สมบัติเมืองเพชรบูรณ โดย สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๔๔๑-๗๖๙-๖ ผูเขียน : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จำ�นวนที่พิมพ : ๑,๐๐๐ เลม บรรณาธิการ : ผศ. กมล บุญเขต ผูอำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม กองบรรณาธิการ : ผศ. พันทิพา มาลา ผศ. ศรีเวียง ไตชิละสุนทร รศ. สังคม พรมหมศิริ ดร. สุขสันติ แวงวรรณ ดร. ธรากร จันทนสาโร ผศ. อาภาภรณ วรรณา ดร. บุญชวย สุทธิรักษ รองผูอำ�นวยการฝายบริหารและสารสนเทศ ดร. อัญชนา ศรีเรืองฤทธิ์ รองผูอำ�นวยการฝายกิจกรรมสงเสริมและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม นายวิโรจน หุนทอง นายภัทรพล พิมพา นางสาวปวีณา บัวบาง นางอมรรัตน กาละบุตร นางสาวสุพิชญา พูนมี นางสาวมัลลิกา อุฤทธิ์ กราฟก/ภาพ : นางสาวมนชยา คลายโศก นายพิทักษ จันทรจิระ ที่ปรึกษา : นายอมรรัตน ฉิมพลีนภานนท รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษา นายวีรยุทธ วงศอุย กรรมการที่ปรึกษาประจำ�สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม คณะกรรมการอำ�นวยการ : นางสาวจันทรพิมพ มีเปยม รองผูอำ�นวยการฝายอนุรักษวิจัยศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น นางนิภา พิลาเกิด นางอรอุมา เมืองทอง จัดพิมพและเผยแพรโดย : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๘๓ ถ.สระบุรี-หลมสัก ต.สะเดียง อ.เมืองเพชรบูรณ จ.เพชรบูรณ ๖๗๐๐๐ โทรศัพท. ๐๕๖-๗๑๗๑๔๐ โทรสาร. ๐๕๖-๗๑๗๑๔๐ http://artculture.pcru.ac.th/main/index.php พิมพที่ : บริษัท ทีแอนทเอ กราฟก แอนด พริ้นติ้ง จำ�กัด ๖๓/๓ หมู ๑ แขวงทาแรง เขตบางเขน กรุงเทพฯ โทร. ๐๒-๕๕๑๓๔๓๐ ขอมูลบรรณานุกรมของสำ�นักหอสมุดแหงชาติ สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๓๙๒ สมบัติเมืองเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : บริษัท ทีแอนทเอ กราฟก แอนด พริ้นติ้ง จำ�กัด, ๒๕๕๙. ๑๘๑ หนา ๑. วัฒนธรรมเมืองเพชรบูรณ ๒. ประเพณี วิถีชีวิต เพชรบูรณ I. ชื่อเรื่อง ISBN : ๙๗๘-๙๗๔-๔๔๑-๗๖๙-๖
คำ�นำ�จากสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม “สมบัติเมืองเพชรบูรณ” เปนหนังสือที่สำ�นักศิลปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ไดใหการสงเสริม สนับสนุน และรวบรวมองคความรู เพื่อมุงหวังที่จะเผยแพรขอมูลทางดาน วิชาการที่เกี่ยวของกับประวัติศาสตร ภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิต ตำ�นาน ความเชื่อ และอาหารการกินของชาวจังหวัดเพชรบูรณ เพื่อใหเยาวชนและประชาชนรุนหลังไดรับรูถึงเรื่องราวของจังหวัด เพชรบูรณที่เกิดขึ้นทั้งในอดีตและปจจุบัน โดยคาดหมายวาผูที่ศึกษา ขอมูลจะนำ�องคความรูนี้ไปเสริมสรางความรู ความเขาใจและ เล็งเห็นถึงคุณคาของรองรอยทางวัฒนธรรมที่คนในอดีตไดสรางไว หนังสือเลมนี้ ไดบอกเลาถึงเรื่องราวสำ�คัญตาง ๆ มากมาย ทางประวัติศาสตร วิถีชีวิต ภูมิปญญาทองถิ่น หรือแมแตเรื่องราว ความเชื่อ ตำ�นานพื้นบาน ตลอดจนอาหารการกิน ซึ่งเปนผลงาน ของคณะผูบริหาร นักวิชาการศึกษา และเจาหนาที่ของสำ�นักศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ที่ไดจัดเก็บรวบรวม ขอมูลจากการลงพื้นที่สำ�รวจขอมูลภาคสนาม จนกระทั่งเรียบเรียง เปนหนังสือที่ทรงคุณคาตอชาวจังหวัดเพชรบูรณอีกเลมหนึ่ง
ขอขอบคุณผูเกี่ยวของทุกภาคสวนที่ไดใหความอนุเคราะห ศึกษาขอมูล และนำ�ผลงานมาตีพิมพเผยแพร โดยหวังเปนอยางยิ่ง วามุมมองที่ไดนำ�เสนอในแตละเรื่องราวนี้ จะชวยใหผูอานเขาใจใน ความเปนเพชรบูรณมากยิ่งขึ้น รวมถึงใชเปนขอมูลเพื่อตอยอด ความคิดและการศึกษาคนควาตอไป และนอกจากนี้ยังปรารถนา อยางแรงกลาวาชาวเพชรบูรณจะเกิดความเขาใจในตัวตน และที่มา ของความหลากหลายทางวัฒนธรรม จนนำ�ไปสูความรูสึกรัก หวงแหน และตระหนักถึงคุณคาของมรดกของชาติสืบไป สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ตุลาคม ๒๕๕๙
คำ�นำ�จากสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม (๔) ๑ ขุดเหงาสาวตนตอที่มาของ “อำ�เภอวังโปง” ๘ ๒ สืบฮีต สานฮอยวัฒนธรรมไทหลม : ๒๒ ประเพณีแหปราสาทผึ้งบานทากกแก อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ๓ บุญกระธูป สรางกุศลวันออกพรรษา : ๔๖ ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ ๔ บุญซำ�ฮะ (บุญเบิกบาน) งานบุญเดือนเจ็ด : ๖๐ บานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ๕ ฟนตรุษ ตีกินขนมสงผี ๗๐ ประเพณีของคนชนชาติพันธุญัฮกุร (ชาวบน) ๖ บุญบั้งไฟผาแดง : ความเชื่อและศรัทธาของชุมชน ๘๔ สารบัญ
๗ งานบุญเดือนสิบเอ็ด ตักบาตรเทโวโรหณะ ๙๔ วัดโฆษา บานทาชาง ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ๘ “บุญเดือนหก” มนตเสนหแหงอารยธรรมลานชาง : ๑๐๖ บุญบั้งไฟบานนาทราย ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ๙ แขวนทุง (ตุง) สรงน้ำ�เจาพอ พิธีกรรมและความเชื่อ ๑๒๖ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ ๑๐ พิธีเสนเรือนไทยทรงดำ� บานลำ�ตะครอ ๑๓๖ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ ๑๑ สืบตำ�นานเรื่องเลา “กำ�ฟา ไทยพวน” ๑๕๒ ๑๒ สืบตำ�นานแมน้ำ�ปาสัก : ศรัทธาจากคนตนน้ำ� ๑๖๔ ผูสนับสนุนจัดพิมพเผยแพร ๑๘๐
8 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 9 ขุดเหงาสาวตนตอที่มาของ “อำ�เภอวังโปง” ผูชวยศาสตราจารยกมล บุญเขต ผูอำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน นายคำ� เชื้อหงษ เกิดที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๒ ดวยความยากจนและไมมีที่ทำ�กิน เมื่อเติบโตพอรูความ จึงอพยพ ครอบครัวมาอยูที่จังหวัดนครราชสีมา ทำ�มาหากินดานการเกษตร ปลูกพืชไรเปนพื้น ดวยความเปนคนมีน้ำ�ใจ อัธยาศัยดีมีลักษณะ เปนผูนำ� จึงไดรับการคัดเลือกใหเปนผูใหญบาน ชวยพัฒนาถิ่นที่อยู จนกระทั่งออกเรือนแตงงานมีลูกหลาน ครอบครัวใหญขึ้น ตอมา การทำ�มาหากินฝดเคือง จึงอพยพครอบครัวทั้งหมดมาอาศัยอยูที่ ตำ�บลพุเตย อำ�เภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๐๖ ขณะนั้นอายุ ๓๔ ป
