The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:06:01

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

๔๗

ในกรณที ม่ี ผี ปู ระสงคจ ะฟอ งคดปี กครองหลายคนในเหตเุ ดยี วกนั บคุ คลเหลา นนั้
อาจย่ืนคําฟองรวมกันเปนฉบับเดียว โดยจะมอบหมายใหผูฟองคดีคนใดเปนผูแทนของผูฟองคดี
ทุกคนในการดําเนินคดีตอไปก็ได ในกรณีเชนวานี้ใหถือวาการกระทําของผูแทนผูฟองคดีในกระบวน
พจิ ารณาผูกพนั ผูฟองคดีทกุ คน

การฟองคดไี มตอ งเสยี คาธรรมเนยี มศาล เวน แตก ารฟองคดีขอใหส่ังใหใชเงนิ
หรอื สง มอบทรพั ยส นิ อนั สบื เนอ่ื งจากคดตี ามมาตรา ๙ วรรคหนงึ่ (๓) หรอื (๔) ใหเ สยี คา ธรรมเนยี มศาล
ตามทุนทรัพยใ นอตั ราตามที่ระบุไวในตาราง ๑ ทายประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพง สําหรับ
คดีทีม่ ีคําขอใหป ลดเปลือ้ งทุกขอันอาจคํานวณเปนราคาเงนิ ได

ในการดําเนินกระบวนพิจารณา คูกรณีจะดําเนินการท้ังปวงดวยตนเอง
หรอื จะมอบอาํ นาจใหท นายความหรอื บคุ คลอน่ื ซง่ึ มคี ณุ สมบตั ติ ามระเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการ
ในศาลปกครองสูงสดุ กําหนดเพ่ือฟองคดีหรือดาํ เนินการแทนได”

สาํ หรบั วธิ กี ารยนื่ คาํ ฟอ งนน้ั จะยน่ื ดว ยตนเองหรอื มอบอาํ นาจใหผ อู นื่ ยน่ื แทน
หรอื จะสง ทางไปรษณยี ลงทะเบยี นกไ็ ด ตามมาตรา ๔๖

“ÁÒμÃÒ ôö คําฟองใหย่ืนตอพนักงานเจาหนาที่ของศาลปกครอง ในการน้ี
อาจย่ืนคําฟองโดยสงทางไปรษณียลงทะเบียนก็ได และเพ่ือประโยชนในการนับอายุความ ใหถือวา
วนั ทส่ี ง คําฟองแกเ จาพนกั งานไปรษณียเปนวนั ทยี่ น่ื คําฟอ งตอศาลปกครอง”

õ.ó ¼¿ŒÙ ͇ §¤´μÕ ŒÍ§à»¹š ¼ÙŒ·ÁèÕ Õ¤ÇÒÁÊÒÁÒöμÒÁ¡®ËÁÒÂ
โดยหลกั แลว ผฟู อ งคดตี อ งเปน ผทู มี่ คี วามสามารถในการทาํ นติ กิ รรมตามประมวล

กฎหมายแพงและพาณิชย หากผูฟองคดีมีขอบกพรองในเร่ืองความสามารถก็จะตองดําเนินการแกไข
ตามที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบ ัญญัติไว

õ.ô ¼ŒÙ¿Í‡ §¤´ÕμÍŒ §à»š¹¼ŒÙÁÕÊÔ·¸Ô¿Í‡ §¤´Õ
ผฟู องคดตี องเปนผูมีสทิ ธฟิ อ งคดตี ามท่บี ัญญัตไิ วใ นมาตรา ๔๒ แหง พระราช

บัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ กลาวคือ จะตองเปนผูที่ไดรับ
ความเดือดรอนหรือเสียหายหรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดจากการกระทํา
หรืองดเวนการกระทําอยางหนึ่งอยางใดของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐ หรือมี
ขอโตแยงเก่ียวกบั สัญญาทางปกครอง หรอื กรณีอืน่ ใดที่อยใู นเขตอํานาจของศาลปกครอง ซ่ึงในความ
เปน จรงิ สว นใหญแ ลว ผเู สยี หายในคดปี กครองกค็ อื ประชาชนทว่ั ไปทไ่ี ดร บั ความเดอื ดรอ นหรอื เสยี หาย
จากการกระทําทางปกครอง แตหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐก็อาจเปนผูเสียหาย
และฟอ งคดปี กครองได เชน กัน

สาํ หรบั กรณีความรับผดิ ทางละเมิดหรอื ความรับผดิ อยา งอืน่ ของฝายปกครอง
หรือสัญญาทางปกครองนั้น มีความชัดเจนอยูในตัววา “ผูไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย
หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหายโดยมิอาจหลีกเล่ียงได” นั้น จะตองเปนผูท่ีถูก “โตแยงสิทธิ”
เทาน้ัน เพราะตองเปน “ผูทรงสิทธิ” โดยสภาพ และสิทธิของเขาถูกโตแยงดวยการกระทําละเมิด
หรอื การไมปฏิบัติตามสัญญาของฝา ยปกครอง หรืออสงั หารมิ ทรพั ยข องเขาถกู เวนคืน

๔๘

ในคดเี กยี่ วกบั การละเลยตอ หนา ท่ี หรอื ปฏบิ ตั หิ นา ทล่ี า ชา เกนิ สมควร คงถอื หลกั
เดียวกับคดีเก่ียวกับความชอบดวยกฎหมายของการกระทําทางปกครอง สวนคดีท่ีกฎหมายกําหนด
ใหอยูในเขตอํานาจของศาลปกครองน้ัน ยอมข้ึนอยูกับกฎหมายในเร่ืองน้ัน ๆ แตก็ตองพิจารณา
เปรียบเทียบกับกรณีท่ีกลา วมาขา งตน ดวยวา มลี กั ษณะคลา ยคลึงหรือแตกตา งกนั เพยี งใด

แตสําหรับคดีท่ีกฎหมายกําหนดใหฝายปกครองฟองคดีตอศาลเพื่อบังคับให
บุคคลตองกระทําหรือละเวนกระทําอยางหนึ่งอยางใด ไมมีประเด็นตองพิจารณาถึงความหมายของ
คาํ วา “ผูมสี ว นไดเสีย” เพราะผูฟอ งคดีก็คือฝา ยปกครองและเปน การฟอ งคดตี ามท่กี ฎหมายกาํ หนด

õ.õ μÍŒ §Â¹è× ¿Í‡ §ÀÒÂã¹ÃÐÂÐàÇÅÒ·กèÕ าํ ˹´
“ÁÒμÃÒ ôù การฟอ งคดปี กครองจะตอ งยนื่ ฟอ งภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทร่ี ู

หรอื ควรรถู งึ เหตแุ หง การฟอ งคดี หรอื นบั แตว นั ทพ่ี น กาํ หนดเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทผี่ ฟู อ งคดไี ดม หี นงั สอื
รองขอตอหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนด
และไมไดรับหนังสือช้ีแจงจากหนวยงานทางปกครอง หรือเจาหนาที่ของรัฐหรือไดรับแตเปนคําช้ีแจง
ทผี่ ูฟองคดีเห็นวา ไมม เี หตผุ ล แลวแตกรณี เวนแตจ ะมีบทกฎหมายเฉพาะกําหนดไวเปน อยา งอืน่ ”

กรณที ฟ่ี อ งขอใหศ าลเพกิ ถอนกฎหรอื คาํ สงั่ ทางปกครองตอ งฟอ งภายใน ๙๐ วนั
นบั แตว นั ทรี่ หู รอื ควรรถู งึ เหตแุ หง การฟอ งคดี เชน ฟอ งคดเี พกิ ถอนคาํ สงั่ ลงโทษทางวนิ ยั ตอ งฟอ งภายใน
๙๐ วนั นบั แตว ันท่ที ราบผลการวนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ เปนตน

กรณีฟองเกี่ยวกับเจาหนาท่ีของรัฐละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกําหนดให
ตอ งปฏบิ ตั หิ รอื ปฏบิ ตั หิ นา ทด่ี งั กลา วลา ชา เกนิ สมควรตอ งยนื่ ฟอ งภายใน ๙๐ วนั นบั แตว นั ทพี่ น กาํ หนด
๙๐ วัน นับแตวันที่ผูฟองคดีมีหนังสือรองขอตอหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดและไมไดรับหนังสือชี้แจงจากหนวยงานหรือเจาหนาที่
ดังกลา ว หรือไดร ับแตเปนคําชแ้ี จงทเ่ี ห็นวาไมม เี หตุผล หรอื มีกฎหมายเฉพาะกาํ หนดไวเ ปน อยางอื่น

“ÁÒμÃÒ õñ การฟอ งคดตี ามมาตรา ๙ วรรคหนงึ่ (๓) ใหย นื่ ฟอ งภายในหนงึ่ ป
และการฟองคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ใหยื่นฟองภายในหาป นับแตวันที่รูหรือควรรูถึงเหตุ
แหง การฟอ งคดี แตไ มเกินสิบปนับแตวันที่มีเหตแุ หงการฟอ งคดี”

กรณีคดีเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอ่ืนของหนวยงาน
ทางปกครองหรอื เจาหนา ที่ของรัฐ ใหย ่ืนฟองภายใน ๑ ป

กรณคี ดพี ิพาทเกีย่ วกบั สญั ญาทางปกครองตอ งฟอ งภายใน ๕ ป นับแตว ันที่
รหู รอื ควรรถู งึ เหตุแหง การฟอ งคดี แตไมเ กิน ๑๐ ป นบั แตวนั ทีม่ ีเหตุแหง การฟองคดี

อยางไรก็ตาม ถาเปนคดีเก่ียวกับการคุมครองประโยชนสาธารณะหรือ
สถานะของบุคคลจะย่ืนฟองเม่ือใดก็ได และในบางกรณีถาคูกรณีมีคําขอหรือศาลปกครองเห็นเองวา
คดีท่ีย่ืนฟองเมื่อพนกําหนดระยะเวลาการฟองคดีแลวนั้น จะเปนประโยชนแกสวนรวมหรือมีเหตุ
จําเปนอื่น ศาลปกครองจะรับไวพ ิจารณาก็ได ตามมาตรา ๕๒ แหง พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครอง

๔๙

“ÁÒμÃÒ õò การฟองคดีปกครองท่ีเกี่ยวกับการคุมครองประโยชนสาธารณะ
หรือสถานะของบคุ คลจะยืน่ ฟอ งคดีเมือ่ ใดกไ็ ด

การฟอ งคดปี กครองทย่ี นื่ เมอื่ พน กาํ หนดเวลาการฟอ งคดแี ลว ถา ศาลปกครอง
เห็นวาคดีท่ีย่ืนฟองน้ันจะเปนประโยชนแกสวนรวมหรือมีเหตุจําเปนอื่นโดยศาลเห็นเองหรือคูกรณี
มคี าํ ขอ ศาลปกครองจะรับไวพ ิจารณาก็ได”

õ.ö ¡‹Í¹¿‡Í§¤´Õ»¡¤ÃͧμŒÍ§ดําà¹Ô¹¡ÒÃᡌ䢤ÇÒÁà´×ʹÌ͹ ËÃ×ÍàÊÕÂËÒÂ
μÒÁ¢¹éÑ μ͹ËÃ×ÍÇ¸Ô Õ¡Ò÷¡Õè ®ËÁÒÂกํา˹´äÇสŒ ําËÃºÑ ¡Òùѹé àÊÂÕ ¡Í‹ ¹

ในกรณที ม่ี กี ฎหมายกาํ หนดขนั้ ตอนหรอื วธิ กี ารสาํ หรบั การแกไ ขความเดอื ดรอ น
หรอื เสยี หายในเรอ่ื งใดไวโ ดยเฉพาะ การฟอ งคดปี กครองในเรอ่ื งนนั้ จะกระทาํ ไดต อ เมอ่ื มกี ารดาํ เนนิ การ
ตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารดังกลาว และไดมกี ารสง่ั การตามกฎหมายน้ันหรอื มิไดม ีการสง่ั การภายในเวลา
อันสมควรหรือภายในเวลาทกี่ ฎหมายนั้นกาํ หนด

ในกรณขี องคดสี ญั ญาและละเมดิ หรอื ความรบั ผดิ อยา งอนื่ นนั้ ไมม บี ทบญั ญตั ใิ ด
บังคับใหเอกชนผูฟองคดีตองขอใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐรับผิดทางละเมิด
หรอื ตามสัญญาเสียกอน ดวยเหตนุ ้ี เอกชนผเู สยี หายจงึ สามารถฟองคดลี ะเมิดตอ ศาลปกครองไดเ ลย
ถาเปนกรณที ่เี ขาขายตามมาตรา ๙ วรรคหน่งึ (๓)

õ.÷ ¡ÒÃชําÃФҋ ¸ÃÃÁà¹ÕÂÁÈÒÅ
โดยทว่ั ไปการฟอ งคดปี กครองไมต อ งเสยี คา ธรรมเนยี มศาล แตถ า เปน การฟอ งคดี

ขอใหศาลส่ังใหใชเงินหรือสงมอบทรัพยสินอันสืบเนื่องจากคดีพิพาทเกี่ยวกับการทําละเมิด
หรือความรับผิดอยางอ่ืนของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือคดีพิพาทเกี่ยวกับ
สญั ญาทางปกครองตอ งเสยี คา ธรรมเนยี มศาลในอตั ราตามทรี่ ะบไุ วใ นตาราง ๑ ทา ยประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความแพง เวน แตทศ่ี าลมคี ําสั่งใหยกเวนคาธรรมเนียมศาล

๕๐

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô

Ç¸Ô »Õ ¯ºÔ ÑμÔÃÒª¡Ò÷ҧ»¡¤Ãͧ
¾.È. òõóù

ÀÁÙ ¾Ô ÅÍ´ØÅÂà´ª ».Ã.

ãËäŒ ÇŒ ³ Çѹ·Õè ò÷ ¡Ñ¹ÂÒ¹ ¾.È. òõóù
໚¹»·‚ èÕ õñ ã¹ÃªÑ ¡ÒÅ»˜¨¨ØºÑ¹

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหป ระกาศวา

โดยที่สมควรมีกฎหมายวา ดวยวิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคาํ แนะนําและยินยอม
ของรัฐสภา ดังตอไปน้ี
ÁÒμÃÒ ñ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙”
ÁÒμÃÒ ò๑ พระราชบัญญตั ิน้ใี หใ ชบ ังคับเม่ือพนกาํ หนดหน่งึ รอยแปดสบิ วนั นับแตวนั ถดั
จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป
ÁÒμÃÒ ó วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายตาง ๆ ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนด
ในพระราชบญั ญตั นิ ี้ เวน แตใ นกรณที ก่ี ฎหมายใดกําหนดวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองเรอื่ งใดไวโ ดยเฉพาะ
และมีหลักเกณฑที่ประกันความเปนธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไมตาํ่ กวาหลักเกณฑ
ที่กาํ หนดในพระราชบัญญัตินี้
ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับข้ันตอนและระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงท่ีกําหนดใน
กฎหมาย
ÁÒμÃÒ ô พระราชบญั ญตั ินี้มใิ หใชบ ังคบั แก
(๑) รฐั สภาและคณะรฐั มนตรี
(๒) องคกรทใี่ ชอํานาจตามรัฐธรรมนญู โดยเฉพาะ
(๓) การพิจารณาของนายกรฐั มนตรีหรือรฐั มนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง
(๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาํ เนินงานของเจาหนาท่ีในกระบวนการ
พิจารณาคดี การบงั คบั คดี และการวางทรัพย

๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๓/ตอนที่ ๖๐ ก/หนา ๑/๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙

๕๑

(๕) การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั เรอื่ งรอ งทกุ ขแ ละการสงั่ การตามกฎหมายวา ดว ยคณะกรรมการ
กฤษฎกี า

(๖) การดําเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการตางประเทศ
(๗) การดําเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาท่ีซึ่งปฏิบัติหนาท่ีทางยุทธการ
รวมกับทหารในการปองกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอก
และภายในประเทศ
(๘) การดาํ เนนิ งานตามกระบวนการยตุ ิธรรมทางอาญา
(๙) การดําเนินกิจการขององคการทางศาสนา
การยกเวนไมใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ีมาใชบังคับแกการดาํ เนินกิจการใด
หรือกับหนวยงานใดนอกจากท่ีกาํ หนดไวในวรรคหนึ่ง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของ
คณะกรรมการวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง
ÁÒμÃÒ õ ในพระราชบญั ญัติน้ี
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดาํ เนินการของ
เจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคาํ สั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดําเนินการใด ๆ ในทางปกครองตาม
พระราชบัญญตั ินี้
“การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและการดําเนินการของ
เจา หนาทเี่ พือ่ จดั ใหม ีคาํ สงั่ ทางปกครอง
“คําสง่ั ทางปกครอง” หมายความวา
(๑) การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ท่ีมีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวาง
บคุ คลในอันท่ีจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมผี ลกระทบตอสถานภาพของสิทธหิ รือหนา ท่ี
ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การส่ังการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัย
อุทธรณ การรบั รอง และการรบั จดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ
(๒) การอ่ืนทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
“กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอ บญั ญตั ทิ อ งถนิ่
ระเบยี บ ขอ บังคับ หรือบทบัญญัติอนื่ ทีม่ ผี ลบังคบั เปน การทั่วไป โดยไมมงุ หมายใหใ ชบ งั คบั แกกรณีใด
หรือบุคคลใดเปน การเฉพาะ
“คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พิพาท” หมายความวา คณะกรรมการท่จี ัดต้งั ข้นึ ตามกฎหมาย
ทม่ี ีการจัดองคก รและวิธพี จิ ารณาสําหรับการวินจิ ฉยั ชข้ี าดสิทธิและหนา ทตี่ ามกฎหมาย
“เจาหนาท่ี” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซ่ึงใชอาํ นาจหรือ
ไดร บั มอบใหใ ชอ าํ นาจทางปกครองของรฐั ในการดาํ เนนิ การอยา งหนง่ึ อยา งใดตามกฎหมาย ไมว า จะเปน
การจัดตั้งขนึ้ ในระบบราชการ รฐั วิสาหกิจหรือกจิ การอ่นื ของรฐั หรอื ไมกต็ าม

๕๒

“คูกรณี” หมายความวา ผยู นื่ คําขอหรือผคู ัดคา นคําขอ ผอู ยูในบงั คับหรอื จะอยูในบงั คับ
ของคําสั่งทางปกครอง และผูซึ่งไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูน้ัน
จะถูกกระทบกระเทอื นจากผลของคาํ ส่ังทางปกครอง

ÁÒμÃÒ ö ใหนายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี และใหมีอาํ นาจออก
กฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญัตินี้

กฎกระทรวงและประกาศน้ัน เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบงั คบั ได
ËÁÇ´ ñ

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÇÔ¸»Õ ¯ÔºμÑ ÃÔ Òª¡Ò÷ҧ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ÷ ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง” ประกอบดว ยประธานกรรมการคนหนงึ่ ปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวงมหาดไทย
เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น เลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี า
และผทู รงคณุ วฒุ อิ กี ไมนอยกวา หาคนแตไ มเกินเกาคนเปน กรรมการ
ใหค ณะรฐั มนตรแี ตง ตงั้ ประธานกรรมการและกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ โดยแตง ตงั้ จากผซู ง่ึ มี
ความเชยี่ วชาญในทางนติ ศิ าสตร รฐั ประศาสนศาสตร รฐั ศาสตร สังคมศาสตร หรือการบริหารราชการ
แผน ดนิ แตผนู น้ั ตองไมเ ปน ผูดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง
ใหเ ลขาธกิ ารคณะกรรมการกฤษฎกี าแตง ตง้ั ขา ราชการของสาํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า
เปนเลขานกุ ารและผชู วยเลขานุการ
ÁÒμÃÒ ø ใหก รรมการซงึ่ คณะรฐั มนตรแี ตง ตงั้ มวี าระดํารงตาํ แหนง คราวละสามป กรรมการ
ซึ่งพนจากตาํ แหนงอาจไดรับแตง ต้ังอกี ได
ในกรณที กี่ รรมการพน จากตําแหนง ตามวาระ แตย งั มไิ ดแ ตง ตง้ั กรรมการใหม ใหก รรมการนนั้
ปฏบิ ัตหิ นา ทีไ่ ปพลางกอ นจนกวาจะไดแ ตง ตั้งกรรมการใหม
ÁÒμÃÒ ù นอกจากการพน จากตาํ แหนง ตามวาระตามมาตรา ๘ กรรมการซง่ึ คณะรฐั มนตรี
แตงตงั้ พนจากตาํ แหนง เมอื่ คณะรฐั มนตรีมมี ตใิ หออกหรือเมื่อมีเหตหุ นงึ่ เหตุใดตามมาตรา ๗๖
ÁÒμÃÒ ñð ใหสาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทําหนาที่เปนสํานักงานเลขานุการของ
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาขอมูล
และกิจการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับงานของคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
ÁÒμÃÒ ññ คณะกรรมการวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครองมอี าํ นาจหนาท่ี ดังตอไปนี้
(๑) สอดสองดูแลและใหคาํ แนะนําเก่ียวกับการดาํ เนินงานของเจาหนาท่ีในการปฏิบัติ
ตามพระราชบญั ญตั ิน้ี
(๒) ใหคาํ ปรึกษาแกเจาหนาท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี ตามท่ีบุคคล
ดงั กลาวรองขอ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑทีค่ ณะกรรมการวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครองกําหนด

๕๓

(๓) มหี นงั สอื เรยี กใหเ จา หนา ทหี่ รอื บคุ คลอนื่ ใดมาชแ้ี จงหรอื แสดงความเหน็ ประกอบการ
พิจารณาได

(๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตาม
พระราชบัญญตั นิ ี้

(๕) จัดทํารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ีเสนอคณะรัฐมนตรีเปน
ครง้ั คราวตามความเหมาะสมแตอ ยา งนอ ยปล ะหนงึ่ ครง้ั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การปฏบิ ตั ริ าชการทาง
ปกครองใหเ ปน ไปโดยมคี วามเปน ธรรมและมีประสิทธิภาพยิง่ ข้ึน

