The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 49 ลวดลายใหสวยงาม แลวนำ�ที่มัดติดกันกับดาวซึ่งทำ�จากใบตาลผูก ติดกับคันไมไผลักษณะคลายคันเบ็ดแลวนำ�ไปเสียบไวกับแกนไมไผ ที่เตรียมไว ความสูงประมาณ ๓ - ๕ เมตร รูปทรงคลายฉัตรกอนจะ นำ�ไปแหและจุดไฟบูชา พรอมกันนี้ไดนำ�ลูกตูมกาลักษณะคลายสม แตมีเปลือกแข็งมาผาเปน ๒ ซีก เอาเนื้อออก แลวใสน้ำ�มันมะพราว เปนเชื้อเพลิงแลวควั่นดายเปนรูปตีนกาใสลงไป เหมือนไสตะเกียง จุดใหแสงสวางใตตนกระธูปมีดังนี้ คุณยายเงิน พิสุ อายุ ๘๐ ป เลาใหฟงวา พอของยายได พาครอบครัวอพยพมาจาก อำ�เภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งตอนที่ อพยพมากันนั้นเปนครอบครัวแรก ๆ ที่อพยพเขามาภายในพื้นที่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๙ บริเวณบานเนินพัฒนาในปจจุบันแลวจึงมี ครอบครัวอื่น ๆ ตามเขามาเพิ่มปริมาณเรื่อย ๆ ตอนทำ�ตนกระธูป ในสมัยกอนบรรดาลูกหลานจะมารวมตัวกันทำ�ตนกระธูปที่บานยาย ซึ่งวัสดุที่ใชทำ�ตนกระธูปนั้นมีขุยมะพราว (เปลือกมะพราวที่ปนเอา ใยออกหรือปนใหใยละเอียดเปนขุย ๆ ละเอียดประมาณเม็ดทราย และแหงสนิท ใบเนียม ใบเนง ใบโอม และดอกปบ วิธีการทำ�ตนกระธูปสมัยกอนนั้นจะนำ�ใบเนียมและใบเนง มานึ่งใหสุกแลวนำ�ไปตากแดดใหแหง แลวนำ�วัตถุดิบทั้งหมดมาบด ผสมกับขุยมะพราว นำ�เอากระดาษมามวนพันกับผงที่บดเอาไวจน เปนรูปเหมือนกับกานธูป แลวจึงตกแตงใหสวยงาม แตในการทำ�ตนกระธูปในปจจุบันนี้ชาวบานไดนำ�กานธูป มาพันดวยกระดาษหลากสีสัน โดยนำ�มาผูกหอยกับดาวแปดแฉกที่ ชาวบานสานกันจากใบตาลหรือใบลาน ซึ่งจะหอยดวยกัน ๙ จุด ใน ดาว ๑ ดวง


50 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ตนกระธูปในสมัยกอนนั้นเวลาจุดจะมีกลิ่นหอมมาก ผิดกับ สมัยนี้ที่นำ�เอากานธูปมาพันกระดาษสี การทำ�ตนกระธูปนั้นเปน ประเพณีที่ชาวพุทธจะถวายการสักการะองคพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่เสด็จลงมาจากสวรรคชั้นดาวดึงส หลังจากที่พระองคไดเสด็จขึ้น ไปโปรดพุทธมารดาบนสวรรคชั้นดาวดึงเปนเวลา ๓ เดือน ประเพณีแหตนกระธูปในปจจุบัน กลุมชาวบานเนินพัฒนาที่รวมกันทำ�ตนกระธูปไดจัดทำ�ตน กระธูปดวยกัน ๓ ตน โดยแตละตนจะแบงกลุมกันไปทำ�ภายในหมูบาน ตนกระธูปตนที่ ๑ สถานที่ทำ�ตนกระธูปอยูที่บานของนาย บุญมี จันสีดา กลุมนี้ตนกระธูปดวยกัน ๙ ชั้น ยอดทำ�เปนดอกบัวตูม ตนกระธูปตนที่ ๒ สถานที่ทำ�ตนกระธูปนั้นจะรวมตัวกันทำ� ที่ศาลาเอนกประสงคของชาวบาน โดยเปนกลุมของผูใหญอำ�นวย จันทรไทย กลุมนี้ทำ�ตนกระธูปดวยกัน ๗ ชั้น ยอดนำ�เอาตาลปตร พระ ๓ อันมาตกแตงยอด ขบวนแหตนกระธูป


