The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:06:01

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

๙๗

ก.บ.ศป. กาํ หนด แลวแตกรณี โดยมีรองอธิบดีศาลปกครองช้ันตนชวยปฏิบัติหนาท่ีตามที่อธิบดี
ศาลปกครองชน้ั ตน มอบหมาย๓๓

ในกรณีที่ตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองช้ันตนวางลง หรือ
มแี ตไมอาจปฏบิ ตั ิหนา ท่ีได ใหร องประธานศาลปกครองสงู สุดหรือรองอธิบดศี าลปกครองชน้ั ตน หรือ
ตลุ าการศาลปกครองอนื่ แลว แตก รณี ปฏบิ ตั หิ นา ทแ่ี ทนตามระเบยี บท่ี ก.ศป.กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบ
ของท่ีประชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

ผปู ฏบิ ัตหิ นา ท่ีแทนยอมมีอาํ นาจหนา ทเ่ี ชน เดยี วกบั ผซู ง่ึ ตนแทน
ÁÒμÃÒ òù การเปลยี่ นแปลงตลุ าการศาลปกครองในองคค ณะหนงึ่ องคค ณะใดเนอ่ื งจาก
ตลุ าการศาลปกครองผใู ดพน จากตําแหนง ถกู พกั ราชการ ไดร บั การแตง ตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง อนื่ เจบ็ ปว ย
หรือมีเหตุจําเปนอ่ืนทาํ ใหไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหเปนไปตามระเบียบที่ที่ประชุมใหญตุลาการ
ในศาลปกครองสูงสดุ กาํ หนด
ตุลาการศาลปกครองซ่ึงเขามาแทนที่ตามวรรคหนึ่ง ใหมีอํานาจตรวจสาํ นวนและ
ลงลายมอื ชือ่ ในคาํ พพิ ากษาได
ÁÒμÃÒ óð อัตราเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงของตุลาการศาลปกครองใหเปนไป
ตามบัญชีทายพระราชบญั ญัตนิ ี้๓๔
ตลุ าการศาลปกครองใหไดร บั เงนิ เดือนตามตําแหนง ทไี่ ดรับแตงตง้ั ดังตอ ไปนี้
(๑) ในศาลปกครองสูงสดุ

(ก) ประธานศาลปกครองสูงสุด ใหไ ดรบั เงนิ เดอื น ชัน้ ๔
(ข) รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองสูงสุด และ
ตลุ าการศาลปกครองสงู สุด ใหไดร ับเงนิ เดอื น ชัน้ ๓ ขนั้ สงู สุด
(๒) ในศาลปกครองชน้ั ตน
(ก) อธิบดีศาลปกครองชัน้ ตน ใหไดรบั เงนิ เดอื น ชั้น ๓ ช้นั สูงสุด
(ข) รองอธบิ ดศี าลปกครองชนั้ ตน และตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชนั้ ตน ใหไ ด
รบั เงนิ เดอื น ชนั้ ๒-๓ โดยใหเ รมิ่ รบั เงนิ เดอื นในชน้ั ๒ และเมอื่ อยใู นชนั้ ๒ มาครบเจด็ ปแ ลว ใหเ ลอื่ นชนั้
เงนิ เดอื นเปนช้นั ๓
(ค) ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ตน ใหไ ดร บั เงนิ เดอื น ชนั้ ๑-๓ โดยใหเ รม่ิ รบั เงนิ เดอื นใน
ช้ัน ๑ เมื่ออยูในชั้น ๑ มาครบหนึ่งปแลวใหเลื่อนช้ันเงินเดือนเปนชั้น ๒ และเม่ืออยูในช้ัน ๒ มาครบ
เจด็ ปแ ลวใหเลอื่ นช้นั เงนิ เดือนเปนช้นั ๓๓๕

๓๓ มาตรา ๒๘ วรรคสอง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐

๓๔ มาตรา ๓๐ วรรคหนงึ่ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๑)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๓๕ มาตรา ๓๐ วรรคสอง แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๑)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๙๘

ใหตุลาการศาลปกครองไดรับเงินประจําตาํ แหนงตามตาํ แหนงที่ไดรับแตงต้ังนับแตวันท่ี
ไดร บั แตง ตั้งใหด าํ รงตําแหนง ดงั กลาว

ตุลาการศาลปกครองใหไดรับคาพาหนะเดินทาง คาท่ีพัก และคาใชจายอ่ืนในกรณี
เดนิ ทางไปราชการ ตามพระราชกฤษฎกี าวาดวยคาใชจา ยในการเดนิ ทางไปราชการ

เพ่ือประโยชนในการรับบําเหน็จบาํ นาญ ใหตุลาการศาลปกครองเปนขาราชการตาม
กฎหมายวา ดวยกองทนุ บําเหน็จบาํ นาญขา ราชการ ในการนี้ ใหสํานักงานศาลปกครองเปน เจา หนาท่ี
ควบคมุ การเกษียณอายุของตลุ าการศาลปกครอง

ในกรณที สี่ มควรปรบั อตั ราเงนิ เดอื นของตลุ าการศาลปกครองใหส อดคลอ งกบั ภาวะเศรษฐกจิ
ทเี่ ปลี่ยนแปลงไป ถา การปรบั อตั ราเงนิ เดอื นดังกลาวเปน การปรับเพ่ิมเปนรอยละเทา กนั ทกุ อัตราและ
ไมเ กนิ รอ ยละสบิ ของอตั ราทใ่ี ชบ งั คบั อยู การปรบั ใหก ระทําโดยตราเปน พระราชกฤษฎกี า และใหถ อื วา
บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจําตําแหนง ทา ยพระราชกฤษฎกี าดงั กลา วเปน บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและ
เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ทายพระราชบัญญตั นิ ี้ ทั้งนี้ ในกรณีท่ีการปรับเปน รอยละเทา กนั ทกุ อัตราดงั กลาว
หากทาํ ใหอ ตั ราหนง่ึ อตั ราใดมเี ศษไมถ งึ สบิ บาทใหป รบั ตวั เลขเงนิ เดอื นของอตั ราดงั กลา วใหเ พมิ่ ขนึ้ เปน
สิบบาท และมใิ หถ ือวา เปน การปรบั อัตรารอ ยละทีแ่ ตกตางกนั ๓๖

ตุลาการศาลปกครองซึ่งดาํ รงตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอ่ืน เมื่อเทียบกับตําแหนงใดตาม
วรรคสอง (๑) (ข) หรอื (๒) (ก) (ข) หรอื (ค) แลว ใหไ ดรบั เงนิ เดือน การเล่ือนชัน้ เงินเดือนและเงินประจํา
ตําแหนง รวมทง้ั ประโยชนต อบแทนอ่นื ตามตําแหนง นั้น๓๗

ÁÒμÃÒ óð/ñóø ตุลาการศาลปกครองอาจไดรับเงินเพ่ิมคาครองชีพชั่วคราวตามภาวะ
เศรษฐกจิ ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารท่ี ก.บ.ศป. กาํ หนด๓๙

ในกรณที มี่ เี หตจุ ะตอ งจดั ใหม หี รอื ปรบั ปรงุ เงนิ เพมิ่ คา ครองชพี ตามวรรคหนง่ึ ใหเ ลขาธกิ าร
สํานกั งานศาลปกครองรายงานไปยงั คณะรัฐมนตรีเพ่อื พิจารณาดาํ เนนิ การตอไป

ÁÒμÃÒ óð/òôð ตลุ าการประจําศาลปกครองชนั้ ตน ใหไ ดรับเงนิ เดือน ช้นั ๑ และใหได
รบั ประโยชนต อบแทนอนื่ เชน เดยี วกบั ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ตน แตไ มม สี ทิ ธไิ ดร บั เงนิ ประจําตาํ แหนง

ใหน ําความในมาตรา ๓๐ วรรคสแ่ี ละวรรคหา มาใชบ งั คบั กบั ตลุ าการประจําศาลปกครอง
ชนั้ ตนโดยอนโุ ลม

ÁÒμÃÒ óñ ให ก.ศป. จัดใหม ีการประเมินสมรรถภาพในการปฏบิ ัตหิ นาที่ของตลุ าการ
ศาลปกครองทจ่ี ะมอี ายคุ รบหกสบิ หาปบรบิ รู ณในปง บประมาณถัดไป

๓๖ มาตรา ๓๐ วรรคหก เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐
๓๗ มาตรา ๓๐ วรรคเจ็ด เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั ิจัดต้ังศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๕๔
๓๘ มาตรา ๓๐/๑ เพม่ิ โดยพระราชบัญญตั ิจัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐
๓๙ มาตรา ๓๐/๑ วรรคหนึ่ง แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิจัดตง้ั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๔๐ มาตรา ๓๐/๒ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๙๙

หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารประเมนิ สมรรถภาพในการปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามวรรคหนงึ่ ใหเ ปน ไปตาม
ระเบยี บท่ี ก.ศป. กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของที่ประชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสงู สุด

ตุลาการศาลปกครองซ่ึงผานการประเมินสมรรถภาพตามวรรคหนึ่ง ใหดํารงตําแหนง
ตอ ไปไดจ นถึงวันสิน้ ปงบประมาณทีผ่ นู น้ั มีอายุครบเจ็ดสิบปบริบูรณ

ÁÒμÃÒ óò ใหก รณที ขี่ า ราชการหรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ ผใู ดไดร บั
แตง ตง้ั เปน ตลุ าการศาลปกครอง เพอื่ ประโยชนใ นการรบั บําเหนจ็ บาํ นาญ ใหถ อื เวลาราชการหรอื เวลา
ทาํ งานของผนู นั้ ในขณะทเ่ี ปน ขา ราชการหรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ เปน เวลาราชการ
ของตุลาการศาลปกครองผูนั้น และใหนาํ กฎหมายวาดวยบําเหน็จบาํ นาญขาราชการหรือกฎหมาย
วา ดว ยกองทนุ บาํ เหน็จบาํ นาญขาราชการ แลว แตกรณี มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

ÁÒμÃÒ óóôñ เคร่ืองแบบขาราชการตุลาการศาลปกครองและระเบียบการแตงกาย
ใหเปน ไปตามที่ ก.บ.ศป. ประกาศกาํ หนด

ÁÒμÃÒ óô ในการปฏิบัติหนาท่ี ใหตุลาการศาลปกครองเปนเจาพนักงานในตําแหนง
ตลุ าการตามประมวลกฎหมายอาญา

ÁÒμÃÒ óô/ñôò การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซ่ึงตุลาการศาลปกครองไดกระทาํ โดย
สจุ รติ ยอมไดรบั ความคุมครอง

ËÁÇ´ ó
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃμÅØ Ò¡ÒÃÈÒÅ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ óõôó ใหม คี ณะกรรมการตลุ าการศาลปกครองคณะหนงึ่ เรยี กโดยยอ วา “ก.ศป.”
ประกอบดว ย
(๑) ประธานศาลปกครองสงู สุดเปนประธานกรรมการ
(๒) กรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซ่ึงเปนตุลาการศาลปกครองจํานวน
สบิ คน ดังนี้
(ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดจํานวนหกคนซึ่งไดรับเลือกจากตุลาการ
ในศาลปกครองสงู สุด
(ข) ตุลาการในศาลปกครองชั้นตนจํานวนส่ีคนซึ่งไดรับเลือกจากตุลาการ
ในศาลปกครองช้ันตน

๔๑ มาตรา ๓๓ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๔๒ มาตรา ๓๔/๑ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๔๓ มาตรา ๓๕ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๐๐

(๓) กรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซ่ึงไมเปนหรือเคยเปนตุลาการใน
ศาลปกครองจาํ นวนสองคน ทไี่ ดร บั เลอื กจากตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ และตลุ าการในศาลปกครองชนั้ ตน

ใหเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครองเปนเลขานุการของ ก.ศป. และให ก.ศป. แตงตั้ง
ขา ราชการฝายศาลปกครองจาํ นวนไมเกนิ สองคนเปนผูชวยเลขานกุ าร

ÁÒμÃÒ óõ/ñôô กรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕
วรรคหน่ึง (๓) ตองมคี ุณสมบัตแิ ละไมมีลกั ษณะตอ งหา ม ดังตอ ไปนี้

(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มอี ายุไมต ํา่ กวา สสี่ ิบหา ป
(๓) สําเรจ็ การศกึ ษาไมต่ํากวาปริญญาตรีหรอื เทียบเทา
(๔) ไมเปนตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกตั้ง กรรมการตรวจเงินแผนดิน
ผูตรวจการแผนดิน กรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชน
แหง ชาติหรือกรรมการในคณะกรรมการตลุ าการศาลยตุ ธิ รรมหรือศาลอน่ื
(๕) ไมเ ปนขาราชการอยั การ ขา ราชการตาํ รวจ ขาราชการตลุ าการศาลยุติธรรม ตุลาการ
ศาลทหาร หรือทนายความ
(๖) ไมเ ปนกรรมการ ท่ีปรกึ ษา พนกั งาน ลูกจาง หรือดํารงตาํ แหนง ใดในรฐั วิสาหกิจ
(๗) ไมเ ปน ผมู ีความประพฤตเิ ส่อื มเสยี หรือบกพรอ งในศลี ธรรมอันดี
(๘) ไมเ ปน บคุ คลลม ละลาย หรือไมเคยเปนบุคคลลม ละลายทจุ รติ
(๙) ไมเ คยถกู ไลอ อก ปลดออก หรอื ใหอ อกจากราชการ หนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ
(๑๐) ไมเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจาํ คุก เวนแตเปนโทษสาํ หรับ
ความผดิ ที่ไดกระทาํ โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๑๑) ไมเ ปน คนไรค วามสามารถ คนเสมอื นไรค วามสามารถ หรอื คนวกิ ลจรติ หรอื จติ ฟน เฟอ น
ไมส มประกอบ
(๑๒) ไมเ ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา ขา ราชการการเมอื ง สมาชกิ สภาทอ งถนิ่
ผูบรหิ ารทอ งถิ่น กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจา หนาท่ใี นพรรคการเมือง
(๑๓) ไมป ระกอบอาชพี หรอื วชิ าชพี อน่ื ใดอนั เปน การกระทบกระเทอื นถงึ การปฏบิ ตั หิ นา ที่
ในตําแหนงกรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคุณวุฒิ
ÁÒμÃÒ óõ/òôõ กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ
(๒) และ (๓) จะดาํ รงตําแหนงกรรมการบริหารศาลปกครองผทู รงคณุ วุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหน่งึ
(๓) (๔) หรือ (๕) หรือกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง
(๓) (๔) หรอื (๕) ในเวลาเดียวกนั มิได

๔๔ มาตรา ๓๕/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัตจิ ัดตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗
๔๕ มาตรา ๓๕/๒ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๐๑

ÁÒμÃÒ óöôö การเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕
วรรคหนง่ึ (๒) ใหใ ชว ธิ อี อกเสยี งลงคะแนนโดยตรงและลบั ในการนใ้ี หเ ลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลปกครอง
จัดทําบัญชีรายช่ือบุคคลผูมีสิทธิไดรับเลือก โดยแยกเปนประเภทตุลาการในศาลปกครองสูงสุดและ
ตุลาการในศาลปกครองช้ันตนสงไปยังตุลาการในศาลปกครองสูงสุดหรือตุลาการในศาลปกครอง
ช้ันตน แลว แตกรณี และใหแจง กาํ หนดวัน เวลา และสถานทที่ จ่ี ะทําการเลอื กไปดวย

ใหมีคณะกรรมการดําเนินการเลือก ประกอบดวย เลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครอง
ตลุ าการศาลปกครองสามคน และคณบดคี ณะนติ ศิ าสตรใ นสถาบนั อดุ มศกึ ษาของรฐั สามคน ซงึ่ ประธาน
ศาลปกครองสงู สดุ เปนผูคดั เลือก เปน กรรมการ มีหนาท่ีในการดําเนนิ การเกยี่ วกับการเลอื กกรรมการ
ตุลาการศาลปกครองผูท รงคณุ วุฒติ ามวรรคหนึ่ง การตรวจนับคะแนนและการประกาศผลการเลอื ก

ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ รบั ผดิ ชอบดแู ลใหก ารเลอื กเปน ไปโดยถกู ตอ งและเรยี บรอ ย
ใหผ ไู ดร บั เลอื กเปน กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ (๒)
เขารับหนาที่เมื่อประธานศาลปกครองสูงสุดไดประกาศรายชื่อผูไดรับเลือกเปนกรรมการตุลาการ
ศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิ และใหเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อ
ผไู ดร บั เลือกในราชกจิ จานเุ บกษา
ÁÒμÃÒ ó÷ô÷ ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ ประกาศรบั สมคั รบคุ คลซงึ่ มคี ณุ สมบตั แิ ละ
ไมม ลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๓๕/๑ เขา รบั การเลอื กเปน กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ิ
ตามมาตรา ๓๕ วรรคหน่งึ (๓) โดยใหค ณะกรรมการดําเนนิ การเลือกตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะ
ตองหามของผูสมัครเขารับการเลือก แลวจัดทาํ บัญชีรายชื่อบุคคลผูมีสิทธิไดรับเลือกสงไปยังตุลาการ
ในศาลปกครองสูงสดุ และตลุ าการในศาลปกครองชน้ั ตน และใหแ จง กาํ หนดวนั เวลา และสถานท่ีท่ีจะ
ทําการเลือกไปดวย
ใหนําความในมาตรา ๓๖ มาใชบังคับแกการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครอง
ผูทรงคณุ วฒุ ิในวรรคหนึง่ โดยอนุโลม
ÁÒμÃÒ óøôø หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารเลอื ก การนบั คะแนน และการประกาศผลการเลอื ก
กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๙/๑ ใหเปนไป
ตามท่ีประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศกําหนดโดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป.
ÁÒμÃÒ óùôù กรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง
(๒) หรอื (๓) ใหอ ยใู นตําแหนง คราวละสองปโ ดยอาจไดร บั เลอื กใหมไ ดอ กี แตจ ะดํารงตําแหนง ตดิ ตอ กนั
เกินสองวาระไมได

๔๖ มาตรา ๓๖ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗
๔๗ มาตรา ๓๗ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑
๔๘ มาตรา ๓๘ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑
๔๙ มาตรา ๓๙ แกไ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗

๑๐๒

กอ นกรรมการตลุ าการศาลปกครองผูท รงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนงึ่ (๒) และ (๓)
จะครบวาระเปนเวลาไมนอยกวาหกสิบวันแตไมเกินเกาสิบวัน ใหดาํ เนินการเลือกกรรมการตุลาการ
ศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ขิ น้ึ ใหม โดยตอ งดาํ เนนิ การใหแ ลว เสรจ็ กอ นทกี่ รรมการตลุ าการศาลปกครอง
ผทู รงคณุ วฒุ ชิ ดุ เดมิ จะพน จากตําแหนง ตามวาระ ในกรณจี ําเปน ทไี่ มอ าจดาํ เนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ภายใน
กาํ หนดเวลาดังกลาวได ใหกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระ
ปฏบิ ัตหิ นา ที่ตอ ไป แตทั้งนี้ ตองไมเกนิ หกสบิ วนั นบั แตว นั ท่พี น จากตาํ แหนง ๕๐

ÁÒμÃÒ óù/ñõñ ในกรณีท่ีตาํ แหนงกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตาม
มาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ (๒) หรอื (๓) วา งลงกอ นครบวาระ ใหป ระธานศาลปกครองสงู สุดดําเนินการใหม ี
การเลือกซอมใหแลวเสร็จภายในหกสิบวันนับแตวันที่ตําแหนงวางลง เวนแตวาระการอยูในตาํ แหนง
ของกรรมการผูนน้ั จะเหลอื ไมถ งึ เกาสบิ วัน จะไมด ําเนนิ การเลอื กซอ มก็ได

ใหผูไดรับเลือกซอมเปนกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามวรรคหน่ึงเขารับ
หนาท่ีเม่ือประธานศาลปกครองสูงสุดไดประกาศรายชื่อผูไดรับเลือกซอมเปนกรรมการตุลาการ
ศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิ และใหเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครองดําเนินการประกาศรายชื่อผูไดรับ
เลือกซอมในราชกจิ จานุเบกษา

กรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซ่ึงไดรับเลือกซอมใหอยูในตาํ แหนงเทากับ
วาระทเ่ี หลืออยขู องผูซ่ึงตนแทน

ÁÒμÃÒ ôðõò นอกจากการพนจากตาํ แหนงตามวาระ กรรมการตุลาการศาลปกครอง
ผทู รงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ (๒) และ (๓) พนจากตาํ แหนง เมอ่ื

(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยทาํ เปนหนังสือยืน่ ตอประธานศาลปกครองสงู สดุ
(๓) พนจากตําแหนงตุลาการในศาลปกครองสูงสุด หรือตุลาการในศาลปกครองชั้นตน
ในกรณที ่เี ปน กรรมการตลุ าการศาลปกครองผูทรงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ (๒)
(๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๓๕/๑ ในกรณีที่เปนกรรมการ
ตุลาการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนง่ึ (๓)
ในกรณที มี่ ปี ญ หาเกยี่ วกบั การพน จากตาํ แหนง ของกรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ิ
ตามวรรคหนึง่ ให ก.ศป. เปน ผวู นิ จิ ฉัยช้ีขาด๕๓

๕๐ มาตรา ๓๙ วรรคสอง แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญัติจดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๕๑ มาตรา ๓๙/๑ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๕๒ มาตรา ๔๐ แกไ ขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗
๕๓ มาตรา ๔๐ วรรคสอง เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๐๓

ÁÒμÃÒ ôð/ñõô ให ก.ศป. โดยมติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของจํานวน
กรรมการตุลาการศาลปกครองท้ังหมด มีอํานาจออกระเบียบหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้
เพ่ือกาํ หนดหลักเกณฑและวิธีการดําเนินการเก่ียวกับการบริงานบุคคลของขาราชการตุลาการ
ศาลปกครองและการอน่ื ๆ ที่อยูในอํานาจหนาทีข่ อง ก.ศป.