(๖) เร่ืองอื่นตามท่คี ณะรฐั มนตรหี รอื นายกรัฐมนตรมี อบหมาย
ËÁÇ´ ò

คําʧÑè ·Ò§»¡¤Ãͧ
ÊÇ‹ ¹·Õè ñ
਌Ò˹ŒÒ·Õè

ÁÒμÃÒ ñò คาํ ส่งั ทางปกครองจะตอ งกระทําโดยเจา หนา ท่ีซึ่งมีอาํ นาจหนาทีใ่ นเร่ืองนน้ั
ÁÒμÃÒ ñó เจา หนาทดี่ งั ตอ ไปนจี้ ะทําการพิจารณาทางปกครองไมได
(๑) เปน คกู รณีเอง
(๒) เปนคูหมนั้ หรอื คสู มรสของคูก รณี
(๓) เปน ญาติของคกู รณี คอื เปน บุพการีหรือผูสบื สันดานไมวาชัน้ ใด ๆ หรือเปน พีน่ อ ง
หรือลูกพลี่ กู นองนับไดเ พียงภายในสามชั้น หรอื เปนญาตเิ กยี่ วพนั ทางแตงงานนับไดเพียงสองชน้ั
(๔) เปนหรือเคยเปนผแู ทนโดยชอบธรรมหรอื ผูพ ิทกั ษห รอื ผูแ ทนหรือตวั แทนของคกู รณี
(๕) เปน เจาหนีห้ รือลกู หนี้ หรือเปนนายจา งของคกู รณี
(๖) กรณีอน่ื ตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ ñô เมอื่ มกี รณตี ามมาตรา ๑๓ หรอื คกู รณคี ดั คา นวา เจา หนา ทผ่ี ใู ดเปน บคุ คลตาม
มาตรา ๑๓ ใหเจาหนาท่ีผูน้ันหยุดการพิจารณาเร่ืองไวกอน และแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนข้ึนไป
ชัน้ หนงึ่ ทราบ เพ่อื ทผ่ี ูบ งั คบั บัญชาดังกลาวจะไดมคี าํ สงั่ ตอไป
การยนื่ คําคดั คา น การพจิ ารณาคาํ คดั คา น และการสง่ั ใหเ จา หนา ทอี่ น่ื เขา ปฏบิ ตั หิ นา ทแ่ี ทน
ผูทถี่ ูกคดั คา นใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารที่กาํ หนดในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ ñõ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรอื คกู รณีคดั คา นวา กรรมการในคณะกรรมการ
ท่ีมีอํานาจพิจารณาทางปกครองคณะใดมีลักษณะดังกลาว ใหประธานกรรมการเรียกประชุม
คณะกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุคัดคานน้ัน ในการประชุมดังกลาวกรรมการผูถูกคัดคานเม่ือไดชี้แจง
ขอ เท็จจรงิ และตอบขอ ซักถามแลว ตอ งออกจากทป่ี ระชมุ

๕๔

ถา คณะกรรมการทม่ี อี ํานาจพจิ ารณาทางปกครองคณะใดมผี ถู กู คดั คา นในระหวา งทก่ี รรมการ
ผถู กู คดั คา นตอ งออกจากทป่ี ระชมุ ใหถ อื วา คณะกรรมการคณะนน้ั ประกอบดว ยกรรมการทกุ คนทไ่ี มถ กู
คดั คา น

ถาที่ประชุมมีมติใหกรรมการผูถูกคัดคานปฏิบัติหนาที่ตอไปดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา
สองในสามของกรรมการทไ่ี มถ กู คดั คา น กใ็ หก รรมการผนู นั้ ปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ อ ไปได มตดิ งั กลา วใหก ระทาํ
โดยวิธลี งคะแนนลับและใหเ ปนที่สดุ

การยน่ื คาํ คดั คา นและการพจิ ารณาคาํ คดั คา นใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทก่ี ําหนด
ในกฎกระทรวง

ÁÒμÃÒ ñö ในกรณีมีเหตุอ่ืนใดนอกจากท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๑๓ เก่ียวกับเจาหนาท่ี
หรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอาํ นาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพรายแรงอันอาจทําให
การพิจารณาทางปกครองไมเปนกลาง เจาหนาที่หรือกรรมการผูน้ันจะทาํ การพิจารณาทางปกครอง
ในเรอ่ื งนนั้ ไมได

ในกรณตี ามวรรคหนง่ึ ใหดาํ เนินการดงั น้ี
(๑) ถา ผนู นั้ เหน็ เองวา ตนมกี รณดี งั กลา ว ใหผ นู น้ั หยดุ การพจิ ารณาเรอ่ื งไวก อ นและแจง ให
ผูบงั คับบญั ชาเหนอื ตนขึน้ ไปช้นั หน่ึงหรอื ประธานกรรมการทราบ แลวแตก รณี
(๒) ถา มคี กู รณคี ดั คา นวา ผนู นั้ มเี หตดุ งั กลา ว หากผนู นั้ เหน็ วา ตนไมม เี หตตุ ามทคี่ ดั คา นนน้ั
ผนู น้ั จะทําการพจิ ารณาเรอ่ื งตอ ไปกไ็ ดแ ตต อ งแจง ใหผ บู งั คบั บญั ชาเหนอื ตนขนึ้ ไปชน้ั หนงึ่ หรอื ประธาน
กรรมการทราบ แลว แตก รณี
(๓) ใหผ บู งั คบั บญั ชาของผนู น้ั หรอื คณะกรรมการทมี่ อี ํานาจพจิ ารณาทางปกครองซง่ึ ผนู น้ั
เปน กรรมการอยมู คี าํ สง่ั หรอื มมี ตโิ ดยไมช กั ชา แลว แตก รณี วา ผนู นั้ มอี ํานาจในการพจิ ารณาทางปกครอง
ในเรอื่ งนน้ั หรือไม
ใหนาํ บทบัญญตั ิมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่
มาใชบ ังคับโดยอนุโลม
ÁÒμÃÒ ñ÷ การกระทาํ ใด ๆ ของเจาหนาท่ีหรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอาํ นาจ
พิจารณาทางปกครองที่ไดกระทาํ ไปกอนหยุดการพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ยอมไม
เสยี ไป เวน แตเ จา หนา ทผี่ ูเขา ปฏบิ ัติหนา ทีแ่ ทนผูถูกคัดคา นหรือคณะกรรมการทีม่ อี าํ นาจพจิ ารณาทาง
ปกครอง แลว แตกรณี จะเห็นสมควรดําเนนิ การสว นหน่ึงสวนใดเสียใหมก ็ได
ÁÒμÃÒ ñø บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไมใหนํามาใชบังคับกับกรณีที่มี
ความจาํ เปนเรงดวน หากปลอยใหลาชาไปจะเสียหายตอประโยชนสาธารณะหรือสิทธิของบุคคล
จะเสยี หายโดยไมมที างแกไ ขได หรอื ไมมเี จา หนาทอี่ น่ื ปฏบิ ตั หิ นาท่ีแทนผูน้นั ได
ÁÒμÃÒ ñù ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาที่หรือกรรมการในคณะกรรมการท่ีมีอํานาจ
พิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามหรือการแตงตั้งไมชอบดวยกฎหมาย

๕๕

อันเปนเหตุใหผูนั้นตองพนจากตาํ แหนง การพนจากตาํ แหนงเชนวานี้ไมกระทบกระเทือนถึงการใดที่
ผนู น้ั ไดปฏบิ ัติไปตามอํานาจหนา ท่ี

ÁÒμÃÒ òð ผูบงั คับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ให
หมายความรวมถึง ผูซึ่งกฎหมายกําหนดใหมีอํานาจกาํ กับหรือควบคุมดูแลสําหรับกรณีของเจาหนาที่
ที่ไมม ผี ูบังคบั บัญชาโดยตรง และนายกรัฐมนตรีสําหรับกรณีที่เจา หนาท่ผี นู ั้นเปน รัฐมนตรี

ÊÇ‹ ¹·Õè ò
¤Ù‹¡Ã³Õ
ÁÒμÃÒ òñ บุคคลธรรมดา คณะบคุ คล หรอื นติ ิบคุ คล อาจเปน คูกรณใี นการพิจารณา
ทางปกครองไดตามขอบเขตท่ีสิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจ
หลีกเลีย่ งได
ÁÒμÃÒ òò ผูมีความสามารถกระทาํ การในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได
จะตองเปน
(๑) ผซู ึ่งบรรลนุ ติ ภิ าวะ
(๒) ผูซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกาํ หนดใหมีความสามารถกระทาํ การในเร่ืองท่ีกาํ หนดได
แมผนู นั้ จะยังไมบรรลนุ ิตภิ าวะหรือความสามารถถกู จาํ กดั ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ย
(๓) นติ บิ ุคคลหรอื คณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผูแทนหรอื ตวั แทน แลว แตก รณี
(๔) ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายในราชกิจจา
นุเบกษากําหนดใหมีความสามารถกระทําการในเรื่องที่กาํ หนดได แมผูน้ันจะยังไมบรรลุนิติภาวะ
หรอื ความสามารถถกู จาํ กดั ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
ÁÒμÃÒ òó ในการพิจารณาทางปกครองที่คูกรณีตองมาปรากฏตัวตอหนาเจาหนาท่ี
คกู รณีมสี ิทธินาํ ทนายความหรือที่ปรกึ ษาของตนเขามาในการพจิ ารณาทางปกครองได
การใดทที่ นายความหรอื ทป่ี รกึ ษาไดท ําลงตอ หนา คกู รณใี หถ อื วา เปน การกระทาํ ของคกู รณี
เวนแตค กู รณจี ะไดค ัดคานเสยี แตใ นขณะนนั้
ÁÒμÃÒ òô คกู รณอี าจมหี นงั สอื แตง ตง้ั ใหบ คุ คลหนงึ่ บคุ คลใดซง่ึ บรรลนุ ติ ภิ าวะกระทาํ การ
อยางหนึ่งอยางใดตามท่ีกําหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได ในการนี้
เจาหนาที่จะดาํ เนินกระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคูกรณีไดเฉพาะเมื่อเปนเรื่องที่ผูน้ันมีหนาท่ี
โดยตรงที่จะตองทําการน้นั ดวยตนเองและตองแจงใหผูไ ดร ับการแตงตงั้ ใหกระทาํ การแทนทราบดว ย
หากปรากฏวาผูไดรับการแตงตั้งใหกระทาํ การแทนผูใดไมทราบขอเท็จจริงในเร่ืองนั้น
เพียงพอหรือมีเหตุไมควรไววางใจในความสามารถของบุคคลดังกลาวใหเจาหนาท่ีแจงใหคูกรณีทราบ
โดยไมชกั ชา

๕๖

การแตงต้ังใหกระทําการแทนไมถือวาสิ้นสุดลงเพราะความตายของคูกรณีหรือการ
ทค่ี วามสามารถหรอื ความเปน ผแู ทนของคกู รณเี ปลย่ี นแปลงไป เวน แตผ สู บื สทิ ธติ ามกฎหมายของคกู รณี
หรือคูกรณีจะถอนการแตง ตัง้ ดังกลาว

ÁÒμÃÒ òõ ในกรณีทีม่ กี ารย่ืนคําขอโดยมีผูลงช่อื รว มกันเกินหาสิบคนหรอื มคี กู รณีเกิน
หา สบิ คนยน่ื คาํ ขอทม่ี ขี อ ความอยา งเดยี วกนั หรอื ทํานองเดยี วกนั ถา ในคําขอมกี ารระบใุ หบ คุ คลใดเปน
ตัวแทนของบุคคลดังกลา วหรอื มีขอความเปนปริยายใหเขา ใจไดเชนนน้ั ใหถ ือวา ผูที่ถูกระบุชอื่ ดงั กลาว
เปน ตวั แทนรว มของคกู รณเี หลา นัน้

ในกรณีที่มีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคาํ ขอใหมีคาํ สั่งทางปกครองในเร่ืองเดียวกัน โดยไมมี
การกําหนดใหบุคคลใดเปนตัวแทนรวมของตนตามวรรคหน่ึง ใหเจาหนาที่ในเรื่องน้ันแตงตั้งบุคคลท่ี
คูกรณฝี า ยขา งมากเหน็ ชอบเปน ตวั แทนรวมของบุคคลดังกลา ว ในกรณนี ใ้ี หนํามาตรา ๒๔ วรรคสอง
และวรรคสาม มาใชบังคบั โดยอนโุ ลม

ตวั แทนรว มตามวรรคหนงึ่ หรือวรรคสองตองเปน บุคคลธรรมดา
คกู รณจี ะบอกเลกิ การใหต วั แทนรว มดําเนนิ การแทนตนเมอ่ื ใดกไ็ ดแ ตต อ งมหี นงั สอื แจง ให
เจาหนา ทีท่ ราบและดําเนินการใด ๆ ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองตอไปดว ยตนเอง
ตวั แทนรว มจะบอกเลกิ การเปน ตวั แทนเมอื่ ใดกไ็ ด แตต อ งมหี นงั สอื แจง ใหเ จา หนา ทที่ ราบ
กับตองแจง ใหค ูกรณที ุกรายทราบดวย

ʋǹ·Õè ó
¡ÒþԨÒóÒ
ÁÒμÃÒ òö เอกสารท่ียื่นตอเจาหนาที่ใหจัดทําเปนภาษาไทย ถาเปนเอกสารท่ีทําขึ้น
เปนภาษาตางประเทศ ใหคูกรณีจัดทําคําแปลเปนภาษาไทยท่ีมีการรับรองความถูกตองมาใหภายใน
ระยะเวลาทเ่ี จา หนา ทกี่ าํ หนด ในกรณนี ใ้ี หถ อื วา เอกสารดงั กลา วไดย นื่ ตอ เจา หนา ทใ่ี นวนั ทเี่ จา หนา ทไ่ี ดร บั
คําแปลนนั้ เวน แตเ จา หนา ทจี่ ะยอมรบั เอกสารทที่ ําขนึ้ เปน ภาษาตา งประเทศ และในกรณนี ใี้ หถ อื วา วนั
ท่ีไดย ่ืนเอกสารฉบับท่ีทาํ ข้ึนเปนภาษาตา งประเทศเปนวนั ที่เจาหนา ทไ่ี ดรับเอกสารดังกลาว
การรับรองความถูกตองของคําแปลเปนภาษาไทยหรือการยอมรับเอกสารที่ทาํ ขึ้นเปน
ภาษาตา งประเทศ ใหเ ปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ ò÷ò ใหเจาหนาท่ีแจงสิทธิและหนาที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
ใหค กู รณที ราบตามความจําเปนแกกรณี

๒ มาตรา ๒๗ แกไ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๕๗

เมอื่ มผี ยู น่ื คําขอเพอ่ื ใหเ จา หนา ทมี่ คี าํ สงั่ ทางปกครอง ใหเ ปน หนา ทขี่ องเจา หนา ทผ่ี รู บั คําขอ
ทจี่ ะตอ งดําเนนิ การตรวจสอบความถกู ตอ งของคาํ ขอและความครบถว นของเอกสาร บรรดาทมี่ กี ฎหมาย
หรือกฎกาํ หนดใหตอ งยืน่ มาพรอมกบั คําขอ หากคําขอไมถกู ตอ ง ใหเจาหนา ทีด่ งั กลาวแนะนาํ ใหผยู ื่น
คําขอดาํ เนนิ การแกไ ขเพม่ิ เตมิ เสยี ใหถ กู ตอ ง และหากมเี อกสารใดไมค รบถว นใหแ จง ใหผ ยู นื่ คาํ ขอทราบ
ทันทีหรือภายในไมเกินเจ็ดวันนับแตวันท่ีไดรับคาํ ขอ ในการแจงดังกลาวใหเจาหนาที่ทาํ เปนหนังสือ
ลงลายมือช่ือของผูรับคําขอและระบุรายการเอกสารที่ไมถูกตองหรือยังไมครบถวนใหผูย่ืนคาํ ขอทราบ
พรอมทั้งบนั ทึกการแจง ดงั กลาวไวใ นกระบวนพจิ ารณาจัดทาํ คาํ สั่งทางปกครองน้นั ดว ย

เมอ่ื ผยู น่ื คาํ ขอไดแ กไ ขคําขอหรอื จดั สง เอกสารตามทร่ี ะบใุ นการแจง ตามวรรคสองครบถว น
แลว เจา หนา ทจี่ ะปฏเิ สธไมด ําเนนิ การตามคาํ ขอเพราะเหตยุ งั ขาดเอกสารอกี มไิ ด เวน แตม คี วามจําเปน
เพื่อปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมายหรือกฎและไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป
ช้ันหนึ่งตามมาตรา ๒๐ ในกรณีเชนนั้นใหผูบังคับบัญชาดังกลาวดาํ เนินการตรวจสอบขอเท็จจริง
โดยพลนั หากเหน็ วา เปนความบกพรอ งของเจาหนา ท่ีใหด ําเนนิ การทางวนิ ยั ตอ ไป

ผยู นื่ คาํ ขอตอ งดาํ เนนิ การแกไ ขหรอื สง เอกสารเพมิ่ เตมิ ตอ เจา หนา ทภี่ ายในเวลาทเี่ จา หนา ที่
กาํ หนดหรือภายในเวลาท่ีเจาหนาที่อนุญาตใหขยายออกไป เมื่อพนกําหนดเวลาดังกลาวแลว หาก
ผูยื่นคาํ ขอไมแกไขหรือสงเอกสารเพ่ิมเติมใหครบถวน ใหถือวาผูยื่นคาํ ขอไมประสงคที่จะใหเจาหนาท่ี
ดาํ เนินการตามคําขอตอไป ในกรณีเชนน้ันใหเจาหนาที่สงเอกสารคืนใหผูยื่นคําขอพรอมทั้งแจงสิทธิ
ในการอุทธรณใหผูยื่นคาํ ขอทราบ และบนั ทึกการดําเนนิ การดงั กลาวไว

ÁÒμÃÒ òø ในการพิจารณาทางปกครอง เจาหนาท่ีอาจตรวจสอบขอเท็จจริงไดตาม
ความเหมาะสมในเรื่องน้นั ๆ โดยไมต อ งผูกพันอยกู ับคําขอหรือพยานหลักฐานของคูกรณี

ÁÒμÃÒ òù เจาหนาท่ีตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจาํ เปนแกการพิสูจน
ขอเทจ็ จริง ในการนี้ ใหร วมถงึ การดําเนนิ การดงั ตอไปน้ี

(๑) แสวงหาพยานหลกั ฐานทุกอยา งท่ีเกี่ยวของ
(๒) รับฟงพยานหลักฐาน คาํ ช้ีแจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคลหรือ
พยานผเู ชย่ี วชาญทค่ี กู รณกี ลา วอา ง เวน แตเ จา หนา ทเี่ หน็ วา เปน การกลา วอา งทไ่ี มจ ําเปน ฟมุ เฟอ ยหรอื
เพอ่ื ประวงิ เวลา
(๓) ขอขอ เทจ็ จรงิ หรอื ความเหน็ จากคกู รณี พยานบุคคล หรือพยานผเู ช่ียวชาญ
(๔) ขอใหผ คู รอบครองเอกสารสง เอกสารที่เกี่ยวขอ ง
(๕) ออกไปตรวจสถานที่
คูกรณีตองใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีในการพิสูจนขอเท็จจริง และมีหนาที่แจง
พยานหลกั ฐานทีต่ นทราบแกเจา หนา ที่
พยานหรือพยานผูเชี่ยวชาญท่ีเจาหนาท่ีเรียกมาใหถอยคําหรือทาํ ความเห็นมีสิทธิไดรับ
คาปว ยการตามหลกั เกณฑและวธิ ีการที่กาํ หนดในกฎกระทรวง

๕๘

ÁÒμÃÒ óð ในกรณที คี่ าํ สง่ั ทางปกครองอาจกระทบถงึ สทิ ธขิ องคกู รณี เจา หนา ทตี่ อ งให
คูกรณีมีโอกาสที่จะไดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐาน
ของตน

ความในวรรคหนึ่งมิใหนํามาใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ เวนแตเจาหนาท่ีจะเห็นสมควร
ปฏิบัตเิ ปน อยา งอ่ืน

(๑) เมอื่ มคี วามจําเปน รบี ดว นหากปลอ ยใหเ นนิ่ ชา ไปจะกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายอยา งรา ยแรง
แกผ หู นงึ่ ผูใดหรือจะกระทบตอ ประโยชนสาธารณะ

(๒) เมื่อจะมีผลทาํ ใหระยะเวลาท่ีกฎหมายหรือกฎกาํ หนดไวในการทาํ คําส่ังทางปกครอง
ตอ งลาชาออกไป

(๓) เม่ือเปนขอ เทจ็ จรงิ ท่คี กู รณีนั้นเองไดใหไ วในคําขอ คําใหการหรือคําแถลง
(๔) เม่ือโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดงั กลาวไมอ าจกระทาํ ได
(๕) เมอ่ื เปน มาตรการบังคบั ทางปกครอง
(๖) กรณอี ื่นตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง
หามมิใหเจาหนาท่ีใหโอกาสตามวรรคหนึ่ง ถาจะกอใหเกิดผลเสียหายอยางรายแรงตอ
ประโยชนสาธารณะ
ÁÒμÃÒ óñ คูกรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จําเปนตองรูเพ่ือการโตแยงหรือช้ีแจงหรือ
ปอ งกนั สทิ ธขิ องตนได แตถ า ยงั ไมไ ดท าํ คําสง่ั ทางปกครองในเรอื่ งนน้ั คกู รณไี มม สี ทิ ธขิ อตรวจดเู อกสาร
อนั เปนตนรา งคาํ วินิจฉัย
การตรวจดูเอกสาร คาใชจายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทําสําเนาเอกสาร
ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธกี ารท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ óò เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐานได ถาเปน
กรณที ต่ี อ งรักษาไวเ ปน ความลับ
ÁÒμÃÒ óó เพื่อประโยชนในการอาํ นวยความสะดวกแกประชาชน ความประหยัดและ
ความมปี ระสทิ ธภิ าพในการดําเนนิ งานของรฐั ใหค ณะรฐั มนตรวี างระเบยี บกาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร
เพ่ือใหเ จาหนาทก่ี าํ หนดเวลาสาํ หรบั การพิจารณาทางปกครองขน้ึ ไวต ามความเหมาะสมแกกรณี ทั้งน้ี
เทา ทีไ่ มขัดหรือแยง กบั กฎหมายหรอื กฎในเร่อื งนั้น
ในกรณที กี่ ารดาํ เนนิ งานในเรอื่ งใดจะตอ งผา นการพจิ ารณาของเจา หนา ทม่ี ากกวา หนง่ึ ราย
เจาหนา ทีท่ ่ีเกย่ี วขอ งมหี นาท่ตี อ งประสานงานกันในการกาํ หนดเวลาเพ่ือการดําเนินงานในเรื่องน้ัน