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 51 ตนกระธูปตนที่ ๓ สถานที่ทำ�ตนกระธูปตนที่ ๓ นั้นรวมตัว กันทำ�อยูที่บานของนายบุญมา สังขทอง กลุมนี้ตนกระธูปดวยกัน ๙ ชั้น ยอดทำ�เปนดอกบัวบาน การทำ�ตนกระธูปมีจุดประสงคเพื่อเปนเสมือนเครื่องบูชา พระพุทธเจา สรางความสามัคคีภายในหมูบาน เปนการสืบทอด ภูมิปญญาทองถิ่นของตนเอง และเพื่อเปนการรวมตัวพูดคุยสารทุกข สุขดิบ สมัยกอนไดมีการจัดประกวดตนกระธูปขึ้นภายในหมูบาน ซึ่งมีหลักเกณฑที่เคยกำ�หนดกันในการประกวด เชน ความสวยงาม ของตนกระธูป วัสดุที่ใชทำ�ตนกระธูปจะตองเปนวัสดุธรรมชาติ และวัสดุที่เหลือใชและมีความสามัคคีกันในกลุมที่ทำ�ตนกระธูปมาก นอยแคไหน กระธูป ๙ ชั้น ยอดดอกบัวตูม กระธูป ๗ ชั้น ยอดตาลปตร กระธูป ๙ ชั้น ยอดดอกบัวบาน ๑ ๑ ๒ ๓ ๒ ๓


52 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ วัสดุการทำ�ตนกระธูป โครงของตนกระธูป ทำ�จาก ไมไผหรือเหล็ก กานธูป กระดาษแกว กระดาษสี กระดาษสายรุง กาวและ สียอมกก (สมัยกอนจะเอาสีมาจาก ธรรมชาติ) การทำ�ลูกประทีปตูมกา ลูกตูมกา (ลูกตูมกาที่ขึ้นในปานำ�เอา ลูกสด ๆ ที่ยังไมแก มาผาออกแลว ควานเอาเนื้อในของลูกตูมกาออก) น้ำ�มันมะพราว (จะนำ�เอามะพราวมา ขูดคั้นเอาแตน้ำ�กะทิแลวนำ�ไปเคี่ยว จนกลายเปนน้ำ�มันใส ๆ) ตีนกา (นำ�ดายฝายมาฟนจนมีลักษณะ เหมือนกับตีนของกา) น้ำ�มันมะพราวที่เคยเคี่ยว ทำ�กันเองก็ไดเปลี่ยนไปซื้อที่ตลาด ซึ่งเปนน้ำ�มันมะพราวผสมน้ำ�มันปาลม แตกลิ่นความหอมของน้ำ�มันจะตาง กันมาก น้ำ�มันมะพราวที่เคี่ยวเองจะ มีกลิ่นหอมมากกวา ลูกตูมกา ตีนกา ประทีปตีนกา ๑ ๒ ๓ ๓ ๒ ๑