ÁÒμÃÒ ôñ การประชุมของ ก.ศป. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของ
จาํ นวนกรรมการท้ังหมดจึงจะเปน องคป ระชุม

ถาประธานศาลปกครองสูงสุดไมมาประชุมหรือไมอาจปฏิบัติหนาท่ีได ใหรองประธาน
ศาลปกครองสูงสุดปฏิบัติหนาที่แทน ถาไมมีรองประธานศาลปกครองสูงสุด หรือมีแตไมอาจ
ปฏิบัตหิ นา ทไี่ ดใ หท่ปี ระชุมเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครองคนหนง่ึ เปน ประธานในทป่ี ระชุม

ในกรณีท่ีตําแหนงกรรมการใน ก.ศป. วางลง ใหกรรมการท่ีเหลือปฏิบัติหนาท่ีตอไปได
แตตองมีกรรมการเหลอื พอทจี่ ะเปน องคป ระชุม

การวินิจฉัยชี้ขาดใหถือเสียงขางมาก ถามีคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุม
ออกเสยี งเพิม่ ข้ึนอกี เสียงหนึ่งเปนเสียงช้ขี าด

ให ก.ศป. มอี าํ นาจออกขอบังคบั วาดวยการประชมุ และการลงมติ
ให ก.ศป. มีอํานาจแตงตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่อื ดําเนนิ การใด ๆ ไดต ามความเหมาะสม
ÁÒμÃÒ ôñ/ñõõ ในกรณที ไ่ี มม กี รรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕
วรรคหนึ่ง (๒) (ก) หรอื (ข) หรือ (๓) หรือมีแตไ มครบจํานวน ถา กรรมการตุลาการศาลปกครองจํานวน
ไมนอยกวาหกคน เห็นวาเปนเรื่องเรงดวนที่ตองใหความเห็นชอบ ใหกรรมการตุลาการศาลปกครอง
เทา ท่ีมีอยเู ปน ก.ศป. พิจารณาเร่อื งเรงดวนนน้ั ได

ËÁÇ´ ó/ñ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃÈÒÅ»¡¤Ãͧõö

ÁÒμÃÒ ôñ/òõ÷ ใหมีคณะกรรมการบริหารศาลปกครองคณะหนึ่ง เรียกโดยยอวา
“ก.บ.ศป.” ประกอบดว ย

(๑) ประธานศาลปกครองสูงสดุ เปนประธานกรรมการ
(๒) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา และเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
เปน กรรมการ

๕๔ มาตรา ๔๐/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั จิ ัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๕๕ มาตรา ๔๑/๑ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑
๕๖ หมวด ๓/๑ คณะกรรมการบริหารศาลปกครอง มาตรา ๔๑/๒ ถึง มาตรา ๔๑/๙ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๕๗ มาตรา ๔๑/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐๔

(๓) กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ทิ เี่ ปน ตลุ าการศาลปกครอง จํานวนแปดคน
ดงั นี้

(ก) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จาํ นวนส่ีคน ซึ่งไดรับเลือกจากตุลาการใน
ศาลปกครองสูงสุด

(ข) ตุลาการในศาลปกครองช้ันตน จาํ นวนสี่คน ซึ่งไดรับเลือกจากตุลาการใน
ศาลปกครองช้ันตน

(๔) กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ทิ เี่ ปน ขา ราชการฝา ยศาลปกครองในระดบั
ไมต ํ่ากวา ตาํ แหนง ท่ี ก.ศป. กาํ หนด จํานวนสองคน ซงึ่ ไดร บั เลอื กจากขา ราชการฝา ยศาลปกครอง ตาม
วิธกี ารท่ี ก.ศป. ประกาศกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของท่ปี ระชมุ ใหญต ุลาการในศาลปกครองสงู สดุ

(๕) กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นการงบประมาณ ดา นการพฒั นาองคก ร
และดานการบริหารจัดการ ท่ีไมเปนหรือไมเคยเปนขาราชการศาลปกครอง ดานละหน่ึงคน ซ่ึงไดรับ
เลือกจากประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔)

ใหเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองเปนกรรมการและเลขานุการ และใหรองเลขาธิการ
สาํ นกั งานศาลปกครองทีเ่ ลขาธิการสํานกั งานศาลปกครองมอบหมายเปน ผชู วยเลขานุการ

ÁÒμÃÒ ôñ/óõø กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนงึ่
(๓) (๔) และ (๕) จะดาํ รงตําแหนง กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนงึ่
(๒) หรือ (๓) หรอื กรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองผทู รงคณุ วุฒติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหนงึ่ (๓) (๔)
หรือ (๕) ในเวลาเดยี วกันมิได

ÁÒμÃÒ ôñ/ôõù กรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒
วรรคหนง่ึ (๕) ตอ งมีคณุ สมบตั แิ ละไมมีลกั ษณะตอ งหาม ดงั ตอไปนี้

(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) มีอายไุ มตํา่ กวา ส่ีสิบป
(๓) ไมเปน ผูอยรู ะหวา งถกู คาํ สงั่ ใหพกั ราชการหรือถกู ส่ังใหอ อกจากราชการไวกอน
(๔) ไมเ ปนบุคคลลมละลาย หรือไมเ คยเปน บุคคลลม ละลายทุจรติ
(๕) ไมเ คยถกู ไลอ อก ปลดออก หรอื ใหอ อกจากราชการ หนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ
(๖) ไมเคยตองรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจาํ คุก เวนแตเปนโทษสําหรับ
ความผดิ ที่ไดกระทาํ โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๗) ไมเปนคนไรความสามารถ คนเสมือนไรความสามารถ หรือคนวิกลจริต หรือ
จิตฟน เฟอ นไมส มประกอบ

๕๘ มาตรา ๔๑/๓ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัตจิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๕๙ มาตรา ๔๑/๔ เพ่มิ โดยพระราชบัญญัติจัดตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐๕

(๘) ไมเ ปน สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา ขา ราชการการเมอื ง สมาชกิ สภาทอ งถน่ิ
ผูบริหารทอ งถิน่ กรรมการพรรคการเมือง สมาชิกพรรคการเมอื ง หรือเจา หนาทใ่ี นพรรคการเมือง

ÁÒμÃÒ ôñ/õöð ใหมีคณะกรรมการดําเนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครอง
ผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง (๓) ประกอบดวย ตุลาการศาลปกครองซ่ึงประธาน
ศาลปกครองสูงสุดเปนผูคัดเลือก จํานวนส่ีคน และเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง เปนกรรมการ
มหี นาทด่ี ําเนินการเก่ยี วกบั การเลอื ก การตรวจนับคะแนน และการประกาศผลการเลอื กดังกลา ว

ใหเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองแตงต้ังขาราชการฝายศาลปกครองเปนเลขานุการ
และผชู ว ยเลขานุการ

ใหน าํ ความในมาตรา ๓๖ วรรคหนงึ่ วรรคสาม และวรรคสี่ มาใชบ งั คบั กบั กรรมการบรหิ าร
ศาลปกครองผทู รงคุณวฒุ ิตามวรรคหน่ึงโดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ ôñ/ööñ กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนง่ึ
(๓) (๔) หรือ (๕) ใหมีวาระการดาํ รงตาํ แหนงคราวละสองป และอาจไดรับเลือกใหมได แตจะดาํ รง
ตาํ แหนง เกนิ สองวาระติดตอ กันมไิ ด

กอ นกรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ จิ ะครบวาระเปน เวลาไมน อ ยกวา หกสบิ วนั
ใหดาํ เนินการเลือกกรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิใหม โดยตองแลวเสร็จกอนที่กรรมการ
บรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ชิ ดุ เดมิ จะพน จากตาํ แหนง ตามวาระ ในกรณจี าํ เปน ทไ่ี มอ าจดาํ เนนิ การ
ใหแลวเสร็จภายในกําหนดเวลาดังกลาวได ใหกรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซ่ึงพนจาก
ตาํ แหนงตามวาระปฏิบตั ิหนาทีต่ อไป แตทั้งนี้ ตองไมเกินสามสิบวัน

ในกรณที ต่ี าํ แหนง กรรมการบรหิ ารศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ วิ า งลงกอ นครบวาระ ใหด ําเนนิ การ
เพอ่ื ใหม กี ารเลอื กแทนตาํ แหนง ทว่ี า งใหแ ลว เสรจ็ ภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทต่ี าํ แหนง วา ง เวน แตว าระ
การดาํ รงตาํ แหนง ของกรรมการผนู น้ั จะเหลอื ไมถ งึ เกา สบิ วนั จะไมด ําเนนิ การเลอื กแทนตําแหนง ทว่ี า งกไ็ ด

กรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซ่ึงไดรับเลือกแทนตาํ แหนงท่ีวาง ใหอยูใน
ตําแหนง เทากบั วาระท่เี หลืออยขู องผซู ง่ึ ตนแทน

ÁÒμÃÒ ôñ/÷öò นอกจากการพน จากตาํ แหนงตามวาระ กรรมการบริหารศาลปกครอง
ผูทรงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึง่ (๓) (๔) และ (๕) พน จากตําแหนง เมอื่

(๑) ตาย
(๒) ลาออกโดยทาํ เปน หนงั สอื ย่นื ตอประธานศาลปกครองสูงสุด
(๓) พน จากตําแหนง ตุลาการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณที ่ีเปน กรรมการบรหิ าร
ศาลปกครองผูท รงคณุ วุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึง่ (๓)

๖๐ มาตรา ๔๑/๕ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัตจิ ัดตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๖๑ มาตรา ๔๑/๖ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๖๒ มาตรา ๔๑/๗ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐๖

(๔) ไดร บั แตง ตง้ั ใหด าํ รงตําแหนง ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ ในกรณที เี่ ปน กรรมการบรหิ าร
ศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ ไดร บั เลอื กจากตลุ าการในศาลปกครองชนั้ ตน ตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนง่ึ
(๓) (ข)

(๕) ไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตาม
มาตรา ๓๕ วรรคหน่ึง ในกรณีที่เปนกรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒
วรรคหน่ึง (๓) (๔) และ (๕)

(๖) ขาดคณุ สมบตั หิ รอื มลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๔๑/๔ ในกรณที เี่ ปน กรรมการบรหิ าร
ศาลปกครองผูทรงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนง่ึ (๕)

ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการพนจากตาํ แหนงของกรรมการบริหารศาลปกครอง
ผทู รงคณุ วุฒิตามวรรคหน่ึง ให ก.บ.ศป. เปน ผวู ินจิ ฉยั ชข้ี าด

ÁÒμÃÒ ôñ/øöó ก.บ.ศป. มอี ํานาจหนา ทกี่ ํากบั ดแู ลการบรหิ ารราชการศาลปกครองและ
สาํ นกั งานศาลปกครอง ในสว นทไ่ี มอ ยใู นอํานาจของทปี่ ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ก.ศป.
หรือ ก.ขป. ใหเปน ไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน ประเพณีปฏบิ ัติของทางราชการ และนโยบาย
ของประธานศาลปกครองสูงสุด โดยใหม อี ํานาจหนาที่ ดงั ตอ ไปนี้

(๑) ออกระเบียบ ประกาศ หรือหลักเกณฑเกี่ยวกับการบริหารราชการศาลปกครอง
และสํานกั งานศาลปกครอง

(๒) ออกประกาศแบง สว นราชการภายในของสาํ นกั งานศาลปกครอง และกาํ หนดอาํ นาจ
หนาทีข่ องสวนราชการดงั กลาว

(๓) ใหความเหน็ ในการเสนอรา งกฎหมายเก่ยี วกบั ศาลปกครอง
(๔) พิจารณาใหความเห็นชอบในการจัดทํางบประมาณรายจายประจาํ ปเพ่ือดําเนินการ
ตามมาตรา ๙๑
(๕) พจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบในการบรหิ ารจดั การงบประมาณของศาลปกครอง
(๖) ออกระเบียบเก่ียวกับการงบประมาณ การเงินและทรัพยสิน รวมท้ังการพัสดุของ
สาํ นักงานศาลปกครอง
(๗) ออกระเบียบเก่ียวกับการจางและการแตงต้ังบุคคลซึ่งมีความรูความสามารถอันจะ
เปนประโยชนตอ การปฏิบตั ิหนาทขี่ องศาลปกครอง รวมทั้งอัตราคา ตอบแทนการจา งดวย
(๘) ออกระเบยี บเกย่ี วกบั การจดั สวสั ดกิ าร และการสงเคราะหอ น่ื แกข า ราชการศาลปกครอง
พนักงานราชการ และลกู จางสํานักงานศาลปกครอง
(๙) กาํ หนดวนั และเวลาทาํ งาน วนั หยุดราชการ และการลาของขา ราชการศาลปกครอง
รวมท้ังพนักงานราชการและลกู จา งสาํ นกั งานศาลปกครอง

๖๓ มาตรา ๔๑/๘ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐๗

(๑๐) กาํ หนดใหมีตรา สัญลักษณ หรือเครื่องหมายใดเพื่อใชในการบริหารราชการ
ศาลปกครอง รวมทง้ั กําหนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการทําและใชต รา สญั ลกั ษณ หรอื เครอ่ื งหมายนนั้
ไวด วย

(๑๑) ออกระเบียบเก่ียวกับการแตงตั้งกรรมการหรืออนุกรรมการของศาลปกครองหรือ
สาํ นักงานศาลปกครอง การกําหนดขอหามบุคคลเปนกรรมการหรืออนุกรรมการในเวลาเดียวกันเกิน
จาํ นวนที่กําหนด และการกาํ หนดอัตราเบี้ยประชุมหรือคาตอบแทนใหผูซ่ึงไดรับแตงต้ังเปนกรรมการ
อนกุ รรมการ เลขานุการ หรือผชู วยเลขานุการ

(๑๒) กาํ กบั ดแู ลการบรหิ ารราชการศาลปกครองและสํานกั งานศาลปกครองใหเ ปน ไปตาม
ท่บี ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญัตินห้ี รือกฎหมายอืน่

(๑๓) ยบั ย้ังการดาํ เนินการท่ีไมเปน ไปตามระเบียบ ประกาศ หรอื หลักเกณฑทอี่ อกตาม
มาตราน้ี

(๑๔) พิจารณาเรือ่ งอน่ื ใดตามทท่ี ป่ี ระชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสุด ก.ศป. หรอื
ก.ขป. รอ งขอ

ÁÒμÃÒ ôñ/ùöô การประชุมของ ก.บ.ศป. ใหนําความในมาตรา ๔๑ มาใชบังคับ
โดยอนโุ ลม

ËÁÇ´ ô
Ç¸Ô Õ¾Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ

ʋǹ·Õè ñ
¡Òÿ‡Í§¤´»Õ ¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ôò ผูใดไดรับความเดือดรอนหรือเสียหาย หรืออาจจะเดือดรอนหรือเสียหาย
โดยมิอาจหลีกเลี่ยงไดอันเน่ืองจากการกระทาํ หรือการงดเวนการกระทาํ ของหนวยงานทางปกครอง
หรือเจาหนาท่ีของรัฐหรือมีขอโตแยงเกี่ยวกับสัญญาทางปกครอง หรือกรณีอ่ืนใดท่ีอยูในเขตอํานาจ
ศาลปกครองตามมาตรา ๙ และการแกไขหรือบรรเทาความเดือดรอนหรือความเสียหายหรือยุติ
ขอโตแยงนั้น ตองมคี าํ บังคับตามทกี่ าํ หนดในมาตรา ๗๒ ผูน้ันมีสิทธิฟองคดตี อ ศาลปกครอง
ในกรณีที่มีกฎหมายกาํ หนดขั้นตอนหรือวิธีการสาํ หรับการแกไขความเดือดรอนหรือ
เสียหายในเร่ืองใดไวโดยเฉพาะ การฟองคดีปกครองในเร่ืองนั้นจะกระทาํ ไดตอเมื่อมีการดาํ เนินการ
ตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารดงั กลา ว และไดม กี ารสง่ั การตามกฎหมายนนั้ หรอื มไิ ดม กี ารสงั่ การภายในเวลา
อันสมควร หรือภายในเวลาที่กฎหมายนน้ั กําหนด

๖๔ มาตรา ๔๑/๙ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐๘

ÁÒμÃÒ ôóöõ ในกรณีที่ผูตรวจการแผนดินเห็นวากฎ คําส่ัง หรือการกระทําอ่ืนใดของ
หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดิน
มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ใหเสนอเร่ืองพรอมดวยความเห็นตอ
ศาลปกครองและใหศ าลปกครองพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั โดยไมช กั ชา ในการเสนอความเหน็ ดงั กลา วผตู รวจการ
แผน ดินมสี ิทธแิ ละหนา ท่ีเสมอื นหนงึ่ เปนผมู สี ิทธิฟองคดตี ามมาตรา ๔๒

ÁÒμÃÒ ôô การดาํ เนนิ การทงั้ ปวงเกยี่ วกบั การฟอ ง การรอ งสอด การเรยี กบคุ คล หนว ยงาน
ทางปกครอง หรือเจาหนาที่ของรัฐเขามาเปนคูกรณีในคดี การดําเนินกระบวนพิจารณา การรับฟง
พยานหลกั ฐาน และการพพิ ากษาคดปี กครอง นอกจากทีบ่ ญั ญตั ิไวแลว ในพระราชบัญญตั ินี้ ใหเ ปนไป
ตามหลักเกณฑและวิธีการท่กี าํ หนดโดยระเบียบของท่ปี ระชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด

ÁÒμÃÒ ôõ คําฟองใหใ ชถ อยคําสุภาพและตอ งมี
(๑) ชอ่ื และทีอ่ ยูของผฟู องคดี
(๒) ชอ่ื หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ งอนั เปน เหตแุ หง การฟอ งคดี
(๓) การกระทาํ ท้ังหลายท่ีเปนเหตุแหงการฟองคดี พรอมท้ังขอเท็จจริงหรือพฤติการณ
ตามสมควรเกี่ยวกบั การกระทาํ ดงั กลาว
(๔) คาํ ขอของผฟู อ งคดี
(๕) ลายมือช่ือของผูฟองคดี ถาเปนการย่ืนฟองคดีแทนผูอื่นจะตองแนบใบมอบฉันทะ
ใหฟ อ งคดีมาดวย
คาํ ฟอ งใดมรี ายการไมค รบตามวรรคหนงึ่ หรอื ไมช ดั เจน หรอื ไมอ าจเขา ใจได ใหส ํานกั งาน
ศาลปกครองใหค ําแนะนาํ แกผ ฟู อ งคดเี พอ่ื ดําเนนิ การแกไ ขเพมิ่ เตมิ คําฟอ งนนั้ ใหถ กู ตอ ง ในการนใี้ หถ อื
วนั ท่ีย่นื ฟอ งครั้งแรกเปน หลกั ในการนบั อายุความ
ในกรณีที่มีผูประสงคจะฟองคดีปกครองหลายคนในเหตุเดียวกัน บุคคลเหลานั้นอาจย่ืน
คาํ ฟอ งรว มกนั เปน ฉบบั เดยี ว โดยจะมอบหมายใหผ ฟู อ งคดคี นใดเปน ผแู ทนของผฟู อ งคดที กุ คนในการ
ดาํ เนนิ คดตี อ ไปกไ็ ด ในกรณเี ชน วา นใี้ หถ อื วา การกระทาํ ของผแู ทนผฟู อ งคดใี นกระบวนพจิ ารณาผกู พนั
ผฟู องคดีทกุ คน
การฟอ งคดไี มต อ งเสยี คา ธรรมเนยี มศาล เวน แตก ารฟอ งคดขี อใหส งั่ ใหใ ชเ งนิ หรอื สง มอบ
ทรัพยสินอันสืบเน่ืองจากคดีตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) หรือ (๔) ใหเสียคาธรรมเนียมศาลตาม
ทุนทรัพยในอัตราตามท่ีระบุไวในตาราง ๑ ทายประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง สาํ หรับคดี
ทม่ี คี าํ ขอใหปลดเปล้ืองทกุ ขอนั อาจคํานวณเปน ราคาเงนิ ได๖๖

๖๕ มาตรา ๔๓ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๖๖ มาตรา ๔๕ วรรคสี่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๔๘

๑๐๙

ในการดําเนนิ กระบวนพจิ ารณา คกู รณจี ะดําเนนิ การทง้ั ปวงดว ยตนเองหรอื จะมอบอํานาจ
ใหท นายความหรอื บคุ คลอนื่ ซงึ่ มคี ณุ สมบตั ติ ามระเบยี บของทปี่ ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ
กําหนดเพ่อื ฟองคดีหรอื ดาํ เนนิ การแทนได

ÁÒμÃÒ ôõ/ñö÷ การฟองคดีที่ตองเสียคาธรรมเนียมศาลตามมาตรา ๔๕ วรรคส่ี
หากคูกรณีใดย่ืนคําขอตอศาลโดยอางวา ไมมีทรัพยสินเพียงพอที่จะเสียคาธรรมเนียมศาล หรือ
โดยสถานะของผขู อถา ไมไ ดร บั ยกเวน คา ธรรมเนยี มศาลจะไดร บั ความเดอื ดรอ นเกนิ สมควร ถา ศาลเหน็ วา
มขี อ เทจ็ จรงิ เพยี งพอทจี่ ะรบั ฟอ งไวพ จิ ารณา หรอื ในกรณอี ทุ ธรณซ งึ่ ศาลเหน็ วา มเี หตผุ ลอนั สมควรทจี่ ะ
อทุ ธรณได แลว แตกรณี และศาลไดแสวงหาขอเท็จจรงิ โดยการไตส วนหรือโดยวิธีอน่ื แลวเห็นวา มเี หตุ
ตามคาํ ขอจรงิ ใหศ าลอนญุ าตใหค ูก รณนี ั้นดําเนนิ คดี โดยยกเวนคา ธรรมเนยี มศาลทั้งหมดหรอื เฉพาะ
บางสว นได คําสง่ั ใหย กเวนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดใหเปน ที่สดุ ๖๘

ในกรณีท่ีศาลมีคําสั่งใหยกเวนคาธรรมเนียมศาลเฉพาะบางสวน หรือมีคําส่ังใหยกคาํ ขอ
ผูย่นื คําขอมีสิทธดิ าํ เนนิ การอยา งใดอยางหนึง่ ดงั ตอ ไปนี้ ภายในสบิ หา วนั นับแตวนั ทีไ่ ดร บั แจง คาํ สงั่

(๑) ยนื่ คาํ รอ งขอใหพ จิ ารณาคาํ ขอนน้ั ใหม เพอ่ื อนญุ าตใหต นนาํ พยานหลกั ฐานมาแสดง
เพมิ่ เตมิ วา ไมม ที รพั ยส นิ เพยี งพอทจี่ ะเสยี คา ธรรมเนยี มศาลไดจ รงิ หรอื โดยสถานะของผขู อ ถา ไมไ ดร บั
ยกเวนคา ธรรมเนียมศาลจะไดรบั ความเดือดรอ นเกนิ สมควร

(๒) ยืน่ อุทธรณคําส่ังนั้นตอศาลปกครองสงู สุด
ในกรณที ค่ี กู รณใี ชส ทิ ธติ าม (๑) หรอื (๒) อยา งใดอยา งหนง่ึ แลว จะใชส ทิ ธอิ กี ประการหนง่ึ
มิได
การย่ืนคําขอ การพิจารณาคาํ ขอ การขอใหพิจารณาใหม การอุทธรณและการดาํ เนิน
กระบวนพจิ ารณาอนื่ ใดทเ่ี กย่ี วกบั การขอดําเนนิ คดตี ามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ
และวธิ กี ารทกี่ าํ หนดโดยระเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ทอี่ อกตามมาตรา ๔๔
ÁÒμÃÒ ôööù คําฟอ งใหย นื่ ตอ พนกั งานเจา หนา ทข่ี องศาลปกครอง หรอื สง ทางไปรษณยี 
ลงทะเบียน ในการน้ีอาจย่ืนคําฟองโดยสงทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส สื่อดิจิทัลอื่นใด หรือโทรสาร
ตามระเบียบของท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเพื่อประโยชนในการนับอายุความ
ใหถือวาวันที่สงคาํ ฟองแกเจาพนักงานไปรษณียหรือวันที่สงคาํ ฟองทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
สื่อดจิ ิทัลอืน่ ใดหรือโทรสารเปน วันที่ยื่นคาํ ฟองตอศาลปกครอง
ÁÒμÃÒ ô÷ การฟองคดีท่ีอยูในเขตอํานาจของศาลปกครองช้ันตน ใหย่ืนฟองตอ
ศาลปกครองช้นั ตน ทผี่ ฟู องคดีมภี ูมิลาํ เนาหรือท่ีมูลคดเี กดิ ขนึ้ ในเขตศาลปกครองชัน้ ตนน้นั

๖๗ มาตรา ๔๕/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั จิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๘
๖๘ มาตรา ๔๕/๑ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(ฉบับที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๖๙ มาตรา ๔๖ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๑๐

