The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 99 ตักบาตรเทโว เปนประเพณีหนึ่งของวัดโฆษา ไดรับความ รวมมือจากชาวบานทาชาง และหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน เชน สภาวัฒนธรรมจังหวัด อำ�เภอหลมสัก สำ�นักงานพระพุทธศาสนา องคการบริหารสวนตำ�บลหวยไร เพื่อสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ของชุมชนใหคงอยูสืบไป ในสวนของการจัดงานนั้นตรงกับวันออก พรรษา ขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ เปนประจำ�ทุกป โดยประเพณีของ วัดโฆษาจะมีการตักบาตรเทโวบนสะพานไม มีความสูง ๓๐ เมตร ที่ชาวบานชวยกันสรางขึ้น ในชวงกอนถึงวันงานชาวบานและผูที่ เกี่ยวของจะรวมมือ รวมใจกันจัดเตรียมสถานที่ และเครื่องใชใน การประกอบพิธีตักบาตรเทโว สวนการกอสรางนั้นจะขึ้นอยูกับความ สะดวกของชาวบาน โดยไมมีการกำ�หนด วัน เวลา ที่แนชัด สะดวกกัน เมื่อไหรก็จะมาชวยกัน ชางสวนใหญจะเปนคนเฒา คนแกในชุมชน


100 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ซึ่งวัสดุที่นำ�มาสรางไดมาจากจิตศรัทธาของชาวบานที่รวบรวมไว สำ�หรับการกอสราง วัสดุที่ใชในการทำ�สะพาน ไดแก ตนหมาก ไมไผทำ�ตอก โดยมีตนมะพราวที่อยูบริเวณวัดเปนเสาหลักในการ สรางสะพาน ซึ่งดานบนก็จะทำ�เปนรานสำ�หรับตั้งโตะหมูบูชาและ ที่นั่งพระสงฆ พรอมกับตั้งบาตรปจจัย ในสวนของสะพานนั้นยังได มีการตกแตงบริเวณราวสะพานดวยผาหลากสีสัน และตามหัวเสาจะ ประดับดวยฉัตรสามชั้นตลอดตั้งแตทางขึ้นจนทางลง การเดินขึ้น ไปใสบาตรบนสะพาน ใหเดินขึ้นดานทิศตะวันตก ลงทิศตะวันออก ชาวบานที่มารวมงาน มีความเชื่อวา “การไดขึ้นไปใสบาตรบน สะพานที่สรางขึ้นในวันออกพรรษานั้น เปรียบเสมือนเปนการไดขึ้น สวรรค” ชาวบานรวมประเพณีตักบาตรเทโว


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 101 นอกจากนี้แลว ชาวบานยัง ชวยกันทำ�ตนผึ้งตนกระธูปเพื่อนำ� ไปถวายพระในวันรุงขึ้นหลังจาก เสร็จพิธีตักบาตรเทโว การทำ�ตนผึ้ง ตนธูปเปนประเพณีที่มีมาแตโบราณ จุดประสงคหลักก็คือ ทำ�เปนเครื่อง สักการะบูชาอยางหนึ่งสำ�หรับบูชา พระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในทาง พระพุทธศาสนาเพื่อนอมนำ�ขี้ผึ้ง ไปถวายพระภิกษุสงฆใหไดนำ�ไปใช ประโยชน และยังเชื่อวาสามารถอุทิศ สวนกุศลไปใหแกญาติผูลวงลับไปแลว อีกประการหนึ่ง สำ�หรับการทำ�ตนผึ้ง ตนธูป นั้นโครงของตนผึ้งและตนธูปจะขึ้น โครงจากไมไผ ในสวนของตนผึ้งนั้น โครงจะมีลักษณะคลายกับปราสาท และจะนำ�กาบกลวยมาประกอบกับ โครงตนผึ้งทุกดาน เพื่อนำ�ดอกผึ้งมา ปกตามโครงที่ทำ�ไว ในการทำ�โครง ชางจะเปนผูชายทั้งหนุม และสูงวัยจะ มาชวยกันประกอบโครงเพื่อนำ�ไปปก ดอกผึ้งและติดธูป สำ�หรับตนธูป สวน ดอกผึ้งนั้นจะเปนหนาที่ของผูหญิง ตนผึ้ง ผูชายชวยกันทำ�โครงตนผึ้ง ลูกโพธิ์ไทร ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓


102 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ โดยใชวัสดุคือ ขี้ผึ้งแท เทียนและเศษ เทียน เข็มหมุด ขมิ้น กระทะ เตาถาน และแบบพิมพที่ทำ�จากลูกโพธิ์ไทร (แบบพิมพสามารถใชวัสดุอื่นได เชน มะละกอ) ในการทำ�นั้น จะนำ�ลูกโพธิ์ ไทรมาลอกเปลือก ขูดยางบริเวณผิว ออกใหหมดเพื่อเวลาจุมน้ำ�เทียนจะ ไดหลุดออกงาย ๆ และนำ�มาเสียบกับ ไมเพื่อทำ�เปนดามจับ หลังจากนั้นก็ จะชวยกันตระเตรียมกระทะตมเทียน ใหละลาย แลวนำ�พิมพที่ทำ�ไวไปจุม น้ำ�เทียน จุมลงใหลึกประมาณ ๑ - ๒ เซนติเมตร ๒ - ๓ ครั้งแลวนำ�ขึ้นมา จุมในน้ำ�เย็นอีกครั้งเพื่อใหเทียนแข็ง ตัวและหลุดออกจากแมพิมพงายขึ้น อีกกลุมหนึ่งก็จะจัดเตรียมขมิ้นตัด เปนชิ้น ๆ เพื่อนำ�มาทำ�เปนเกสรของ ดอกเทียน เมื่อไดดอกเทียนดอกผึ้ง พอประมาณก็จะนำ�มาประกอบโดยใช ขมิ้นที่ปกหมุดไวแลว มาเสียบลงตรง กลางของดอกเทียนแลวนำ�ไปประดับ กับโครงตนผึ้งที่สรางไว เพื่อนำ�ไป ถวายพระในวันรุงขึ้นหลังจากเสร็จพิธี ตักบาตรเทโว ผูหญิงชวยกันทำ�ดอกผึ้ง ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 103 ประเพณีการตักบาตรเทโว มีทั่วทุกจังหวัดยามออกพรรษา ภูมิปญญาสำ�คัญของพี่นอง บานทาชาง วัดโฆษา นำ�อัตลักษณอัน โดดเดนที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ สูลูกหลานที่อพยพมาแตลานชาง สรางความงดงาม ความเลื่อมใสศรัทธา ความกลมเกลียวเหนียวแนน เพื่อเสริมใหพุทธมามกะในชุมชนไดรักษาศีล ภาวนา ทำ�บุญกุศล ค้ำ� คูณพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนตนแบบอันโดดเดนของพี่นองชาวไทหลม และรอการมาเยี่ยมชมของทานผูรักในศิลปวัฒนธรรมที่วัดโฆษา ในชวงออกพรรษาของทุกป ชาวบานเขาแถวรอขึ้นสะพานไมเพื่อใสบาตร วัดโฆษา


104 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ภัทรพล พิมพา มนชยา คลายโศก นิภา พิลาเกิด วิโรจน หุนทอง อมรรัตน กาละบุตร ชนรัตน อุตมอาง. รายงานการลงพื้น ที่เก็บขอมูลภาคสนามเรื่อง ประเพณีตักบาตรเทโว วัดโฆษา ทาชาง ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, เพชรบูรณ : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ. ๒๕๕๗. กรมประชาสัมพันธ, สำ�นักขาว. ประเพณีตักบาตรเทโว. [ออนไลน] สืบคนจาก : http://thainews.prd.go.th/centerweb/news/ main. [๒๕๕๗, ตุลาคม ๙] ตักบาตรเทโว. [ออนไลน]. สืบคนจาก : http://th.wikipedia.org/wiki. [๒๕๕๗, ตุลาคม ๙] สัมภาษณ กรวย ผิวผอง. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๑๓๓ หมู ๑๐ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. กฤษณา พรมศรี. อายุ ๗๓ ป บานเลขที่ ๓๐ หมู ๑๐ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. แกะ สุขนาค. อายุ ๕๘ ป บานเลขที่ ๒๘ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 105 เขียว กองจันทึก. อายุ ๖๙ ป บานเลขที่ ๖๒ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. เฉื่อย นามวงศ. อายุ ๗๖ ป บานเลขที่ ๒๒ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. ผัน พาลี. อายุ ๘๒ ป บานเลขที่ ๘๕ หมู ๑๐ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. ลาน พาทา. อายุ ๘๔ บานเลขที่ ๔๙ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. สมภาร ทาขาว. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๔๘ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. สมัย สุระคำ�. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๒๕ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. สวัสดิ์ คำ�สุข. อายุ ๖๕ ป บานเลขที่ ๔ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. อสันย ปองทาว. อายุ ๔๙ ป บานเลขที่ ๘๘ หมู ๒ ตำ�บลหวยไร อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗.


