดก็สามารถ
ฟองคดีตอศาลปกครองสูงสุดได เพียงแตตองย่ืนฟองใหถูกตองตามหลักเกณฑที่กฎหมายกําหนด
กลา วคือ คดนี นั้ ตองย่นื ฟอ งตอ ศาลปกครองสงู สุดโดยตรง ถาเปน คดตี ามมาตรา ๑๑ (๑) (๒) และ (๓)
หรือยื่นอุทธรณตอศาลปกครองช้ันตน ถาเปนคดีอุทธรณคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลปกครอง
ชน้ั ตน ตามมาตรา ๑๑ (๔)
“ÁÒμÃÒ ññ ศาลปกครองสงู สดุ มอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดี ดังตอไปน้ี
(๑) คดีพิพาทเก่ียวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทตามที่
ท่ีประชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สุดประกาศกําหนด
(๒) คดีพิพาทเก่ียวกับความชอบดวยกฎหมายของพระราชฤษฎีกา หรือกฎท่ีออก
โดยคณะรฐั มนตรี หรอื โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี
(๓) คดที ่ีมีกฎหมายกําหนดใหอยูใ นอาํ นาจศาลปกครองสงู สุด
(๔) คดีที่อทุ ธรณค าํ พิพากษาหรอื คําสัง่ ของศาลปกครองชั้นตน ”

๔๕

ดงั นน้ั คดปี กครองทอี่ ยใู นอาํ นาจของศาลปกครองสงู สดุ ๔ ประเภทตามมาตรา ๑๑ คอื
๑) คดีพิพาทเก่ียวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทตามที่
ท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดประกาศกาํ หนด ขณะนีท้ ปี่ ระชมุ ใหญฯ ยงั ไมไ ดกาํ หนดให
คดพี พิ าทเกย่ี วกบั คาํ วนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าทฟอ งตอ ศาลปกครองสงู สดุ ได จงึ ตอ งฟอ งคดี
ดงั กลา วตอ ศาลปกครองชน้ั ตน เพราะเปน คดตี ามมาตรา ๙ (๑) อยแู ลว และเมอ่ื ใดทมี่ ปี ระกาศกาํ หนด
ของท่ีประชุมใหญฯ ใหคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทใดฟองตอศาลปกครองสูงสุดได
ก็ตองใชหลกั เกณฑต ามมาตรา ๙ (๑) อาํ นาจของศาลในการพิพากษาคดีจะเปน ไปตามมาตรา ๗๒ (๑)
๒) คดีพพิ าทเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎที่ออก
โดยคณะรัฐมนตรี หรือโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี โดยปกติคดีประเภทน้ีก็เปนคดีลักษณะ
เดียวกับคดีตามมาตรา ๙ (๑) นั่นเอง แตดวยความสําคัญของกฎดังกลาวจึงใหฟองตอศาลปกครอง
สูงสุดไดโดยตรง อํานาจของศาลในการพพิ ากษาคดจี ะเปน ไปตามมาตรา ๗๒ (๑)
๓) ลักษณะคดีที่มีกฎหมายเฉพาะกําหนดใหอยูในอํานาจของศาลปกครองสูงสุด
ปจจุบันไมปรากฏวามกี ฎหมายเฉพาะดงั กลา ว
๔) คดีทอ่ี ทุ ธรณค ําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน คดปี ระเภทนมี้ ีการ
กําหนดข้ันตอนการตรวจอุทธรณ การพิจารณาอุทธรณและการพิพากษาหรือมีคําสั่งในคดีอุทธรณไว
โดยเฉพาะ
อนงึ่ คดตี าม (๑) และ (๒) ขางตน ผูฟอ งคดีอาจเรียกคาเสียหายตามมาตรา ๙ (๓)
ไปพรอ มกนั กไ็ ด ซงึ่ ศาลปกครองสงู สดุ กจ็ ะมอี าํ นาจพพิ ากษาเชน เดยี วกบั ศาลปกครองชนั้ ตน ดงั ทก่ี ลา ว
มาแลว
õ. à§èÍ× ¹ä¢¡Òÿ‡Í§¤´Õμ‹ÍÈÒÅ»¡¤Ãͧ
เรื่องท่ีนํามาฟองตองเปนคดีปกครอง และตองเปนเร่ืองท่ีอยูในอํานาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครอง ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๙๗
ซ่ึงบัญญัติวา
“ÁÒμÃÒ ñù÷ ศาลปกครองมอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดปี กครองอนั เนอื่ งมาจาก
การใชอํานาจทางปกครองตามกฎหมายหรือเน่ืองมาจากการดําเนินกิจการทางปกครอง ทั้งนี้ ตามท่ี
กฎหมายบัญญัติ
ใหม ีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นตน
อํานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง ไมรวมถึงการวินิจฉัยชี้ขาดขององคกรอิสระ
ซึง่ เปนการใชอาํ นาจโดยตรงตามรฐั ธรรมนูญขององคกรอสิ ระน้ัน ๆ
การจดั ตงั้ วธิ พี จิ ารณาคดี และการดาํ เนนิ งานของศาลปกครองใหเ ปน ไปตามกฎหมาย
วา ดว ยการนน้ั ”