การฟอ งคดที ่ีอยใู นเขตอาํ นาจของศาลปกครองสงู สุด ใหยืน่ ฟอ งตอศาลปกครองสงู สุด
ในกรณีท่ีศาลปกครองใดพิพากษาวาคดีที่ฟองตอศาลปกครองนั้นอยูในเขตอาํ นาจของ
ศาลปกครองอน่ื ใหส ง คําฟอ งนน้ั ไปใหศ าลปกครองทมี่ เี ขตอํานาจเพอ่ื พจิ ารณา ในกรณที ศี่ าลปกครอง
ชั้นตนมีความเห็นขัดแยงกันในเร่ืองเขตอาํ นาจศาล ใหศาลปกครองท่ีรับคาํ ฟองไวหลังสุดเสนอ
ความเหน็ ตอศาลปกครองสงู สุดเพือ่ มีคําส่ังในเรอื่ งเขตอาํ นาจศาล
การพิจารณาคดีที่ยื่นไวตอศาลปกครองใดจะตองกระทาํ ในศาลปกครองนั้นตามวันเวลา
ทาํ การ เวนแตในกรณีทม่ี ีเหตฉุ ุกเฉนิ หรือจําเปน หรือเพอ่ื ความสะดวกของคูกรณี ศาลปกครองจะสง่ั ให
ดาํ เนนิ การพิจารณาในสถานที่อ่นื หรือในวันหยดุ หรอื ในวนั เวลาใดกไ็ ด
ÁÒμÃÒ ôø ใหป ระธานศาลปกครองสงู สุดเปนผูประกาศสถานที่ตง้ั และวันเวลาทําการ
ตามปกติของศาลปกครองในราชกจิ จานุเบกษา
ศาลปกครองแหง หนงึ่ ๆ อาจมสี ถานทท่ี ําการเฉพาะการไดต ามจํานวนทเ่ี หมาะสมตามที่
ประธานศาลปกครองสูงสุดจะไดประกาศสถานที่ต้ังและวันเวลาทาํ การของสถานท่ีทําการเฉพาะการ
ในราชกิจจานุเบกษา
ทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ มอี ํานาจกําหนดใหก ารยนื่ ฟอ ง และการดําเนนิ การ
อยางหน่ึงอยา งใดเกย่ี วกับการพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอาจกระทํา ณ สถานท่ีทําการเฉพาะการ
ของศาลปกครองก็ได
ÁÒμÃÒ ôù การฟองคดีปกครองจะตองย่ืนฟองภายในเกาสิบวันนับแตวันที่รูหรือ
ควรรถู งึ เหตแุ หง การฟอ งคดี หรอื นบั แตว นั ทพี่ น กําหนดเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทผ่ี ฟู อ งคดไี ดม หี นงั สอื รอ งขอ
ตอ หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั เพอื่ ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามทกี่ ฎหมายกาํ หนดและไมไ ดร บั
หนงั สอื ชแ้ี จงจากหนว ยงานทางปกครอง หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั หรอื ไดร บั แตเ ปน คําชแ้ี จงทผ่ี ฟู อ งคดเี หน็ วา
ไมมเี หตุผล แลวแตกรณี เวน แตจ ะมบี ทกฎหมายเฉพาะกาํ หนดไวเปน อยา งอนื่
ÁÒμÃÒ õð คําสั่งใดท่ีอาจฟองตอ ศาลปกครองได ใหผ อู อกคําส่ังระบวุ ธิ ีการยนื่ คําฟอ ง
และระยะเวลาสาํ หรับยนื่ คําฟองไวในคาํ สงั่ ดังกลา วดวย
ในกรณีที่ปรากฏตอผูออกคาํ สั่งใดในภายหลังวา ตนมิไดปฏิบัติตามวรรคหน่ึง ใหผูน้ัน
ดาํ เนินการแจงขอความซึง่ พงึ ระบุตามวรรคหน่ึงใหผ รู ับคําสั่งทราบโดยไมชักชา ในกรณีนี้ใหระยะเวลา
สําหรบั ย่นื คําฟอ งเรมิ่ นับใหมนับแตว ันทผ่ี รู บั คาํ สัง่ ไดร บั แจงขอ ความดังกลาว
ถา ไมม กี ารแจง ใหมต ามวรรคสองและระยะเวลาสําหรบั ยนื่ คาํ ฟอ งมกี ําหนดนอ ยกวา หนง่ึ ป
ใหข ยายเวลาสําหรบั ยน่ื คําฟอ งเปนหนงึ่ ปน บั แตวันท่ีไดร บั คําสัง่
ÁÒμÃÒ õñ÷ð การฟองคดตี ามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๓) ใหย่นื ฟอ งภายในหนึง่ ป และ
การฟองคดีตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๔) ใหยื่นฟองภายในหาป นับแตวันท่ีรูหรือควรรูถึงเหตุแหง
การฟองคดี แตไมเกนิ สิบปน ับแตว ันทม่ี เี หตุแหง การฟอ งคดี

๗๐ มาตรา ๕๑ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิจัดตงั้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๕๑

๑๑๑

ÁÒμÃÒ õò การฟอ งคดปี กครองทเี่ กยี่ วกบั การคมุ ครองประโยชนส าธารณะ หรอื สถานะ
ของบคุ คลจะย่ืนฟองคดเี มือ่ ใดก็ได

การฟองคดีปกครองท่ียื่นเมื่อพนกําหนดเวลาการฟองคดีแลว ถาศาลปกครองเห็นวา
คดีท่ียื่นฟองนั้นจะเปนประโยชนแกสวนรวมหรือมีเหตุจาํ เปนอื่นโดยศาลเห็นเองหรือคูกรณีมีคาํ ขอ
ศาลปกครองจะรบั ไวพ ิจารณากไ็ ด

ÁÒμÃÒ õó ในกรณีท่ีคูกรณีฝายหนึ่งถึงแกความตายกอนศาลปกครองพิพากษาคดี
ใหศ าลปกครองรอการพจิ ารณาไปจนกวาทายาท ผจู ดั การมรดก ผปู กครองทรพั ยม รดก หรอื ผสู บื สทิ ธิ
ของคูกรณีผูนั้นจะมีคาํ ขอเขามาแทนท่ีคูกรณีผูถึงแกความตาย หรือผูมีสวนไดเสียจะมีคําขอเขามา
โดยมคี ําขอเขา มาเองหรอื โดยทศี่ าลหมายเรยี กใหเ ขา มา เนอ่ื งจากคกู รณฝี า ยหนง่ึ ฝา ยใดมคี ําขอ คาํ ขอ
เชน วานจี้ ะตองยน่ื ภายในกาํ หนดหนง่ึ ปนับแตวันที่คูก รณีผูนน้ั ถงึ แกความตาย

ถาไมมีคาํ ขอของบุคคลดังกลา ว หรอื ไมม ีคาํ ขอของคกู รณีฝายหนง่ึ ฝายใด ภายในเวลาที่
กาํ หนดตามวรรคหนึ่ง ศาลปกครองจะมีคําสง่ั จาํ หนา ยคดนี น้ั กไ็ ด

ʋǹ·èÕ ò
¡ÒÃดาํ à¹¹Ô ¤´»Õ ¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ õô ศาลปกครองสูงสุดตองมีตุลาการในศาลปกครองสูงสุดอยางนอยหาคน
จึงจะเปน องคค ณะพิจารณาพิพากษา
ศาลปกครองชั้นตนตองมีตุลาการในศาลปกครองชั้นตนอยางนอยสามคน จึงจะเปน
องคคณะพิจารณาพพิ ากษา
ÁÒμÃÒ õõ การพิจารณาพิพากษาคดีตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว แตตองเปด
โอกาสใหคูกรณีชี้แจงและแสดงพยานหลักฐานประกอบคําชี้แจงของตนตามควรแกกรณี แตการชี้แจง
ตองทาํ เปนหนังสอื เวน แตเปน กรณที ่ีศาลอนุญาตใหช แ้ี จงดว ยวาจาตอหนาศาล
คูกรณีมีสิทธิขอตรวจดูพยานหลักฐานที่แตละฝายไดย่ืนไวในสาํ นวน เวนแตกรณีใด
มีกฎหมายคุมครองใหไมตองเปดเผยหรือศาลปกครองเห็นวาจําเปนตองไมเปดเผย เพื่อมิใหเกิด
ความเสียหายแกการดําเนินงานของรัฐ แตกรณีที่ไมเปดเผยดังกลาว ศาลปกครองจะนาํ มาใชรับฟง
ในการพิจารณาพิพากษาคดีไมได
ในการพิจารณาพิพากษาคดี ศาลปกครองอาจตรวจสอบและแสวงหาขอเท็จจริงไดตาม
ความเหมาะสม ในการน้ี ศาลปกครองจะรับฟงพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานผูเชี่ยวชาญ หรือ
พยานหลกั ฐานอ่ืนนอกเหนอื จากพยานหลกั ฐานของคกู รณีไดตามทเี่ ห็นสมควร
พยานบุคคลหรือพยานผูเช่ียวชาญที่ศาลปกครองเรียกมาใหถอยคาํ หรือทาํ ความเห็น
ตอศาลปกครองมีสิทธิไดร ับคาตอบแทนตามหลักเกณฑแ ละวธิ กี ารทกี่ าํ หนดในพระราชกฤษฎกี า

๑๑๒

ÁÒμÃÒ õö เมือ่ มีการฟองคดีตอ ศาลปกครองใด การจา ยสํานวนคดใี นศาลปกครองน้ัน
ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ หรอื อธิบดศี าลปกครองช้ันตน ปฏิบัติตามหลกั เกณฑ ดังตอ ไปน้ี

(๑) ในกรณีที่มีการจัดองคคณะท่ีมีความเช่ียวชาญในประเภทคดีดานใดดานหนึ่งเปน
การเฉพาะตองจา ยสํานวนคดใี หตรงกับความเชีย่ วชาญขององคค ณะที่จดั ไว

(๒) ในกรณที มี่ กี ารแบง พนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบคดขี ององคค ณะ ตอ งจา ยสาํ นวนคดที มี่ มี ลู คดเี กดิ ขน้ึ
ในพ้ืนทใ่ี หแกองคคณะทจี่ ดั ไว

(๓) ในกรณีท่ีไมมีการจัดองคคณะตาม (๑) หรือ (๒) หรือมีการจัดไวลักษณะเดียวกัน
หลายองคคณะ หรือองคคณะที่รับผิดชอบคดีดังกลาวมีคดีคางการพิจารณาอยูเปนจาํ นวนมาก
ซ่ึงหากจายสํานวนคดีใหแกองคคณะน้ันจะทาํ ใหคดีลาชาหรือกระทบกระเทือนตอความยุติธรรม
ใหจ า ยสาํ นวนคดโี ดยใชวิธกี ารใดทไี่ มอาจคาดหมายไดล ว งหนา วาจะจา ยสาํ นวนคดีใหแกองคคณะใด

เมอ่ื องคค ณะในศาลปกครองใดไดร บั สาํ นวนคดแี ลว ใหต ลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครอง
สูงสุดหรือตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองช้ันตนในองคคณะนั้น แลวแตกรณี แตงต้ังตุลาการ
ศาลปกครองในคณะของตนคนหนง่ึ เปน ตลุ าการเจา ของสํานวน เพอ่ื เปน ผดู ําเนนิ การรวบรวมขอ เทจ็ จรงิ
จากคาํ ฟอ ง คาํ ชแี้ จงของคกู รณี และรวบรวมพยานหลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ ง ทง้ั นี้ โดยมพี นกั งานคดปี กครอง
เปนผชู วยดาํ เนนิ การตามที่ตลุ าการเจา ของสาํ นวนมอบหมาย

เมอื่ ไดม อบสํานวนคดใี หแ กต ลุ าการเจา ของสํานวนคนใดแลว หรอื ไดจ า ยสํานวนคดใี หแ ก
องคค ณะใดแลว หา มมใิ หมีการเรียกคนื สํานวนคดีหรือโอนสาํ นวนคดี เวนแตกรณีดงั ตอไปน้ี

(๑) เมอ่ื มกี ารโอนคดตี ามทร่ี ะเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ กาํ หนด
(๒) เมื่อมีการคัดคานตุลาการเจาของสาํ นวนสําหรับกรณีเรียกคืนสํานวน หรือตุลาการ
ศาลปกครองในองคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษานน้ั ถกู คดั คา น หรอื ไมค รบองคค ณะสาํ หรบั กรณโี อนสํานวน
(๓) เมื่อตุลาการเจาของสํานวนหรือองคคณะพิจารณาพิพากษามีคดีคางการพิจารณา
อยเู ปน จํานวนมากซง่ึ จะทาํ ใหก ารพจิ ารณาคดลี า ชา และตลุ าการเจา ของสาํ นวนหรอื องคค ณะพจิ ารณา
พพิ ากษาขอสละสํานวนคดีทต่ี นรบั ผดิ ชอบอยู
ÁÒμÃÒ õ÷ ใหตุลาการเจาของสาํ นวนทาํ หนาที่ตรวจสอบและเสนอความเห็นใน
ขอเทจ็ จริงและขอกฎหมายตอองคค ณะพจิ ารณาพิพากษา ตลอดจนดาํ เนนิ การตาง ๆ ท่ีเกย่ี วของกับ
คดีนน้ั
ในระหวางการดาํ เนินการของตุลาการเจาของสาํ นวนตามวรรคหนึ่ง ใหเปดโอกาสให
คูกรณีไดทราบถึงขออางหรือขอแยงของแตละฝาย และใหคูกรณีแสดงพยานหลักฐานของฝายตน
เพ่ือยืนยันหรือหักลางขอเท็จจริงและขอกฎหมายได เมื่อตุลาการเจาของสาํ นวนเห็นวาไดรวบรวม
ขอเท็จจริงและขอกฎหมายเพียงพอแลว ใหตุลาการเจาของสํานวนทําความเห็นเสนอใหองคคณะ
พจิ ารณาพพิ ากษาเพื่อพจิ ารณาคดตี อไป
ในการใหโอกาสคูกรณีตามวรรคสอง ใหตุลาการเจาของสาํ นวนกําหนดใหคูกรณีแสดง
พยานหลักฐานของฝา ยตนภายในระยะเวลาทก่ี าํ หนด ถาคูกรณีมไิ ดป ฏิบัตภิ ายในระยะเวลาทกี่ าํ หนด

๑๑๓

ใหถือวาคูกรณีที่ไมไดแสดงพยานหลักฐานน้ันไมมีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือยอมรับขอเท็จจริง
ตามพยานหลักฐานของคูกรณีอีกฝายหนึ่ง แลวแตกรณี และใหศาลปกครองพิจารณาพิพากษาตอไป
ตามทีเ่ หน็ เปน การยุตธิ รรม

ในกรณีที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐไมดาํ เนินการภายในระยะเวลา
ที่กําหนดตามวรรคสามหรือมีพฤติกรรมประวิงคดีใหลาชา ศาลปกครองจะรายงานผูบังคับบัญชา
ผกู ํากบั ดแู ล ผคู วบคมุ หรอื นายกรฐั มนตรเี พอ่ื ดาํ เนนิ การแกไ ขปรบั ปรงุ หรอื สง่ั การหรอื ลงโทษทางวนิ ยั
ตอไปก็ได ทัง้ น้ี โดยไมเ ปนการตัดอาํ นาจทศ่ี าลจะมคี ําส่ังลงโทษฐานละเมิดอาํ นาจศาล

การปฏิบัติหนาที่ของตุลาการเจาของสาํ นวนและพนักงานคดีปกครองใหเปนไปตามท่ี
กําหนดในระเบียบของที่ประชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสงู สุด

ÁÒμÃÒ õø กอนวันน่ังพิจารณาคดี ใหตุลาการเจาของสาํ นวนสงมอบสํานวนคดี
ใหผ แู ถลงคดปี กครองพจิ ารณา และใหผ แู ถลงคดปี กครองจดั ทําสรปุ ขอ เทจ็ จรงิ ขอ กฎหมาย และความเหน็
ของตนในการวนิ จิ ฉยั คดนี นั้ เสนอตอ องคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษา และใหม าชแี้ จงดว ยวาจาตอ องคค ณะ
พจิ ารณาพพิ ากษาในวนั นง่ั พจิ ารณาคดนี น้ั และใหม สี ทิ ธอิ ยรู ว มในการพจิ ารณาและในการประชมุ ปรกึ ษา
เพอื่ พพิ ากษาคดีน้นั ได แตไมม สี ิทธิออกเสยี งในการวนิ จิ ฉยั คดนี ัน้

ในการนั่งพิจารณาคดีใด ถาผูแถลงคดีปกครองเห็นวาขอเท็จจริงในการพิจารณาคดี
เปล่ยี นแปลงไป ใหผแู ถลงคดปี กครองจดั ทาํ สรปุ ขอ เทจ็ จรงิ ขอ กฎหมาย และความเหน็ ของตนขน้ึ ใหม
เสนอตอ องคคณะพิจารณาพพิ ากษาเพอ่ื พจิ ารณาตอไป

ใหอธิบดีศาลปกครองชั้นตนหรือประธานศาลปกครองสูงสุดแตงต้ังผูแถลงคดีปกครอง
จากตลุ าการศาลปกครองคนหน่ึงในศาลน้ันทม่ี ใิ ชต ลุ าการในองคคณะพิจารณาพพิ ากษาคดนี น้ั

ผแู ถลงคดปี กครองในศาลปกครองสูงสดุ อาจแตงต้ังจากตุลาการศาลปกครองช้ันตนก็ได
การแตง ตงั้ และการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องผแู ถลงคดปี กครองใหเ ปน ไปตามระเบยี บของทปี่ ระชมุ ใหญ
ตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับคดีที่กําหนดในระเบียบของที่ประชุมใหญ
ตุลาการในศาลปกครองสูงสดุ
ÁÒμÃÒ õù ในการพจิ ารณาคดี ใหอ งคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษาจดั ใหม กี ารนงั่ พจิ ารณาคดี
อยา งนอ ยหนึ่งครง้ั เพ่อื ใหคกู รณีมโี อกาสมาแถลงดวยวาจาตอ หนา องคค ณะพิจารณาพิพากษา
กอ นการนงั่ พจิ ารณาคดคี รง้ั แรกใหส ง สรปุ ขอ เทจ็ จรงิ ของตลุ าการเจา ของสํานวนใหค กู รณี
ทราบลวงหนาไมนอยกวาเจ็ดวัน ในการน้ีใหคูกรณีมีสิทธิย่ืนคาํ แถลง รวมทั้งนําพยานหลักฐานมา
สืบประกอบคําแถลงดังกลาวเพ่ือยืนยันหรือหักลางขอเท็จจริง หรือขอกฎหมายเพิ่มเติมตอองคคณะ
พจิ ารณาพพิ ากษาในวันนัง่ พจิ ารณาคดแี ตจะไมม าแถลงดวยวาจากไ็ ด
ในกรณีที่กฎหมายกาํ หนดระยะเวลาใหศาลพิจารณาพิพากษาคดีหรือโดยลักษณะ
แหง คดมี คี วามจาํ เปน ทศี่ าลจะตอ งพจิ ารณาพพิ ากษาคดเี ปน การเรง ดว นหรอื เพอ่ื ประโยชนแ กส ว นรวม

๑๑๔

การสง สรปุ ขอ เทจ็ จรงิ ของตลุ าการเจา ของสํานวนใหค กู รณที ราบตามวรรคสอง จะสง ลว งหนา เปน เวลา
อันสมควรแตไ มถ งึ เจด็ วนั ก็ได โดยตอ งคํานึงถงึ การคมุ ครองสทิ ธิของคูก รณดี ว ย๗๑

ÁÒμÃÒ õù/ñ÷ò ในการพิจารณาคดีอุทธรณคาํ พิพากษาของศาลปกครองชั้นตน
หากองคคณะพิจารณาพิพากษาในศาลปกครองสูงสุดเห็นวาคดีดังกลาวมีขอเท็จจริงหรือขอกฎหมาย
ทไ่ี มย งุ ยากซบั ซอ นหรอื เหน็ วา การไมจ ดั ใหม กี ารนง่ั พจิ ารณาคดจี ะไมท ําใหเ สยี ความยตุ ธิ รรม องคค ณะ
พจิ ารณาพพิ ากษาอาจไมจ ดั ใหม กี ารนง่ั พจิ ารณาคดกี ไ็ ด ในกรณนี ใี้ หผ แู ถลงคดปี กครองดําเนนิ การตาม
มาตรา ๕๘ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ในวนั ประชุมปรกึ ษาเพือ่ มคี าํ พิพากษา

ใหศาลแจงการไมจัดใหมีการนั่งพิจารณาคดีตามวรรคหน่ึงพรอมสงสรุปขอเท็จจริงของ
ตุลาการเจาของสาํ นวนใหคูกรณีทราบ ท้ังนี้ ไมเปนการตัดสิทธิคูกรณีท่ีจะยื่นคําแถลงเปนหนังสือตอ
องคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษาภายในเจด็ วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั แจง และหากคกู รณปี ระสงคท จ่ี ะใหศ าลจดั ใหม ี
การนั่งพิจารณาคดี ใหคกู รณีแจง ความประสงคเ ชนนัน้ ใหศ าลทราบภายในเจ็ดวนั นบั แตว ันที่ไดร ับแจง
และใหอ งคค ณะพิจารณาพพิ ากษาจดั ใหม ีการนง่ั พิจารณาคดีตอ ไป

ÁÒμÃÒ öð การนงั่ พจิ ารณาคดีจะตองกระทําโดยเปดเผย
ในคดเี ร่ืองใดเพื่อรกั ษาความสงบเรยี บรอยหรอื ศลี ธรรมอันดี หรอื เพ่อื คมุ ครองประโยชน
สาธารณะ ถา ศาลปกครองเหน็ สมควรจะหา มมใิ หม กี ารเปด เผยขอ เทจ็ จรงิ หรอื พฤตกิ ารณต า ง ๆ ทงั้ หมด
หรอื แตบ างสว นแหง คดี ซงึ่ ปรากฏจากคาํ คคู วามหรอื คาํ แถลงของคกู รณี หรอื คาํ พยานหลกั ฐานทไี่ ดส บื
มาแลว ศาลปกครองจะมีคาํ ส่งั ดงั ตอ ไปนกี้ ไ็ ด
(๑) หา มประชาชนมใิ หเ ขา ฟง การพจิ ารณาทงั้ หมดหรอื บางสว น แลว ดําเนนิ การพจิ ารณาไป
โดยไมเ ปดเผย หรือ
(๒) หา มมิใหออกโฆษณาขอเท็จจริงหรอื พฤตกิ ารณตา ง ๆ เชนวานน้ั
ไมวาศาลปกครองจะไดมีคําส่ังตามวรรคสองหรือไม มิใหถือวาการออกโฆษณาท้ังหมด
หรือแตบางสวนแหงคําพิพากษา หรือยอเรื่องแหงคําพิพากษาโดยเปนกลางและถูกตองเปนการผิด
กฎหมาย เวนแตในกรณีที่ศาลเห็นสมควรเพ่ือประโยชนในการรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรม
อนั ดหี รอื เพอ่ื คมุ ครองประโยชนส าธารณะ จะหา มมใิ หม กี ารเปด เผยขอ ความทง้ั หมดหรอื บางสว นแหง
คาํ พพิ ากษานน้ั ก็ได
ÁÒμÃÒ öð/ñ÷ó เมื่อศาลเห็นสมควร หรือเมื่อคูกรณีฝายใดฝายหนึ่งมีคําขอและศาล
เห็นวาจะเปนประโยชนแกความยุติธรรมหรือเพื่ออาํ นวยความสะดวกแกคูกรณี ศาลอาจมีคาํ ส่ัง
ใหดาํ เนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือระบบการประชุมทางจอภาพไดตาม
หลกั เกณฑและวิธกี ารที่กําหนดโดยระเบยี บของทป่ี ระชุมใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสุด

๗๑ มาตรา ๕๙ วรรคสาม เพิ่มโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๐)
พ.ศ. ๒๕๖๑

๗๒ มาตรา ๕๙/๑ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิจัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑
๗๓ มาตรา ๖๐/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญตั ิจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๐) พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๑๕

การดาํ เนินกระบวนพิจารณาที่ตองกระทาํ ตอหนาศาลและศาลมีคําส่ังใหดาํ เนินการตาม
วรรคหนง่ึ ใหถ อื เปน การดําเนนิ กระบวนพจิ ารณาในหอ งพจิ ารณาของศาล และเปน การกระทาํ ตอ หนา ศาล

ศาลอาจเรียกเก็บคาใชจายในการดําเนินกระบวนพิจารณาตามวรรคหนึ่งจากคูกรณีท่ี
รองขอไดต ามหลกั เกณฑแ ละอตั ราทปี่ ระธานศาลปกครองสงู สุดกาํ หนด โดยไมถือวา คา ใชจา ยน้ันเปน
คา ธรรมเนยี มศาล

ÁÒμÃÒ öñ ใหตุลาการศาลปกครองคนหน่ึงคนใดซ่ึงไดรับมอบหมายจากองคคณะ
มอี ํานาจ ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) มคี าํ สงั่ เรยี กใหห นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ทเ่ี กย่ี วขอ งชแ้ี จงขอ เทจ็ จรงิ
หรือใหความเห็นเปนหนังสือเก่ียวกับการปฏิบัติงานของหนวยงานทางปกครองหรือของเจาหนาที่
ของรัฐท่เี ก่ยี วขอ ง

(๒) มีคาํ สั่งเรียกใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐสงวัตถุ เอกสาร หรือ
พยานหลักฐานอื่นที่เกยี่ วขอ ง หรอื ใหความเหน็ ในเร่ืองหนึง่ เรือ่ งใด หรือสง ผูแ ทนหรือเจา หนาท่ีของรัฐ
ในหนวยงานทางปกครองนัน้ มาชแ้ี จงหรอื ใหถอ ยคาํ ประกอบการพจิ ารณา

