The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-05 10:06:01

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

9_LA_21206_กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

๑๔๗

ใหก รรมการตลุ าการศาลปกครองผูท รงคุณวุฒติ ามมาตรา ๓๕ วรรคหนงึ่ (๓) (ก) และ (ข)
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบญั ญัตจิ ัดตัง้ ศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดีปกครอง (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซ่งึ ดํารง
ตาํ แหนง อยใู นวนั กอ นวนั ทพี่ ระราชบญั ญตั นิ ใ้ี ชบ งั คบั พน จากตาํ แหนง แตใ หท ําหนา ทก่ี รรมการตลุ าการ
ศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ไิ ปพลางกอ นจนกวา จะมกี ารประกาศผลการเลอื กกรรมการตลุ าการศาลปกครอง
ผูทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๓๕ วรรคหนึ่ง (๓) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญัตนิ ้ี

กรรมการตลุ าการศาลปกครองผทู รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ พน จากตําแหนง ตามวรรคสองและวรรคสาม
ใหถอื วาเปนการพน จากตาํ แหนงตามวาระ

ÁÒμÃÒ òô ใหประธานศาลปกครองสูงสุดรักษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี
ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทรี่ ฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
มาตรา ๑๙๐ บัญญัติใหพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งและใหตุลาการพนจากตาํ แหนง แตในกรณี
ที่พนจากตําแหนงเพราะความตายหรือเกษียณอายุ พนจากตําแหนงตามวาระ หรือพนจากราชการ
เพราะถกู ลงโทษ ใหน ําความกราบบงั คมทลู เพอ่ื ทรงทราบ มาตรา ๑๙๘ บญั ญตั ใิ หก ารบรหิ ารงานบคุ คล
เก่ียวกับตุลาการศาลปกครองตองดาํ เนินการโดยคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองซ่ึงประกอบดวย
ประธานศาลปกครองสูงสุดเปนประธานและกรรมการผูทรงคุณวุฒิซ่ึงเปนตุลาการในศาลปกครอง
และผทู รงคุณวุฒิซงึ่ ไมเ ปนหรอื เคยเปน ตลุ าการในศาลปกครองไมเกินสองคน บรรดาที่ไดร ับเลอื กจาก
ขาราชการตลุ าการศาลปกครอง ทงั้ นี้ ตามท่กี ฎหมายบญั ญตั แิ ละมาตรา ๒๓๑ บัญญตั ใิ หผ ูตรวจการ
แผนดินอาจเสนอเร่ืองตอศาลปกครองไดเมื่อเห็นวามีกรณีกฎ คําสั่งหรือการกระทําใดของหนวยงาน
ของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐ มีปญหาเก่ียวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย สมควรแกไข
เพ่มิ เตมิ พระราชบัญญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ในเรื่องดงั กลาว
ใหส อดคลอ งกบั บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย ประกอบกบั มาตรา ๑๘๘ วรรคสอง
บัญญัติใหผูพิพากษาและตุลาการยอมมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีสมควรกาํ หนด
ความคุมครองตุลาการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีซ่ึงไดกระทําโดยสุจริต นอกจากนั้นสมควร
ปรบั ปรงุ การพจิ ารณาพพิ ากษาคดแี ละการบรหิ ารจดั การคดขี องศาลปกครองใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ
โดยกาํ หนดใหสามารถยื่นคําฟองโดยสงทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส สื่อดิจิทัลอ่ืนใด หรือโทรสาร
เพ่ือประโยชนในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมทางปกครองไดโดยงาย สะดวก รวดเร็ว และทั่วถึง
รวมท้ังกาํ หนดกระบวนพิจารณาโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือระบบการประชุมทางจอภาพ
ตลอดจนแกไ ขเพมิ่ เตมิ กระบวนพจิ ารณาในการพจิ ารณาคาํ ขอยกเวน คา ธรรมเนยี มศาล การนงั่ พจิ ารณาคดี
ในกรณีท่ีมีความจาํ เปนเรงดวนและการไมจัดใหมีการนั่งพิจารณาคดีสําหรับคดีที่อุทธรณคาํ พิพากษา
ของศาลปกครองช้ันตน จงึ จาํ เปน ตองตราพระราชบญั ญัตนิ ี้

๑๔๘

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞÑμԨѴμéѧÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô Õ¾¨Ô ÒóҤ´»Õ ¡¤Ãͧ (©ººÑ ·èÕ ññ) ¾.È. òõöññòñ
ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใี้ หใ ชบ งั คบั ตง้ั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

เปน ตน ไป
ÁÒμÃÒ ô ใหยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจาํ ตําแหนงตุลาการศาลปกครอง

ทายพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชกฤษฎกี าการปรบั อัตราเงนิ เดือนของตลุ าการศาลปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ และ
ใหใ ชบ ญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตาํ แหนง ตลุ าการศาลปกครองทา ยพระราชบญั ญตั นิ แ้ี ทน ทงั้ น้ี
ตง้ั แตว นั ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนตนไป

ÁÒμÃÒ õ เงินเพ่ิมคาครองชีพช่ัวคราวตามภาวะเศรษฐกิจตามระเบียบ ก.ศป. วาดวย
การจายเงนิ เพ่ิมคา ครองชีพชว่ั คราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ซ่ึงตุลาการศาลปกครองไดร บั
ไปแลวตั้งแตวันท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนตนมาจนถึงวันกอนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ
ใหถ อื วา เปน สว นหนง่ึ ของเงนิ เดอื นและเงนิ ประจาํ ตําแหนง ทไ่ี ดร บั การปรบั เพมิ่ ตามบญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื น
และเงนิ ประจําตําแหนง ตลุ าการศาลปกครองในมาตรา ๔ และใหก ารไดร บั เงนิ เพม่ิ คา ครองชพี ชวั่ คราว
ในกรณีนนั้ สน้ิ สุดลงในวนั ทีพ่ ระราชบัญญัตนิ ใ้ี ชบังคับ

ÁÒμÃÒ ö ใหประธานศาลปกครองสงู สุดรักษาการตามพระราชบัญญตั ิน้ี
ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทเี่ ปน การสมควรแกไ ขเพม่ิ เตมิ
บัญชีอัตราเงินเดือนและเงินประจาํ ตําแหนงตุลาการศาลปกครองเพ่ือใหเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ
และคาครองชีพท่ีเพิ่มสูงขึ้น โดยกาํ หนดใหถือวาเงินเพ่ิมคาครองชีพชั่วคราวตามภาวะเศรษฐกิจ
ตามระเบียบ ก.ศป. วาดวยการจายเงินเพ่ิมคาครองชีพช่ัวคราวตุลาการศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๕๗
ซงึ่ ตลุ าการศาลปกครองไดรบั ไปแลว ตั้งแตว นั ท่ี ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปน ตนมาจนถึงวันกอนวันที่
พระราชบัญญัติน้ีใชบังคับเปนสวนหน่ึงของเงินเดือนและเงินประจําตาํ แหนงที่ไดรับการปรับเพ่ิมตาม
บญั ชอี ตั ราเงนิ เดอื นและเงนิ ประจําตําแหนง ตลุ าการศาลปกครอง และใหก ารไดร บั เงนิ เพม่ิ คา ครองชพี
ช่ัวคราวในกรณีนัน้ ส้นิ สุดลงในวันที่พระราชบัญญัตินใี้ ชบ ังคบั จงึ จําเปน ตองตราพระราชบัญญตั นิ ี้

๑๒๑ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๓๕/ตอนที่ ๑๑๒ ก/หนา ๘/๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๑

๑๔๙

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¨Ô ´Ñ μ§éÑ ÈÒÅ»¡¤ÃͧáÅÐÇ¸Ô ¾Õ ¨Ô ÒóҤ´Õ»¡¤Ãͧ (©ºÑº·Õè ñò) ¾.È. òõöòñòò
ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

เปนตน ไป
ËÁÒÂàËμØ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญตั ิฉบับนี้ คือ โดยท่กี ารไกลเ กลยี่ ขอพพิ าทเปน
กระบวนการหน่ึงทีช่ ว ยใหการบรหิ ารจดั การคดมี ีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ เนื่องจากเปนการเปดโอกาส
และสง เสรมิ ใหค กู รณมี ที างเลอื กในการระงบั ขอ พพิ าททางปกครองไดอ กี ทางหนง่ึ สมควรเพมิ่ บทบญั ญตั ิ
ใหศาลปกครองมีอํานาจไกลเ กล่ยี ขอ พิพาทในคดีปกครองภายใตห ลักความชอบดวยกฎหมาย เพ่ือให
ขอ พพิ าททางปกครองยตุ ลิ งไดอ ยา งรวดเรว็ ยงิ่ ขนึ้ ดว ยความสมคั รใจของคกู รณี และรกั ษาไว ซงึ่ สมั พนั ธ
ทดี่ รี ะหวา งกนั ตลอดจนสง เสรมิ ใหก ารบรหิ ารจดั การคดขี องศาลปกครองมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
เพม่ิ ขึน้ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตนิ ี้

๑๒๒ ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖/ตอนที่ ๕๖ ก/หนา ๒๔๗/๓๐ เมษายน ๒๕๖๒

๑๕๑

º··èÕ ó

¾.Ã.º.¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´·Ò§ÅÐàÁÔ´¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·èÕ ¾.È.òõóù

ñ. ÇμÑ ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹»ÃÐจําº·

๑.๑ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการกระทําท่ีเปน
การละเมดิ และรับผดิ ทางละเมิดของเจาหนาที่อนั เน่อื งมาจากการปฏบิ ตั ิหนาท่ี

๑.๒ เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจมคี วามรแู ละความเขา ใจเกย่ี วกบั การเรยี กรอ งคา เสยี หาย
จากการละเมดิ ของเจาหนาท่ีอันเนอื่ งมาจากการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี

๑.๓ เพอื่ ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจมคี วามรแู ละความเขา ใจเกยี่ วกบั การใชส ทิ ธไิ ลเ บย้ี ของ
หนว ยงานรัฐเพราะการละเมดิ ของเจาหนา ทอี่ ันเนื่องมาจากการปฏิบัติหนา ที่

ò. ʋǹนํา

การท่ีเจาหนาท่ีดําเนินกิจการของหนวยงานของรัฐน้ัน มิไดเปนไปเพ่ือประโยชน
อันเปน การเฉพาะตัว การปลอยใหความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนาท่ี ในกรณที ป่ี ฏิบตั ิงานในหนาท่ี
และเกดิ ความเสยี หายแกเ อกชนเปน ไปตามหลกั กฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
จึงเปนการไมเหมาะสม จนบางคร้ังกลายเปนปญหาในการบริหารเพราะเจาหนาที่ไมกลาตัดสินใจ
ดําเนินงานเทาที่ควรเพราะเกรงความรับผิดชอบท่ีจะเกิดแกตน ดังนั้น พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด
ของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กาํ หนดใหเ จา หนา ทต่ี อ งรบั ผดิ ทางละเมดิ ในการปฏบิ ตั งิ านในหนา ทเี่ ฉพาะ
เมื่อเปนการจงใจกระทําเพื่อการเฉพาะตัว หรือจงใจใหเกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเลอ
อยางรายแรงเทานั้น และใหแบงแยกความรับผิดชอบของแตละคนมิใหนําหลักลูกหนี้รวมมาใช
ทําใหเ กดิ ความเปนธรรมและเพ่มิ พูนประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตงิ านของรัฐ

ó. à¹×éÍËÒμÒÁËÇÑ ¢ŒÍ

๓.๑ ความหมายของคาํ วา ละเมดิ ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย
๓.๒ การปฏบิ ตั หิ นา ท,ี่ เจา หนา ทแ่ี ละหนว ยงานของรฐั ตาม พ.ร.บ.ความรบั ผดิ ทางละเมดิ
ของเจา หนาท่ี พ.ศ.๒๕๓๙
๓.๓ การใชสทิ ธิเรียกรอ งคา สินไหมทดแทนของบคุ คลภายนอก
๓.๔ การใชส ทิ ธไิ ลเ บย้ี ของหนว ยงานรฐั เมอ่ื ชดใชใ หแ กบ คุ คลภายนอก หรอื กรณหี นว ยงาน
ของรฐั ไดรับความเสียหาย

๑๕๒

ô. ÊÇ‹ ¹ÊûØ

กําหนดหลักเกณฑในการท่ีหนวยงานของรัฐจะเรียกใหเจาหนาที่ผูกระทําละเมิดตอ
หนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทนแกหนวยงานของรัฐขึ้นใหมวาหนวยงานของรัฐจะเรียกให
เจาหนาท่ีของรัฐผูกระทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกหนวยงานของรัฐไดเฉพาะกรณีที่เจาหนาท่ี
ผูนั้นกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเทาน้ัน สวนวาหนวยงานของรัฐจะใชสิทธิ
ไลเบี้ยไดมากนอยเพียงใดนั้นตองคํานึงถึงขอเท็จจริงเปนกรณี ๆ ไป โดยหนวยงานของรัฐไมจําตอง
ไดร บั ชดใชจ นเตม็ จาํ นวนความเสยี หาย สว นกรณกี ารกระทาํ ละเมดิ เกดิ ขนึ้ จากการกระทาํ ของเจา หนา ท่ี
หลายคนวา เจา หนา ทแ่ี ตล ะคนไมต อ งรว มกนั รบั ผดิ อยา งลกู หนร้ี ว ม แตข น้ึ อยกู บั ขอ เทจ็ จรงิ เปน กรณไี ป
วาแตละคนสมควรตองรวมรับผิดมากนอยเพียงใด โดยหนวยงานของรัฐไมจําตองไดรับชดใชจนเต็ม
จาํ นวนความเสยี หาย

õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ðนาํ

๕.๑ ผูสอนตั้งปญหาใหนักเรียนวินิจฉัย เพื่อใหรูจักคิด วิเคราะหและวิจารณเนื้อหา
ท่ีเรียน ดวยการนําเทคนิค วิธีการตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนสนใจและติดตามการสอนตลอดเวลา
และเชอื่ มโยงกับวชิ าอน่ื ๆ ที่เก่ยี วขอ งกบั เน้ือหา ซึ่งผูเรยี นตองสามารถบรู ณาการความคิดได

๕.๒ ผสู อนตงั้ คาํ ถามเพอ่ื ประเมนิ ความรู ดว ยการทาํ แบบฝก หดั หลงั เรยี นและสรปุ เนอื้ หา
ท่ีเรยี นพรอ มทง้ั สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมทข่ี า ราชการตํารวจควรปฏิบตั ิ

๕.๓ ผูส อนแนะนาํ แหลง ขอ มลู ท่ีจะศกึ ษาคนควาเพิ่มเตมิ

ö. ÃÒ¡ÒÃ͌ҧͧÔ

ศักด์ิ สนองชาต,ิ คาํ อธิบายโดยยอ ประมวลกฎหมายแพงและพาณชิ ยวาดวยละเมิดฯ
กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพน ติ ิบรรณการ, ๒๕๔๔

สุษม ศุภนิตย, คาํ อธบิ ายประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยละเมดิ , กรุงเทพฯ :
สาํ นกั พมิ พน ิติบรรณการ. ๒๕๔๓.

สรุ ิยา ปานแปน และอนวุ ัฒน บุญนันท. ¡®ËÁÒ»¡¤Ãͧ. พิมพค ร้ังท่ี ๕. กรงุ เทพฯ :
วญิ ูชน, ๒๕๕๖.

อนชุ า ฮุนสวสั ดกิ ลุ . á¹ÇคําÇ¹Ô ¨Ô ©ÂÑ ¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧà¡ÕÂè ǡѺ¤ÇÒÁÃºÑ ¼Ô´·Ò§ÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õè :
»Þ˜ ËÒã¹·Ò§»¯ÔºÑμÔáÅÐËÅÑ¡»¯ÔºÑμÔÃÒª¡Òèҡคาํ Ç¹Ô ¨Ô ©ÂÑ ¢Í§ÈÒÅ»¡¤Ãͧ.นนทบรุ ี :
สถาบนั พระปกเกลา , ๒๕๕๑.

อาํ พน เจรญิ ชวี นิ ทร, ความรทู วั่ ไปเกยี่ วกบั ความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ทแ่ี ละหนว ยงานของรฐั .
กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพนิตธิ รรม. ๒๕๔๖.

๑๕๓

º··èÕ ó

¾.Ã.º.¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ·Ò§ÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·èÕ ¾.È.òõóù

เดมิ กอ นทจ่ี ะมพี ระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ใชบ งั คบั นนั้
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ีในคาสินไหมทดแทนทางแพงท่ีเกิดขึ้นแมวาจะเปนการปฏิบัติ
ตามหนา ทก่ี ต็ าม ความรบั ผดิ ดงั กลา วจะเปน ไปตามหลกั กฎหมายวา ดว ยละเมดิ ตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย กลาวคือ เมื่อเจาหนาท่ีกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอกก็ดี หรือกระทําละเมิดตอ
หนว ยงานของรฐั เองกด็ ี เจา หนา ทผี่ นู นั้ ตอ งรบั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนแกผ เู สยี หายหรอื แกห นว ยงาน
ของรัฐแลวแตก รณเี สมอ ท้ังนี้เปนผลของหลกั กฎหมายแพง วาดวยละเมิดซ่งึ เปน หลักกฎหมายเอกชน

ตามกฎหมายเดมิ กรณที เี่ จา หนา ทก่ี ระทาํ ละเมดิ ตอ บคุ คลภายนอก หนว ยงานของรฐั กอ็ าจ
ตอ งรว มรบั ผดิ กบั เจา หนา ทผ่ี นู น้ั ในความเสยี หายทเ่ี จา หนา ทข่ี องตนไดก ระทาํ ไปเชน เดยี วกบั หลกั เรอ่ื ง
นายจา งตอ งรว มรบั ผดิ กบั ลกู จา งในความเสยี หายทล่ี กู จา งไดก อ ใหเ กดิ ขน้ึ ในทางการทจี่ า ง และหนว ยงาน
ของรัฐซง่ึ ไดช ดใชค า สินไหมทดแทนใหแกผ ูเสียหายเพอื่ การละเมดิ ที่เจาหนา ทขี่ องตนไดกระทําไปแลว
ยอมมสี ทิ ธิไลเ บ้ยี เอากับตวั เจา หนา ท่ีผเู ปน ตน เหตุแหงความเสยี หายนน้ั ไดในภายหลัง

μÒÁËÅÑ¡¡®ËÁÒÂᾋ§áÅоҳԪNjҴŒÇÂÅÐàÁÔ´ ซ่ึงเปนหลักความรับผิดเดิมของ
เจาหนา ที่ อาจแยกพิจารณาลักษณะของการกระทําท่เี ปนละเมดิ และความรบั ผดิ ไดด งั น้ี

ñ. ¡Ã³¡Õ ÒÃÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹Ҍ ·ÁèÕ Ô㪋¡ÒáÃÐทาํ 㹡Òû¯ÔºÑμËÔ ¹ŒÒ·Õè
ความรับผิดตามหลักกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยละเมิดนั้น ไมวาการละเมิด