106 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 107 “บุญเดือนหก” มนตเสนหแหงอารยธรรมลานชาง : บุญบั้งไฟบานนาทราย ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ อรอุมา เมืองทอง สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน ประเพณีไทยเปนประเพณีที่มีการยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต สมัยบรรพบุรุษ บางประเพณีมีลักษณะคลายคลึงกันแตมีชื่อเรียก แตกตางกันไปในแตละทองถิ่น สามารถสะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรม ความเชื่อ ความเปนอยู ตลอดจนชีวิตของคนไทยในแตละภาคให เห็นไดอยางเดนชัด (อัจฉรา ประสิทธิ์สกุลชัย, ๒๕๔๕) ประเพณี ในปจจุบันที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย ลวนผานกระบวนการกระทำ�ใหเปนที่ ยอมรับในทางสังคม และไดกลายเปนอัตลักษณประจำ�ทองถิ่นนั้น ๆ สรางชื่อเสียง สรางความภาคภูมิใจใหกับคนในแตละทองถิ่น (ปนวดี ศรีสุพรรณ และคณะ, ๒๕๕๔)


108 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ กลาววา ประเทศไทยไดปรับเปลี่ยนแนวทางพัฒนาประเทศดวย อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ทำ�ใหขนบประเพณีบางอยางในสังคม ไทยถูกกำ�หนดดวยกลไกของภาครัฐ โดยโครงการเที่ยวไทยครึกครื้น เศรษฐกิจไทยคึกคักทำ�ใหหนวยงานภาครัฐในระดับทองถิ่นทั่วประเทศ ถือเปนจังหวะการนำ�ตนทุนทางวัฒนธรรมมาสรางเปนอัตลักษณ เพื่อเปนจุดขายใหนักทองเที่ยวไดมาเรียนรูวัฒนธรรมประเพณี และ สัมผัสวิถีชีวิตของชุมชนในรูปแบบของการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, ๒๕๒๘) สิ่งที่สะทอนใหเห็น คือ ประเพณีไดถูกยกระดับจากวัฒนธรรมทองถิ่นใหกลายเปนวัฒนธรรม ประจำ�จังหวัด และประจำ�ชาติ เชน ผีตาโขน บั้งไฟพญานาค งาน แหเทียน งานแขงเรือฯ สิ่งที่เปลี่ยนแปลง คือ พิธีกรรม ความเชื่อ ที่เปนแกนแทของประเพณีกลับไมใชวัตถุประสงคหลักของการจัดงาน (ธเนศ วงศยานนาวา, ๒๕๕๒) ซึ่งรวมถึงประเพณีบุญบั้งไฟ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 109 บุญบั้งไฟ หรือ ประเพณีใน “ฮีตสิบสอง” ของกลุมอีสาน เปนหนึ่งในประเพณีและพิธีกรรมทองถิ่นที่สะทอนใหเห็นถึงอัตลักษณ ทางวัฒนธรรม ศาสนา ความเชื่อ ที่เชื่อมโยงกลายเปนวิถีชีวิตและ ภูมิปญญาของชาวชนบทไดอยางชัดเจน ถือเปนประเพณีระดับตน ๆ ที่กลุมคนสวนใหญหรือนักทองเที่ยวรูจักกันอยางแพรหลายไมวาจะ เปนชาวไทยหรือชาวตางชาติ (ปฐม หงษสุวรรณ, ๒๕๕๖) บุญบั้งไฟ ทั่วภูมิภาคในประเทศไทย นอกจากจะเปนการสืบสานหรืออนุรักษ ประเพณีทองถิ่นแลว วัตถุประสงคของการจัดงานหลายแหงกลับมุง ประเด็นเพื่อการทองเที่ยวเชิงเศรษฐกิจ ตอบสนองความตองการ ของภาครัฐ หรือบางแหงก็เนนการแขงขันเพื่อเพิ่มความสนุกสนาน ใหกับงานยิ่งขึ้น จากขอมูลที่กลาวมาแลวเบื้องตน ผูเขียนจึงขอนำ�เสนอและ พาเยี่ยมชม “ประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย” ตำ�บลวังบาล อำ�เภอ หลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มนตเสนหงานบุญเดือนหกแหงอารยธรรม ลานชางที่ผสมผสานความเปนอัตลักษณเฉพาะถิ่นไดอยางนาสนใจ ประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทรายเปนอีกมิติหนึ่งที่มีความแตกตาง และ สวนทางกับงานบุญบั้งไฟหลายพื้นที่ที่กลาวมา โดยหลักการตองยอม รับวาบานนาทรายเปนหมูบานที่มีความเจริญปรากฏอยูชัดเจน เชน มี เสนทางคมนาคมที่สะดวกสบายมีอินเทอรเน็ตเขาถึง มีสื่อสารมวลชน และขาวสารที่ครอบคลุม มีหนวยงานภาครัฐดูแล และยังเปนชุมชน ที่อยูในแผนการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัด เพชรบูรณ (ยุทธศาสตรการทองเที่ยงเชิงวัฒนธรรม ของจังหวัด เพชรบูรณ, ๒๕๕๗) แตทำ�ไมประเพณีบุญบั้งไฟของบานนาทรายที่ ถือวาเปนงานใหญที่สุดในแถบอำ�เภอหลมเกาจึงไมไดจัดขึ้นเพื่อ ตอบสนองตอวิถีชีวิตในเชิงเศรษฐกิจและการทองเที่ยว แตกลับ เปนงานประเพณีที่ยังคงรักษาความเชื่อและพิธีกรรมที่ดำ�รงอยูจน ถึงปจจุบันได


110 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ความเชื่อพื้นฐานเกี่ยวกับประเพณีบุญบั้งไฟที่เปนที่รูจักและ ยอมรับกันทั่วไป คือ กลุมเกษตรกรจะทำ�การจุดบั้งไฟบูชาพระยา แถนเพื่อขอใหฝนตกตองตามฤดูกาล โดยมีตำ�นานพื้นบานของชาว อีสานเรื่องพญาคันคาก เปนแกนหลักและที่มาของประเพณีบุญบั้งไฟ ในปจจุบัน แตรูปแบบของประเพณีบุญบั้งไฟบานทราย ไดทำ�ใหเห็นถึง การนำ�เสนอตัวตนทางวัฒนธรรมโดยเฉพาะการนำ�เรื่องราวความเชื่อ และความสัมพันธของตนในอดีตมาสรางเปนประเพณีในรูปแบบ เฉพาะถิ่นของชุมชนนาทราย โดยมีผูนำ�ทางจิตวิญญาณที่เรียกวา “ผีเจาพอ เจาแม” หรือผีบรรพบุรุษของผูคนในชุมชน ผาน “รางทรง” หรือผูที่ถูกเลือก เปนผูนำ�พิธีกรรมทุกขั้นตอน “รางทรงเจาพอ เจาแม” ทำ�หนาที่เปนสื่อกลางในการติดตอกับพระยาแถนแทนชาวบานเพื่อ ขอฝน ซึ่งเจาพอ เจาแม ก็นับถือพระยาแถนเชนเดียวกับชาวบาน ภาพที่สะทอนในงานบุญบั้งไฟแหงนี้ ทำ�ใหผูเขียนเห็นถึงพลัง แหงความเชื่อ พิธีกรรม วามันคือกลไกลสำ�คัญที่ทำ�ใหชุมชนบาน นาทรายสามารถรักษาวิถีชีวิต ความเปนปจเจกกลุมที่แสดงออกถึง อัตลักษณเฉพาะถิ่นจนถึงปจจุบัน ขบวนแหบุญบั้งไฟบานนาทราย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 111 “บุญเดือนหก” มนตเสนหแหงอารยธรรมลานชาง : บุญบั้งไฟ บานนาทราย ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มี การจัดงานขึ้นปละ ๒ ครั้ง ครั้งแรกเปนงานบุญบั้งไฟสำ�หรับเจาพอ เจาแม และครั้งที่ ๒ เปนงานบุญบั้งไฟของชาวบานนาทราย ครั้งที่ ๑ : งานบุญบั้งไฟที่จัดขึ้นพรอมกับงานเลี้ยงปไลผีหลวง (บุญบั้งไฟสำ�หรับเจาพอ เจาแม) งานบุญใหญประจำ�ปเปนพิธีที่สำ�คัญและใหญที่สุดกำ�หนด จัดกันในเดือนหก บรรดารางทรงและผูที่นับถือเจาพอเจาแมจะไปอยู ที่ใดตองกลับมารวมพิธีนี้ทุกครั้ง ถามาไมไดตองใหคนในครอบครัว เสียไก เสียเหลา เพื่อเปนสิ่งแทนตัวบุคคลมารวมงาน ถือเปนการ คารวะดวงวิญญาณบรรพบุรุษของหมูบานนาทราย เริ่มพิธีโดยพอกวนจ้ำ� คือผูชายมีหนาที่คอยชวยใหคำ�ปรึกษา และเปนหัวเรี่ยวหัวแรงในการประกอบพิธีกรรมจะเริ่มพิธีดวยการ นำ�ถวายอาหารหวานคาว พรอมนำ�บั้งไฟจำ�นวน ๔ บั้งใหกับเจาพอ อูคำ� (เจาพอที่มีอำ�นาจสูงสุดของบานนาทราย) และเสนาทั้ง ๔ (ทหารเอกของเจาพออูคำ�) เจาพอ เจาแม ฟอนรำ�ตรวจตราเครื่องเซน อาหารคาวหวาน