(๓) มีคําสั่งเรยี กใหคกู รณมี าใหถ อยคาํ หรอื นาํ พยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณา
(๔) มีคาํ ส่ังเรียกใหบุคคลท่ีเกี่ยวของกับคดีมาใหถอยคาํ หรือใหสงพยานหลักฐานมา
ประกอบการพจิ ารณา
(๕) ไตส วนหรอื มคี าํ สงั่ ในเรอื่ งใดทมี่ ใิ ชก ารวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดคดี ทง้ั นี้ ตามทก่ี ําหนดในระเบยี บ
ของท่ปี ระชมุ ใหญต ุลาการในศาลปกครองสูงสดุ
ในกรณจี าํ เปน ตลุ าการศาลปกครองหรอื บคุ คลทไี่ ดร บั มอบหมายจากตลุ าการศาลปกครอง
มอี าํ นาจไปตรวจสอบสถานท่ี บคุ คล หรือสงิ่ อืน่ ใดเพ่ือประกอบการพจิ ารณาก็ได
ÁÒμÃÒ öò ถา ผฟู อ งคดไี ดร บั คาํ สงั่ จากศาลปกครองใหม าใหถ อ ยคาํ หรอื แสดงพยานหลกั ฐาน
แลว ไมดําเนินการตามคําสั่งนั้นภายในระยะเวลาท่ีศาลปกครองกําหนดโดยไมมีเหตุผลอันสมควร
ศาลปกครองจะส่ังใหจาํ หนายคดีเสยี กไ็ ด
คดที ศ่ี าลปกครองไดส งั่ จําหนา ยตามวรรคหนง่ึ ถา ภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทศ่ี าลปกครอง
มคี าํ สงั่ ใหจ าํ หนา ยคดี ผฟู อ งคดแี สดงใหเ ปน ทพี่ อใจแกศ าลปกครองไดว า การทต่ี นไมส ามารถปฏบิ ตั ติ าม
คาํ ส่ังของศาลปกครองไดน้ัน เปนเพราะเหตุสุดวิสัยหรือมีเหตุอันสมควร ศาลปกครองจะอนุญาตให
พจิ ารณาใหมห รือฟองคดีใหมก ไ็ ด
ÁÒμÃÒ öó ตลุ าการศาลปกครองในองคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษาหรอื ผแู ถลงคดปี กครอง
อาจถกู คดั คา นไดต ามเหตแุ หง การคดั คา นผพู พิ ากษาทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง
รวมทงั้ เหตอุ นื่ ใดอนั มีสภาพรายแรงซึง่ อาจทําใหการพิจารณาพพิ ากษาคดเี สียความยตุ ิธรรม
การขอถอนตวั จากคดี การยืน่ คาํ คัดคา น การพิจารณาคําคดั คาน การสง่ั ใหผ ูถกู คดั คา น
งดการปฏิบัติหนาที่ และการสั่งใหผูอื่นเขาปฏิบัติหนาที่แทน ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในระเบียบของ
ท่ีประชุมใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

๑๑๖

การสั่งใหตุลาการศาลปกครองผูถูกคัดคานงดการพิจารณายอมไมกระทบกระเทือนถึง
การกระทําใด ๆ ของตลุ าการศาลปกครองผถู กู คัดคา นทไี่ ดกระทาํ ไปแลว

ÁÒμÃÒ öô นอกจากทบี่ ญั ญตั ไิ วแ ลว ในพระราชบญั ญตั นิ ใี้ หน าํ บทบญั ญตั ทิ ถ่ี อื วา เปน การ
กระทาํ ละเมิดอาํ นาจศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม และ
เมื่อมกี ารละเมิดอาํ นาจศาลใหศาลปกครองมีอํานาจสั่งลงโทษไดดังน้ี

(๑) ตักเตือน โดยจะมีคําตําหนเิ ปนลายลกั ษณอกั ษรดว ยหรอื ไมกไ็ ด
(๒) ไลออกจากบรเิ วณศาล
(๓) ลงโทษจําคุกไมเ กนิ หน่ึงเดอื น หรอื ปรับไมเ กินหา หมืน่ บาท หรือทงั้ จาํ ทั้งปรบั
การสงั่ ลงโทษฐานละเมดิ อาํ นาจศาลพงึ ใชอ ยา งระมดั ระวงั และเทา ทจ่ี ําเปน ตามพฤตกิ ารณ
แหงกรณี และหากเปนการสงั่ ลงโทษตาม (๓) ใหอ งคค ณะอื่นที่มใิ ชอ งคคณะพิจารณาพิพากษาคดนี ัน้
เปนผพู จิ ารณาและสั่งลงโทษ
ÁÒμÃÒ öõ ผูใดวิจารณการพิจารณาหรือการพิพากษาคดีของศาลปกครองโดยสุจริต
ดว ยวิธีการทางวิชาการ ผูน้ันไมม คี วามผดิ ฐานละเมดิ อํานาจศาล หรือดูหมนิ่ ศาลหรือตุลาการ
ÁÒμÃÒ öö ในกรณีที่ศาลปกครองเห็นสมควรกาํ หนดมาตรการหรือวิธีการใด ๆ
เพ่ือบรรเทาทกุ ขใ หแ กค ูก รณที เี่ ก่ียวขอ งเปนการชัว่ คราวกอ นการพิพากษาคดี ไมว า จะมีคํารองขอจาก
บคุ คลดงั กลา วหรอื ไม ใหศ าลปกครองมอี าํ นาจกาํ หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารชวั่ คราวและออกคําสงั่ ไปยงั
หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ทเี่ กย่ี วขอ งใหป ฏบิ ตั ไิ ด ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทกี่ าํ หนด
โดยระเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ
การกาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารตามวรรคหนง่ึ ใหค ํานงึ ถงึ ความรบั ผดิ ชอบของหนว ยงาน
ทางปกครองหรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั และปญ หาอปุ สรรคทอี่ าจเกดิ ขน้ึ แกก ารบรหิ ารงานของรฐั ประกอบดว ย

ÊÇ‹ ¹·èÕ ò/ñ
¡ÒÃä¡Å‹à¡ÅÂÕè ¢ÍŒ ¾¾Ô Ò·÷ô
ÁÒμÃÒ öö/ñ÷õ ใหศ าลปกครองชน้ั ตน มอี าํ นาจไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทในคดที อ่ี ยใู นอาํ นาจ
พิจารณาพิพากษาของศาลปกครองช้นั ตน และศาลปกครองสงู สดุ มีอํานาจไกลเกลีย่ ขอ พิพาทในคดที ี่
อยใู นอํานาจพจิ ารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ซ่ึงฟอ งเปนคร้งั แรกตอ ศาลปกครองสงู สุด
หลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอื่ นไขในการไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทใหเ ปน ไปตามทก่ี ําหนดในระเบยี บ
ของท่ีประชมุ ใหญตลุ าการในศาลปกครองสงู สุด

๗๔ สวนที่ ๒/๑ การไกลเกล่ียขอ พพิ าท มาตรา ๖๖/๑ ถงึ มาตรา ๖๖/๑๒ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ต้ังศาลปกครอง
และวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๗๕ มาตรา ๖๖/๑ เพ่ิมโดยพระราชบัญญัติจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑๗

ÁÒμÃÒ öö/ò÷ö ศาลปกครองมอี ํานาจไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทในคดที อ่ี ยใู นอํานาจพจิ ารณา
พพิ ากษาของศาลปกครอง ดังตอ ไปน้ี

(๑) คดพี พิ าทเกยี่ วกบั หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ละเลยตอ หนา ทตี่ ามท่ี
กฎหมายกําหนดใหต องปฏิบตั ิ หรอื ปฏบิ ัติหนาท่ดี งั กลาวลาชา เกินสมควร

(๒) คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิดอยางอื่นของหนวยงาน
ทางปกครองหรอื เจาหนาทขี่ องรัฐ

(๓) คดพี พิ าทเก่ียวกบั สญั ญาทางปกครอง
(๔) คดพี พิ าทอน่ื ตามทกี่ ําหนดในระเบยี บของทป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ
ในกรณีที่การไกลเกลี่ยขอพิพาทตามวรรคหน่ึงเปนการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่เกี่ยวกับเงิน
หรอื ทรพั ยส นิ คณะรฐั มนตรอี าจกําหนดหลกั เกณฑใ หห นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ทเ่ี ปน
คกู รณตี อ งไดร บั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลงั หรอื หนว ยงานทมี่ อี ํานาจกํากบั ดแู ลตามกฎหมาย
ดว ยกไ็ ด
ÁÒμÃÒ öö/ó÷÷ หามมใิ หม ีการไกลเกลย่ี ขอพิพาทในกรณที ่มี ลี กั ษณะ ดังตอ ไปนี้
(๑) การไกลเกล่ยี ขอ พพิ าททเ่ี ปนการฝา ฝนหรอื ตองหา มชดั แจง โดยกฎหมาย
(๒) การไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าททเี่ กย่ี วกบั ความสงบเรยี บรอ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน
(๓) การไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าททม่ี ผี ลกระทบตอ สถานะของบคุ คลหรอื มผี ลกระทบในทางเสยี หาย
ตอ ประโยชนสาธารณะ
(๔) การไกลเกลีย่ ขอพพิ าททีม่ ีผลกระทบรายแรงตอการบงั คับใชก ฎหมาย
(๕) การไกลเกล่ียขอพิพาทที่อยูนอกเหนือสิทธิ อํานาจหนาท่ี หรือความสามารถของ
คูก รณี
(๖) การไกลเกลี่ยขอพิพาทที่เก่ียวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทตาม
มาตรา ๑๑ (๑)
(๗) การไกลเกล่ียขอพิพาทท่ีเกี่ยวกับคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาทที่
กฎหมายกําหนดใหฟอ งคดตี อศาลปกครองสงู สุด
(๘) การไกลเกล่ียขอพิพาทท่ีมีลักษณะอื่นตามที่กาํ หนดในระเบียบของท่ีประชุมใหญ
ตุลาการในศาลปกครองสงู สุด
ÁÒμÃÒ öö/ô÷ø ในเวลาใด ๆ นับแตมีการฟองคดีตอศาลปกครองจนถึงวันส้ินสุด
การแสวงหาขอ เทจ็ จรงิ คกู รณอี าจรว มกนั ยนื่ คําขอตอ ศาลเพอ่ื ใหม กี ารไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าท หรอื คกู รณฝี า ยใด
ฝายหน่ึงอาจยื่นคําขอและคูกรณีฝายอื่นตกลงใหมีการไกลเกลี่ยขอพิพาท ในกรณีเชนน้ี ถาองคคณะ

๗๖ มาตรา ๖๖/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ัดตงั้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๗๗ มาตรา ๖๖/๓ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๗๘ มาตรา ๖๖/๔ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญัติจัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑๘

พิจารณาพิพากษาเห็นสมควรและประธานศาลปกครองสูงสุดหรืออธิบดีศาลปกครองช้ันตน
แลวแตกรณี เห็นชอบใหศาลดําเนินการไกลเกล่ียขอพิพาทระหวางคูกรณีน้ันได สาํ หรับคูกรณีท่ีไมได
ตกลงใหม กี ารไกลเกลย่ี ขอพพิ าท ศาลอาจดําเนินกระบวนพจิ ารณาตอ ไปกไ็ ด

เมอ่ื องคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษาเหน็ สมควรใหม กี ารไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทและคกู รณยี นิ ยอม
ใหน ําความในวรรคหนึง่ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ หรอื อธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน แลว แตก รณี แตง ตง้ั ตลุ าการ
ศาลปกครองซึ่งไมมีหนาท่ีรับผิดชอบคดีในสํานวนคดีนั้น ปฏิบัติหนาท่ีเปนผูไกลเกล่ียขอพิพาท
โดยคํานงึ ถึงความรคู วามเชย่ี วชาญและความเหมาะสมของตุลาการศาลปกครองผนู ั้น

ÁÒμÃÒ öö/õ÷ù การไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทตอ งดําเนนิ การใหเ สรจ็ โดยเรว็ ภายในระยะเวลา
ทตี่ ลุ าการศาลปกครองผไู กลเ กลย่ี ขอ พพิ าทกาํ หนด โดยตอ งไมท าํ ใหก ารพจิ ารณาพพิ ากษาคดนี นั้ ลา ชา
ออกไปโดยไมส มควร

ÁÒμÃÒ öö/öøð ตุลาการศาลปกครองผูไกลเกล่ียขอพิพาทตองวางตนเปนกลาง และ
ปราศจากอคติในการปฏิบตั ิหนาที่

ใหนําความในมาตรา ๖๓ มาใชบังคับแกการคัดคานและการถอนตัวของตุลาการ
ศาลปกครองผไู กลเกลย่ี ขอพิพาทโดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ öö/÷øñ แนวทาง ความเหน็ ชอบ คาํ สง่ั หรอื การดําเนนิ การใด บรรดาซงึ่ กระทําลง
ในการไกลเกล่ียขอพิพาทโดยประธานศาลปกครองสูงสุด อธิบดีศาลปกครองชั้นตน ตุลาการ
ศาลปกครองผไู กลเ กลยี่ ขอ พพิ าท องคค ณะพิจารณาพิพากษา หรือตลุ าการเจา ของสาํ นวนที่เกย่ี วกบั
การไกลเ กล่ียขอ พพิ าท ไมอ าจอทุ ธรณได

ÁÒμÃÒ öö/øøò หา มมใิ หค กู รณที เ่ี ขา รว มในการไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าท ตลุ าการศาลปกครอง
ผูไกลเกล่ียขอพิพาท ผูที่เกี่ยวของในการดาํ เนินการไกลเกล่ียขอพิพาท หรือบุคคลอ่ืนใด นาํ เรื่อง
ดังตอไปน้ี ไปเปด เผยหรืออา งองิ หรอื นาํ สืบเปนพยานหลกั ฐานในกระบวนพิจารณาคดีของศาล หรือ
เพอ่ื ดําเนินการอน่ื ใด ไมวาจะดวยวิธีการใด ๆ

(๑) ความประสงคห รอื ความยนิ ยอมของคกู รณใี นการขอเขา รว มในการไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าท
(๒) ความเห็นหรือขอเสนอแนะเก่ียวกับแนวทางหรือวิธีการในการระงับขอพิพาทของ
คกู รณใี นการไกลเกลยี่ ขอ พิพาท
(๓) การยอมรับหรือขอความที่กระทําโดยคกู รณีในการไกลเ กลย่ี ขอพพิ าท
(๔) ขอเท็จจรงิ ท่ีคกู รณีนาํ มาใชในการไกลเ กล่ียขอ พิพาท
(๕) เอกสารที่จัดทาํ ขน้ึ โดยมีวตั ถุประสงคเ พ่อื ใชในการไกลเ กลีย่ ขอ พิพาท

๗๙ มาตรา ๖๖/๕ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘๐ มาตรา ๖๖/๖ เพมิ่ โดยพระราชบญั ญัติจัดตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘๑ มาตรา ๖๖/๗ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัติจัดตง้ั ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘๒ มาตรา ๖๖/๘ เพมิ่ โดยพระราชบัญญัติจดั ต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๑๙

ขอ มลู ทเ่ี กย่ี วกบั การไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทอนื่ นอกจากขอ มลู ตามวรรคหนง่ึ อาจเปด เผยหรอื
อา งองิ ไดตามทีก่ าํ หนดในระเบยี บของทีป่ ระชมุ ใหญตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ

พยานหลกั ฐานใดทใี่ ชใ นการไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าท หากเปน พยานหลกั ฐานทนี่ าํ สบื ไดอ ยแู ลว
ในกระบวนการอนญุ าโตตลุ าการ กระบวนพจิ ารณาของศาล หรอื การดําเนนิ การอนื่ ใด โดยอาศยั อํานาจ
ตามกฎหมาย ยอ มไมต อ งหามตามความในวรรคหนง่ึ

หามมิใหอนุญาโตตุลาการ ศาล หนวยงานทางปกครอง หรือบุคคลอื่นใดรับฟงหรือนํา
ขอ เทจ็ จรงิ ทไี่ ดมาจากการฝา ฝน มาตรานไี้ ปใชป ระโยชน

ÁÒμÃÒ öö/ùøó การไกลเกลย่ี ขอ พิพาทในคดปี กครองสิน้ สุดลง เมื่อมีกรณีดังตอ ไปน้ี
(๑) มีการถอนคําฟองโดยศาลอนุญาตใหถอนคาํ ฟอ งได หรอื ศาลมคี าํ สั่งจาํ หนายคดนี ัน้
จากสารบบความโดยเหตุอ่นื
(๒) การไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทสาํ เรจ็ ในประเดน็ แหง คดที งั้ หมดหรอื บางสว นตามมาตรา ๖๖/๑๐
(๓) คูก รณีฝายหนง่ึ ฝายใดไมป ระสงคใหม กี ารไกลเกล่ยี ขอพิพาทตอ ไป
(๔) องคค ณะพจิ ารณาพพิ ากษามคี ําสง่ั ใหก ารไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทนนั้ สนิ้ สดุ ลง เมอ่ื ตลุ าการ
ศาลปกครองผไู กลเ กลย่ี ขอ พพิ าทเหน็ วา การไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทตอ ไปนนั้ ไมเ ปน ประโยชนแ กค ดี ไมอ าจ
สาํ เร็จได เปน การประวิงคดี เปนการฝาฝน หรอื เปน การขดั หรอื แยง ตอ หลักการไกลเ กล่ียขอพิพาท
ÁÒμÃÒ öö/ñðøô ในกรณที กี่ ารไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทในคดปี กครองสาํ เรจ็ และทาํ ใหป ระเดน็
แหงคดีเสร็จส้ินไปทั้งหมด ใหศาลปกครองมีคาํ พิพากษาไปตามนั้น หากการไกลเกลี่ยขอพิพาททําให
คดเี สรจ็ สนิ้ ไปบางสว น ใหศ าลจดรายงานแสดงขอ ความแหง ขอ ตกลงในการไกลเ กลย่ี ขอ พพิ าทเหลา นนั้
ไวแลว ใหศาลพิจารณาประเด็นขอพิพาทท่ีตกลงกันไมไดตอไปและนํามารวมพิพากษากับขอพิพาทท่ี
ตกลงกันไดไ ปในคราวเดียวกนั
ÁÒμÃÒ öö/ññøõ หามมิใหอุทธรณคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน ซ่ึงพิพากษา
ตามการไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทในประเดน็ แหง คดที เี่ สรจ็ สนิ้ ไปไมว า ทงั้ หมดหรอื บางสว นตามมาตรา ๖๖/๑๐
เวน แตในเหตดุ งั ตอ ไปน้ี
(๑) เมอื่ มขี อกลาวอา งวาคกู รณีฝา ยใดฝายหนึง่ ฉอฉล
(๒) เมื่อคําพิพากษาน้ันถูกกลาวอางวาเปนการละเมิดตอบทบัญญัติแหงกฎหมาย
อันเก่ยี วดว ยความสงบเรียบรอ ยหรือศีลธรรมอันดขี องประชาชน
(๓) เมอ่ื คําพพิ ากษานน้ั ถกู กลา วอา งวา มไิ ดเ ปน ไปตามขอ ตกลงในการไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าท

๘๓ มาตรา ๖๖/๙ เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ิจดั ตง้ั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘๔ มาตรา ๖๖/๑๐ เพิม่ โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
๘๕ มาตรา ๖๖/๑๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิจัดต้ังศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒๐

การอุทธรณค ําพพิ ากษาของการไกลเ กลี่ยขอพพิ าท ใหยน่ื ตอ ศาลที่มคี ําพพิ ากษาภายใน
กําหนดสามสิบวันนบั แตวนั ที่ไดม ีคาํ พิพากษา

ÁÒμÃÒ öö/ñòøö ระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดท่ีออกตาม
ความในสว นน้ใี หดาํ เนนิ การตามมาตรา ๖ ดวย

ʋǹ·èÕ ó
คํา¾¾Ô Ò¡ÉÒËÃ×Íคาํ ʧèÑ ¤´Õ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ö÷ การทําคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สงั่ ของศาลปกครองถา จะตอ งกระทาํ โดยตลุ าการ
ศาลปกครองหลายคน คาํ พพิ ากษาหรอื คาํ ส่ังน้นั จะตอ งบังคับตามความเหน็ ของฝายขางมาก และใน
กรณีทีต่ ลุ าการในศาลปกครองผใู ดมคี วามเห็นแยงใหทาํ ความเห็นแยงไวใ นคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สั่งน้นั
ÁÒμÃÒ öø ถาประธานศาลปกครองสูงสุดเห็นสมควรจะใหมีการวินิจฉัยปญหาใดหรือ
คดีใด โดยที่ประชุมใหญก็ได หรือมีกฎหมายหรือระเบียบของท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครอง
สูงสดุ ใหวินิจฉัยปญหาใด หรอื คดีใดโดยท่ปี ระชมุ ใหญก็ใหวนิ ิจฉัยโดยท่ีประชุมใหญ
ภายใตบ งั คบั มาตรา ๖๓ ทีป่ ระชุมใหญน ้ันใหประกอบดว ยตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ
ทุกคนท่อี ยูป ฏิบตั ิหนา ท่ี แตต อ งมีจาํ นวนไมนอ ยกวา กึ่งหนงึ่ ของจํานวนตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
และใหประธานศาลปกครองสูงสดุ เปน ประธานทปี่ ระชุมใหญ
คําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญใหเปนไปตามเสียงขางมาก และถามีคะแนนเสียงเทากัน
ใหป ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสียงเพมิ่ ข้ึนอีกเสียงหนึ่งเปนเสยี งช้ีขาด
ÁÒμÃÒ öù คาํ พพิ ากษาหรอื คําสงั่ ชข้ี าดคดปี กครองของศาลปกครองอยา งนอ ยตอ งระบุ
(๑) ชือ่ ผยู ่ืนคาํ ฟอ ง
(๒) หนวยงานทางปกครองหรอื เจาหนาทขี่ องรัฐทีเ่ ปน เหตแุ หงการฟอ งคดี
(๓) เหตุแหงการฟอ งคดี
(๔) ขอเทจ็ จริงของเร่ืองท่ีฟอ ง
(๕) เหตผุ ลแหง คาํ วินจิ ฉยั
(๖) คําวินิจฉยั ของศาลในประเด็นแหง คดี
(๗) คาํ บังคับ ถามี โดยใหระบุหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐท่ีตองปฏิบัติ
ตามคําบังคบั ไวดวย
(๘) ขอสังเกตเก่ียวกบั แนวทางหรือวธิ กี ารดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษา ถามี
คําพพิ ากษาหรอื คําสง่ั ตามวรรคหนงึ่ ตอ งลงลายมอื ชอ่ื ของตลุ าการศาลปกครองทน่ี งั่ พจิ ารณา
และพิพากษาคดหี รอื มีคาํ สง่ั นั้น ถา ตลุ าการศาลปกครองคนใดมีเหตุจาํ เปนไมสามารถลงลายมอื ชือ่ ได

๘๖ มาตรา ๖๖/๑๒ เพิ่มโดยพระราชบญั ญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๑๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒๑

ใหอธิบดีศาลปกครองชั้นตนหรือประธานศาลปกครองสูงสุด แลวแตกรณี จดแจงเหตุดังกลาวไวใน
คาํ พพิ ากษาหรอื คําสงั่ นัน้ ดว ย

เมื่อศาลปกครองไดอานผลแหงคําพิพากษาหรือคาํ สั่งชี้ขาดคดีปกครองในศาลปกครอง
โดยเปด เผยในวนั ใดแลว ใหถ อื วา วนั ทไ่ี ดอ า นนน้ั เปน วนั ทศ่ี าลปกครองมคี าํ พพิ ากษาหรอื คําสง่ั ในการน้ี
ใหศาลปกครองแจงใหคูกรณีทราบกาํ หนดวันอานผลแหงคาํ พิพากษาหรือคําส่ังน้ันเปนการลวงหนา
ตามสมควร

ถาไมมีคูกรณีมาศาลปกครองในวันนัดอานผลแหงคําพิพากษาหรือคาํ สั่งใหศาลปกครอง
งดการอานคําพิพากษาหรือคาํ ส่ัง แลวบันทึกไวและใหถือวาวันท่ีบันทึกเปนวันท่ีศาลปกครองไดมี
คําพิพากษาหรือคําสั่ง

ใหส าํ นกั งานศาลปกครองจดั ใหม คี าํ พพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ชข้ี าดคดปี กครองไวท ศี่ าลปกครอง
เพอื่ ใหประชาชนเขาตรวจดหู รือขอสาํ เนาทมี่ ีการรับรองถูกตอ งได โดยจะเรียกคาธรรมเนียมในการนนั้
ก็ได ท้ังน้ี ตามระเบียบที่ ก.ศป. กาํ หนด