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 53 การจุดประทีปตูมกาของชาวบานแตละคน จะจุดดวยกัน ๙ ดวง โดยชาวบานเชื่อวาเปนเลขมงคล จะไดมีความเจริญกาวหนา ในทุก ๆ เรื่อง เตรียมทำ�ตนกระธูป ระยะเวลาการทำ�ตนกระธูปจะเริ่มทำ�กันเปนเดือน ๆ ชาวบาน จะรวมกลุมกันมาชวยทำ�และตกแตงตนกระธูปใหสวยงาม สวนใหญ จะเปนกลุมคนในวัยกลางคนรวมตัวไปยังสถานที่นัดหมาย สวน วัยรุนหนุมสาวนั้นจะมีมาชวยกันทำ�นอย เนื่องจากวัยรุนสวนใหญ เดินทางไปเรียนหนังสือไปทำ�งานกันไกลบานไมสามารถกลับมารวม งานได ก็จะมีเหลือเพียงแตกลุมวัยรุนที่ไมไดเรียนหนังสือและไป ทำ�งานที่อื่นที่จะมาชวยกันทำ� แตจะมีผูเฒาผูแกภายในหมูบานบาง สวนที่เขาปาไปตัดเอาลูกตูมกาที่จะนำ�มาทำ�ประทีปที่จะใชจุดในวัน งาน เวลาที่มารวมกันทำ�ตนกระธูปนั้นชาวบานก็จะทำ�อาหารมากิน รวมกันที่บานของผูที่เปนหลักในการทำ�ตนกระธูป ตนกระธูปจะทำ�จากไมไผหรือเหล็กเปนโครงรูปฉัตรซึ่ง จำ�นวนของชั้นนั้นจะใหลงดวยเลขคี่เพราะชาวบานเชื่อวาเปนเลข มงคล ซึ่งเมื่อกอนจะทำ�จำ�นวนชั้นของตนกระธูปดวยกัน ๑๒ ชั้น แตปจจุบันนี้จะอยูที่กลุมชาวบานที่ทำ�ตนกระธูปตกลงกันแตสวน ใหญก็จะทำ� ๙ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๕ ชั้น เปนตน สรางโครงตนกระธูป


54 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ขบวนแหตนกระธูป ชวงเชา แหตนกระธูปชาวบานจะไปรวมตัวกันที่บริเวณ องคการบริหารสวนตำ�บลกองทูล และเริ่มแหตนกระธูปเขามาตาม ถนนของหมูบาน ซึ่งภายในขบวนก็จะมีชาวบาน วงดนตรี รถตน กระธูป ๓ คัน ที่แตละคันนั้นจะเปนรถอีโกงนำ�มาตกแตงกันอยาง สวยงาม บนรถจะมีตนกระธูปและกองผาปาที่จะนำ�ไปทอดยังวัด เนินพัฒนา ชวงที่ขบวนแหไปนั้นจะมีชาวบานถือถังผาปาพรอมไมติ้ว ใสเงินออกเรี่ยไรทำ�บุญ ขบวนจะไปหยุดไวที่บริเวณสนามกีฬาฟุตซอล และรวมรับ ประทานอาหารกลางวันรวมกัน ชวงบายมีการแขงขันฟุตซอลรอบชิง ชนะเลิศ หลังจากที่แขงฟุตซอลเสร็จแลวจึงไดแหตนกระธูปเขาไป ภายในวัดเนินพัฒนา นำ�ตนกระธูปไปตั้งเรียงกันที่หนาพระพุทธรูป กลางลานวัดทั้ง ๓ ตน ขบวนแหตนกระธูป