112 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อพอกวนจ้ำ�ทำ�การถวายพาอาหารหวานคาวแลวรางทรง เจาพอเจาแม (ไลตามลำ�ดับอาวุธโส) จะทำ�การฟอนรำ�ตรวจตรา ดูอาหารหวานคาวเมื่อพอใจจึงจะรับการถวายอาหาร ระหวางที่มี การถวายสำ�รับอาหารหวานคาวหมอแคนจะเปาแคนเพื่อเปนการ อัญเชิญผีเจาพอ เจาแมลงมารับเครื่องไหว สิ่งสำ�คัญที่จะขาดไมไดเลยในงานเลี้ยงปรางทรงเจาพอ เจาแมและบริวารที่จะตองมี คือ การจุดบั้งไฟถวายพระยาแถน ซึ่ง เปนประเพณีถือปฏิบัติกันมาตั้งแตบรรพบุรุษอยางยาวนาน ชุมชน ไดมีการกำ�หนดจำ�นวนบั้งไฟที่จะจุดดวยกัน ๔ บั้ง (เพื่อบูชาทาว จตุโลกบาลทั้ง ๔) การจุดบั้งไฟในงานเลี้ยงปนี้เพื่อตองการใหพระยา แถนใหรับรูวาในปนี้ไดมีการจัดงานเลี้ยงปแลวขอใหขาวปลาอาหาร อุดมสมบูรณ และจะมีการกำ�หนดวันจัดงานบุญบั้งไฟของชาวบาน นาทราย โดยพราหมณของหมูบาน (คนเฒาคนแกที่ชาวบานใหการ เคารพนับถือดำ�รงชีวิตอยูในศีลในธรรม) ในวันนี้ดวยเพื่อใหชาวบาน ไดเตรียมงานตอไป สถานที่ในการจุดบั้งไฟ จัดทำ�ขึ้นโดยกลุมชางทำ�บั้งไฟใน หมูบาน บรรยากาศเปนไปดวยความเรียบงายในแบบฉบับพื้นบานอยู บริเวณไมไกลจาก “หอเลี้ยง” (สถานที่ประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับเจาพอ เจาแม) ลำ�ดับสุดทายทำ�พิธีไลผีหลวงที่สิงสถิต ณ หมูบานนาทราย พิธีจุดบั้งไฟถวายพระยาแถน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 113 ครั้งที่ ๒ : งานบุญบั้งไฟเพื่อขอฝนตอพระยาแถนตามความเชื่อ ของชุมชนบานนาทราย งานบุญบั้งไฟของชาวบานนาทราย จะตองมีเจาพอ เจาแม เปนสื่อกลางในการดำ�เนินพิธีกรรม เพื่อติดตอสื่อสารกับพระยาแถน ซึ่งการกำ�หนดวันจัดงานบุญบั้งไฟของชาวบานนั้นจะตองดูฤกษดูยาม กันในวันงานเลี้ยงป โดยมีพราหมณของหมูบาน เปนผูหาฤกษและ จะตองเปนวันฟู (คือวันที่รุงเรืองทำ�การใดก็จะปลอดภัยมีความสุข) และจะตองไมตรงกับวันจม (คือวันที่ทำ�การใดจะเปนใหเกิดเหตุไมดี และจะไมสนุกสนาน) บรรยากาศกอนวันงาน พอกวนจ้ำ� จะเปนหัวเรี่ยวหัวแรงของหมูบานออกแหกัณฑ หลอน หรือการเรี่ยไรเงินบริจาคตามกำ�ลังศรัทธาเพื่อชวยเหลืองานบุญ บั้งไฟของหมูบาน โดยออกแหกันชวงเวลากลางคืน เพราะชาวบานจะ กลับจากการประกอบอาชีพ บรรยากาศเปนไปอยางเรียบงายสนุกสนาน ในแบบฉบับพื้นบาน นักดนตรีรวมขบวนแหประกอบไปดวย ฆอง กลอง ฉาบ และหมอแคน ในระหวางที่แหไปจะมีการรอง “โอฮะโอ ฮะโอ ฮะโอฮะโอ.......(เซิ้งกาพย)” ขบวนแหตามเสนทางในหมูบาน จนครบทุกหลังคาเรือนถือวาเปนอันเสร็จการแหกัณฑหลอน แหกัณฑหลอน


114 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กลุมแมแตง หรือคนรับใชเจาพอ ที่เปนผูหญิงมีหนาที่คอยจัดเตรียมขาว ของเครื่องใชในพิธีกรรม จะรวมตัวกันที่ วัดนาทรายเพื่อรวมกันจัดเตรียมกรวย ขัน ๕ ขัน ๘ ขันหมาก (จีบหมาก จีบพลู) ตนผึ้ง และหอนิมนต (เปรียบเสมือน จดหมายเชิญรางทรงใหเขารวมพิธีกรรม ในวันงาน) กลุมกวนจ้ำ�และผูชายในหมูบาน จะชวยกันตกแตงบั้งไฟโดยนำ�กระดาษ สี กระดาษแกว ฯลฯ ประดับประดาสวย งามตามแบบชาวบาน ความพิเศษของบาน นาทรายคือการทำ�บั้งไฟโหวตหมายถึง การนำ�บองไผมาเรียงรอบบริเวณสวนหัว ของบั้งไฟเพราะเวลาตกลงมาจากฟา โหวตจะทำ�ใหเกิดเสียงเตือนกลุมผูชาย บางสวนทำ�การสราง “หอไหวชั่วคราว” เพื่อไวรับรอง “รางทรงเจาพอเจาแม” ขณะประกอบพิธีกรรมในงานบุญบั้งไฟ ณ บริเวณดานขางศาลาการเปรียญ แมแตงทำ�ขัน ๕ ขัน ๘, หอนิมนต กวนจ้ำ�ชวยกันตกแตงบั้งไฟ หอไหวชั่วคราว ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 115 วันงาน : ประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย ประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มีการประกอบพิธีกรรมตามลำ�ดับงานที่นาสนใจ ผูเขียนขอนำ�เขาสูบริบทของงานบุญบั้งไฟแหงนี้โดยเริ่มจากเรื่องราว ของความเชื่อในชุมชนบานนาทราย แหพระอุปคุต การแหพระอุปคุตในประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย เกิดจาก ความเชื่อวาพระอุปคุตจะทำ�ใหมีความสวัสดีมีชัย และปกปกรักษา ใหงานบุญครั้งนี้สำ�เร็จราบรื่นดวยดี ชาวบานจะรวมตัวกันที่คลอง แกลบหนาหมูบาน ทำ�พิธีอัญเชิญพระอุปคุตขึ้นจากน้ำ�โดยพราหมณ ประจำ�หมูบานเปนผูนำ�พิธีกรรม พราหมณเดินนำ�ขบวนไปตามถนนเขาหมูบานมุงตรงไปที่วัด นาทราย และทำ�การแหรอบสิม (โบสถ) ๓ รอบ มีนักดนตรีพื้นบาน ตีฆอง ตีกลอง ตีฉาบ และเปาแคนเปนการสรางบรรยากาศใหครึกครื้น เมื่อครบรอบพราหมณจะนำ�บาตร ผาไตรจีวร มาประดิษฐสถานไว ที่หอพระอุปคุตที่เตรียมไว ผูที่รักสนุกก็จะฟอนรำ�กันตามอัธยาศัย ขบวนแหพระอุปคุต


116 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การแหพระอุปคุตจัดขึ้นชวงเชามืดกอนไกโหของวันงาน ถือเปนกุศโลบายอยางหนึ่งที่จะชวยคัดกรองผูศรัทธาในเนื้อนาบุญ พระพุทธศาสนาอยางแทจริง หากใครไมมีความเลื่อมใสศรัทธามาก พอ จะไมมีความพยายามตื่นแตเชามาแหพระอุปคุตไดแนนอน แหผาเจาพอ เมื่อแหพระอุปคุตเขาเมืองเรียบรอยแลวบรรดารางทรง กวนจ้ำ� แมแตง นักดนตรี และชาวบาน เดินทางกลับไปรวมตัวกัน ณ หีบใหญ (บานของรางทรงเจาพออูคำ�คนแรกของหมูบาน) อีกครั้ง เพื่อประกอบพิธีกรรมนำ�หอผาของรางทรงเจาพอ เจาแม ที่เสียชีวิต ไปแลวเขารวมงานบุญบั้งไฟ (หอที่ ๑ หอผาของเจาพอองคใหญ หอ ที่ ๒ และ ๓ เปนผาของเจาพอ เจาแม องคเล็ก ๆ ลงมา) เมื่อเสร็จ พิธีอัญเชิญจึงเริ่มตั้งขบวนแหไปยังวัดนาทราย เพื่อนำ�ผาเจาพอไป ประดิษฐสถานไว ณ หอไหวชั่วคราว แสดงใหรูวาไดนำ�ทานผูลวงลับ เขารวมงานบุญบั้งไฟในครั้งนี้เปนที่เรียบรอย แหผาเจาพอ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 117 ถวายบั้งไฟใหเจาพอ และเบิกบั้งไฟ เมื่อการแหผาเจาพอเสร็จสิ้นลง ชวงบายของวันงานบรรดา รางทรงเจาพอ เจาแมและบริวารจะกลับไปรวมกัน ณ หีบใหญ อีก ครั้ง เพื่อทำ�พิธีถวายบั้งไฟและบอกกลาวเจาพออูคำ�ที่สถิตยอยู ณ แหงนี้ รับทราบวาประเพณีบุญบั้งไฟไดเริ่มขึ้นแลว “รางทรงเจาพออูคำ�” เริ่มทำ�พิธีดวยการบอกกลาวอัญเชิญ เจาแตละองคลงมาประทับราง แลวสงจานขัน ๕ ขัน ๘ ใหกับเจา พอขุนไทร (ลูกชาย) ตามดวยเจาองคอื่น ๆ ตามลำ�ดับ เมื่อเจาทุก องคลงประทับรางแลว เจาพอองคใหญจึงเริ่มทำ�พิธีถวายบั้งไฟ และ ทำ�น้ำ�มนตใชในพิธีเบิกบั้งไฟ โดยมีความเชื่อวาการเบิกบั้งไฟจะทำ�ให บั้งไฟไมตกใสชาวบานและความเปนสิริมงคลแกงาน หลังจากนั้น บรรดาเจาพอเจาแมก็ลุกขึ้นฟอนรำ�รวมกันจนพอใจกอนลงไปยังรถ บั้งไฟที่จอดรออยู ถวายบั้งไฟเจาพอ และเบิกบาน