10 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ที่พุเตย นายคำ�ไดเริ่มประกอบอาชีพคาขายอาหารประเภท ลาบ กอย ใหกับชาวบานที่อพยพมาจากภาคอีสาน ความจริงแลว การคาขายกิจการดีมากเพราะมีคนชอบฝมือการปรุงอาหาร แต นานเขาก็ตองปดกิจการเพราะชาวบานซื้อเงินเชื่อกันมาก จึงประสบ กับการขาดทุนไมมีเงินหมุนเวียน แตความอดทนตอสูกับความทุกข ยาก ก็กลับไปทำ�ไรขาวโพดพอประทังความทุกขไปไดบาง ขณะ เดียวกันไขมาลาเรียก็ระบาดอยางหนัก ผูคนลมตายกันมาก ที่มีชีวิต อยูก็ติดไขมาลาเรียกันงอมแงม ซึ่งลูกชายของนายคำ� เชื้อหงษ ก็ติดไขมาลาเรียดวยอาการเปนตายเทากัน ธรรมชาติของมนุษยยอมดิ้นรนเพื่อหาทางอยูรอด จะมีใคร เลาที่งอมืองอเทารอความตาย นายคำ� เชื้อหงษ ก็เชนเดียวกันได ตามหมอมารักษาลูกชาย คาฉีดยาขณะนั้นเข็มละ ๕๐ - ๑๐๐ บาท ตนเองคิดวาแพงมาก กวาลูกชายจะหายคงหมดตัวแนนอน จึงไป สืบถามตัวยาจากรานขายยาที่อยูในชุมชนนั้น คนขายบอกวา ยาฉีด หลอดละ ๒ บาท ตนจึงถามตอไปอีกวา รานขายยามีอุปกรณและ ตำ�ราการแพทยที่จะตรวจไขไหม คนขายบอก มี ชุดละ ๗๕ บาท “เอาไหมละตา” นายคำ�เลยซื้อมาศึกษาดวยตนเอง ๓ - ๔ เลม การฉีดยาเขากลาม ฉีดยาเขาเสน การตรวจคนไข เขาทำ�กันอยางไร ตนศึกษาจนเขาใจถี่ถวน จากนั้นจึงตัดสินใจรักษาลูกชาย ซึ่งโชคก็ เขาขาง ลูกชายหายจากไขมาลาเรียเปนปลิดทิ้ง ดวยเหตุนี้จึงทำ�ให นายคำ� เชื้อหงษ ไดเปนหมอ (เถื่อน) สมใจปรารถนา
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 11 ตั้งแตนั้นเปนตนมา นายคำ� เชื้อหงษ จึงจัดหาอุปกรณตาง ๆ พรอมไวเพื่อรักษาคนไข อาทิ เข็มฉีดยา สลิ้ง ตัวยา ตาง ๆ สมัยนั้น ราคา ๑,๘๐๐ บาท มีคนไขมารักษากันมากมาย นายคำ� เชื้อหงษ เลาวา “หากผมเก็บตังคคารักษาพยาบาลเหมือนกับหมอทั่ว ๆ ไป ปานนี้คงไดเงินไปสรางตึกแถวแลว แตผมไมเอา ผมคิดแคคายารักษา เข็มละ ๒ บาท ก็พอแลว ไมไดคิดคาแรง ถาพูดถึงการชวยชีวิตคน ชวยไวเยอะมาก ผมวาผมมีบุญนะ เดินไปทางไหนก็มีคนยกมือไหว ขนาดเวลากลางคืน ดึกแลวคนปวยจะตาย รองโวยวาย ผมก็วิ่งไป ชวยเขา บางคนชักกระตุก ตาก็ไปชวยนับคนไมถวน ผมสรางเนื้อ สรางตัวไดก็เพราะบุญกุศลของเรา นักเลงทั้งหลาย เคารพผมหมด ทุกคน” นายคำ� เชื้อหงษ กลาวดวยความสุข ขอสำ�คัญอีกประการหนึ่งคือความซื่อสัตย ซื่อตรง เราจะ ตองมี “ผมสอนลูกสอนหลานทุกคน ตองมีความซื่อสัตย ความจริงใจ และความตั้งใจ ถาเราพูดอยางไรก็ควรจะทำ�อยางนั้น อีกประการ หนึ่งอยาไปผัดวันประกันพรุง หากเราไปยืมเงินนายทุน นัดจะไปคืน เงินเขาแลวถึงเวลา เราไมมีเงินไปคืน เราตองไปบอกชี้แจงเขากอน เอาความจริงไปพูดกับเขา เราไปบอกกับเขา เขาก็เขาใจเรา แตหาก ไมไปบอก เราไปแกตัวทีหลัง มันก็ฟงไมขึ้น ผมครองตัวมาแบบนี้ ตอมาลูกหลานก็อพยพมาอยูดวยมากขึ้น ๆ” นายคำ� กลาวดวย ความอิ่มเอิบที่เลาเรื่องราวอันเปนแกนสารใหผูเขียนทราบ
12 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วันหนึ่งมีญาต ิ ๆ กันมาชักชวนใหไปอยูวังโปง นายคำ� เชื้อหงษ จึงหาเวลาวางขึ้นมาสำ�รวจดูบานเมือง เห็นวาอุดมสมบูรณดี ผัก ปลามีเยอะแยะ น้ำ�ทาดี จึงตัดสินใจกลับพุเตยประกาศขายที่ในตลาด โดยมีจุดมุงหมายที่วังโปง ซึ่งเปนการอพยพครอบครัวอีกครั้งเมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๐๘ “วังโปง” สมัยที่นายคำ� เชื้อหงษ มาอยูใหม ๆ มีแตปาเขา ถนนหนทางไมมี ทางลอ ทางเกวียนของพอคาจากโรงเลื่อยที่ชนแดน มีพอเปนรองรอยของเสนทาง ที่มีแตโคลนกับฝุนสลับกันตามฤดูกาล กองไมของโรงเลื่อยชนแดนกองเปนพะเนินเทินทึก ไมมีผูใหญบาน ไมมีนักปกครอง ไมมีผูนำ� นาน ๆ จะมีเพียงตำ�รวจเขามาพลิกศพ กรณีมีคนยิงกันตาย ซึ่งตำ�รวจเองก็ไมกลาเขามานากนัก เพราะกลัว โจรผูราย นักเลงหัวไมมีมาก อยูกันแบบบานปาเมืองเถื่อน ทาง การเขาไมถึง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 13 แรกเริ่มมีคนภาคอีสานมาปลูกบานอยูประมาณ ๓ - ๔ ครัวเรือน ขางบานของนายคำ�จะมีตนยางที่ยืนตนโต มีคนมาตัก น้ำ�มันยางไปขายเปนประจำ�ประมาณ ๔ - ๕ คน รอบ ๆ บริเวณ เปนปาทึบ มืดครึ้ม ออกจากปาจึงจะเจอแสงแดดและดวยเหตุนี้ ไขมาลาเรียที่นี่จึงชุกชุมไมแตกตางอะไรกับวิเชียรบุรีที่ตนเคยอยู การสัญจรสมัยนั้นมีแตเดินเทา แหลงชุมชน สินคาตาง ๆ ของกินของใชอยูที่ตำ�บลชนแดน ขณะนั้นขึ้นกับอำ�เภอเมืองเพชรบูรณ จะไปตลาดก็ตองเดินหรือไมก็รอโดยสารกับรถลากไมที่จะไปชนแดน ปกติไป - กลับ ไมนอนคาง กลับบานก็ประมาณ ตี ๑ ตี ๒ กรณีที่ จะตองคางคืน คือการไปหานายทุน ไปหาน้ำ�ปลา น้ำ�มัน ยารักษาโรค และของอื่น ๆ ที่จำ�เปน อยูคางคืนเพื่อหาของใหครบตามความ ตองการ พื้นที่การเกษตร อำ�เภอวังโปง
14 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สภาพความอุดมสมบูรณของปาไมและสิ่งแวดลอมในสมัย นั้นดีมาก ผักปลาชุกชุมหากินงายแทบจะเอามือจับเอาในคลอง เอา แหมาทอดไดปลามากมาย บนบกมีสัตวปานานาชนิด อาทิ หมูปา เกง กวาง ไกปา เขาปาหรือออกเดินทางจะพบสัตวปาวิ่งผานไป ผานมาอยูเสมอ ในป พ.ศ. ๒๕๑๑ ผูกอการรายคอมมิวนิสต (ผกค.) กำ�ลัง ดำ�เนินนโยบายแยงชิงประชาชน ตั้งกองบัญชาการอยูบนภูเขา เอา ปนใหญมาถลมแถว ๆ หมูบานดวยความสำ�คัญวาชาวบานที่อยูละแวก นี้เปนสายใหทหาร ผกค. เขามาในหมูบานไมทำ�รายใครเปาหมาย คือทางราชการ แลเห็นเสบียงกรังที่พกติดตัวมาเปนขาวตมมัดตัด แบงกันกิน ผืนนา ในอำ�เภอวังโปง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 15 วิชาหมอ (เถื่อน) ที่ติดตัวนายคำ� เชื้อหงษ มานั้นยังประโยชน ใหกับชาวบานเปนอยางยิ่ง ชาวบานศรัทธาความรูความสามารถของ นายคำ�เปนอยางมาก เพราะชาวบานที่มาตั้งรกรากคอย ๆ เจริญขึ้น จนมีสมาชิก ถึง ๓๕ ครัวเรือน ลวนเปนไขมาลาเรียและไดรับการ รักษาจากนายคำ� ทั้งสิ้น แนนอนเหลือเกินที่คนในหมูบานจึงเชื่อถือ ใหความเคารพศรัทธาตอนายคำ�เปนอยางยิ่ง ความที่เคยเปนผูใหญ บานมากอนจึงพาชาวบานทำ�ถนนหนทาง จัดวางผังเมืองวางตรอก ซอกซอยเปนอยางดี ซึ่งชาวบานก็ใหความรวมมือ ทั้งขุด ถากถาง สรางถนน ทางเดิน ใครมีรถก็เอามาชวยกัน ใครไมมีก็ใชกำ�ลัง เรียกวา ชี้นกเปนนกชี้ไมเปนไมก็วาได ขณะเดียวกัน ผกค. ที่เขา ๆ ออก ๆ ในหมูบานนั้น ทางการ ก็สงกำ�ลังทหารเขามาปราบปรามและ นายคำ� เชื้อหงษ ก็ถูก พวกทหารเพงเล็งวาเปนแกนนำ� ผกค. ดวยเห็นผังเมืองดังกลาว แลว นายคำ� ปฏิเสธขอกลาวหาและบอกกับพวกทหารวาตนเปน ประชาธิปไตยไมใชคอมมิวนิสต “ผมเคยเคยเปนผูใหญบานมากอน จึงนำ�พาพวกพี่นองที่อพยพมาจากภาคอีสาน พิจิตร ลพบุรี หลมสัก จัดทำ�วางผังหมูบาน ผมไมใชคอมมิวนิสต” นายคำ� กลาว ทางฝาย ทหารหาเชื่อฟงเหตุผลไม กลับยิงปนใหญถลมแถว ๆ หมูบาน ลูกปน ตกตรงนั้นตรงนี้จนชาวบานระอาและคอย ๆ ยายหนีไป จนเหลือ ประมาณ ๒๐ หลังคาเรือน ดวยเหตุนี้นายคำ� เชื้อหงษ เห็นความเดือดรอนของชาวบาน ทนไมได จึงออกอุบายโดยพาชาวบานไปพบทหาร หอบขาวของไป ฝาก มีปลา ไก ของปา ตามแตจะหาได นายคำ�กำ�ชับวา เมื่อ ถึงคายทหาร หากใครถูกถามวาใครพามาใหบอกวาเราพรอมใจกัน