๕๙

ʋǹ·èÕ ô
û٠ẺáÅмŢͧคําÊÑ觷ҧ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ óô คาํ สงั่ ทางปกครองอาจทําเปน หนงั สอื หรอื วาจาหรอื โดยการสอ่ื ความหมาย
ในรูปแบบอน่ื ก็ได แตต อ งมีขอความหรือความหมายทชี่ ดั เจนเพยี งพอทีจ่ ะเขา ใจได
ÁÒμÃÒ óõ ในกรณที คี่ ําสงั่ ทางปกครองเปน คําสง่ั ดว ยวาจา ถา ผรู บั คาํ สงั่ นน้ั รอ งขอและ
การรอ งขอไดก ระทาํ โดยมเี หตอุ นั สมควรภายในเจด็ วนั นบั แตว นั ทม่ี คี าํ สงั่ ดงั กลา ว เจา หนา ทผ่ี อู อกคาํ สงั่
ตอ งยืนยันคาํ สัง่ นนั้ เปน หนงั สือ
ÁÒμÃÒ óö คาํ สง่ั ทางปกครองทท่ี าํ เปน หนังสอื อยางนอ ยตอ งระบุ วัน เดอื น และปท ่ี
ทําคาํ สง่ั ชือ่ และตาํ แหนงของเจา หนา ทีผ่ ูทําคาํ สั่ง พรอมทั้งมีลายมอื ช่อื ของเจา หนา ท่ผี ทู ําคาํ ส่ังนั้น
ÁÒμÃÒ ó÷ คาํ ส่ังทางปกครองที่ทาํ เปนหนังสือและการยืนยันคําส่ังทางปกครองเปน
หนงั สอื ตอ งจัดใหมีเหตุผลไวด วย และเหตผุ ลนัน้ อยางนอยตองประกอบดว ย
(๑) ขอเทจ็ จรงิ อนั เปน สาระสําคัญ
(๒) ขอกฎหมายท่ีอางอิง
(๓) ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ
นายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กําหนดใหค ําสงั่ ทางปกครองกรณหี นงึ่ กรณใี ดตอ งระบเุ หตผุ ลไวใ นคาํ สง่ั นน้ั เองหรอื ในเอกสารแนบทา ย
คําสั่งนั้นก็ได
บทบญั ญัตติ ามวรรคหน่ึงไมใชบ งั คับกบั กรณดี ังตอไปนี้
(๑) เปนกรณีท่ีมีผลตรงตามคําขอและไมกระทบสทิ ธิและหนาทข่ี องบคุ คลอื่น
(๒) เหตผุ ลนน้ั เปนทร่ี ูกนั อยแู ลวโดยไมจ ําตองระบุอีก
(๓) เปน กรณที ี่ตอ งรักษาไวเ ปนความลับตามมาตรา ๓๒
(๔) เปน การออกคาํ สงั่ ทางปกครองดว ยวาจาหรอื เปน กรณเี รง ดว น แตต อ งใหเ หตผุ ลเปน
ลายลกั ษณอกั ษรในเวลาอันควรหากผูอ ยูในบงั คบั ของคําสัง่ นั้นรองขอ
ÁÒμÃÒ óø บทบัญญัติตามมาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ วรรคหน่ึง มิใหใชบังคับ
กับคําสั่งทางปกครองที่กาํ หนดในกฎกระทรวง ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาํ หนด
ในกฎกระทรวง
ÁÒμÃÒ óù การออกคาํ สงั่ ทางปกครองเจา หนา ทอ่ี าจกาํ หนดเงอื่ นไขใด ๆ ไดเ ทา ทจี่ ําเปน
เพอื่ ใหบรรลุวัตถุประสงคข องกฎหมาย เวนแตกฎหมายจะกาํ หนดขอจํากัดดลุ พนิ จิ เปนอยา งอ่นื
การกําหนดเงื่อนไขตามวรรคหน่ึง ใหหมายความรวมถึงการกําหนดเง่ือนไขในกรณี
ดงั ตอ ไปนี้ ตามความเหมาะสมแกกรณีดว ย
(๑) การกําหนดใหสทิ ธหิ รอื ภาระหนา ทีเ่ ริ่มมผี ลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนงึ่
(๒) การกาํ หนดใหก ารเรมิ่ มผี ลหรอื สน้ิ ผลของสทิ ธหิ รอื ภาระหนา ทตี่ อ งขน้ึ อยกู บั เหตกุ ารณ
ในอนาคตท่ไี มแนนอน

๖๐

(๓) ขอสงวนสิทธิท่ีจะยกเลิกคําสงั่ ทางปกครอง
(๔) การกาํ หนดใหผูไดรับประโยชนตองกระทาํ หรืองดเวนกระทําหรือตองมีภาระหนาที่
หรือยอมรับภาระหนาที่หรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกําหนดขอความในการจัดใหมี
เปลีย่ นแปลง หรอื เพิม่ ขอกําหนดดังกลา ว
ÁÒμÃÒ óù/ñó การออกคาํ สั่งทางปกครองเปนหนังสือในเรื่องใด หากมิไดมีกฎหมาย
หรือกฎกําหนดระยะเวลาในการออกคาํ สงั่ ทางปกครองในเร่ืองนนั้ ไวเปนประการอ่ืน ใหเจาหนา ท่อี อก
คําสง่ั ทางปกครองนนั้ ใหแ ลว เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทเี่ จา หนา ทไ่ี ดร บั คําขอและเอกสารถกู ตอ ง
ครบถว น
ใหเ ปนหนาท่ีของผบู ังคับบัญชาชัน้ เหนือขน้ึ ไปของเจา หนาที่ ทีจ่ ะกาํ กับดแู ลใหเ จา หนาที่
ดาํ เนนิ การใหเปน ไปตามวรรคหนงึ่
ÁÒμÃÒ ôð คาํ สง่ั ทางปกครองทอ่ี าจอทุ ธรณห รอื โตแ ยง ตอ ไปไดใ หร ะบกุ รณที อ่ี าจอทุ ธรณ
หรอื โตแ ยง การยน่ื คําอทุ ธรณห รอื คาํ โตแ ยง และระยะเวลาสาํ หรบั การอทุ ธรณห รอื การโตแ ยง ดงั กลา ว
ไวด วย
ในกรณีท่ีมีการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหนึ่ง ใหระยะเวลาสําหรับการอุทธรณหรือการ
โตแยงเริ่มนับใหมตั้งแตวันท่ีไดรับแจงหลักเกณฑตามวรรคหน่ึง แตถาไมมีการแจงใหมและระยะเวลา
ดังกลา วมรี ะยะเวลาส้นั กวาหน่ึงป ใหข ยายเปนหนึ่งปน บั แตว ันท่ไี ดร บั คาํ สง่ั ทางปกครอง
ÁÒμÃÒ ôñ คาํ สั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหลักเกณฑ
ดงั ตอ ไปนี้ ไมเปนเหตใุ หค ําสั่งทางปกครองนน้ั ไมส มบรู ณ
(๑) การออกคาํ สงั่ ทางปกครองโดยยงั ไมม ผี ยู นื่ คําขอในกรณที เ่ี จา หนา ทจี่ ะดําเนนิ การเอง
ไมไ ดนอกจากจะมผี ูยืน่ คําขอ ถา ตอมาในภายหลงั ไดม กี ารยนื่ คําขอเชนนัน้ แลว
(๒) คาํ สง่ั ทางปกครองทีต่ องจัดใหม ีเหตุผลตามมาตรา ๓๗ วรรคหนงึ่ ถาไดม กี ารจดั ใหมี
เหตผุ ลดงั กลาวในภายหลัง
(๓) การรบั ฟง คกู รณที จ่ี าํ เปน ตอ งกระทําไดด ําเนนิ การมาโดยไมส มบรู ณ ถา ไดม กี ารรบั ฟง
ใหสมบรู ณใ นภายหลงั
(๔) คาํ ส่งั ทางปกครองที่ตองใหเจาหนาท่อี น่ื ใหค วามเห็นชอบกอ น ถา เจา หนา ทน่ี ้นั ไดให
ความเห็นชอบในภายหลัง
เม่ือมกี ารดําเนินการตามวรรคหน่ึง (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) แลว และเจา หนาที่ผมู คี าํ สัง่ ทาง
ปกครองประสงคใหผลเปนไปตามคาํ ส่ังเดิมใหเจาหนาท่ีผูน้ันบันทึกขอเท็จจริงและความประสงค
ของตนไวในหรือแนบไวกบั คําส่ังเดิมและตอ งมหี นังสือแจงความประสงคของตนใหค ูก รณีทราบดว ย

๓ มาตรา ๓๙/๑ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

๖๑

กรณีตาม (๒) (๓) และ (๔) จะตองกระทาํ กอนสิ้นสดุ กระบวนการพจิ ารณาอทุ ธรณต าม
สวนท่ี ๕ ของหมวดนี้ หรอื ตามกฎหมายเฉพาะวาดว ยการนนั้ หรอื ถาเปน กรณีท่ีไมตอ งมีการอุทธรณ
ดังกลาวก็ตองกอนมีการนําคําสั่งทางปกครองไปสูการพิจารณาของผูมีอํานาจพิจารณาวินิจฉัย
ความถูกตองของคําสัง่ ทางปกครองน้นั

ÁÒμÃÒ ôò คําสงั่ ทางปกครองใหม ผี ลใชย นั ตอ บคุ คลตง้ั แตข ณะทผ่ี นู นั้ ไดร บั แจง เปน ตน ไป
คําสั่งทางปกครองยอมมีผลตราบเทาท่ียังไมมีการเพิกถอนหรือส้ินผลลงโดยเงื่อนเวลา
หรือโดยเหตุอืน่
เม่ือคําส่ังทางปกครองส้ินผลลง ใหเจาหนาที่มีอํานาจเรียกผูซ่ึงครอบครองเอกสารหรือ
วตั ถอุ นื่ ใดทไี่ ดจ ดั ทาํ ขน้ึ เนอื่ งในการมคี าํ สง่ั ทางปกครองดงั กลา ว ซงึ่ มขี อ ความหรอื เครอ่ื งหมายแสดงถงึ
การมอี ยูของคําสงั่ ทางปกครองนน้ั ใหสง คนื สงิ่ นัน้ หรอื ใหนาํ สงิ่ ของดังกลาวอันเปนกรรมสทิ ธขิ์ องผนู ้นั
มาใหเ จา หนา ทจ่ี ัดทาํ เครอ่ื งหมายแสดงการส้ินผลของคาํ ส่งั ทางปกครองดงั กลาวได
ÁÒμÃÒ ôó คาํ สง่ั ทางปกครองทม่ี ขี อ ผดิ พลาดเลก็ นอ ยหรอื ผดิ หลงเลก็ นอ ยนน้ั เจา หนา ที่
อาจแกไ ขเพ่ิมเติมไดเสมอ
ในการแกไ ขเพมิ่ เตมิ คาํ สงั่ ทางปกครองตามวรรคหนงึ่ ใหแ จง ใหผ ทู เ่ี กยี่ วขอ งทราบตามควร
แกก รณี ในการน้ี เจาหนาท่อี าจเรียกใหผ ทู ี่เกี่ยวของจัดสงคาํ สั่งทางปกครอง เอกสารหรอื วตั ถุอน่ื ใดที่
ไดจดั ทําข้ึนเนือ่ งในการมคี าํ ส่งั ทางปกครองดงั กลาวมาเพ่ือการแกไขเพ่มิ เตมิ ได

ʋǹ·Õè õ
¡ÒÃÍ·Ø ¸Ã³คําʧèÑ ·Ò§»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ôô ภายใตบ งั คบั มาตรา ๔๘ ในกรณที ค่ี ําสง่ั ทางปกครองใดไมไ ดอ อกโดยรฐั มนตรี
และไมม กี ฎหมายกาํ หนดขน้ั ตอนอทุ ธรณภ ายในฝา ยปกครองไวเ ปน การเฉพาะ ใหค กู รณอี ทุ ธรณค าํ สง่ั
ทางปกครองน้ันโดยยื่นตอเจาหนาที่ผูทาํ คําสั่งทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีตนไดรับแจง
คําส่ังดังกลาว
คาํ อุทธรณตองทาํ เปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายที่อางอิง
ประกอบดว ย
การอทุ ธรณไ มเ ปน เหตใุ หท เุ ลาการบงั คบั ตามคําสง่ั ทางปกครอง เวน แตจ ะมกี ารสงั่ ใหท เุ ลา
การบงั คับตามมาตรา ๖๓/๒ วรรคหนง่ึ ๔

๔ มาตรา ๔๔ วรรคสาม แกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตวิ ิธีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๖๒

ÁÒμÃÒ ôõ ใหเ จา หนา ทตี่ ามมาตรา ๔๔ วรรคหนง่ึ พจิ ารณาคําอทุ ธรณแ ละแจง ผอู ทุ ธรณ
โดยไมชักชา แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันท่ีไดรับอุทธรณ ในกรณีท่ีเห็นดวยกับคําอุทธรณไมวา
ทงั้ หมดหรอื บางสว นกใ็ หด าํ เนนิ การเปลยี่ นแปลงคาํ สง่ั ทางปกครองตามความเหน็ ของตนภายในกาํ หนด
เวลาดังกลา วดวย

ถา เจา หนา ทตี่ ามมาตรา ๔๔ วรรคหนงึ่ ไมเ หน็ ดว ยกบั คาํ อทุ ธรณไ มว า ทง้ั หมดหรอื บางสว น
ก็ใหเรงรายงานความเห็นพรอมเหตุผลไปยังผูมีอํานาจพิจารณาคาํ อุทธรณภายในกาํ หนดเวลาตาม
วรรคหนง่ึ ใหผ มู อี ํานาจพจิ ารณาคําอทุ ธรณพ จิ ารณาใหแ ลว เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทต่ี นไดร บั
รายงาน ถา มเี หตุจําเปน ไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผมู อี ํานาจพจิ ารณา
อุทธรณมีหนังสือแจงใหผูอุทธรณทราบกอนครบกําหนดเวลาดังกลาว ในการนี้ ใหขยายระยะเวลา
พิจารณาอทุ ธรณอ อกไปไดไ มเ กินสามสบิ วนั นบั แตว นั ท่คี รบกําหนดเวลาดงั กลา ว

เจา หนาท่ผี ใู ดจะเปนผูมีอาํ นาจพิจารณาอทุ ธรณต ามวรรคสองใหเ ปนไปตามท่ีกาํ หนดใน
กฎกระทรวง

บทบัญญัตมิ าตรานี้ไมใ ชกบั กรณที ่ีมีกฎหมายเฉพาะกาํ หนดไวเ ปนอยา งอ่ืน
ÁÒμÃÒ ôö ในการพจิ ารณาอทุ ธรณ ใหเ จา หนา ทพี่ จิ ารณาทบทวนคาํ สง่ั ทางปกครองได
ไมว า จะเปน ปญ หาขอ เทจ็ จรงิ ขอ กฎหมาย หรอื ความเหมาะสมของการทําคําสง่ั ทางปกครอง และอาจมี
คําสั่งเพิกถอนคําส่ังทางปกครองเดิมหรือเปล่ียนแปลงคําส่ังน้ันไปในทางใด ท้ังนี้ ไมวาจะเปนการ
เพิ่มภาระหรือลดภาระหรือใชดุลพินิจแทนในเรื่องความเหมาะสมของการทําคาํ ส่ังทางปกครองหรือ
มขี อกาํ หนดเปนเงื่อนไขอยา งไรกไ็ ด
ÁÒμÃÒ ô÷ การใดที่กฎหมายกาํ หนดใหอุทธรณตอเจาหนาที่ซ่ึงเปนคณะกรรมการ
ขอบเขตการพิจารณาอุทธรณใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น สําหรับกระบวนการพิจารณาให
ปฏบิ ตั ิตามบทบญั ญตั ิ หมวด ๒ นี้ เทาทีไ่ มข ัดหรอื แยงกบั กฎหมายดงั กลาว
ÁÒμÃÒ ôøõ คาํ สั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ ไมวาจะจัดตั้งข้ึน
ตามกฎหมายหรือไม ใหคูกรณีมีสิทธิโตแยงตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวย
คณะกรรมการกฤษฎกี าไดท ง้ั ในปญ หาขอ เทจ็ จรงิ และขอ กฎหมาย ภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทไี่ ดร บั แจง
คําสงั่ นน้ั แตถ า คณะกรรมการดงั กลา วเปน คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าท สทิ ธกิ ารอทุ ธรณแ ละกําหนด
เวลาอทุ ธรณ ใหเปนไปตามทบ่ี ญั ญตั ใิ นกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎกี า

๕ มาตรา ๔๘ ยกเลิกโดยผลของมาตรา ๘๗ เน่ืองจากมีการจัดต้ังศาลปกครองแลว โดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

๖๓

ÊÇ‹ ¹·Õè ö
¡ÒÃà¾¡Ô ¶Í¹คําÊÑ§è ·Ò§»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ôù เจา หนา ทหี่ รอื ผบู งั คบั บญั ชาของเจา หนา ทอ่ี าจเพกิ ถอนคาํ สง่ั ทางปกครองได
ตามหลกั เกณฑในมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓ ไมวาจะพนขัน้ ตอนการกาํ หนดใหอุทธรณ
หรือใหโ ตแยงตามกฎหมายน้หี รือกฎหมายอ่นื มาแลวหรือไม
การเพกิ ถอนคําสงั่ ทางปกครองทมี่ ลี กั ษณะเปน การใหป ระโยชนต อ งกระทาํ ภายในเกา สบิ วนั
นับแตไดรูถึงเหตุท่ีจะใหเพิกถอนคาํ สั่งทางปกครองนั้น เวนแตคําส่ังทางปกครองจะไดทําข้ึนเพราะ
การแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซ่ึงควรบอกใหแจงหรือการขมขูหรือการชักจูงใจ
โดยการใหท รพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดที่มชิ อบดวยกฎหมาย
ÁÒμÃÒ õð คําสงั่ ทางปกครองทไี่ มช อบดว ยกฎหมายอาจถกู เพกิ ถอนทงั้ หมดหรอื บางสว น
โดยจะใหมีผลยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหน่ึงตามท่ีกําหนดได
แตถาคําส่ังน้ันเปนคําสั่งซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตามบทบัญญัติ
มาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒
ÁÒμÃÒ õñ การเพกิ ถอนคาํ สง่ั ทางปกครองทไี่ มช อบดว ยกฎหมายซงึ่ เปน การใหเ งนิ หรอื ให
ทรพั ยส นิ หรอื ใหป ระโยชนท อ่ี าจแบง แยกได ใหค าํ นงึ ถงึ ความเชอื่ โดยสจุ รติ ของผรู บั ประโยชนใ นความคงอยู
ของคําส่งั ทางปกครองน้นั กบั ประโยชนสาธารณะประกอบกัน
ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหน่ึงจะไดรับความคุมครองตอเมื่อผูรับคําส่ังทางปกครอง
ไดใ ชป ระโยชนอ นั เกดิ จากคาํ สง่ั ทางปกครองหรอื ไดด ําเนนิ การเกยี่ วกบั ทรพั ยส นิ ไปแลว โดยไมอ าจแกไ ข
เปลย่ี นแปลงไดห รือการเปลย่ี นแปลงจะทําใหผูน้นั ตอ งเสยี หายเกนิ ควรแกกรณี
ในกรณีดงั ตอ ไปนี้ ผรู ับคําสัง่ ทางปกครองจะอางความเช่อื โดยสจุ ริตไมได
(๑) ผนู นั้ ไดแ สดงขอ ความอนั เปน เทจ็ หรอื ปกปด ขอ ความจรงิ ซงึ่ ควรบอกใหแ จง หรอื ขม ขู
หรอื ชกั จงู ใจโดยการใหทรพั ยส นิ หรอื ใหประโยชนอนื่ ใดทีม่ ชิ อบดว ยกฎหมาย
(๒) ผนู นั้ ไดใ หข อ ความซงึ่ ไมถ ูกตองหรอื ไมครบถวนในสาระสําคญั
(๓) ผูน้ันไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคําสั่งทางปกครองในขณะไดรับคําสั่งทาง
ปกครองหรอื การไมร นู ัน้ เปน ไปโดยความประมาทเลนิ เลอ อยางรา ยแรง
ในกรณีท่ีเพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคืนเงิน ทรัพยสินหรือประโยชนท่ีผูรับคาํ ส่ัง
ทางปกครองไดไป ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใช
บังคับโดยอนโุ ลม โดยถา เมื่อใดผูรับคาํ สงั่ ทางปกครองไดรูถ งึ ความไมชอบดว ยกฎหมายของคําสัง่ ทาง
ปกครองหรือควรไดรูเชนน้ันหากผูน้ันมิไดประมาทเลินเลออยางรายแรงใหถือวาผูน้ันตกอยูในฐานะ
ไมสุจริตตั้งแตเวลาน้ันเปนตนไป และในกรณีตามวรรคสาม ผูนั้นตองรับผิดในการคืนเงิน ทรัพยสิน
หรอื ประโยชนทไ่ี ดรบั ไปเตม็ จํานวน

๖๔

ÁÒμÃÒ õò คําสง่ั ทางปกครองทไ่ี มช อบดว ยกฎหมายและไมอ ยใู นบงั คบั ของมาตรา ๕๑
อาจถกู เพกิ ถอนทง้ั หมดหรอื บางสว นได แตผ ไู ดร บั ผลกระทบจากการเพกิ ถอนคาํ สง่ั ทางปกครองดงั กลา ว
มสี ทิ ธไิ ดร บั คา ทดแทนความเสยี หายเนอ่ื งจากความเชอ่ื โดยสจุ รติ ในความคงอยขู องคําสง่ั ทางปกครองได
และใหน ําความในมาตรา ๕๑ วรรคหนง่ึ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม แตต อ งรอ งขอ
คา ทดแทนภายในหน่ึงรอ ยแปดสิบวันนับแตไ ดรับแจงใหทราบถึงการเพิกถอนนั้น

คาทดแทนความเสียหายตามมาตราน้ีจะตองไมสูงกวาประโยชนท่ีผูนั้นอาจไดรับ
หากคําสัง่ ทางปกครองดงั กลา วไมถ ูกเพิกถอน

ÁÒμÃÒ õó คําสงั่ ทางปกครองทช่ี อบดว ยกฎหมายซง่ึ ไมเ ปน การใหป ระโยชนแ กผ รู บั คําสงั่
ทางปกครองอาจถกู เพกิ ถอนทง้ั หมดหรอื บางสว นโดยใหม ผี ลตง้ั แตข ณะทเ่ี พกิ ถอนหรอื มผี ลในอนาคต
ไปถงึ ขณะใดขณะหนงึ่ ตามทกี่ าํ หนดได เวน แตเ ปน กรณที ค่ี งตอ งทาํ คาํ สง่ั ทางปกครองทม่ี เี นอื้ หาทาํ นอง
เดยี วกนั นั้นอีก หรือเปนกรณีท่ีการเพิกถอนไมอาจกระทําไดเพราะเหตอุ ่ืน ท้ังนี้ ใหคาํ นงึ ถึงประโยชน
ของบคุ คลภายนอกประกอบดว ย

คาํ ส่ังทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคาํ ส่ังทางปกครอง
อาจถูกเพิกถอนท้ังหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึง
ขณะใดขณะหน่งึ ตามทีก่ ําหนดไดเฉพาะเมือ่ มีกรณีดงั ตอ ไปน้ี

(๑) มกี ฎหมายกําหนดใหเ พกิ ถอนไดห รอื มขี อ สงวนสทิ ธใิ หเ พกิ ถอนไดใ นคําสง่ั ทางปกครอง
น้ันเอง

(๒) คําสั่งทางปกครองน้ันมีขอกาํ หนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติ
ภายในเวลาทก่ี าํ หนด

(๓) ขอเท็จจริงและพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงหากมีขอเท็จจริงและพฤติการณเชนนี้
ในขณะทําคําส่ังทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทําคาํ ส่ังทางปกครองน้ัน และหากไมเพิกถอน
จะกอใหเ กดิ ความเสียหายตอ ประโยชนสาธารณะได

(๔) บทกฎหมายเปลย่ี นแปลงไป ซงึ่ หากมบี ทกฎหมายเชน นใ้ี นขณะทําคาํ สงั่ ทางปกครองแลว
เจาหนาท่ีคงจะไมทาํ คาํ สั่งทางปกครองน้ัน แตการเพิกถอนในกรณีนี้ใหกระทาํ ไดเทาที่ผูรับประโยชน
ยังไมไดใชประโยชน หรือยังไมไดรับประโยชนตามคําส่ังทางปกครองดังกลาว และหากไมเพิกถอน
จะกอใหเกดิ ความเสียหายตอประโยชนส าธารณะได

(๕) อาจเกดิ ความเสยี หายอยา งรา ยแรงตอ ประโยชนส าธารณะหรอื ตอ ประชาชนอนั จาํ เปน
ตอ งปอ งกันหรอื ขจดั เหตุดังกลาว

ในกรณีท่ีมีการเพิกถอนคําสั่งทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (๓) (๔) และ (๕)
ผูไดรับประโยชนมีสิทธิไดรับคาทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเช่ือโดยสุจริตในความคงอยู
ของคาํ สง่ั ทางปกครองได และใหนํามาตรา ๕๒ มาใชบ งั คับโดยอนุโลม