118 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เจาพออูคำ� เดินถือดาบประจำ�ตัว ชื่อ “ศรีคันชัย” ลงมา จากหีบใหญ ตามดวยเจาพอขุนไทรถือไมเรียวหวาย และตามดวย เจาองคอื่น ๆ ตามลำ�ดับ ทำ�พิธีเบิกบั้งไฟพรอมประพรมน้ำ�มนตไป ยังรถและบั้งไฟ โดยเดินรอบรถบั้งไฟ ๑ รอบ เมื่อเสร็จสิ้นพิธีเบิก บั้งไฟก็เริ่มตั้งขบวนแหไปยังวัดนาทราย ขบวนแหบั้งไฟไปยังวัดนาทราย เริ่มตั้งขบวนแหจากหนาบานหีบใหญ โดยในขบวนประกอบ ไปดวยกวนจ้ำ� ๓ คน ถือตนผึ้งนำ�หนาขบวน ตามดวยเจาพออูคำ�หรือ เจาพอหลวงพิชัยถือดาบ “ศรีคันชัย” เบิกทาง ตามดวยเจาพอขุน จบถือไมเรียวหวายเบิกทาง ตามดวยเจาองคอื่น ๆ ตามลำ�ดับ ถัด มาเปนวงดนตรีบรรเลงในขบวน ตามดวยลูกผึ้งลูกเทียน (ชาวบาน) รถกลองกิ่ง และปดทายดวยรถเอบั้งไฟ ขบวนแหบั้งไฟไปวัดนาทราย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 119 เมื่อขบวนเคลื่อนเขาวัด พระสงฆ ๔ รูป จะนั่งบนโตะไม ขนาดใหญใตตนโพธิ์ เจริญพระพุทธมนตและประพรมน้ำ�มนตใหกับ ขบวนบั้งไฟ เพื่อใหเกิดความปลอดภัยและความเปนสิริมงคล กวนจ้ำ�และรางทรงเจาพอ เจาแม จะนำ�ตนผึ้งที่รวมใน ขบวนแหเขาไปถวายพระประธานที่อยูภายในสิม เมื่อเสร็จสิ้นการ แหบั้งไฟรอบสิม ศาลาการเปรียญ จึงเริ่มตนดวยการแหบั้งไฟรอบ สิม และศาลาการเปรียญจนครบ ๓ รอบ ดวยความสนุกสนาน และ ความสามัคคีของคนในชุมชนบานนาทราย สิ่งที่สังเกตเห็นในขบวนแห คือการนำ�เชือกสีแดงมากั้นลอม ขบวนแหบั้งไฟเอาไว เพื่อเปนการปองกัน ผี วิญญาณเรรอน หรือ สิ่งไมดีมาขวางทางขบวน ซึ่งเปนภาพตอกย้ำ�ใหเห็นวาในทุกพิธีกรรม ของงานถูกโยงกับความเชื่อเรื่องผีอยางฝงแนน แมวาในโลกปจจุบัน จะพัฒนาไปสูกระแสสังคมสมัยใหมก็ตาม


120 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ฟอนรำ�ฉลองบั้งไฟ ณ หอไหวชั่วคราว เมื่อแหบั้งไฟรอบสิมและศาลาการเปรียญจนครบ ๓ รอบ แลว บรรดาเจาพอ เจาแม นำ�ขบวนเขาไปในบริเวณหอไหวชั่วคราว ซึ่งทำ�จากไมไผมีรั้วกั้นอาณาเขตไมใหชาวบานเขาไปในพื้นที่บริเวณ ที่กั้นไว (เปรียบเสมือนเขตพระราชฐานชั้นในของเจาพอ) เพื่อทำ� การฟอนรำ�ฉลองบั้งไฟและเปนการแสดงความเคารพกันระหวาง บรรดาเจาพอ เจาแม ที่อยูในระหวางการประทับทรง เมื่อฟอนรำ� จนพอใจ จึงเคลื่อนขบวนไปยังโรงเรียนบานนาทรายเพื่อเริ่มพิธีการ จุดบั้งไฟ เปนการบอกกลาวพระยาแถนแทนกลุมชาวบานเพื่อใหฝน ตกตองตามฤดูกาลสำ�หรับทำ�นา ทำ�ไร โดยมีรางทรงเจาพอ เจาแม เปนประธานในการจุดบั้งไฟทุกป ภาพการฟอนฉลองบั้งไฟ ณ หอไหวชั่วคราว สะทอนใหเห็น คือ กลุมรางทรงเจาพอ เจาแม มีการแบงชนชั้นใหเห็นไดอยาง ชัดเจน ผูนอยตองเคารพผูใหญ และรูปแบบของเครื่องประกอบ ในพิธีกรรมแสดงถึงระบบเจาขุนมูลนาย เห็นไดจาก หอไหวชั่วคราว เปรียบเสมือนเขตพระราชฐานชั้นในของเจาพอโดยมีสัปทน (ที่ชาว บาน เรียกวา รม) ใชกลางกันแดดใหเจาพอ รำ�ฉลองบั้งไฟ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 121 จุดบั้งไฟ ชุมชนเลือกโรงเรียนบานนาทราย เปนสถานที่จุดบั้งไฟเพราะ เปนตำ�แหนงที่ปลอดภัย ตั้งอยูบริเวณทายหมูบาน เมื่อรางทรง เจาพอ เจาแม มาถึงสถานที่จุดบั้งไฟ กลุมวัยรุนในหมูบานคือหัว เรี่ยวหัวแรงในการนำ�บั้งไฟขึ้นจุดถวายพระยาแถน โดยบั้งไฟบั้งแรก จะเปนของเจาพออูคำ� – เจาแมอูแกว และไลเรียงลำ�ดับตามจำ�นวน เจาภาพในแตละป บรรยากาศเต็มไปดวยความสนุกสนาน วงดนตรีพื้นบานมี เพียงเครื่องดนตรีไมกี่ชิ้นกลับสรางความสุขใหกับคนในชุมชนได แตสิ่งนาชื่นใจที่สุดในงานประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย คือ ทุก คนมีรอยยิ้มที่ทำ�ใหเกิดความสบายใจแกผูมาเยือน บรรยากาศขณะจุดบั้งไฟ


122 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วันเก็บกากบั้งไฟ ในวันรุงขึ้นถัดจากวันจุดบั้งไฟของบานนาทรายจะมีพิธีที่ เรียกวา “วันเก็บกากบั้งไฟ” โดยจะมีขั้นตอนและพิธีกรรมเหมือน กันกับวันแหบั้งไฟ ในวันเก็บกากจะมีการจุดบั้งไฟจำ�นวน ๔ บั้ง ถือ เปนสัญลักษณในการบอกกลาวพระยาแถนและเทพประจำ�ทิศทั้ง ๔ วาไดเสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอยแลว ประกอบกับความเชื่อของชุมชน เกี่ยวกับบุญบั้งไฟเปนประเพณีแหงความรอน วันเก็บกากบั้งไฟจึง เปนการสะสางเพื่อดับรอนใหชุมชน บรรยากาศวันเก็บกากบั้งไฟ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 123 ประเพณีบุญบั้งไฟของบานนาทราย ถือวาเปนประเพณีที่ สื่อถึงวัฒนธรรมทองถิ่นที่ผูกพันระหวางความเชื่อเรื่องผีกับสังคม เกษตรกรรม ความโดดเดนของบุญบั้งไฟนาทรายคือมีการจัดงาน ขึ้นปละ ๒ ครั้ง คืองานบุญบั้งไฟซึ่งจัดขึ้นพรอมกับงานเลี้ยงปไลผี หลวง และงานบุญบั้งไฟเพื่อขอฝนตอพระยาแถนตามความเชื่อ ของชุมชนบานนาทราย ลักษณะของประเพณียังดำ�รงพิธีกรรมใน รูปแบบเกา ๆ การดำ�เนินกิจกรรมทุกอยางเกิดขึ้นจากความรวมมือ และความสามัคคีของชาวบานในชุมชน โดยมีรางทรงเจาพอ เจาแม เปนสื่อกลางในการทำ�พิธีกรรมตาง ๆ ซึ่งทางหนวยงานภาครัฐมี บทบาทเพียงใหการสนับสนุนงบประมาณเพียงเล็กนอยเทานั้น จะ เห็นไดวาจากกระแสโลกาภิวัตนที่เปนไปดวยความกาวหนาทาง เทคโนโลยีจึงเปนคำ�ถามวาทำ�ไมประเพณีนี้ถึงยังคงมีระบบความ เชื่อของทองถิ่นอยูบนรากเหงาของตัวเองไดอยางเขมแข็ง ผูเขียนเชื่อวาหากใครหลาย ๆ คนไดยืนอยู ณ จุดนี้ ตอง เกิดความรูสึกไมตางกันกับผูเขียน คืออยากยอนเวลากลับไปเปน เด็กตัวเล็ก ๆ อีกครั้ง เพราะภาพที่อยูตรงหนาไมมีใหเห็นไดงาย ๆ ในโลกปจจุบันที่เต็มไปดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ความเชื่อ พิธีกรรม ของงาน “บุญเดือนหก” บุญบั้งไฟ บานนาทราย สามารถสรางมนตเสนหความประทับใจใหแกผูมา เยือนจากตางถิ่นรูสึกอยากกลับไปบอกเลาประสบการณใหทุกคน ฟงตอ ๆ ไป