16 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ มาไมมีใครเปนผูนำ� เพราะหากบอกวาใครเปนผูนำ�จะถูกเก็บ และ ความจริงก็เปนดั่งที่นายคำ� คาดการณเอาไว เมื่อไปถึงทหารก็ถูกถามวา มาทำ�ไม ใครพามา ชาวบานก็ ตอบตามที่นัดหมายกันไว แลวชวยกันอธิบายวา “พวกผมมาจาก บางวังอีมอม (ปจจุบันคือบานวังไทรทอง) ที่มานี้เพราะเดือดรอน ลูกเล็กเด็กนอยตกใจลูกปน จะตายกันหมดแลวขอใหทหารเขาใจ ชีวิตของชาวบาน พวกผมเอาของกินมาฝาก และโปรดหันกระบอก ปนใหญไปทางอื่น ผกค.มันอยูบนเขาโนน พวกผมเปนชาวบานไมใช ผกค.” การเรียกรองของชาวบานไดผลทหารสั่งหยุดยิง ๑๐ วัน หลังจาก ๑๐ วัน ก็ยิงตอแตยิงไปทางอื่นโดยเปลี่ยนพิกัดใหม ตอมาทหารชุดนั้นเปลี่ยนกำ�ลังพล มีทหารชุดใหมมาจาก ทหาร (หมวกแดง) ในชวงนั้นนายคำ� เชื้อหงษ อยากทำ�ถนนหนทาง ทางทหารถามวารูจักคนมีรถไถไหม นายคำ�บอกวามีจะเอาอะไรใหบอก ผมยินดีชวยเหลือทุกอยาง หัวหนาชุดหมวกแดงภานุพงษ พรหมโท จึงสนิทสนมกับชาวบานมากขึ้น รวมมือกันทำ�ถนนและไดขอรองให กำ�นัน ผูใหญบานหาลูกรังมาใสถนน ทหารก็มาชวยทำ�ทางตอโดยมี รถแทรกเตอร เครื่องยนตหนักมาชวย ตอมา ผกค. มายิงรถ มา วางระเบิด จึงชวยกันสอดสองโดยจัดเวรยามชวยกันดูแล ป พ.ศ. ๒๕๑๓ ทางการเขามาประชุมหารือเกี่ยวกับความ ทุกขสุขของราษฎร ตนเองเสนอตอที่ประชุมวาอยากมี โรงเรียน แตดวยภาวะความไมพรอมตาง ๆ จึงไมไดรับการสนับสนุนจากภาค รัฐ ประกอบกับความรุนแรงของผูกอการรายที่มีความเขมขนมาก
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 17 ขึ้น เกิดความเสียหายมากที่สุดป ๒๕๑๙ ประเด็นการตั้งโรงเรียน ยังอยูในใจเสมอ สวนราชการยื่นเงื่อนไขวาหากมีโรงเรียนแลวจะ เอาครูที่ไหนมาสอน นายคำ�ตอบวา “ผมมีปญญาหาครูมาสอนได ลูกชายของผมและลูกชายของชาวบานก็เรียนจบปริญญาตรี ผมขอ เพียงใหมีอาคารเรียน กันแดดฝนก็พอ ลูกหลานจะไดมีสถานที่เรียน หนังสือ” ความหวังของนายคำ� เชื้อหงษ สลายไปจนคิดวาไมมี โอกาสจะมีโรงเรียนใหบุตร - หลาน ไดเรียนหนังสือแลว จนกระทั่งป พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดเริ่มกอตั้งหมูบาน ตนเองออกวิ่งเตน ขอตั้งชื่อหมูบาน ก็ไมไดเพราะโรงเรียนไมมี เงื่อนไขสำ�คัญคือตองมีโรงเรียนกอน นายคำ�จึงพาชาวบานรวมตัวกันสรางอาคารเรียนแลวไปขอครูมาสอน ก็ไมมีใครคิดจะสอนตนจึงเอาพระในวัดมาสอน การตอสูกับความ ทุรกันดารมิไดหยุดแตเพียงนั้น ตอมาสวนราชการเห็นความสำ�คัญ จึงจัดครูลงมาสอนที่โรงเรียนแหงแรกคือโรงเรียนคลองน้ำ�คัน เปนอันวาหมูบานมีโรงเรียนสมความตั้งใจแลว วันหนึ่งมีการประชุมประชาชนในหมูบาน ประธานในที่ ประชุมคือผูวาราชการจังหวัดเพชรบูรณขณะนั้นคือนายจำ�เนียร ปฏิเวชวรรณกิจ ไตถามสารทุกขสุขดิบแบบเดิม ชวงทายของการ ประชุมทานผูวาราชการจังหวัดเปดโอกาสใหชาวบานไตถามแบบ อิสระ นายคำ� เชื้อหงษ จำ�ไดวาตนเคยไปรวมประชุมกับหมูบานอื่น ที่ขอตั้งหมูบานไดสำ�เร็จไดงบประมาณสนับสนุนไปหลายหมูบาน แลว สวนที่วังโปงยังไมมีหมูบานเปนทางการเลย จะทำ�อะไรก็ยาก ตนจึงลุกขึ้นแจงความประสงคขอตั้งหมูบานกับทานผูวาราชการ
18 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จังหวัด นายคำ� เชื้อหงษ กลาววา “ขอประทานโทษครับ ทานผูวาฯ ที่ทางการจะชวยเหลือ ผมวา ผมพอเลี้ยงตัวได เลี้ยงชีพได ทำ�การ เกษตร แตวามันมีอยูขอหนึ่งที่จะใหทานชวยเหลือ เพราะวาหมูบาน ของผมนี้ ยังไมมีสิทธิ์ที่จะเปนหมูบาน มันไมมีทางที่จะติดตอราชการ ไดสะดวก” ขณะนั้นมีปลัดคนหนึ่งลุกขึ้นพูดวา “ลุงจะมาขอตั้งหมูบาน ขึ้นงาย ๆ อยางนี้ไมไดหรอก ขนาดอำ�เภอหลมสัก บานสักงอย มา ขอตั้งหมูบาน ตั้งหลายปยังไมไดเลย นายคำ� โตกลับอยางทันควัน” “ขอประทานโทษครับทานปลัดนี่มันไมเกี่ยวกับอำ�เภอหลมสัก นี่มัน อำ�เภอชนแดน อำ�เภอชนแดนผมรูนะเขาตั้งหมูบานภายในหนึ่งป ตั้ง ๒ - ๓ หมูบาน ไมไดอยูในเขตกันดารดวย พวกผมอยูในปาดง เขตกันดารทางการนาจะสงเสริม” ทานผูวาราชการจังหวัดจึงใหปลัด ทานนั้นนั่งลง ภายหลังการประชุมผูวาฯ ไดสนทนากับนายคำ� เชื้อหงษ อีกนานประเด็นเกี่ยวกับการตั้งหมูบาน และในเดือนพฤศจิกายนปเดียวกัน ก็ตั้งหมูบานสำ�เร็จโดย ทางการใหการสนับสนุนตามคำ�ที่ผูวาราชการจังหวัดรับปากไว ซึ่ง ตอนแรกตั้งชื่อวา บานวังอิมอม ตอมานายคำ� ไดประชุมชาวบาน ถนนหมูบานในอำ�เภอวังโป่ง (ปัจจุบัน)
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 19 ถนนหนาที่วาการในอำ�เภอวังโปง (ปจจุบัน) หารือถึงชื่อบานที่เปนมงคล วังอิมอม บางคนก็ออกเสียงไปในทาง หยาบโลน ฟงแลวไมเปนมงคล จากการประชาคมชาวบานจึงตั้งชื่อ ใหมใหเหมาะสมคือ วังไทรทอง โดยมีความหมายวา วัง คือ วังน้ำ� ที่ใสสะอาด หรือ วัง คือ สถานที่ที่พระเจาแผนดินอยู ไทร คือ ตนไทร ที่นกหนูมาพำ�นักพักพิง ทอง คือ การพลิกผืนดินใหเปนเงินเปนทอง นั่นเอง หลังจากไดชื่อบานวังไทรทองแลว ก็ทำ�บุญเปดปาย ซึ่งได รับความรวมมือจากชาวบานเปนอยางดี หลังจากป ๒๕๒๕ เปนตนมา กระบวนการของลัทธิ คอมมิวนิสตก็ถูกทางการปราบปรามจนสำ�เร็จ ที่ตำ�บลวังโปงก็สงบ ลง ทำ�ใหประชาชนเขามาทำ�มาหากินกันมากขึ้นจนทุกวันนี้ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๒๖ ทางการไดจัดตั้งกิ่งอำ�เภอ วังโปงขึ้น โดยโอนพื้นที่ตำ�บลวังโปง ตำ�บลทายดง และตำ�บล ซับเปบ จากอำ�เภอชนแดนตั้งที่วาการอำ�เภอกิ่งอำ�เภอที่บานวังโปง ขึ้นการปกครองกับอำ�เภอชนแดนไดรับการยกฐานะเปนอำ�เภอเมื่อ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๓
20 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จากความมุงมั่นของชายคนหนึ่งที่ตอสูกับความยากลำ�บาก ฝาฟนอุปสรรคทั้งปวงจนเปนบานเปนเมืองเจริญมาทุกวันนี้ คงไม พนความแกรงกลา ตั้งใจ และมุงมั่นที่จะทำ� การทำ�งานอยางมีแผน แนวคิดที่ดีประกอบกับความซื่อสัตย สุจริต ไมหวังลาภยศ รูจริง ทำ�จริงและการมีสวนรวมของประชาชน ทำ�ใหอุปสรรคตาง ๆ ผาน พนไป ถึงแมจะวิกฤตเพียงใดก็ตาม การประพฤติดีปฏิบัติชอบของ นายคำ� เชื้อหงษ สมควรที่ลูกหลานจะนำ�มาเปนเยี่ยงอยางในการ ดำ�เนินชีวิตตอไป ตลาดในอำ�เภอวังโป่ง (ปัจจุบัน)
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 21 บรรณานุกรม ภูมิศาสตร - ประวัติศาสตร จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : โรงพิมพ ดีดีการพิมพ, ๒๕๔๙. ๑๙๔ หนา. คำ� เชื้อหงษ. อายุ ๘๖ ป บานเลขที่ ๑๘๒ หมู ๗ ตำ�บลซับเปบ อำ�เภอ วังโปง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๘.