๖๕

คาํ สงั่ ทางปกครองทชี่ อบดว ยกฎหมายซง่ึ เปน การใหเ งนิ หรอื ใหท รพั ยส นิ หรอื ใหป ระโยชน
ที่อาจแบงแยกได อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผลยอนหลัง
หรอื มีผลในอนาคตไปถงึ ขณะใดขณะหนง่ึ ตามที่กาํ หนดไดใ นกรณีดงั ตอ ไปน้ี

(๑) มไิ ดป ฏบิ ตั หิ รอื ปฏบิ ตั ลิ า ชา ในอนั ทจ่ี ะดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องคําสงั่
ทางปกครอง

(๒) ผไู ดร บั ประโยชนม ไิ ดป ฏบิ ตั หิ รอื ปฏบิ ตั ลิ า ชา ในอนั ทจ่ี ะดําเนนิ การใหเ ปน ไปตามเงอ่ื นไข
ของคําสง่ั ทางปกครอง

ทั้งนี้ ใหนําความในมาตรา ๕๑ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม
ʋǹ·èÕ ÷

¡ÒâÍãËŒ¾¨Ô ÒóÒãËÁ‹
ÁÒμÃÒ õô เมอ่ื คกู รณมี คี ําขอ เจา หนา ทอี่ าจเพกิ ถอนหรอื แกไ ขเพม่ิ เตมิ คาํ สงั่ ทางปกครอง
ทีพ่ นกําหนดอุทธรณตามสวนที่ ๕ ไดใ นกรณดี งั ตอไปนี้
(๑) มีพยานหลักฐานใหม อนั อาจทาํ ใหขอ เทจ็ จรงิ ทีฟ่ ง เปน ยตุ แิ ลว นนั้ เปลย่ี นแปลงไปใน
สาระสาํ คัญ
(๒) คูกรณีท่ีแทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาใน
กระบวนการพิจารณาคร้ังกอนแลว แตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสวนรวมในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครอง
(๓) เจา หนาที่ไมมีอํานาจทจี่ ะทาํ คําสั่งทางปกครองในเร่ืองนนั้
(๔) ถาคําส่ังทางปกครองไดออกโดยอาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมา
ขอ เทจ็ จรงิ หรือขอกฎหมายนัน้ เปล่ยี นแปลงไปในสาระสาํ คัญในทางที่จะเปนประโยชนแ กคูกรณี
การยน่ื คําขอตามวรรคหนง่ึ (๑) (๒) หรอื (๓) ใหก ระทาํ ไดเ ฉพาะเมอื่ คกู รณีไมอ าจทราบ
ถึงเหตนุ ้นั ในการพจิ ารณาคร้ังท่ีแลว มากอ นโดยไมใชค วามผิดของผูนัน้
การย่ืนคาํ ขอใหพิจารณาใหมตองกระทาํ ภายในเกาสิบวันนับแตผูนั้นไดรูถึงเหตุซ่ึงอาจ
ขอใหพิจารณาใหมได

๖๖

ʋǹ·Õè ø
¡Òúѧ¤Ñº·Ò§»¡¤Ãͧö
ÁÒμÃÒ õõ÷ (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ õöø (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ õ÷ù (ยกเลกิ )
ÁÒμÃÒ õøñð (ยกเลกิ )
ÁÒμÃÒ õùññ (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ öðñò (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ öññó (ยกเลกิ )
ÁÒμÃÒ öòñô (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ öóñõ (ยกเลิก)

ËÁÇ´ ò/ñ
¡Òú§Ñ ¤Ñº·Ò§»¡¤Ãͧñö

ʋǹ·èÕ ñ
º··ÇèÑ ä»
ÁÒμÃÒ öó/ññ÷ การบังคบั ทางปกครองไมใ ชบงั คบั กับหนว ยงานของรัฐดว ยกนั เวนแต
จะมีกฎหมายกาํ หนดไวเ ปนอยางอ่นื

๖ สวนที่ ๘ การบังคับทางปกครอง มาตรา ๕๕ ถึง มาตรา ๖๓ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗ มาตรา ๕๕ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘ มาตรา ๕๖ ยกเลกิ โดยพระราชบัญญัติวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๙ มาตรา ๕๗ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๐ มาตรา ๕๘ ยกเลิกโดยพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๑ มาตรา ๕๙ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติวิธีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๒ มาตรา ๖๐ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๓ มาตรา ๖๑ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัตวิ ธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๔ มาตรา ๖๒ ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๕ มาตรา ๖๓ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๖ หมวด ๒/๑ การบังคับทางปกครอง มาตรา ๖๓/๑ ถึง มาตรา ๖๓/๒๕ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๗ มาตรา ๖๓/๑ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๖๗

ÁÒμÃÒ öó/òñø เจาหนาท่ีผูทาํ คาํ สั่งทางปกครองมีอํานาจท่ีจะพิจารณาใชมาตรการ
บังคับทางปกครองเพ่ือใหเปนไปตามคําสั่งของตนไดตามบทบัญญัติในหมวดนี้ เวนแตจะมีการส่ังให
ทุเลาการบังคับไวกอนโดยเจาหนาท่ีผูทาํ คําส่ังน้ันเอง ผูมีอํานาจพิจารณาคาํ อุทธรณ หรือผูมีอาํ นาจ
พจิ ารณาวินิจฉัยความถูกตอ งของคําสง่ั ทางปกครองดงั กลา ว

เจา หนา ทตี่ ามวรรคหนง่ึ จะมอบอํานาจใหเ จา หนา ทซ่ี งึ่ อยใู ตบ งั คบั บญั ชาหรอื เจา หนา ทอ่ี นื่
เปน ผูดาํ เนินการก็ไดต ามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

ใหเ จา หนา ทต่ี ามวรรคหนงึ่ หรอื วรรคสองใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองเพยี งเทา ทจี่ าํ เปน
เพื่อใหบรรลตุ ามวัตถุประสงคของคาํ ส่งั ทางปกครอง โดยกระทบกระเทอื นผูอยใู นบังคบั ของคาํ สง่ั ทาง
ปกครองนอยทสี่ ดุ

ÁÒμÃÒ öó/óñù ถา บทกฎหมายใดกาํ หนดมาตรการบงั คบั ทางปกครองไวโ ดยเฉพาะแลว
หากเจา หนา ทเี่ หน็ วา การใชม าตรการบงั คบั นนั้ จะเกดิ ผลนอ ยกวา มาตรการบงั คบั ตามหมวดนี้ เจา หนา ที่
จะใชมาตรการบงั คับทางปกครองตามหมวดน้แี ทนกไ็ ด

ÁÒμÃÒ öó/ôòð ในการใชม าตรการบังคับทางปกครองแกบุคคลใด หากบุคคลน้นั ถึงแก
ความตาย ใหด ําเนนิ การบงั คบั ทางปกครองตอ ไปได ถา บคุ คลนนั้ มที ายาทผรู บั มรดกหรอื ผจู ดั การมรดก
ใหถือวา ทายาทผูรบั มรดกหรือผจู ัดการมรดกเปนผอู ยูในบังคับของมาตรการบงั คับทางปกครองนัน้

ในกรณีที่ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตาย ใหแจงมาตรการบังคับทาง
ปกครองไปยงั ทายาทผรู บั มรดกหรอื ผจู ดั การมรดก แลว แตก รณี โดยใหร ะยะเวลาอทุ ธรณก ารใชม าตรการ
บังคบั ทางปกครองเร่ิมนบั ใหมต้ังแตวันทท่ี ายาทผูรบั มรดกหรือผูจ ัดการมรดกไดร ับแจง เม่อื ปรากฏวา

(๑) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายกอนสิ้นสุดระยะเวลาอุทธรณ
การใชม าตรการบังคับทางปกครองและไมไ ดยื่นอุทธรณการใชมาตรการบงั คับทางปกครอง

(๒) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายหลังสิ้นสุดระยะเวลาอุทธรณ
การใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองและไมไ ดย นื่ อทุ ธรณก ารใชม าตรการบงั คบั ทางปกครอง เนอื่ งจากมี
พฤติการณท จ่ี าํ เปนอนั มไิ ดเ กิดจากความผิดของผูน น้ั

ในกรณีท่ีเปนการใชมาตรการบังคับทางปกครองแกนิติบุคคลใด หากนิติบุคคลน้ัน
สน้ิ สภาพ โอนกจิ การ หรอื ควบรวมกจิ การ ใหด าํ เนนิ การบงั คบั ทางปกครองตอ ไปได โดยใหแ จง มาตรการ
บังคับทางปกครองไปยังผูชาํ ระบัญชี หรือนิติบุคคลที่รับโอนกิจการหรือเกิดจากการควบรวมกิจการ
แลวแตกรณี ทั้งนี้ โดยไมจาํ ตองออกคาํ ส่ังทางปกครองใหมแกบุคคลหรือนิติบุคคลดังกลาวอีก
และใหนําหลกั เกณฑเร่อื งระยะเวลาในการอทุ ธรณตามวรรคสองมาใชบงั คับดวยโดยอนุโลม

๑๘ มาตรา ๖๓/๒ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๑๙ มาตรา ๖๓/๓ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๐ มาตรา ๖๓/๔ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๖๘

ÁÒμÃÒ öó/õòñ ในกรณที บ่ี ทบญั ญตั ใิ นหมวดนหี้ รอื กฎหมายอน่ื มไิ ดก ําหนดเปน อยา งอนื่
ผูอ ยูใ นบงั คับของมาตรการบงั คบั ทางปกครองอาจอทุ ธรณก ารใชมาตรการบังคบั ทางปกครองนนั้ ได

การอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครองใหใชหลักเกณฑและวิธีการเดียวกับการ
อุทธรณคาํ สง่ั ทางปกครองตามสวนท่ี ๕ การอทุ ธรณค ําสงั่ ทางปกครอง ในหมวด ๒ คําสง่ั ทางปกครอง

ÁÒμÃÒ öó/öòò บทบญั ญตั ใิ นหมวดนมี้ ใิ หใ ชบ งั คบั กบั การบงั คบั ตามคาํ สงั่ ทางปกครอง
ท่ีกาํ หนดใหชาํ ระเงินหรือใหกระทําหรือละเวนกระทําในกรณีที่หนวยงานของรัฐไดฟองคดีตอศาลและ
ศาลไดม คี าํ พิพากษาใหช ําระเงนิ หรอื ใหก ระทาํ หรือละเวน กระทาํ แลว

เมื่อศาลไดรับฟองคดีตามวรรคหนึ่งไวแลว หามมิใหเจาหนาที่ดําเนินการตามสวนท่ี ๒
การบงั คบั ตามคาํ สงั่ ทางปกครองทกี่ ําหนดใหช ําระเงนิ และสว นท่ี ๓ การบงั คบั ตามคาํ สงั่ ทางปกครองที่
กําหนดใหก ระทาํ หรอื ละเวน กระทาํ เวน แตจ ะไดม กี ารถอนฟอ ง หรอื ศาลมคี ําสง่ั จําหนา ยคดจี ากสารบบ
ความเพราะเหตอุ ่ืน ท้ังน้ี ไมก ระทบตอการดําเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครองท่เี จาหนา ทไี่ ด
ดาํ เนนิ การไปกอ นทีศ่ าลไดร ับฟอ งคดี และใหเจาหนา ทีด่ ําเนินการตามมาตรการบงั คับทางปกครองใน
สวนนัน้ ตอไปจนแลว เสรจ็

ÊÇ‹ ¹·Õè ò
¡Òúѧ¤ºÑ μÒÁคําÊè§Ñ ·Ò§»¡¤Ãͧ·Õèกํา˹´ãËชŒ าํ ÃÐà§Ô¹
ñ. ¡Òúѧ¤ºÑ â´Âà¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè¢Í§Ë¹‹Ç§ҹ¢Í§Ã°Ñ
ÁÒμÃÒ öó/÷òó ในกรณีที่เจาหนาท่ีมีคาํ สั่งทางปกครองท่ีกาํ หนดใหชาํ ระเงิน ถาถึง
กาํ หนดแลวไมมีการชาํ ระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่ผูทําคาํ สั่งทางปกครองมีหนังสือเตือน
ใหผูน้ันชาํ ระภายในระยะเวลาที่กาํ หนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมีการปฏิบัติตามคาํ เตือน
เจา หนา ทม่ี อี าํ นาจใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองโดยยดึ หรอื อายดั ทรพั ยส นิ ของผนู น้ั และขายทอดตลาด
เพ่อื ชําระเงินใหค รบถวนได
ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหนึ่ง ใหแตงตั้งเจาพนักงานบังคับทาง
ปกครองเพือ่ ดําเนนิ การยึดหรืออายัดและขายทอดตลาดทรพั ยส นิ ตอไป
เจาหนาท่ีผูออกคําส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครอง และการแตงตั้งเจาพนักงานบังคับ
ทางปกครอง ใหเปน ไปตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

๒๑ มาตรา ๖๓/๕ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๒ มาตรา ๖๓/๖ เพิม่ โดยพระราชบัญญัติวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๓ มาตรา ๖๓/๗ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัติวิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๖๙

ÁÒμÃÒ öó/øòô หนว ยงานของรฐั ทอ่ี อกคาํ สัง่ ใหชาํ ระเงนิ ตอ งดําเนนิ การยึดหรืออายัด
ทรัพยสนิ ภายในสิบปน บั แตว ันทค่ี าํ ส่ังทางปกครองทีก่ ําหนดใหช ําระเงินเปน ทีส่ ดุ

คาํ สัง่ ทางปกครองทกี่ ําหนดใหช ําระเงินเปนที่สดุ ในกรณดี ังตอไปนี้
(๑) ไมม ีการอทุ ธรณค ําสั่งตอเจาหนา ทฝี่ ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ
(๒) เจาหนาท่ีผูมีอาํ นาจพิจารณาอุทธรณมีคาํ วินิจฉัยยกอุทธรณ และไมมีการฟองคดี
ตอ ศาลภายในระยะเวลาการฟอ งคดี
(๓) ศาลมีคําสงั่ หรอื คําพพิ ากษายกฟอ ง หรือเพกิ ถอนคําสงั่ บางสว น และคดถี ึงทสี่ ุดแลว
หากหนว ยงานของรฐั ทอ่ี อกคาํ สงั่ ใหช ําระเงนิ ไดย ดึ หรอื อายดั ทรพั ยส นิ แลว แตย งั ไมไ ดร บั
ชาํ ระเงนิ ครบถวน และลว งพนกําหนดเวลาตามวรรคหนึง่ จะยดึ หรืออายดั ทรัพยสนิ เพมิ่ เตมิ อกี มิได
การขายทอดตลาดหรอื จําหนา ยโดยวธิ อี นื่ ซง่ึ ทรพั ยส นิ ของผอู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั
ทางปกครองทถี่ กู ยดึ หรอื อายดั ไวภ ายในกําหนดเวลาตามวรรคหนง่ึ เพอื่ ชาํ ระเงนิ รวมทงั้ คา ธรรมเนยี ม
คาตอบแทน หรือคาใชจา ยอน่ื ในการบงั คับทางปกครอง ใหก ระทําไดแมล ว งพน ระยะเวลาดงั กลาว
ÁÒμÃÒ öó/ùòõ กรณีท่ีมีการอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครองและขอทุเลา
การบังคับตามมาตรการดังกลาว เจา หนาท่ผี อู อกคาํ สั่งใชมาตรการบังคับทางปกครอง หรือผมู อี าํ นาจ
พจิ ารณาคําอทุ ธรณ อาจสงั่ ใหม กี ารทเุ ลาการบงั คบั ทางปกครองไวก อ นกไ็ ด โดยมอี าํ นาจกาํ หนดเงอ่ื นไข
ใหผอู ยูใ นบงั คับของมาตรการบงั คับทางปกครองตองปฏบิ ัตดิ วยกไ็ ด
ÁÒμÃÒ öó/ñðòö เพ่ือประโยชนในการบังคับทางปกครอง ใหเจาหนาที่ผูออกคําสั่งใช
มาตรการบงั คบั ทางปกครองมอี าํ นาจ
(๑) มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงิน สหกรณออมทรัพย สหกรณเครดิตยูเนียน
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรมที่ดิน กรมการขนสงทางบก กรมทรัพยสินทางปญญา หรือ
หนวยงานอื่นของรัฐที่มีหนาที่ควบคุมทรัพยสินที่มีทะเบียน เก่ียวกับทรัพยสินของผูอยูในบังคับ
ของมาตรการบงั คบั ทางปกครอง
(๒) มหี นงั สอื ขอใหน ายทะเบียน พนกั งานเจา หนา ที่ หรือบคุ คลอนื่ ผูม อี ํานาจหนา ท่ีตาม
กฎหมาย ระงบั การจดทะเบยี นหรอื แกไ ขเปลยี่ นแปลงทางทะเบยี นทเ่ี กย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ของผอู ยใู นบงั คบั
ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองไวเ ปน การชวั่ คราวเทา ทจี่ าํ เปน เนอ่ื งจากมเี หตขุ ดั ขอ งทที่ ําใหไ มอ าจยดึ
หรอื อายดั ทรพั ยส นิ ไดท นั ที และเมอื่ เหตขุ ดั ขอ งสน้ิ สดุ ลงใหแ จง ยกเลกิ หนงั สอื ดงั กลา ว ทง้ั น้ี ตอ งปฏบิ ตั ิ
ตามหลักเกณฑเกี่ยวกับการระงับการจดทะเบียนหรือแกไขเปล่ียนแปลงทางทะเบียนตามกฎหมาย
วาดว ยการน้นั

๒๔ มาตรา ๖๓/๘ เพิม่ โดยพระราชบัญญัตวิ ธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๕ มาตรา ๖๓/๙ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๖ มาตรา ๖๓/๑๐ เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั วิ ิธปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๐

หนว ยงานตาม (๑) ทใ่ี หข อมลู แกเ จาหนาท่ีผอู อกคําสัง่ ใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองใน
การดําเนินการตาม (๑) ใหถือวาไมเปนความผิดตามกฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมาย
วา ดวยหลกั ทรัพยและตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอื่น

ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือของเจาหนาที่ผูออกคําสั่งใชมาตรการบังคับทางปกครองตาม
วรรคหน่ึงโดยไมมีเหตุผลอันสมควร ผูน้ันมีความผิดฐานขัดคาํ ส่ังเจาพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา

ÁÒμÃÒ öó/ññò÷ ในการสืบหาทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทาง
ปกครอง หนว ยงานของรฐั ทอี่ อกคําสงั่ ใหช ําระเงนิ อาจรอ งขอใหส ํานกั งานอยั การสงู สดุ หรอื หนว ยงานอน่ื
ดาํ เนินการสืบหาทรัพยสินแทนได โดยใหห นวยงานดงั กลาวมอี ํานาจตามมาตรา ๖๓/๑๐ ดวย

ในกรณีที่หนวยงานของรัฐที่ออกคาํ ส่ังใหชําระเงินไมมีเจาหนาท่ีในการดําเนินการสืบหา
ทรพั ยส นิ และหากจาํ นวนเงนิ ทต่ี อ งชําระตามมาตรการบงั คบั ทางปกครองนน้ั มมี ลู คา ตง้ั แตส องลา นบาท
ข้ึนไปหรือตามมูลคาที่กําหนดเพิ่มขึ้นโดยกฎกระทรวง หนวยงานของรัฐอาจมอบหมายใหเอกชน
สืบหาทรพั ยส นิ แทนได

ใหเ อกชนทส่ี บื พบทรพั ยส นิ ไดร บั คา ตอบแทนไมเ กนิ รอ ยละสองครงึ่ จากเงนิ หรอื ทรพั ยส นิ
ท่ไี ดม าจากการยึด อายัด หรอื ขายทอดตลาดทรัพยส นิ ทสี่ บื พบได ทง้ั น้ี จํานวนเงินคาตอบแทนสงู สดุ
ตองไมเกินหน่ึงลานบาทตอจาํ นวนเงินที่ตองชําระตามคาํ ส่ังทางปกครองในเรื่องนั้น หรือตามจํานวน
ทีก่ าํ หนดเพิ่มข้ึนโดยกฎกระทรวง

หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคดั เลือกเอกชนทีส่ บื หาทรพั ยสิน การกาํ หนดคาตอบแทน และวิธี
การจา ยคา ตอบแทนตามวรรคสาม ใหเ ปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

ÁÒμÃÒ öó/ñòòø ขนั้ ตอนและวธิ ปี ฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การยดึ การอายดั และการขายทอดตลาด
ทรัพยสินใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง ในกรณีที่กฎกระทรวงไมไดกาํ หนดเร่ืองใดไว
ใหน าํ บทบัญญัตใิ นประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพงมาใชบ ังคับโดยอนุโลม โดยใหถอื วา

(๑) เจา หน้ตี ามคําพพิ ากษา หมายถึง หนวยงานของรัฐทีอ่ อกคาํ สงั่ ใหช าํ ระเงิน
(๒) ลูกหนต้ี ามคําพิพากษา หมายถงึ ผูอยูใ นบงั คับของมาตรการบังคับทางปกครอง
(๓) อํานาจของศาลในสว นทเี่ กย่ี วกบั การบงั คบั คดี เปน อาํ นาจของหวั หนา หนว ยงานของรฐั
ท้ังนี้ ตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง
(๔) เจาพนกั งานบังคบั คดี หมายถงึ เจา พนักงานบังคบั ทางปกครอง
ÁÒμÃÒ öó/ñóòù การโตแยงหรือการใชสิทธิทางศาลเก่ียวกับการยึด การอายัด และ
การขายทอดตลาดทรัพยส นิ โดยผอู ยูใ นบังคับของมาตรการบงั คับทางปกครอง รวมทงั้ บคุ คลภายนอก
ผูมสี ว นไดเ สียเก่ยี วกับทรัพยสนิ ทีถ่ กู ยดึ หรืออายัด ใหเสนอตอ ศาล ดังตอ ไปนี้

๒๗ มาตรา ๖๓/๑๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๘ มาตรา ๖๓/๑๒ เพ่ิมโดยพระราชบัญญตั วิ ิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๙ มาตรา ๖๓/๑๓ เพิม่ โดยพระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๑

(๑) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ
ศาลเยาวชนและครอบครัว หรือศาลชาํ นัญพิเศษอื่น แลวแตกรณี ซ่ึงเปนศาลท่ีมีเขตอํานาจ
ในการพจิ ารณาพิพากษาคดีเกย่ี วกบั คาํ สัง่ ทม่ี ีการบงั คับทางปกครองน้นั

(๒) ศาลปกครอง สาํ หรับกรณอี น่ื ทไี่ มอยูภายใตบังคบั (๑)
ÁÒμÃÒ öó/ñôóð กรณที เี่ จา หนต้ี ามคาํ พพิ ากษาในคดอี น่ื ไดม กี ารยดึ ทรพั ยส นิ หรอื อายดั
สทิ ธเิ รยี กรอ งอนื่ ใดของผอู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองเพอ่ื นาํ เงนิ มาชําระตามคําพพิ ากษา
ใหหนว ยงานของรัฐที่ออกคาํ สง่ั ใหชาํ ระเงินมีสทิ ธขิ อเขาเฉล่ยี ไดเชน เดยี วกับเจา หนต้ี ามคาํ พิพากษา