124 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม การทองเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ. ยุทธศาสตรการทองเที่ยวเชิงศาสนา วัฒนธรรม วิถีชุมชน. เพชรบูรณ : ทองเที่ยวจังหวัดเพชรบูรณ, ๒๕๕๗. ธเนศ วงศยานนาวา. จากประเพณีประดิษฐ สูความหลากหลายของ วัฒนธรรมศึกษา อาทิ วัฒนธรรมสายตา. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย, ๒๕๕๒. ปฐม หงษสุวรรณ. การชวงชิงความหมายเนื่องดวยประเพณีบุญบั้งไฟใน กลุมชาติพันธุอีสาน. วารสารวิถีสังคมมนุษย ฉบับพิเศษ ; มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๖. ปนวดี ศรีสุพรรณ และคณะ. รื้อสรางประเพณี : การเปลี่ยนแปลงของบุญ บั้งไฟในยุคโลกาภิวัตน. วารสารสังคมลุมนา้ํ โขง. ๗ (๒) ; มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๔ : ๒๗-๔๘. อัจฉรา ประสิทธิ์สกุลชัย. ประเพณีนารูจัก. กรุงเทพฯ : ปญญา, ๒๕๔๕. สัมภาษณ เกศินี ยังคัง. อายุ ๔๓ ป บานเลขที่ ๗๕ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๘. เขียน วันเมฆ. อายุ ๘๔ ป บานเลขที่ ๖๕ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๘. เชา วันคง. อายุ ๗๓ ป บานเลขที่ ๘๑ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘. ซุง ดวงอุปะ. อายุ ๗๕ ป บานเลขที่ ๑๔๖ หมู ๓ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๘.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 125 เปลื้อง นันทะกูล. อายุ ๗๙ ป บานเลขที่ ๑๒๒ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บลวังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘. พัด ใจเมฑา. อายุ ๘๕ ป บานเลขที่ ๖๒ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘. เพชร จันทรเกิด. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๗๑ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘. เพียง ขัดมัน. อายุ ๗๖ ป บานเลขที่ ๙๐ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘. รวม รางวันนา. อายุ ๘๐ ป บานเลขที่ ๘๓ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘. ละมูล สายทองติ่ง. อายุ ๖๙ ป บานเลขที่ ๖๒ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๘. ลั้ง ใจเมธา. อายุ ๖๘ ป บานเลขที่ ๗๑ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๘. หวย บุตรศรี. อายุ ๗๗ ป บานเลขที่ ๘๗ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๘. ใสยาง แสน. อายุ ๖๖ ป บานเลขที่ ๘๓ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘. อวย วันยศ. อายุ ๗๑ ป บานเลขที่ ๘๗ บานนาทราย หมู ๓ ตำ�บล วังบาล อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘.


126 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 127 แขวนทุง (ตุง) สรงน้ำ�เจาพอ พิธีกรรมและความเชื่อ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ อมรรัตน กาละบุตร สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน บานวัดทุงธงไชย เปนหมูบานหนึ่งในอำ�เภอหลมเกาที่มีกลุม ชาติพันธุไทหลมอาศัยอยูอยางหนาแนน ซึ่งเปนกลุมคนที่อพยพมา จากประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และกระจาย ตัวกันตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณหลมเกาและหลมสักในจังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งบางสวนไดเลือกตั้งบานเรือน และไดหาสถานที่สรางวัดติดทองทุง แลวตั้งชื่อหมูบานวา “บานวัดทุงธงไชย” (สุพัตรา จิรนันทนาภรณ, อัญชลี สิงหนอย, ๒๕๔๗) บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ มีการนับถือผีผสมผสานควบคูไปกับพระพุทธศาสนา ระบบความเชื่อและพิธีกรรมเกี่ยวกับการทรงเจาเขาผีที่เรียกกันวา “เจาพอ เจาแม”


128 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จากความเชื่อความศรัทธาที่มีตอเจาพอเจาแม จึงทำ�ใหเกิด พิธีกรรมตาง ๆ ที่มีความเกี่ยวของกับเจาพอเจาแม ถือไดวาเปน การแสดงออกถึงความเคารพศรัทธาที่มีตอเจาพอเจาแม และขอพร ใหมีความอยูเย็นเปนสุข พิธีแขวนทุง สรงน้ำ�เจาพอ ถือเปนพิธีกรรม หนึ่งที่มีสวนเกี่ยวของกับเจาพอ รวมถึงเปนสัญลักษณที่บงบอกถึง การประกาศชัยชนะของสงครามและความโชคดี ยังเปนสัญลักษณ บอกเขตใหผูคนรับรูวาบริเวณที่ปกทุงนั้นเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เปน สถานที่ประกอบพิธีกรรมตาง ๆ และบงบอกวาพิธีกรรมนั้น ๆ ได เริ่มขึ้นและจบสิ้นลงแลว (จินตนา สนามชัยสกุล. ในศิลปวัฒนธรรม เพชบุระ. ๓ (๖), ๒๕๕๖ : ๖๐ - ๖๑.) การกำ�หนดวันจัดงาน จะนิยมจัดขึ้นหลังงานสงกรานตซึ่ง แตละหอ (ศาล) เจาพอจะกำ�หนดวันที่แตกตางกันออกไป สวนใหญ จะนิยมใหตรงกับวันพฤหัสบดี โดยภายในงานจะมีทั้งพิธีแขวนทุง และการสรงน้ำ�เจาพอ จะมีสิ่งของที่จะใชในพิธี ดังตอไปนี้ ๑. ทุง (ตุง) จะมีทั้งหมด ๖ สี (สีขาว สีแดง สีเหลือง สีเขียว สีน้ำ�เงิน และสีมวง) โดยจะใชไหมพรมสีตามที่กำ�หนดใสถาดไว และ จะมีหอนิมนตวางไวในถาด ๒. หอนิมนต (กรวยใบตองแบบตัดปากเทากัน ในกรวยใส ดอกไม ๑ คู ธูป ๑ คู (๒ ดอก) ๓. ขันเจาพอ ประกอบดวย ขัน ๕ (กรวยดอกไม ธูป ๕ กรวย หอนิมนตกรวยแหลม ๑ กรวย เทียนไขสีขาว ๒ เลม เทียน สีเหลืองเล็ก ๒ เลม) ขัน ๘ (กรวยดอกไมธูป ๘ กรวย หอนิมนต กรวยพับเปนรูปสี่เหลี่ยม ๑ กรวย เทียนไขสีขาว ๒ เลม เทียนสี เหลืองเล็ก ๒ เลม)


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 129 ๔. จีบหมาก จีบพลู ยามวน ๕. เหลา ๔๐ น้ำ�เปลา ๖. ไมไผทั้งลำ�ไมตัดปลาย กอนวันงานหนึ่งหรือที่ชาวบาน เรียกกันวา วันสุกดิบ รางทรงเจาจะ เดินทางมารวมตัวกันที่ศาลเจาพอ หนองขาม เพื่อทำ�ความสะอาดหอ (ศาลเจาพอ) มีการตกแตงดวยดอกไม หลากหลายชนิดที่หาไดภายในหมูบาน และรวมกันจัดเตรียมสิ่งของที่จะใช ในงาน รุงเชาของวันจัดงานชาวบาน และรางทรงเจาจะเดินทางมารวมตัว กันที่ศาลเจาพอหนองขามเพื่อเริ่มงาน พิธีตามขั้นตอนตอไป พิธีแขวนทุง ทำ�ขัน ๕ ขัน ๘, หอนิมนต ชาวบานชวยกันทำ�ทุง ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓


130 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เริ่มจากการเชิญเจาเขาทรงประทับราง เมื่อทุกอยางภาย ในงานพรอมทั้งหมดแลว รางทรงเจาแตละคนรวมตัวและประกอบ พิธีบอกกลาวเชิญเจาลงประทับราง พรอมทั้งแตงองคทรงเครื่อง หลังจากที่แตงองคทรงเครื่องเสร็จ เจาแตละองคจะเขาไปทำ�ความ เคารพเจาพอองคใหญตามลำ�ดับความอาวุโส หลังจากที่บรรดาเจาพอเจาแมทำ�ความเคารพพูดคุยกันเปน ที่เรียบรอย จึงเริ่มประกอบพิธีถวายทุง หลังจากที่ถวายทุงเสร็จก็ นำ�ไปมัดติดกับไมไผที่เตรียมไวพรอมทั้งมีหอนิมนตมัดติดไวดวยกัน ตอจากนั้นบรรดาเจาพอเจาแมเริ่มตั้งขบวนแหทุงรอบศาล เจาพอหนองขาม โดยในขบวนแหจะมีเจาพอองคใหญสุด (องค ประธาน) เดินนำ�หนาถือไมเรียวหวายตามดวยเจาพอองครอง ๆ ถัดมาเดินถือดามตีกระทบกันไปเรื่อย ๆ และเจาพอองคอื่น ๆ ซึ่ง ในมือจะถือหอนิมนตองคละ ๑ กรวย แตเจาพอบางองคจะถือทุง แหตามกันไปในขบวน การแหจะเวียนรอบบริเวณสถานที่ของศาล เจาพอหนองขาม ๓ รอบ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 131 เมื่อแหจนครบ ๓ รอบ เจาพอเจาแมจะชวยกันนำ�ทุงไปปก ตามจุดรอบบริเวณศาลเจาพอหนองขาม ตามดวยบรรดาเจาพอ เจาแมที่จุดเทียนจุดธูปถือไปปกไปที่โคนของไมแขวนทุง พิธีสรงน้ำ�เจาพอเจาแม หลังจากที่ประกอบพิธีแขวนทุงเปนที่เรียบรอย บรรดาเจา พอเจาแมรวมตัวกันที่บริเวณหนาหอไหวเจาพอองคนำ�ใบไมจุมลง ไปในขันน้ำ�พรมไปที่หอไหว แลวตามดวยเจาพอเจาแมองคตอ ๆ มาตามลำ�ดับความอาวุโส ตอจากนั้นบรรดาเจาพอเจาแมเดินมาสรง น้ำ�ที่หิ้งของหอเลี้ยง และตามดวยการสรงน้ำ�ใหกับเจาพอเจาแมที่มี ความอาวุโสกวา พิธีแขวนทุง