๔๖

และเรื่องที่นาํ มาฟอ งตองเปน คดีปกครอง และตองเปนเรอื่ งทีอ่ ยใู นอาํ นาจพิจารณา
พิพากษาของศาลปกครอง คือ เปนกรณีตามมาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ดงั ทีไ่ ดกลา วมาแลว ในหัวขอที่ ๒ และ ๔

โดยการฟองคดปี กครองตองมีเงอื่ นไขในการฟอ งคดดี ังตอ ไปนี้
õ.ñ μÍŒ §Â×¹è ¿‡Í§μ‹ÍÈÒÅ·èÁÕ Õอํา¹Ò¨

อาํ นาจศาลในทนี่ หี้ มายถงึ ทง้ั อาํ นาจและเขตอาํ นาจ กลา วคอื คดที อ่ี ยใู นอาํ นาจ
ของศาลปกครองช้ันตน ก็จะตองยื่นฟองตอศาลปกครองช้ันตนจะฟองไปยังศาลปกครองสูงสุดไมได
ในทางกลับกนั คดีท่อี ยใู นอํานาจของศาลปกครองสูงสุดกจ็ ะตองยื่นฟองตอ ศาลปกครองสูงสุดเทาน้นั

อกี ทงั้ การยนื่ ฟอ งคดจี ะตอ งยนื่ ฟอ งตอ ศาลปกครองทม่ี เี ขตอาํ นาจเหนอื คดนี นั้
ซ่ึงในศาลปกครองช้ันตน ไดแก ศาลท่ีมูลคดีเกิดขึ้นหรือศาลท่ีผูฟองคดีมีภูมิลําเนาอยูเขตศาลนั้น
สวนศาลปกครองสงู สดุ มีเขตอํานาจครอบคลุมทุกพ้ืนทีข่ องประเทศ

õ.ò คาํ ¿‡Í§μÍŒ §ทํา໚¹Ë¹Ñ§ÊÍ× áÅÐÁÃÕ Ò¡ÒÃμÒÁ·กÕè ํา˹´äÇጠÅйè× â´Â¶Ù¡Ç¸Ô Õ
การฟอ งคดปี กครองไมม แี บบของคาํ ฟอ งกาํ หนดไวเ ฉพาะ แตต อ งทาํ เปน หนงั สอื

ฟองดวยวาจาไมได ใชถอยคําสุภาพ มีรายการตามที่บัญญัติไวในมาตรา ๔๕ แหงพระราชบัญญัติ
จดั ต้ังศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ กลา วคอื ตองระบุ ช่อื ทอี่ ยูของผฟู อ งคดี
และผถู กู ฟอ งคดี ขอ เทจ็ จรงิ หรอื พฤตกิ ารณเ กยี่ วกบั การกระทาํ ทเ่ี ปน เหตแุ หง การฟอ งคดี คาํ ขอและลายมอื ชอื่
ผฟู อ งคดี โดยตอ งแนบพยานหลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ งไปพรอ มคาํ ฟอ ง โดยผฟู อ งคดตี อ งจดั ทาํ สาํ เนาคาํ ฟอ ง
และสาํ เนาพยานหลักฐานตามจํานวนผูถูกฟองคดีดว ย

ในกรณีท่ีมผี ปู ระสงคจะฟอ งคดหี ลายคนในเหตเุ ดียวกัน บคุ คลดังกลาวจะย่นื
คําฟองรวมกันเปนฉบับเดียว โดยมอบใหผูฟองคดีคนหน่ึงเปนตัวแทนของผูฟองคดีทุกคนก็ได
ในกรณีนี้ถือวา การกระทาํ ของตวั แทนผฟู องคดีในกระบวนพจิ ารณาผูกพันผฟู องคดที ุกคนดว ย

ÁÒμÃÒ ôõ คาํ ฟอ งใหใชถ อ ยคาํ สุภาพและตองมี
(๑) ชอ่ื และทอ่ี ยขู องผูฟอ งคดี
(๒) ช่ือหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐที่เกี่ยวของอันเปนเหตุ
แหง การฟองคดี
(๓) การกระทําทั้งหลายที่เปนเหตุแหงการฟองคดี พรอมทั้งขอเท็จจริง
หรือพฤติการณต ามสมควรเกี่ยวกบั การกระทาํ ดังกลาว
(๔) คําขอของผูฟอ งคดี
(๕) ลายมือช่ือของผูฟองคดี ถาเปนการยื่นฟองคดีแทนผูอ่ืนจะตองแนบ
ใบมอบฉนั ทะใหฟ องคดมี าดวย
คําฟองใดมีรายการไมครบตามวรรคหนึ่ง หรือไมชัดเจน หรือไมอาจเขาใจได
ใหสํานักงานศาลปกครองใหคําแนะนําแกผูฟองคดีเพ่ือดําเนินการแกไขเพ่ิมเติมคําฟองน้ันใหถูกตอง
ในการนใ้ี หถ ือวนั ทย่ี น่ื ฟองครง้ั แรกเปน หลักในการนับอายคุ วาม


Click to View FlipBook Version