ใหสาํ นักงานศาลปกครองพิมพเผยแพรคาํ พิพากษาหรือคาํ ส่ังช้ีขาดคดีของศาลปกครอง
และความเห็นของผแู ถลงคดปี กครองตามมาตรา ๕๘

ÁÒμÃÒ ÷ð คาํ พพิ ากษาศาลปกครองใหผ กู พนั คกู รณที จี่ ะตอ งปฏบิ ตั ติ ามคาํ บงั คบั นบั แต
วันที่กาํ หนดในคําพพิ ากษาจนถึงวันที่คําพิพากษานนั้ ถูกเปลี่ยนแปลงแกไขกลบั หรืองดเสีย

ในกรณที เ่ี ปน คาํ พพิ ากษาของศาลปกครองชน้ั ตน ใหร อการปฏบิ ตั ติ ามคาํ บงั คบั ไวจ นกวา
จะพนระยะเวลาการอุทธรณ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณ ใหรอการบังคับคดีไวจนกวาคดีจะถึงท่ีสุด
แตถ า เปน กรณที ม่ี กี ารอทุ ธรณแ ละเปน คดที ก่ี าํ หนดในระเบยี บของทปี่ ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครอง
สูงสุด คูกรณีฝายชนะคดีอาจยื่นคาํ ขอตอศาลปกครองชั้นตน หรือศาลปกครองสูงสุด แลวแตกรณี
โดยชี้แจงเหตุผลอันสมควรทข่ี อใหม ีการปฏิบตั ิตามคําบังคบั และใหศาลปกครองสงู สุดพจิ ารณาคําขอ
และมีคําส่ังตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาํ หนดโดยระเบียบของ
ทปี่ ระชุมใหญต ลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ ๘๗

ÁÒμÃÒ ÷ñ ภายใตบ งั คบั บทบญั ญตั วิ า ดว ยการอทุ ธรณค ําพพิ ากษาหรอื คําสง่ั คําพพิ ากษา
หรือคําส่ังใด ๆ ใหม ีผลผูกพันบคุ คลภายนอกไดในกรณี ดงั ตอไปน้ี

(๑) ในคําพิพากษาใหบุคคลใดออกไปจากสถานที่ใดใหใชบังคับตลอดถึงบริวารของผูนั้น
ทอ่ี ยูในสถานทีน่ ั้นดว ย เวน แตผ นู นั้ จะพสิ ูจนไ ดว าตนมีสทิ ธิพเิ ศษอ่นื

(๒) ถาบุคคลใดไดเขาเปนผูคา้ํ ประกันในศาลเพื่อการดาํ เนินการใด ๆ ตามคําพิพากษา
หรอื คําสัง่ ใหคําพิพากษาหรือคําสั่งใชบ ังคับแกก ารประกันนั้นไดโ ดยไมต องฟองผูค้ําประกนั ใหม

๘๗ มาตรา ๗๐ วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙

๑๒๒

(๓) คาํ พิพากษาหรือคาํ สั่งเก่ียวกับสถานะหรือความสามารถของบุคคล หรือนิติบุคคล
บุคคลภายนอกจะยกข้นึ อางอิงหรอื ใชยันกบั บคุ คลภายนอกกไ็ ด เวนแตบ ุคคลภายนอกจะมสี ิทธดิ กี วา

(๔) คาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สงั่ ทเี่ กย่ี วกบั สทิ ธแิ หง ทรพั ยส นิ ใด ๆ คกู รณที เี่ กย่ี วขอ งอาจอา งกบั
บุคคลภายนอกได เวนแตบ ุคคลภายนอกจะมีสิทธดิ กี วา

ÁÒμÃÒ ÷ò ในการพพิ ากษาคดี ศาลปกครองมอี ํานาจกาํ หนดคําบงั คบั อยา งหนง่ึ อยา งใด
ดังตอไปน้ี

(๑) ส่ังใหเพิกถอนกฎหรือคําสั่งหรือส่ังหามการกระทําท้ังหมดหรือบางสวน ในกรณีท่ีมี
การฟอ งวา หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั กระทําการโดยไมช อบดว ยกฎหมายตามมาตรา ๙
วรรคหน่งึ (๑)

(๒) สง่ั ใหห วั หนา หนว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั ทเี่ กยี่ วขอ งปฏบิ ตั ติ ามหนา ท่ี
ภายในเวลาทศ่ี าลปกครองกําหนด ในกรณที ม่ี กี ารฟอ งวา หนว ยงานทางปกครอง หรอื เจา หนา ทข่ี องรฐั
ละเลยตอ หนา ทห่ี รือปฏบิ ตั หิ นา ทล่ี าชา เกินสมควร

(๓) สั่งใหใชเงินหรือใหสงมอบทรัพยสินหรือใหกระทําการหรืองดเวนกระทําการ โดยจะ
กําหนดระยะเวลาและเง่ือนไขอื่น ๆ ไวดวยก็ได ในกรณีที่มีการฟองเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือ
ความรับผิดของหนวยงานทางปกครองหรอื เจาหนา ท่ขี องรฐั หรอื การฟองเกยี่ วกบั สญั ญาทางปกครอง

(๔) สง่ั ใหถอื ปฏบิ ตั ิตอ สทิ ธหิ รือหนาที่ของบคุ คลทเี่ กี่ยวของ ในกรณีทีม่ ีการฟอ ง ใหศ าล
มคี าํ พพิ ากษาแสดงความเปน อยขู องสิทธหิ รอื หนา ทนี่ ัน้

(๕) สั่งใหบ คุ คลกระทําหรือละเวน กระทําอยา งหนึ่งอยา งใดเพือ่ ใหเ ปนไปตามกฎหมาย
ในการมีคําบงั คับตามวรรคหน่งึ (๑) ศาลปกครองมีอาํ นาจกาํ หนดวา จะใหมผี ลยอ นหลัง
หรือไมยอนหลังหรือมีผลไปในอนาคตถึงขณะใดขณะหน่ึงได หรือจะกาํ หนดใหมีเงื่อนไขอยางใดก็ได
ทัง้ น้ี ตามความเปน ธรรมแหง กรณี
ในกรณีท่ีศาลปกครองมีคําพิพากษาถึงท่ีสุดใหเพิกถอนกฎ ใหมีการประกาศผลแหง
คําพพิ ากษาดงั กลา วในราชกิจจานเุ บกษา และใหการประกาศดังกลา วมีผลเปน การเพิกถอนกฎนั้น
วรรคส่ี๘๘ (ยกเลิก)
วรรคหา ๘๙ (ยกเลิก)
วรรคหก๙๐ (ยกเลิก)

๘๘ มาตรา ๗๒ วรรคสี่ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙

๘๙ มาตรา ๗๒ วรรคหา ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙

๙๐ มาตรา ๗๒ วรรคหก ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๙

๑๒๓

ÁÒμÃÒ ÷ò/ñùñ ในการพพิ ากษาคดี ใหศ าลปกครองมคี ําสง่ั คนื คา ธรรมเนยี มศาลทง้ั หมด
หรอื แตบางสวนตามสวนของการชนะคดี

ÁÒμÃÒ ÷ó การคดั คา นคาํ พพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ของศาลปกครองชน้ั ตน นน้ั ใหย นื่ อทุ ธรณ
ตอศาลปกครองช้ันตนที่มีคําพิพากษาหรือคาํ สั่งภายในกาํ หนดสามสิบวันนับแตวันที่ไดมีคําพิพากษา
หรอื คําสัง่ ถามไิ ดยื่นอุทธรณตามกําหนดเวลาดังกลา ว ใหถือวา คดีนน้ั เปน อันถงึ ทีส่ ดุ

คําพพิ ากษาหรอื คําสง่ั ตามวรรคหนง่ึ ใหห มายความรวมถงึ คําสง่ั เกยี่ วกบั การละเมดิ อาํ นาจ
ศาลหรือคาํ ส่งั อ่ืนใดท่ที าํ ใหคดเี สร็จเด็ดขาด

ในกรณที ศ่ี าลปกครองสงู สดุ เหน็ วา คาํ อทุ ธรณใ ดมขี อ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ กฎหมายทไ่ี มเ ปน สาระ
อันควรไดรบั การวนิ จิ ฉัย ศาลปกครองสงู สดุ จะส่งั ไมรับอทุ ธรณน น้ั ไวพ ิจารณากไ็ ด

คําพิพากษาหรอื คําสั่งของศาลปกครองสงู สุดใหเปน ท่ีสุด
ÁÒμÃÒ ÷ô เมอ่ื มคี ําพพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั อนั เปน ทส่ี ดุ ของศาลปกครองตา งชนั้ กนั ในประเดน็
แหง คดีอยางเดียวกัน ขัดหรอื แยง กนั ใหถอื ตามคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลปกครองสงู สุด
ถา คําพพิ ากษาหรอื คําสงั่ อนั เปน ทสี่ ดุ ของศาลปกครองชน้ั ตน ดว ยกนั มกี ารขดั หรอื แยง กนั
ในประเด็นแหงคดีอยางเดียวกัน คูกรณีหรือบุคคลภายนอกผูมีสวนไดเสียจะยื่นคาํ รองขอ
ตอศาลปกครองสูงสุดเพ่ือใหมีคาํ ส่ังกําหนดวาจะใหถือตามคาํ พิพากษาหรือคําส่ังใด คาํ สั่งของ
ศาลปกครองสูงสดุ เชน วา นีใ้ หเ ปน ทสี่ ุด
ÁÒμÃÒ ÷õ ในกรณีท่ีศาลปกครองไดมีคําพิพากษาหรือคาํ ส่ังชี้ขาดคดีปกครอง
เสรจ็ เด็ดขาดแลว คูก รณหี รือบคุ คลภายนอกผูมสี ว นไดเ สยี หรืออาจถูกกระทบจากผลแหงคดีนน้ั อาจมี
คําขอใหศ าลปกครองพจิ ารณาพิพากษาคดีหรือมีคาํ สง่ั ช้ีขาดคดีปกครองน้ันใหมไ ดในกรณี ดงั ตอไปน้ี
(๑) ศาลปกครองฟง ขอ เทจ็ จรงิ ผดิ พลาดหรอื มพี ยานหลกั ฐานใหม อนั อาจทําใหข อ เทจ็ จรงิ
ท่ีฟงเปนยุติแลว นัน้ เปลีย่ นแปลงไปในสาระสําคัญ
(๒) คูกรณีท่ีแทจริงหรือบุคคลภายนอกน้ันมิไดเขามาในการดําเนินกระบวนพิจารณาคดี
หรอื ไดเขามาแลวแตถกู ตดั โอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสว นรวมในการดาํ เนินกระบวนพิจารณา
(๓) มขี อ บกพรอ งสาํ คญั ในกระบวนพจิ ารณาพพิ ากษาทท่ี ําใหผ ลของคดไี มม คี วามยตุ ธิ รรม
(๔) คําพพิ ากษาหรอื คําสงั่ นนั้ ไดท ําขนึ้ โดยอาศยั ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ กฎหมายใด และตอ มา
ขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสาํ คัญซ่ึงทําใหผลแหงคําพิพากษาหรือคาํ ส่ัง
ขดั กับกฎหมายท่ใี ชบังคับอยูในขณะนน้ั
การยนื่ คําขอตามวรรคหนงึ่ ใหก ระทําไดเ ฉพาะเมอ่ื คกู รณหี รอื บคุ คลภายนอกไมท ราบถงึ
เหตุน้นั ในการพิจารณาคดคี รง้ั ท่แี ลวมา โดยมใิ ชความผดิ ของผูนนั้
การย่ืนคําขอใหพิจารณาพิพากษาคดีหรือมีคําสั่งใหมตองกระทําภายในเกาสิบวันนับแต
วันท่ีผูนั้นไดรูหรือควรรูถึงเหตุซึ่งอาจขอใหพิจารณาพิพากษาหรือมีคาํ ส่ังใหมได แตไมเกินหาปนับแต
ศาลปกครองไดมีคาํ พิพากษาหรอื คาํ สง่ั ชี้ขาด

๙๑ มาตรา ๗๒/๑ เพ่มิ โดยพระราชบัญญตั ิจดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙

๑๒๔

ÁÒμÃÒ ÷õ/ñùò การบงั คบั คดตี ามคําพพิ ากษาหรอื คาํ สงั่ ของศาลปกครอง ใหน ําบทบญั ญตั ิ
วา ดว ยการบังคบั คดีตามคําพพิ ากษาหรือคาํ ส่ัง และบทบญั ญัติวา ดว ยคาฤชาธรรมเนยี มตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง และคา ธรรมเนยี มเจา พนกั งานบงั คบั คดที า ยประมวลกฎหมายดงั กลา ว
มาใชบังคับโดยอนุโลมกับการบังคับคดีปกครอง ทั้งนี้ เทาท่ีไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัติน้ีและ
หลกั กฎหมายทัว่ ไปวา ดวยวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง

ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอาํ นาจออกระเบียบกาํ หนดหลักเกณฑ
วิธีการ และเงื่อนไขเพ่ือปฏิบัติการใหเปนไปตามวรรคหนึ่ง และเพ่ือบังคับตามคาํ พิพากษาหรือคําส่ัง
ของศาลปกครอง

ÁÒμÃÒ ÷õ/òùó ใหเจาพนักงานบังคับคดีซ่ึงศาลปกครองแตงตั้งจากขาราชการ
ฝา ยศาลปกครองทม่ี คี ณุ สมบตั ติ ามที่ ก.ศป. กาํ หนด มหี นา ทป่ี ฏบิ ตั ติ ามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั นิ ี้
และระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ในระหวางการพิจารณาหรือเพื่อบังคับ
ตามคาํ พพิ ากษาหรอื คําสัง่ ของศาลปกครอง

ในการบังคับคดีปกครองตามวรรคหนึ่ง เจาพนักงานบังคับคดีอาจมอบหมายใหเอกชน
หรือบุคคลอ่ืนปฏิบัติการแทนภายใตการกํากับดูแลของเจาพนักงานบังคับคดีก็ได ท้ังนี้ ตามระเบียบ
ของท่ปี ระชมุ ใหญตลุ าการในศาลปกครองสูงสดุ

ÁÒμÃÒ ÷õ/óùô เมื่อความปรากฏแกศาลปกครอง หรือคูกรณีย่ืนคําขอ หรือ
เจา พนกั งานบงั คบั คดรี ายงานตอ ศาลปกครองวา คกู รณยี งั ไมป ฏบิ ตั ติ ามคําบงั คบั ของศาลปกครองหรอื
มีขอ ขดั ของในการปฏิบัติตามคําบังคับของศาลปกครอง ใหศาลปกครองมีอาํ นาจพจิ ารณาหรอื ไตส วน
และมคี ําส่งั กาํ หนดวธิ ีการดําเนินการใหเ ปนไปตามคําพพิ ากษาหรือคาํ ส่ัง หรือมีคาํ สงั่ ใด ๆ เพ่อื ใหก าร
บงั คบั คดีเสร็จสน้ิ ไปโดยเร็ว

ÁÒμÃÒ ÷õ/ôùõ เมื่อปรากฏวาหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐมิไดปฏิบัติ
ตามคําบงั คบั ของศาลปกครองใหถกู ตองครบถวน หรอื ปฏบิ ัตลิ า ชา เกนิ สมควร ใหศาลปกครองไตส วน
หรือแสวงหาขอเท็จจริง ถาศาลปกครองไดไตสวนแลวเห็นวาขอเท็จจริงเพียงพอท่ีจะรับฟงไดวา
การที่มิไดปฏิบัติตามคาํ บังคับของศาลปกครองใหถูกตองครบถวนหรือปฏิบัติลาชาเปนไปโดยไมมีเหตุ
อนั สมควร ศาลปกครองอาจมคี ําสง่ั ใหห นว ยงานทางปกครองหรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั ทไี่ มป ฏบิ ตั ติ ามคาํ บงั คบั
ชําระคา ปรบั ตอ ศาลปกครองตามจาํ นวนทสี่ มควร ครงั้ ละไมเ กนิ หา หมนื่ บาท ทงั้ นี้ ศาลปกครองอาจแจง
ผบู งั คับบัญชา ผูก ํากบั ดูแลผูควบคุม หรือนายกรัฐมนตรี เพือ่ ดําเนนิ การตามอํานาจหนาที่ หรือส่ังการ
หรือลงโทษทางวนิ ัยตอไปก็ไดและแจง ผลใหศาลปกครองทราบ

๙๒ มาตรา ๗๕/๑ เพิ่มโดยพระราชบญั ญตั ิจัดตง้ั ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙
๙๓ มาตรา ๗๕/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙
๙๔ มาตรา ๗๕/๓ เพ่ิมโดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙
๙๕ มาตรา ๗๕/๔ เพ่มิ โดยพระราชบัญญัตจิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙

๑๒๕

คาํ สั่งปรับตามวรรคหน่ึงใหจัดทําโดยองคคณะ และใหนําเงินคาปรับดังกลาวสงเปน
รายไดแผน ดนิ

ในกรณที เ่ี จา หนา ทข่ี องรฐั ไมป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั ทใี่ หช ําระคา ปรบั ตามวรรคหนง่ึ ศาลปกครอง
อาจมคี ําสัง่ ใหม ีการบงั คบั คดีแกท รัพยส ินของบคุ คลน้นั ได

ใหนาํ ความในมาตรานี้ไปใชบังคับกับกรณีที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
มไิ ดป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั กาํ หนดมาตรการหรอื วธิ กี ารใด ๆ เพอ่ื บรรเทาทกุ ขใ หแ กค กู รณที เี่ กย่ี วขอ งเปน การ
ชวั่ คราวกอนการพิพากษาคดตี ามมาตรา ๖๖ หรอื ปฏิบัตลิ า ชาเกนิ สมควรดว ยโดยอนุโลม

ท่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอาํ นาจออกระเบียบกาํ หนดหลักเกณฑ
วธิ ีการ และเงื่อนไขในการปฏิบัติตามมาตราน้ไี ด

ËÁÇ´ õ
สํา¹¡Ñ §Ò¹ÈÒÅ»¡¤Ãͧ
ÁÒμÃÒ ÷ö ใหมีสํานักงานศาลปกครองเปนสวนราชการที่เปนหนวยงานอิสระตาม
รัฐธรรมนญู มีฐานะเปนนิตบิ คุ คล
ÁÒμÃÒ ÷÷ สาํ นกั งานศาลปกครองมอี าํ นาจหนาที่ ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) รบั ผิดชอบในงานธุรการของศาลปกครอง
(๒) ดําเนินการเกยี่ วกบั คดปี กครองตามคาํ ส่ังของศาลปกครอง
(๓) ดําเนนิ การบังคับใหเ ปน ไปตามคําบังคบั ของศาลปกครอง
(๔) ศกึ ษาและรวบรวมขอ มูลเพ่อื ประโยชนแกการปฏิบัติงานของศาลปกครอง
(๕) วิเคราะหเหตุแหงการฟองคดีปกครองเพ่ือเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงวิธีปฏิบัติ
ราชการตอหนว ยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วขอ ง
(๖) จดั พมิ พและเผยแพรคําพิพากษาหรือคําส่งั ของศาลปกครอง
(๗) จัดใหมีการศึกษาอบรมและพัฒนาความรูของตุลาการศาลปกครอง ขาราชการ
ฝา ยศาลปกครอง และเจา หนา ทอี่ น่ื ของรฐั ทเี่ กยี่ วขอ ง ตลอดจนประสานงานกบั หนว ยงานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ ง
เพอ่ื พฒั นาหลักกฎหมายมหาชน การบรหิ ารราชการแผนดนิ และบคุ ลากรดานกฎหมายมหาชน
(๘) ปฏิบัติการอ่ืนตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่มีกฎหมายกาํ หนด
ใหเ ปน อาํ นาจหนาที่ของสาํ นกั งานศาลปกครอง
ÁÒμÃÒ ÷ø ใหม เี ลขาธกิ ารสํานกั งานศาลปกครองเปน ขา ราชการฝา ยศาลปกครองขน้ึ ตรง
ตอประธานศาลปกครองสูงสุด มีหนาที่ควบคุมดูแลโดยทั่วไป ซ่ึงราชการของสํานักงานศาลปกครอง
และเปน ผบู งั คบั บญั ชาขา ราชการในสํานกั งานศาลปกครอง โดยมรี องเลขาธกิ ารสํานกั งานศาลปกครอง
เปนผชู ว ยสั่งและปฏิบัติราชการ

๑๒๖

การแตง ตง้ั เลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลปกครอง ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ คดั เลอื กบคุ คล
ทเ่ี หมาะสมจะดาํ รงตาํ แหนง โดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป. เสนอตอ นายกรฐั มนตรี และใหน ายกรฐั มนตรี
นําความกราบบังคมทูลเพ่ือทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตงต้งั ตอไป

ในกจิ การของสํานกั งานศาลปกครองทเ่ี กยี่ วขอ งกบั บคุ คลภายนอก ใหเ ลขาธกิ ารสาํ นกั งาน
ศาลปกครองเปนผูแทนของสาํ นักงานศาลปกครอง เพื่อการนี้ เลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครอง
จะมอบหมายใหบุคคลใดปฏิบัติราชการเฉพาะอยางแทนก็ได ท้ังน้ี ตองเปนไปตามระเบียบ
ทค่ี ณะกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองกําหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา

เลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครองมีวาระการดํารงตาํ แหนงส่ีปนับแตวันที่ไดรับแตงตั้ง
แตประธานศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ศป. อาจขยายเวลาการดํารงตาํ แหนงไดอีก
ไมเ กินสองครง้ั ครัง้ ละหนึ่งป๙๖

ในกรณีที่เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองพนจากตาํ แหนงโดยมิไดพนจากราชการและ
มไิ ดม คี วามผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรงหรอื มมี ลทนิ หรอื มวั หมอง ถา ผนู น้ั มอี ายยุ งั ไมค รบหกสบิ ป ใหป ระธาน
ศาลปกครองสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.ขป. มีคาํ ส่ังแตงตั้งใหดํารงตาํ แหนงขาราชการฝาย
ศาลปกครองในระดับท่ีเทยี บเทา ตําแหนง เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง๙๗

ÁÒμÃÒ ÷ø/ñùø เลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลปกครองอาจแตง ตง้ั จากตลุ าการศาลปกครอง
โดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป. และเมอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ แตง ตง้ั แลว ใหพ น จากตําแหนง ตลุ าการ
ศาลปกครอง

เลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ไดรับการแตงต้ังตามวรรคหนึ่ง ใหมีวาระการดํารง
ตําแหนง สองปน บั แตว นั ทไ่ี ดร บั แตง ตง้ั โดยอาจไดร บั แตง ตง้ั ใหมไ ด แตไ มเ กนิ สองวาระตดิ ตอ กนั เวน แต
ประธานศาลปกครองสูงสดุ โดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป. มีคําสง่ั ใหพ น จากตําแหนง กอ นครบกําหนด
เวลาดังกลาว

ใหเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองที่ไดรับการแตงต้ังตามวรรคหนึ่งไดรับเงินเดือน
เงนิ ประจาํ ตาํ แหนง และประโยชนต อบแทนอน่ื ตามอตั ราของตําแหนง เลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลปกครอง
และหากเงินเดือนหรือเงินประจําตําแหนงที่ไดรับอยูกอนแตงตั้งสูงกวาอัตราเงินเดือนหรืออัตราเงิน
ประจาํ ตาํ แหนง สงู สดุ ของตาํ แหนง เลขาธกิ ารสํานักงานศาลปกครอง ใหปรบั เขากับอตั ราเงินเดอื นหรือ
อตั ราเงินประจาํ ตําแหนง สงู สดุ ของตําแหนง เลขาธกิ ารสาํ นกั งานศาลปกครอง

ÁÒμÃÒ ÷ø/òùù ในกรณีท่ีเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครองที่ไดรับแตงตั้งตาม
มาตรา ๗๘/๑ กระทําผิดวินัยอยูกอนวันโอนมาดํารงตําแหนงเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครอง
ให ก.ขป. เปน ผพู ิจารณาดําเนนิ การทางวนิ ยั แกผ นู นั้ ตามบทบญั ญัตเิ กย่ี วกบั วนิ ยั แหงการเปน ตลุ าการ