132 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การฉลองงานพิธีแขวนทุง เมื่อการสรงน้ำ�เจาพอเจาแมเสร็จลง บรรดาเจาพอเจาแม จะรวมตัวและรำ�รวมกันถือเปนการเฉลิมฉลองของบรรดาเจาพอ เจาแม ซึ่งการรำ�นั้นจะมีบางองคไปรำ�บริเวณหนาหอไหว บางองคจะ ไปรำ�บริเวณหนาหอเลี้ยง บางองคมีอาการรองโหและรับหิ้วบางองค มีการเลนสาดน้ำ�กัน บางองคนำ�น้ำ�มารดตัวเองเจาบางองคที่เปน เด็กนอยก็รองไหอยากกินนม (ชาวบานบอกวา “นม” คือน้ำ�มะพราว ออน) หลังจากที่บรรดาเจาพอเจาแมรำ�รวมกันจนพอใจจะเขาไปกราบ เจาองคใหญในหอเลี้ยง ถือเปนอันเสร็จพิธีแขวนทุงประจำ�ปนี้ ที่ศาล เจาพอหนองขาม บรรยากาศฉลองพิธีแขวนทุง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 133 พิธีแขวนทุงศาลเจาพอเหล็กซี หลังจากที่ประกอบพิธีแขวนทุงที่ศาลเจาพอหนองขามเสร็จ บรรดาเจาพอเจาแมพากันเดินทางไปยังศาลเจาพอเหล็กซีประกอบพิธี ถวายทุงกับเจาพอเหล็กซี ตามดวยการสรงน้ำ�เจาพอ และแหทุงไป รอบบริเวณศาลเจาพอเหล็กซี ๓ รอบ โดยมีเจาพอเหล็กซีเดินถือดาบ ตีกระทบกันเดินนำ�หนาขบวน ตามดวยเจาพอเจาแมองคอื่น ๆ เดิน ตามกัน บริเวณดานขางของศาลทั้งซายและขวาจะมีเจายืนถือดาบ ประจำ�อยูเปรียบเสมือนเฝารักษาความปลอดภัยนั่นเอง เมื่อการแหขบวนทุงจนครบ ๓ รอบ จะนำ�ทุงไปปกบริเวณที่ ไดเตรียมเอาไวพรอมกับมีเสียงโหรับทันทีหลังจากปกทุงเสร็จเรียบรอย บรรดาเจาพอเจาแมจะรวมกันรำ�เพื่อเปนการเฉลิมฉลองในระหวาง ที่รำ�จะมีการสาดน้ำ�ใสกัน มีเสียงโหเสียงรองบาง จนบรรดาเจาพอ เจาแมพอใจ จึงประกอบพิธีเชิญเจาพอเจาแมออกจากรางถอดเครื่อง ทรงพับเก็บถือวาเปนอันเสร็จพิธีแขวนทุง สรงน้ำ�เจาพอ ในปนี้ พิธีแขวนทุงที่ศาลเจาพอเหล็กซี


134 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เรื่องผีเขาเจาทรง ฟงดูแลวคอนจะลาหลัง ไมทันสมัย เชย งมงาย แตสิ่งที่แฝงอยูนั้น คือความสามัคคีของกลุมชนที่รวมแรง รวมใจกันปฏิบัติภารกิจของชุมชน ยามใดที่ชุมชนเดือดรอนและมีการ รองขอ ชาวบานกลุมตาง ๆ เหลานี้จะยื่นมือเขาชวยกันอยางหนา แนน ซึ่งตรงกับคำ�ที่ทันสมัยในปจจุบันคือ “จิตอาสา” แตละคนของ เจาพอ มิไดแอบแฝงผลประโยชนแตประการใด เจาพอแตละองคยัง คงมั่นอยูในศีล - ทาน และปฏิบัติตามครรลองของพระพุทธศาสนา ทั้งสิ้น ศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนภูมิปญญาของหมูบานหลม เกา จึงถูกสืบสานมาจากรุนสูรุนจนถึงทุกวันนี้ บรรณานุกรม จินตนา สนามชัยสกุล. วัฒนธรรมไทหลม : เจาพอเมืองหลมเกา. วารสาร ศิลปวัฒนธรรมเพชบุระ. ๓ (๖) ; เมษายน – กันยายน ๒๕๕๖ : ๖๐ - ๖๑. จักษุมาลย วงษทาว และวิโรจน หุนทอง รายงานการลงพื้นที่เก็บขอมูล ภาคสนาม เรื่องพิธีแขวนทุง (ตุง) สรงน้ำ�เจาพอ ศาลเจาพอ หนองขาม บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ, ๒๕๕๖. สุพัตรา จิรนันทนาภรณ อัญชลี สิงหนอย. รายงานการวิจัย ภูมินามของ หมูบานในเขตภาคเหนือตอนลาง จังหวัดเพชรบูรณ. พิษณุโลก : สาขาวิชาภาษาศาสตร คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๔๗.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 135 สัมภาษณ ขจรศักดิ์ บุญเสริม. อายุ ๕๖ ป บานเลขที่ ๒๖ หมู ๑๑ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖. หนูศิริ กางถิ่น. อายุ ๘๙ ป บานเลขที่ ๖๔ หมู ๑๑ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖. ประทีป จันทรทา. อายุ ป บานเลขที่ ๒๗๒ หมู ๖ บานกุดชาง ตำ�บล หลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖. ประเทือง ทองเติม. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๕๒ หมู ๗ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖. พูนสุข กีเรียง. อายุ ๕๗ ป บานเลขที่ ๘๘ หมู ๖ บานกุดชาง ตำ�บล หลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖. มยุรี ศิริกาจนพงศ. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๑๔๔ หมู ๑๑ บานวัดทุงธงไชย ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖. ลา บุญกอง. อายุ ๖๓ ป บานเลขที่ ๖๓ หมู ๔ บานวัดตาด ตำ�บลหลมเกา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖.


136 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 137 พิธีเสนเรือนไทยทรงดำ� บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ วิโรจน หุนทอง สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน ชาวไทยทรงดำ�หรือลาวโซง เปนชนเผาไทยกลุมหนึ่งซึ่งมี ถิ่นฐานดั้งเดิมอยูบริเวณดินแดนสิบสองจุไทยในเวียดนามเหนือ ปจจุบัน คนไทยมักเรียกพวกเขาวา “ลาวโซง” หรือ “ไทยโซง” เนื่องจากอพยพผานมาทางประเทศลาว ซึ่งคำ�วา โซง เปนคำ�ที่ถูก เรียกตามเครื่องแตงกายเพราะนุงซงดำ�หรือกางเกงสีดำ� ปจจุบัน นิยมเรียกวา “ไทยทรงดำ�” ลาวโซงปจจุบันพบในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี ลพบุรี สระบุรี กาญจนบุรี สุโขทัย พิจิตร และพิษณุโลก ชาวไทยทรงดำ�ไดอพยพเขามาในประเทศไทย สมัยกรุงธนบุรี ป พ.ศ. ๒๓๒๒ เปนตนมา จนถึงปจจุบัน