จะเปน การกระทาํ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ สว นตวั ของเจา หนา ท่ี หรอื วา จะเปน การกระทาํ ในระหวา งการปฏบิ ตั ิ
หนา ที่ หรอื การกระทํานน้ั จะไมเ กย่ี วขอ งกบั การปฏิบตั หิ นา ท่กี ต็ าม เจาหนา ท่ผี ูทําละเมดิ ก็ตอ งรบั ผดิ
ชดใชคาทดแทนความเสียหายในผลแหงละเมิดนั้นเปนการเฉพาะตัว ดังนั้นผูเสียหายจึงตองฟองให
เจา หนา ทรี่ บั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนโดยตรงเทา นน้ั โดยไมอ าจฟอ งหนว ยงานของรฐั ใหร ว มรบั ผดิ กบั
เจา หนา ท่ไี ดต ามนยั แหง คาํ พิพากษาศาลฎกี าที่ ๑๙๓๑/๒๕๑๓ ซึง่ วนิ จิ ฉยั ไวว า จาํ เลยเปนขา ราชการ
สงั กดั กรมไปรษณยี  จอดรถเกบ็ ไปรษณยี ภณั ฑต รงตไู ปรษณยี  เจา พนกั งานตาํ รวจบอกใหจ าํ เลยจอดรถ
ใหถูกที่ จําเลยดาตํารวจและเม่ือเจาพนักงานตํารวจชะโงกศีรษะเขาไปในรถ จําเลยก็ขับรถออกไป
โดยเรว็ และผลกั ตาํ รวจตกจากรถ การดา และการขดั ขวางตาํ รวจเปน เรอื่ งสว นตวั ไมเ กยี่ วกบั กรมไปรษณยี 
กรมไปรษณยี ไมต องรว มรับผิดดว ย

ò. ¡Ã³Õ¡ÒÃÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·èÕ໚¹¡ÒáÃÐทาํ 㹡Òû¯ºÔ ÑμÔ˹Ҍ ·Õè
ตามหลกั กฎหมายแพง วา ดว ยละเมดิ แมเ จา หนา ทจ่ี ะกระทาํ ละเมดิ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี

กลา วคอื การปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องเจา หนา ทไ่ี ดก อ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกเ อกชน เจา หนา ทผ่ี นู น้ั กย็ งั คงตอ ง
รับผิดในผลแหงละเมิดน้ันเปนการเฉพาะตัว เพียงแตวา นอกจากผูเสียหายจะฟองใหเจาหนาท่ีผูน้ัน
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนไดโดยตรงแลว ผูเสียหายยังอาจฟองหนวยงานของรัฐใหรวมรับผิดกับ
เจา หนา ทไี่ ดด ว ย และเมอ่ื หนว ยงานของรฐั ไดช ดใชค า สนิ ไหมทดแทนใหแ กผ เู สยี หายไปแลว หนว ยงาน
ของรัฐยอ มมีสิทธทิ ี่จะไลเ บ้ยี เอาแกเ จาหนา ทไ่ี ด

๑๕๔

ó. ¡Ã³·Õ àÕè ¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢èÕ Í§Ë¹Ç‹ §ҹ¢Í§Ã°Ñ ËÅÒ¤¹ÃÇ‹ Á¡¹Ñ ทาํ ÅÐàÁ´Ô 㹡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·Õè
ในกรณเี ชน น้ี แตเ ดมิ เจา หนา ทเ่ี หลา นน้ั จะตอ งรว มกนั รบั ผดิ ในผลแหง ละเมดิ นนั้ ผเู สยี หายจงึ อาจฟอ ง
เจาหนาที่เหลานั้นใหรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนในฐานะท่ีเจาหนาที่เหลาน้ันเปน “Å١˹ÕéËÇÁ”
ของตน กลา วคือ ผูเสียหายอาจฟองเจา หนาที่คนใดคนหน่งึ ใหรับผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนใหแกต น
โดยสิ้นเชิงหรือแตโดยสวนก็ไดตามแตจะเลือก แตเจาหนาที่เหลานั้นยังคงตองผูกพันอยูทั่วทุกคน
จนกวา ผูเสยี หายจะไดร บั ชดใชคา สนิ ไหมทดแทนเสร็จส้ิน

นอกจากผูเสียหายจะฟองใหเจาหนาท่ีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนไดโดยตรงในฐานะ
ท่ีเปนลูกหนี้รวมของตนดังกลาวแลว ผูเสียหายยังอาจฟองหนวยงานของรัฐใหรวมรับผิดดังกลาวกับ
เจาหนาท่ีเหลานั้นไดดวย และเมื่อหนวยงานของรัฐไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูเสียหายไปแลว
หนว ยงานของรฐั ยอ มมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไลเ บยี้ เอาแกเ จา หนา ทเี่ หลา นน้ั ไดใ นภายหลงั ในฐานะทเี่ จา หนา ทเี่ หลา นน้ั
เปน ลกู หนร้ี ว มของตนเชนกนั

การนาํ หลกั กฎหมายเอกชนวา ดว ยละเมดิ มาใชก บั การละเมดิ ของเจา หนา ทข่ี องรฐั ซงึ่ เปน
ปญหาทางกฎหมายมหาชน จึงกอใหเ กดิ ปญหาท่ไี มเปน ธรรมหลายประการดวยกนั กลาวคอื

»ÃСÒÃáá ¡Ã³·Õ ¡èÕ ÒÃÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·μèÕ Í‹ º¤Ø ¤ÅÀÒ¹͡໹š ¡ÒáÃÐทาํ 㹡Òû¯ºÔ μÑ Ô
˹Ҍ ·èÕ โดยปกตแิ ลว ผเู สยี หายจะฟอ งใหเ จา หนา ทรี่ บั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนโดยตรง และเพอื่ ใหเ กดิ
ความมนั่ ใจวา ตนจะไดร บั ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนเตม็ จาํ นวนทพ่ี งึ จะได ผเู สยี หายยงั อาจจะฟอ งหนว ยงาน
ของรัฐใหรวมรับผิดดังกลาวกับเจาหนาที่ดวย เจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐจะชดใชคาสินไหม
ทดแทนใหแ กผ เู สยี หายกต็ อ เมอ่ื ศาลมคี าํ พพิ ากษา ผเู สยี หายจงึ ตอ งเสยี คา ใชจ า ยในการดาํ เนนิ คดี เชน
คาฤชาธรรมเนียม คาทนาย และเวลา ดังน้ัน หากความเสียหายที่เจาหนาที่กอใหเกิดขึ้นแกตนน้ัน
มไี มม ากนกั ผเู สยี หายกอ็ าจละความตงั้ ใจทจี่ ะฟอ งคดี เนอื่ งจากคา สนิ ไหมทดแทนทพ่ี งึ ไดน น้ั อาจไมค มุ
กับคาใชจ า ยและเวลาทีต่ องเสยี ไป

»ÃСÒ÷ÊèÕ Í§ ¡ÒÃดาํ à¹¹Ô ¡¨Ô ¡ÒÃμÒ‹ § æ ¢Í§Ë¹Ç‹ §ҹ¢Í§Ã°Ñ ¹¹Ñé à¨ÒŒ ˹Ҍ ·ËèÕ Òä´¡Œ ÃÐทาํ
ä»à¾×èÍ»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹äÁ‹ หากแตไดกระทาํ ไปเพือ่ ตอบสนองความตอ งการสว นรวมของประชาชน
หรือเพื่อประโยชนสาธารณะ การปลอยใหเจาหนาที่ตองรับผิดตอบุคคลภายนอกหรือตอหนวยงาน
ของรัฐแลวแตกรณีในผลแหงละเมิดที่ตนไดกระทําไปในการปฏิบัติหนาที่เสมอในทุกกรณี แมวา
จะเปนการกระทําท่ีไดกระทําไปดวยความเผลอเรอตามวิสัยปุถุชนก็ตาม ยอมเปนที่เห็นไดชัดวา
ไมเ ปนธรรมตอเจา หนาที่

»ÃСÒ÷ÊèÕ ÒÁ ¡Ã³¡Õ ÒÃÅÐàÁ´Ô μÍ‹ º¤Ø ¤ÅÀÒÂ¹Í¡à¡´Ô ¨Ò¡¡ÒáÃÐทาํ 㹡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·èÕ
¢Í§à¨ŒÒ˹ŒÒ·ÕèËÅÒ¤¹ การท่ีหนวยงานของรัฐซ่ึงไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกบุคคลภายนอก
ผเู สยี หายไปแลว มาไลเ บยี้ เอา ตอ มาเรยี กคา สนิ ไหมทดแทนคนื จากเจา หนา ทเี่ หลา นน้ั อยา งลกู หนร้ี ว ม
โดยไมคํานึงวาเจาหนาท่ีแตละคนมีสวนกอใหเกิดความเสียหายมากนอยเพียงไรก็ดี หรือในกรณี
ท่ีการละเมิดตอหนวยงานของรัฐเกิดจากการละเมิดของเจาหนาที่หลายคน การที่หนวยงานของรัฐ
เรียกรองใหเจาหนาท่ีเหลานั้นรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนอยางลูกหนี้รวมโดยไมคํานึงวา
เจาหนาท่ีแตละคนมีสวนกอใหเกิดความเสียหายมากนอยเพียงไรก็ดี ยอมไมเปนธรรมแกเจาหนาที่
แตละคนเชนเดียวกัน

๑๕๕

»ÃСÒ÷ÊÕè èÕ การปลอ ยใหเ จา หนา ทตี่ อ งรบั ผดิ ตอ บคุ คลภายนอกหรอื ตอ หนว ยงานของรฐั
ในผลแหงละเมิดท่ีตนไดกระทําไปในการปฏิบัติหนาท่ี ในทุกกรณีก็ดี การนําหลักกฎหมายเร่ือง
ลกู หนรี้ ว มมาใชบ งั คบั กบั เจา หนา ทใี่ หต อ งรว มรบั ผดิ ในการกระทาํ ของเจา หนา ทค่ี นอน่ื ดว ยกด็ ี เปน เหตใุ ห
เจาหนาท่ีสวนใหญไมกลาตัดสินใจดําเนินงานในหนาท่ีของตนเทาท่ีควร เพราะเกรงวาความรับผิด
อาจจะเกิดแกต น กจิ การบริการสาธารณะจึงขาดความตอเน่ืองและหยดุ ชะงกั

ËÅѡࡳ±¡ÒáÃÐทาํ ·èàÕ »š¹¡ÒÃÅÐàÁÔ´

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี ไมไดบัญญัติเรื่องลักษณะของ
การกระทาํ ทเี่ ปน ละเมดิ ไวโ ดยเฉพาะ ดงั นน้ั การพจิ ารณาวา การกระทาํ อยา งไรเปน ละเมดิ จงึ ตอ งพจิ ารณา
ตามหลกั กฎหมายท่ัวไป คือ ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยล กั ษณะละเมิด

ÁÒμÃÒ ôòð ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอทําตอบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายใหเขา
เสียหายถงึ แกช ีวิตก็ดี แกร า งกายก็ดี อนามยั กด็ ี เสรภี าพกด็ ี ทรัพยสินหรือสิทธอิ ยา งหน่ึงอยางใดกด็ ี
ทา นวาผนู ั้นทําละเมิดจาํ ตอ งชดใชค าสนิ ไหมทดแทนเพื่อการน้ัน

¨§ã¨ หมายถงึ จงใจใหเ ขาเสยี หายในเบอ้ื งตน นจี้ าํ เปน ตอ งทาํ ความเขา ใจวา เรอื่ งละเมดิ
ตามกฎหมายแพง นนั้ วตั ถปุ ระสงคข องกฎหมายแพง ซงึ่ เปน กฎหมายเอกชนมงุ ทก่ี ารเยยี วยาความเสยี หาย
หรือการชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายใหแกผูเสียหาย ดังนั้น คําวา “¨§ã¨” ในเรื่องละเมิด
ซ่ึงเปนหลักกฎหมายแพงจึงมีความหมายที่ตองแยกออกจากคําวา “à¨μ¹Ò” ตามกฎหมายอาญา
เพราะวา กฎหมายอาญานั้นมีวัตถุประสงคเพ่ือนําตัวผูกระทําความผิดมาลงโทษ และ “เจตนา”
ตามกฎหมายอาญานนั้ เปน องคป ระกอบภายในของความผดิ ทางอาญา ซงึ่ “เจตนา” ในกฎหมายอาญา
จะเปนการกระทําโดยผูกระทํารูสํานึกในการกระทําและในขณะเดียวกันผูกระทําก็ประสงคตอผล คือ
กระทําโดยมุงรายตอผูเสียหาย หรือกระทําโดยรูสํานึกในการกระทํา และขณะเดียวกันยอมเล็งเห็น
ผลรายทจี่ ะเกดิ ข้นึ จากการกระทํานั้น

ในความรบั ผดิ ทางแพง อนั เปน ความรบั ผดิ ทเี่ กดิ จากมลู ละเมดิ กฎหมายใชค าํ วา “¨§ã¨”
ซึ่งหมายถึง ผูกระทําตั้งใจกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งอาจจะกระทําโดยมีเจตนารายหรือกระทํา
โดยตองการใหผูอ่ืนไดรับความเสียหายโดยตรงอยางหน่ึง และอีกอยางหนึ่ง แมผูกระทําจะมิไดมี
เจตนารา ยซึง่ เทา กับขาด “เจตนา” ตามกฎหมายอาญาซง่ึ ทําใหข าดองคประกอบและไมเปนความผิด
อาญา แตเมือ่ การกระทาํ ทตี่ ้ังใจทํานนั้ เปน เหตใุ หเ กิดความเสียหายแกบุคคลอืน่ ขึน้ มา ผกู ระทําท่เี ปน
เหตุของความเสียหายนั้นก็ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายแกผูท่ีไดรับความเสียหาย
จากการกระทําน้ัน เพราะฉะนั้น หลักกฎหมายเรื่อง “จงใจ” ในกฎหมายแพงจึงมุงพิจารณาท่ี
“¤ÇÒÁμéѧã¨ã¹¡ÒáÃÐทํา·Õè໚¹àËμآͧ¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ” น้ันเองวา ผูกระทําต้ังใจทําหรือไม มิได
พิจารณาวาผูก ระทาํ มีเจตนารายหรอื ไม

»ÃÐÁÒ·àÅ¹Ô àÅÍ‹ หมายถงึ กระทาํ โดยปราศจากความระมดั ระวงั ซง่ึ บคุ คลในภาวะเชน นนั้
จักตองมีตามวิสัยและพฤติการณและผูกระทําอาจใชความระมัดระวังเชนวาน้ันได แตหาไดใช
เพียงพอไม ซง่ึ ความระมัดระวังของบคุ คลตอ งพจิ ารณาตามวสิ ยั และพฤติการณ

๑๕๖

คําวา “ประมาทเลินเลอ อยา งรายแรง” ศาลปกครองสูงสุดไดต ีความหมายถอ ยคาํ นไ้ี วว า
หมายถงึ การกระทาํ โดยมไิ ดเ จตนาแตเ ปน การกระทาํ ซง่ึ บคุ คลคาดหมายไดว า จะกอ ใหเ กดิ ความเสยี หายขนึ้
และหากใชความระมัดระวังเพียงเล็กนอยก็อาจปองกันไมใหเกิดความเสียหายนั้นได แตกลับไมไดใช
ความระมัดระวงั น้ันเลย (คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.๑๐๖/๒๕๕๒)

กรณที ีถ่ อื วา “ประมาทเลินเลอ อยา งรายแรง”
๑. ไมไ ดใชความระมัดระวงั เลยสักนิด
๒. ทําผิดซ้าํ ๆ ในเร่ืองแบบเดยี วกนั
๓. ปฏบิ ตั ผิ ิดมาตรฐานวชิ าชพี
๔. ฝา ฝน กฎหมาย หรือระเบยี บ
๕. กฎหมายหรอื ระเบียบกําหนดวิธีปฏิบัตไิ วแตไมไ ดทําหรือปฏิบัติตามน้นั
“¤ÇÒÁÃÐÁ´Ñ ÃÐÇ§Ñ μÒÁÇÊÔ ÂÑ ” นน้ั หมายถงึ ความระมดั ระวงั ตามสภาพของตวั ผกู ระทาํ นนั้ เอง
เชน เด็กกับผูใหญ หรือผูมีความชํานาญในวิชาชีพเฉพาะดานกับคนทั่วไป เปนเจาหนาท่ีช้ันผูใหญ
หรือชนั้ ผนู อ ย เปน เจา หนา ที่ธรรมดาหรือผูเชีย่ วชาญ ดังน้ี ความระมดั ระวงั ยอมแตกตา งกนั
สว น “¤ÇÒÁÃÐÁ´Ñ ÃÐÇ§Ñ μÒÁ¾Äμ¡Ô Òó” หมายถงึ ความระมดั ระวงั ตามสภาพของเหตแุ วดลอ ม
ซง่ึ เปน เหตภุ ายนอกตวั ผกู ระทาํ เชน สภาพฝนตกถนนลน่ื กบั แดดออกถนนแหง เวลากลางคนื กบั เวลากลางวนั
ทางตรงกบั ทางโคง สภาพถนนกวา งมยี านยนตน อ ยกบั ทค่ี บั ขนั หรอื มยี านยนตค บั คง่ั สภาพของสถานทท่ี าํ งาน
ของเจา หนา ท่ี จาํ นวนของประชาชนทเ่ี ขา มาตดิ ตอ กบั เจา หนา ท่ี เปน ตน สภาพแวดลอ มเหลา นท้ี าํ ใหต อ งใช
ความระมดั ระวังท่แี ตกตางกนั
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ Í.òù/òõôö การที่ผูฟองคดีไดรับแจงใหเขารับ
การฝกอบรมกอนถึงกําหนดฝกอบรมเพียง ๒ วันแลวผูฟองคดีไมไดตรวจสอบวาตนมีหนาที่ตองอยู
เวรยามในวันใด เพราะเปนเวลาท่ีกระชั้นชิดและผูฟองคดีมีราชการที่ตองออกไปปฏิบัตินอกสถานที่
อยางตอเน่ืองและไมรายงานใหหัวหนาฝายทะเบียนการคาทราบเพื่อจะไดออกคําส่ังใหผูอื่นมาอยู
เวรยามแทนจงึ มเี หตผุ ลพอท่ีจะรบั ฟงได ประกอบกบั ผูฟอ งคดีมีหนา ทตี่ องไปเขารบั การฝก อบรมตาม
คําส่ังของผูบังคับบัญชาซึ่งเปนการกระทําโดยชอบในทางราชการจึงถือไมไดวาผูฟองคดีมีพฤติการณ
ละท้ิงหนาท่ีเวรยามและถือไมไดวาผูฟองคดีจงใจหรือประมาทเลินเลอเปนเหตุใหเกิดความเสียหาย
แกทางราชการ คําส่ังของกรมทะเบียนการคาท่ีสั่งใหผูฟองคดีชดใชคาเสียหายจึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบ
ดว ยกฎหมาย
คาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§Ê´Ø ·Õè Í.òñô/òõõð นายไพศษิ ฐปลดั อําเภอรักษาราชการ
แทนนายอําเภอซง่ึ เปน ผูถกู ฟองคดที ี่ ๒ ไดปฏบิ ัตหิ นา ท่โี ดยทําพินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมอื งใหกบั
นางองึ่ เมือ่ วันที่ ๓๐ มนี าคม ๒๕๔๒ แลวเก็บรกั ษาพนิ ยั กรรมนนั้ ไวทัง้ ที่นางอง่ึ ยงั ไมไดล งลายมือช่อื
ในพินัยกรรมโดยไมไดตรวจสอบกอนวานางอึ่งผูทําพินัยกรรมไดลงลายมือชื่อแลวหรือไม เปนผลให
พนิ ยั กรรมเปน โมฆะตามมาตรา ๑๗๐๕ แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ยก รณจี งึ ถอื ไดว า เปน การ
กระทําโดยประมาทเลินเลอในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี

๑๕๗

¡ÒáÃÐทําâ´Â¼Ô´¡®ËÁÒ หมายความวา ผูกระทํา “äÁ‹ÁÕอํา¹Ò¨” หรือ “äÁ‹ÁÕÊÔ·¸Ô”
ที่จะกระทําเชนนั้น ¡ÒÃäÁ‹ÁÕอํา¹Ò¨หมายถึง ไมมีอํานาจตามกฎหมาย สวน “ÊÔ·¸Ô” น้ันเปนสภาพ
ทางกฎหมายท่ีกอใหเกิด “ÊÔ·¸Ôอํา¹Ò¨” กลาวคือ ทําใหเกิดสิทธิเรียกรองใหผูอ่ืนมีหนาที่ตองกระทํา
เพื่อผูที่มีสิทธินั้น สิทธิอาจเปนสิทธิตามที่กฎหมายกําหนดหรือเปนสิทธิที่เกิดจากเจตนาโดยสมัครใจ
ของคกู รณี หรอื เปน สทิ ธอิ นั เกดิ จากสญั ญา ซง่ึ เปน ไปตามหลกั กฎหมายแพง การทผ่ี กู ระทาํ ไดก ระทาํ ไป
“â´ÂäÁÁ‹ อÕ ํา¹Ò¨” หรอื “â´ÂäÁ‹ÁÊÕ Ô·¸”Ô การกระทาํ ดังกลาวจึงเปนการกระทําท่ีไมชอบดว ยกฎหมาย
หากกระทาํ แลว ทาํ ใหผ อู น่ื ไดร บั ความเสยี หายโดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ แลว การกระทาํ นน้ั ยอ มเปน
การละเมิด แตถา ผกู ระทํามอี ํานาจกระทาํ ไดตามกฎหมาย เชน เปน “à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹¼ŒÙÁอÕ ํา¹Ò¨Ë¹ŒÒ·”èÕ
หรอื “ÁÕÊÔ·¸μÔ ÒÁ¡®ËÁÒ” เชน เปนคูส ญั ญาผูมสี ิทธติ ามสัญญา แมจะเกดิ ความเสยี หายข้ึนจากการ
กระทําโดยใชอํานาจหรือกระทําตามสิทธิดังกลาว การกระทําน้ันก็ไมเปนการกระทําโดยผิดกฎหมาย
และเม่ือไมเปนการกระทาํ ที่ผดิ กฎหมายกไ็ มเปนการละเมดิ

¡Ã³ÕÈ¡Ö ÉÒ : ¡ÒáÃÐทํา·àÕè »š¹¡ÒÃÅÐàÁ´Ô
เมื่อการกระทําใดเขาหลักเกณฑ ๓ ประการขางตนการกระทํานั้นเปนการละเมิด
ผูก ระทําจะตองใชค าสินไหมทดแทนเพือ่ การน้ัน เชน
คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.ôø/òõô÷ ผฟู อ งคดซี ง่ึ เปน ผูใ หเ ชา ซ้อื รถยนตแ ละ
ผคู า้ํ ประกนั ไดม าตดิ ตอ ขอรบั รถยนตท เี่ กดิ อบุ ตั เิ หตคุ นื พนกั งานสอบสวนยอ มทราบดวี า มเี จา ของแนช ดั
จงึ ไมม อี ํานาจขายทอดตลาดฯ การนาํ รถยนตขายทอดตลาดจึงเปนการกระทําท่ไี มช อบดว ยขอบงั คับ
การเก็บรักษาของกลางกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.๒๔๘๐ ประกอบกับประมวลระเบียบการตํารวจ
เกยี่ วกบั คดเี มอ่ื ทาํ ใหผ ฟู อ งคดไี ดร บั ความเสยี หายกรณจี งึ เปน การกระทาํ ละเมดิ ตอ ผฟู อ งคดแี ละเปน การทาํ
ละเมดิ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทผ่ี ถู กู ฟอ งคดที ี่ ๒ (สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต)ิ ซง่ึ เปน หนว ยงานของรฐั ทพ่ี นกั งาน
สอบสวนสังกัดอยูตองรับผิดชดใชคาสินเสียหายใหแกผูฟองคดีและกรณีนี้ผูฟองคดีตองฟองผูถูกฟอง
คดที ี่ ๒ ซงึ่ เปน หนว ยงานของรฐั โดยตรงจะฟอ งพนกั งานสอบสวนผถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ ซง่ึ เปน เจา หนา ทไี่ มไ ด
ทง้ั น้ี ตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหง พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผิดทางละเมดิ ของเจา หนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙

¢Íºà¢μ¡ÒÃ㪺Œ §Ñ ¤ºÑ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ¤Ô ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ·Ò§ÅÐàÁ´Ô ¢Í§à¨ÒŒ ˹Ҍ ·èÕ ¾.È.òõóù
μÍŒ §à»¹š ¡ÒáÃÐทาํ â´Âà¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õè¢Í§ÃÑ°

พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เปน กฎหมายทบี่ ญั ญตั ิ
เพื่อใชบังคับกับความรับผิดทางละเมิดของ “਌Ò˹ŒÒ·èÕáÅÐ˹‹Ç§ҹ¢Í§ÃÑ°” ซึ่งมาตรา ๔ แหง
พระราชบัญญัติน้ีไดก าํ หนดบทนิยามของคาํ วา “਌Ò˹Ҍ ·è”Õ และ “˹Nj §ҹ¢Í§ÃÑ°” ไว

ÁÒμÃÒ ô ในพระราชบญั ญตั ินี้
เจาหนาท่ี หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอ่ืน
ไมวา จะเปน การแตง ตง้ั ในฐานะเปนกรรมการหรอื ฐานะอื่นใด
หนวยงานของรัฐ หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกชื่อ
อยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถ่ิน และรัฐวิสาหกิจที่ต้ังข้ึน

๑๕๘

โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐที่มี
พระราชกฤษฎีกากําหนดใหเ ปน หนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญตั นิ ้ีดว ย

“਌Ò˹ŒÒ·èÕ” หมายความวา ขาราชการ พนักงานลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอ่ืน
ไมวาจะเปนการแตง ตั้งในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด

นอกจากนนั้ คณะกรรมการกฤษฎกี ายงั ใหค วามเหน็ วา คาํ วา “à¨ÒŒ ˹Ҍ ·”èÕ ตามกฎหมายน้ี
ไมรวมถึงเอกชนที่รับทําหรือจัดทํากิจการใหแกรัฐหรือดําเนินการแทนรัฐตามสัญญาจางทําของ เชน
กรณีท่ีการไฟฟาสวนภูมิภาคทําสัญญาแตงต้ังใหเอกชนซ่ึงเปนบุคคลภายนอก หรือนิติบุคคล หรือ
องคการบริหารสวนตําบล ดําเนินการในหนาท่ีอยางหน่ึงอยางใดแทนการไฟฟาสวนภูมิภาค เชน
เปน ตวั แทนเกบ็ คา ไฟฟา จากผใู ชไ ฟฟา แทนพนกั งานเกบ็ เงนิ ของการไฟฟา สว นภมู ภิ าค หรอื แกไ ขกระแส
ไฟฟาที่ขัดของใหแกผูใชกระแสไฟฟา หรือกอสรางอาคารใด ๆ ใหแกการไฟฟาสวนภูมิภาคเบ้ืองตน
บคุ คลดงั กลา วยอ มไมเ ปน “เจา หนา ท”ี่ ตามกฎหมายนี้ เนอ่ื งจากไมใ ชเ จตนารมณข องกฎหมายทข่ี ยาย
ความรับผิดของหนวยงานของรัฐใหตองรับผิดไปถึงกรณีท่ีเอกชนหรือบุคคลภายนอกที่ไมใชเจาหนาที่
ไปทําละเมิดดวย ซ่ึงโดยปกติหนวยงานของรัฐยอมไมตองรับผิดในกรณีที่บุคคลดังกลาวทําละเมิด
อยแู ลว เวน แตจ ะเปน กรณที ี่กฎหมายกําหนดไวโ ดยเฉพาะ

คําÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ öø/òõõð องคการขนสงมวลชนกรุงเทพเปนรัฐวิสาหกิจ
ทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ ตามพระราชกฤษฎกี าจดั ตงั้ องคก ารขนสง มวลชนกรงุ เทพ พ.ศ.๒๕๑๙ มฐี านะเปน หนว ยงาน
ทางปกครองและพนักงานขบั รถโดยสารประจาํ ทางมีฐานะเปนเจา หนา ทขี่ องรัฐ

“˹‹Ç§ҹ¢Í§ÃÑ°” หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการท่ีเรียกชื่อ
อยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจท่ีตั้งขึ้น
โดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐท่ีมี
พระราชกฤษฎีกากาํ หนดใหเปนหนวยงานของรฐั ตามพระราชบญั ญัติน้ีดว ย

ดงั น้ัน จงึ จําแนกประเภทของ “˹‹Ç§ҹ¢Í§Ã°Ñ ” ไดด งั น้ี
(๑) กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการทเ่ี รยี กชื่ออยา งอื่นและมีฐานะเปน กรม
(๒) ราชการสว นภมู ภิ าค ไดแก จังหวดั อาํ เภอ
(๓) ราชการสวนทองถ่ิน ไดแก เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล องคการบริหาร
สวนจงั หวดั เมอื งพทั ยาและกรงุ เทพมหานคร
(๔) รฐั วสิ าหกจิ ทต่ี ง้ั ขนึ้ โดยพระราชบญั ญตั หิ รอื พระราชกฤษฎกี า เชน การไฟฟา ฝา ยผลติ
แหง ประเทศไทย การไฟฟา สว นภมู ภิ าค การประปานครหลวง องคการขนสง มวลชนกรงุ เทพ องคก าร
โทรศัพทแหงประเทศไทย การส่ือสารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสิน เปนตน ดังน้ัน หนวยงาน
ของรฐั ตามกฎหมายฉบบั นี้ จงึ ไมร วมไปถงึ รฐั วสิ าหกจิ ทจี่ ดั ตงั้ ขน้ึ ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
ในรปู ของบริษทั เชน บรษิ ทั การบนิ ไทย จํากัด (มหาชน) หรือบรษิ ทั ไมอ ดั ไทย เปนตน
(๕) ใหห มายความรวมถงึ หนว ยงานอน่ื ของรฐั ทม่ี พี ระราชกฤษฎกี ากาํ หนดใหเ ปน หนว ยงาน
ของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ดวย เชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร

๑๕๙

และเทคโนโลยแี หง ชาติ องคก ารสงเคราะหท หารผา นศกึ สาํ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรพั ย สถาบนั พระปกเกลา สาํ นกั งานผตู รวจการแผน ดนิ
ของรัฐสภา สาํ นักงานศาลปกครอง สํานกั งานศาลยตุ ิธรรม สาํ นักงานการปฏิรูปการศกึ ษา (องคก าร
มหาชน) สํานักงานสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (องคการมหาชน) สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน
(องคก ารมหาชน) โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ (องคก ารมหาชน) โรงพยาบาลบา นแพว (องคก ารมหาชน)
ศนู ยม านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก ารมหาชน) กองทนุ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ สถาบนั มาตรวทิ ยาแหง ชาติ
เปน ตน

คําÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ ôò/òõõð โรงเรียนสะพือวิทยาคารเปนนิติบุคคลตาม
มาตรา ๓๕ แหง พระราชบญั ญตั บิ รหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ แตม ไิ ดเ ปน หนว ยงาน
ของรฐั ตามมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญตั ิความรับผดิ ทางละเมิดของเจาหนา ที่ พ.ศ.๒๕๓๙

คาํ ÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ òñ/òõôø สํานกั งานทีด่ นิ จังหวดั ระยองมใิ ชเ ปน หนวยงาน
ของรัฐท่อี าจถกู ฟองใหชดใชคาเสยี หายได

**กรณีนี้ หากจะฟองหนวยงานของรฐั ตอ งฟอ งกรมทดี่ นิ
¢ÍŒ 椄 à¡μ ในกรณเี จา หนา ทขี่ องรฐั หรอื หนว ยงานของรฐั ทไ่ี มไ ดอ ยใู นความหมายดงั กลา ว
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่และหนวยงานของรัฐก็ยังคงใชบังคับตามประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยอยูเชนเดิม เชน รัฐวิสาหกิจที่ไมไดจัดต้ังข้ึนโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา
แตจ ดั ตง้ั ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือ มติ ครม. เปน ตน และมไิ ดม ีพระราชกฤษฎกี า
กาํ หนดใหเ ปนหนว ยงานของรฐั ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ เปน ตน

¢Íºà¢μ¡ÒÃ㪌º§Ñ ¤ºÑ μŒÍ§à»š¹¡ÒáÃÐทาํ 㹡Òû¯ÔºÑμËÔ ¹ŒÒ·Õè

ÁÒμÃÒ õ หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่
ของตนไดก ระทาํ ในการปฏิบตั หิ นา ที่ ในกรณนี ีผ้ เู สียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดงั กลา วไดโ ดยตรง
แตจะฟองเจาหนาทไี่ มไ ด

ถาการละเมิดเกิดจากเจาหนาที่ซ่ึงไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวง
การคลงั เปน หนว ยงานของรฐั ทตี่ องรับผดิ ตามวรรคหนง่ึ

ÁÒμÃÒ ö ถาการกระทําละเมิดของเจาหนาท่ีมิใชการกระทําในการปฏิบัติหนาที่
เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้นเปนการเฉพาะตัว ในกรณีน้ีผูเสียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรง
แตจ ะฟอ งหนว ยงานของรัฐไมได

ดังนั้น การจะพิจารณาวาหนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิด
ท่เี จาหนา ทีข่ องตนไดกระทํา จงึ ตองพจิ ารณาวา การกระทาํ นัน้ ไดก ระทาํ ในการปฏบิ ัตหิ นา ท่หี รอื ไม

การจะพจิ ารณาวา การนนั้ เปน การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี รอื ไม พจิ ารณาจากเจา หนา ทรี่ ฐั มอี าํ นาจ
หนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดตามพระราชบัญญัติของสวนราชการน้ัน ๆ และรวมไปถึงกฎระเบียบ
ของทางราชการ มติของคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาลและปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทาง

๑๖๐

ราชการสาํ หรบั หนา ทที่ เ่ี ปน การเฉพาะนน้ั หนว ยราชการจะตอ งมกี ารมอบหมายใหก บั ผรู บั ผดิ ชอบเปน
ลายลักษณอักษร ซ่ึงอาจจะทําเปน คําส่ังของหนวยงานหรือรปู แบบอืน่ เชน บนั ทกึ ขอ ความ เปน ตน

การท่ีเจาหนาท่ีกระทําละเมิดในขณะท่ีปฏิบัติหนาที่ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติหนาที่
โดยทั่วไปในลักษณะที่เปนการกระทําทางกายภาพหรือเปนการกระทําละเมิดที่เกิดจากการใชอํานาจ
ตามกฎหมายหรือจากการออกกฎคําส่ังทางปกครองหรือคําสั่งอ่ืนหรือจากการละเลยตอหนาท่ีตามท่ี
กฎหมายกาํ หนดใหตองปฏบิ ัตหิ รือปฏบิ ตั ิหนา ที่ลา ชาเกนิ สมควรแลว แตกรณี

ñ. ¢ŒÍÊѧà¡μà¡ÕèÂǡѺ “¡Òû¯ºÔ ÑμËÔ ¹ŒÒ·èÕ”
ปญหาวาการกระทําละเมิดนั้นกระทําในการปฏิบัติหนาท่ีหรือไมเปนประเด็นสําคัญ

ที่ตองพิจารณา เพราะกอใหเกิดผลตอความรับผิดของเจาหนาท่ีและหนวยงานของรัฐแตกตางกัน
ซ่งึ พอจะมแี นวทางพจิ ารณาไดด ังนี้

๑.๑ เจาหนาท่ีทุกคนจะตองมีอํานาจหรือหนาที่โดยอํานาจหนาที่ของเจาหนาที่
แตละคนหรือแตละเร่ืองอาจมีแหลงที่มาของอํานาจหนาที่แตกตางกัน เชน บางเรื่องอาจกําหนดให
พระราชบัญญัติ บางกรณีอาจกําหนดใหกฎ บางกรณีอาจกําหนดในคําส่ังมอบหมายงานของ
ผบู งั คบั บญั ชา เปน ตน การกระทาํ ละเมดิ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทจี่ งึ จะตอ งเปน การปฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามอาํ นาจ
หรอื หนา ทท่ี เ่ี จา หนา ทผี่ นู นั้ มอี ยดู งั กลา ว ถา การกระทาํ ละเมดิ ของเจา หนา ทผ่ี หู นง่ึ ผใู ดมใิ ชเ ปน การปฏบิ ตั ิ
ตามอาํ นาจหนา ทท่ี ต่ี นเองมอี ยแู ลว การกระทาํ นน้ั ยอ มไมอ าจถอื เปน การกระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นา ทไ่ี ด
ดังนั้น ในเบ้ืองตนจึงจะตองตรวจสอบถึงอํานาจหรือหนาที่ของเจาหนาที่ผูกระทําละเมิดเสียกอนวา
มีอาํ นาจหนาทีใ่ นเร่ืองทกี่ ระทาํ ละเมดิ หรอื ไมอ ยางไร หากการกระทาํ ท่ีเปนเหตลุ ะเมดิ นัน้ มิใชเปน งาน
ตามอํานาจหรือหนาท่ี แมจะกระทําในเวลาราชการหรือกระทําในสํานักงานของหนวยงานของรัฐ
หรอื ขณะแตง เครอ่ื งแบบของราชการกต็ าม การทําละเมดิ นนั้ ก็มิใชเ ปน การกระทําในการปฏิบัติหนา ที่

๑.๒ การอาศยั โอกาสในการปฏบิ ตั หิ นา ทแ่ี ลว ทจุ รติ ทาํ ใหท างราชการเสยี หายเปน การ
ทําละเมดิ ในการปฏิบัติหนา ทีท่ ่ีเกดิ จากการใชอํานาจตามกฎหมาย

μÑÇÍ‹ҧà¡èÂÕ Ç¡Ñº¡ÒáÃзÒí ÅÐàÁ´Ô à¡´Ô ¨Ò¡¡Òû¯ÔºμÑ ËÔ ¹ÒŒ ·Õè

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.÷ð/òõõò กรมชลประทานรุกล้ําเขามาในท่ีดิน
ของผูฟองคดี เพ่ือขุดลอกขยายความกวางของลําหวยพะเนียงและกอสรางคันดินเปนถนนเลียบ
ตลอดสองแนวโดยไมไดดําเนินการเวนคืนที่ดินตามกฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพยหรือตกลง
ซอ้ื ขายทดี่ ินเปน การกระทาํ ละเมดิ ในการปฏิบตั หิ นา ที่

คําÊѧè ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§Ê´Ø ·Õè òøö/òõô÷ การที่คณะรฐั มนตรี (ครม.) มีมติใหผ ฟู องคดี
พน จากตาํ แหนง ซงึ่ เปน การกระทาํ ตามอาํ นาจหนา ทข่ี อง ครม. ตามทกี่ ฎหมายกาํ หนดจงึ ถอื วา เปน การใช
อํานาจตามกฎหมายของเจาหนาท่ีที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธข้ึนระหวางบุคคลซ่ึงมีผลกระทบ
ตอสถานภาพของสิทธิหรือหนา ท่ีของผูฟอ งคดี มติ ครม. ดังกลา วจงึ เปน คําสง่ั ทางปกครองเมื่อ ครม.
ซงึ่ อาจเปน ผกู ระทาํ ละเมดิ กอ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกผ ฟู อ งคดมี ใิ ชห นว ยงานของรฐั และไมไ ดส งั กดั หนว ยงาน
ของรฐั แหง ใดจงึ ใหถ อื วา กระทรวงการคลงั เปน หนว ยงานของรฐั ดงั นน้ั กรณนี กี้ ระทรวงการคลงั จงึ เปน
หนว ยงานของรัฐทีต่ อ งรบั ผดิ หากมีการกระทําละเมดิ ของ ครม.