๙๖ มาตรา ๗๘ วรรคสี่ เพม่ิ โดยพระราชบัญญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๙๗ มาตรา ๗๘ วรรคหา เพมิ่ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๙๘ มาตรา ๗๘/๑ เพิม่ โดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๙๙ มาตรา ๗๘/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๒๗

ศาลปกครอง แตถาไดกระทาํ ผิดวินัยในระหวางการดํารงตําแหนงเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครอง
และไดโอนกลบั ไปเปนตุลาการศาลปกครองแลว ให ก.ศป. เปน ผพู ิจารณาดาํ เนนิ การทางวินยั แกผูน ั้น
ตามบทบัญญัติเก่ียวกับวินัยของขาราชการฝายศาลปกครอง ในกรณีที่มีปญหาเก่ียวกับโทษที่จะลง
ให ก.ศป. เปนผวู นิ จิ ฉัย

การพิจารณาดาํ เนินการทางวินัยตามวรรคหนึ่ง ถาเร่ืองอยูในระหวางการสืบสวนหรือ
สอบสวนของผูบงั คบั บัญชากอ นโอนมาดาํ รงตาํ แหนงเลขาธกิ ารสาํ นักงานศาลปกครอง หรอื กอนโอน
กลับไปเปนตุลาการศาลปกครอง ใหดําเนินการตอไปตามกฎหมายที่ใชบังคับอยูในขณะที่กระทาํ
ความผดิ น้ันจนแลวเสรจ็ แลว สง เรอื่ งให ก.ขป. หรอื ก.ศป. แลว แตกรณี เพอื่ พจิ ารณาดําเนนิ การตอไป

ÁÒμÃÒ ÷ù ใหมีพนักงานคดีปกครองทาํ หนาที่ชวยเหลือตุลาการเจาของสาํ นวน
ในการดําเนินคดีปกครองตามท่ีตุลาการเจาของสาํ นวนมอบหมาย และปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนในสํานักงาน
ศาลปกครองตามท่ีเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองมอบหมาย

ในการปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ กยี่ วกบั การดาํ เนนิ คดปี กครองตามทตี่ ลุ าการเจา ของสาํ นวนมอบหมาย
ใหพ นกั งานคดปี กครองเปน เจา พนักงานในตาํ แหนง พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายอาญา

ÁÒμÃÒ øð คณุ สมบตั ขิ องบคุ คลทไี่ ดร บั การแตง ตง้ั เปน พนกั งานคดปี กครองในระดบั ตา ง ๆ
ใหเปนไปตามหลักเกณฑท ่ี ก.ศป. กาํ หนด

ใหเ ลขาธกิ ารสํานกั งานศาลปกครองมอี ํานาจพจิ ารณาแตง ตงั้ ขา ราชการในสงั กดั สาํ นกั งาน
ศาลปกครองซ่ึงมีคณุ สมบัตติ ามวรรคหน่งึ เปน พนักงานคดปี กครอง

ÁÒμÃÒ øññðð ใหม คี ณะกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองคณะหนงึ่ เรียกโดยยอวา
“ก.ขป.” ประกอบดวย

(๑) ประธานศาลปกครองสงู สดุ หรอื รองประธานศาลปกครองสงู สดุ ทปี่ ระธานศาลปกครอง
สูงสุดมอบหมาย เปนประธานกรรมการ

(๒) เลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง และเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน
เปนกรรมการ

(๓) กรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ทิ เ่ี ปน ตลุ าการศาลปกครองจํานวน
สี่คน ซ่ึงไดรับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองสูงสุด จํานวนสองคน และไดรับเลือกจากตุลาการ
ในศาลปกครองชน้ั ตน จาํ นวนสองคน

(๔) กรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ทิ เ่ี ปน ขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
ในระดบั ไมต าํ่ กวา ตําแหนง ที่ ก.ศป. กาํ หนด จํานวนสคี่ น ซง่ึ ไดร บั เลอื กจากขา ราชการฝา ยศาลปกครอง

(๕) กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิดานการพัฒนาองคกรและดาน
การบรหิ ารจดั การ ทไี่ มเ ปนหรือไมเคยเปน ขาราชการศาลปกครอง ดา นละหน่ึงคน ซงึ่ ไดรบั เลือกจาก
ประธานกรรมการและกรรมการตาม (๒) (๓) และ (๔)

๑๐๐ มาตรา ๘๑ แกไ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๒๘

ให ก.ขป. แตงตงั้ ขา ราชการฝา ยศาลปกครองเปน เลขานกุ าร และผชู วยเลขานุการ
ÁÒμÃÒ øñ/ññðñ กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา
๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) จะดาํ รงตาํ แหนงกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตาม
มาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) หรอื (๓) ในเวลาเดยี วกนั มไิ ด
ÁÒμÃÒ øñ/òñðò กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑
วรรคหน่งึ ตองมีคณุ สมบตั ิและไมม ีลักษณะตองหา มตามมาตรา ๔๑/๔
ÁÒμÃÒ øñ/óñðó การเลือกกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตาม
มาตรา ๘๑ วรรคหน่ึง ใหด าํ เนินการดงั ตอ ไปนี้
(๑) การเลือกกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑
วรรคหน่ึง (๓) ใหน าํ ความในมาตรา ๔๑/๕ มาใชบงั คับโดยอนุโลม
(๒) การเลือกกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑
วรรคหน่ึง (๔) ใหเปนไปตามวิธีการที่ ก.ศป. ประกาศกาํ หนด โดยความเห็นชอบของท่ีประชุมใหญ
ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
ÁÒμÃÒ øò กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑
วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) ใหมีวาระการดาํ รงตาํ แหนงคราวละสองป และอาจไดร บั เลอื กใหมไ ด แตจ ะ
ดาํ รงตําแหนงเกนิ สองวาระติดตอ กันมไิ ด๑ ๐๔
ถาตาํ แหนงวางลงกอนครบวาระ ใหดําเนินการเลือกซอมภายในหกสิบวันนับแตวันที่
ตาํ แหนง วา งลง เวน แตว าระการอยใู นตาํ แหนง ของกรรมการผนู น้ั จะเหลอื ไมถ งึ เกา สบิ วนั จะไมด าํ เนนิ การ
เลือกซอมก็ได
กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองซ่ึงไดรับเลือกซอมใหอยูในตําแหนงเทากับวาระ
ท่เี หลอื อยขู องผซู ึ่งตนแทน
ÁÒμÃÒ øóñðõ นอกจากการพนจากตาํ แหนงตามวาระ กรรมการขาราชการ
ฝา ยศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหนึ่ง (๓) (๔) และ (๕) พน จากตาํ แหนง เมือ่
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ก.ขป. มีมตดิ วยคะแนนเสยี งไมนอยกวา สามในส่ีของจํานวนกรรมการท้ังหมดใหพน
จากตําแหนง เนอื่ งจากกระทาํ การหรอื มพี ฤตกิ รรมไมเ หมาะสมในการปฏบิ ตั หิ นา ทก่ี รรมการขา ราชการ
ฝา ยศาลปกครอง

๑๐๑ มาตรา ๘๑/๑ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๐๒ มาตรา ๘๑/๒ เพ่มิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๐๓ มาตรา ๘๑/๓ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ต้ังศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๐๔ มาตรา ๘๒ วรรคหนึง่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๐๕ มาตรา ๘๓ แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบัญญัติจัดตง้ั ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๒๙

(๔) พน จากตาํ แหนง ตลุ าการศาลปกครองตามมาตรา ๒๑ ในกรณที เ่ี ปน กรรมการขา ราชการ
ฝายศาลปกครองผูทรงคณุ วฒุ ิตามมาตรา ๘๑ วรรคหนง่ึ (๓)

(๕) ไดรับการแตงตง้ั ใหด าํ รงตาํ แหนง ตุลาการศาลปกครองสงู สดุ ในกรณีทีเ่ ปน กรรมการ
ขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับเลือกจากตุลาการในศาลปกครองช้ันตนตาม
มาตรา ๘๑ วรรคหน่งึ (๓)

(๖) ไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตาม
มาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง หรือกรรมการบริหารศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหนึ่ง
ในกรณที เี่ ปน กรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหนงึ่ (๓) (๔) และ (๕)

(๗) พนจากการเปนขาราชการฝายศาลปกครอง ในกรณีท่ีเปนกรรมการขาราชการ
ฝายศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหน่งึ (๔)

(๘) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๘๑/๒ ในกรณีท่ีเปนกรรมการ
ขา ราชการฝา ยศาลปกครองผทู รงคุณวุฒติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหนง่ึ (๕)

ในกรณีท่ีมีปญหาเกี่ยวกับการพนจากตําแหนงของกรรมการขาราชการฝายศาลปกครอง
ผูทรงคณุ วฒุ ติ ามวรรคหน่ึง ให ก.ขป. เปน ผวู นิ ิจฉยั ชี้ขาด

ÁÒμÃÒ øôñðö ให ก.ขป. มีอาํ นาจออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงาน
บคุ คลและการดําเนนิ การอ่นื ของสํานักงานศาลปกครองในเรอ่ื ง ดงั ตอไปนี้

(๑) การกาํ หนดคุณสมบตั ิ การคัดเลือก การบรรจุ การแตง ต้งั การทดลองปฏบิ ัติหนา ที่
ราชการ การยาย การเล่ือนตาํ แหนง การพนจากตาํ แหนง การเลื่อนเงินเดือน การออกจากราชการ
วินัย การสอบสวน การส่ังพักราชการ การส่ังใหออกจากราชการไวกอน และการลงโทษทางวินัย
การรองทกุ ข และการอุทธรณก ารลงโทษสําหรับขาราชการฝายศาลปกครอง

(๒) การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทนในตาํ แหนงของขาราชการ
ฝา ยศาลปกครอง

(๓) การกําหนดเคร่อื งแบบและการแตงกายของขาราชการฝายศาลปกครอง
(๔) การแตงตัง้ บคุ คลหรอื คณะบคุ คลเพอื่ ดําเนนิ กจิ การใด ๆ ตามแตจ ะมอบหมาย
(๕) การรกั ษาทะเบียนประวัตแิ ละควบคุมการเกษยี ณอายขุ องขา ราชการศาลปกครอง
(๖) การกําหนดวิธีการและเงื่อนไขในการจางพนักงานราชการและลูกจางสํานักงาน
ศาลปกครอง การกาํ หนดเครอื่ งแบบและการแตง กาย วนิ ยั การสอบสวนและการลงโทษทางวนิ ยั การรอ งทกุ ข
การอทุ ธรณ การรกั ษาทะเบยี นประวตั ิ รวมทงั้ การอนื่ ทจี่ ําเปน ของพนกั งานราชการและลกู จา งสาํ นกั งาน
ศาลปกครอง

๑๐๖ มาตรา ๘๔ แกไ ขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติจัดต้งั ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๓๐

(๗) พิจารณาเสนอแนะตอ ก.บ.ศป. ในการออกประกาศแบงสวนราชการภายในของ
สาํ นกั งานศาลปกครอง และกําหนดอาํ นาจหนาท่ีของสวนราชการดงั กลา ว

(๘) พิจารณาเสนอแนะตอ ก.บ.ศป. ในการออกระเบียบการจัดสวัสดิการและ
การสงเคราะหอ่นื แกข า ราชการศาลปกครอง และพนกั งานราชการและลกู จา งสํานกั งานศาลปกครอง

(๙) การกาํ หนดกจิ การอน่ื ทอี่ ยูในอํานาจและหนา ทีข่ อง ก.ขป.
ÁÒμÃÒ øô/ññð÷ การประชุมของ ก.ขป. ใหนาํ ความในมาตรา ๔๑ มาใชบังคับ
โดยอนุโลม
ÁÒμÃÒ øõ การกาํ หนดตาํ แหนงและการใหไดรับเงินเดือน เงินประจาํ ตาํ แหนง
และเงนิ เพม่ิ สาํ หรบั ตําแหนง ทมี่ เี หตพุ เิ ศษของขา ราชการฝา ยศาลปกครอง ใหน ํากฎหมายวา ดว ยระเบยี บ
ขา ราชการพลเรอื นในสว นทเ่ี กย่ี วกบั ขา ราชการพลเรอื นสามญั มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม ทงั้ นี้ คําวา “ก.พ.”
ใหหมายถึงคณะกรรมการขา ราชการฝายศาลปกครอง
ÁÒμÃÒ øö อตั ราเงนิ เดอื น อตั ราเงนิ ประจาํ ตําแหนง และการใหไ ดร บั เงนิ ประจําตาํ แหนง
และการจายเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงของขาราชการฝายศาลปกครอง ใหนําบทบัญญัติที่ใช
บงั คบั แกข า ราชการพลเรอื นในกฎหมายวา ดว ยเงนิ เดอื นและเงนิ ประจําตําแหนง มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม
ÁÒμÃÒ ø÷ การบรรจบุ คุ คลเขา รบั ราชการเปน ขา ราชการฝา ยศาลปกครอง และการแตง ตง้ั
ใหด าํ รงตําแหนง ใหผูม อี าํ นาจดงั ตอ ไปนี้เปน ผูสัง่ บรรจุและแตง ต้ัง
(๑) การบรรจุและแตงตั้งรองเลขาธิการสํานักงานศาลปกครอง ใหประธานศาลปกครอง
สงู สดุ คดั เลอื กบคุ คลทเ่ี หมาะสมจะดาํ รงตาํ แหนง โดยความเหน็ ชอบของ ก.ศป. เสนอตอ นายกรฐั มนตรี
และใหน ายกรฐั มนตรีนาํ ความกราบบงั คมทลู เพื่อทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ แตง ตง้ั ตอ ไป
(๒) การบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงอื่นนอกจาก (๑) ใหเลขาธิการสาํ นักงาน
ศาลปกครองเปนผูมอี าํ นาจสงั่ บรรจุและแตงตั้ง
ÁÒμÃÒ øø การโอนขาราชการฝายศาลปกครองไปบรรจุและแตงตั้งใหดาํ รงตาํ แหนง
ขา ราชการในหนว ยงานของรฐั อนื่ หรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ หรอื การโอนขา ราชการ
ในหนว ยงานของรฐั อนื่ หรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ มาบรรจแุ ละแตง ตง้ั ใหด ํารงตําแหนง
ขาราชการฝายศาลปกครองอาจกระทาํ ไดถาเจาตัวสมัครใจโดยผูมีอาํ นาจส่ังบรรจุทาํ ความตกลงกับ
เจา สงั กดั และไดป ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองกาํ หนดโดยความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการขา ราชการหรอื คณะกรรมการพนักงานสว นทองถนิ่ ประเภทน้นั ๆ แลวแตก รณี
การบรรจแุ ละแตง ตง้ั ขา ราชการหรอื พนกั งานขององคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ทโ่ี อนมาเปน
ขา ราชการฝา ยศาลปกครองตามวรรคหนงึ่ ใหด ํารงตําแหนง ระดบั ใดและใหไ ดร บั เงนิ เดอื นและเงนิ ประจํา
ตาํ แหนงเทาใด ใหคณะกรรมการขาราชการฝา ยศาลปกครองเปนผูพ ิจารณากาํ หนด แตเ งินเดอื นทจ่ี ะ

๑๐๗ มาตรา ๘๔/๑ เพม่ิ โดยพระราชบญั ญัตจิ ดั ต้งั ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๓๑

ใหไดร ับจะตอ งไมส งู กวาขาราชการฝา ยศาลปกครองท่ีมคี ณุ วุฒิ ความสามารถ และความชาํ นาญงาน
ในระดับเดยี วกนั

เพอื่ ประโยชนใ นการนบั เวลาราชการ ใหถ อื เวลาราชการหรอื เวลาทาํ งานของผทู โ่ี อนมาเปน
ขาราชการฝายศาลปกครองตามวรรคหนึ่งในขณะที่เปนขาราชการ หรือพนักงานขององคกรปกครอง
สว นทอ งถน่ิ นัน้ เปน เวลาราชการของขา ราชการฝา ยศาลปกครองตามพระราชบญั ญตั ินี้ดวย

การโอนขาราชการการเมืองและขาราชการที่อยูในระหวางทดลองปฏิบัติหนาท่ีราชการ
มาเปน ขาราชการฝา ยศาลปกครองตามพระราชบัญญตั นิ ้จี ะกระทํามไิ ด

ÁÒμÃÒ øù ขาราชการฝายศาลปกครองมีสิทธิไดรับบําเหน็จบํานาญตามกฎหมาย
วาดวยกองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญขา ราชการเชนเดยี วกับขาราชการพลเรือน

ÁÒμÃÒ ùð เมอื่ สํานกั งานตรวจเงนิ แผน ดนิ ไดท าํ การตรวจสอบรบั รองบญั ชแี ละการเงนิ
ทุกประเภทของศาลปกครองและสํานักงานศาลปกครองแลว ใหเสนอผลการสอบบัญชีโดยตรงตอ
สภาผแู ทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรฐั มนตรี โดยไมชักชา

ÁÒμÃÒ ùñ ใหสํานักงานศาลปกครองเสนองบประมาณรายจายตอคณะรัฐมนตรี
เพื่อจัดสรรเปนเงินอุดหนุนของศาลปกครองและสาํ นักงานศาลปกครองไวในรางพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจาํ ป หรือรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม แลวแตกรณี
ในการน้ี คณะรฐั มนตรอี าจทาํ ความเหน็ เกย่ี วกบั การจดั สรรงบประมาณของศาลปกครองและสํานกั งาน
ศาลปกครองไวในรายงานการเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํ ปหรือราง
พระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจายเพมิ่ เติมดวยกไ็ ด

ÁÒμÃÒ ùò ในการเสนอหรือพิจารณางบประมาณรายจาย การแตงตั้งตุลาการ
ศาลปกครอง หรอื ในการพจิ ารณาเรอื่ งใดเกยี่ วกบั สํานกั งานศาลปกครองหรอื ศาลปกครอง ถา เลขาธกิ าร
สํานักงานศาลปกครองรองขอคณะรัฐมนตรี ที่ประชุมรวมกันของรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา
หรือคณะกรรมาธิการที่เกี่ยวของอาจอนุญาตใหเลขาธิการสํานักงานศาลปกครองหรือผูซึ่งเลขาธิการ
สาํ นกั งานศาลปกครองมอบหมายมาชแี้ จงได

ÁÒμÃÒ ùó ใหส ํานกั งานศาลปกครองจดั ทํารายงานการปฏบิ ตั งิ านของศาลปกครองและ
ของสํานกั งานศาลปกครองเสนอตอคณะรัฐมนตรี สภาผูแ ทนราษฎร และวุฒสิ ภาปล ะหนง่ึ ครั้ง

º·à©¾ÒСÒÅ
ÁÒμÃÒ ùô ในวาระเร่มิ แรก ใหจัดตงั้ ศาลปกครองในภมู ภิ าค ดังตอ ไปน้ี
(๑) ศาลปกครองขอนแกน ตงั้ อยใู นจงั หวดั ขอนแกน โดยมเี ขตตลอดทอ งทจี่ งั หวดั กาฬสนิ ธุ
จังหวดั ขอนแกน และจังหวัดมหาสารคาม
(๒) ศาลปกครองชมุ พร ตง้ั อยใู นจงั หวดั ชมุ พร โดยมเี ขตตลอดทอ งทจ่ี งั หวดั ชมุ พร จงั หวดั
ประจวบครี ขี ันธ จงั หวัดเพชรบุรี และจงั หวัดระนอง

๑๓๒

(๓) ศาลปกครองเชยี งใหม ตงั้ อยใู นจงั หวดั เชยี งใหม โดยมเี ขตตลอดทอ งทจี่ งั หวดั เชยี งราย
จงั หวดั เชียงใหม จังหวัดแมฮองสอน จังหวดั ลําปาง และจงั หวัดลําพนู

(๔) ศาลปกครองนครราชสมี า ตง้ั อยใู นจงั หวดั นครราชสมี า โดยมเี ขตตลอดทอ งทจ่ี งั หวดั
ชัยภูมิ และจงั หวัดนครราชสีมา

(๕) ศาลปกครองนครศรธี รรมราช ตงั้ อยใู นจงั หวดั นครศรธี รรมราช โดยมเี ขตตลอดทอ งที่
จงั หวัดกระบี่ จังหวดั นครศรธี รรมราช จังหวัดพังงา จังหวัดภเู ก็ต และจังหวดั สุราษฎรธ านี

(๖) ศาลปกครองบุรีรัมย ต้ังอยูในจังหวัดบุรีรัมย โดยมีเขตตลอดทองท่ีจังหวัดบุรีรัมย
และจงั หวดั สรุ นิ ทร

(๗) ศาลปกครองพิษณุโลก ต้ังอยูในจังหวัดพิษณุโลก โดยมีเขตตลอดทองท่ีจังหวัด
กําแพงเพชร จงั หวัดตาก จังหวัดนครสวรรค จงั หวดั พิจิตร จังหวดั พษิ ณโุ ลก จังหวดั เพชรบูรณ และ
จังหวัดสโุ ขทยั

(๘) ศาลปกครองแพร ต้ังอยูในจังหวัดแพร โดยมีเขตตลอดทองที่จังหวัดนาน จังหวัด
พะเยา จังหวัดแพร และจงั หวัดอุตรดิตถ

(๙) ศาลปกครองยะลา ตั้งอยูในจังหวัดยะลา โดยมีเขตตลอดทองท่ีจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดปต ตานี และจังหวัดยะลา

(๑๐) ศาลปกครองระยอง ต้ังอยูในจังหวัดระยอง โดยมีเขตตลอดทองที่จังหวัดจันทบุรี
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา จงั หวดั ชลบรุ ี จังหวดั ตราด จังหวัดปราจนี บรุ ี จงั หวดั ระยอง และจงั หวัดสระแกว

(๑๑) ศาลปกครองลพบุรี ตง้ั อยใู นจงั หวดั ลพบุรี โดยมีเขตตลอดทองที่จังหวดั นครนายก
จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา จงั หวัดลพบุรี จงั หวัดสระบรุ ี จงั หวดั สงิ หบ รุ ี และจังหวดั อางทอง

(๑๒) ศาลปกครองสกลนคร ตง้ั อยใู นจงั หวดั สกลนคร โดยมเี ขตตลอดทอ งทจ่ี งั หวดั นครพนม
จังหวัดมกุ ดาหาร และจงั หวัดสกลนคร

(๑๓) ศาลปกครองสงขลา ตงั้ อยใู นจงั หวดั สงขลา โดยมเี ขตตลอดทอ งทจ่ี งั หวดั ตรงั จงั หวดั
พัทลุง จงั หวดั สงขลา และจังหวดั สตลู

(๑๔) ศาลปกครองสุพรรณบุรี ต้ังอยูในจังหวัดสุพรรณบุรี โดยมีเขตตลอดทองที่จังหวัด
กาญจนบุรี จงั หวัดชยั นาท จงั หวดั สุพรรณบุรี และจังหวัดอุทัยธานี

(๑๕) ศาลปกครองอุดรธานี ตั้งอยูในจังหวัดอุดรธานี โดยมีเขตตลอดทองท่ีจังหวัดเลย
จังหวัดหนองคาย จงั หวดั หนองบวั ลาํ ภู และจังหวัดอุดรธานี

(๑๖) ศาลปกครองอบุ ลราชธานี ตง้ั อยใู นจงั หวดั อบุ ลราชธานี โดยมเี ขตตลอดทอ งทจี่ งั หวดั
ยโสธร จงั หวัดรอยเอ็ด จงั หวดั ศรสี ะเกษ จังหวดั อุบลราชธานี และจงั หวดั อาํ นาจเจริญ

ÁÒμÃÒ ùõ ในกรณีท่ีมีการจัดต้ังและเปดทําการศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๘
เพิม่ เตมิ ในเขตศาลปกครองกลางหรอื ศาลปกครองในภูมภิ าคตามมาตรา ๙๔ บรรดาคดขี องเขตทอ งที่
ศาลปกครองในภมู ภิ าคทจ่ี ดั ตงั้ ขน้ึ ใหม ซง่ึ คา งพจิ ารณาอยใู นศาลปกครองกลางหรอื ศาลปกครองในภมู ภิ าค
ตามมาตรา ๙๔ ใหค งพจิ ารณาพพิ ากษาในศาลปกครองกลางหรอื ศาลปกครองในภูมภิ าคนน้ั ตอไป