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 55 ชวงค่ำ� เริ่มจุดตนกระธูป เปนวันแรก เมื่อชาวบานจะมารวม ตัวกันที่ศาลาการเปรียญของวัด เพื่อกลาวคำ�ถวายดอกไมธูปเทียน หลังจากที่กลาวคำ�ถวายดอกไม ธูปเทียนเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว พระภิกษุสงฆ แมออกแมขาว พอ ออกพอขาว (อุบาสก อุบาสิกา) และ ชาวบานก็จะเวียนเทียนกันรอบ ศาลาการเปรียญแบบทักษิณาวรรต (เวียนขวา) เมื่อเวียนจนครบ ๓ รอบแลว ชาวบานก็จะเดินไป จุดประทีปที่วางเรียงไวบนแผงไม ไผสาน (จะทำ�แบบนี้เหมือนกันทั้ง ๓ วัน) ตอจากนั้นพระสงฆก็จะ จุดเทียนมายืนกลาวคำ�ถวายตน กระธูปกอนที่จะจุดตนกระธูปนั้น ในระหวางที่พระสงฆกำ�ลังจุดตน กระธูปนั้น แมออกแมขาว พอออก พอขาว ก็จะสวดสรภัญญะบูชาตน กระธูปกันอยูบนศาลาการเปรียญ เวียนเทียนแบบทักษิณาวรรต จุดประทีปวางบนแผงไมไผสาน สวดบูชาตนกระธูป ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๓


56 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จุดตนกระธูป ชาวบานบอกวาไดปฏิบัติยึดถือกันมาตั้งแตแรกเริ่มการ จุดตนกระธูปของหมูบานนี้ดวยกัน ๓ วัน โดยเริ่มจาก ขึ้น ๑๔ ค่ำ� ขึ้น ๑๕ ค่ำ� แรม ๑ ค่ำ� เดือน ๑๑ ของทุกปี ประเพณีการแหตนกระธูปของบานกองทูล บานเนินพัฒนา และบานเนินมะกอก อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ ที่มีการสืบ ทอดมายาวนาน นับวันความเสื่อมถอยไดยางกรายเขามาทุกขณะการ สืบทอด ถายโอนภูมิปญญาของพรรษบุรุษสูลูกหลานและเยาวชน นับวันมีแตจะจืดจางลงไป ภาครัฐ อันไดแก ผูนำ�หมูบาน องคการ บริหารสวนตำ�บล วัฒนธรรมอำ�เภอ วัฒนธรรมจังหวัด ควรจะให การสนับสนุน และหาแนวทางในการอนุรักษ ประเพณีที่ดีงามเหลานี้ เพื่อใหเปนสมบัติของเมืองเพชรบูรณสืบตอไป จุดตนกระธูป ๑


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 57 บรรณานุกรม ปวีณา บัวบาง วิโรจน หุนทอง. รายงานการเก็บขอมูลภาคสนามเรื่อง ประเพณีแหกระธูปออกพรรษา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ, ๒๕๕๗. ประเพณีโฮมบุญออกพรรษา. แหกระธูป. [ออนไลน] สืบคนจาก : http: //thai.tourismthailand.org. [๒๕๕๗, ตุลาคม ๙] สัมภาษณ เข็มพร กินคำ�. อายุ ๔๖ ป บานเลขที่ ๒๘ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. คม กงกลาง. อายุ ๔๕ ป บานเลขที่ ๑๐๖ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. คำ�พูน ทองใบ. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๒๕ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. คำ�เพลิน ทีนอย. อายุ ๕๓ ป บานเลขที่ ๑๑๓ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. เงิน พิสุ. อายุ ๘๐ ป บานเลขที่ ๔๓ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๗.