๑๖๑

μÇÑ Í‹ҧà¡ÕèÂǡѺ¡ÒáÃÐทําÅÐàÁ´Ô ·ÕÁè ãÔ ª¨‹ Ò¡¡Òû¯ÔºμÑ ËÔ ¹ŒÒ·èÕ

คําÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ õ÷ù/òõô÷ สารวัตรกํานันนํารถขุดดินในทางเกวียน
สาธารณประโยชนทําเปนลําเหมืองเพ่ือเอานํ้าเขานาของตนโดยบุกรุกที่นาของผูฟองคดีทําใหไดรับ
ความเสยี หายนนั้ เปน การกระทาํ สว นตวั มใิ ชเ กดิ จากการกระทาํ หรอื การดาํ เนนิ การทางปกครองในการ
ปฏบิ ตั ิหนาท่ตี ามทกี่ ฎหมายกาํ หนด

คาํ ʧèÑ ÈÒÅ»¡¤ÃÍ§Ê§Ù Ê´Ø ·Õè ñõõ/òõõò การทผ่ี ถู กู ฟอ งคดี (ผบู ญั ชาการเรอื นจาํ ) ไดก ลา ว
หมนิ่ ประมาทผฟู อ งคดตี อ หนา ผตู อ งขงั ในทปี่ ระชมุ และขม ขใู หผ ฟู อ งคดถี อนฟอ งและหนงั สอื รอ งเรยี น
ทไี่ ดย น่ื ไว ทาํ ใหผ ฟู อ งคดเี สยี ชอ่ื เสยี งถกู ดหู มน่ิ เกลยี ดชงั จากผตู อ งขงั คนอนื่ ศาลวนิ จิ ฉยั วา แมผ ถู กู ฟอ งคดี
จะเปนผูบังคับบัญชาของเรือนจําก็ตาม แตการกระทําดังกลาวก็เปนการกระทําโดยอาศัยเหตุสวนตัว
หาใชการกระทาํ ละเมิดหรอื กจิ การทางปกครองไม

คําÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè óøô/òõô๖ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่
พระพุทธศกั ราช ๒๔๕๗ มไิ ดบัญญัตใิ หผ ูใหญบ านมีอาํ นาจหนา ทใ่ี นการสรา งถนน การท่ีผูถูกฟองคดี
ซง่ึ เปน ผใู หญบ า นเขา ดาํ เนนิ การสรา งถนนพพิ าททผี่ ฟู อ งคดแี ละราษฎรยกทด่ี นิ และสละเงนิ ใหส รา งนนั้
จึงมิใชเปนการกระทําในหนาที่หรือใชอํานาจทางปกครองของผูใหญบานแตกระทําในฐานะสวนตัว
ทางสังคมแมผูฟองคดีอางวาผูถูกฟองคดีทําถนนรุกลํ้าเขามาในที่ดินของผูฟองคดีผิดจากขอตกลง
ก็มใิ ชเ ปน การใชอาํ นาจทางปกครองในอาํ นาจหนาที่ของผใู หญบ า น

คาํ Êè§Ñ ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§Ê´Ø ·èÕ òð/òõôô การท่ผี ูถ กู ฟอ งคดมี ีหนงั สอื ถึงสํานกั งาน ป.ป.ช.
ขอทราบขอมูลเก่ียวกับผูฟองคดีเพ่ือนําไปประกอบการตอสูคดีในคดีอาญาท่ีผูถูกฟองคดีถูกฟอง
เปนจําเลยนั้น เปนการกระทําเพื่อวัตถุประสงคสวนตัว แมจะเปนหนังสือราชการและลงนามในฐาน
อธิการบดกี ม็ ใิ ชเ ปน การใชอาํ นาจตามกฎหมายในฐานะอธิการบดีไมเปนคดพี พิ าทเก่ยี วกบั การกระทํา
ละเมดิ ในการปฏิบัตหิ นา ทข่ี องหนว ยงานทางปกครองหรือเจา หนาทข่ี องรฐั

Ê·Ô ¸àÔ ÃÂÕ ¡¤Ò‹ àÊÂÕ ËÒ¢ͧº¤Ø ¤ÅÀÒ¹͡àÁÍ×è à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¡èÕ ÃÐทาํ ÅÐàÁ´Ô 㹡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·èÕ

Ê·Ô ¸¢Ô ͧºØ¤¤ÅÀÒ¹͡㹡ÒÃàÃÕ¡¤Ò‹ àÊÂÕ ËÒÂ
กรณที บี่ คุ คลภายนอกไดร บั ความเสยี หายจากการกระทาํ ละเมดิ ของเจา หนา ทอี่ นั เกดิ จาก
การปฏิบตั ิหนาท่ี บุคคลภายนอกผเู สยี หายสามารถดาํ เนนิ การได ๒ วิธี คอื
๑) รอ งขอตอหนว ยงานของรฐั ใหชดใชคาสนิ ไหมทดแทนแกต น
๒) ฟอ งคดีตอ ศาล
¢Ñé¹μ͹áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃ㪌ÊÔ·¸ÔàÃÕ¡Ìͧâ´ÂÂè×¹คํา¢Íμ‹Í˹‹Ç§ҹ¢Í§ÃÑ°ãˌ˹‹Ç§ҹÃÑ°
ª´ãªŒ¤Ò‹ àÊÂÕ ËÒÂ
ÁÒμÃÒ ññ ในกรณีท่ีผูเสียหายเห็นวา หนวยงานของรัฐตองรับผิดตามมาตรา ๕
ผูเสียหายจะย่ืนคําขอตอหนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสําหรับความเสียหาย
ทเี่ กดิ แกต นกไ็ ด ในการนหี้ นว ยงานของรฐั ตอ งออกใบรบั คาํ ขอใหไ วเ ปน หลกั ฐานและพจิ ารณาคาํ ขอนน้ั
โดยไมชักชา เมื่อหนวยงานของรัฐมีคําสั่งเชนใดแลวหากผูเสียหายยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยของ

๑๖๒

หนว ยงานของรฐั กใ็ หม สี ทิ ธริ อ งทกุ ขต อ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั รอ งทกุ ขต ามกฎหมายวา ดว ยคณะกรรมการ
กฤษฎกี าไดภายในเกา สิบวันนบั แตว ันทีต่ นไดร บั แจง ผลการวนิ ิจฉัย

ใหหนวยงานของรัฐพิจารณาคําขอท่ีไดรับตามวรรคหน่ึงใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอย
แปดสิบวัน หากเร่ืองใดไมอาจพิจารณาไดทันในกําหนดน้ันจะตองรายงานปญหาและอุปสรรคให
รฐั มนตรเี จา สงั กดั หรอื กาํ กบั หรอื ควบคมุ ดแู ลหนว ยงานของรฐั แหง นน้ั ทราบและขออนมุ ตั ขิ ยายระยะเวลา
ออกไปได แตร ฐั มนตรดี งั กลา วจะพจิ ารณาอนมุ ตั ใิ หข ยายระยะเวลาใหอ กี ไดไ มเ กนิ หนงึ่ รอ ยแปดสบิ วนั

ดังนั้น ผูเสียหายสามารถรองขอตอหนวยงานของรัฐใหชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนได
โดยตรง และเม่ือหนวยงานของรัฐมีคําสั่งเชนใดแลว หากผูเสียหายยังไมพอใจการวินิจฉัยก็สามารถ
ฟอ งคดตี อ ศาลไดต ามมาตรา ๑๑ แหง พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี พ.ศ.๒๕๓๙
ตามหลักเกณฑ ดังน้ี

(๑) ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวาเปนท่ีเห็นไดจากเหตุผลของเร่ืองวา ผูเสียหายจะตอง
ยน่ื คําขอตอหนว ยงานของรัฐภายใน ๑ ป นบั แตวนั ทีร่ ถู งึ การละเมิดและรูตัวผจู ะพึงตอ งใชคา สินไหม
ทดแทนแตไมเกิน ๑๐ ปนับแตวันทําละเมิด ซึ่งเปนระยะเวลาเดียวกับการยื่นฟองคดีตอศาล ดังนั้น
หากผเู สยี หายยนื่ คาํ ขอตอ หนว ยงานของรฐั เมอ่ื พน ระยะเวลาดงั กลา ว แมห นว ยงานของรฐั จะพจิ ารณา
คําขอ ผูเสียหายซ่ึงไมพอใจผลการวินิจฉัยก็ไมมีสิทธิฟองคดีตอศาลปกครองไดเพราะถือวาฟองคดี
เมือ่ พน ระยะเวลาทก่ี ฎหมายกาํ หนด

คาํ ÊÑè§ÈÒÅ»¡¤Ãͧ·èÕ õ÷ó/òõôù ในกรณีท่ีเจา หนาท่ีกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอก
ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี พ.ศ.๒๕๓๙ บญั ญตั ใิ หผ เู สยี หาย
ใชส ทิ ธเิ รยี กรอ งคา สนิ ไหมทดแทนได ๒ ทาง กลา วคอื ผเู สยี หายอาจฟอ งตอ ศาลขอใหพ พิ ากษาใหห นว ยงาน
ของรฐั ทเ่ี จา หนา ทผี่ กู ระทาํ ละเมดิ อยใู นสงั กดั ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนภายใน ๑ ปน บั แตว นั ทรี่ หู รอื ควรรถู งึ
เหตุแหงการฟอ งคดี แตไมเ กนิ ๑๐ ป นับแตวันทีม่ เี หตุแหง การฟอ งคดี หรอื อีกนัยหนง่ึ ภายใน ๑ ป
นับแตวันท่ีผูเสียหายรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองชดใชคาสินไหมทดแทน แตไมเกิน ๑๐ ป
นบั แตว นั ทาํ ละเมดิ ทางหนงึ่ กบั ผเู สยี หายอาจยนื่ คาํ ขอตอ หนว ยงานของรฐั ทเ่ี จา หนา ทผ่ี กู ระทาํ ละเมดิ
อยใู นสงั กดั ใหพ จิ ารณาชดใชค า สนิ ไหมทดแทนใหแ กต นอกี ทางหนงึ่ และแมก ฎหมายจะมไิ ดบ ญั ญตั ไิ ว
อยา งชดั แจง วา ผเู สยี หายจะตอ งยนื่ คาํ ขอตอ หนว ยงานของรฐั ใหพ จิ ารณาชดใชค า สนิ ไหมทดแทนสาํ หรบั
ความเสียหายท่ีเกิดแกตนภายในระยะเวลาเทาใด แตก็เปนที่เห็นไดจากเหตุผลของเรื่องวาผูเสียหาย
จะตองยื่นคําขอตอหนวยงานของรัฐภายใน ๑ ป นับแตวันท่ีรูถึงการละเมิดและรูตัวผูจะพึงตองใช
คา สนิ ไหมทดแทน แตไ มเ กนิ ๑๐ ป นบั แตว นั ทาํ ละเมดิ เชน เดยี วกบั การฟอ งคดตี อ ศาล ในกรณที ผ่ี เู สยี หาย
ยน่ื คาํ ขอตอ หนว ยงานของรฐั เมอ่ื พน ระยะเวลาดงั กลา วแลว แมห นว ยงานของรฐั จะพจิ ารณาคาํ ขอนน้ั
ผูเสียหายซ่ึงไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็หามีสิทธิฟองคดีตอศาลปกครองตาม
มาตรา ๑๑ ประกอบกับมาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
พ.ศ.๒๕๓๙ ไดอ กี ไม กรณเี ชน นต้ี อ งถอื วา เปน การใชส ทิ ธฟิ อ งคดเี มอื่ พน ระยะเวลาทกี่ ฎหมายกาํ หนดแลว

(๒) หนวยงานของรัฐผูรับคําขอ ตองออกใบรับคําขอไวเปนหลักฐาน ท้ังนี้ ใบรับคําขอ
ตอ งเปน เอกสารทห่ี นว ยงานไดจ ดั ทาํ ขน้ึ เพอื่ ใหท ราบวา หนว ยงานของรฐั ไดร บั คาํ ขอของผเู สยี หายแลว
ซง่ึ การออกใบรับคําขอนีจ้ ะมีผลตอ การนบั ระยะเวลาการพิจารณาคําขอของหนวยงาน เชน

๑๖๓

คาํ ÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè ó÷/òõõò ผเู สยี หายมีหนังสอื ลงวันท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๕๐
แจง ใหห นว ยงานรบั ผดิ ในผลแหง ละเมดิ จากกรณที เ่ี จา หนา ทบี่ กุ รกุ และลกั ทรพั ยใ นทด่ี นิ โดยหนว ยงาน
ก็ไดอ อกใบรบั คําขอใหเ มื่อวนั ที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๐ พรอมกับมีหนงั สือแจง วา ไดรบั เรอื่ งไวแลว ถือวา
ผเู สยี หายไดใชสทิ ธิในหนวยงานของรฐั พิจารณาชดใชค า สนิ ไหมทดแทนแลว

คาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤Ãͧʧ٠ÊØ´·Õè Í.ùñ/òõô÷ วินิจฉัยวาใบตอบรับของไปรษณีย
ทสี่ ง คนื ใหผ ฟู อ งคดมี อิ าจถอื ไดว า เปน ใบรบั คาํ ขออนั เปน หลกั ฐานทผี่ ถู กู ฟอ งคดี (สาํ นกั งานอยั การสงู สดุ )
เปน ผอู อกใหเ ปน เพยี งหลกั ฐานทางไปรษณยี ว า ไดม กี ารสง ซองเอกสารทางไปรษณยี ใ หผ รู บั แลว เทา นน้ั
มิไดบงบอกวาเอกสารในซองท่ีถึงผูรับเปนเอกสารอะไร จึงตองมีการออกใบรับคําขอของหนวยงาน
เพื่อมิใหเกิดปญหาโตเถียงในภายหลังได เม่ือใบตอบรับของไปรษณียที่สงคืนใหผูฟองคดีมิอาจถือ
ไดวาเปนใบรับคําขออันเปนหลักฐานท่ีผูถูกฟองคดีเปนผูออกใหตามมาตรา ๑๑ วรรคหนึ่ง ดังน้ัน
การทผ่ี ถู กู ฟอ งคดไี มอ อกใบรบั คาํ ขอใหผ ฟู อ งคดี จงึ เปน การละเลยตอ หนา ทตี่ ามมาตรา ๑๑ วรรคหนงึ่

(๓) การพิจารณาคําขอตองกระทําโดยไมชักชาและหากหนวยงานของรัฐท่ีรับคําขอให
ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนนนั้ เหน็ วา เปน เรอ่ื งทเ่ี กย่ี วกบั ตนกใ็ หแ ตง ตงั้ คณะกรรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การตอ ไป
โดยไมช กั ชา กลา วคอื หนว ยงานของรฐั ตอ งพจิ ารณาคาํ ขอทไี่ ดร บั ใหแ ลว เสรจ็ ภายในหนงึ่ รอ ยแปดสบิ วนั
หากเรอ่ื งใดไมอ าจพจิ ารณาไดท นั ภายในกาํ หนด ตอ งรายงานปญ หาและอปุ สรรคใหร ฐั มนตรเี จา สงั กดั
หรือกํากับหรือควบคุมดูแลหนวยงานของรัฐน้ันทราบ และหากจําเปนก็สามารถขอขยายระยะเวลา
ออกไปได แตร ฐั มนตรจี ะพจิ ารณาอนมุ ัติใหขยายระยะเวลาใหอ ีกไดไ มเกนิ หนง่ึ รอ ยแปดสบิ วัน เชน

คําÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè ó÷/òõõò ผูเสียหายมีหนังสือแจงใหหนวยงานของรัฐ
รับผิดในผลแหงละเมิดจากกรณีท่ีเจาหนาท่ีบุกรุกและลักทรัพยในที่ดิน หนวยงานนั้นไดออก
ใบรับคําขอใหเม่อื วันที่ ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๕๐ พรอมกับมหี นงั สอื ลงวันท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๕๐ แจง วา
ไดรับเร่ืองไวแลว ถือวาผูเสียหายไดใชสิทธิใหหนวยงานของรัฐพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนแลว
เมอ่ื ผถู กู ฟอ งคดี (กรมทางหลวง) ไมพ จิ ารณาดาํ เนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ภายในหนง่ึ รอ ยแปดสบิ วนั (คอื วนั ท่ี
๑๔ เมษายน ๒๕๕๑) ตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี
พ.ศ.๒๕๓๙ ผเู สยี หายยอมใชสทิ ธิฟองคดตี อศาลปกครองได

(๔) เมอ่ื หนวยงานของรฐั พจิ ารณาคํารองขอของผเู สียหายแลว หนว ยงานของรฐั ตองทาํ
คาํ สง่ั เกย่ี วกบั ผลการพจิ ารณาและตอ งแจง คาํ สงั่ ดงั กลา วใหแ กผ เู สยี หายทราบ ซงึ่ การทาํ คาํ สง่ั และการแจง
คําส่ังดังกลาวนั้น พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ มิไดกําหนด
วิธีการไวเ ปนการเฉพาะจึงตองปฏิบัตติ ามแบบการจดั ทาํ คาํ สงั่ ในทางปกครอง ตามหมวด ๒ สว นท่ี ๔
รูปแบบและผลของคําสง่ั ทางปกครองตามพระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
ดังนี้

- หนวยงานอาจทําคําส่ังเปนหนังสือ หรือวาจา หรือโดยการสื่อความหมาย
ในรูปแบบอนื่ ก็ได แตตอ งมีขอความหรือความหมายทีช่ ดั เจนเพียงพอทจ่ี ะเขา ใจได