22 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 23 สืบฮีต สานฮอยวัฒนธรรมไทหลม : ประเพณีแหปราสาทผึ้งบานทากกแก อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ จากคำ�บอกเลาของปู ยา ตา ยาย แถบอำ�เภอหลมสักและอำ�เภอ หลมเกา ทราบวา บรรพบุรุษของตนเองเปนคนลาวที่อพยพมาจาก เมืองหลวงพระบางและเมืองเวียงจันทน สืบเนื่องมานานนับรอยป โดยลัดเลาะลงไปทางใตตามลำ�แมน้ำ�โขง ขามเขตเทือกเขาลงมา ยังที่ราบลุมแมน้ำ�ปาสักตอนบนเหนือเมืองเพชรบูรณ ทำ�ใหชาวไท หลมมีวัฒนธรรมเหมือนกับชาวลาวสองฝงโขงทุกประการ ทั้งนี้รวม ไปถึงศิลปวัฒนธรรมและ วิถีการดำ�เนินชีวิต ตลอดจนคานิยม ความเชื่อ จารีต ประเพณี พิธีกรรมและภูมิปญญาของคนในชุมชน ประเพณีของทองถิ่นก็จะเปนตามแบบฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ซึ่งถือเปน ขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ปฏิบัติสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษจน ถึงปจจุบัน ผูเขียน นิภา พิลาเกิด สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
24 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ประเพณีแหปราสาทผึ้ง เปนประเพณีหนึ่งในฮีต ๑๒ ซึ่งจะ จัดในชวงหลังออกพรรษา เปนความเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับพิธีกรรมทาง พุทธศาสนา ซึ่งไมปรากฏหลักฐานแนชัดวาเริ่มตั้งแตเมื่อใด แตอยางใด ก็ตามตำ�นานเรื่องหนองหาน (สกลนคร) กลาวไววาในสมัยขอมเรือง อำ�นาจและครองเมืองหนองหาน ในแผนดินพระเจาสุวรรณภิงคาราช ไดโปรดใหขาราชบริพารทำ�ตนผึ้งหรือปราสาทผึ้งในวันออกพรรษา เพื่อแหคบงันที่วัดเชิงชุม (วัดมหาธาตุเชิงชุมวรมหาวิหาร) จากนั้น เมืองหนองหานจึงไดจัดงานแหปราสาทผึ้งเปนประจำ�ติดตอกันทุกป (สำ�นักคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ อางถึงในปรีชา ดาวเรือง, ๒๕๕๔) นอกจากนี้ยังมีความเชื่อตามตำ�นานเรื่องหนึ่งวา ในสมัย พุทธกาล เมื่อพระพุทธเจาเสด็จไปจำ�พรรษาเปนปที่ ๗ บนสวรรคชั้น ดาวดึงสประทับที่บัณฑุกัมพลศิลาอาสน ทรงแสดงอภิธรรมปฏิกรณ แกพุทธมารดาเปนการตอบแทนพระคุณจนกระทั่งบรรลุโสดาบัน ครั้นถึงในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ ซึ่งเปนวัน “มหาปวารณาออก พรรษา” พระพุทธองคกำ�หนดเสด็จสูเมืองมนุษย พระอินทรจึง เนรมิตบันไดขึ้น ๓ ชนิด คือ บันไดทองคำ� อยูเบื้องขวาสำ�หรับทวย เทพเทวดา บันไดเงิน อยูเบื้องซายสำ�หรับพระพรหม และบันได แกวมณี อยูตรงกลางเพื่อใหพระพุทธองคเสด็จ เชิงบันไดทั้ง ๓ นี้ ตั้งอยูประตูเมืองสังกัสสนครในโลกมนุษยสวนหัวบันไดอยูที่เขา สิเนรุราชบนสวรรคชั้นดาวดึงส กอนเสด็จลงพระพุทธเจาประทับ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 25 ยืนบนยอดเขาสิเนรุราชเพื่อทรงทำ� “โลกนิวรณปาฏิหาริย” โดยทรง แลดูเบื้องบนปรากฏมีเนินเปนอันเดียวกันถึงพรหมโลก ทรงแลดู ขางลางก็ปรากฏมีเนินเปนอันเดียวกันถึงอเวจีนคร ทรงแลดูรอบ ทิศจักรวาลหลายแสนโกฎิก็ปรากฏเปนเนินเดียวกัน (หมายถึงสวรรค มนุษยและนรกตางมองเห็นซึ่งกันและกัน) จึงเรียกวันนี้วา “วัน พระเจาเปดโลก” ครั้นแลวพระพุทธองคเสด็จลงทางบันไดแกวมณี ทาวมหา พรหมกั้นเศวตฉัตร บรรดาเทวดาลงบันไดทองคำ�ทางเบื้องขวา มหาพรหมลงทางบันไดเงินเบื้องซาย มีมาลีเทพบุตรถือดอกไมของ หอมติดตาม ครั้นเสด็จถึงประตูเมืองสังกัสสนคร ทรงประทับ พระบาทเบื้องขวาลงกอน นาคมนุษยและเปรตนรกตางก็ชื่นชมปลื้ม ปิติในพระพุทธบารมีเกิดความเลื่อมใสในบุญกุศลจนเกิดจินตนาการ เห็นปราสาทสวยงามใครจะไปอยู จึงรูชัดวาการที่จะไดไปในอยู ปราสาทอันสวยงามนั้น ตองสรางบุญกุศลประพฤติปฏิบัติในศีลธรรม อันดี ทำ�บุญตักบาตรสรางปราสาทกองบุญนั้นในเมืองมนุษยเสียกอน จึงจะไดไปอยู จากนั้นเปนตนมาผูมีจิตศรัทธาในพระพุทธศาสนา จึงพากันคิดสรางสรรคทำ�บุญปราสาทใหมีรูปรางเหมือนวิมานบน สวรรค มีลวดลายวิจิตรสวยงามตามกาลสมัยสืบตอมา ซึ่งถือวา เปนการสรางปราสาทผึ้งสำ�หรับรับเสด็จพระพุทธเจาเมื่อเสด็จมา ยังโลกมนุษยไปสูที่ประทับ (สำ�ลี รักสุทธิ, ๒๕๕๓)
26 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชุมชนบานทากกแก ซึ่งเปนชุมชนหนึ่งที่ตั้งอยูในอำ�เภอ หลมสัก ที่ใหความสำ�คัญกับประเพณีแหปราสาทผึ้งเปนอยางมาก นิยมจัดขึ้นชวงหลังออกพรรษา โดยจัดพรอมกับการทอดกฐินในชวง ตั้งแตกลางเดือน ๑๑ จนถึงเดือน ๑๒ ในระหวางวันออกพรรษาสาม วันนั้นผูคนจะพากันเฉลิมฉลอง จุดพลุ จุดไฟประทีปที่ทำ�ดวย น้ำ�มันมะพราว มีไสที่ฝนเปนรูปตีนกา การจุดประทีปนั้นเดิมเรียกวา ไตสังคทีป เพี้ยนมาจากคำ�วา ไตผางประทีป จุดบูชาที่หนาบานเรือน ของตนตลอดระยะเวลาสามคืน และก็พากันนำ�ดวงประทีปนั้นมา จุดบูชาที่บริเวณรอบสิมอุโบสถและพระธาตุเจดียของวัดเชนเดียว กับประเพณีแหตนดอกผึ้ง หรือตนดอกเผิ้ง หรือปราสาทผึ้งที่จะจัด ขึ้นหลังประเพณีออกพรรษา ในชวงบุญกฐินการถวายตนดอกผึ้ง หรือปราสาทผึ้ง เกิดจากการไปเอาขี้ผึ้งมาเพื่อที่จะเอามาถวาย พระสงฆเพื่อที่พระสงฆจะไดนำ�ขี้ผึ้งมาทำ�เปนเทียน แทนที่จะนำ�มา ถวายเปนกอนโดยนำ�มาทำ�เปนรูปดอกไมประดับประดาใหสวยงาม สาเหตุที่ทำ�เปนรูปหอ รูปปราสาทก็เพราะทำ�ใหเหมือนเปนบาน เปน ที่อยูอาศัย โดยมีคติอยู ๒ อยาง คือถวายเปนพุทธบูชาเพื่ออานิสงส จะไดกับตัวเรา ตายไปจะไดมีที่อยูอาศัย อีกนัยหนึ่งก็คือ ทำ�ใหคน ที่ตายไปแลว เพื่ออุทิศใหเปนอานิสงสแกผูตาย คลายกับการทำ�บุญ แจกขาว ซึ่งในอดีตก็จะมีการถวายตนดอกผึ้ง หรือ ปราสาทผึ้ง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 27 การถวายตนผึ้ง หรือตนดอกเผิ้ง ในอดีตนั้น ชาวบานจะมา รวมตัวกันที่บานเจาภาพ โดยไมระบุวาเจาภาพจะตองเปนผูนำ�ชุมชน หรือไม เพียงแคบานใครมีงานชาวบานก็จะมารวมตัวกัน เพื่อชวยกัน ตกแตงตนผึ้ง ความวิจิตรของตนผึ้งนั้น จะงามมากหรือนอยขึ้นอยู กับฝมือของคนในทองถิ่น หากมีฝมือมากก็จะตกแตงสวยงาม โดย มีการแทงหยวก มีการทำ�ดอกผึ้งใหสวยงามประดับกับตัวหอ หรือ ปราสาทที่ทำ�จากตนกลวยหรือโครงไมไผที่ทำ�เปนรูปสามเหลี่ยมทรง ปราสาทหุมดวยกาบกลวย เสร็จแลวก็พากันแหไปถวายวัดตาง ๆ ที่ ตนเคารพนับถือ สมัยโบราณเรียกวา “การทอดตนดอกผึ้ง” เดิน ทางกันไปทางเรือตีกลองเปาแคนแหแหนกันไปอยางสนุกสนาน ตามลำ�น้ำ�ปาสัก แลวนำ�ไปทอดที่วัดที่ตนเองนับถือ ชาวบานแหตนผึ้งดวยความสนุกสนาน