138 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชาวไทยทรงดำ� สวนใหญในหมูบานไดอพยพถิ่นฐานมาจาก อำ�เภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี และไดมาตั้งถิ่นฐานใหมที่ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๘ เปนตนมา จนถึงปจจุบัน สาเหตุที่อพยพเพราะมีผูคนเกิดมากขึ้นทำ�ใหที่ทำ�กิน ไมเพียงพอ ภาษาที่ใช จะใชภาษาลาวโซงที่จะพูดคุยกับลาวโซงดวย กัน และจะใชภาษาไทยพูดกับคนที่ไมใชลาวโซงโดยกำ�เนิด แมชาว ลาวโซงจะสนิทสนมคุนเคยกับชาวไทยหรือชนกลุมอื่นมากเพียงใด แตชาวลาวโซงสวนใหญก็ยังคงรักษาประเพณีพิธีกรรมดั้งเดิมของ ตนไวอยางครบถวน ไดแก พิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อและสภาพ ความเปนอยูของตน เชน พิธีเสนเรือน พิธีแตงงาน พิธีศพ การ แตงกายจะนิยมแตงชุดดำ� หรือสีครามเขมเปนประจำ�จนไดชื่อวา “ลาวทรงดำ�” หรือ “ไทยทรงดำ�” หรือ “ผูไทยดำ�” แลวยังมีการ แตงกายที่เปนเอกลักษณของตน คือสวมเสื้อฮีกับซวงขาฮี ซึ่งเปน กางเกงขายาวสำ�หรับผูชาย และเสื้อฮีกับผาถุงสำ�หรับหญิง หญิง ลาวโซงจะไวผมยาวและเกลาเปนมวยทรงสูงไวที่ทายทอย ชาวไทย ทรงดำ�สวนมากจะมีความผูกพันกับเครือญาติมีความเปนกันเอง วัฒนธรรมของชาวไทยทรงดำ� ไดแก การขับรอง ดนตรี ประเพณี พิธีกรรม และการละเลนตาง ๆ (ชุษณาพร นครจินดา, ๒๕๔๓) บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ เปน อีกพื้นที่หนึ่งที่มีกลุมไทยทรงดำ�หรือลาวโซงตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู และ นำ�เอาวัฒนธรรมประเพณีที่ไดสืบทอดจากบรรพบุรุษของกลุมตนมา ยึดถือปฏิบัติกันในชีวิตประจำ�วัน เชน พิธีเสนเรือนหรือพิธีเสนเฮือน พิธีปาดตง พิธีแปงขวัญ เปนตน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 139 “พิธีเสนเรือนไทยทรงดำ�” เปนพิธีเซนไหวผีเรือนของชนเผา ไทยดำ� ซึ่งเปนผีบรรพบุรุษ ไดแก พอ แม ปู ยา ตา ยาย และ บรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว ตามปกติพิธีเสนเรือนจะปฏิบัติกันทุก ครอบครัวเปนประจำ�ทุกป หรือ ๓ ปตอครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฐานะ และความพรอมของครอบครัว เพื่อคุมครองบุตรหลานใหอยูเย็น เปนสุข ทำ�มาหากินเจริญกาวหนา ผูประกอบพิธีกรรมคือ หมอเสน สวนผูรวมพิธีไดแกบรรดาลูกหลานและญาติ ๆ รวมทั้งแขกที่เชิญเขา รวมงาน ถาเจาบานหรือสมาชิกภายในครอบครัวเปนพนักงานของรัฐ หรือมีตำ�แหนงสำ�คัญก็จะเชิญแขกมาเปนจำ�นวนมาก การประกอบพิธีเสนเรือนไทยทรงดำ�นั้นตามปกติจะจัด ขึ้นปละ ๑ ครั้ง หรือในทุก ๆ ๓ ปถึงจะจัดก็มีตามแตฐานะของ ครอบครัวสวนจะจัดขึ้นในวันเดือนใดนั้นก็ขึ้นอยูกับความสะดวก ซึ่งสวนใหญจะจัดในชวงเดือนคู ยกเวนเดือนเกาและเดือนสิบจะไม ประกอบพิธีเสนเรือน พิธีเสนมีทั้งพิธีเสนเรือนธรรมดาสำ�หรับคน ชนชั้นสามัญ และพิธีเสนเรือนผูตาวสำ�หรับตระกูลที่สืบเชื้อสายมา จากเจา พิธีเสนเรือนแบงขั้นตอนการจัดงานออกไดเปน ๒ ขั้นตอน ดังนี้ ๑. เตรียมงาน - กอนการทำ�พิธีเสนเรือน เจาของบานจะตองซอมแซม บานเรือนไวใหมั่นคง และจะตองมีการทำ� “อุ” คือน้ำ�เมาชนิดหนึ่ง ที่ทำ�จากปลายขาวกับแกลบ หรือเรียกกันโดยทั่วไปวา “เหลาแกลบ” - กำ�หนดวันจัดพิธีเสนเรือน เจาของบานจะตองปรึกษา หมอผีประจำ�หมูบาน เลือกหาวันดีหรือวันมงคลที่ควรจัดงาน การ ไปปรึกษาหมอเสนตองไปชวงบาย เพราะจะถึงบานหมอเวลาแดดรม


140 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พอดี และจะตองจัดชุดเซนหมากพลู ยาสูบ ไปเปนของกำ�นันใหกับ หมอเสนเมื่อหมอเสนรับของกำ�นันแลวจะนำ�ไปบูชาครูที่หิ้งบูชา เครื่องเซนไหว ประกอบดวยหมู ที่ชาวไทยทรงดำ�สวนใหญ จะเลี้ยงไวสำ�หรับใชในพิธีกรรม ซึ่งเจาของบานจะนำ�มามัดขากับไม แลวใหลูกเขยหรือหลานเขยคลองเสื้อหามหมูขึ้นบานไปวางไวใน หอง กะลอหอง แลวทำ�ความเคารพบอกกลาวผีเรือน ตอจากนั้น จึงนำ�หมูมาประกอบอาหารที่ใชในพิธีและเลี้ยงแขก - หมู ชาวบานจะเลี้ยงกันเองทุกครัวเรือน เมื่อถึงวันจัดพิธี จะฆาหมูที่เลี้ยงไว ซึ่งมีน้ำ�หนักประมาณ ๗๐ - ๘๐ กิโลกรัม สำ�หรับ เซนไหวและประกอบอาหารเลี้ยงแขกที่มารวมงาน - ไก เจาของบานจะตองฆาไก ๓ ตัว ตมใหสุก ไกตัวที่ ๑ พรอมกับเหลา ๑ ขวด จะมอบใหหมอเสนนำ�ไปบูชาครู สวนไกที่ เหลืออีก ๒ ตัว (รวมทั้งเครื่องในไกดวย) พรอมกับเหลาอีก ๑ ขวด จะนำ�ไปเซนผีเรือน ชาวบานฆาหมูเพื่อใชเซนไหว


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 141 - การลมหมู มีการเตรียมหมูทั้งตัวไว แลวชำ�แหละเปนชิ้น ๆ ตัดสวนตาง ๆ ของลำ�ตัวออกเปนสวน ๆ เพื่อใชในพิธีเซนสวนหนึ่ง อีก สวนหนึ่งจะแบงไวทำ�อาหารเลี้ยงแขก การฆาหมูทำ�กันกอนเชาตรู ของวันงาน - อาหารที่ใชในพิธีและเลี้ยงแขกที่ขาดไมไดเด็ดขาด คือ แกงไกใสหนอไมเปรี้ยว ตมกระดูกหมูผักกาดดอง ลาบหมู แกงบอน ใสกะทิ และขนมจีน น้ำ�ยา ๒. วันงานพิธีเสน เมื่อไดเวลาประมาณ ๐๑.๐๐ น. ของวันงาน ทางเจาภาพจะ จุดธูปบอกพระภูมิเจาที่วาจะเริ่มฆาหมู แลวก็จะนำ�เหลาและขันหมาก (เชี่ยนหมาก) เขาไปบอกผีในหองผี (กะลอหอง) แลวชาวบานก็จะ เริ่มฆาหมู คนที่มาฆาหมูนั้นจะเปนชาวบานที่ไมใชคนที่นับถือผีเดียว กัน และตองเปนชาวบานที่นับถือผีคนละผีกับเจาภาพ อาหารที่ใชทำ�พิธี และเลี้ยงแขก


142 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลังจากที่ไดทำ�การฆาหมูและผาทองเอาเครื่องในออกมา ลางแลว จะนำ�เอาเครื่องในใสสาแหรกและใหลูกเขยชวยกันหามหมู ขึ้นเรือนนำ�เขาไปในกะลอหอง (หองผี) เพื่อทำ�การชำ�แหละหมูออก เปนชิ้นสวน หลังจากที่ชำ�แหละหมูเปนที่เรียบรอยแลว ก็จะนำ�หมูที่เหลือ จากการที่ไดเลือกชิ้นหมูที่จะใสปานเผือน (ภาชนะใสเครื่องเซนผี เรือน) นั้นนำ�ไปทำ�อาหารสำ�หรับใชในพิธีและเลี้ยงแขกที่มารวมงาน หมูที่ชำ�แหละแลวนำ�ไปทำ�อาหารสำ�หรับใชในงานพิธีและเลี้ยงแขก


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 143 วันทำ�พิธีเสน - พิธีเสน เจาของบานจะไปรับหมอผีแตเชากอนเวลาอาหาร เชา การเสนเรือนจะเริ่มพิธีจากหมอผีเฮือนประมาณ ๐๙.๐๐ น. หมอผีแตงกายตามแบบโซงสวม “เสื้อฮี” (เสื้อแขนยาว) ซวงขาฮี (กางเกงขายาว) ถือพัดขนนก เมื่อถึงบานหมอเขานั่งในหองพิธีทันที เจาของบานนำ� “ปบ” (สมุดรายชื่อคนตาย) มาใหหมอเปนคนอาน เองหรือใหคนอื่นอานก็ได - เลี้ยงอาหารเชาที่เรียกวา “งายหมอ” แกหมอผีดวย ผู ที่จะรวมสำ�หรับอาหารกับหมอตองเปนเครือญาติเดียวกัน อาหาร โดยทั่วไปประกอบดวยขาวเหนียว (ในสมัยหลังมีขาวเจาเพิ่มขึ้นมา) เนื้อหมู จุบ (ลาบ) เลือดหมู แกงปา ผัดเผ็ด ฯลฯ - การเสนเปนหนาที่ของหมอผี ในตอนเชาเมื่อหมอผีไปอยู ในหองทำ�พิธีทำ�หนาที่ติดตอกับผีที่รวมสกุลเดียวกันมาพรอมกัน ทั้งหมด หมอผีจะเชิญผีกินอาหาร ๒ มื้อเทานั้น คือมื้อเชาและ มื้อกลางวัน เมื่อเรียกเชิญมาแลวก็จะขอใหคุมครองผูซึ่งมารวมเปน เครือญาติคนใหมอีกดวย ไมวาจะเปนเขยหรือสะใภของบานนั้น หลัง จากนั้นหมอผีจะกลาวเชิญวิญญาณผีกลับสรวงสวรรคแลวกลาวลา ผีเปนเสร็จพิธี ซึ่งของที่ใชเซนผีนั้น คนในบานหามกินแตยกใหหมอ ผีกินได - หมอเสนจะคลองเสื้อฮี ถือวี (พัด) มีผูชวย ๑ คน บอก กลาวบางตอนในกรรมพิธี เจาของบานจะใหเหลาขาวแกหมอเสน และ นำ�อาหารมาเลี้ยง ไดแก ถาดไกชอง คือการตัดปกและขาไกมาเรียง แกงไกใสหนอไมเปรี้ยว ๑ ชาม ขาว ๑ ชาม ขาวเหนียว หมอเสนจะ รับอาหารและเรียกญาติผีเดียวกันมารวมรับประทานอาหารดวยกัน