๑๖๔

- ถา ทาํ คาํ สงั่ เปน หนงั สอื อยา งนอ ยตอ งระบุ วนั เดอื น ป ทที่ าํ คาํ สง่ั ชอ่ื และตาํ แหนง
ของผูทําคําสั่ง และลายมือช่ือของเจาหนาท่ีผูน้ัน โดยตองระบุเหตุผลในการมีคําส่ังเชนน้ันไวดวย
ซง่ึ เหตผุ ลในการมคี าํ สง่ั ดงั กลา วประกอบดว ยขอ เทจ็ จรงิ อนั เปน สาระสาํ คญั ของเรอ่ื งนน้ั ขอ กฎหมายท่ี
ใชอ า งอิงในการพจิ ารณาและวินจิ ฉยั ตลอดจนประเด็นการพิจารณาและขอสนับสนุนการใชด ลุ ยพนิ ิจ

(๕) เมื่อหนวยงานของรัฐไดพิจารณาคําขอและมีคําส่ังเชนใดแลว หากผูเสียหายยังไม
พอใจในผลการวนิ จิ ฉยั ของหนว ยงานของรฐั พจิ ารณาคาํ รอ งขอแลว ผเู สยี หายมสี ทิ ธฟิ อ งโตแ ยง ผลการ
วนิ จิ ฉยั ตอ ศาลทม่ี เี ขตอาํ นาจ แลว แตก รณี ตามมาตรา ๑๑ แหง พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ
ของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ซ่ึงหากผูเสียหายไมพอใจผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐ ผูเสียหาย
ตอ งฟอ งคดตี อ ศาลภายในเกา สบิ วนั นบั แตว นั ทไ่ี ดร บั แจง ผลการวนิ จิ ฉยั หรอื หากหนว ยงานของรฐั มไิ ด
พจิ ารณาคาํ ขอใหแ ลว เสรจ็ ภายในหนง่ึ รอ ยแปดสบิ วนั นบั แตว นั ทไี่ ดร บั คาํ ขอ (หรอื ภายในระยะเวลาทไี่ ด
รบั อนุมัติใหข ยายออกไปอีกไมเกนิ หนึ่งรอยแปดสบิ วัน) ผเู สยี หายตอ งฟอ งคดีภายในเกา สิบวนั นับแต
วันที่ครบกําหนดระยะเวลาดังกลาว ท้ังนี้ ตามมาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๔ แหงพระราชบัญญัติ
ความรับผิดทางละเมดิ ของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙

- ÈÒÅÂμØ ¸Ô ÃÃÁ ในกรณที ผี่ เู สยี หายทย่ี น่ื คาํ ขอไมเ หน็ ดว ยกบั คาํ สง่ั ของหนว ยงานของรฐั
ไมวาจะเปนเร่ืองของจํานวนเงินคาสินไหมทดแทน หรือการยกคําขอ และเปนคําส่ังของหนวยงาน
ของรฐั ทวี่ นิ จิ ฉยั คา สนิ ไหมทดแทนจากการกระทาํ ละเมดิ ทม่ี ใิ ชก ารใชอ าํ นาจตามกฎหมายในทางปกครอง

- ÈÒÅ»¡¤Ãͧ ในกรณที ผ่ี เู สยี หายทยี่ นื่ คาํ ขอไมเ หน็ ดว ยกบั คาํ สงั่ ของหนว ยงานของรฐั
ไมว า จะเปน เรอื่ งของจาํ นวนเงนิ คา สนิ ไหมทดแทน หรอื การยกคาํ ขอและไดฟ อ งโตแ ยง คาํ สงั่ ของหนว ยงาน
ของรฐั ทว่ี นิ จิ ฉยั คา สนิ ไหมทดแทนจากการกระทาํ ละเมดิ อนั เกดิ จากการใชอ าํ นาจตามกฎหมายในทาง
ปกครอง

º¤Ø ¤ÅÀÒ¹͡¿Í‡ §¤´ÕμÍ‹ ÈÒÅ

ผูเสียหายอาจฟองคดีตอศาล เพ่ือขอใหศาลมีคําสั่งหรือคําพิพากษาใหเจาหนาที่หรือ
หนว ยงานของรฐั ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนไดโ ดยตรง โดยไมต อ งยนื่ คาํ ขอตอ หนว ยงานของรฐั กอ น ทง้ั นี้
โดยอาจยื่นฟองตอ ศาลปกครองหรือศาลยุติธรรม แลว แตกรณีกลาวคอื

ñ. à¢μอํา¹Ò¨ÈÒÅ
ñ.ñ ÈÒÅ»¡¤Ãͧ การกระทําละเมิดที่อยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของ

ศาลปกครองตอ งเปน การกระทาํ ละเมดิ ของหนว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ทขี่ องรฐั อนั เกดิ จากการใชอ าํ นาจ
ตามกฎหมาย หรือจากกฎ คําส่ังทางปกครอง หรือคําส่ังอื่นหรือจากการละเลยตอหนาที่ตามท่ี
กฎหมายกาํ หนดใหตอ งปฏิบตั ิหรือปฏบิ ตั หิ นาทด่ี ังกลา วลาชา เกนิ สมควรตามมาตรา ๙ วรรคหนง่ึ (๓)
แหงพระราชบัญญตั จิ ัดตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ เชน

คําÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè õñö/òõôõ การออกโฉนดที่ดินเปนคําสั่งทาง
ปกครองตามมาตรา ๕ แหง พระราชบญั ญัตวิ ธิ ีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ การฟองคดี
ขอใหศาลกําหนดคําบังคับใหกรมที่ดินชดใชคาเสียหายจากการออกโฉนดท่ีดินท่ีมิชอบดวยกฎหมาย

๑๖๕

เน่ืองจากไดรุกลํ้าเขาไปในที่ดินของผูอื่น จึงเปนคดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทําละเมิดหรือความรับผิด
อยางอื่นของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาท่ีของรัฐอันเกิดจากการออกคําส่ังทางปกครอง
ตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๓) แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
พ.ศ.๒๕๔๒

ñ.ò ÈÒÅÂμØ ¸Ô ÃÃÁ กรณเี ปน การกระทาํ ละเมดิ ทมี่ ใิ ชจ ากการปฏบิ ตั หิ นา ที่ หรอื กรณี
เปนการกระทําละเมิดท่ีเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ แตมิใชจากการใชอํานาจตามกฎหมายหรือจากการ
ออกกฎ คาํ ส่งั ทางปกครอง หรือคาํ ส่ังอน่ื หรือจากการละเลยตอหนา ทต่ี ามท่กี ฎหมายกาํ หนดใหตอง
ปฏบิ ตั หิ รอื จากการปฏบิ ตั หิ นา ทด่ี งั กลา วลา ชา เกนิ สมควร การฟอ งคดเี พอ่ื เรยี กคา เสยี หายตอ งฟอ งตอ
ศาลยตุ ธิ รรม เชน

คําÊÑè§ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè õ÷÷/òõô÷ พนักงานขับรถของผูถูกฟองคดี
ที่ ๑ (กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม) ไดขับรถยนตของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไปสํารวจตนไมดวย
ความประมาทเลนิ เลอ ทาํ ใหร ถยนตข องผถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ ชนกบั รถยนตข องผฟู อ งคดเี ปน เหตใุ หผ ฟู อ งคดไี ดร บั
ความเสยี หาย จงึ เปน กรณกี ารกระทาํ ละเมดิ ทเ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั หิ นา ทท่ี ว่ั ไปของพนกั งานขบั รถ มไิ ดม ี
ลกั ษณะเปน การใชอ าํ นาจตามกฎหมายหรอื จากกฎคาํ สง่ั ทางปกครอง หรอื คาํ สง่ั อน่ื จงึ มใิ ชค ดพี พิ าทตาม
มาตรา ๙ วรรค ๑ (๓) แหง พระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒

คาํ ʧèÑ ÈÒÅ»¡¤ÃÍ§Ê§Ù Ê´Ø ·Õè óöô/òõôõ การฟอ งเรยี กคา เสยี หายอนั เนอื่ งมาจาก
การที่ถูกเจาหนาท่ีของรัฐจับกุมและดําเนินคดีอาญาเปนการฟองเพื่อเรียกคาเสียหายในเรื่องของ
การดาํ เนนิ งานตามกระบวนการยตุ ธิ รรมทางอาญา และศาลยตุ ธิ รรมมอี าํ นาจทจี่ ะเยยี วยาความเสยี หาย
ดงั กลา วได จงึ อยใู นอาํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาของศาลยตุ ธิ รรม การกระทาํ ดงั กลา วมใิ ชก ารกระทาํ ทาง
ปกครองท่ีอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติจัดต้ัง
ศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒

คาํ ÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§Ê´Ø ·èÕ ôò÷/òõôõ(») เจาพนกั งานตํารวจออกตรวจ
พนื้ ทพี่ บคนรา ยซงึ่ กระทาํ ผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน ฯ กาํ ลงั วง่ิ หลบหนี
การท่ีเจาพนักงานตํารวจว่ิงไลและใชอาวุธปนยิงคนราย แตกระสุนพลาดไปถูกบุตรชายผูฟองคดี
ถงึ แกค วามตาย ถอื วา เปน ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การใชอ าํ นาจจบั กมุ ของเจา พนกั งานตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาซ่ึงกําหนดใหอํานาจไวเปนการเฉพาะ และศาลยุติธรรมมีอํานาจที่จะเยียวยา
ความเสียหายดังกลาวได จึงไมเขาหลักเกณฑเปนกรณีพิพาทตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง แหงพระราช
บัญญัติจดั ต้ังศาลปกครองฯ การเรียกคา เสยี หายอันเกดิ จากการกระทาํ ละเมิดของพนักงานเจา หนาที่
ซึ่ีงดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา จึงอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของ
ศาลยุติธรรม คดนี ี้จงึ ไมอ ยใู นอํานาจพิจารณาพพิ ากษาของศาลปกครองตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓)
แหงพระราชบัญญตั จิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธพี ิจารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒

๑๖๖

à¢μอาํ ¹Ò¨ÈÒÅ㹡Òÿ͇ §¤´Õ

ÈÒÅ»¡¤Ãͧ ¿Í‡ § ÈÒÅÂμØ ¸Ô ÃÃÁ

- ละเมิดที่เกดิ จากการปฏบิ ตั หิ นาที่ ละเมิดท่ไี มไดเ กดิ จากการปฏบิ ตั ิหนา ท่ี
(ละเมิดทางแพง)

(เจา หนาทีต่ อ งรบั ผิดเปน สวนตัว)

ละเมิด เกิดจาก ๔ กรณี (ละเมดิ ทางปกครอง) ละเมดิ ทเ่ี ปน การปฏบิ ตั หิ นา ท่ี แตม ใิ ชเ กดิ จากกรณี
๑. การใชอ าํ นาจตามกฎหมาย ดังตอ ไปน้ี
(เฉพาะกฎหมายปกครอง)
๒. - กฎ - การใชอ าํ นาจตามกฎหมาย
- คาํ สง่ั ทางปกครอง - การออกกฎ คําสั่งทางปกครอง
- สญั ญาทางปกครอง - การละเลยตอหนา ท่ี หรอื
๓. ละเลยตอหนาทที่ ่ีกฎหมายกําหนด - การปฏบิ ตั หิ นา ทลี่ า ชา หรอื ลา ชา เกนิ สมควร
๔. ปฏิบตั หิ นา ทลี่ า ชา หรือลา ชา เกนิ สมควร
(อยูในอํานาจพิจารณาพิพาทฯ ของ
ศาลยตุ ิธรรม)

ò. ¼ÙŒ·¨èÕ ÐÍ‹Ùã¹°Ò¹Ð໚¹¼Œ¶Ù Ù¡¿‡Í§¤´Õ
มาตรา ๕ กําหนดวา กรณีเจาหนาที่กระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหาย

ท่ีเปนบุคคลภายนอกอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาท่ีไมได และถา
การละเมดิ เกดิ จากเจา หนา ทซี่ งี่ึ ไมไ ดส งั กดั หนว ยงานของรฐั แหง ใดใหถ อื วา กระทรวงการคลงั เปน หนว ยงาน
ของรัฐท่ีตองรับผิดตามวรรคหนึ่ง และมาตรา ๖ กําหนดวา ถาการกระทําละเมิดของเจาหนาท่ีมิใช
การกระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี ผเู สยี หายอาจฟอ งเจา หนา ทไ่ี ดโ ดยตรง แตจ ะฟอ งหนว ยงานของรฐั ไมไ ด

คาํ ʧÑè ÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§Ê´Ø ·èÕ øó/òõôø มาตรา ๕ แหงพระราชบญั ญตั ิความรับผดิ
ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐใหรับผิดในผลแหงละเมิด
ท่ีเจาหนาท่ีในสังกัดหนวยงานของรัฐนั้นไดกระทําไปในการปฏิบัติหนาท่ี แตจะฟองเจาหนาท่ีไมได
ผูฟ อ งคดีจงึ ไมอาจฟองผูถูกฟอ งคดีที่ ๒ ถงึ ที่ ๕ ซงึ่ เปนเจาหนา ท่ใี นสงั กดั ผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๖ (สาํ นักงาน
ปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ) ใหรวมรับผดิ กับผูถ ูกฟอ งคดีที่ ๖ ในผลแหง ละเมดิ ท่ีผูถูกฟอ งคดี
ที่ ๒ ถงึ ที่ ๕ ไดกระทาํ ตอ ผฟู อ งคดีในการปฏบิ ตั หิ นา ที่

¡Ã³ÁÕ ¡Õ Òÿ͇ §¼´Ô μÇÑ ÁÒμÃÒ ÷ ÇÃä˹§èÖ กาํ หนดวา ในคดที ผี่ เู สยี หายฟอ งหนว ยงาน
ของรฐั ถา หนว ยงานของรฐั เหน็ วา เปน เรอื่ งทเี่ จา หนา ทต่ี อ งรบั ผดิ หรอื ตอ งรว มรบั ผดิ หรอื ในคดที ผี่ เู สยี หาย

๑๖๗

ฟอ งเจา หนา ท่ี ถา เจา หนา ทเ่ี หน็ วา เปน เรอ่ื งทหี่ นว ยงานของรฐั ตอ งรบั ผดิ หรอื ตอ งรว มรบั ผดิ หนว ยงาน
ของรฐั หรอื เจา หนา ทด่ี งั กลา วมสี ทิ ธขิ อใหศ าลทพี่ จิ ารณาคดนี น้ั อยเู รยี กเจา หนา ทห่ี รอื หนว ยงานของรฐั
แลว แตก รณี เขา มาเปน คคู วามในคดี ดงั นนั้ ในกรณที ผ่ี ฟู อ งคดฟี อ งผดิ ตวั ผถู กู ฟอ งคดมี สี ทิ ธขิ อใหศ าล
เรียกเจาหนาทีห่ รือหนว ยงานของรัฐ แลวแตก รณี เขามาเปน คูค วามในคดีแทนไดหรอื ศาลอาจกาํ หนด
ตวั ผถู ูกฟองคดีใหมใหถูกตอ งได

ó. ÃÐÂÐàÇÅÒ¡Òÿ͇ §¤´Õ
๓.๑ ผเู สยี หายจะตอ งฟอ งตอ ศาลภายใน ๑ ป นบั แตว นั ทร่ี หู รอื ควรรถู งึ เหตแุ หง การ

ฟองคดีหรือนับแตวันที่รูถึงการละเมิด แตไมเกิน ๑๐ ป นับแตวันท่ีมีเหตุแหงการฟองคดีหรือนับแต
เกิดเหตลุ ะเมดิ

คําÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·èÕ óóô/òõõñ แมนํ้าเจาพระยาไดเออลนตลิ่ง
เขา ทว มโรงสแี ละโกดงั เกบ็ ขา วของผฟู อ งคดชี ว งระหวา งวนั ท่ี ๑ กนั ยายน ๒๕๔๕ ถงึ ปลายเดอื นตลุ าคม
๒๕๔๕ เมื่อผูฟองคดีอางวาทรัพยสินของผูฟองคดีไดรับความเสียหายจากการกระทําละเมิดของ
ผูถกู ฟอ งคดที ง้ั หก (กระทรวงคมนาคม กรมทางหลวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมชลประทาน
กระทรวงมหาดไทย และกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย) อันเกิดจากการละเลยตอหนาที่ตามท่ี
กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติตามมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๓) แหงพระราชบัญญัติจัดต้ังศาลปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ถือวาผูฟองคดีรูหรือควรรูถึงเหตุแหงการฟองคดีอยางชา
ท่ีสุดในปลายเดือนตุลาคม ๒๕๔๕ ซึ่งจะตองยื่นฟองคดีดังกลาวภายในเดือนตุลาคม ๒๕๔๖ การท่ี
ผูฟองคดีย่ืนฟองคดีตอศาลเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๐ จึงลวงพนระยะเวลาการฟองคดีตาม
มาตรา ๕๑ แหง พระราชบญั ญัติเดียวกัน

๓.๒ นอกจากน้ัน มาตรา ๗ วรรคสอง ยังกําหนดอีกวาถาศาลพิพากษายกฟอง
เพราะเหตุท่ีหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความฟองรองผูที่
ตอ งรับผิดซ่ึงมิไดถ กู เรียกเขามาในคดอี อกไปถึงหกเดอื นนบั แตว นั ที่คําพิพากษานั้นถึงทสี่ ุด

คําÊèѧÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè øôù/òõôø คดีเดิม ศาลปกครองช้ันตนไดมี
คําพิพากษาเพิกถอนประกาศสํานักงานเขตพื้นที่ฯ สวนกรณีคําขอใหชดใชคาเสียหายจากการกระทํา
ของผถู กู ฟองคดนี น้ั มาตรา ๕ แหงพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมิดของเจา หนา ท่ี พ.ศ.๒๕๓๙
จะตองฟองหนวยงานของรัฐ จะฟองเจาหนาที่ไมได ศาลจึงไมอาจบังคับใหตามคําขอไดจึงพิพากษา
ยกฟอ งในสว นน้ี เปน กรณที ศี่ าลปกครองชนั้ ตน ไดพ พิ ากษายกฟอ งเพราะเหตทุ เ่ี จา หนา ทท่ี ถ่ี กู ฟอ งมใิ ช
ผตู อ งรบั ผดิ การฟอ งผทู ต่ี อ งรบั ผดิ ซง่ึ มไิ ดถ กู เรยี กเขา มาในคดเี ดมิ จงึ ตอ งขยายอายคุ วามฟอ งรอ งออกไป
ถงึ ๖ เดอื นนบั แตวนั ทีค่ ําพิพากษาในคดีเดมิ ถงึ ทสี่ ุดตามมาตรา ๗ วรรคสอง เมือ่ คดีเดิมศาลปกครอง
ชั้นตนมีคําพิพากษาเม่ือวันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๘ และมิไดมีการอุทธรณคําขอในสวนน้ี ประเด็นนี้
จึงถึงที่สุดวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๔๘ การที่ผูฟองคดีนําคดีนี้มาฟองตอศาลเพื่อเรียกให สํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงตองรับผิดตอผูฟองคดีในผลแหงละเมิดท่ีเจาหนาท่ีของตน
ไดก ระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ รบั ผดิ ชดใชค า เสยี หายเมอื่ วนั ที่ ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๘ จงึ เปน การยน่ื ฟอ ง
ภายในกาํ หนด ๖ เดือน นับแตว นั ที่ไดม คี าํ พพิ ากษาถงึ ที่สดุ