28 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๐๐ เริ่มมีการสรางถนน ผูคนใน หมูบานไมใชเรือเปนพาหนะในการเดินทาง เรือจึงถูกลดความสำ�คัญ ลง การทอดตนดอกผึ้ง จากที่เคยแหแหนไปทางเรือก็กลายเปนนำ� ตนผึ้งแหไปตามถนนแลวนำ�ไปทอดที่วัด การจัดงานประเพณีแหปราสาทผึ้งของบานทากกแก ไดรับ ความรวมมือจากเทศบาลตำ�บลตาลเดี่ยว สภาวัฒนธรรมจังหวัด เพชรบูรณ และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ โดยเทศบาลตำ�บล ตาลเดี่ยว ไดใหความสำ�คัญกับประเพณีแหปราสาทผึ้งบานทากกแก เปนอยางมาก โดยไดบรรจุไวในแผนงานของเทศบาลและจัดสรร งบประมาณในการดำ�เนินงาน ป พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ�นวน ๕๐,๐๐๐ บาท รวมไปถึงชาวบานบานทากกแกที่รวมกันบริจาคเงินตามกำ�ลังศรัทธา ในการจัดงานประเพณีแหปราสาทผึ้ง สภาวัฒนธรรมจังหวัดเพชรบูรณ ใหความรวมมือในเรื่องของการประชาสัมพันธงานประเพณี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณใหความรวมมือในเรื่องของการจัด เก็บองคความรูในดานตาง ๆ เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงานของวัด และของหมูบาน ขั้นตอนการเตรียมงาน การเตรียมงาน กอนวันจัดงานชาวบานจะมารวมตัวกันที่วัด แลวแบงหนา ที่กันตามความเหมาะสม กลุมผูใหญบานกำ�นัน อบต. และแรงงาน ผูชาย จะชวยกันจัดสถานที่ เชน ขนโตะเกาอี้ ติดตั้งเต็นท ซุมอาหาร ประดับไฟตกแตงสถานที่ สวนกลุมชาวบานที่เปนผูหญิงก็จะรวม กันจัดเตรียมของที่จะใชในงาน เชน ทำ�ดอกผึ้งตกแตงปราสาทผึ้ง ขันหมากเบ็ง ตกแตงสถานที่ ทำ�ขาวปลาอาหารไวเลี้ยงกัน เปนตน
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 29 อุปกรณและการตกแตงตนผึ้ง ตนผึ้งแบบโบราณของวัดทากกแก ทำ�โดยการนำ�เอาขี้ผึ้งแท มาตมใหละลาย นำ�แมพิมพที่ทำ�จากมะละกอดิบแกะสลัก ลูกสบูดำ� และลูกโพธิ์ศรีมาจุม หรือเรียกวา “จ้ำ�” ภาษาทองถิ่นเรียกวา “จ้ำ� ดอกผึ้ง” ลงไปในน้ำ�ขี้ผึ้งที่เคี่ยว แลวจุมลงในน้ำ�เย็นเพื่อใหขี้ผึ้งที่ แข็งตัวหลุดออกจากแมพิมพจะไดดอกผึ้งที่สวยงามตามความตองการ ทำ�เปนดอกผึ้งเอามาประกอบเปนตนผึ้ง ตนเล็กเรียกวา ตนผึ้งนอย ตนใหญเรียกวาตนผึ้งใหญหรือปราสาทผึ้ง การตกแตงตนผึ้งที่นอก จากจะมีดอกผึ้งแลวยังมีขาวของเครื่องใชอื่น ๆ ที่ชาวบานนำ�มา ตกแตงไมวาจะเปนการนำ�เอาขมิ้นมาปอกแลวหันเปนชิ้นเล็กเพื่อทำ� เปนเกสรดอกผึ้ง และขาวตอกมารอยเปนสายเพื่อใชในการตกแตง ตนผึ้ง ชาวบานชวยกันทำ�ดอกผึ้ง
30 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ตนปราสาทผึ้งมีหลากหลายรูปแบบ ขนาดก็ตางกันตามความ เลื่อมใสศรัทธาของชาวบาน บานทากกแกนิยมพระธาตุสี่เหลี่ยม รูปทรงมณฑป ชาวบานมีความเชื่อเกี่ยวกับการบริจาคของเพื่อการ ทำ�บุญในพิธีกรรมนี้ การถวายเทียนก็คือ แสงสวางที่จะนำ�ทางชีวิต ใหรุงเรือง หากถวายยารักษาโรค ตนก็จะหางไกลโรคภัยไขเจ็บ และ หากถวายเปนปจจัยก็เชื่อวาจะมั่งมีศรีสุขดวยเงินทอง เปนตน ตนผึ้งของแตละหมูบาน
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 31 รูปแบบการจัดงานประเพณีแหปราสาทผึ้ง เวลาประมาณ ๑๗.๐๐ น. ชาวบานที่จะรวมขบวนแหปราสาท ผึ้งจะมารวมตัวกันที่หนาบานผูใหญ หมู ๘ แตก็จะมีบางบานที่จะตั้ง ขบวนรอรับขบวนแหปราสาทผึ้งที่ดานหนาคุมบานของตน ในขบวน แหนี้ จะมีวงดนตรีพื้นบานประกอบดวยกลองปง กลองหาง ฉาบ ฉิ่ง แคน และอาจมีพิณ รวมดวยบรรเลงแหไปในขบวนโดยมีแขก ผูมีเกียรติ หนวยงานราชการ พอคาประชาชน ผูเฒาผูแก หนุมสาว และเด็ก ๆ รวมฟอนรำ�ในขบวนอยางสนุกสนานในขบวนแหชาวบาน จะถือประทีปสองใหเกิดแสงสวางในระหวางการเดินทางและเพื่อ เปนองคประกอบที่สวยงาม นอกจากปราสาทผึ้งของแตละคุมบาน แลว ยังมีขบวนแหของกลุมเจาพอเจาแมจากบานวังบาล ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มารวมงานดวย ขบวนแหตนผึ้ง
32 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อหัวขบวนแหปราสาทผึ้งเริ่มเขาถึงเขตวัดทากกแก จะมี พิธีกรกลาวตอนรับขบวน ซึ่งชาวบานที่มารวมงานจะนั่งเรียงราย กันอยางหนาแนน ขบวนแหจะเดินแหไปรอบโบสถและสิมหลังเกา ๓ รอบ เมื่อแหจนครบ ๓ รอบ ก็จะนำ�ปราสาทผึ้งไปวางเรียงกันที่ ดานหนาโบสถและสิมเกา สวนชาวบานที่ถือประทีปมาเพื่อนำ�ไปวาง ที่รานประทีปรอบ ๆ โบสถและสิมเกา จากนั้นขบวนก็แยกยายกันไป นั่งเกาอี้ที่ไดจัดเตรียมไว ชาวบานรวมขบวนแหตนผึ้ง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 33 เมื่อทุกอยางพรอมเพรียงกันแลว ก็จะนิมนตพระเทศนา อานิสงสของการถวายตนผึ้ง ซึ่งเรียกขั้นตอนนี้วา “สัมโมทนียกถา แหงการถวายตนผึ้ง” ในชวงบายชาวบานจะแตงกายในชุดพื้นบาน โดยชายนุงโสรง ใสเสื้อขาวหมผาสไบ เดินทางไปรับตนผึ้งของตน ที่ตกแตงไวแลว ในบริเวณลานวัดซึ่งถูกตกแตงไวแลวจะคลาคล่ำ�ดวย รานรวงที่ขายขาวของตาง ๆ และมีอาหารพื้นบานไวบริการตอนเย็น เวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. หลังจากที่พระภิกษุสงฆสัมโมทนียกถา เสร็จเปนที่เรียบรอยแลว มัคนายกก็นำ�กลาวคำ�ถวายตนผึ้งซึ่งถือ วาเปนการบูชาและเปนการขอขมาพระรัตนตรัยเพื่อใหเกิดสิริมงคล แกตนเองและหมูคณะ พระเทศนาอานิสงสของการถวายตนผึ้ง คำ�ถวายตนดอกผึ้ง “อิมานิ มะยัง ภัณเต มธุปุพพะปาสาทะ อภิปูชยามะ” ขาพเจาขอถวายบูชายังตนดอกผึ้งแกพระพุทธเจา พระสถูป รูป พระเจดียพระศรีมหาโพธิ์และเทพยดาอันรักษาวัดวาอารามแหงวัด ทากกแกนี้ขอความผาสุขความเจริญจงบังเกิดมีแกฝูงขาพระพุทธเจา ทั้งหลายดวยเทอญ (พระสมุหไพศาล ภทฺรมุณี, ๒๕๕๗) หลังจาก ที่กลาวคำ�ถวายตนผึ้งเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว ก็จะเปนการกลาว เปดงานโดย ดร. วิศัลย โฆษิตานนท ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด เพชรบูรณ