144 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลังจากรับประทานอาหารเสร็จแลวหมอเสนจะทำ�พิธี เรียกวิญญาณพอ แม บรรพบุรุษมากินอาหารโดยคีบอาหารในปาน เผือนใสรูที่ฝาขางบาน เปนชองสงอาหารใหผีเรือนโดยเรียกชื่อผี เรือนทีละคนพิธีเซนมีขั้นตอนการไหว ๖ ครั้ง และมีชื่อเรียกตาง ๆ กัน พิธีการครั้งที่ ๑ “เสนปางแปง” หรือ “เซนปางแปง” เปนการ เรียกเชิญวิญญาณ พอ แม ปู ยา ตา ยาย บรรพบุรุษ มากินอาหาร - สิ่งสำ�คัญในการเสนอยูที่การแตงโตะ หมอเสนจะเปน ผูจัดวางเครื่องเซนเปนสำ�หรับใน “ปานเผือน” กอนวางก็ตองใช ใบตองสดปูไว ๓ ชั้นกอน แลวจึงวางเครื่องเซนโดยแบงเปน ๗ กอง เครื่องเซนประกอบดวยจุบหมู (จุบหมูคือยำ�เนื้อหมู) ตองมีทุกครั้ง ขาดไมได แลวนำ�ไสหมูที่ตมแลววางรอบจุบหมู หลังจากนั้นนำ� ใบตองสดอีก ๓ ใบปดทับ นอกจากนั้นยังตองเตรียมขาวเหนียวนึ่ง ๗ หอ เนื้อหมูตม ๗ หอ เนื้อไก ๗ หอ ขาวตมมัดไสกลวย ๗ มัด มันเทศตม ๗ หัว เผือกตม ๗ หัว กลวยออยอยางละ ๗ ทั้งสิ้น รวม ทั้งตะเกียบ ๗ คู เหลา ๑ ขวด หมากพลูยาสูบ และน้ำ�รอนวางไว ดวยกันเมื่อจัดอาหารเรียบรอยแลว พวกญาติก็จะชวยกันยกสำ�รับ เขาหองเสน ทำ�ทาทางวาหนักจนตองวางพักถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ จึงเขาหองพิธีเสน หลังจากนั้นก็เปนหนาที่ของหมอผี พิธีการครั้งที่ ๒ “เซนก้ำ�กก” เปนการเรียกวิญญาณพี่นอง ที่มีพอเดียวกันที่ตายดี ตามดวยเรียกชื่อญาติที่ตายไมดีมากินอาหาร อันดับสุดทายเรียกวา “สามสิบล่ำ�” และเริ่มพิธีใหมเรียกวา “กำ�ตือกำ�” เปนการอวยพรญาติพี่นองที่มีชีวิตอยู พิธีการครั้งที่ ๓ “เซนสองติ๊บ” เปนพิธีที่หมอเสนจะยกปาน เผือนใสเครื่องเซนที่หิ้งในกะลอหองมาเติมอาหาร แลวเรียกชื่อ พอ แม ตามลำ�ดับมากินอาหารโดยสงอาหารทางชองที่ผนัง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 145 พิธีการครั้งที่ ๔ “เซนเหลา” (เซนเหลาหลวง) ผูชวยหมอ เสนจะชวยรินเหลาสงใหหมอเสน เพื่อนำ�ไปเซนผีเรือน หมอเสนจะ เรียกชื่อพอกินกอน และตามดวยแม และญาติตามลำ�ดับ แลวเท เหลาทิ้งในรูที่ฝาบาน และกลาวอวยพรคำ�พูดที่ดีตาง ๆ พิธีการครั้งที่ ๕ “เซนเหลาลางแกง” เปนพิธีกินอิ่มแลวจะ ลางถวยชามเลิกงานเลี้ยงแลว โดยหมอเสนจะรินเหลา เรียกใหผี เรือนตั้งแตพอ แม และญาติที่เปนผีเดียวกันมากิน พิธีการครั้งที่ ๖ “เซนเหลากู” เปนการรินเหลาแลวเชิญ วิญญาณบรรพบุรุษมากินเหลา จากนั้นจะมีคนมาชวยยกปานเผือน ออกจากกะลอหอง แลวแบงเครื่องเซนใหหมอเสน และแจกญาติ ๆ ไปรับประทานที่บาน หมอเสนจะกลาวคำ�ขวัญ “สงล่ำ�เรือน” เปนการ อวยพรใหขวัญอยูดีมีสุข เปนอันเสร็จพิธี (วิโรจน หุนทอง, ๒๕๕๒) รินเหลาเซนผี


146 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พิธีเสนเรือนผูตาว (ผูทาว) เปนพิธีกรรมที่ชาวไทยทรงดำ� หรือลาวโซงที่มีฐานะเปนผูตาว คือมีตระกูลที่สืบเชื้อสายมาจากเจา ในอดีต พิธีการเริ่มจากพิธีเสนเหลาหลวงกอน ตามดวยพิธีเสน ปางแปง หมอเสนจะนั่งอยูในหองกะลอหอง ทำ�พิธีเรียกเจาของ บานมากินหมู และอาหารในปานเผือน ดวยวิธีหยอน “หอหลอ” ทิ้ง ลงใตถุนทางชองพื้นไมกระดาน พิธีแปงไต (ไต) เปนพิธีเรียกขวัญ ในถุงไตของผูตาวที่เขาพิธีเสน ถุงไตมีลักษณะเปนถุงผาเล็ก ๆ แขวน ไวคูกับภาชนะจักสานเปนสัญลักษณแทนของขวัญผูชายไทยทรงดำ� การเซนครั้งที่ ๑ “แปงไต” หมอเสนจะทำ�พิธีที่หองกวาน ซึ่งเปนหองที่ตอออกมาจากสวนที่เปนระเบียงบาน เปนหองที่อยูของ ผีผูทาวโดยเฉพาะ การเซนครั้งที่ ๒ “มอบปานงาย” เจาของบานจะเตรียม เครื่องเซน มีเหลา ไกตมสุก ใสลงในปานเผือน แลวหมอเสนจะ ทำ�พิธีและกลาวอวยพร จากนั้นพวกญาติที่มารวมงานจะรวมกัน รับประทานอาหารกัน เปนอันเสร็จพิธี (สมคิด ศรีสิงห, ๒๕๓๗) พิธีเสนเรือนไทยทรงดำ� บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ ลูกหลานรวมดื่มเหลา


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 147 บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ กอเกิดมาจากความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ วาคอยคุมครองใหอยูเย็นเปนสุข ซึ่งผีที่ชาวไทยทรงดำ�ใหความ สำ�คัญไดแก ๑. ผีแถน (ผีฟา) เปนเหมือนเทพเจาสูงสุด เชื่อวาผีแถน เปนผูสรางโลกและสามารถทำ�ลายโลก ๒. ผีบานผีเรือน เปนผีที่ คุมครองปองกันบานเรือนใหรมเย็นเปนสุขและความอุดมสมบูรณ อาจจะสถิตอยูตามปา ภูเขา หรือตนไม ๓. ผีบรรพบุรุษ เปนผีปูยา ตายาย หรือ พอแม ที่ถึงแกกรรมไปแลว ซึ่งจะถูกอัญเชิญขึ้นมาไวบน เรือน ณ หองผีเรือนหรือหองของบรรพบุรุษที่เรียกวา “กะลอหอง” คนภายนอกหามเขาไปเด็ดขาดถาใครเขาไปโดยไมบอกกลาวถือวา ผิดผีเจาของบานอาจไดรับเคราะหราย และตองจัดพิธีเซนไหวผี บรรพบุรุษทุกป จะเห็นไดวาชาวไทยทรงดำ� ยังยึดมั่นในขนบธรรมเนียม ประเพณี ในสวนที่ลึกซึงลงไปคือความกลมเกลียวของครอบครัว การใหความสำ�คัญทางเครือญาติ ลำ�ดับชั้น การใหเกียรติ และไมกาว ลวง บิดา มารดา ตลอดจนบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว กิจกรรมตาง ๆ นำ�มาซึ่งความเปนปกแผนของสังคมที่ควรจะนำ�มาปรับใชใหเปนแบบ อยางที่ดี และเหมาะสมกับสังคมยุคปจจุบันตอไป ลูกหลานยกปานเผือนเซนผี


148 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ชุษณาพร นครจินดา. ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทยทรงดำ� (ลาวโซง) บานบึงคัด หมู ๑๑ ตำ�บลบางระกำ� อำ�เภอบางระกำ� จังหวัดพิษณุโลก. นักศึกษา กศ.ปป. สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม, ๒๕๔๓. วิโรจน หุนทอง. สารานุกรม หมวดวัฒนธรรม : เรื่อง ประเพณี อำ�เภอ บางระกำ� จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก : คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๕๒. วิโรจน หุนทอง และปวีณา บัวบาง. รายงานการลงพื้นที่เก็บขอมูลภาค สนาม เรื่องพิธีเสนเรือนไทยทรงดำ� บานลำ�ตะคอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : สำ�นัก ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ. ๒๕๕๘. สมคิด ศรีสิงห. รายงานการวิจัย เรื่อง วัฒนธรรมของไทยโซงดำ� (ลาวโซง) ในจังหวัดพิษณุโลกและ พิจิตร. สนับสนุนการวิจัย โดยสำ�นักงาน ๕ ณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, ๒๕๓๗.


Click to View FlipBook Version