๑๖๘

¡ÒÃãªÊŒ Ô·¸äÔ Å‹àºÂéÕ ¢Í§Ë¹‹Ç§ҹÃÑ°

กรณีที่เจาหนาท่ีกระทําละเมิดตอบุคคลภายนอกจากการปฏิบัติหนาท่ีและหนวยงาน
ของรัฐไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกบุคคลภายนอกไปแลว (จากการท่ีผูเสียหายย่ืนคําขอหรือตาม
คาํ พพิ ากษา) หนว ยงานของรฐั มสี ทิ ธทิ จี่ ะออกคาํ สงั่ เรยี กใหเ จา หนา ทผี่ ทู าํ ละเมดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทน
ไดตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัตคิ วามรับผิดทางละเมดิ ของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ดงั นี้

(๑) เฉพาะกรณที เี่ ปน การกระทาํ ละเมดิ โดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรงเทา นนั้
แตถ า เปน การกระทาํ โดยประมาทเลนิ เลอ เลก็ นอ ยหรอื ประมาทเลนิ เลอ ธรรมดาไมถ งึ ขนาดเปน ประมาท
เลินเลออยางรายแรงหนวยงานของรัฐไมอาจใชสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเอากับเจาหนาที่ ดังนั้น
คาสินไหมทดแทนท่ีหนวยงานของรัฐไดชดใชใหแกบุคคลภายนอกที่เสียหายหรือความเสียหายที่เกิด
กับหนว ยงานของรฐั แลว แตก รณกี ็ตกเปนพบั กบั หนวยงานของรฐั ไป

(๒) ตองคํานึงถึงความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณี การใช
สิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาท่ีตามขอ (๑) จะมีไดเพียงใดหนวยงานของรัฐ
ตองคํานึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในแตละกรณีเปนเกณฑโดยมิตอง
ใหใชเ ต็มจาํ นวนของความเสียหายกไ็ ด

(๓) ตอ งคาํ นงึ ถงึ ความผดิ หรอื ความบกพรอ งของหนว ยงานของรฐั หรอื ระบบการดาํ เนนิ งาน
สวนรวม ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการ
ดาํ เนินงานสวนรวมใหหักสวนแหงความรบั ผิดดงั กลาวออกดวย

(๔) ไมน ําหลักเรื่องลูกหนรี้ ว มมาใชบ ังคบั
(๕) คําส่ังเรียกใหชดใชคาสินไหมทดแทนเปนคําส่ังทางปกครองตามมาตรา ๕ แหง
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ดังน้ัน หากเจาหนาที่ผูถูกเรียกใหชดใช
คา สนิ ไหมทดแทนไมเ ห็นดว ยกบั คําสงั่ ดังกลาวจะตอ งอุทธรณคาํ สง่ั กอนฟองคดีตอไป
¤ÇÒÁÃѺ¼´Ô ¢Í§à¨ŒÒ˹Ҍ ·Õè
การทเ่ี จา หนา ทผี่ ทู าํ ละเมดิ จะตอ งรบั ผดิ ในความเสยี หายทต่ี นไดก ระทาํ ในการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี
หรือไมก ็คอื
(๑) ถา เปน การกระทาํ ละเมดิ โดยประมาทเลนิ เลอ ธรรมดาเจา หนา ทผี่ ทู าํ ละเมดิ ไมต อ งรบั ผดิ
ในความเสียหายน้นั เลย ความเสียหายท้ังหมดตกเปนพับกบั หนว ยงานของรฐั
(๒) แตถ า เปน การกระทาํ โดยจงใจหรอื ประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรงเจา หนา ทผ่ี ทู าํ ละเมดิ
กจ็ ะตอ งรบั ผิดในความเสยี หายทเ่ี กดิ จากการกระทําของตนน้ัน
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.óóø-óóù/òõôù ผูบญั ชาการเรอื นจําจงั หวดั ต.
มีหนาท่ีรับผิดชอบตามปกติมากมายคงไมสามารถตรวจนับจํานวนเงินกับคูปองท่ีจําหนายใหกับญาติ
ของผตู อ งขงั ดว ยตนเอง การทเ่ี จา หนา ทก่ี ารเงนิ ทจุ รติ ลงบญั ชรี บั เงนิ นอ ยกวา ความเปน จรงิ ผบู ญั ชาการ
เรอื นจาํ ต. จงึ มไิ ดก ระทําโดยจงใจหรือประมาทเลนิ เลอ อยา งรายแรงใหท างราชการเสยี หายจงึ ไมต อง
รบั ผดิ ชดใชคา สินไหมทดแทน

๑๖๙

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃÍ§Ê§Ù Ê´Ø ·èÕ Í.óöò/òõôù ประชาสงเคราะหจ งั หวดั ส. นาํ รถยนต
ของทางราชการไปเก็บรักษาท่ีบานพักอันเปนการฝาฝนตอระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
รถราชการ พ.ศ.๒๕๒๓ ประกอบกับบานพักไมมีรั้วรอบขอบชิดเปนเสนทางสาธารณะบุคคลท่ัวไป
สามารถใชป ระโยชนร ว มกนั ไดไ มไ ดเ ปน ทรี่ โหฐานสว นตวั และไมไ ดม กี ารจดั เวรยามรกั ษาซง่ึ นา จะคาดเหน็
ความไมป ลอดภยั ในการเกบ็ รกั ษารถยนตจ งึ ถอื ไดว า เปน การกระทาํ โดยประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรง
จงึ ตอ งรบั ผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนตอกรมประชาสมั พันธ

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.óóø-óóù/òõôù นาย ก. เปนกรรมการตรวจ
การจา งไดล งชอ่ื ตรวจรบั สนิ คา โดยไมไ ดต รวจสนิ คา จรงิ จงึ เปน การกระทาํ โดยประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรง

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤Ãͧʧ٠ÊØ´·èÕ Í.òö÷/òõõð หวั หนาสว นโยธาซึง่ ไดรบั แตง ตงั้ เปน
ผคู วบคมุ งานโครงการกอ สรา งถนนลกู รงั ไมไ ดป ฏบิ ตั หิ นา ทผี่ คู วบคมุ งานตามทร่ี ะเบยี บกาํ หนดไวถ อื วา
เปน การกระทาํ โดยประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรงจงึ ตอ งรบั ผดิ ตอ ทางราชการในความเสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้
ตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง ประกอบกับมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของ
เจาหนา ท่ี พ.ศ.๒๕๓๙

(ó)¡ÒÃãªÊŒ ·Ô ¸äÔ Åà‹ ºÂéÕ μÍŒ §คาํ ¹§Ö ¶§Ö ÃдºÑ ¤ÇÒÁÃÒŒ ÂáçËÃÍ× ¤ÇÒÁº¡¾ÃÍ‹ §¢Í§Ë¹Ç‹ §ҹ
¢Í§ÃÑ°ËÃ×ÍÃкº¡ÒÃดําà¹Ô¹§Ò¹Ê‹Ç¹ÃÇÁ ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของ
หนวยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงานสวนรวมใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย และ
กรณลี ะเมดิ เกิดจากเจาหนาทห่ี ลายคนมใิ หนาํ หลักเรอื่ งลูกหนรี้ ว มมาใชบงั คบั

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃͧÊÙ§ÊØ´·Õè Í.÷ó/òõõð การท่ีหนวยงานของรัฐจะใชสิทธิ
เรยี กใหเ จา หนา ท่ีผทู ําละเมดิ ชดใชคาสินไหมทดแทนจงึ ตอ งคาํ นึงถงึ หลักเกณฑสําคญั ๓ ประการ คือ
(๑) ตอ งคาํ นงึ ถงึ ระดบั ความรา ยแรงแหง การกระทาํ และความเปน ธรรมในแตล ะกรณี (๒) หากการละเมดิ
เกิดจากความผิดหรือบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงานสวนรวมตองหักสวน
ความรับผิดดังกลาวออกดวย และ (๓) กรณีละเมิดเกิดจากเจาหนาท่ีหลายคนมิใหนําหลักเรื่อง
ลกู หน้รี วมมาใชบังคบั

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤Ãͧ¡ÅÒ§·èÕ ñô÷/òõõð การท่ีนักการภารโรงอยูเวรเฝาอาคาร
โดยไมใ ชค วามระมดั ระวงั ในการดแู ลรกั ษาทรพั ยส นิ ของทางราชการดงั เชน วญิ ชู นพงึ กระทาํ จนเปน เหตุ
ใหคนรา ยลักเอาเครื่องคอมพิวเตอรไ ปจาํ นวน ๒๙ ตัว อนั เปนการปฏิบตั ิหนา ทโ่ี ดยประมาทเลนิ เลอ
อยางรายแรงเปนเหตุใหทางราชการเสียหาย แตโดยท่ีนักการภารโรงมิไดมีหนาท่ีโดยตรงในการรักษา
ความปลอดภยั และมหาวทิ ยาลยั ท. กม็ ไิ ดจ ดั ใหม เี จา หนา ทมี่ หี นา ทโ่ี ดยตรงในการรกั ษาความปลอดภยั
ทง้ั ทมี่ ที รพั ยส นิ มลู คา สงู แตไ ดใ หเ จา หนา ทป่ี ฏบิ ตั ริ าชการตามปกตมิ าอยเู วรโดยไมม ผี ตู รวจเวรและไมม ี
ระเบียบขอบังคับหรือขอปฏิบัติเก่ียวกับการรักษาเวรยาม ดังน้ันเมื่อพิจารณาถึงระดับความรายแรง
แหงการกระทําและความเปนธรรมในกรณีน้ี รวมทั้งความบกพรองของหนวยงานของรัฐแลว การที่
มหาวทิ ยาลยั ท. ใหน กั การภารโรงรบั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนในอตั รารอ ยละ ๒๐ ของความเสยี หาย
หลังจากหักคา เสื่อมแลว จึงเปน การเหมาะสมและชอบดวยกฎหมาย

๑๗๐

¡ÒÃàÃÂÕ ¡¤Ò‹ Ê¹Ô äËÁ·´á·¹¡Ã³ËÕ ¹Ç‹ §ҹ¢Í§Ã°Ñ àÊÂÕ ËÒ¨ҡ¡ÒáÃÐทาํ ÅÐàÁ´Ô ¢Í§
਌Ò˹Ҍ ·Õè

ในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาท่ีอาจกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐใหไดรับ
ความเสียหายโดยอาจเปนกรณีเจาหนาท่ีของรัฐคนหน่ึงทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐแหงเดียว
หรอื หลายแหง กไ็ ดแ ละอาจเปน หนว ยงานของรฐั ทตี่ นเองสงั กดั อยหู รอื หนว ยงานแหง รฐั อน่ื กไ็ ดห รอื อาจเปน
เจา หนา ทข่ี องรัฐหลายหนวยงานทาํ ละเมดิ ตอหนว ยงานของรฐั หน่ึงหรอื หลายแหง ก็ได

โดยเมอ่ื มกี ารกระทาํ ละเมดิ เกดิ ขน้ึ เจา หนา ทยี่ อ มตอ งรบั ผดิ ตอ หนว ยงานของรฐั ทเ่ี สยี หาย
ซ่ึงมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ ไดกําหนด
หลกั เกณฑใ นการเรียกรองคา สนิ ไหมทดแทนจากเจา หนาทอ่ี ันเนือ่ งจากการกระทําละเมิดไว ๒ กรณี

¡Ã³Õáá การกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐจากการปฏิบัติหนาท่ีใหนําบทบัญญัติ
มาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ.๒๕๓๙ มาใชบังคับ
โดยอนุโลม

¡Ã³·Õ ÕÊè ͧ การกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐที่มิใชจากการปฏิบัติหนาท่ีใหบังคับ
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

ËÅѡࡳ±¡ ÒÃàÃÕ¡¤Ò‹ Ê¹Ô äËÁ·´á·¹¡Ã³Õ¡ÒáÃÐทาํ ÅÐàÁ´Ô ¨Ò¡¡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·Õè
ใชห ลกั เกณฑเ ดยี วกนั กบั การใชส ทิ ธไิ ลเ บย้ี ของหนว ยงานของรฐั ทไ่ี ดช ดใชค า สนิ ไหมทดแทน
ใหกับบคุ คลภายนอก ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) หนวยงานของรัฐที่ไดรับความเสียหายมีอํานาจออกคําสั่งเรียกใหเจาหนาที่ผูทํา
ละเมิดรับผิดในความเสียหายของการกระทําละเมิดได (มาตรา ๑๒) เม่ือเปนการกระทําโดยจงใจ
หรอื ประมาทเลนิ เลอ อยา งรา ยแรง ดงั นน้ั กรณที เ่ี จา หนา ทก่ี ระทาํ ละเมดิ โดยความประมาทเลนิ เลอ ธรรมดา
หนว ยงานของรฐั ทไ่ี ดร บั ความเสยี หายยอ มไมอ าจเรยี กใหเ จา หนา ทร่ี บั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนไดเ ลย
หากหนว ยงานของรัฐออกคําสั่งเชน วา น้ียอมมผี ลทําใหเ ปน คาํ สั่งทไ่ี มช อบดวยกฎหมาย
(๒) หนว ยงานของรฐั จะตอ งคาํ นงึ ถงึ ระดบั ความรา ยแรงแหง การกระทาํ และความเปน ธรรม
ในแตล ะกรณีเปนเกณฑโ ดยไมตองใหใ ชเต็มจาํ นวนความเสยี หายก็ได
(๓) หากความเสยี หายเกดิ จากความผดิ หรอื ความบกพรอ งของหนว ยงานของรฐั หรอื ระบบ
การดําเนินการสว นรวมแลว ตอ งหกั สว นความรับผดิ ดังกลาวออกดวย
(๔) หากการทาํ ละเมดิ เกดิ จากเจา หนาท่ีหลายคนรวมกันกระทํา หนว ยงานของรัฐมสี ิทธิ
เรยี กใหเ จา หนา ทแ่ี ตล ะคนรบั ผดิ ชดใชค า สนิ ไหมทดแทนเฉพาะสว นทเ่ี จา หนา ทแี่ ตล ะคนไดก ระทาํ เทา นน้ั
ไมอ าจเรยี กใหเจาหนา ทร่ี วมกนั รับผิดในฐานะเปนลกู หนร้ี ว มได
คาํ Ç¹Ô ¨Ô ©ÂÑ ª¢Õé Ò´ÍÒí ¹Ò¨ÃÐËÇÒ‹ §ÈÒÅ·Õè ñð/òõó÷ ขณะเกดิ เหตโุ จทก (สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต)ิ
เปน หนว ยงานของรฐั จาํ เลยที่ ๑ รบั ราชการในสงั กดั ของโจทกไ ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั หิ นา ทใี่ นตาํ แหนง
ผชู ว ยเจา หนา ทกี่ ารเงนิ ไดอ าศยั โอกาสในการปฏบิ ตั หิ นา ทเี่ ปรยี บเทยี บปรบั จราจรทางบก เงนิ ประกนั ตวั
ผตู อ งหา ฯลฯ และไดเ บยี ดบงั ยกั ยอกเอาเงนิ ดงั กลา วทต่ี นเองมหี นา ทดี่ แู ลจดั การไปโดยทจุ รติ เปน เหตุ
ใหโจทกไดรับความเสียหายเปนคดีละเมิดอันเกิดจากการใชอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายตามมาตรา ๙

๑๗๑

วรรคหนึ่ง (๓) แหงพระราชบญั ญัติจัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ อนั อยู
ในอาํ นาจพิจารณาพพิ ากษาของศาลปกครอง

๒.๓ การปฏิบัติตามคําส่ังของผูบังคับบัญชาแมคําส่ังน้ันจะไมชอบดวยกฎหมาย
ก็ไมม ผี ลทาํ ใหเ ปน การกระทําทไ่ี มใ ชก ารปฏบิ ตั ิหนาที่ (ถอื เปนการกระทาํ ในการปฏิบตั หิ นา ท)่ี

๒.๔ การปฏิบัติงานใหกับหนวยงานของรัฐอ่ืนโดยไมไดรับคําส่ังจากหนวยงาน
ของรฐั ตน สงั กดั ไมเ ปน การปฏบิ ตั ิหนาท่ี

Ç¸Ô ¡Õ ÒÃáÅТ¹éÑ μ͹¡Ò÷ËèÕ ¹Ç‹ §ҹ¢Í§Ã°Ñ àÃÂÕ ¡ãËàŒ ¨ÒŒ ˹Ҍ ·ªÕè ´ãª¤Œ Ò‹ Ê¹Ô äËÁ·´á·¹

จากท่ีไดกลาวมาการทําละเมิดของเจาหนา ที่แบงเปน ๒ สว นคือ
ÊÇ‹ ¹·èÕ ñ เจาหนาที่ทําละเมิดตอบุคคลภายนอกในการปฏิบัติหนาท่ีและหนวยงาน
ของรฐั ไดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแ กบุคคลภายนอกที่ไดร บั ความเสยี หาย เม่อื ปรากฏวา การกระทํา
ละเมดิ ของเจาหนา ทด่ี งั กลาวเปนการกระทําโดยจงใจหรอื ประมาทเลินเลออยา งรายแรง ซ่ึงหนวยงาน
ของรัฐสามารถใชส ิทธิไลเบ้ยี เรยี กใหเจาหนา ทีช่ ดใชคาสินไหมทดแทนใหแ กหนว ยงานของรัฐได
ÊÇ‹ ¹·èÕ ò เจาหนาที่ทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง ซ่ึงหนวยงานของรัฐสามารถเรียกใหเจาหนาท่ีชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกหนวยงาน
ของรฐั ไดท ง้ั สองกรณขี า งตน หนว ยงานของรฐั สามารถใชส ทิ ธเิ รยี กใหเ จา หนา ทช่ี ดใชค า สนิ ไหมทดแทน
ใหแ กห นว ยงานของรฐั ได ๒ ทางดังนี้
(๑) การออกคําสัง่ ทางปกครองเรยี กใหเ จา หนาทช่ี ดใชค าสินไหมทดแทนตามมาตรา ๑๒
แหง พระราชบญั ญตั ิความรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙
กรณเี จา หนา ทท่ี าํ ละเมดิ ตอ หนว ยงานของรฐั อายคุ วาม ๒ ปน บั แตว นั ทหี่ นว ยงานของรฐั
รถู งึ การละเมดิ และรตู วั เจา หนา ทตี่ ามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ
ของเจา หนา ท่ี พ.ศ.๒๕๓๙
คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ»¡¤ÃÍ§Ê§Ù Ê´Ø ·Õè Í.òøø/òõôù เมอื่ ผถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ ออกคาํ สง่ั เรยี กรอ ง
คาสินไหมทดแทนเม่อื พนกําหนดอายุความ ๒ ปน ับแตว ันที่ผูถกู ฟอ งคดีที่ ๑ รถู งึ การละเมดิ และรูตัว
เจาหนาท่ีผูจะพึงตองชดใชคาสินไหมทดแทน สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
จงึ สน้ิ สดุ ลงเมอ่ื ผถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ ออกคาํ สง่ั ใหผ ฟู อ งคดชี ดใชค า สนิ ไหมทดแทนเมอื่ พน อายคุ วามใชส ทิ ธิ
เรียกรอ งดงั กลา วแลวจงึ เปน การออกคําสง่ั โดยไมม ีอํานาจจงึ เปน คาํ ส่งั ทไ่ี มช อบดวยกฎหมาย
(๒) กรณีที่หนวยงานของรัฐเห็นวาเจาหนาท่ีผูนั้นไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลัง
ตรวจสอบแลวเห็นวาตองรับผิดใหสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนั้นมีกําหนดอายุความ ๑ ป
นับแตวันที่หนวยงานของรัฐมีคําส่ังตามความเห็นของกระทรวงการคลังตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง
แหง พระราชบัญญตั ิความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙

๑๗๓

º··Õè ô

¡®ËÁÒÂàÅ×Í¡μѧé à¡èÕÂǡѺอํา¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè¢Í§¢ŒÒÃÒª¡ÒÃตําÃǨ

ñ. ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃÐจําº·

๑.๑ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจวาอํานาจอธิปไตยมีความ
เก่ยี วพนั กบั กฎหมายเลอื กต้ังอยางไร และการเลือกต้ังมีความสาํ คัญอยา งไร

๑.๒ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาท่ี
ในการดูแลความสงบเรยี บรอยในการเลือกต้ังและการวางตัวเปน กลางในการเลอื กตงั้

ò. ʋǹนาํ

สํานกั งานตํารวจแหง ชาตเิ ปน หนวยงานหลัก รบั ผดิ ชอบในการรกั ษาความสงบเรยี บรอย
และใหการสนับสนุน คณะกรรมการการเลือกตั้ง ในการจัดการเลือกต้ังสมาชิกสภาผูแทนราษฎร
ใหเปน ไปโดยเรียบรอย สุจรติ และเที่ยงธรรม ขา ราชการตํารวจจะตองวางตวั เปน กลางทางการเมอื ง
โดยไมปฏิบตั ิการใด ๆ ทัง้ ในทางสวนตวั และราชการโดยมชิ อบดวยกฎหมายใหเปน คณุ หรือเปนโทษ
แกผสู มัคร หรือพรรคการเมอื ง

ó. à¹Íé× ËÒμÒÁËÇÑ ¢ŒÍ

๓.๑ ความสาํ คญั ของการเลือกต้ังกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
๓.๒ การปฏบิ ตั ิในการวางตัวเปนกลางของขา ราชการตํารวจในการเลอื กตัง้

ô. ʋǹÊÃØ»

มาตรการในการทําหนาท่ีของตํารวจ ทางสํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดมีนโยบายให
ตํารวจท่ีปฏิบัติหนาท่ีดูแลความสงบเรียบรอยทุกคนวางตัวเปนกลาง หากตํารวจที่วางตัวไมเปนกลาง
ก็จะถูกพิจารณาโทษท้ังทางการปกครอง ทางวินัย และทางอาญา ดังนั้น ตํารวจที่เขามาทําหนาท่ี
ตองระมัดระวังตวั สํานกั งานตาํ รวจแหงชาตจิ งึ กําชบั ใหว างตัวเปนกลางและมอบมาตรการ ๔ ไม คอื
ไมส นบั สนนุ ผสู มคั รหรอื พรรคการเมอื ง ไมใ ชอ าํ นาจหนา ทก่ี ลนั่ แกลง กดี กนั ผสู มคั รหรอื พรรคการเมอื ง
ไมน อนหลับทบั สทิ ธ์ิ ไมป ฏิบัติหนาท่ีนอกจากทไ่ี ดร ับมอบหมาย

õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ðนาํ

๕.๑ ผูสอนต้ังปญหาใหนักเรียนวินิจฉัย เพ่ือใหรูจักคิด วิเคราะหและวิจารณเน้ือหา
ท่ีเรียน ดวยการนําเทคนิค วิธีการตาง ๆ เพ่ือใหผูเรียนสนใจและติดตามการสอนตลอดเวลา และ
เชื่อมโยงกบั วิชาอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั เนือ้ หา ซึง่ ผูเ รียนตอ งสามารถบูรณาการความคิดได

๑๗๔

๕.๒ ผสู อนตง้ั คาํ ถามเพอื่ ประเมนิ ความรู ดว ยการทาํ แบบฝก หดั หลงั เรยี นและสรปุ เนอ้ื หา
ที่เรียนพรอมทัง้ สอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมที่ขาราชการตํารวจควรปฏิบตั ิ

๕.๓ ผูสอนแนะนาํ แหลง ขอมลู ทีจ่ ะศึกษาคน ควาเพิ่มเติม

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §Í§Ô

เวบ็ ไซตคณะกรรมการการเลอื กตงั้ https://www.ect.go.th/ect_th/

๑๗๕

º··Õè ô

¡®ËÁÒÂàÅÍ× ¡μ§Ñé à¡ÂÕè Ç¡ºÑ อาํ ¹Ò¨Ë¹ŒÒ·èբͧ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ

หลกั การของระบอบประชาธปิ ไตยถอื วา ประชาชนทกุ คนมคี วามเทา เทยี มกนั เสมอภาคกนั
และเพื่อท่ีจะอยูรวมกันไดอยางปกติสุข จึงไดเกิดหลักการตาง ๆ เพ่ือนําเอาอํานาจของประชาชน
ทุกคนน้ันมารวมกันและมี “รัฐธรรมนูญ” เปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ อํานาจของประชาชน
ที่ไปรวมกันและเรียกวารัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดน้ัน ไดถูกแบงออกเปนสามอํานาจตามแนว
ความคดิ ของ John Lock และ Montesquieu คอื อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ อาํ นาจบรหิ าร และอาํ นาจตลุ าการ

ในสมยั กอ นนน้ั อาํ นาจในการปกครองอยทู ผ่ี นู าํ เพยี งผเู ดยี ว หากผนู าํ มคี ณุ ธรรมประชาชน
ก็อยดู มี สี ขุ หากผูใชอ าํ นาจกดขี่เอาเปรยี บประชาชนกเ็ ดือดรอ น ตอมาในยคุ กลางของยโุ รปประชาชน
ถกู กดขจี่ ากผใู ชอ าํ นาจปกครอง ซง่ึ ในสมยั นนั้ การใชอ าํ นาจปกครองเปน ไปตามอาํ เภอใจของผมู อี าํ นาจ
เพราะอาํ นาจปกครองอยทู ผ่ี ปู กครอง ประชาชนไมม สี ว นรว มในการปกครอง และการใชอ าํ นาจปกครอง
กต็ รวจสอบไมไ ด ดงั นนั้ ผลพวงของการปกครองในยคุ นนั้ ทาํ ใหป ระชาชนเดอื ดรอ นไมไ ดร บั ความเปน ธรรม
และถูกกดข่ีจากผูปกครอง

จากปญ หาทป่ี ระชาชนถกู กดขจี่ ากการใชอ าํ นาจของผปู กครองนท้ี าํ ใหเ กดิ หลกั การแบง แยก
อํานาจปกครองเปนสามอํานาจตามแนวความคิดของ John Lock และ Montesquieu ในชวง
ครสิ ตศ ตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ คอื อํานาจนติ ิบญั ญัติ อํานาจบริหาร และอาํ นาจตลุ าการ จุดประสงคของ
การแบงแยกอํานาจเพ่ือใหเกิดการถวงดุลและตรวจสอบระหวางอํานาจทั้งสาม ทั้งน้ีเพ่ือรักษาสิทธิ
เสรีภาพและประโยชนข องประชาชนจากการใชอ ํานาจปกครอง

ทฤษฎีการแบงอํานาจอธิปไตยออกเปนสามสวนคือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร
และอาํ นาจตลุ าการ มคี วามเชอื่ มโยงกบั ปรชั ญาการเลอื กตงั้ กลา วคอื การเลอื กตงั้ จะเปน ทมี่ าของกลไก
ผูใชอํานาจอธิปไตยในประเทศประชาธิปไตย ในความหมายนี้ การเลือกตั้งจึงมีความสําคัญในฐานะ
ทเี่ ปน การยอมรบั ในอาํ นาจของประชาชนในการเปน เจา ของอาํ นาจอธปิ ไตย ในสงั คมสมยั ใหมป ระชาชน
ทุกคนไมอาจสามารถเขาไปมีสวนในการปกครองตนเองไดทั้งหมด ทั้งยังเปนการยากลําบากในทาง
ปฏิบัติท่ีจะสรางกลไกรองรับการแสดงสวนรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชนทั้งหมดในสังคมได
จึงไดเกิดรูปแบบของประชาธปิ ไตยอีกประเภทหนง่ึ คือ ประชาธปิ ไตยโดยการใชอาํ นาจทางออมของ
ประชาชนผานผูแทน (Representative Democracy) เพ่ือใชอํานาจทางการบริหารปกครองไมวา
จะผา นระบบรฐั สภาหรอื ไมก ต็ าม ในบรรดากระบวนการเพอื่ ใหไ ดม าซง่ึ ตวั แทนในการใชอ าํ นาจทางการเมอื ง
แทนประชาชน เปนท่ียอมรับวาการเลือกต้ัง (election) เปนรูปแบบพ้ืนฐานที่เหมาะสมท่ีสุด
ภายใตร ปู แบบอนั หลากหลายของการใหไ ดม าซง่ึ ผแู ทนของประชาชน การเลอื กตง้ั ถอื ไดว า เปน กจิ กรรม
ท่ีสะทอนแสดงออกซึ่งเจตจํานง และการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน การเลือกต้ังจึงเปน
การเปดโอกาสใหประชาชนผูลงคะแนนเสียงไดมีสวนรวมทางการเมืองในการเปนผูใชอํานาจอธิปไตย
ดว ยการเลอื กตวั แทนเขาไปทาํ หนาทใ่ี นทางนติ บิ ญั ญตั ิ และมคี วามสมั พนั ธกับอํานาจทางฝายบรหิ าร

๑๗๖

ÁÒμÃÒ øó สภาผแู ทนราษฎรประกอบดว ยสมาชกิ จํานวนหา รอยคน ดังน้ี
(๑) สมาชกิ ซง่ึ มาจากการเลอื กตัง้ แบบแบงเขตเลือกตงั้ จาํ นวนสามรอยหา สบิ คน
(๒) สมาชกิ ซงึ่ มาจากบญั ชีรายช่อื ของพรรคการเมอื งจํานวนหน่งึ รอยหาสบิ คน
ในกรณที ต่ี าํ แหนง สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรวา งลงไมว า ดว ยเหตใุ ด และยงั ไมม กี ารเลอื กตงั้
หรือประกาศชื่อสมาชิกสภาผูแทนราษฎรข้ึนแทนตําแหนงที่วาง ใหสภาผูแทนราษฎรประกอบดวย
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเทา ที่มอี ยู
ในกรณีมีเหตุใด ๆ ที่ทําใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือมีจํานวนไมถึง
หนึง่ รอยหา สบิ คน ใหส มาชกิ สภาผูแทนราษฎรแบบบัญชรี ายชอ่ื ประกอบดวยสมาชกิ เทาท่มี ีอยู
ÁÒμÃÒ øø ในการเลือกตั้งทั่วไป ใหพรรคการเมืองที่สงผูสมัครรับเลือกตั้งแจงรายชื่อ
บุคคลซึ่งพรรคการเมืองนั้นมีมติวาจะเสนอใหสภาผูแทนราษฎรเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบแตงตั้ง
เปนนายกรัฐมนตรีไมเกินสามรายชื่อตอคณะกรรมการการเลือกต้ังกอนปดการรับสมัครรับเลือกต้ัง
และใหค ณะกรรมการการเลอื กตงั้ ประกาศรายชอ่ื บคุ คลดงั กลา วใหป ระชาชนทราบ และใหน าํ ความใน
มาตรา ๘๗ วรรคสอง มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม
พรรคการเมอื งจะไมเ สนอรายชื่อบคุ คลตามวรรคหนง่ึ ก็ได
ÁÒμÃÒ ñõø พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอ่ืนอีกไมเกิน
สามสบิ หา คนประกอบเปน คณะรฐั มนตรี มหี นา ทบี่ รหิ ารราชการแผน ดนิ ตามหลกั ความรบั ผดิ ชอบรว มกนั
นายกรัฐมนตรีตองแตงต้ังจากบุคคลซึ่งสภาผูแทนราษฎรใหความเห็นชอบตาม
มาตรา ๑๕๙
ใหประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงตั้งนายก
รัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดํารงตําแหนงรวมกันแลวเกินแปดปมิได ท้ังนี้ ไมวาจะเปนการดํารง
ตําแหนงติดตอกันหรือไม แตมิใหนับรวมระยะเวลาในระหวางที่อยูปฏิบัติหนาที่ตอไปหลังพนจาก
ตาํ แหนง
ÁÒμÃÒ ñõù ใหส ภาผแู ทนราษฎรพจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบบคุ คลซงึ่ สมควรไดร บั แตง ตง้ั
เปน นายกรฐั มนตรจี ากบคุ คลซง่ึ มคี ณุ สมบตั แิ ละไมม ลี กั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๑๖๐ และเปน ผมู ชี อื่
อยใู นบญั ชีรายชอื่ ที่พรรคการเมืองแจง ไวต ามมาตรา ๘๘ เฉพาะจากบญั ชีรายชอื่ ของพรรคการเมอื ง
ที่มีสมาชิกไดรับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไมนอยกวารอยละหาของจํานวนสมาชิกทั้งหมด
เทา ท่มี ีอยขู องสภาผูแทนราษฎร
การเสนอชื่อตามวรรคหน่ึงตองมีสมาชิกรับรองไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิก
ท้ังหมดเทา ที่มีอยูของสภาผูแทนราษฎร
มตขิ องสภาผแู ทนราษฎรทเ่ี หน็ ชอบการแตง ตงั้ บคุ คลใดใหเ ปน นายกรฐั มนตรี ตอ งกระทาํ
โดยการลงคะแนนโดยเปด เผย และมคี ะแนนเสยี งมากกวา กงึ่ หนงึ่ ของจาํ นวนสมาชกิ ทงั้ หมดเทา ทม่ี อี ยู
ของสภาผแู ทนราษฎร

๑๗๗

¡ÒÃàÅ×Í¡μé§Ñ ¢Í§»ÃÐà·Èä·Â

ตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดก าํ หนดใหก ารเลอื กตง้ั เปน
หนา ที่ของพลเมอื งชาวไทย และอาํ นวยการเลอื กตง้ั โดยคณะกรรมการการเลือกตั้ง

คณะกรรมการการเลอื กตงั้ เปน องคก รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู ประกอบดว ยกรรมการจาํ นวน
เจด็ คน ตามรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๒๒ และมาตรา ๒๒๔
กําหนดอาํ นาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการการเลือกตง้ั ไว ดังนี้

ÁÒμÃÒ òòô ใหคณะกรรมการการเลอื กตงั้ มหี นา ทีแ่ ละอํานาจ ดงั ตอไปนี้
(๑) จดั หรอื ดาํ เนนิ การใหม กี ารจดั การเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร การเลอื กสมาชกิ
วุฒสิ ภา การเลอื กตัง้ สมาชิกสภาทองถ่นิ และผบู รหิ ารทองถ่ิน และการออกเสยี งประชามติ
(๒) ควบคุมดูแลการเลอื กตง้ั และการเลอื กตาม (๑) ใหเ ปน ไปโดยสุจรติ และเท่ียงธรรม
และควบคมุ ดูแลการออกเสยี งประชามตใิ หเปนไปโดยชอบดวยกฎหมาย เพอ่ื การนี้ ใหมี
อาํ นาจสืบสวน หรอื ไตส วนไดต ามที่จําเปน หรอื ทีเ่ ห็นสมควร
(๓) เม่ือผลการสืบสวนหรือไตสวนตาม (๒) หรือเมื่อพบเห็นการกระทําที่มีเหตุอันควร
สงสัยวาการเลือกต้ังหรือการเลือกตาม (๑) มิไดเปนไปโดยสุจริตหรือเท่ียงธรรม หรือการออกเสียง
ประชามติเปนไปโดยมิชอบดวยกฎหมาย ใหมีอํานาจสั่งระงับ ยับยั้ง แกไขเปล่ียนแปลงหรือยกเลิก
การเลอื กตง้ั หรอื การเลือก หรือการออกเสยี งประชามติ และสั่งใหด ําเนินการเลือกตัง้ เลือก หรือออก
เสยี งประชามตใิ หมในหนว ยเลือกตง้ั บางหนว ย หรือทุกหนว ย
(๔) ส่ังระงับการใชสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผูสมัครรับเลือกตั้งหรือผูสมัครรับเลือกตาม
(๑) ไวเปนการชั่วคราวเปนระยะเวลาไมเกินหน่ึงป เม่ือมีหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูน้ันกระทําการ
หรือรเู ห็นกับการกระทาํ ของบคุ คลอ่ืน ทีม่ ีลกั ษณะเปน การทุจริต หรอื ทําใหการเลอื กตัง้ หรือการเลอื ก
มิไดเปน ไปโดยสุจริตหรอื เท่ยี งธรรม
(๕) ดูแลการดาํ เนินงานของพรรคการเมอื งใหเปนไปตามกฎหมาย
(๖) หนาทแี่ ละอํานาจอืน่ ตามรัฐธรรมนูญหรอื กฎหมาย
ในการสืบสวนหรือไตส วนตาม (๒) คณะกรรมการการเลอื กตัง้ จะมอบหมายใหกรรมการ
การเลอื กตงั้ แตล ะคนดาํ เนนิ การ หรอื มอบหมายใหค ณะบคุ คลดาํ เนนิ การภายใตก ารกาํ กบั ของกรรมการ
การเลอื กตงั้ ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการทีค่ ณะกรรมการการเลือกต้งั กําหนดก็ได

๑๗๘

º·ºÒ·Ë¹ÒŒ ·èբͧ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตาํ ÃǨ㹡ÒÃàÅ×Í¡μѧé

ÀÒáԨ¢Í§สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ
- เปนหนวยงานหลักรับผิดชอบในการรักษาความสงบเรียบรอย และใหการสนับสนุน

กกต. ในการจดั การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร ใหเ ปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย สจุ รติ และเทย่ี งธรรม
- การรักษาความสงบเรียบรอยในการเลือกต้ัง ถือเปนภารกิจท่ีสําคัญและมีเกียรติของ

สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ โดยจะตอ งแสวงหาความรว มมอื กับองคก รตาง ๆ ท่ีเกีย่ วของ และใหการ
สนับสนุนการปองกันการทุจริตการเลือกต้ัง ตามที่กฎหมายกําหนดหรือท่ีไดรับการรองขอจาก กกต.
ในทกุ ระดบั อยา งจรงิ ใจ