34 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูบาวเปาแคน กิจกรรมในงาน จำ�ลองวิถีชีวิตของไทหลม ผูบาวเปาแคน ผูสาวเข็นฝาย เนื่องจากวิถีการดำ�เนินชีวิตของผูหญิงไทหลม หลังจากวางเวนการ ทำ�งานในไรในสวน ผูหญิงจะตองเข็นฝายเพื่อนำ�ไปทอผา หรือที่ เรียกวาตำ�หูก โดยมีความเชื่อวาหากลูกสาวบานไหนทอผาไมเปนก็ จะไมไดออกเรือน และการทอผาสมัยกอน มักนิยมทอกันใตถุนบาน ผูบาวสมัยกอนตองการจะจีบลูกสาวบานไหนก็นิยมที่จะเปาแคนไป เพื่อบอกความในใจโดยเสียงเพลง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 35 การแสดงเส็งกลองหาง เปนอีกหนึ่งเอกลักษณไทหลม ในเทศกาลเส็งกลอง ลองโคมไฟ ไหวพอขุนผาเมือง การเส็งกลอง หางเกิดขึ้นเมื่อใดไมมีใครทราบ เพราะแตเดิมกลองเส็งโบราณจะ ตีกลองคูหรือกลองกิ่งเปนกลองสองหนา สำ�หรับกลองหางนั้น มี ไวสำ�หรับแหกองบุญกองทานตาง ๆ ยามวางหลังกิจกรรมดังกลาว เจาของกลองคงคิดอยากประลองเสียงกัน จึงตีประชันขันแขงกันขึ้น ตีเปนยก ๆ สลับกันไปมา กรรมการก็จะตัดสินจากเสียงกลองวาลูก ไหนดังดีและไพเราะกวาก็เปนผูชนะ สาวเข็นฝาย
36 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การแสดงฟอนกลองโบราณ การฟอนรำ�มีมานานตั้งแตสมัยโบราณ ซึ่งจะจัดใหการฟอนรำ� เนื่องในโอกาสพิธีการงานบุญสำ�คัญ เพื่อเปนการตอนรับแขกบาน แขกเมือง การฟอนจะตั้งขบวนเปนแถวและฟอนรำ�ตามเสียงจังหวะ กลองปง พรอมกับเครื่องดนตรีที่รวมบรรเลง กลองหาง ฉาบ ฉิ่ง แคน และอาจมีพิณ แตเดิมนั้นการฟอนไมมีแบบแผนอะไรมากมาย โดยการนำ�ลูกหลานทั้งชายและหญิงมาแตงกายแบบพื้นบานไทหลม ผูหญิงนุงผาซิ่นมีหัวมีตีนซิ่นแบบโบราณ ผูชายนุงกางเกงบางนุง โสรงบางผาขาวมาคาดเอวและโพกศีรษะ ตอมาเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๐ มีผูที่ชำ�นาญในการฟอนรำ�ชาวผูไทจากจังหวัดกาฬสินธุ มาชวยฝกสอนใหลูกหลานบานทากกแก จึงสามารถฟอนรำ�จังหวะ แบบผูไทตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา เรียกไดวาหนุมสาวบานทากกแก เมื่อสมัยยี่สิบกวาปกอนนั้น มีความสามารถในการฟอนรำ�เกือบทั้ง หมูบานทีเดียว ซึ่งปจจุบันนี้ทางวัดพยายามรักษาประเพณีการฟอน รำ�เพื่อตอนรับคณะกฐินผาปา เมื่อมีบุคคลสำ�คัญมาเยี่ยมเยือนจึง มีการฟอนรำ�ตอนรับเปนประจำ� ฟอนกลองโบราณ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 37 การเดินแฟชั่น เปนการเดินโชวเครื่องแตงกายของวัฒนธรรมไทหลมแต ละยุคสมัย ถือเปนเอกลักษณที่สามารถบงบอกถึงความเปนกลุมชาติ พันธุลาว ในงานมีการเดินแบบเครื่องแตงกายทั้งชายและหญิง รวม ถึงการแตงกายในโอกาสตาง ๆ ซึ่งมีการอธิบายเครื่องแตงกายทั้ง ชายและหญิงดังนี้ การแตงกายของสตรีไทหลมแตเดิมนั้นนิยมนุงผาซิ่น ที่ทำ� ดวยไหมหรือฝาย ถาเปนสตรีสูงศักดิ์ก็มีการเพิ่มความสวยงามมาก ขึ้น เชน ผาซิ่นไหมตีนเงิน ผาซิ่นไหมตีนคำ� และอาจจะมีผาซิ่นที่รับ มาจากถิ่นอื่น เชน ผาซิ่นยวน (ภาคเหนือ) ผาแพรจีน ผายกดอกของ ภาคกลาง บางครั้งหญิงสูงศักดิ์หรือภริยาคหบดีบางทานก็นิยมนุงโจง กระเบนแบบสตรีภาคกลาง การแตงกายโบราณแทไมมีการใสเสื้อ เพียงแตมีผาหออกและสะไบพาดเฉียงบาเทานั้น ตอมาจึงมีการตัด เสื้อแขนกระบอกผาอก เสื้อแขนสั้นที่ทำ�จากฝายหรือไหม และเสื้อ คอกระเชา ไทหลมเรียกวา “เสื้อหมากกะแหลง” เย็บตะเข็บดวยดาย สีแดง หรือเย็บหาตะเข็บก็มีแลวแตความนิยม สวนมากเปนเสื้อสี ขาวฝายดายดิบ หรือยอมสีดวยมะเกลือ คราม ติดกระดุมเงินเม็ดถี่ ๆ แฟชั่นโชวเครื่องแตงกายของวัฒนธรรมไทหลม
38 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การแตงกายของผูชายไทหลม ผูชายไทหลมไมวาจะฐานะ อะไรแตเดิมนั้นเมื่ออยูกับบานก็นุงผาขาวมาธรรมดา นุงโสรง หรือ นุงกางเกงขากวย สีขาว สีเทา และสีดำ� ไทหลมเรียกวา “สงหัวโหลง” แบบสบาย ๆ เมื่อมีกิจธุระจึงใสเสื้อที่ทำ�ดวยผาฝายแขนยาวหรือสั้น ผาอก กระดุมเงิน หรือใชผาตัดเปนเสนสำ�หรับผูกติดกัน เสื้อยอม เปนสีดำ�มะเกลือ สีคราม (พระสมุหไพรศาล ภทฺรมุนี, สัมภาษณ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๘) ผูชายไทหลมแตงกายพื้นบานรวมงานแหตนผึ้ง
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 39 ตลาดพื้นบานไทหลม ภายในงานมีการออกรานอาหารพื้นบานไทหลมที่มีความ หลากหลาย ถือเปนเอกลักษณของไทหลม ที่บรรพบุรุษไดสืบทอด กันมาแตโบราณใหทานทั้งหลายไดลิ้มลองกันภายในงานดังกลาว ขี้ปู เปนการถนอมอาหารอยางหนึ่ง ขี้ปูมีลักษณะคลาย “น้ำ�ปู” ของภาคเหนือ บางครั้งก็เรียกกันวา กะปปู เพราะมีลักษณะคลาย กะป ขี้ปูไทหลมนั้นทำ�มาจากการเอาตัวปูทั้งตัวปริมาณมากพอสมควร มาตำ�ใหละเอียด กรองเอาเฉพาะน้ำ�ที่ไดจากการตำ�นั้น แลวนำ�มา เคี่ยวจนกวาน้ำ�นั้นงวดเต็มที่จึงนำ�มารับประทาน นิยมนำ�มาประกอบ อาหารไดหลายอยาง เชน ใสสมตำ� (ตำ�สมขี้ปู) ใสน้ำ�พริก (แจวขี้ปู) จิ้มกินกับหนอไม จิ้มกินกับมะขามออน หรือผลไมอื่น ๆ ดวยภูมิประเทศของเมืองหลมนั้นมีภูเขาอยูรอบ หนอไมจึง เปนอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ไทหลมชื่นชอบและขาดไมไดในรายการ อาหาร หนอไมนำ�มาทำ�เปนอาหารไดหลายประเภท เชน หนอไมที่ ไทหลมเรียกวา “ไมซาง” นำ�มาตมกินกับน้ำ�พริก แกงใสใบยานาง หนอไมประเภทหนอไมรวก นิยมนำ�มาทำ�เปนหนอไมดอง ไทหลม เรียกวา หนอไมสม อาหารประเภทหนอไมนั้น ไดแก ซุปหนอไม ลาบหนอไม หมกหนอไม คั่วหนอไม แกงหนอไม อูดลูดหนอไม ฯลฯ สมตำ� ภาษาไทหลมเรียกวา “ตำ�สม” เปนอาหารยอดนิยม ของไทหลม เพราะเปนอาหารที่กินมาตั้งแตดึกดำ�บรรพ ตำ�สมที่ นิยมมากที่สุดคือ ตำ�บักหุง หรือตำ�มะละกอ ความจริงแลว คำ�วา “มะละกอ” มาจากคำ�วา “เกาะมะละกา” แสดงวาเราพึ่งรับเอา เขามาเมื่อประมาณสมัยกรุงรัตนโกสินทรนี้เอง (พระสมุหไพรศาล ภทฺรมุนี, ๒๕๔๕) แสดงใหเห็นวาแตเดิม ตำ�สมนั้นมิใชตำ�มะละกอ