ò. ¡Òú§Ñ ¤ºÑ â´Â਌Ҿ¹¡Ñ §Ò¹º§Ñ ¤ºÑ ¤´Õ
ÁÒμÃÒ öó/ñõóñ ในกรณีที่มีการบังคับใหชําระเงินและคําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดให
ชําระเงินเปนท่ีสุดแลว หากหนวยงานของรัฐที่ออกคาํ ส่ังใหชาํ ระเงินประสงคใหเจาพนักงานบังคับคดี
ในสังกดั กรมบังคบั คดีดาํ เนินการบังคับใหเปน ไปตามคําสั่งทางปกครองดงั กลาว ใหย ืน่ คาํ ขอฝายเดียว
ตอศาลภายในสบิ ปน ับแตว ันทคี่ าํ สั่งทางปกครองท่กี ําหนดใหชาํ ระเงนิ เปนท่ีสุด เพือ่ ใหศาลออกหมาย
บงั คบั คดเี พอื่ บงั คบั ใหเ ปน ไปตามคําสงั่ ทางปกครองนนั้ โดยระบจุ าํ นวนเงนิ ทผี่ อู ยใู นบงั คบั ของมาตรการ
บังคับทางปกครองยังมิไดชําระตามคําสั่งทางปกครอง ทั้งน้ี ไมวาหนวยงานของรัฐยังไมไดบังคับ
ทางปกครองหรือไดดําเนินการบังคับทางปกครองแลว แตยังไมไดรับชําระเงินหรือไดรับชาํ ระเงิน
ไมครบถวน
เมอ่ื หนว ยงานของรฐั ยน่ื คาํ ขอตามวรรคหนง่ึ ถา ศาลเหน็ วา คาํ สงั่ ทางปกครองทกี่ าํ หนดให
ชาํ ระเงนิ เปน ทส่ี ดุ แลว ใหศ าลออกหมายบงั คบั คดตี งั้ เจา พนกั งานบงั คบั คดแี ละแจง ใหเ จา พนกั งานบงั คบั คดี
ทราบเพื่อดําเนินการตอไป โดยใหถือวาหนวยงานของรัฐที่ออกคาํ ส่ังใหชาํ ระเงินเปนเจาหน้ีตาม
คาํ พพิ ากษา และใหถ อื วาผูอยูใ นบังคบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองเปนลูกหน้ตี ามคาํ พิพากษา
เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีแลว ใหหนวยงานของรัฐติดตอกรมบังคับคดี พรอมท้ังมี
หนังสือแจงใหผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองทราบวาศาลไดตั้งเจาพนักงานบังคับคดี
เพอื่ ดาํ เนินการบงั คบั คดแี ลว
เพอื่ ประโยชนใ นการบงั คบั คดตี ามวรรคหนง่ึ ใหถ อื วา ศาลจงั หวดั ศาลแพง ศาลแพง กรงุ เทพใต
ศาลแพง ธนบรุ ี หรอื ศาลแพงอ่ืนในกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี ท่ีผูอยูในบงั คบั ของมาตรการบงั คบั
ทางปกครองมีภูมิลาํ เนาอยูในเขตศาล หรือท่ีทรัพยสินที่ถูกบังคับทางปกครองน้ันต้ังอยูในเขตศาล
มีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาด หรือทําคําส่ังในเร่ืองใด ๆ อันเกี่ยวดวยการบังคับคดี และเปนศาลที่มีอาํ นาจ
ในการบังคับคดี

๓๐ มาตรา ๖๓/๑๔ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏิบตั ิราชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๑ มาตรา ๖๓/๑๕ เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั วิ ธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๒

กรณีคาํ ขอซึ่งอาจย่ืนตอศาลไดมากกวาหน่ึงศาล ไมวาจะเปนเพราะภูมิลําเนาของผูอยู
ในบังคับของมาตรการบงั คบั ทางปกครองกด็ ี เพราะที่ต้ังของทรัพยสนิ ท่ถี กู บังคบั ทางปกครองกด็ ี หรอื
เพราะมผี อู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองหลายคนในมลู หนท้ี เี่ กยี่ วขอ งกนั กด็ ี จะยนื่ คําขอ
ตอศาลใดศาลหน่ึงเชน วา นัน้ ก็ได

หนวยงานของรฐั ตามมาตราน้ี หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรอื สวนราชการท่ี
เรยี กชอื่ อยา งอนื่ และมฐี านะเปน กรม ราชการสว นภมู ภิ าค ราชการสว นทอ งถน่ิ และหนว ยงานอน่ื ของรฐั
ตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง

ÁÒμÃÒ öó/ñöóò ในกรณีท่ีคาํ ส่ังทางปกครองท่ีกําหนดใหชาํ ระเงินเปนท่ีสุดแลว และ
ตอมาผูอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครองขอใหพิจารณาคาํ สั่งทางปกครองที่เปนที่สุดแลวน้ันใหม
หรือฟองคดีตอศาลเพ่ือใหพิจารณาเก่ียวกับคําสั่งทางปกครองที่เปนที่สุดแลวน้ันใหม หรือขอใหศาล
พิจารณาคดีใหมและหนวยงานของรัฐที่ออกคําส่ังใหชําระเงินหรือศาลมีคาํ ส่ังใหรับคําขอหรือไดรับ
คําฟอ งไวพ จิ ารณา ผอู ยใู นบงั คบั ของคําสง่ั ทางปกครองอาจยน่ื คาํ รอ งตอ ศาลทม่ี อี ํานาจในการออกหมาย
บงั คบั คดตี ามมาตรา ๖๓/๑๕ เพอ่ื ขอใหส งั่ งดการบงั คบั คดไี วก อ น หากศาลพจิ ารณาคํารอ งแลว มคี ําสง่ั
ใหงดการบังคับคดี ใหศาลสงคาํ ส่ังนั้นไปใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบ และใหเจาพนักงานบังคับคดี
งดการบงั คบั คดไี วภ ายในระยะเวลาหรอื เงอ่ื นไขตามทศี่ าลกําหนด รวมทง้ั สง คาํ บอกกลา วงดการบงั คบั คดี
ใหหนว ยงานของรัฐท่อี อกคาํ ส่งั ใหช ําระเงินและบุคคลภายนอกผูมีสว นไดเสียทราบโดยไมช ักชา

ถา หนว ยงานของรฐั ทอี่ อกคาํ สง่ั ใหช าํ ระเงนิ ยน่ื คาํ รอ งวา อาจไดร บั ความเสยี หายจากการยนื่
คาํ รองตามวรรคหนึ่งและมีพยานหลักฐานเบ้ืองตนแสดงวาคํารองนั้นไมมีมูลและยื่นเขามาเพ่ือประวิง
การบงั คบั คดี ศาลมอี าํ นาจสัง่ ใหผอู ยใู นบังคับของคําสั่งทางปกครองวางเงินหรอื หาประกันตามทศี่ าล
เหน็ สมควรภายในระยะเวลาทศี่ าลจะกําหนด เพอื่ เปน ประกนั การชําระคา สนิ ไหมทดแทนแกห นว ยงาน
ของรฐั สาํ หรบั ความเสยี หายทอ่ี าจไดร บั เนอื่ งจากเหตเุ นนิ่ ชา ในการบงั คบั คดอี นั เกดิ จากการยน่ื คํารอ งนนั้
หรือกําหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุมครองอยางใด ๆ ตามท่ีเห็นสมควรก็ได ถาผูอยูในบังคับของคาํ ส่ัง
ทางปกครองไมปฏบิ ตั ิตามคาํ สั่งศาล ใหศ าลสง่ั ใหด ําเนนิ การบงั คบั คดตี อ ไป

ในกรณตี ามวรรคหนงึ่ หากหนว ยงานของรฐั ทอี่ อกคําสงั่ ใหช ําระเงนิ หรอื ศาลทม่ี เี ขตอํานาจ
ในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดเี กย่ี วกบั คําสงั่ ทางปกครองทกี่ ําหนดใหช ําระเงนิ ไดม คี ําสง่ั ใหท บทวนคาํ สง่ั
ทางปกครองทเี่ ปน ทสี่ ดุ นนั้ ใหม ใหห นว ยงานของรฐั ทอี่ อกคําสงั่ ใหช ําระเงนิ ยน่ื คาํ รอ งตอ ศาลทม่ี อี าํ นาจ
ออกหมายบังคับคดีตามมาตรา ๖๓/๑๕ เพื่อเพิกถอนการบังคับคดีท่ีไดดาํ เนินการไปแลว ในกรณีท่ี
ศาลเห็นวาเปนการพนวิสัยท่ีจะใหคูความกลับสูฐานะเดิม หรือเมื่อศาลเห็นวาไมจําเปนที่จะบังคับ
ใหเปนไปตามหมายบังคับคดีตอไป เพื่อประโยชนแกคูความหรือบุคคลภายนอก ใหศาลมีอํานาจส่ัง
อยา งใด ๆ ตามท่ีศาลเห็นสมควร และแจง ใหเ จา พนกั งานบงั คบั คดที ราบ

๓๒ มาตรา ๖๓/๑๖ เพิม่ โดยพระราชบัญญตั ิวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๓

ÁÒμÃÒ öó/ñ÷óó เพื่อประโยชนในการบังคับคดี ใหนาํ ความในมาตรา ๖๓/๑๐ และ
มาตรา ๖๓/๑๑ มาใชบังคับกับการสืบหาทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
ดว ย

ÁÒμÃÒ öó/ñøóô หนวยงานของรัฐท่ีออกคําสั่งใหชําระเงินตองดําเนินการสืบทรัพย
แลวแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบพรอมเอกสารหลักฐานท่ีเก่ียวของเพ่ือใหเจาพนักงานบังคับคดี
ดาํ เนินการเพ่ือใหมีการยึดหรืออายัดทรัพยสินภายในสิบปนับแตวันที่คาํ ส่ังทางปกครองท่ีกําหนด
ใหชาํ ระเงนิ เปน ท่ีสุด และใหน าํ ความในมาตรา ๖๓/๘ วรรคสามและวรรคสี่ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

มใิ หน าํ ระยะเวลาระหวา งการงดการบงั คบั คดตี ามคาํ สง่ั ศาลตามมาตรา ๖๓/๑๖ วรรคหนงึ่
มานบั รวมในระยะเวลาสบิ ปตามวรรคหน่ึง

ÁÒμÃÒ öó/ñùóõ เม่ือศาลออกหมายบังคับคดีและแตงตั้งเจาพนักงานบังคับคดีแลว
การดาํ เนินการบังคับใหเปนไปตามคําสั่งทางปกครองที่กําหนดใหชาํ ระเงิน ใหเปนไปตามประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง

ʋǹ·Õè ó
¡Òúѧ¤ºÑ μÒÁคําÊÑ§è ·Ò§»¡¤Ãͧ·èÕกาํ ˹´ãË¡Œ ÃÐทาํ ËÃÍ× ÅÐàǹŒ ¡ÃÐทาํ
ÁÒμÃÒ öó/òðóö ในสวนนี้
“คา ปรบั บงั คบั การ” หมายความวา คา ปรบั ทเ่ี จา หนา ทส่ี งั่ ใหผ ทู ฝี่ า ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั
ทางปกครองทก่ี ําหนดใหก ระทําหรอื ละเวน กระทาํ ชําระเปน รายวนั ไปจนกวา จะยตุ กิ ารฝา ฝน คาํ สง่ั หรอื
ไดม ีการปฏิบตั ิตามคาํ สง่ั แลว ไมวาจะเปนคาปรบั ท่ีกําหนดโดยพระราชบัญญตั นิ หี้ รอื โดยกฎหมายอื่น
ÁÒμÃÒ öó/òñó÷ คาํ สั่งทางปกครองท่ีกําหนดใหกระทาํ หรือละเวนกระทาํ ถาผูอยูใน
บังคับของคาํ ส่ังทางปกครองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม เจาหนาท่ีอาจใชมาตรการบังคับทางปกครอง
อยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอ ไปน้ี
(๑) เจาหนาท่ีเขาดาํ เนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทาํ การแทน
โดยผอู ยใู นบงั คบั ของคาํ สงั่ ทางปกครองจะตอ งชดใชค า ใชจ า ยและเงนิ เพมิ่ รายวนั ในอตั รารอ ยละยส่ี บิ หา
ตอ ปข องคาใชจายดังกลา วแกห นว ยงานของรฐั ทเ่ี จา หนาทีน่ ั้นสงั กัด
(๒) ใหม กี ารชําระคา ปรบั บงั คบั การตามจาํ นวนทสี่ มควรแกเ หตแุ ตต อ งไมเ กนิ หา หมนื่ บาท
ตอวัน

๓๓ มาตรา ๖๓/๑๗ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๔ มาตรา ๖๓/๑๘ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๕ มาตรา ๖๓/๑๙ เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๖ มาตรา ๖๓/๒๐ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั ิวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๗ มาตรา ๖๓/๒๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๔

เจาหนาท่ีระดับใดมีอาํ นาจกาํ หนดคาปรับบังคับการจํานวนเทาใด สําหรับในกรณีใด
ใหเ ปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

ในกรณีท่ีมีความจําเปนท่ีจะตองบังคับการโดยเรงดวนเพ่ือปองกันมิใหมีการกระทําท่ีขัด
ตอกฎหมายที่มีโทษทางอาญาหรือมิใหเกิดความเสียหายตอประโยชนสาธารณะ เจาหนาท่ีอาจใช
มาตรการบังคับทางปกครองโดยไมตองออกคําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดใหกระทําหรือละเวนกระทํา
กอนก็ได แตท้ังนี้ ตอ งกระทาํ โดยสมควรแกเหตุและภายในขอบเขตอํานาจหนาท่ขี องตน

ÁÒμÃÒ öó/òòóø กอ นใชมาตรการบังคบั ทางปกครองตามมาตรา ๖๓/๒๑ เจา หนา ที่
จะตอ งมคี ําเตอื นเปน หนงั สอื ใหม กี ารกระทําหรอื ละเวน กระทาํ ตามคาํ สง่ั ทางปกครองภายในระยะเวลา
ทกี่ ําหนดตามสมควรแกกรณี คําเตือนดงั กลา วจะกําหนดไปพรอ มกบั คาํ สั่งทางปกครองก็ได

คําเตอื นน้นั จะตอ งระบุ
(๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใชใหชัดแจง แตจะกําหนดมากกวาหน่ึงมาตรการ
ในคราวเดียวกนั ไมได
(๒) คา ใชจ า ยและเงนิ เพม่ิ รายวนั ในการทเ่ี จา หนา ทเี่ ขา ดําเนนิ การดว ยตนเองหรอื มอบหมาย
ใหบุคคลอื่นกระทาํ การแทน หรือจาํ นวนคา ปรบั บังคับการ แลว แตกรณี
การกําหนดคา ใชจ า ยในคําเตอื น ไมเ ปน การตดั สทิ ธทิ จ่ี ะเรยี กคา ใชจ า ยเพม่ิ ขนึ้ หากจะตอ ง
เสยี คา ใชจ ายจรงิ มากกวาท่ีไดกาํ หนดไว
ÁÒμÃÒ öó/òóóù เจาหนาท่ีจะตองใชมาตรการบังคับทางปกครองตามที่กําหนดไว
ในคาํ เตือนตามมาตรา ๖๓/๒๒ การเปลี่ยนแปลงมาตรการจะกระทําไดก็ตอเมื่อปรากฏวามาตรการ
ที่กาํ หนดไวไมบ รรลุตามวตั ถุประสงค
ถา ผอู ยใู นบงั คบั ของคําสงั่ ทางปกครองตอ สขู ดั ขวางการบงั คบั ทางปกครอง เจา หนา ทอ่ี าจใช
กําลงั เขา ดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหเ ปน ไปตามมาตรการบงั คบั ทางปกครองได แตต อ งกระทาํ โดยสมควรแกเ หตุ
ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เจาหนาที่อาจแจงขอ
ความชว ยเหลอื จากเจาพนกั งานตํารวจได
ÁÒμÃÒ öó/òôôð ในกรณไี มม กี ารชําระคา ปรบั บงั คบั การ คา ใชจ า ย หรอื เงนิ เพมิ่ รายวนั
โดยถูกตอ งครบถวน ใหเ จา หนา ทีด่ ําเนินการบงั คบั ทางปกครองตามสวนที่ ๒ ตอไป
ÁÒμÃÒ öó/òõôñ การฟอ งคดโี ตแ ยง การบงั คบั ทางปกครองตามสว นน้ี ใหเ สนอตอ ศาล
ทมี่ เี ขตอาํ นาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดีเกีย่ วกบั คําส่งั ทม่ี กี ารบังคับทางปกครองนั้น

๓๘ มาตรา ๖๓/๒๒ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๓๙ มาตรา ๖๓/๒๓ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๔๐ มาตรา ๖๓/๒๔ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
๔๑ มาตรา ๖๓/๒๕ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๕

ËÁÇ´ ó
ÃÐÂÐàÇÅÒáÅÐÍÒÂ¤Ø ÇÒÁ
ÁÒμÃÒ öô กาํ หนดเวลาเปน วนั สปั ดาห เดอื น หรอื ปน น้ั มใิ หน บั วนั แรกแหง ระยะเวลานนั้
รวมเขาดวย เวนแตจ ะไดเ รม่ิ การในวนั นน้ั หรอื มีการกําหนดไวเปนอยา งอน่ื โดยเจาหนา ท่ี
ในกรณีท่ีเจาหนาที่มีหนาท่ีตองกระทาํ การอยางหน่ึงอยางใดภายในระยะเวลาที่กําหนด
ใหนบั วนั ส้ินสดุ ของระยะเวลาน้ันรวมเขา ดว ยแมว าวันสุดทา ยเปนวันหยดุ ทําการงานสาํ หรับเจาหนาที่
ในกรณีที่บุคคลใดตองทําการอยางหน่ึงอยางใดภายในระยะเวลาที่กําหนดโดยกฎหมาย
หรือโดยคาํ สั่งของเจาหนาที่ ถาวันสุดทายเปนวันหยุดทาํ การงานสําหรับเจาหนาท่ีหรือวันหยุดตาม
ประเพณีของบุคคลผูรับคาํ สั่ง ใหถือวาระยะเวลานั้นสิ้นสุดในวันทํางานท่ีถัดจากวันหยุดน้ัน เวนแต
กฎหมายหรอื เจา หนา ทที่ ี่มคี ําสัง่ จะกาํ หนดไวเ ปนอยางอื่น
ÁÒμÃÒ öõ ระยะเวลาที่กําหนดไวในคาํ สั่งของเจาหนาท่ีอาจมีการขยายอีกได และ
ถา ระยะเวลานน้ั ไดส น้ิ สดุ ลงแลว เจา หนา ทอ่ี าจขยายโดยกาํ หนดใหม ผี ลยอ นหลงั ไดเ ชน กนั ถา การสน้ิ สดุ
ตามระยะเวลาเดมิ จะกอใหเกิดความไมเ ปนธรรมท่ีจะใหส ิน้ สุดลงตามนั้น
ÁÒμÃÒ öö ในกรณที ผี่ ใู ดไมอ าจกระทําการอยา งหนงึ่ อยา งใดภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด
ไวในกฎหมายไดเพราะมีพฤติการณท่ีจําเปนอันมิไดเกิดข้ึนจากความผิดของผูน้ัน ถาผูน้ันมีคาํ ขอ
เจาหนาที่อาจขยายระยะเวลาและดําเนินการสวนหนึ่งสวนใดท่ีลวงมาแลวเสียใหมก็ได ทั้งน้ี ตองย่ืน
คําขอภายในสิบหาวนั นับแตพ ฤตกิ ารณเ ชนวานนั้ ไดส นิ้ สุดลง
ÁÒμÃÒ ö÷ เม่ือมีการอุทธรณตามบทบัญญัติในสวนที่ ๕ ของหมวด ๒ แหงพระราช
บัญญัติน้ี หรือการยื่นคําขอตอคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทหรือคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข
ตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาเพ่ือใหวินิจฉัยชี้ขาดแลวใหอายุความสะดุดหยุดอยูไมนับ
ในระหวา งนั้นจนกวา การพิจารณาจะถึงท่ีสดุ หรือเสร็จไปโดยประการอน่ื แตถาเสร็จไปเพราะเหตถุ อน
คําขอหรือทิ้งคาํ ขอใหถ ือวา อายุความเรยี กรองของผยู ืน่ คาํ ขอไมเคยมีการสะดุดหยุดอยเู ลย

ËÁÇ´ ô
¡ÒÃᨧŒ
ÁÒμÃÒ öø บทบญั ญตั ใิ นหมวดนมี้ ใิ หใ ชบ งั คบั กบั การแจง ซง่ึ ไมอ าจกระทาํ โดยวาจาหรอื
เปน หนงั สอื ไดห รอื มกี ฎหมายกาํ หนดวธิ กี ารแจงไวเปนอยา งอ่ืน
ในกรณคี าํ สงั่ ทางปกครองทแี่ สดงใหท ราบโดยการสอื่ ความหมายในรปู แบบอน่ื ตามทกี่ าํ หนด
ในกฎกระทรวง ใหม ผี ลเม่อื ไดแจง

๗๖

ÁÒμÃÒ öù การแจงคําสั่งทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอยางอ่ืนที่เจาหนาที่
ตองแจงใหผูท่ีเก่ียวของทราบอาจกระทําดวยวาจาก็ได แตถาผูน้ันประสงคจะใหกระทาํ เปนหนังสือ
ก็ใหแ จง เปนหนังสือ

การแจงเปนหนังสือใหสงหนังสือแจงตอผูนั้น หรือถาไดสงไปยังภูมิลาํ เนาของผูน้ันก็ให
ถอื วา ไดรบั แจง ตั้งแตใ นขณะทีไ่ ปถึง

ในการดาํ เนินการเรอ่ื งใดท่ีมกี ารใหท อ่ี ยไู วกับเจาหนา ทไ่ี วแลว การแจงไปยังท่อี ยูด ังกลาว
ใหถอื วาเปนการแจงไปยังภมู ิลาํ เนาของผูนั้นแลว

ÁÒμÃÒ ÷ð การแจงเปน หนังสอื โดยวธิ ใี หบ ุคคลนําไปสง ถา ผูรับไมย อมรบั หรือถา ขณะ
นาํ ไปสงไมพบผูรับ และหากไดสงใหกับบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภาวะท่ีอยูหรือทํางานในสถานที่น้ัน หรือ
ในกรณที ผี่ นู นั้ ไมยอมรบั หากไดวางหนงั สอื นัน้ หรอื ปด หนังสอื นนั้ ไวใ นท่ซี ึ่งเหน็ ไดง าย ณ สถานท่ีน้นั
ตอ หนาเจาพนักงานตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวงทไ่ี ปเปน พยานกใ็ หถ ือวาไดร บั แจงแลว

ÁÒμÃÒ ÷ñ การแจงโดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับใหถือวาไดรับแจงเมื่อครบกาํ หนด
เจ็ดวนั นบั แตวันสง สาํ หรับกรณภี ายในประเทศ หรือเม่อื ครบกําหนดสบิ หาวันนับแตวันสงสําหรบั กรณี
สง ไปยงั ตางประเทศ เวนแตจ ะมกี ารพสิ ูจนไ ดวาไมมีการไดรบั หรอื ไดรับกอ นหรอื หลังจากวนั นัน้