- ขา ราชการตาํ รวจจะตอ งวางตวั เปน กลางทางการเมอื ง โดยไมป ฏบิ ตั กิ ารใด ๆ ทงั้ ในทาง
สว นตวั และราชการโดยมชิ อบดวยกฎหมายใหเปน คุณ หรือเปน โทษแกผ สู มคั ร หรือพรรคการเมือง
¢Ñ¹é μ͹¡Òû¯ºÔ μÑ Ô˹ŒÒ·Õè¢Í§¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตําÃǨ·ทÕè าํ ˹ŒÒ·ÕèÃ¡Ñ ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ Ë¹Ç‹ ÂàÅ×Í¡μѧé

กอ นวนั เลือกต้ัง
๑) ใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัยตองเขารับการอบรมเพื่อเขาใจบทบาทและหนาท่ี
ตามกฎหมายประกาศระเบยี บขอ กําหนดและคําสัง่ ของคณะกรรมการการเลอื กตงั้
๒) รวมกับคณะกรรมการประจําหนวยเลือกตั้งไปรับหีบบัตร บัตรเลือกต้ัง แบบพิมพ
และอุปกรณตา ง ๆ ที่ตอ งใชในการเลือกตงั้ นาํ ไปเกบ็ รกั ษาไวใ นสถานท่ที ีป่ ลอดภยั (ซง่ึ คณะกรรมการ
ประจําหนวยจะเปนผูกําหนดสถานที่และนัดหมายวันเวลากับคณะกรรมการประจําหนวยเลือกต้ัง
เพ่อื มารับพิมพบ ตั รในวันเลอื กต้ัง) เสร็จแลวใหร ายงานผบู งั คับบญั ชาทราบทางวิทยุ
ในวันเลอื กต้งั
๑) รวมกับคณะกรรมการประจําหนวยเลือกต้ังไปรับหีบบัตร ณ สถานที่เก็บรักษา
ตามวันและเวลาที่ไดนัดหมายไว โดยใหไปถึงหนวยเลือกตั้งเวลา ๐๖.๐๐ น. รวมกับคณะกรรมการ
ประจําหนวยเลือกตั้งพรอมดวยหีบบัตรเลือกต้ัง บัตรเลือกต้ัง แบบพิมพและอุปกรณตาง ๆ ที่ใช
ในการเลือกตั้ง เสร็จแลวใหรายงานผูบงั คับบญั ชาทราบทางวิทยุ
๒) ใหปฏิบัติหนาท่ีรักษาความปลอดภัยและรักษาความสงบเรียบรอยบริเวณท่ีเลือกต้ัง
หรอื สถานท่นี ับคะแนน ทั้งนี้ ตองตรวจตราความเรยี บรอ ยบรเิ วณหนว ยเลือกตงั้ โดยละเอยี ด
๓) เมื่อถึงเวลา ๐๗.๓๐ น. รวมกับคณะกรรมการประจําหนวยเลือกต้ังเปดหีบ
บตั รเลือกตง้ั เพอ่ื ตรวจสอบและนับจาํ นวนบัตรเลือกต้ัง
๔) เม่ือถึงเวลา ๐๘.๐๐ น. เปดการลงคะแนนเลือกตั้งใหรายงานเหตุการณเบ้ืองตน
ตอ ผบู ังคับบญั ชาทางวิทยุ

๑๗๙

๕) ขณะปฏิบัติหนาท่ีหากพบเหตุการณกระทําความผิดเก่ียวกับกฎหมายเลือกต้ังหรือ
กฎหมายอนื่ ภายในหนว ยเลอื กตงั้ ใหจ บั กมุ และแจง ผบู งั คบั บญั ชาทราบ ทางวทิ ยโุ ดยดว น และรอจนกวา
มผี ูบังคับบญั ชาหรือพนักงานสอบสวนหรอื เจาหนา ท่ีตาํ รวจผูใดผูรับมอบหมายมารับตัวไป

๖) ขณะปฏิบัติหนาที่หากพบเหตุการณกระทําความผิดเก่ียวกับกฎหมายเลือกตั้ง
หรอื กฎหมายอืน่ ภายนอกหนวยเลอื กตัง้ (หา มออกไปนอกหนวยเลือกตง้ั ) ใหแจง ผูบ งั คบั บัญชาทราบ
ทางวิทยโุ ดยดวน

๗) เม่ือสิ้นสุดเวลาลงคะแนน (๑๕.๐๐ นาฬกา) เมื่อประธานกรรมการประจําหนวย
เลอื กตง้ั ปด ประกาศการลงคะแนนและผมู สี ทิ ธเิ์ ลอื กตง้ั ทอ่ี ยใู นบรเิ วณทลี่ งคะแนนไดล งคะแนนเลอื กตงั้
จนเสรจ็ สิ้นแลว ใหรายงานเหตกุ ารณต อ ผูบังคบั บัญชาทางวทิ ยุ

๘) กรณีเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภา ตองรอคณะกรรมการ
การเลอื กต้ังนบั คะแนนเลอื กต้งั จนเสรจ็ ส้นิ และรว มกบั คณะกรรมการประจําหนว ยเลือกตัง้ สง หบี บัตร
เลอื กตง้ั และเมือ่ สง หีบบตั รเลือกตง้ั เสร็จสนิ้ แลว ใหรายงานเหตุการณใหผ บู ังคับบัญชาทราบทางวิทยุ

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ÔºÑμÔ㹡ÒÃÇÒ§μÇÑ à»š¹¡ÅÒ§¢Í§¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตํารวจ

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาตไิ ดก าํ ชบั และใหแ นวทางในการวางตวั เปน กลางทางการเมอื งดงั นี้
๑) ใหขาราชการตํารวจทุกระดับวางตัวเปนกลางในการเลือกตั้งอยางเครงครัด
ไมป ฏบิ ตั กิ ารใด ๆ ทง้ั ในทางสว นตวั และราชการ โดยมชิ อบดว ยกฎหมาย ใหเ ปน คณุ หรอื โทษแกผ สู มคั ร
หรือพรรคการเมืองใดโดยเดด็ ขาด
๒) การวางตัวเปน กลางน้ัน มไิ ดหมายความวา ขา ราชการตํารวจจะเพิกเฉยไมไปใชสิทธิ
ออกเสียงเลือกต้ังหรือลงประชามติ แตหมายถึง การไมใชอํานาจในตําแหนงหนาท่ีหรือมีพฤติการณ
ในทางสว นตวั เพอื่ สนบั สนนุ ชว ยเหลอื ผสู มคั รคนใดหรอื พรรคการเมอื งใด โดยเฉพาะเจาะจงทงั้ ทางตรง
และทางออม ซึ่งอาจเสียความเท่ียงธรรมได นอกจากการไมสนับสนุนผูสมัครหรือพรรคการเมืองใด
ดังกลาวขางตน ในทางกลับกันจะตองไมกีดกันหรือกลั่นแกลงใสรายปายสี ตําหนิติเตียน ทับถม
หรอื ใหร า ยผูสมคั รหรือพรรคการเมอื งใดใหไ ดรบั ความเสียหายอีกดวย
๓) ขาราชการตาํ รวจผูท าํ หนาทีร่ กั ษาความปลอดภัยบุคคลสําคัญทางการเมอื ง จะตอง
แยกแยะระหวา งหนา ทกี่ ารรกั ษาความปลอดภยั ซง่ึ เปน หนา ทโ่ี ดยตรงของตาํ รวจ ไมใ ชห นา ทใ่ี นการชว ย
บุคคลดังกลาวหาเสียง ซ่ึงจะเสียความเปนกลางทางการเมือง และสําหรับผูท่ีมีญาติหรือบุคคล
ใกลชิดเปนผูสมัครหรือผูสนับสนุนผูสมัคร ขอใหแบงแยกระหวางความเปนญาติกับความเปนกลาง
ทางการเมอื งใหถกู ตอง
๔) ใหข า ราชการตาํ รวจทกุ ระดบั ใหค วามรว มมอื ชว ยเหลอื และสนบั สนนุ ในการดาํ เนนิ การ
เลอื กตง้ั และไปใชส ทิ ธเิ ลอื กตงั้ และลงประชามตใิ หเ ปน ตวั อยา งแกป ระชาชนทวั่ ไป รวมทง้ั ใหค าํ แนะนาํ
ชกั ชวนบคุ คลผมู สี ทิ ธอิ อกเสยี งเลอื กตง้ั ในครอบครวั ญาติ มติ รสหาย ไปใชส ทิ ธเิ ลอื กตงั้ โดยพรอ มเพรยี งกนั

๑๘๐

๕) ใหผ บู งั คับบัญชาทกุ ระดับสอดสอ ง ดูแล ใหผ ูใตบ ังคบั บัญชาวางตวั เปน กลางในการ
เลือกตง้ั และการแสดงประชามตอิ ยา งเครง ครดั ผใู ดละเลยใหถ อื วา กระทาํ ผดิ วนิ ัย

๖) สําหรับมาตรการในการดําเนินการ สําหรับขาราชการตํารวจที่วางตัวไมเปนกลาง
ใหดําเนินการดังน้ี

๖.๑) การดาํ เนนิ การทางปกครอง เมอ่ื ไดร บั ขอ มลู ขา วสารทพ่ี จิ ารณาไดว า ขา ราชการ
ตํารวจผูใดมพี ฤติการณว างตัวไมเปน กลางในการเลือกตงั้

๖.๑.๑) สง่ั ใหเ ดนิ ทางไปปฏบิ ตั ริ าชการในหนว ยอนื่ โดยใหพ น จากตาํ แหนง หนา ทเี่ ดมิ
หรอื พน จากเขตพืน้ ที่เดมิ

๖.๑.๒) ส่งั ใหประจาํ หรอื สาํ รองราชการ
๖.๑.๓) แตงตั้งโยกยายใหพ น จากตําแหนง เดมิ
๖.๑.๔) ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ฐานประพฤตไิ มเ หมาะสมกบั ตาํ แหนง หนา ที่
ราชการหรอื บกพรอ งในหนาท่อี ันจะเปน การเสียหายแกร าชการ ตามมาตรา ๑๐๑ แหง พ.ร.บ.ตํารวจ
แหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
๖.๒) การดําเนินการทางวินัย เมื่อปรากฏผลการสืบสวนขอเท็จจริงชัดเจนวา
มพี ฤตกิ ารณว างตวั ไมเ ปน กลางในการเลอื กตงั้ หรอื เกดิ ความเสยี หายตอ การปฏบิ ตั ริ าชการ ใหพ จิ ารณา
ลงโทษวินัยอยางไมรายแรง หรือตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาโทษทางวินัยอยางรายแรง
แลวแตก รณี
๖.๓) การดําเนินการทางกฎหมาย เมื่อพบวามีการกระทําผิดกฎหมายวาดวย
การเลือกต้ังหรือกฎหมายอาญา อันเกี่ยวเนื่องกับการเลือกตั้ง ใหดําเนินคดีอาญาโดยเฉียบขาด
และเรงรัดใหพ นกั งานสอบสวนรีบดําเนินการสอบสวนอยางรวดเร็ว

๑๘๑

¡®ËÁÒ·èàÕ ¡èÂÕ Ç¢ŒÍ§ã¹¡Ã³Õ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃตําÃǨÇÒ§μÑÇäÁà‹ »š¹¡ÅÒ§

● ¾.Ã.º.ตําÃǨá˧‹ ªÒμÔ ¾.È.òõô÷ ËÁÇ´ ö ¡ÒÃดาํ à¹Ô¹¡Ò÷ҧÇԹѠÁÒμÃÒ øô
เม่ือมีการกลาวหาหรือมีกรณีเปนท่ีสงสัยวา ขาราชการตํารวจผูใดกระทําผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชา
รีบดําเนินการสืบสวนขอเท็จจริงหรือพิจารณาในเบ้ืองตนวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวาผูน้ันกระทําผิด
วินัยหรือไม ในการสืบสวนขอเท็จจริงใหแจงเรื่องท่ีถูกกลาวหาหรือถูกรองเรียนใหผูถูกกลาวหาทราบ
และใหผูถูกกลาวหาชี้แจงขอเท็จจริงภายในเวลาที่กําหนด ถาเห็นวากรณีไมมีมูลที่ควรกลาวหาวา
กระทาํ ผดิ วนิ ยั ใหส งั่ ยตุ เิ รอื่ งได ถา เหน็ วา กรณมี มี ลู ทคี่ วรกลา วหาวา กระทาํ ผดิ วนิ ยั ใหด าํ เนนิ การตอ ไป
ตามมาตรา ๘๕ หรือมาตรา ๘๖ แลว แตก รณีทันที

● »ÃÐÁÇŨÃÔ¸ÃÃÁáÅШÃÃÂÒºÃó¢Í§ตําÃǨ ¾.È.òõõó (Ṻ·ŒÒ ¡® ¡.μÃ.
ÇÒ‹ ´ŒÇ»ÃÐÁÇŨÃÔ¸ÃÃÁáÅШÃÃÂÒºÃó¢Í§ตําÃǨ (©ººÑ ·èÕ ò) ¾.È.òõõó)

ÊÇ‹ ¹·Õè ò ÁÒμðҹ·Ò§¨ÃÂÔ ¸ÃÃÁáÅШÃÃÂÒºÃó¢Í§ตาํ ÃǨ
(๑) มาตรฐานทางจริยธรรมของตาํ รวจ

ขอ ๗ ขาราชการตํารวจตองเคารพ ศรัทธา และยึดม่ันการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข ซ่งึ ตองประพฤตปิ ฏิบตั ิ ดงั นี้

(๒) สนับสนุนการเมืองประชาธิปไตยดวยศรัทธา มีความเปนกลางทางการเมือง
ไมเปนผูบริหาร หรือกรรมการพรรคการเมือง และไมกระทําการใด ๆ อันเปนคุณหรือเปนโทษ
แกพ รรคการเมือง หรอื ผสู มคั รรบั เลือกตั้ง ทง้ั ในระดับชาตแิ ละทอ งถ่ิน

μÇÑ Í‹ҧ ¾Äμ¡Ô ÒóËÃ×Í¡ÒáÃÐทาํ ·èÍÕ Ò¨¶¡Ù ÌͧàÃÂÕ ¹¡ÒÃÇÒ§μÇÑ äÁà‹ »¹š ¡ÅÒ§

การกระทําที่เขาขา ยอันเปนคณุ
■ แสดงตัวเปน ผูมีอิทธพิ ลมคี วามสนิทสนมกบั นกั การเมอื ง
■ ชวยหาเสียงใหพ รรคการเมอื งใด ๆ
■ ตดิ ตามนกั การเมืองไปหาเสยี งเลอื กต้งั
■ ใหความชวยเหลือผูสมัครรับเลือกต้ัง หรือหัวคะแนนหรือฐานเสียงของผูสมัคร
รบั เลือกตัง้ หรือพรรคการเมืองใด ๆ
■ ขึ้นพดู สนับสนนุ ผสู มคั รรับเลอื กตงั้ นกั การเมอื งหรือพรรคการเมืองบนเวทีงานเลี้ยง
■ ชวยหาเสียงระหวางการมีหนาที่รักษาความปลอดภัยนักการเมืองหรือผูสมัคร
รับเลอื กตั้ง
■ ใชต าํ แหนง หนา ทเ่ี ออ้ื ประโยชนใ หก บั ผสู มคั รรบั เลอื กตงั้ หรอื พรรคการเมอื งหนงึ่ และ
ใหค อยจับตาความเคลื่อนไหวการหาเสียงหรอื จอ งจบั ผิดผูสมัครรับเลอื กตัง้ หรือพรรคการเมืองอนื่ ๆ

๑๘๒

■ ใหผูสมัครรับเลือกตั้งเขารวมประชุมท่ีหนวยงาน และแสดงบทบาทสนับสนุน
พรรคการเมอื งของผูส มคั รรบั เลือกตัง้ นั้น

■ ทาํ ตวั สนิทสนมกบั ผูสมัครรับเลือกตั้งพรรคหนึง่ และขมขูฝ า ยตรงขาม
■ ชว ยหาเสียงใหนกั การเมอื ง เพ่ือหวังเลอื่ นยศเลือ่ นตําแหนง
■ ขม ขูประชาชนใหสนับสนุนผูสมคั รรบั เลือกตงั้ หรอื พรรคการเมอื งท่ตี นชอบ
■ ชว ยผสู มัครรับเลือกตั้งหาเสยี ง
■ ชวยตดิ ปา ยหาเสยี งใหผสู มัครรบั เลอื กตง้ั หรอื พรรคการเมอื งใด ๆ
■ ชวยขับรถหรือพาหนะอื่น ๆ ในกิจกรรมหรือธุระของผูสมัครรับเลือกต้ัง หรือ
พรรคการเมอื งใด ๆ
■ ไปติดตามรักษาความปลอดภัยผูสมัครรับเลือกตั้ง หรือผูเกี่ยวของกับการเลือกต้ัง
โดยไมไ ดร ับมอบหมายจากผูบงั คับบญั ชา หรอื ไมใ ชพ น้ื ที่รับผดิ ชอบตามหนา ที่
■ ใสเส้ือสัญลักษณผ สู มคั รรับเลอื กตั้ง หรือพรรคการเมืองใด ๆ
■ ติดสต๊กิ เกอรผสู มคั รรับเลอื กต้งั หรือพรรคการเมืองใด ๆ ทบ่ี า นพักหรอื ยานพาหนะ
ทั้งของทางราชการและสว นตัว
■ พดู จาชกั จงู ใหผ ูอื่นเลือกผสู มคั รรบั เลอื กตัง้ หรือพรรคการเมอื งใด ๆ
■ แสดงพฤตกิ รรม หรอื กระทาํ การใด ๆ อนั เปน การสอ แสดงนยั ใหก ารสนบั สนนุ ผสู มคั ร
รับเลือกตงั้ หรือพรรคการเมืองใด ๆ
การกระทําท่ีเขา ขา ยอนั เปนโทษ
■ พดู จาหวา นลอ มชกั จงู ใหผ อู น่ื เกลยี ดผสู มคั รรบั เลอื กตง้ั หรอื พรรคการเมอื งทต่ี นไมช อบ
■ พูดจาใสรา ยผูสมัครรับเลอื กตง้ั หรือพรรคการเมอื งใด ๆ
■ ตรวจคนตัวผูส มัครรบั เลือกต้ัง/บรวิ าร หรอื ยานพาหนะของผูสมคั รรบั เลือกต้งั หรือ
ของพรรคการเมอื งหนงึ่ พรรคการเมอื งใด โดยไมม เี หตอุ นั สมควรตามกฎหมาย หรอื มเี จตนากลน่ั แกลง
■ ไมอ นญุ าตใหผ ูส มัครรับเลือกตงั้ หรอื พรรคการเมือง ใชพื้นทรี่ าชการในการหาเสียง
โดยไมมีเหตผุ ลอนั สมควรหรอื เลอื กปฏบิ ัติ
■ กระทําการใด ๆ อันเปนการขัดขวางการหาเสียงของผูสมัครรับเลือกตั้ง หรือ
พรรคการเมืองใด ๆ

๑๘๔

จัดพมิ พโ ดย
โรงพิมพตํารวจ ถ.เศรษฐศิริ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนองคกรบังคับใชกฎหมายที่นําสมัย
ในระดับมาตรฐานสากล เพ�อใหประชาชนเช�อมั่นศรัทธา”

พลตํารวจเอก สุวัฒน แจงยอดสุข
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ


Click to View FlipBook Version