40 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อยางที่เรารูจักกันในปจจุบัน แตเดิมนั้นตำ�สมเปนการตำ�ผลไมอยาง อื่น เชน ตำ�มะยม ตำ�ขนุน ตำ�ลูกยอ ตำ�มะมวง ตำ�กลวย ฯลฯ ซึ่งไทหลมก็ยังนิยมกินกันเปนอาหารหลักและเปนอาหารวางกันมา นาน ที่สำ�คัญตำ�สมฉบับไทหลมตองใสปลาราจึงจะเปนตำ�สมแบบ ไทหลมแท ๆ ขนมจีน เรียกตามภาษาไทหลมวา “เขาหนมเสน” เปน อาหารที่ไดรับอิทธิพลมาจากอาหารมอญโบราณ คนมอญเรียก อาหารชนิดนี้วา “ขะนอมจิ้น” คนไทยและคนลาวก็รับวัฒนธรรม การกินขนมจีนสืบตอมาดัดแปลงตามรสนิยมของตนเอง ขนมเสน ไทหลมนั้นมีลักษณะพิเศษคือเสนเล็ก และมีความเหนียวนุมกวา ขนมจีนทั่ว ๆ ไป เปนที่เลื่องชื่อลือชาคือขนมเสนหลมเกาโบราณ นิยมรับประทานขนมเสนในงานมงคล เชน งานบวช การแตงงาน งานขึ้นบานใหม เพราะถือวาเสนขนมจีนนั้นหมายถึงความมีอายุที่ ยืนยาวนั่นเอง ลาบ อาหารประเภทลาบนั้น ก็เปนอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ นิยมรับประทานกันอยูหลายภูมิภาค แตลาบไทหลมนั้นมีความพิเศษ อยูอยางหนึ่งคือ ลาบไทหลมเหมือนลาบเมืองเหนือกราย ๆ ไมเหมือน ลาบอีสานสักเทาไหร เพราะนิยมใสเครื่องปรุงมากเปนพิเศษ เรียกวา แทบจะใสทุกอยางเลยทีเดียว ไมวาตะไคร ใบมะกรูด ขา หมากแคน (มะแคน) ใสมากจนกลิ่นฉุนสำ�หรับคนไมเคยรับประทาน แตเดิมนั้น ไทหลมนิยมลาบดิบลวน ๆ ใสเลือดดวย ไมวาจะเปนลาบวัว ลาบควาย ลาบหมู ลาบไก สมัยโบราณนั้นกินดิบ ๆ อยางเดียว สมัยที่พัฒนาเรา จึงนิยมลาบสุกกัน คำ�วาลาบนั้นไมใชจะลาบไดเฉพาะเนื้อสัตวเทานั้น ไทหลมยังนิยม ลาบพืชผักอาทิเชน ลาบหนอไม ลาบหมากเขือ ลาบเทา (ตะไครน้ำ�) ฯลฯ คำ�วาลาบยังพองกับคำ�วา “โชคลาภ” จึงทำ�ใหอาหารชนิดนี้นิยมรับประทานในงานมงคลตาง ๆ อีกดวย
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 41 ซุป คำ�วา ซุป ในที่นี้เปนอาหารพื้นบานไทหลมอยางหนึ่ง มีลักษณะคลายลาบ โดยการนำ�ใบผักที่เราชอบ พืชผักที่นิยมนำ�มา ซุปนั้นไดแก ถั่วฝกยาว มะเขือ ใบมะมวง หมากแปบ หัวทูน ขนุน เหลานี้นำ�มานึ่งกอน และนำ�มาผสมดวยเครื่องปรุงมีน้ำ�ปลารา งา มะพราวฝอย ไขไก หอยขม คลุกเคลาใหเขากันดีแลวนำ�มารับ ประทาน เปนอาหารสมุนไพรชั้นเลิศ แกง เปนอาหารหลักชนิดหนึ่งของไทหลม อาหารประเภท แกงของไทหลมดั้งเดิมนั้นไมนิยมใสกะทิ ดังนั้นจึงเปนแกงชนิดที่ เรียกวา แกงปาเสียเปนสวนใหญ นิยมปรุงรสดวยน้ำ�ปลารา น้ำ�ยานาง ขี้ปู หรือน้ำ�ผักกะทอน เชนแกงผักหวานใสไขมดแดง ไทหลม เรียกวาไขมดสม แกงออมเนื้อวัว เนื้อไก เนื้อหมู หรือแมกระทั่งกบ และเขียด ไสกรอกไทหลม เปนอาหารชนิดปงยางที่เปนเอกลักษณ อยางหนึ่งของไทหลมทำ�จากเนื้อหมู และไสหมู มีความคลายคลึงกับ ไสอั่วของภาคเหนือ แตกตางที่ไสกรอกของไทหลมไมนิยมใสขมิ้น ผสมเครื่องปรุง คือ เนื้อหมูสับละเอียด กระเทียม พริกสด ตะไคร เกลือ เปนตน ถั่วแตหรือถั่วเนา เปนถั่วเหลืองที่ทำ�การหมักใหมีกลิ่นคลาย การทำ�ถั่วเนาในภาคเหนือ แตไทหลมนิยมนำ�มาหมกแอบ (คืออาหาร ที่หอดวยใบตอง หอแบบแบน ๆ แลวนำ�มาปงหรือยางไฟ) เพื่อ รับประทานเปนอาหาร ไมนิยมนำ�มาใสแกงเหมือนทางภาคเหนือ น้ำ�ผักกะทอน เปนน้ำ�ที่ไดจากการตมใบหรือเปลือกของตนไม ชนิดหนึ่ง ที่เรียกวา “ผักกะทอน” นำ�ใบหรือเปลือกมาตมจนไดน้ำ�ที่ เขมขน สำ�หรับเก็บไวรับประกอบอาหาร เชน ทำ�น้ำ�แจวผักกะทอน ใสสมตำ� ทำ�เปนน้ำ�จิ้มทานกับมะมวงดิบ
42 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วัฒนธรรมการกินแบบไทหลมนั้น ไทหลมรับประทานขาว เหนียวมาตั้งแตดึกดำ�บรรพตอมาจึงรับประทานขาวจาวบาง การรับประทานนั้นนิยมนำ�ใสภาชนะที่เรียกวา “พาขาวหยอง” (ถาดที่ใชรอง อาหารคาวหวานนิยมสานจากหวายหรือไมไผมีฐานเล็ก สูงประมาณ ๒๕ - ๓๐ เซนติเมตร ปากกวางเสนผาศูนยกลางประมาณ ๔๐ - ๕๐ เซนติเมตร) มีลักษณะคลายขันโตกแตทำ�ดวยหวาย การรับประทาน คือการนั่งลอมวงลงกับพื้น และนิยมใหสุภาพบุรุษรับประทานกอน และสมัยโบราณจะตองไดยินเสียงพระตีกลองหรือรอเวลาใหพระฉัน จังหันหรือเพลแลวชาวบานจึงจะรับประทานอาหาร ปจจุบันคานิยม เหลานี้ไดเลิกไปแลว สำ�หรับพาขาวหยองนั้นในปจจุบันนิยมใชเปน ภาชนะอาหารถวายแกพระสงฆ ชาวบานทั่วไปจึงไมนิยมใชพาขาว หยองในการรับประทานอาหารในชีวิตประจำ�วัน เพราะกลัววาจะ ทำ�ตนเสมอกับพระสงฆนั่นเอง ไทหลมนั่งลอมวงทานขาวในงานแหปราสาทผึ้ง บานทากกแก
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 43 คติความเชื่อที่มีตอประเพณีการแหปราสาทผึ้ง ปจจุบันชาวบานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ยังคงมีความเชื่อและยึดถือปฏิบัติอยางสม่ำ�เสมอ โดยยังคงความเชื่อที่สืบทอดจากบรรพบุรุษมาหลายชั่วอายุคน ซึ่งใน งานประเพณีนั้นมีการแฝงนัยสำ�คัญทางดานความเชื่อในเรื่องตาง ๆ กลาวคือ ๑. ความเชื่อที่แสดงใหเห็นถึงการเคารพอาวุโส นำ�มาซึ่ง การใหเกียรติซึ่งกันและกัน ความสมัครสมานสามัคคีของกลุมชน ในการรวมมือรวมแรง ทำ�งานรวมกัน ดวยใจรักในการสืบสานงาน ประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่นของชุมชนบานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ๒. ความเชื่อที่เกี่ยวของกับหลักของพระพุทธศาสนา ที่ นิยมนำ�เทียนไขมารวมทำ�บุญเพื่อแสงสวางจากเทียนที่หลอหลอม รวมกันไดเสมือนธรรมะที่จะนำ�ทางชีวิตของพุทธศาสนิกชนตอไป ๓. ความเชื่อเรื่องผลบุญ ผลทาน ทำ�ดีไดดี ทำ�ชั่วไดชั่ว กระทำ�อยางไรจะไดอยางนั้น ๔. การจุนเจือแบงปนกัน การยอมรับซึ่งกันและกัน