ÁÒμÃÒ ÷ò ในกรณีที่มีผูรับเกินหาสิบคนเจาหนาท่ีจะแจงใหทราบต้ังแตเริ่มดําเนินการ
ในเร่ืองน้ันวาการแจงตอบุคคลเหลาน้ันจะกระทาํ โดยวิธีปดประกาศไว ณ ท่ีทําการของเจาหนาที่และ
ทีว่ า การอําเภอที่ผรู บั มภี ูมิลําเนากไ็ ด ในกรณนี ี้ใหถือวาไดรับแจงเมื่อลวงพนระยะเวลาสบิ หาวนั นบั แต
วนั ทีไ่ ดแ จง โดยวิธดี งั กลา ว

ÁÒμÃÒ ÷ó ในกรณีที่ไมรูตัวผูรับหรือรูตัวแตไมรูภูมิลาํ เนาหรือรูตัวและภูมิลําเนา แตมี
ผรู บั เกนิ หนงึ่ รอ ยคน การแจง เปน หนงั สอื จะกระทาํ โดยการประกาศในหนงั สอื พมิ พซ งึ่ แพรห ลายในทอ งถนิ่
น้ันกไ็ ด ในกรณนี ีใ้ หถอื วา ไดรบั แจงเม่ือลวงพน ระยะเวลาสิบหาวนั นับแตวันทไ่ี ดแจงโดยวิธีดงั กลา ว

ÁÒμÃÒ ÷ô ในกรณมี เี หตจุ าํ เปน เรง ดว นการแจง คําสงั่ ทางปกครองจะใชว ธิ สี ง ทางเครอื่ ง
โทรสารกไ็ ด แตต อ งมหี ลกั ฐานการไดส ง จากหนว ยงานผจู ดั บรกิ ารโทรคมนาคมทเ่ี ปน สอ่ื ในการสง โทรสารนน้ั
และตองจัดสงคาํ ส่ังทางปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามหมวดน้ีใหแกผูรับในทันทีที่อาจกระทาํ ได
ในกรณีนี้ใหถือวาผูรับไดรับแจงคําสั่งทางปกครองเปนหนังสือตามวัน เวลา ที่ปรากฏในหลักฐานของ
หนวยงานผูจัดบริการโทรคมนาคมดังกลาว เวนแตจะมีการพิสูจนไดวาไมมีการไดรับหรือไดรับกอน
หรอื หลงั จากนน้ั

๗๗

ËÁÇ´ õ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡Ò÷ÁèÕ อÕ ํา¹Ò¨ดาํ à¹Ô¹¡ÒþԨÒóҷҧ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ÷õ การแตง ตง้ั กรรมการในลกั ษณะทเ่ี ปน ผทู รงคณุ วฒุ ใิ หแ ตง ตงั้ โดยระบตุ วั บคุ คล
ÁÒμÃÒ ÷ö นอกจากพน จากตําแหนงตามวาระ กรรมการพน จากตาํ แหนง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เปนบุคคลลมละลาย
(๔) เปน คนไรความสามารถหรือคนเสมอื นไรค วามสามารถ
(๕) ไดรับโทษจาํ คุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนความผิดลหุโทษหรือ
ความผิดอันไดกระทาํ โดยประมาท
(๖) มีเหตุตอ งพนจากตําแหนงกอ นครบวาระตามกฎหมายวา ดวยการนน้ั
ÁÒμÃÒ ÷÷ ในกรณที กี่ รรมการพน จากตาํ แหนง กอ นวาระ ผมู อี ํานาจแตง ตง้ั อาจแตง ตง้ั
ผูอ่ืนเปนกรรมการแทนได และใหผูที่ไดรับแตงต้ังใหดาํ รงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระ
ทเ่ี หลืออยขู องผูซ งึ่ ตนแทน
ในกรณที มี่ กี ารแตง ตงั้ กรรมการเพมิ่ ขนึ้ ในระหวา งทกี่ รรมการซงึ่ แตง ตงั้ ไวแ ลว ยงั มวี าระอยู
ในตาํ แหนง ใหผ ทู ไี่ ดร บั แตง ตง้ั ใหเ ปน กรรมการเพม่ิ ขน้ึ อยใู นตําแหนง เทา กบั วาระทเี่ หลอื อยขู องกรรมการ
ที่ไดร บั แตง ต้งั ไวแ ลว
ÁÒμÃÒ ÷ø ภายใตบ งั คบั มาตรา ๗๖ การใหก รรมการในคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าท
พนจากตําแหนงกอนครบวาระจะกระทํามิได เวนแตกรณีมีเหตุบกพรองอยางยิ่งตอหนาที่หรือ
มคี วามประพฤตเิ สื่อมเสียอยางรา ยแรง
ÁÒμÃÒ ÷ù ภายใตบังคับมาตรา ๑๕ วรรคสอง การประชุมของคณะกรรมการตองมี
กรรมการมาประชมุ อยา งนอ ยกงึ่ หนงึ่ จงึ จะเปน องคป ระชมุ เวน แตบ ทบญั ญตั แิ หง กฎหมายหรอื กฎหรอื
คําสั่งท่จี ดั ใหม คี ณะกรรมการชุดน้นั จะกําหนดไวเปน อยา งอนื่
ในกรณีมีกรรมการครบที่จะเปนองคประชุมได แตการพิจารณาเรื่องใดถาตองเลื่อนมา
เพราะไมค รบองคป ระชุม ถา เปน การประชมุ ของคณะกรรมการซ่งึ มใิ ชค ณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท
หากไดม กี ารนดั ประชมุ เรอ่ื งนน้ั อกี ภายในสบิ สว่ี นั นบั แตว นั นดั ประชมุ ทเ่ี ลอ่ื นมา และการประชมุ ครงั้ หลงั น้ี
มีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาหน่ึงในสามของจาํ นวนกรรมการท้ังหมด ใหถือวาเปนองคประชุม
แตท ้งั นตี้ อ งระบคุ วามประสงคใ หเ กดิ ผลตามบทบญั ญตั ินี้ไวในหนังสือนัดประชุมดวย
ÁÒμÃÒ øð การประชุมใหเปน ไปตามระเบยี บการทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด
การนัดประชุมตองทําเปนหนังสือและแจงใหกรรมการทุกคนทราบลวงหนาไมนอยกวา
สามวนั เวน แตก รรมการนนั้ จะไดท ราบการบอกนดั ในทปี่ ระชมุ แลว กรณดี งั กลา วนจ้ี ะทําหนงั สอื แจง นดั
เฉพาะกรรมการทไ่ี มไ ดมาประชุมก็ได

๗๘

บทบญั ญตั ใิ นวรรคสองมใิ หน ํามาใชบ งั คบั ในกรณมี เี หตจุ ําเปน เรง ดว นซงึ่ ประธานกรรมการ
จะนัดประชุมเปน อยางอน่ื กไ็ ด

ÁÒμÃÒ øñ ประธานกรรมการมอี ํานาจหนา ทดี่ าํ เนนิ การประชมุ และเพอ่ื รกั ษาความเรยี บรอ ย
ในการประชุม ใหประธานมอี ํานาจออกคําสงั่ ใด ๆ ตามความจาํ เปนได

ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดใหรองประธาน
กรรมการทําหนา ทแี่ ทน ถา ไมมรี องประธานกรรมการหรือมีแตไ มส ามารถปฏบิ ัติหนา ท่ไี ด ใหก รรมการ
ที่มาประชมุ เลอื กกรรมการคนหน่ึงขน้ึ ทําหนาทีแ่ ทน

ในกรณที ี่ประธานกรรมการมหี นาที่ตอ งดาํ เนินการใด ๆ นอกจากการดาํ เนนิ การประชมุ
ใหนําความในวรรคสองมาใชบงั คบั โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ øò การลงมติของที่ประชมุ ใหถือเสียงขา งมาก
กรรมการคนหน่ึงใหมีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่
ประชมุ ออกเสยี งเพิม่ ข้ึนอีกเสยี งหนึง่ เปนเสยี งชข้ี าด
เร่ืองใดถาไมม ีผูคัดคา น ใหป ระธานถามท่ีประชมุ วามีผูเหน็ เปน อยา งอนื่ หรือไม เมอื่ ไมมี
ผูเ หน็ เปนอยา งอื่น ใหถ อื วา ที่ประชุมลงมตเิ ห็นชอบในเรือ่ งน้นั
ÁÒμÃÒ øó ในการประชมุ ตองมีรายงานการประชุมเปน หนังสือ
ถามีความเห็นแยงใหบันทึกความเห็นแยงพรอมท้ังเหตุผลไวในรายงานการประชุม
และถากรรมการฝายขา งนอ ยเสนอความเหน็ แยงเปนหนังสือก็ใหบนั ทึกความเหน็ แยง นน้ั ไวดวย
ÁÒμÃÒ øô คาํ วนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าทตอ งมลี ายมอื ชอ่ื ของกรรมการ
ที่วินจิ ฉัยเรือ่ งน้ัน
ถา กรรมการคนใดมคี วามเหน็ แยง ใหม สี ทิ ธทิ าํ ความเหน็ แยง ของตนรวมไวใ นคําวนิ จิ ฉยั ได

º·à©¾ÒСÒÅ
ÁÒμÃÒ øõ ใหถ อื วา ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการปฏบิ ตั ริ าชการเพอื่ ประชาชน
ของหนวยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๓๒ เปนระเบยี บท่คี ณะรัฐมนตรีวางขนึ้ ตามมาตรา ๓๓ แหงพระราช
บญั ญัตินี้
ÁÒμÃÒ øö บรรดาคําขอเพื่อใหมีคําสั่งทางปกครองที่เจาหนาที่ไดรับไวกอนท่ีพระราช
บญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั ใหเ จา หนา ทที่ าํ การพจิ ารณาคําขอดงั กลา วตามหลกั เกณฑท กี่ ฎหมายหรอื กฎสําหรบั
เรอ่ื งน้ันไดก ําหนดไว

๗๙

ÁÒμÃÒ ø÷ เม่ือไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแลว บทบัญญัติมาตรา ๔๘ ใหเปน
อนั ยกเลิก
ผูร ับสนองพระบรมราชโองการ

บรรหาร ศลิ ปอาชา
นายกรฐั มนตรี

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทก่ี ารดาํ เนนิ งานทางปกครองใน
ปจ จบุ นั ยงั ไมม หี ลกั เกณฑแ ละขน้ั ตอนทเ่ี หมาะสม จงึ สมควรกําหนดหลกั เกณฑแ ละขนั้ ตอนตา ง ๆ สาํ หรบั
การดําเนนิ งานทางปกครองขน้ึ เพอื่ ใหก ารดําเนนิ งานเปน ไปโดยถกู ตอ งตามกฎหมาย มปี ระสทิ ธภิ าพใน
การใชบ ังคบั กฎหมายใหสามารถรกั ษาประโยชนส าธารณะได และอาํ นวยความเปนธรรมแกประชาชน
อกี ทง้ั ยงั เปน การปอ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ จงึ จําเปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั นิ ้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÇÔ ¸Ô »Õ ¯ÔºμÑ ÃÔ Òª¡Ò÷ҧ»¡¤Ãͧ (©ºÑº·Õè ò) ¾.È. òõõ÷ôò

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปน ตน ไป
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตฉิ บบั นี้ คอื โดยท่ีเปน การสมควรแกไ ขเพิม่ เตมิ
กฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการจัดทําคําสั่งทางปกครอง
ใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื รกั ษาประโยชนส าธารณะและอาํ นวยความเปน ธรรมแกป ระชาชน อกี ทง้ั ยงั เปน
การปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ จึงจําเปนตองตราพระราชบญั ญตั นิ ี้
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÔÇÔ¸Õ»¯ÔºÑμÔÃÒª¡Ò÷ҧ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·Õè ó) ¾.È. òõöòôó

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปน ตนไป เวนแตบทบัญญตั ิมาตรา ๖๓/๑๕ มาตรา ๖๓/๑๖ มาตรา ๖๓/๑๗ มาตรา ๖๓/๑๘ และ
มาตรา ๖๓/๑๙ ใหใชบ งั คับเมอื่ พน กาํ หนดหน่งึ รอยแปดสบิ วันนบั แตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตน ไป

ÁÒμÃÒ ö ในกรณที ค่ี ําสง่ั ทางปกครองทก่ี ําหนดใหช าํ ระเงนิ ใดเปน ทสี่ ดุ แลว เปน เวลาเกนิ
หนง่ึ ปใ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ งั คบั ใหห นว ยงานของรฐั ทอี่ อกคําสง่ั นน้ั ดําเนนิ การบงั คบั ทางปกครอง
ตามพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซง่ึ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ้ี
ตอไป โดยจะดาํ เนินการตามมาตรา ๖๓/๑๕ ไดตอเมื่อเปนคาํ ส่ังทางปกครองท่ีกาํ หนดใหชาํ ระเงิน
ซ่งึ มลี ักษณะตามท่กี ําหนดในกฎกระทรวง

๔๒ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๑/ตอนที่ ๘๙ ก/หนา ๑/๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗
๔๓ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๖/ตอนท่ี ๖๙ ก/หนา ๑๑๕/๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒

๘๐

ÁÒμÃÒ ÷ บรรดาคดเี กยี่ วกบั การโตแ ยง การใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองซงึ่ คา งพจิ ารณา
อยูในศาลใดในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหศาลน้ันดาํ เนินกระบวนพิจารณาและมีคําพิพากษา
ตอไปจนคดีนน้ั ถงึ ท่ีสุด

ÁÒμÃÒ ø ใหกรมบงั คบั คดี สํานกั งาน ก.พ.ร. สาํ นักงาน ก.พ. สาํ นักงบประมาณ และ
หนว ยงานอนื่ ทเี่ กย่ี วขอ งรว มกนั จดั ทาํ โครงสรา งกรมบงั คบั คดี กรอบอตั รากาํ ลงั ขา ราชการและพนกั งาน
ราชการ และกาํ หนดงบประมาณ รวมทง้ั การดําเนนิ การอน่ื ใดอนั จาํ เปน เพอ่ื รองรบั การดาํ เนนิ การตาม
อาํ นาจหนาท่ีของกรมบังคับคดีตามพระราชบัญญัติน้ีภายในหกสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้
ใชบ งั คับ

ÁÒμÃÒ ù บรรดากฎหรือคําส่ังใด ๆ ที่ไดออกโดยอาศัยอํานาจตามความในพระราช
บัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัติน้ี
ใชบังคับ ใหยังคงใชบังคับตอไปไดเพียงเทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่งึ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิน้ี จนกวาจะมีกฎหรอื คําส่ังใด ๆ ที่ออก
ตามพระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซง่ึ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ี้
ใชบงั คับ

การดําเนนิ การออกกฎตามวรรคหนง่ึ ใหด ําเนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ภายในหนงึ่ รอ ยแปดสบิ วนั
นบั แตวันท่พี ระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบ ังคบั หากไมส ามารถดําเนินการได ใหน ายกรัฐมนตรรี ายงานเหตผุ ลท่ี
ไมอ าจดาํ เนินการไดต อ คณะรัฐมนตรีเพ่ือทราบ

ÁÒμÃÒ ñð ใหน ายกรัฐมนตรรี กั ษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี
ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพระราชบญั ญัติฉบับนี้ คือ โดยทปี่ จจบุ ันบทบญั ญัติเกยี่ วกบั
การบังคับทางปกครองตามกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองยังไมมีประสิทธิภาพในการ
บงั คบั ใช โดยเฉพาะการบงั คบั ตามคาํ สง่ั ทางปกครองทกี่ ําหนดใหช ําระเงนิ ซง่ึ กฎหมายวา ดว ยวธิ ปี ฏบิ ตั ิ
ราชการทางปกครองกําหนดใหน าํ วิธกี ารยึด การอายดั และการขายทอดตลาดทรพั ยส ินตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม จึงไมมีรายละเอียดวิธีปฏิบัติและระยะเวลาใน
การบังคับทางปกครองท่ีชัดเจน ซ่ึงกอใหเกิดความไมเปนธรรมแกผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครอง ประกอบกับเจาหนาที่ของหนวยงานของรัฐสวนใหญไมมีความเชี่ยวชาญในการยึด
การอายดั และการขายทอดตลาดทรพั ยส นิ อกี ทงั้ ไมม บี ทบญั ญตั ทิ ใี่ หอ ํานาจแกเ จา หนา ทใ่ี นการสบื หา
ทรัพยสินและมอบหมายใหห นว ยงานอนื่ หรือเอกชนดาํ เนนิ การแทนได สงผลใหไมสามารถบงั คบั ตาม
คาํ สง่ั ทางปกครองทกี่ ําหนดใหช ําระเงนิ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและรฐั ตอ งสญู เสยี รายไดใ นทส่ี ดุ ดงั นน้ั
สมควรปรบั ปรงุ หลกั เกณฑใ นการบงั คบั ทางปกครองเพอื่ ใหช ดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน ธรรมยง่ิ ขน้ึ
จึงจาํ เปนตอ งตราพระราชบัญญัติน้ี

๘๑

พมิ พม าดา/เพ่ิมเตมิ
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒

นสุ รา/ตรวจ
๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒

ภูมิกิต/ิ ปรบั ปรุง
๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒

ภัทรานษิ ฐ/ ตรวจ
๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒

๘๒

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμÔ

¨Ñ´μé§Ñ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸Õ¾¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ
¾.È. òõôò

ÀÁÙ ¾Ô ÅÍ´ÅØ Âà´ª ».Ã.

ãËŒäÇŒ ³ Ç¹Ñ ·Õè õ μÅØ Ò¤Á ¾.È. òõôò
໚¹»‚·èÕ õô ã¹ÃѪ¡ÒÅ»¨˜ ¨Øº¹Ñ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหป ระกาศวา

โดยทเ่ี ปน การสมควรใหม กี ฎหมายวา ดว ยการจดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ นึ้ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของ
รฐั สภา ดงั ตอไปนี้
ÁÒμÃÒ ñ พระราชบญั ญตั นิ เี้ รยี กวา “พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณา
คดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒”
ÁÒμÃÒ òñ พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตน ไป
ÁÒμÃÒ ó ในพระราชบัญญัตินี้
“หนว ยงานทางปกครอง” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม สว นราชการที่เรียกชอ่ื
อยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจท่ีต้ังข้ึน
โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหนวยงานอ่ืนของรัฐ และใหหมายความรวมถึง
หนว ยงานที่ไดร บั มอบหมายใหใ ชอ ํานาจทางปกครองหรอื ใหด าํ เนินกิจการทางปกครอง
“เจา หนาที่ของรฐั ” หมายความวา
(๑) ขา ราชการ พนกั งาน ลกู จา ง คณะบคุ คล หรอื ผทู ป่ี ฏบิ ตั งิ านในหนว ยงานทางปกครอง
(๒) คณะกรรมการวินจิ ฉัยขอ พพิ าท คณะกรรมการหรือบุคคลซง่ึ มีกฎหมายใหอาํ นาจใน
การออกกฎ คําส่งั หรือมตใิ ด ๆ ทม่ี ผี ลกระทบตอ บุคคล และ
(๓) บคุ คลทอี่ ยใู นบงั คบั บญั ชาหรอื ในกํากบั ดแู ลของหนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ที่
ของรฐั ตาม (๑) หรอื (๒)
“คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าท” หมายความวา คณะกรรมการทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมาย
ทม่ี กี ารจดั องคก รและวิธพี ิจารณาสาํ หรบั การวนิ ิจฉัยชี้ขาดสทิ ธแิ ละหนา ทต่ี ามกฎหมาย

๑ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๑๖/ตอนที่ ๙๔ ก/หนา ๑/๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๒

๘๓

“ตุลาการศาลปกครอง” หมายความวา ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และตุลาการ
ในศาลปกครองชนั้ ตน

“ก.ศป.” หมายความวา คณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง
“ก.บ.ศป.”๒ หมายความวา คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง
“ก.ขป.”๓ หมายความวา คณะกรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
“คูกรณี” หมายความวา ผูฟองคดี ผูถูกฟองคดี และใหหมายความรวมถึงบุคคล
หนวยงานทางปกครอง หรือเจาหนาที่ของรัฐซ่ึงเขามาเปนคูกรณีดวยการรองสอด ไมวาจะโดยความ
สมัครใจเองหรือโดยถูกคําส่ังศาลปกครองเรียกเขามาในคดี ท้ังนี้ เนื่องจากเปนผูมีสวนไดเสีย หรือ
อาจถกู กระทบจากผลแหง คดนี น้ั และเพอื่ ประโยชนแ หง การดาํ เนนิ กระบวนพจิ ารณา ใหร วมถงึ ผมู สี ทิ ธิ
กระทําการแทนดว ย
“คาํ ฟอ ง” หมายความวา การเสนอขอ หาตอ ศาลไมว า จะไดเ สนอตอ ศาลปกครองชน้ั ตน หรอื
ศาลปกครองสูงสุด ไมวาจะไดเสนอในขณะท่ีเริ่มคดีโดยคาํ ฟองหรือคาํ รองขอ หรือเสนอในภายหลัง
โดยคําฟองเพ่ิมเติมหรือแกไข หรือฟองแยง หรือโดยสอดเขามาในคดีไมวาดวยความสมัครใจ หรือ
ถูกบงั คับ หรอื โดยมคี าํ ขอใหพิจารณาใหม
“กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอ บญั ญตั ทิ อ งถน่ิ
ระเบียบ ขอบังคบั หรอื บทบญั ญตั อิ ื่นทมี่ ีผลบงั คับเปน การทัว่ ไป โดยไมม งุ หมายใหใ ชบ งั คับแกกรณีใด
หรอื บุคคลใดเปน การเฉพาะ
“สัญญาทางปกครอง” หมายความรวมถึง สัญญาท่ีคูสัญญาอยางนอยฝายใดฝายหน่ึง
เปน หนว ยงานทางปกครองหรอื เปน บคุ คลซงึ่ กระทําการแทนรฐั และมลี กั ษณะเปน สญั ญาสมั ปทาน สญั ญา
ทใี่ หจัดทาํ บริการสาธารณะ หรือจดั ใหมีสิ่งสาธารณปู โภคหรอื แสวงประโยชนจ ากทรัพยากรธรรมชาติ
“ประโยชนแกสว นรวม”๔ หมายความวา ประโยชนต อสาธารณะหรอื ประโยชนอันเกดิ แก
การจดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะหรอื การจดั ใหม สี งิ่ สาธารณปู โภค หรอื ประโยชนอ นื่ ใดทเี่ กดิ จากการดาํ เนนิ การ
หรอื การกระทาํ ทมี่ ลี กั ษณะเปน การสง เสรมิ หรอื สนบั สนนุ แกป ระชาชนเปน สว นรวม หรอื ประชาชนสว นรวม
จะไดร บั ประโยชนจากการดําเนนิ การหรือการกระทําน้ัน
ÁÒμÃÒ ô ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ รักษาการตามพระราชบญั ญัตินี้

๒ มาตรา ๓ นยิ ามคาํ วา “ก.บ.ศป.” เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐

๓ มาตรา ๓ นิยามคาํ วา “ก.ขป.” เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐

๔ มาตรา ๓ นยิ ามคาํ วา “ประโยชนแกส วนรวม” เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง
(ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑

๘๔

ÁÒμÃÒ õõ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือประกาศที่ออกโดยที่ประชุมใหญตุลาการใน
ศาลปกครองสูงสดุ หรอื โดย ก.ศป. หรอื โดย ก.ศป. โดยความเหน็ ชอบของท่ปี ระชุมใหญต ุลาการใน
ศาลปกครองสงู สดุ หรอื โดย ก.บ.ศป. หรอื โดย ก.ขป. เมอ่ื ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว ใหใ ชบ งั คบั ได