๑๓๓

ÁÒμÃÒ ùö ภายในระยะเวลาหาปนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มิใหนาํ
มาตรา ๒๑ วรรคหนง่ึ (๓) มาใชบ งั คบั กบั ผไู ดร บั การแตง ตงั้ เปน ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ในระหวา งนนั้

ในกรณีทผี่ ูไดรบั แตง ตง้ั เปนตลุ าการในศาลปกครองสูงสุดตามวรรคหนึ่งเปน ผทู ไ่ี ดร บั หรือ
มีสิทธไิ ดร บั บํานาญปกตแิ ลว ในขณะแตง ตัง้ ใหน ําความในมาตรา ๓๒ มาใชบังคบั โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ ù÷ การแตงตั้งตุลาการในศาลปกครองสูงสุดครั้งแรกเม่ือพระราชบัญญัตินี้
ใชบังคับใหมีคณะกรรมการคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุด ประกอบดวยขาราชการสาํ นักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาสองคนซ่ึงไดรับเลือกโดยที่ประชุมใหญคณะกรรมการกฤษฎีกา ผูพิพากษา
ในศาลฎีกาสองคนซ่ึงดํารงตาํ แหนงไมตา่ํ กวาผูพิพากษาศาลฎีกาและไดรับเลือกโดยท่ีประชุมใหญ
ศาลฎกี า ผแู ทนคณะกรรมการขา ราชการอยั การหนง่ึ คน ผแู ทนคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื นหนง่ึ คน
ผแู ทนคณะกรรมการสภาทนายความหนงึ่ คน ผแู ทนคณะนติ ศิ าสตรห รอื เทยี บเทา ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา
ของรัฐทุกแหงซ่ึงเลือกกันเองใหเหลือสองคน และผูแทนคณะรัฐศาสตรหรือเทียบเทาของสถาบัน
อุดมศึกษาของรัฐทุกแหงซึ่งเลือกกันเองใหเหลือหนึ่งคนเปนกรรมการ และใหกรรมการดังกลาว
เลอื กกรรมการดวยกนั เองคนหนึ่งเปนประธานกรรมการ

ใหคณะกรรมการตามวรรคหน่ึงเลือกขาราชการฝายศาลปกครองคนหน่ึงทาํ หนาท่ีเปน
เลขานุการ

ÁÒμÃÒ ùø ใหคณะกรรมการคัดเลอื กตุลาการในศาลปกครองสูงสุดคัดเลอื กบุคคล
ผมู คี ณุ สมบตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ แี้ ละมคี วามรคู วามสามารถและความประพฤตเิ หมาะสมทจี่ ะแตง ตงั้
เปนตุลาการในศาลปกครองสงู สดุ ไมเกินยี่สิบสามคน และใหน าํ ความในมาตรา ๑๕ วรรคหน่ึง มาใช
บงั คบั โดยอนโุ ลม ทง้ั นี้ ตอ งดําเนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ภายในหกสบิ วนั นบั แตว นั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั

ใหค ณะกรรมการคดั เลอื กตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ จดั ทาํ บญั ชรี ายชอื่ บคุ คลทจ่ี ะคดั เลอื ก
จากผทู ส่ี นใจสมคั รและผทู สี่ ถาบนั หรอื องคก รทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ผทู มี่ คี ณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๑๓ (๔) เสนอขน้ึ
และใหบ คุ คลดงั กลา วแสดงหลกั ฐานผลงานทางวชิ าการหรอื ทางประสบการณท บ่ี ง ชถ้ี งึ ความรคู วามสามารถ
ท่ีเหมาะสมสาํ หรับตาํ แหนงตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเพื่อสรรหาบุคคลท่ีมีความรูความสามารถ
เหมาะสมที่สุดตามจาํ นวนที่กาํ หนดในวรรคหน่ึง ในการนี้ใหเปดเผยบัญชีรายช่ือบุคคลท่ีจะคัดเลือก
และรายชื่อบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกใหทราบทั่วไป และเชิญชวนใหบุคคลในวงการกฎหมายและ
การบริหารราชการแผนดินใหขอคิดเห็นและนํามาพิจารณากอนนํารายช่ือผูที่ไดรับการคัดเลือก
ในชน้ั ที่สดุ เสนอตอ นายกรัฐมนตรเี พอื่ ดาํ เนนิ การตอ ไป

เมอ่ื มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ แตง ตงั้ ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ตามวรรคหนงึ่
แลว ใหคณะกรรมการคดั เลือกตุลาการในศาลปกครองสงู สุดเปนอันพนจากหนาที่ และใหตุลาการใน
ศาลปกครองสูงสุดคัดเลือกตุลาการในศาลปกครองสูงสุดดวยกันเอง เปนประธานศาลปกครองสูงสุด
หนึ่งคน รองประธานศาลปกครองสูงสุดสองคน และตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองสูงสุดส่ีคน
และใหนาํ ความในมาตรา ๑๕ วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

๑๓๔

ÁÒμÃÒ ùù ในระยะเรมิ่ แรกใหท ป่ี ระชมุ ใหญต ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ซง่ึ ไดร บั แตง ตง้ั
ตามมาตรา ๙๘ คัดเลือกรายช่ือบุคคลผูมีคุณสมบัติและมีความเหมาะสมที่จะแตงต้ังเปนอธิบดี
ศาลปกครองช้ันตน รองอธิบดีศาลปกครองช้ันตนศาลละหน่ึงคน และตุลาการศาลปกครองช้ันตน
อีกไมเกินหน่ึงรอยสามสิบคน และใหดาํ เนินการตามมาตรา ๙๘ วรรคสอง โดยอนุโลมกอนเสนอ
รายช่ือใหน ายกรฐั มนตรนี ําความกราบบังคมทูลเพ่อื ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้งั

ÁÒμÃÒ ñðð เมอื่ มกี ารแตง ตงั้ ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ตามมาตรา ๙๘ และตลุ าการ
ในศาลปกครองชั้นตนตามมาตรา ๙๙ แลว ใหว ฒุ สิ ภา คณะรฐั มนตรี และประธานศาลปกครองสงู สุด
ดําเนนิ การใหม กี ารเลือกกรรมการตลุ าการศาลปกครองภายในเกาสิบวนั

ÁÒμÃÒ ñðñ ในระยะเรมิ่ แรกจนถงึ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๔ มใิ หน ํามาตรา ๓๐
วรรคสอง มาใชบังคับ และใหตุลาการศาลปกครองช้ันตน ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองชั้นตน
และรองอธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน ไดร บั เงนิ เดอื นในขน้ั ตํ่าของตาํ แหนง แตถ า ผทู โี่ อนมาเคยไดร บั เงนิ เดอื น
สูงกวา ขัน้ ต่ําของตําแหนง การใหไ ดรบั เงนิ เดือนอตั ราใดใหเปน ไปตามท่ี ก.ศป. กําหนด

ÁÒμÃÒ ñðò ในกรณที ผ่ี โู อนมาเปน ตลุ าการศาลปกครองหรอื ขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
เปนขาราชการตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญขาราชการอยูแลวกอนวันที่บทบัญญัติหมวด ๓
แหง พระราชบญั ญตั กิ องทนุ บําเหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ ใชบ งั คบั แตม ไิ ดส มคั รเปน สมาชกิ
กองทนุ บําเหนจ็ บํานาญขา ราชการ ใหม สี ทิ ธไิ ดร บั บําเหนจ็ บาํ นาญตามกฎหมายวา ดว ยบําเหนจ็ บํานาญ
ขา ราชการ

ÁÒμÃÒ ñðó เมอ่ื ไดม กี ารแตง ตงั้ ตลุ าการศาลปกครองตามมาตรา ๙๘ และมาตรา ๙๙ แลว
ใหประธานศาลปกครองสูงสุดประกาศในราชกิจจานุเบกษากาํ หนดวันเปดทาํ การศาลปกครองสูงสุด
ศาลปกครองกลาง และศาลปกครองในภูมิภาค สาํ หรับศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองกลาง
ตองเปดทําการไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ สําหรับศาลปกครอง
ในภูมภิ าคตามมาตรา ๙๔ ใหดาํ เนินการเปด ทําการตามความจําเปน โดยคาํ นึงถงึ การคัดเลือกตุลาการ
ศาลปกครองที่มีความรูความสามารถเหมาะสม แตท ัง้ นี้ ตองไมน อยกวาปล ะเจด็ ศาล

ในระหวางท่ีเปดทาํ การศาลปกครองในภูมิภาคตามมาตรา ๙๔ ยังไมครบทุกแหงใหที่
ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดมีอาํ นาจออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา กําหนดให
ศาลปกครองในภูมิภาคท่ีเปดทําการแลวมีเขตอาํ นาจในจังหวัดใดที่อยูใกลเคียงกับศาลปกครองนั้น
เพม่ิ เติมไดตามทีส่ มควร

เมื่อไดมีประกาศวันเปดทําการศาลปกครองกลางแลว บรรดาเร่ืองที่รองทุกขตอ
คณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขซ่ึงอยูในระหวางการพิจารณาหรือที่มีคาํ วินิจฉัยของคณะกรรมการ
วินิจฉัยรองทุกขแลว แตนายกรัฐมนตรียังมิไดสั่งการ ใหโอนไปเปนคดีของศาลปกครองกลาง และ
ถาศาลปกครองกลางเห็นวา เปน คดตี ามมาตรา ๙ ก็ใหพ ิจารณาและมคี ําพพิ ากษาตอไป

๑๓๕

เพื่อความสะดวกในการดาํ เนินคดีปกครองของผูรองทุกข ถาไดมีการเปดทาํ การ
ศาลปกครองในภูมิภาคแลว เมื่อเห็นสมควร ศาลปกครองกลางจะโอนคดีน้ันไปยังศาลปกครอง
ในภูมิภาคทีม่ ีเขตอํานาจกไ็ ด

การดําเนินกระบวนพิจารณาและพิพากษาคดีปกครองท่ีโอนมาตามวรรคสาม ใหเปนไป
ตามระเบียบทีท่ ่ีประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดกําหนด ท้งั น้ี โดยไมขดั หรือแยง กับบทแหง
พระราชบญั ญตั ินี้

ÁÒμÃÒ ñðô ในระหวางที่ยังไมมีระเบียบหรือประกาศเก่ียวกับการบริหารงานบุคคล
ตามมาตรา ๘๔ ใหนาํ กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนมาใชบังคับกับขาราชการ
ฝายศาลปกครองโดยอนุโลม โดยใหคณะกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองมีอาํ นาจหนาท่ี
เปนคณะกรรมการขาราชการพลเรือนตามกฎหมายดังกลา ว

ในระยะเรม่ิ แรก ใหข า ราชการฝา ยศาลปกครองทําการคดั เลอื กขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
ดวยกันเองจํานวนสามคนเพ่ือเปนกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองโดยไมชักชา ในระหวางท่ียัง
ไมม ีการแตง ตง้ั ตาํ แหนง ใดซ่ึงเปน กรรมการขา ราชการฝายศาลปกครองโดยตาํ แหนง ใหคณะกรรมการ
ขา ราชการฝายศาลปกครองประกอบดวยกรรมการขาราชการฝา ยศาลปกครองเทา ทม่ี อี ยู

ÁÒμÃÒ ñðõ บรรดาคดีที่ไดยื่นฟองหรืออยูในระหวางการพิจารณาคดีของศาลอื่น
อยูแลวในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ และมีลักษณะเปนคดีปกครองตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหศ าลนั้นดาํ เนินกระบวนพิจารณาและมคี าํ พพิ ากษาตอ ไปจนคดีนัน้ ถงึ ที่สุด

ÁÒμÃÒ ñðö สิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามมาตรา ๑๑ แหง
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ในคดีท่ีไมอยูในอาํ นาจของ
ศาลปกครองตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ใหถอื วาเปน สิทธิฟองคดตี อศาลยตุ ธิ รรม

ÁÒμÃÒ ñð÷ ในวาระเรมิ่ แรกกอ นทส่ี าํ นกั งานศาลปกครองจะไดร บั งบประมาณรายจา ย
ประจาํ ป ให ก.ศป. จัดทําแผนงานในการดําเนนิ การของศาลปกครองและแผนงานการจดั ตง้ั และการ
บริหารงานของสํานักงานศาลปกครองเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอรับเงินอุดหนุนเปนคาใชจายใน
การดาํ เนนิ การและการบรหิ ารงานตามแผนงานดังกลาว

ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาจัดสรรเงินงบประมาณรายจายเปนเงินอุดหนุนทั่วไป เพ่ือเปน
คา ใชจ ายในการดาํ เนนิ การตามแผนงานท่ี ก.ศป. เสนอตามความจําเปน
ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ

ชวน หลกี ภยั
นายกรฐั มนตรี

๑๓๖

บัญชอี ตั ราเงนิ เดือนและเงนิ ประจําตาํ แหนง ตุลาการศาลปกครอง๑๐๘ บัญชี ๑

ช้นั ศาล ชน้ั ตาํ แหนง เงนิ เดือน เงินประจํา
ศาลปกครองสูงสุด เงินเดือน (บาท) ตําแหนง
๖๕,๙๒๐ (บาท)
ศาลปกครองชั้นตน ๔ ประธานศาลปกครองสูงสดุ ๖๓,๘๖๐ ๕๐,๐๐๐
๔๒,๕๐๐
๓ รองประธานศาลปกครองสงู สดุ ๖๐,๘๗๐
ตลุ าการหัวหนา คณะศาลปกครองสูงสดุ ๔๑,๕๐๐
ตลุ าการศาลปกครองสูงสุด ๕๘,๙๑๐
อธบิ ดีศาลปกครองชน้ั ตน ๓๐,๐๐๐
รองอธิบดศี าลปกครองชนั้ ตน
ตลุ าการหัวหนาคณะศาลปกครองชั้นตน
ตลุ าการศาลปกครองชน้ั ตน

๒ รองอธิบดีศาลปกครองช้นั ตน
ตุลาการหวั หนาคณะศาลปกครองช้นั ตน
ตุลาการศาลปกครองชน้ั ตน

๑ ตลุ าการศาลปกครองช้ันตน

๑๐๘ บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงตุลาการศาลปกครอง (บัญชี ๑) ยกเลิกและใช (บัญชี ๒) แทน ตั้งแต
วนั ที่ ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน ตน ไป

๑๓๗

บญั ชีอตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตําแหนง ตลุ าการศาลปกครอง๑๐๙ บัญชี ๒

ชนั้ ศาล ชัน้ ตําแหนง เงนิ เดอื น เงนิ ประจาํ
ศาลปกครองสูงสดุ เงนิ เดอื น (บาท/เดอื น) ตําแหนง
(บาท/เดอื น)

๔ ประธานศาลปกครองสงู สดุ ๘๓,๐๙๐ ๕๕,๐๐๐

๓ รองประธานศาลปกครองสงู สดุ ๘๑,๙๒๐ ๕๐,๐๐๐

ตลุ าการหัวหนา คณะศาลปกครองสงู สดุ

ตุลาการศาลปกครองสูงสดุ

อธิบดีศาลปกครองช้ันตน

รองอธบิ ดศี าลปกครองชน้ั ตน ๘๐,๕๔๐ ๔๒,๕๐๐

ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชนั้ ตน

ตุลาการศาลปกครองชั้นตน

ศาลปกครองชั้นตน ๒ รองอธิบดศี าลปกครองชั้นตน ๗๖,๘๐๐ ๔๑,๕๐๐

ตุลาการหัวหนา คณะศาลปกครองชัน้ ตน

ตลุ าการศาลปกครองชั้นตน

๑ ตลุ าการศาลปกครองชน้ั ตน ๗๔,๓๖๐ ๓๐,๐๐๐

๑๐๙ บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงตุลาการศาลปกครอง แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติจัดต้ัง
ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๖๑

๑๓๘

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทร่ี ฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
ไดบัญญัติใหจัดตั้งศาลปกครองขึ้น เพ่ือใหมีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาคดีท่ีมีขอพิพาททางกฎหมาย
ปกครองระหวางเอกชนกับหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือระหวางหนวยงานของรัฐหรือ
เจา หนา ทขี่ องรฐั ดว ยกนั เกยี่ วกบั การกระทาํ หรอื การละเวน การกระทาํ ทห่ี นว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ที่
ของรฐั ตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย หรอื เนอ่ื งจากการกระทําหรอื การละเวน การกระทาํ ทหี่ นว ยงานของรฐั หรอื
เจา หนา ทข่ี องรฐั ตอ งรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ ามกฎหมาย ซง่ึ ตามอํานาจหนา ทขี่ องศาลปกครอง
ดงั กลา วเปน เรอื่ งทเี่ กย่ี วขอ งกบั การออกกฎหรอื คาํ สง่ั ทางปกครอง การกระทาํ ละเมดิ ในทางปกครอง หรอื
การทําสญั ญาทางปกครอง อนั เปน เรอื่ งของกฎหมายมหาชน และโดยทรี่ ะบบการพจิ ารณาและพพิ ากษาคดี
จําเปน ตอ งมกี ระบวนการเปน พเิ ศษตา งจากคดีปกตทิ ่วั ๆ ไป เพราะผลแหงคําพพิ ากษาอาจกระทบถึง
การบริหารราชการแผนดิน หรือตองจายเงินภาษีอากรของสวนรวมเปนคาชดเชยหรือคาเสียหายแก
เอกชน ในขณะเดียวกันเอกชนจะอยูในฐานะเสียเปรียบที่ไมอาจทราบขอมูลจากหนวยงานของรัฐ
ไดในการพิจารณาจึงจาํ เปนตองใชระบบไตสวนเพื่อหาขอเท็จจริงท่ีแทจริง และตองมีตุลาการท่ีมี
ความเชีย่ วชาญเปน การเฉพาะซึ่งสามารถตรวจสอบไดจ ากฝา ยบรหิ าร ฝายนิตบิ ญั ญตั ิ และประชาชน
ทวั่ ไปซงึ่ จะถกู กระทบในทางใดทางหนงึ่ จากคาํ พพิ ากษาของศาลปกครอง รวมทง้ั ตอ งมหี นว ยงานธรุ การ
ของศาลปกครองทเ่ี ปน อสิ ระ ฉะนน้ั เพอื่ ใหเ ปน ไปตามเจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
จงึ จาํ เปนตองตราพระราชบัญญัตินี้
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ Ô¨Ñ´μéѧÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô ¾Õ ¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ ò) ¾.È. òõôõññð

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใี้ หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตน ไป

ÁÒμÃÒ ô ใหย กเลกิ บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นตลุ าการศาลปกครองและบญั ชอี ตั ราเงนิ ประจาํ
ตําแหนงตุลาการศาลปกครองทายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงตุลาการศาลปกครองทาย
พระราชบญั ญัตนิ ีแ้ ทน
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดก ําหนดใหต ลุ าการศาลปกครองไดร บั เงนิ เดอื น
และเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง สําหรบั ตาํ แหนง ตา ง ๆ โดยเทยี บเคยี งกบั อตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตําแหนง
ของขา ราชการตลุ าการศาลยตุ ธิ รรมในระดบั เดยี วกนั และเนอื่ งดว ยไดม กี ารเปลยี่ นแปลงอตั ราเงนิ เดอื น
และเงินประจําตาํ แหนงของขาราชการตุลาการศาลยุติธรรมใหรับในอัตราใหมตามพระราชบัญญัติ
ระเบยี บขา ราชการฝา ยตลุ าการศาลยตุ ธิ รรม พ.ศ. ๒๕๔๓ สมควรปรบั ปรงุ อตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ
ตําแหนงของตุลาการศาลปกครองใหเ ทาเทยี มกัน จึงจําเปนตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี

๑๑๐ ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๙/ตอนท่ี ๒๙ ก/หนา ๑/๓๑ มนี าคม ๒๕๔๕

๑๓๙

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμԨѴμ§éÑ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸Õ¾Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ ó) ¾.È. òõôøñññ
ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

เปน ตน ไป
ÁÒμÃÒ õ บทบญั ญตั มิ าตรา ๔๕/๑ ซงึ่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหใ ชบ งั คบั แก

บรรดาคดที ไี่ ดย น่ื ฟอ งตอ ศาลปกครองกอ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั และยงั ไมไ ดเ สยี คา ธรรมเนยี มศาล
ÁÒμÃÒ ö ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ รักษาการตามพระราชบัญญตั นิ ้ี

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี คอื โดยทใ่ี นปจ จบุ นั การฟอ งคดปี กครอง
ทขี่ อใหศาลสง่ั ใหใชเงินหรอื สงมอบทรัพยส ินอันสืบเนื่องจากคดตี ามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) หรอื (๔)
แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ คูกรณีจะตองเสีย
คาธรรมเนียมศาลโดยไมมีขอยกเวนใด ๆ ทาํ ใหเปนภาระแกคูกรณีท่ีไมมีทรัพยสินเพียงพอที่จะเสีย
คา ธรรมเนยี มศาล หรอื ทําใหไ ดร บั ความเดอื ดรอ นเกนิ สมควรถา ไมไ ดร บั ยกเวน คา ธรรมเนยี มศาล ดงั นนั้
สมควรกําหนดใหศ าลปกครองมอี ํานาจพจิ ารณาอนญุ าตการขอยกเวน คา ธรรมเนยี มศาลได ประกอบกบั
คดีดังกลาว มีลักษณะเดียวกับคดีท่ีมีคําขอใหปลดเปล้ืองทุกขอันอาจคาํ นวณเปนราคาเงินไดตาม
ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง สมควรกาํ หนดอตั ราคา ธรรมเนยี มศาลในการฟอ งคดปี กครอง
ใหส อดคลอ งกนั จึงจาํ เปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμԨѴμ§Ñé ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸Õ¾Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ºÑº·èÕ ô) ¾.È. òõõðñññ

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตน ไป

ÁÒμÃÒ õ ใหยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจาํ ตําแหนงตุลาการศาลปกครอง
ทายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัติจดั ตั้งศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และใหใช
บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ตลุ าการศาลปกครองทา ยพระราชบญั ญตั นิ แี้ ทน ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตําแหนง ตลุ าการศาลปกครอง บญั ชี ๑ ใหใ ชต ง้ั แต
วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ถงึ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๘

(๒) บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ตลุ าการศาลปกครอง บญั ชี ๒ ใหใ ชต ง้ั แต
วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ เปน ตน ไป

๑๑๑ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๒/ตอนท่ี ๑๔ ก/หนา ๒๖/๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๘
๑๑๒ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๔/ตอนท่ี ๔๖ ก/หนา ๑๑/๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐

๑๔๐

ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญตั ฉิ บับนี้ คือ โดยทีเ่ ปน การสมควรแกไขเพิ่มเติม
บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ตลุ าการศาลปกครองเพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั ภาวะเศรษฐกจิ ที่
เปลยี่ นแปลงไปโดยปรบั อตั ราเงนิ เดอื นเพมิ่ ขน้ึ ในอตั รารอ ยละสาม ตงั้ แตว นั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗
และปรบั อตั ราเงนิ เดอื นเพม่ิ ขน้ึ อกี ในอตั รารอ ยละหา ตงั้ แตว นั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และกําหนดให
ตุลาการศาลปกครองมีสิทธิไดรับเงินเพิ่มคาครองชีพช่ัวคราว เพ่ือใหเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจที่
เปลยี่ นแปลงไปและสอดคลอ งกบั ขา ราชการประเภทตา ง ๆ นอกจากน้ี ในกรณที ม่ี กี ารปรบั อตั ราเงนิ เดอื น
ตุลาการศาลปกครองเพิ่มเปนรอยละเทากันทุกอัตราและไมเกินรอยละสิบของอัตราท่ีใชบังคับอยู
สมควรกาํ หนดใหก ระทําไดโ ดยตราเปนพระราชกฤษฎกี า จึงจาํ เปนตองตราพระราชบัญญตั นิ ี้
¾ÃÐÃÒª¡ÄÉ®¡Õ Ò¡ÒûÃѺÍμÑ ÃÒà§Ô¹à´×͹¢Í§μÅØ Ò¡ÒÃÈÒÅ»¡¤Ãͧ ¾.È. òõõñññó