44 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การแหตนผึ้งไดแสดงใหเห็นคุณคาทางดานตาง ๆ ภายใน ชุมชน ดังนี้ ๑. แสดงใหเห็นถึงความสามัคคีของกลุมชน เพราะกอน ที่จะแหจะตองมีการนำ�เทียนมารวม และรวมกันหลอมเทียนประกอบ กันประดิษฐเทียนที่หลอมใหเปนรูปดอกไมอยางสวยงามแสดงให เห็นถึงความเปนน้ำ�หนึ่งใจเดียวกันอยางชัดเจน ๒. บงบอกถึงความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา เพราะ เชื่อวาเทียนที่แหนั้นเปนเสมือนธรรมะ และแสงเทียนก็คือ แสงสวาง ที่จะนำ�ทางชีวิตของพุทธศาสนิกชน ๓. เปนการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรมทองถิ่นและสืบทอด กันมาเปนรากฐานในการดำ�รงชีวิตของชาวบานทากกแกในการสืบ ทอดประเพณีการแหตนผึ้ง ของชุมชนบานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งเปนวัฒนธรรมความเชื่อที่ สืบทอดมาแตเดิมของชาวเวียงจันทนและหลวงพระบางที่จัดขึ้นเพื่อ บูชาพระพุทธเจาตามความเชื่อของพุทธศาสนิกชนวาเปนสิริมงคล ตอการทำ�มาหากินของพวกตน และปฏิบัติตามความเชื่อสืบทอด ตอกันมาเปนประจำ�ทุกป บรรณานุกรม ปรีชา ดาวเรือง. กระบวนการอนุรักษประเพณีการแหประสาทผึ้ง ตำ�บล หนองปรือ อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี. รายงานการ ศึกษาอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การปกครองทองถิ่น วิทยาลัยการปกครองทองถิ่นมหาวิทยาลัย ขอนแกน, ๒๕๕๔. สาลี รักสุทธิ. ฮีตสิบสองคลองสิบสี่ประเพณีของดีอีสาน. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๕๓. พระสมุหไพรศาล ภทฺรมุนี. เวาพื้นเมืองหลม. เอกสารเผยแพรความรูดาน วัฒนธรรมแกชุมชน วัดทากกแก อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ. เพชรบูรณ : ม.ป.ท., ๒๕๔๕.
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 45 สัมภาษณ นายชัยรัตน สานอย. อายุ ๕๑ ป บานเลขที่ ๑๐ หมูที่ ๘ ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นางถาวร เชื่องแสง. อายุ ๔๕ ป บานเลขที่ ๑๗๖ หมูที่ ๔ ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นายทองสุก สุนลี. อายุ ๕๐ ป บานเลขที่ ๕๑ หมูที่ ๘ ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. พระสมุหไพรศาล ภทฺรมุนี. อายุ ๓๔ ป วันทากกแก หมูที่ ๘ ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นางมณัญชญา วิระปง. อายุ ๓๓ ป บานเลขที่ ๕๑ หมูที่ ๘ ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นายรติกร พุมไสว. อายุ ๒๐ ป บานเลขที่ ๕๐ หมูที่ ๔ ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นางละมุล ทาวเงิน. อายุ ๕๖ ป บานเลขที่ ๘๓ หมูที่ ๔ ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นายสุดใจ เชื่องแสง. อายุ ๔๙ ป บานเลขที่ ๑๗๖ หมูที่ ๔ ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. นางหลา เสนานุช. อายุ ๖๔ ป บานเลขที่ ๑๕๘ หมูที่ ๔ ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘.
46 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ
สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 47 บุญกระธูป...สรางกุศลวันออกพรรษา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ ปวีณา บัวบาง สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน บานเนินพัฒนา เปนหมูบานที่ประชากรสวนใหญอพยพมา จากหลายพื้นที่ ไมวาจะเปนจังหวัดทางภาคอีสาน เชน จังหวัด อุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแกน หรือ จากตางอำ�เภอภายในจังหวัดเพชรบูรณ การอพยพโยกยายของผูคนแตละพื้นที่นั้นก็จะมีการนำ�เอา วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อที่บรรพบุรุษของตัวเองไดเคยพากัน ยึดถือปฏิบัตินำ�ติดตัวมาปฏิบัติกันตอในหมูบานเนินพัฒนา ประเพณี นี้ที่กลุมคนดังกลาวไดนำ�มารวมกันยึดถือปฏิบัติกันภายในหมูบาน นั่นก็คือ “ประเพณีแหตนกระธูปงานบุญออกพรรษา”
48 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ “ประเพณีแหตนกระธูปออกพรรษา” เปนประเพณีที่สืบสาน กันมาเปนเวลานาน ที่ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัด เพชรบูรณ ทำ�ในชวงบุญออกพรรษาของทุกป ชาวบานจะรวมแรง รวมใจกันสรางกระธูปและออกไปรวมตัวกัน ณ จุดนัดหมายอาจเปน (ศาลากลางบานหรือบานผูใหญบาน) ผูเฒาผูแก หนุมสาวและเด็ก ๆ จะพากันไปพันกระธูป ซึ่งกวาจะเปนกระธูปจุดไดจะใชธูป ๓ ดอก แลวพันหุมดวยกระดาษสีหรือกระดาษหลากสีสันกอนที่จะนำ�เขา ไปมัดกับดาวกานตาล (สานจากใบตาลหรือใบลาน) จากนั้นจึงนำ�ไป มัดหอยกับกานธูปที่เปนเสมือนคันเบ็ด ทำ�ไวมาก ๆ เสร็จแลวจึงนำ� เขาไปเสียบในรูรอบปลองไมไผทำ�เปนชั้นขึ้นไปเหมือนฉัตร ประดับ ตกแตงงดงามกอนที่จะนำ�ออกมาจุดในวันออกพรรษา ซึ่งกวาจะ ผานขั้นตอนจนมาเปนตนกระธูปรูปรางสวยงามตองใชเวลาประมาณ ๑ - ๒ สัปดาห และในปจจุบันประเพณีบุญกระธูปไดเปนอัตลักษณ ของตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ ความรมเย็นอันยิ่งใหญของ กระธูป สัญลักษณแทนตนหวา ซึ่งเปนตนไมประจำ�ชมพูทวีปถูกบันทึกไวในหนังสือฎีกาพระมาลัยสูตร ความวา ลักษณะของตนกระธูปมีความยาวประมาณ ๕๐ โยชน มี กิ่งใหญ ๔ กิ่ง แผออกไปใน ๔ ทิศทาง กวางเปนมณฑลได ๑๐๐ โยชน หมายถึง พระพุทธศาสนานี้เปนรมเย็นแกสรรพสัตวทั้งหลายเปรียบ เอาตนกระธูปนี้จุดแลวยอมสงกลิ่นหอมฟุงขจรขจายไปยังทิศตาง ๆ กลิ่นหอมนี้ยอมเปนที่ชื่นใจแกมนุษยทั้งปวงที่ไดสัมผัสกลิ่นยอมเกิด ปติและความสุขความเบิกบาน ใหคุณคาทางจิตใจประดิษฐขึ้นงาย ๆ จากวัสดุภายในทองถิ่น ประกอบดวย ธูป ๓ ดอก พันดวยดายแลว หอดวยกระดาษใหไดรูปทรงยาว ๆ นำ�กระดาษสีมาประดับตกแตง