ÁÒμÃÒ öö ระเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ตามมาตรา ๔๔ และ
มาตรา ๔๖ มาตรา ๖๐/๑ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๕/๑ มาตรา ๗๕/๒ และมาตรา ๗๕/๔
ตอ งสง ใหส ภาผูแทนราษฎรในวันทอ่ี อกระเบียบดังกลาว เพื่อใหส มาชกิ สภาผแู ทนราษฎรตรวจสอบได
ถาตอมามีการเสนอญัตติและสภาผูแทนราษฎรมีมติภายในสามสิบวันนับแตวันที่สงระเบียบดังกลาว
ใหสภาผูแทนราษฎรดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของจํานวนสมาชิกท้ังหมดเทาที่มีอยู
ใหย กเลกิ ระเบยี บใดไมว า ทง้ั หมดหรอื บางสว น ใหท ป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ดาํ เนนิ การ
ใหเ ปนไปตามน้นั

กาํ หนดวนั ตามวรรคหน่ึงใหห มายถงึ วนั ในสมัยประชมุ
ËÁÇ´ ñ

¡ÒèѴμ§éÑ áÅÐà¢μอํา¹Ò¨ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ÷ ศาลปกครองแบง ออกเปนสองช้ัน คือ
(๑) ศาลปกครองสูงสดุ
(๒) ศาลปกครองชัน้ ตน ไดแ ก

(ก) ศาลปกครองกลาง
(ข) ศาลปกครองในภมู ภิ าค
ศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองช้ันตนอาจแบงเปนแผนกหรือหนวยงานท่ีเรียกช่ือ
อยางอ่ืน และจะใหมีอาํ นาจในคดีประเภทใดหรือคดีในทองท่ีใดซ่ึงอยูในเขตอาํ นาจของแตละศาลน้ัน
แยกตางหากโดยเฉพาะก็ได ท้ังน้ี ใหออกเปนประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบ
ของ ก.บ.ศป.๗
ประกาศประธานศาลปกครองสูงสุดตามวรรคสอง เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แลว ใหใชบังคับได๘

๕ มาตรา ๕ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั จิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๖ มาตรา ๖ แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๗ มาตรา ๗ วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๘ มาตรา ๗ วรรคสาม เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั จิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔

๘๕

ÁÒμÃÒ ÷/ñù ในกรณีที่มีการจัดต้ังแผนกหรือหนวยงานที่เรียกช่ืออยางอื่นข้ึนใน
ศาลปกครองสงู สดุ หรอื ศาลปกครองชน้ั ตน ใด ใหม ตี ลุ าการหวั หนา แผนกหรอื ตลุ าการหวั หนา หนว ยงาน
ที่เรียกชื่ออยางอื่นนั้น แผนกหรือหนวยงานละหนึ่งคน เพื่อรับผิดชอบงานของแผนกหรือหนวยงาน
ดงั กลา ว ท้งั นี้ เปน ไปตามหลักเกณฑที่ ก.บ.ศป. กาํ หนด

ÁÒμÃÒ ø ใหจ ดั ตง้ั ศาลปกครองสงู สดุ ขน้ึ มที ต่ี งั้ ในกรงุ เทพมหานครหรอื ในจงั หวดั ใกลเ คยี ง
ใหจ ดั ตง้ั ศาลปกครองกลางขน้ึ มที ต่ี ง้ั ในกรงุ เทพมหานครหรอื ในจงั หวดั ใกลเ คยี ง โดยมเี ขต
ตลอดทอ งที่กรงุ เทพมหานคร จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบรุ ี จงั หวัดปทมุ ธานี จงั หวัดราชบรุ ี จังหวดั
สมทุ รปราการ จังหวดั สมุทรสงคราม และจังหวัดสมทุ รสาคร
ในระหวางท่ีศาลปกครองในภูมิภาคยังมิไดมีเขตอํานาจในทองที่ใดใหศาลปกครองกลาง
มเี ขตอาํ นาจในทองทน่ี นั้ ดวย
บรรดาคดที เี่ กดิ ขน้ึ นอกเขตอาํ นาจศาลปกครองกลางตามวรรคสองและวรรคสามจะยน่ื ฟอ ง
ตอศาลปกครองกลางกไ็ ด ท้งั นี้ ใหอยใู นดุลพนิ จิ ของศาลน้นั ที่จะไมรับพจิ ารณาพพิ ากษาคดีท่ยี น่ื ฟอ ง
เชน น้นั ได เวน แตคดที ่ีโอนมาตามหลักเกณฑข องการพิจารณาคดปี กครอง
การจัดต้ังและการกําหนดเขตอาํ นาจของศาลปกครองในภูมิภาค ใหกระทําโดย
พระราชบัญญัติ โดยคาํ นึงถึงปริมาณคดีและการบริหารบุคลากรของศาลปกครอง โดยจะกาํ หนด
ใหเขตอาํ นาจศาลปกครองในภมู ภิ าคครอบคลมุ เขตการปกครองหลายจังหวัดกไ็ ด
ศาลปกครองสูงสุด ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภมู ิภาค จะเปดทําการเมือ่ ใด
ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ โดยความเหน็ ชอบของ ก.บ.ศป. ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากําหนดวนั
เปดทาํ การของศาลปกครอง๑๐
ÁÒμÃÒ ø/ñññ การเปล่ยี นแปลงเขตทองท่ที ีศ่ าลปกครองช้นั ตน มเี ขตอํานาจ ในกรณที ี่มี
ความจําเปนเพ่ือประโยชนในการอาํ นวยความยุติธรรมแกประชาชน โดยคํานึงถึงสิทธิในการเขาถึง
กระบวนการยตุ ธิ รรม การบรหิ ารจดั การคดี และระยะเวลาพจิ ารณาพพิ ากษาคดี ใหก ระทาํ โดยขอ เสนอ
ของ ก.บ.ศป. และตราเปนพระราชกฤษฎีกา
ÁÒμÃÒ ù ศาลปกครองมอี ํานาจพิจารณาพิพากษาหรอื มีคําสงั่ ในเรือ่ งดงั ตอ ไปน้ี
(๑) คดพี พิ าทเกย่ี วกบั การทห่ี นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั กระทาํ การโดยไมช อบ
ดว ยกฎหมายไมว า จะเปนการออกกฎ คาํ ส่ังหรือการกระทาํ อ่ืนใดเนื่องจากกระทําโดยไมม อี าํ นาจหรอื
นอกเหนอื อาํ นาจหนา ทหี่ รอื ไมถ กู ตอ งตามกฎหมาย หรอื โดยไมถ กู ตอ งตามรปู แบบขน้ั ตอน หรอื วธิ กี าร
อนั เปน สาระสําคญั ทก่ี าํ หนดไวส าํ หรบั การกระทํานน้ั หรอื โดยไมส จุ รติ หรอื มลี กั ษณะเปน การเลอื กปฏบิ ตั ิ

๙ มาตรา ๗/๑ แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญัติจัดตงั้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๐มาตรา ๘ วรรคหก แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๑มาตรา ๘/๑ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๘๖

ที่ไมเปนธรรม หรือมีลักษณะเปนการสรางขั้นตอนโดยไมจําเปนหรือสรางภาระใหเกิดกับประชาชน
เกนิ สมควร หรอื เปนการใชด ลุ พินจิ โดยมิชอบ

(๒) คดพี พิ าทเกย่ี วกบั การทห่ี นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ละเลยตอ หนา ท่ี
ตามทีก่ ฎหมายกาํ หนดใหตองปฏิบตั ิ หรือปฏิบัตหิ นา ทีด่ ังกลา วลา ชาเกินสมควร

(๓) คดพี พิ าทเกย่ี วกบั การกระทําละเมดิ หรอื ความรบั ผดิ อยา งอนื่ ของหนว ยงานทางปกครอง
หรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั อนั เกดิ จากการใชอ าํ นาจตามกฎหมาย หรอื จากกฎ คาํ สงั่ ทางปกครอง หรอื คําสง่ั อน่ื
หรือจากการละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติหรือปฏิบัติหนาที่ดังกลาวลาชา
เกินสมควร

(๔) คดีพพิ าทเกย่ี วกบั สัญญาทางปกครอง
(๕) คดที มี่ กี ฎหมายกาํ หนดใหห นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ฟอ งคดตี อ ศาล
เพอื่ บงั คับใหบ ุคคลตอ งกระทําหรอื ละเวน กระทาํ อยางหนง่ึ อยางใด
(๖) คดีพิพาทเกีย่ วกบั เรื่องทม่ี กี ฎหมายกาํ หนดใหอ ยใู นเขตอาํ นาจศาลปกครอง
เร่ืองดังตอไปนไี้ มอยใู นอํานาจศาลปกครอง
(๑) การดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั วินยั ทหาร
(๒) การดาํ เนินการของคณะกรรมการตุลาการตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ
ฝายตุลาการ
(๓) คดีท่ีอยูในอาํ นาจของศาลเยาวชนและครอบครัว ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร
ศาลทรัพยสนิ ทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ศาลลม ละลาย หรือศาลชาํ นญั พเิ ศษอ่นื
ÁÒμÃÒ ñð ศาลปกครองชน้ั ตน มอี ํานาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดที อ่ี ยใู นอํานาจศาลปกครอง
เวนแตค ดที ่อี ยูในอาํ นาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสงู สดุ
ÁÒμÃÒ ññ ศาลปกครองสงู สุดมอี าํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดี ดงั ตอไปนี้
(๑) คดพี พิ าทเกยี่ วกบั คําวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ขอ พพิ าทตามทท่ี ปี่ ระชมุ ใหญ
ตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ ประกาศกาํ หนด
(๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับความชอบดวยกฎหมายของพระราชกฤษฎีกา หรือกฎท่ีออกโดย
คณะรฐั มนตรี หรือโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี
(๓) คดีที่มีกฎหมายกําหนดใหอยูใ นอํานาจศาลปกครองสูงสดุ
(๔) คดีที่อทุ ธรณคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ของศาลปกครองช้นั ตน

๘๗

ËÁÇ´ ò
μÅØ Ò¡ÒÃÈÒÅ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ññ/ññò ขาราชการศาลปกครอง มีดังน้ี
(๑) ขาราชการตุลาการศาลปกครอง คือ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตามมาตรา ๑๒
ตุลาการในศาลปกครองชั้นตนตามมาตรา ๑๗ และตุลาการประจาํ ศาลปกครองชั้นตนซึ่งไดรับ
การแตงตัง้ ตามมาตรา ๑๙
(๒) ขา ราชการฝา ยศาลปกครอง คอื ขา ราชการในสาํ นกั งานศาลปกครองซง่ึ ไดร บั การแตง ตงั้
ตามมาตรา ๗๘ หรือมาตรา ๗๘/๑ หรือไดรบั การบรรจแุ ละแตงตง้ั ตามมาตรา ๘๗
ÁÒμÃÒ ñòñó ในศาลปกครองสงู สดุ ใหมีตําแหนง ตุลาการศาลปกครอง ดังตอ ไปน้ี
(๑) ประธานศาลปกครองสูงสดุ
(๒) รองประธานศาลปกครองสงู สดุ
(๓) ตุลาการหัวหนา คณะศาลปกครองสูงสุด
(๔) ตลุ าการศาลปกครองสูงสุด
(๕) ตุลาการศาลปกครองสูงสดุ ท่เี รียกชือ่ อยา งอนื่ ตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด
ทง้ั นี้ ตามจํานวนท่ี ก.ศป.กําหนด
การกําหนดตําแหนง ตามวรรคหนงึ่ (๕) ให ก.ศป. กาํ หนดวา จะใหเ ทยี บเทา กบั ตําแหนง ใด
ตามวรรคหนง่ึ (๒) (๓) หรอื (๔) ไวใ นประกาศดงั กลา วดว ย และเมอ่ื ไดป ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว
ใหใชบ งั คับได
ÁÒμÃÒ ñó ผูที่จะไดรับแตงต้ังเปนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดตองมีคุณสมบัติ
ดงั ตอไปนี้
(๑) มีสญั ชาติไทย
(๒) มอี ายไุ มต ่ํากวาส่สี ิบหาป
(๓) เปนผูทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร
สังคมศาสตร หรอื ในการบริหารราชการแผน ดิน ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑที่ ก.ศป.กําหนด และ
(๔) มีคุณสมบตั ิอ่ืนอยางหน่ึงอยางใด ดังตอไปนี้
(ก) เปน หรอื เคยเปน กรรมการรา งกฎหมาย กรรมการวนิ จิ ฉยั รอ งทกุ ข หรอื กรรมการ
กฤษฎีกา
(ข) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมตาํ่ กวาตุลาการหัวหนาคณะ
ศาลปกครองชน้ั ตน

๑๒ มาตรา ๑๑/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัติจดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๓ มาตรา ๑๒ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตง้ั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔

๘๘

(ค) รบั ราชการหรอื เคยรบั ราชการในตําแหนง ไมต ํา่ กวา ผพู พิ ากษาศาลฎกี าหรอื เทยี บเทา
หรือตลุ าการพระธรรมนญู ศาลทหารสูงสุด

(ง) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาํ แหนงไมตา่ํ กวาอัยการพิเศษประจําเขตหรือ
เทียบเทา

(จ) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาํ แหนงไมตํ่ากวาอธิบดีหรือเทียบเทาหรือ
ตําแหนง อ่ืนในหนวยงานของรัฐที่เทียบเทาตามท่ี ก.ศป. ประกาศกาํ หนด

(ฉ) เปนหรือเคยเปนผูสอนวิชาในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร
เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร หรือวิชาที่เก่ียวกับการบริหารราชการแผนดินในสถาบันอุดมศึกษา และ
ดาํ รงตาํ แหนง หรอื เคยดํารงตําแหนงศาสตราจารยห รือศาสตราจารยพิเศษ

(ช) เปนหรือเคยเปนผูประกอบวิชาชีพทนายความไมนอยกวายี่สิบป และมี
ประสบการณใ นคดปี กครองตามหลักเกณฑท ่ี ก.ศป. ประกาศกําหนด

ÁÒμÃÒ ñô ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ตอ งไมม ลี กั ษณะตอ งหา มในขณะดาํ รงตําแหนง
ดงั ตอไปน้ี

(๑) เปนขา ราชการอื่นซ่งึ มตี ําแหนงหรือเงนิ เดอื นประจํา
(๒) เปนพนักงานหรอื ลกู จา งของหนว ยงานของรัฐหรือบุคคลใด
(๓) เปนผดู าํ รงตาํ แหนง ในทางการเมอื ง สมาชกิ สภาทอ งถิ่น ผบู ริหารทองถ่ิน กรรมการ
หรือผดู าํ รงตําแหนง ที่รบั ผิดชอบในการบริหารพรรคการเมอื ง สมาชิกพรรคการเมือง หรอื เจาหนาทใี่ น
พรรคการเมอื ง
(๔) เปนกรรมการในรัฐวิสาหกิจ
(๕) เปน กรรมการในหนวยงานของรฐั เวนแตจ ะไดร บั อนมุ ัตจิ าก ก.ศป.
(๖) เปน กรรมการ ผจู ดั การ หรอื ทปี่ รกึ ษา หรอื ดํารงตาํ แหนง อน่ื ใดทม่ี ลี กั ษณะงานคลา ยกนั
ในหางหุนสว นบรษิ ัท
(๗) เปนทนายความหรือประกอบอาชีพหรือวิชาชีพอยางอ่ืนหรือดาํ รงตาํ แหนงหรือ
ประกอบการใด ๆ อนั ขดั ตอการปฏิบตั หิ นา ทต่ี ามระเบยี บท่ี ก.ศป. กําหนด
ÁÒμÃÒ ñõñô การแตง ตง้ั ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ ก.ศป. อาจดําเนนิ การไดโ ดยวธิ กี าร
ดังตอไปน้ี
(๑) พิจารณาเลื่อนตุลาการในศาลปกครองชั้นตนซ่ึงดํารงตําแหนงไมตา่ํ กวาตุลาการ
หัวหนาคณะศาลปกครองชั้นตน โดยคํานึงถึงหลักอาวุโส ความรูความสามารถ ความรับผิดชอบ
ความเหมาะสม ประวัติ และผลงานการปฏบิ ัติราชการ

๑๔ มาตรา ๑๕ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้ังศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๘๙

(๒) พิจารณาคัดเลือกบุคคลซึ่งมิไดดํารงตาํ แหนงตุลาการศาลปกครองในขณะนั้น
โดยมคี ุณสมบตั ิตามมาตรา ๑๓ และมีความเหมาะสมทจ่ี ะแตง ต้ังเปน ตุลาการศาลปกครองสงู สดุ

การแตงต้ังตุลาการศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงสัดสวนของผูท่ีไดรับ
การคดั เลอื กตามวรรคหนงึ่ (๒) โดยใหม จี ํานวนไมน อ ยกวา หนง่ึ ในหา ของจาํ นวนตลุ าการในศาลปกครอง
สงู สุดท้ังหมด

ให ก.ศป. เสนอรายช่ือผูไดรับการเลื่อนตามวรรคหน่ึง (๑) หรือไดรับการคัดเลือกตาม
วรรคหน่ึง (๒) ตอนายกรัฐมนตรี และใหนายกรัฐมนตรีนาํ รายชื่อดังกลาวเสนอขอความเห็นชอบ
ตอวุฒิสภาภายในสิบหาวันนับแตวันท่ีไดรับรายช่ือ เม่ือไดรับความเห็นชอบแลวใหนายกรัฐมนตรี
นําความกราบบงั คมทูลเพ่ือทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง ต้งั

การดาํ เนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) และ (๒) ใหเปนไปตามระเบียบท่ี ก.ศป. กําหนด
โดยความเห็นชอบของท่ปี ระชุมใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

ÁÒμÃÒ ñõ/ññõ ให ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคนหนึ่ง
เปน ประธานศาลปกครองสงู สดุ แลว เสนอชอ่ื ตอ นายกรฐั มนตรี และใหน ายกรฐั มนตรนี ําเสนอขอความเหน็ ชอบ
ตอ วฒุ สิ ภาภายในสบิ หา วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั การเสนอชอ่ื เมอ่ื ไดร บั ความเหน็ ชอบแลว ใหน ายกรฐั มนตรี
นาํ ความกราบบังคมทลู เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้

การแตงตั้งและการเลื่อนตุลาการในศาลปกครองสูงสุดใหดาํ รงตาํ แหนงรองประธาน
ศาลปกครองสงู สดุ ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองสงู สดุ และตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ หรอื ตําแหนง
ทเ่ี ทยี บเทา ให ก.ศป. พจิ ารณาคดั เลอื กแลว เสนอรายชอื่ ตอ นายกรฐั มนตรเี พอื่ นาํ ความกราบบงั คมทลู
เพอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตง้ั

วธิ กี ารคดั เลอื กประธานศาลปกครองสงู สดุ รองประธานศาลปกครองสงู สดุ ตลุ าการหวั หนา
คณะศาลปกครองสงู สดุ และตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ หรอื ตาํ แหนง ทเ่ี ทยี บเทา ใหเ ปน ไปตามระเบยี บ
ที่ ก.ศป. กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของทปี่ ระชมุ ใหญต ุลาการในศาลปกครองสูงสดุ

ÁÒμÃÒ ñõ/òñö ประธานศาลปกครองสูงสุดมีวาระการดาํ รงตําแหนงส่ีป นับแตวันที่
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตัง้ และใหดาํ รงตําแหนงไดเ พียงวาระเดียว

ในกรณีที่ประธานศาลปกครองสูงสุดดํารงตําแหนงครบวาระ และยังไมพนจากตาํ แหนง
ตลุ าการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ใหแ ตง ตง้ั ผนู นั้ ดาํ รงตาํ แหนง ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ใน
ตําแหนง อนื่ ตามที่ ก.ศป. กําหนด โดยใหไ ดร บั เงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ในอตั ราทไี่ มต ํ่ากวา เดมิ

๑๕ มาตรา ๑๕/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๖ มาตรา ๑๕/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิจัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๙๐

ในกรณที ปี่ ระธานศาลปกครองสงู สดุ ลาออกจากตาํ แหนง กอ นครบวาระตามวรรคหนง่ึ และ
ยงั ไมพ น จากตําแหนง ตลุ าการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ (๓) ก.ศป. อาจแตง ตง้ั ผนู น้ั ใหด ํารงตําแหนง
ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดในตาํ แหนงอื่น โดยใหไดรับเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงในอัตราที่
ก.ศป. กําหนดกไ็ ด

ÁÒμÃÒ ñö ผซู งึ่ ไดร บั ความเหน็ ชอบจากวฒุ สิ ภาใหด ํารงตาํ แหนง ตลุ าการในศาลปกครอง
สงู สดุ ผใู ดมลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๑๔ ตอ งลาออกจากการทเ่ี ปน บคุ คลซงึ่ มลี กั ษณะตอ งหา มหรอื
แสดงหลกั ฐานใหเ ปน ทเ่ี ชอื่ ไดว า ตนไดเ ลกิ ประกอบอาชพี หรอื วชิ าชพี หรอื การใด ๆ อนั มลี กั ษณะตอ งหา ม
ดังกลาวแลว ตอ นายกรัฐมนตรีภายในสิบหาวนั นบั แตว ันท่วี ฒุ ิสภาใหค วามเห็นชอบ

ÁÒμÃÒ ñ÷ñ÷ ในศาลปกครองชั้นตนแตละศาล ใหมีตําแหนงตุลาการศาลปกครอง
ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) อธบิ ดศี าลปกครองชั้นตน
(๒) รองอธิบดีศาลปกครองช้นั ตน
(๓) ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองช้ันตน
(๔) ตุลาการศาลปกครองชั้นตน
(๕) ตลุ าการศาลปกครองชัน้ ตนทเ่ี รียกช่ืออยางอนื่ ตามท่ี ก.ศป. ประกาศกําหนด
ทัง้ น้ี ตามจํานวนท่ี ก.ศป.กาํ หนด
การกําหนดตาํ แหนง ตามวรรคหนง่ึ (๕) ให ก.ศป. กาํ หนดวา จะใหเ ทยี บเทา กบั ตําแหนง ใด
ตามวรรคหนงึ่ ไวในประกาศดังกลา วดวย และเมอื่ ไดประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลวใหใ ชบงั คับได
ÁÒμÃÒ ñø ผูท่ีจะไดรับแตงตั้งเปนตุลาการในศาลปกครองชั้นตนตองมีคุณสมบัติ
ดังตอ ไปน้ี
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายไุ มตํา่ กวา สามสิบหา ป
(๓) เปนผูทรงคุณวุฒิในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร
สงั คมศาสตร หรือในการบรหิ ารราชการแผนดนิ ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑท ี่ ก.ศป. กําหนด และ
(๔) มคี ุณสมบตั อิ ่นื อยางหนง่ึ อยางใด ดงั ตอ ไปนี้

(ก)๑๘ (ยกเลิก)
(ข) รบั ราชการหรอื เคยรบั ราชการไมน อ ยกวา สามปใ นตําแหนง พนกั งานคดปี กครอง
ในระดับที่ ก.ศป. กําหนด

๑๗ มาตรา ๑๗ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔
๑๘ มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ก) ยกเลกิ โดยพระราชบญั ญัติจดั ต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐

๙๑

(ค)๑๙ รบั ราชการหรอื เคยรบั ราชการไมน อ ยกวา สามปใ นตําแหนง ไมต าํ่ กวา ผพู พิ ากษา
ศาลชัน้ ตนหรอื เทยี บเทา ซึ่งไดรบั เงนิ เดอื นในชน้ั ๓ หรอื ตุลาการพระธรรมนญู ศาลทหารกลาง

(ง) รับราชการหรือเคยรับราชการไมนอยกวาสามปในตําแหนงอัยการจังหวัดหรือ
เทยี บเทา

(จ)๒๐ รบั ราชการหรอื เคยรบั ราชการไมน อ ยกวา สามปใ นตําแหนง ไมต ํ่ากวา ขา ราชการ
พลเรอื น ระดบั ๘ หรอื ขา ราชการพลเรอื นประเภทวชิ าการ ระดบั ชาํ นาญการพเิ ศษ ประเภทอํานวยการ
หรือประเภทบริหาร หรือปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานไมนอยกวาสามปในตําแหนงท่ีเทียบเทา
ตามที่ ก.ศป. ประกาศกําหนด ในหนวยงานของรัฐ องคการมหาชน หรือรัฐวิสาหกิจท่ีต้ังข้ึนโดย
พระราชบัญญตั ิหรือพระราชกฤษฎกี า

(ฉ) เปนหรือเคยเปนผูสอนวิชาในสาขานิติศาสตร รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร
เศรษฐศาสตร สังคมศาสตร หรือวิชาท่ีเก่ียวกับการบริหารราชการแผนดินในสถาบันอุดมศึกษา
และดํารงตาํ แหนงหรือเคยดาํ รงตาํ แหนงไมต่ํากวารองศาสตราจารยหรือรองศาสตราจารยพิเศษ
ไมน อยกวาสามป

(ช)๒๑ สําเรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทหรอื ปรญิ ญาเอกดา นนติ ศิ าสตรส าขากฎหมาย
มหาชน และรับราชการในหนว ยงานของรฐั หรอื ปฏบิ ัตงิ านในหนวยงานของรฐั องคก ารมหาชน หรือ
รัฐวิสาหกิจท่ีตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา เปนเวลาไมนอยกวาสิบปนับแตสําเร็จ
การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท หรือไมนอยกวาหกปน ับแตสาํ เร็จการศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอก

(ซ) เปนหรือเคยเปนผูประกอบวิชาชีพทนายความไมนอยกวาสิบสองป และ
มปี ระสบการณในคดปี กครองตามหลักเกณฑที่ ก.ศป. ประกาศกาํ หนด

ใหนาํ ความในมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ มาใชบ งั คบั แกตุลาการในศาลปกครองชน้ั ตน
โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ ñùòò ให ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ และ
มีความเหมาะสมท่ีจะแตงตั้งเปนตุลาการประจาํ ศาลปกครองชั้นตน โดยวิธีการสอบคัดเลือก
การทดสอบความรู หรือการคัดเลือก ท้ังนี้ ตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของที่
ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ

๑๙ มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ค) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒๐ มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (จ) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒๑ มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (ช) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๒๒ มาตรา ๑๙ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๙๒

การฝกอบรมและการปฏิบัติหนาที่ของตุลาการประจําศาลปกครองช้ันตนใหเปนไปตาม
ระเบียบท่ี ก.ศป. กาํ หนด

ให ก.ศป. พิจารณาคัดเลือกตุลาการประจําศาลปกครองชนั้ ตนซึง่ ผานการฝกอบรมตาม
หลกั สตู รที่ ก.ศป. กาํ หนด และผลการฝก อบรมเปน ไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. วา เปน ผมู คี วามซอื่ สตั ย
สจุ รติ ความรคู วามสามารถ ความรบั ผดิ ชอบ และความประพฤตเิ หมาะสมทจี่ ะเปน ตลุ าการศาลปกครอง
เพอื่ แตง ตงั้ เปน ตลุ าการศาลปกครองชน้ั ตน แลว เสนอรายชอ่ื ตอ นายกรฐั มนตรี เพอ่ื นาํ ความกราบบงั คมทลู
เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง ต้งั

ตุลาการประจําศาลปกครองชั้นตนผูใดไมเหมาะสมที่จะเปนตุลาการศาลปกครองชั้นตน
หรอื ผลการฝก อบรมไมเ ปน ไปตามมาตรฐานของ ก.ศป. ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ โดยความเหน็ ชอบ
ของ ก.ศป. มีอํานาจสั่งใหออกจากราชการ หรือดาํ เนินการเพ่ือใหมีการโอนไปเปนขาราชการฝาย
ศาลปกครองได

ใหนําความในมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๕ วรรคหน่ึง และมาตรา ๒๖
มาใชบังคับกับตลุ าการประจาํ ศาลปกครองชัน้ ตนโดยอนโุ ลม

ÁÒμÃÒ ñù/ñòó การยายและการเล่ือนตุลาการในศาลปกครองชั้นตนใหดาํ รงตําแหนง
อธบิ ดศี าลปกครองชนั้ ตน รองอธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชน้ั ตน และ
ตลุ าการศาลปกครองชน้ั ตน หรอื ตําแหนง ท่ีเทียบเทา ให ก.ศป. พิจารณาคัดเลอื กแลว เสนอรายชื่อตอ
นายกรัฐมนตรเี พ่ือนําความกราบบงั คมทลู เพ่ือทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง

วธิ กี ารคดั เลอื กอธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน รองอธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน ตลุ าการหวั หนา คณะ
ศาลปกครองชั้นตน และตุลาการศาลปกครองชั้นตน หรือตาํ แหนงท่ีเทียบเทา ใหเปนไปตาม
ระเบียบ ที่ ก.ศป. กาํ หนดโดยความเห็นชอบของทป่ี ระชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

ÁÒμÃÒ òð กอนเขารับหนาท่ีตุลาการศาลปกครองคร้ังแรก ตุลาการศาลปกครอง
ตอ งถวายสัตยป ฏญิ าณตอพระมหากษตั รยิ ด ว ยถอ ยคาํ ดงั ตอไปนี้

“ขา พระพทุ ธเจา (ชอ่ื ผปู ฏิญาณ) ขอถวายสตั ยปฏิญาณวา ขาพระพทุ ธเจา จะจงรกั ภกั ดี
ตอพระมหากษัตรยิ  และจะปฏบิ ตั หิ นาที่ในพระปรมาภไิ ธยดว ยความซ่ือสัตยสจุ ริต โดยปราศจากอคติ
ทงั้ ปวง เพื่อใหเกดิ ความยุติธรรมแกป ระชาชน และความสงบสุขแหง ราชอาณาจกั ร ท้งั จะรกั ษาไวแ ละ
ปฏิบัติตามซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญ
แหง ราชอาณาจักรไทยและกฎหมายทกุ ประการ”

ÁÒμÃÒ òñ ตลุ าการศาลปกครองพนจากตาํ แหนง เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก

๒๓ มาตรา ๑๙/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญตั จิ ัดตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๙๓

(๓) ส้ินปงบประมาณท่ีตุลาการศาลปกครองผูน้ันมีอายุครบหกสิบหาปบริบูรณ เวนแต
จะผานการประเมินสมรรถภาพใหดาํ รงตําแหนงตอ ไปตามมาตรา ๓๑

(๔) ขาดคณุ สมบัติหรือมีลักษณะตอ งหา มตามมาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๘
(๕) เปนบคุ คลลม ละลาย
(๖) เปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ วิกลจริต หรือจิตฟนเฟอน
ไมสมประกอบ
(๗) เปนโรคหรือมีกายหรือจิตใจไมเหมาะสมที่จะเปนตุลาการศาลปกครองตามท่ีระบุไว
ในประกาศท่ี ก.ศป. กาํ หนดโดยไดร ับความเห็นชอบของท่ปี ระชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ
(๘) ถูกสั่งใหอ อกจากราชการตามมาตรา ๒๒
(๙) ถูกไลอ อกตามมาตรา ๒๓
(๑๐)๒๔ โอนไปรบั ราชการเปนขา ราชการฝา ยศาลปกครองหรอื ขาราชการฝายอน่ื
การพนจากตาํ แหนงตามวรรคหนึ่ง ใหนําความกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ ใหพนจากตาํ แหนง เวนแตการพนจากตาํ แหนงตามวรรคหนึ่ง (๑) (๓) (๘) และ (๙)
ใหน ําความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงทราบ๒๕
ÁÒμÃÒ òòòö ตุลาการศาลปกครองตองประพฤติตนตามวินัยแหงการเปนตุลาการ
ศาลปกครองตามที่ ก.ศป. กาํ หนด
ก.ศป. อาจมมี ตใิ หต ลุ าการศาลปกครองผใู ดออกจากราชการตามกฎหมายวา ดว ยบาํ เหนจ็
บาํ นาญขาราชการหรือกฎหมายวาดวยกองทุนบาํ เหน็จบํานาญขาราชการ แลวแตกรณี ไดในกรณีที่
กฎหมายดังกลาวบัญญัติใหผูถูกสั่งใหออกมีสิทธิไดรับบาํ เหน็จบํานาญ แตการใหออกจากราชการ
เพือ่ รบั บาํ เหนจ็ บํานาญเหตุทดแทนใหท าํ ไดในกรณดี งั ตอ ไปนดี้ ว ย
(๑) ปฏิบัติหนาที่บกพรองอยางรายแรงหรือประพฤติตนไมสมควรตามที่กําหนดในวินัย
แหง การเปนตุลาการศาลปกครอง
(๒) หยอ นความสามารถในอนั ทจ่ี ะปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ าชการ หรอื เจบ็ ปว ยไมอ าจปฏบิ ตั หิ นา ที่
ราชการไดโ ดยสมาํ่ เสมอแตไมถงึ เหตุทพุ พลภาพ
(๓) ไดร บั โทษจําคกุ โดยคาํ พพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ ใหจ าํ คกุ ในความผดิ อนั ไดก ระทําโดยประมาท
หรือความผิดลหุโทษ

๒๔ มาตรา ๒๑ วรรคหนึ่ง (๑๐) เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐

๒๕ มาตรา ๒๑ วรรคสอง แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัติจดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๒๖ มาตรา ๒๒ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๙๔

ในกรณที ่ี ก.ศป. มีมตใิ หตลุ าการศาลปกครองพน จากตําแหนงตามมาตรา ๒๑ วรรคหน่งึ
(๔) (๕) (๖) หรอื (๗) ใหมีสทิ ธไิ ดรบั บาํ เหนจ็ บํานาญเหตทุ ดแทนตามกฎหมายวา ดว ยบาํ เหนจ็ บาํ นาญ
ขาราชการหรอื กฎหมายวา ดวยกองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญขา ราชการ แลวแตกรณี ดวย

ÁÒμÃÒ òó ก.ศป. อาจมีมติไลต ลุ าการศาลปกครองออกไดใ นกรณี ดงั ตอ ไปนี้
(๑) ทุจริตตอหนาทร่ี าชการ
(๒) กระทาํ ผิดวนิ ัยอยางรา ยแรงตามทก่ี ําหนดในวนิ ยั แหง การเปนตลุ าการศาลปกครอง
(๓) ไดรับโทษจาํ คุกโดยคาํ พิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตในความผิดอันไดกระทาํ
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
ÁÒμÃÒ òó/ñò÷ ในกรณีท่ีขาราชการตุลาการศาลปกครองกระทําผิดวินัยไมถึงข้ันที่จะ
ตองใหออกหรือไลออก ก.ศป. อาจมีมติใหลงโทษงดเล่ือนตาํ แหนง หรืองดเล่ือนเงินเดือนเปนเวลา
ไมเกนิ สามป หรอื ถา มเี หตสุ มควรปรานีจะส่ังลงโทษเพียงภาคทัณฑ และจะใหทําทณั ฑบนเปน หนงั สอื
หรอื วากลาวตักเตือนดว ยกไ็ ด
การแตง ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน วธิ กี ารสอบสวน และสทิ ธขิ องผถู กู กลา วหาและบคุ คล
ท่ีเก่ียวของ ใหเปนไปตามระเบียบที่ ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของท่ีประชุมใหญตุลาการใน
ศาลปกครองสูงสุด
ÁÒμÃÒ òô ในการพิจารณาใหขาราชการตุลาการศาลปกครองพนจากตําแหนงโดย
ถูกสั่งใหออกจากราชการตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง (๑) หรือ (๒) หรือตามมาตรา ๒๒ วรรคสาม
ประกอบกับมาตรา ๒๑ วรรคหนงึ่ (๔) หรือ (๗) หรอื โดยถกู ไลอ อกตามมาตรา ๒๓ (๑) หรอื (๒) ให
ก.ศป. แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน ประกอบดวย ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการใน
ศาลปกครองชั้นตนจาํ นวนส่ีคน และเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนหรือรองเลขาธิการ
คณะกรรมการขาราชการพลเรือนที่เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือนมอบหมายจํานวน
หน่งึ คนเปน กรรมการเพอ่ื ทาํ การสอบสวน๒๘
ในการสอบสวนใหคณะกรรมการสอบสวนมีอํานาจเรียกใหหนวยงานทางปกครองหรือ
บคุ คลใดใหข อเทจ็ จรงิ ใหถอ ยคํา หรือใหสง เอกสารหลกั ฐานท่เี กยี่ วกับเรื่องทสี่ อบสวนได
ในระหวา งการสอบสวนหรอื พจิ ารณาตามวรรคหนงึ่ ถา ก.ศป. เหน็ วา การใหผ ถู กู สอบสวน
หรอื พจิ ารณาปฏบิ ตั หิ นาท่ีตอไปจะเปนการเสียหายแกราชการจะมีมติใหพ ักราชการก็ได
การใหพ กั ราชการนนั้ ใหพ กั ตลอดเวลาทส่ี อบสวนหรอื พจิ ารณา เมอ่ื สอบสวนหรอื พจิ ารณา
เสร็จแลว ถาปรากฏวาผูถูกใหพักราชการมิไดกระทําการตามท่ีถูกสอบสวนหรือพิจารณา ก็ใหผูนั้น
คงอยูใ นราชการตามเดิม

๒๗ มาตรา ๒๓/๑ เพิม่ โดยพระราชบัญญตั ิจัดตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๒๘ มาตรา ๒๔ วรรคหนึง่ แกไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญัติจดั ต้ังศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๙๕

วิธีการสอบสวนและสิทธิของผูถูกกลาวหาและบุคคลที่เก่ียวของใหเปนไปตามระเบียบท่ี
ก.ศป. กําหนดโดยความเห็นชอบของท่ปี ระชุมใหญตลุ าการในศาลปกครองสงู สุด

ÁÒμÃÒ òô/ñòù ขา ราชการตลุ าการศาลปกครองซง่ึ มาจากขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
ขา ราชการพลเรอื น ขา ราชการฝา ยอน่ื หรอื เจา หนา ทขี่ องหนว ยงานอน่ื ของรฐั ผใู ดมกี รณกี ระทําผดิ วนิ ยั
อยกู อนวันที่ไดร ับแตงตง้ั เปน ขาราชการตุลาการศาลปกครอง ให ก.ศป. เปนผูพิจารณาดาํ เนนิ การทาง
วินัยแกผูนั้นตามบทบัญญัติเก่ียวกับวินัยแหงการเปนตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม แตถาเร่ืองอยู
ระหวางการสืบสวนหรือสอบสวนทางวินัยกอนวันที่ไดรับแตงตั้งก็ใหสืบสวนหรือสอบสวนตอไปตาม
กฎหมายทใี่ ชบ งั คบั อยใู นขณะทกี่ ระทาํ ความผดิ จนแลว เสรจ็ แลว สง เรอื่ งให ก.ศป. พจิ ารณาดาํ เนนิ การ
ทางวินัยตอไปตามบทบัญญัติเกี่ยวกับวินัยแหงการเปนตุลาการศาลปกครองโดยอนุโลม และในกรณี
ทจี่ ะตอ งสงั่ ลงโทษทางวนิ ยั ใหพ จิ ารณาตามความผดิ และลงโทษตามบทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั วนิ ยั ของขา ราชการ
ฝา ยศาลปกครองกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรอื น กฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการฝา ยอนื่
หรอื กฎหมายเกย่ี วกบั วนิ ยั ของเจา หนา ทข่ี องหนว ยงานอนื่ ของรฐั ทใ่ี ชบ งั คบั อยใู นขณะทกี่ ระทาํ ความผดิ นนั้
แลวแตกรณี โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ òõóð ตุลาการศาลปกครองผูใดพนจากตาํ แหนงไปโดยมิไดมีความผิดและมิใช
เปน การพน จากตาํ แหนง ตามมาตรา ๒๑ วรรคหนงึ่ (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) หรอื (๙) ก.ศป. อาจพจิ ารณาคดั เลอื ก
ผูน้ันใหกลับเขารับราชการเปนตุลาการศาลปกครองในตําแหนงไมสูงกวาตาํ แหนงเดิมหรือเทียบเทา
ก็ได ถาผูนนั้ มีคุณสมบตั ติ ามมาตรา ๑๓ หรอื มาตรา ๑๘ วรรคหนง่ึ แลวแตกรณแี ละยังมีอายไุ มครบ
หกสบิ หา ปบ รบิ รู ณใ นวนั สนิ้ ปง บประมาณนนั้ หรอื ยงั มอี ายไุ มค รบเจด็ สบิ ปบ รบิ รู ณใ นวนั สน้ิ ปง บประมาณนนั้
ในกรณีท่ีเปนผูซ่ึงที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกใหไปดํารงตาํ แหนงตุลาการ
ศาลรัฐธรรมนูญ ท้ังน้ี หากผูนั้นมีอายุครบเกณฑที่จะตองประเมินสมรรถภาพตามมาตรา ๓๑
วรรคหนึ่งแลว แตยังไมเคยผานการประเมินสมรรถภาพ ใหจัดใหมีการประเมินสมรรถภาพได แมจะ
มอี ายลุ วงเลยการประเมินสมรรถภาพตามมาตรา ๓๑ วรรคหนงึ่ แลว ก็ตาม

ตลุ าการศาลปกครองซงึ่ โอนไปดาํ รงตาํ แหนง เลขาธกิ ารสํานกั งานศาลปกครอง ถา ตอ งโอน
กลบั เขา ดาํ รงตาํ แหนงตุลาการศาลปกครองเพราะเหตทุ ีค่ รบวาระการดาํ รงตําแหนงตามมาตรา ๗๘/๑
วรรคสอง หรือยื่นความประสงคขอโอนกลับกอนครบวาระ และผูนั้นมคี ุณสมบัติตามมาตรา ๑๓ หรอื
มาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง แลวแตกรณี ให ก.ศป. พิจารณาใหความเห็นชอบใหดํารงตาํ แหนงในลาํ ดับ
อาวุโสทเ่ี คยครองโดยใหไดร ับเงนิ เดอื น เงนิ ประจําตําแหนง และประโยชนต อบแทนอ่นื ในช้นั เดยี วกบั
ตลุ าการศาลปกครองทีอ่ ยูใ นลําดับอาวโุ สเทา กนั ในขณะท่ีผูน ้นั ดาํ รงตําแหนงตลุ าการศาลปกครอง

๒๙ มาตรา ๒๔/๑ เพมิ่ โดยพระราชบัญญตั ิจัดตงั้ ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๓๐ มาตรา ๒๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๙๖

ในกรณที ผี่ ซู งึ่ ไดร บั การคดั เลอื กใหก ลบั เขา รบั ราชการตามวรรคหนง่ึ หรอื ผซู งึ่ ไดร บั ความเหน็ ชอบ
ใหโอนกลับเขาดาํ รงตาํ แหนงตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง มีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๔
ใหนาํ ความในมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๘ วรรคสอง แลวแตก รณี มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

ใหน ําความในมาตรา ๑๕ วรรคสาม หรือมาตรา ๑๙ วรรคสาม แลว แตกรณี มาใชบังคับ
แกก ารคดั เลอื กใหก ลบั เขา รบั ราชการเปน ตลุ าการศาลปกครองตามวรรคหนงึ่ หรอื การโอนกลบั เขา ดาํ รง
ตําแหนง ตุลาการศาลปกครองตามวรรคสอง โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ òö ตุลาการศาลปกครองผูใดประสงคจะลาออกจากราชการ ใหย่ืนหนังสือ
ขอลาออก เมือ่ ประธานศาลปกครองสูงสดุ สงั่ อนุญาตแลวใหถ ือวา พนจากตําแหนง

ในกรณที ต่ี ลุ าการศาลปกครองลาออกเพอ่ื ดํารงตําแหนง ทก่ี ําหนดโดยรฐั ธรรมนญู ตําแหนง
ทางการเมือง หรอื เพ่ือสมัครรับเลือกต้ัง ใหการลาออกมีผลต้ังแตว ันท่ผี ูน้ันลาออก

นอกจากกรณตี ามวรรคสอง ถาประธานศาลปกครองสูงสุดเหน็ วาจําเปน เพ่อื ประโยชน
แกทางราชการ จะยบั ยัง้ การอนุญาตใหลาออกไวเปน เวลาไมเ กินสามเดือน นับแตวันทขี่ อลาออกกไ็ ด

ÁÒμÃÒ òö/ñóñ การโอนขาราชการตุลาการศาลปกครองผูใดไปเปนขาราชการ
ฝายศาลปกครองหรือขาราชการฝายอื่น ใหประธานศาลปกครองสูงสุดส่ังไดเมื่อขาราชการตุลาการ
ศาลปกครองผูน ั้นยินยอมและไดร ับความเหน็ ชอบจาก ก.ศป.

ÁÒμÃÒ ò÷ การยายตุลาการศาลปกครองผูใดไปดํารงตาํ แหนงอื่นในศาลปกครอง
จะตองไดรับความยินยอมจากตุลาการศาลปกครองผูน้ัน และใหประธานศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจ
แตง ตงั้ ได โดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป.ตามระเบยี บที่ ก.ศป.กําหนดโดยความเหน็ ชอบของทป่ี ระชมุ ใหญ
ตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

ความในวรรคหน่ึงมิใหใชบังคับกับการเล่ือนตาํ แหนงใหสูงข้ึน หรือเปนการยายประจาํ ป
หรือเปนกรณีที่อยูในระหวางถูกดาํ เนินการทางวินัย หรือตกเปนจาํ เลยในคดีอาญาท่ีศาลมีคาํ ส่ัง
ประทบั ฟองแลว

ÁÒμÃÒ òø ประธานศาลปกครองสูงสุดตองรับผิดชอบใหงานของศาลปกครองเปนไป
โดยเรยี บรอ ยตามระเบยี บที่ ก.ศป. กาํ หนด โดยความเหน็ ชอบของทปี่ ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครอง
สงู สุด หรอื ระเบียบท่ี ก.บ.ศป. กําหนด แลว แตก รณี โดยมรี องประธานศาลปกครองสูงสุดชว ยปฏิบัติ
หนาทตี่ ามทป่ี ระธานศาลปกครองสูงสดุ มอบหมาย๓๒

อธบิ ดศี าลปกครองชนั้ ตน ตอ งรบั ผดิ ชอบใหง านของศาลนน้ั เปน ไปโดยเรยี บรอ ยตามระเบยี บ
ท่ี ก.ศป. กาํ หนด โดยความเหน็ ชอบของทีป่ ระชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสุด หรอื ระเบียบท่ี

๓๑ มาตรา ๒๖/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิจัดตง้ั ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๓๒ มาตรา ๒๘ วรรคหนึง่ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติจัดต้งั ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐


Click to View FlipBook Version