ÁÒμÃÒ ò พระราชกฤษฎกี านใ้ี หใ ชบ ังคับตั้งแตว ันท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน ตน ไป
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ โดยที่มาตรา ๓๐ วรรคหก
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญตั ิจัดตั้งศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ กําหนดให
ในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจที่
เปล่ียนแปลงไป ถาการปรับอัตราเงินเดือนดังกลาวเปนการปรับเพิ่มเปนรอยละเทากันทุกอัตราและ
ไมเกนิ รอยละสิบของอัตราทใ่ี ชบังคับอยู การปรับใหก ระทําโดยตราเปนพระราชกฤษฎีกา ประกอบกับ
อตั ราเงนิ เดอื นตลุ าการศาลปกครองในปจ จบุ นั ไมเ หมาะสมกบั ภาวะเศรษฐกจิ และคา ครองชพี ทเ่ี พม่ิ สงู ขนึ้
สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองใหเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยปรับเพ่ิมในอัตรารอยละ
สเ่ี ทา กันทกุ อตั รา จงึ จําเปน ตอ งตราพระราชกฤษฎีกาน้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ¨Ô ´Ñ μѧé ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸¾Õ Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ õ) ¾.È. òõõñññô

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตน ไป
ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทเี่ มอ่ื ศาลปกครองไดเ ปด ทําการ
แลว ทาํ ใหม กี ารแยกสญั ญาทางปกครองออกจากสญั ญาทางแพง นบั วา มผี ลความสาํ คญั อยา งยงิ่ ทงั้ ใน
เรอ่ื งของศาลทมี่ เี ขตอํานาจเหนอื คดี กฎหมายสารบญั ญตั แิ ละกฎหมายวธิ สี บญั ญตั ทิ จ่ี ะนํามาใชใ นคดนี นั้
สญั ญาทางปกครองจงึ เปน หลกั เกณฑใ หมท แ่ี มแ ตน กั กฎหมายยงั ถกเถยี งเพอ่ื คน หาความหมายแนวทาง

๑๑๓ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๕/ตอนที่ ๑๒ ก/หนา ๑๐/๑๖ มกราคม ๒๕๕๑
๑๑๔ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๕/ตอนท่ี ๓๙ ก/หนา ๑/๒๗ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑

๑๔๑

ทเี่ หมาะสมหรอื ควรจะเปน ในแตล ะปห นว ยงานของรฐั ไดท าํ สญั ญากบั เอกชนหรอื กบั หนว ยงานของรฐั
ดว ยกนั ในกจิ กรรมทห่ี ลากหลายตงั้ แตก จิ กรรมขนาดเลก็ จนถงึ โครงการขนาดใหญ เชน สญั ญาจดั ซอื้ วสั ดุ
อปุ กรณต า ง ๆ สญั ญาจา งกอ สรา งอาคาร ถนนหรอื สง่ิ ปลกู สรา งอนื่ ๆ สญั ญาสมั ปทาน ฯลฯ หากนบั รวม
มูลคาตามสัญญาเหลาน้ีจะเก่ียวของกับเงินงบประมาณแผนดินจาํ นวนมาก แตเนื่องจากการฟองคดี
พพิ าทเกยี่ วกบั สญั ญาทางปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๔) แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครอง
และวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหย นื่ ฟอ งคดภี ายในหนง่ึ ป นบั แตว นั ทรี่ หู รอื ควรรถู งึ เหตแุ หง
การฟอ งคดี แตไ มเกินสิบปน บั แตวนั ท่มี เี หตแุ หงการฟองคดี ซงึ่ เดมิ สัญญาดงั กลาวมอี ายคุ วามถึงสบิ ป
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย เมอื่ ไดม กี ารตคี วามสญั ญาโดยศาลปกครองหรอื คณะกรรมการ
วนิ จิ ฉยั ชขี้ าดอาํ นาจหนา ทร่ี ะหวา งศาลวา เปน สญั ญาประเภทใด หากตคี วามวา เปน สญั ญาทางปกครอง
จะทาํ ใหกําหนดระยะเวลาในการฟองคดีลดเหลือเพียงหนึ่งป เปนเหตุใหระยะเวลาฟองคดีสั้นลง
โดยผลของกฎหมายตามมาตรา ๕๑ แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรแกไ ขระยะเวลาฟอ งคดดี งั กลา วใหย าวขนึ้ นอกจากนนั้ ปจ จบุ นั ยงั มปี ญ หาการตคี วาม
ความหมายของเรอ่ื งประโยชนแ กส ว นรวม จงึ เหน็ ควรบญั ญตั เิ รอื่ งนไี้ วใ นบทนยิ าม เพอ่ื ใหเ กดิ ความชดั เจน
ในการใชกฎหมายย่งิ ข้นึ จงึ จําเปนตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี
¾ÃÐÃÒª¡ÄɮաҡÒûÃѺÍμÑ ÃÒà§Ô¹à´Í× ¹¢Í§μØÅÒ¡ÒÃÈÒÅ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·Õè ò) ¾.È. òõõôññõ

ÁÒμÃÒ ò พระราชกฤษฎกี านใ้ี หใชบ งั คับตงั้ แตวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน ตนไป
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี คือ เน่ืองจากบัญชีอัตราเงินเดือน
ตลุ าการศาลปกครองในปจ จบุ นั ไมเ หมาะสมกบั ภาวะเศรษฐกจิ และคา ครองชพี ทเ่ี พมิ่ สงู ขน้ึ สมควรปรบั
อัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองใหเหมาะสมย่ิงข้ึน โดยปรับเพิ่มในอัตรารอยละหาเทากัน
ทกุ อตั รา และโดยทมี่ าตรา ๓๐ วรรคหก แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญัติใหในกรณีที่สมควรปรับอัตราเงินเดือนของตุลาการศาลปกครองให
สอดคลอ งกบั ภาวะเศรษฐกจิ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ถา การปรบั อตั ราเงนิ เดอื นดงั กลา วเปน การปรบั เพมิ่ เปน
รอยละเทากันทุกอัตราและไมเกินรอยละสิบของอัตราท่ีใชบังคับอยู การปรับใหกระทําโดยตราเปน
พระราชกฤษฎีกา จึงจาํ เปนตอ งตราพระราชกฤษฎกี าน้ี

๑๑๕ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๘/ตอนที่ ๒๒ ก/หนา ๒๓/๓๑ มนี าคม ๒๕๕๔

๑๔๒

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμ¨Ô Ñ´μÑé§ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇÔ¸Õ¾¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ºÑº·Õè ö) ¾.È. òõõôññö
ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบัญญัตฉิ บบั น้ี คือ โดยท่ปี จ จุบนั ปริมาณคดปี กครอง
ประเภททตี่ อ งดําเนนิ กระบวนพจิ ารณาโดยเรง ดว นใหท นั ตอ การแกไ ขเยยี วยาความเดอื ดรอ นหรอื เสยี หาย
แกค กู รณี หรอื เพอื่ ประโยชนใ นการบรหิ ารราชการแผน ดนิ ของรฐั มจี ํานวนเพม่ิ มากขน้ึ เชน คดเี กย่ี วกบั
การสอบคดั เลือกเขา ศึกษาตอ และการแตงต้ังขาราชการในหนว ยงานทางปกครอง เปนตน ซ่ึงหากให
คดีปกครองประเภทดังกลาวดาํ เนินการตามข้ันตอนและมีผูรับผิดชอบเชนเดียวกับคดีปกครองทั่วไป
อาจเปน ผลทําใหก ารพจิ ารณาพพิ ากษาคดที ตี่ อ งอาศยั ความเชย่ี วชาญเฉพาะดา น และตอ งดาํ เนนิ กระบวน
พจิ ารณาโดยเรง ดว นมคี วามลา ชา สมควรเพมิ่ อาํ นาจในการจดั ตงั้ แผนกหรอื หนว ยงานทเ่ี รยี กชอื่ อยา งอน่ื
ในศาลปกครองสูงสุด หรือศาลปกครองชั้นตน และกําหนดตําแหนงตุลาการศาลปกครองที่เรียกชื่อ
อยางอ่ืน เพื่อทาํ หนาที่พิจารณาพิพากษาคดีดังกลาวโดยเฉพาะ อีกท้ัง เพ่ือใหการบริหารงานบุคคล
ของศาลเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้ และเหมาะสมกบั การอํานวยความยตุ ิธรรมใหแกประชาชน
รวมทั้งแกไขบทบัญญัติเกี่ยวกับการกาํ หนดจํานวนตุลาการศาลปกครองใหสอดคลองกับหลักการและ
บทบญั ญัติของรฐั ธรรมนูญ จงึ จําเปน ตองตราพระราชบัญญตั ิน้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ¨Ô ´Ñ μéѧÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô Õ¾¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ ÷) ¾.È. òõõ÷ññ÷

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใี้ หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปน ตน ไป

ÁÒμÃÒ ñò ใหก รรมการในคณะกรรมการตลุ าการศาลปกครองซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง อยใู นวนั
กอ นวันท่รี ฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ สิน้ สดุ ลง ยังคงอยใู นตาํ แหนง ตอ ไป
จนกวาจะครบวาระในวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และใหประธานกรรมการและกรรมการใน
คณะกรรมการตลุ าการศาลปกครองดงั กลา วเปน คณะกรรมการตลุ าการศาลปกครองตามพระราชบญั ญตั ิ
จดั ตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ินี้

ในกรณีที่มีกรรมการตุลาการศาลปกครองตามวรรคหน่ึงพนจากตําแหนงกอนครบ
วาระในระหวางวันที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ส้ินสุดลง จนถึงวันที่
พระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ ดาํ เนนิ การใหม กี ารเลอื กซอ มกรรมการตลุ าการ
ศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ เปน ตลุ าการศาลปกครองแทนตําแหนง ทว่ี า ง ใหแ ลว เสรจ็ ภายในสสี่ บิ หา วนั
นับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ และเมื่อไดมีการเลือกซอมแลว ใหคณะกรรมการตุลาการ
ศาลปกครองประกอบดวยกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิทีไ่ ดร ับการเลือกซอมน้ดี ว ย

๑๑๖ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๘/ตอนท่ี ๒๙ ก/หนา ๑/๒๗ เมษายน ๒๕๕๔
๑๑๗ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๑/ตอนท่ี ๗๙ ก/หนา ๔/๔ ธันวาคม ๒๕๕๗

๑๔๓

ใหประธานศาลปกครองสูงสุดดาํ เนินการใหมีการเลือกกรรมการตุลาการศาลปกครอง
ผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งไดรับเลือกจากวุฒิสภาและคณะรัฐมนตรีใหมแทนตาํ แหนงท่ีวางลงเพราะครบวาระ
กอ นวันที่พระราชบญั ญัตนิ ้ีใชบ งั คับ โดยใหป ระธานศาลปกครองสูงสุดแจงตอ ประธานสภานติ บิ ญั ญัติ
แหงชาติ ซ่ึงทาํ หนาท่ีประธานวุฒิสภาและนายกรัฐมนตรีเพ่ือทราบภายในเจ็ดวันนับแตวันที่
พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ เพื่อดําเนินการเลือกใหแลวเสร็จภายในส่ีสิบหาวันนับแตวันท่ีไดรับแจง
และเม่ือไดมีการเลือกแลวใหคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบดวยกรรมการตุลาการ
ศาลปกครองผูท รงคุณวฒุ ทิ ่ีไดเลือกน้ีดวย

ใหน ําความในมาตรา ๓๕/๑ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑
และมาตรา ๔๐ แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
ซง่ึ แกไขเพมิ่ เติมโดยพระราชบญั ญตั นิ ้ีมาใชบังคับโดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ ñó มติหรือการใหความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองตาม
มาตรา ๑๒ ทีไ่ ดม ีมตหิ รือใหความเหน็ ชอบในระหวา งวนั กอ นวนั ทรี่ ัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ สน้ิ สดุ ลง จนถงึ วนั กอ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญัติน้ีใชบ งั คบั ใหถ อื วา เปน มตหิ รอื การให
ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง

ÁÒμÃÒ ñô ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ รกั ษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีองคประกอบของ
คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองท่ผี า นมาไดบัญญตั ิไวเ ฉพาะในรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ และรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ โดยมไิ ดบ ญั ญตั ิไวใ น
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ สมควรกาํ หนดบทบญั ญตั ิ
เกี่ยวกับองคประกอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองไวในพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครอง
และวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแกไ ขเพิ่มเติมคณุ สมบตั ิ ลักษณะตองหา ม วธิ ีการเลือก
และการพนจากตาํ แหนง ของกรรมการตลุ าการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิใหสอดคลอ งกบั การกาํ หนด
บทบัญญัตดิ ังกลา ว จึงจําเปน ตอ งตราพระราชบญั ญัตนิ ้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¨Ô Ñ´μÑé§ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô ¾Õ Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ ø) ¾.È. òõõùññø

ÁÒμÃÒ ò พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเม่ือพนกาํ หนดหกสิบวันนับแตวันประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษาเปนตนไป

ÁÒμÃÒ ø บรรดาคดที อี่ ยใู นระหวา งการบงั คบั ใหเ ปน ไปตามคําพพิ ากษาหรอื คาํ สง่ั ของศาล
ปกครองอยใู นวนั กอ นวนั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั ใหด าํ เนนิ การบงั คบั ใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญตั ิ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี

ÁÒμÃÒ ù ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ รกั ษาการตามพระราชบญั ญัตินี้

๑๑๘ ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๓/ตอนท่ี ๓๖ ก/หนา ๑/๒๖ เมษายน ๒๕๕๙

๑๔๔

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทป่ี จ จบุ นั การดาํ เนนิ การบงั คบั
คดีปกครองยังมีขอขัดของ เนื่องจากกฎหมายไมไดกาํ หนดรายละเอียดในการดําเนินการบังคับ
คดปี กครองใหค รอบคลมุ คดปี กครองทกุ ประเภท ซง่ึ คดปี กครองมลี กั ษณะเฉพาะไมส ามารถนําหลกั การ
ของการบังคับคดีแพงมาใชในการดําเนินการบังคับคดีใหมีประสิทธิภาพในทุกกรณีได อีกทั้งไมมี
บทบญั ญตั กิ ําหนดอํานาจและหนา ทขี่ องเจา พนกั งานบงั คบั คดี ตลอดจนมาตรการทจ่ี ะบงั คบั ใหห นว ยงาน
ทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐปฏิบัติตามคาํ บังคับของศาลปกครองใหถูกตองครบถวนภายใน
เวลาอันสมควร อีกท้ังสมควรกาํ หนดใหในกรณีที่มีการอุทธรณคาํ พิพากษาของศาลปกครองชั้นตน
คูกรณีฝายชนะคดีในคดีที่กําหนดอาจยื่นคาํ ขอตอศาลปกครองชั้นตนหรือศาลปกครองสูงสุด
แลวแตกรณี เพ่ือใหมีการปฏิบัติตามคาํ บังคับได ท้ังน้ี เพื่อไมใหประชาชนตองรอการปฏิบัติตาม
คาํ พิพากษาในระหวา งการพจิ ารณาคดีชัน้ อทุ ธรณ จึงจําเปน ตองตราพระราชบญั ญัตินี้
¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ¨Ô Ñ´μé§Ñ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô ¾Õ Ô¨ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ºÑº·èÕ ù) ¾.È. òõöðññù

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปน ตนไป

ÁÒμÃÒ óö เพอ่ื ประโยชนใ นการนบั จํานวนตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ตามมาตรา ๑๕
แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญตั นิ ี้ ใหถอื วา

(๑) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดท่ีดาํ รงตําแหนงอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี
ใชบ งั คบั และเคยดํารงตําแหนง ตลุ าการศาลปกครองชน้ั ตน มากอ น เปน ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ ตาม
มาตรา ๑๕ วรรคหนงึ่ (๑)

(๒) ตุลาการศาลปกครองสูงสุดที่ดํารงตําแหนงอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้
ใชบังคับและไมเคยดาํ รงตําแหนงตุลาการศาลปกครองชั้นตนมากอน เปนตุลาการศาลปกครองสูงสุด
ตามมาตรา ๑๕ วรรคหนงึ่ (๒)

ÁÒμÃÒ ó÷ บทบญั ญตั มิ าตรา ๑๕/๒ วรรคหนงึ่ แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติน้ี มิใหใชบังคับกับ
ตุลาการศาลปกครองซ่ึงดํารงตําแหนงประธานศาลปกครองสูงสุดอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ี
ใชบ งั คบั และใหต ลุ าการศาลปกครองผนู น้ั พน จากตาํ แหนง ดงั กลา วเมอื่ ดํารงตําแหนง ครบสป่ี น บั แตว นั ท่ี
พระราชบญั ญัตนิ ีใ้ ชบ ังคบั และใหด ํารงตาํ แหนงไดเพยี งวาระเดยี ว

ÁÒμÃÒ óø ผทู ไ่ี ดร บั แตง ตงั้ เปน ตลุ าการศาลปกครองเพราะมคี ณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๑๘
วรรคหน่ึง (๔) (ก) แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
และยังคงดํารงตําแหนงอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหผูนั้นอยูในตําแหนงตอไป

๑๑๙ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๔/ตอนท่ี ๙๘ ก/หนา ๕/๒๖ กันยายน ๒๕๖๐

๑๔๕

โดยไมถ อื วา เปน ผทู ขี่ าดคณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๑๘ แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณา
คดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซงึ่ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั นิ ้ี

บทบัญญัติในมาตรา ๑๘ วรรคหน่ึง (๔) (ค) (จ) และ (ช) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่งึ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัตนิ ้ีมใิ หนาํ
มาใชบ ังคบั กบั ตุลาการศาลปกครองซง่ึ ดํารงตาํ แหนงอยูใ นวันกอ นวนั ทพี่ ระราชบัญญัตนิ ้ใี ชบ ังคบั

ÁÒμÃÒ óù การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดาํ รงตาํ แหนงตุลาการในศาล
ปกครองช้ันตนที่ไดดําเนินการตามพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ ทใี่ ชบ งั คบั อยใู นวนั กอ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ งั คบั ใหด ําเนนิ การตามพระราชบญั ญตั ิ
ดังกลาวตอไปจนกวาจะแลวเสร็จและมิใหนาํ บทบัญญัติมาตรา ๑๙ แหงพระราชบัญญัติจัดต้ัง
ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ม้ี าใชบ งั คบั

ÁÒμÃÒ ôð ในวาระเรมิ่ แรก ใหป ระธานศาลปกครองสงู สดุ ดําเนนิ การใหม กี ารเลอื กกรรมการ
บรหิ ารศาลปกครองผทู รงคุณวฒุ ิตามมาตรา ๔๑/๒ วรรคหน่ึง (๓) (๔) และ (๕) แหง พระราชบัญญัติ
จัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
และกรรมการขาราชการฝายศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘๑ วรรคหน่ึง (๓) (๔) และ (๕)
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบญั ญัติน้ี ใหแ ลว เสร็จภายในหนง่ึ รอ ยย่สี บิ วันนับแตวนั ทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ใี้ ชบงั คบั

ใหค ณะกรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครองซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง อยใู นวนั กอ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ี้
ใชบ งั คบั คงอยใู นตําแหนง ตอ ไปจนกวา จะมกี ารประกาศผลการเลอื กกรรมการขา ราชการฝา ยศาลปกครอง
ผทู รงคุณวุฒติ ามมาตรา ๘๑ วรรคหนงึ่ (๓) (๔) และ (๕) แหงพระราชบญั ญตั ิจดั ตั้งศาลปกครองและ
วธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตินี้

กรรมการขาราชการฝายศาลปกครองซ่ึงพนจากตําแหนงตามวรรคสอง ใหถือวาเปน
การพน จากตาํ แหนงตามวาระ

ÁÒμÃÒ ôñ บรรดาระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หลักเกณฑ หรือคาํ ส่ังท่ีออกตาม
พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ทใ่ี ชบ งั คบั อยใู นวนั กอ นวนั
ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใี้ ชบ งั คบั ใหย งั คงใชบ งั คบั ไดต อ ไปเพยี งเทา ทไี่ มข ดั หรอื แยง กบั พระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั
ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบญั ญตั นิ ี้ จนกวา
จะมรี ะเบยี บ ขอบังคับ ประกาศ หลกั เกณฑ หรือคาํ สั่งทอ่ี อกตามพระราชบัญญัติจดั ต้ังศาลปกครอง
และวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญตั ิน้ีใชบ ังคบั

ÁÒμÃÒ ôò การสอบสวนตลุ าการศาลปกครองผกู ระทาํ ผดิ วนิ ยั อยกู อ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั นิ ี้
ใชบงั คบั ใหดําเนนิ การตอ ไปตามกฎหมายทใ่ี ชบ ังคับอยูใ นขณะท่ีกระทาํ ความผิดนั้นจนแลวเสร็จ

ÁÒμÃÒ ôó ใหประธานศาลปกครองสงู สดุ รกั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้

๑๔๖

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี คอื โดยทสี่ มควรแกไ ขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญตั ิ
บางประการในพระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหเ หมาะสม
ยิ่งข้ึน โดยปรับปรุงบทบัญญัติเก่ียวกับการแตงต้ังตุลาการศาลปกครองชั้นตน การเล่ือนตุลาการ
ศาลปกครองชนั้ ตน ซงึ่ ดาํ รงตําแหนง ไมต ่าํ กวา ตลุ าการหวั หนา คณะศาลปกครองชนั้ ตน ไปดํารงตําแหนง
ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ ได เพอ่ื คงความตอ เนอ่ื งในการปฏบิ ตั หิ นา ทที่ จี่ าํ เปน ตอ งอาศยั ความเชย่ี วชาญ
และความชาํ นาญในการดาํ เนินกระบวนพิจารณาคดีปกครอง วาระการดํารงตําแหนงประธาน
ศาลปกครองสงู สดุ โดยใหม วี าระสป่ี  การดาํ เนนิ การทางวนิ ยั แกข า ราชการตลุ าการศาลปกครอง กาํ หนด
ใหมีคณะกรรมการบริหารศาลปกครองมีอาํ นาจหนาท่ีกาํ กับดูแลการบริหารราชการของศาลปกครอง
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เรอื่ งการบรหิ ารงานทวั่ ไป งบประมาณ การเงนิ ทรพั ยส นิ และการดําเนนิ การอน่ื ของ
ศาลปกครอง รวมทัง้ งานธุรการของสาํ นักงานศาลปกครองใหเ ปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผน
และประเพณีปฏิบัติของทางราชการศาลปกครอง เพื่อใหการบริหารราชการศาลปกครองเปนไปดวย
ความเรียบรอยย่ิงขึ้น และปรับปรุงองคประกอบและอาํ นาจหนาท่ีของคณะกรรมการขาราชการ
ฝายศาลปกครองใหเหมาะสมย่ิงข้ึน ตลอดจนกาํ หนดเร่ืองการดาํ รงตาํ แหนงเลขาธิการสาํ นักงาน
ศาลปกครองและการดําเนินการทางวินัยแกเลขาธิการสาํ นักงานศาลปกครอง จึงจาํ เปนตองตรา
พระราชบัญญัติน้ี
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμ¨Ô ´Ñ μé§Ñ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô Õ¾Ô¨ÒóҤ´»Õ ¡¤Ãͧ (©ººÑ ·Õè ñð) ¾.È. òõöññòð

ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เปนตนไป

ÁÒμÃÒ òó ในวาระเริ่มแรก ใหประธานศาลปกครองสูงสุดดาํ เนินการใหมีการเลือก
กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนงึ่ (๒) และ (๓) แหง พระราชบญั ญตั ิ
จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
ใหแ ลว เสรจ็ ภายในหน่งึ รอยยี่สบิ วนั นบั แตวันท่ีพระราชบญั ญัตนิ ี้ใชบ ังคบั

ใหก รรมการตลุ าการศาลปกครองผูท รงคุณวฒุ ติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๒) (ก) และ (ข)
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบญั ญตั จิ ดั ตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซง่ึ พน จาก
ตําแหนงตามวาระแตตองทําหนาท่ีกรรมการตุลาการศาลปกครองผูทรงคุณวุฒิไปพลางกอนตาม
มาตรา ๒๗๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อยใู นวนั กอนวันทพี่ ระราชบัญญัตินี้
ใชบ งั คบั คงทําหนา ทตี่ อ ไปจนกวา จะมกี ารประกาศผลการเลอื กกรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ิ
ตามมาตรา ๓๕ วรรคหน่ึง (๒) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตนิ ้ี

๑๒๐ ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๕/ตอนที่ ๙๗ ก/หนา ๖/๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑


Click to View FlipBook Version