58 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จำ�เนียร ปนแกว. อายุ ๗๖ ป บานเลขที่ ๔๙ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. ชิต คำ�ภาสุข. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๑๖ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. ดาหวัน แผงเวช. อายุ ๕๐ ป บานเลขที่ ๒๑๗ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. แดง แกวอุตสา. อายุ ๕๔ ป บานเลขที่ ๖๓ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. ได ฐานกุมมา. อายุ ๕๖ ป บานเลขที่ ๒๕๐ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. ทองสา ศรีทาพรม. อายุ ๔๒ ป บานเลขที่ ๔๙ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. แทง ขุยมา. อายุ ๕๕ ป บานเลขที่ ๑๐๑/๑ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. บุญมี จันสีดา. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๑๕ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. บุญมา สังขทอง. อายุ ๔๖ ป บานเลขที่ ๒๐๘ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 59 บุญมี อินทรคำ�. อายุ ๔๙ ป บานเลขที่ ๒๘ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. บัวเงิน ศรีทาพรม. อายุ ๔๕ ป บานเลขที่ ๔๙ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. ปน กีเกียง. อายุ ๗๗ ป บานเลขที่ ๒๔๐ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บล กองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๕๗. พนม สุยานาง. อายุ ๔๓ ป บานเลขที่ ๔๖/๗ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. เริญ ทีนอย. อายุ ๗๑ ป บานเลขที่ ๑๕๘ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. เรียน ปนแกว. อายุ ๖๘ ป บานเลขที่ ๔๙ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๗. สมจิตร ใจจะริม. อายุ ๕๙ ป บานเลขที่ ๑๗/๒ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. สุริยา สติดี. อายุ ๕๐ ป บานเลขที่ ๖๐/๑ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗. อรุณ สังขทอง. อายุ ๔๒ ป บานเลขที่ ๒๐๘ หมู ๗ บานเนินพัฒนา ตำ�บลกองทูล อำ�เภอหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๗.


60 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 61 บุญซำ�ฮะ (บุญเบิกบาน) งานบุญเดือนเจ็ด บานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สุพิชญา พูนมี สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน บุญซำ�ฮะ ไทหลมเรียกวา บุญเบิกบาน บุญกลางบาน บุญคุม ฯลฯ เปนประเพณีหนึ่งในฮีตสิบสองคองสิบสี่ ซึ่งยึดถือกัน มาแตโบราณ สืบเนื่องมาจากความเชื่อเรื่องผีบรรพบุรุษ เนื่องดวย ฤดูนี้ใกลฤดูฝนกอนที่จะลงมือทำ�ไรไถนา ทุกชุมชนจะตองมีพิธีหนึ่ง ที่นิยมทำ�กันคือ พิธีเลี้ยงป เลี้ยงหอผีเจา ผีนาย ผีฟาแถน ผีมเหศักดิ์ หลักบานหลักเมือง ตามความเชื่อของแตละทองถิ่น แตเดิมนั้นจะ เปนพิธีเลี้ยงผีโดยเฉพาะ ไมเกี่ยวของกับพิธีพระสงฆ ดังใจความ ตอนหนึ่งในคำ�สั่งของเจาฟางุมหลาธรณี ปฐมกษัตริยลาว ไดสั่ง เอาไววา “สามปใด จงใหตัวเจาทั้งหลายขึ้นเพื่อไหวเรา เมื่อถึง เชียงดงเชียงทองนั้นแลว เราจักไดบูชาแถนฟาดิน ทั้งแถนคน แถน สั่งแตง แถนเทือก ทั้งเฒาเยอ เฒาไล แมยางาม แมมด ทั้งเทวดา รักษาผาติ่งและสบอู”


62 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ดังนั้นผูคนไทลาวจึงยึดถือปฏิบัติมายาวนาน จนเมื่อไดรับ เอาคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเขามา จึงไดประกอบพิธีทาง พระพุทธศาสนารวมดวย จะสังเกตวาบางทองถิ่นจะมีการทำ�บุญ เบิกหอเจาดวย เบิกบานดวย และเบิกวัดดวย พิธีทำ�บุญเบิกบาน เรียกตามภาษาโบราณวา “บุญซำ�ฮะ” หมายถึง การชำ�ระสะสาง ทำ�ความสะอาด ดังนั้นบุญพิธีนี้จึงถือวาเปนการชำ�ระลางสิ่งอัปมงคลตาง ๆ ซึ่งไทหลมถือปฏิบัติมายาวนาน ซึ่งเรียกอีกอยางวา บุญเดือนเจ็ด เพราะนิยมกระทำ�ในชวงเดือนเจ็ด มีเรื่องเลาใน พระธรรมบทวา ครั้งหนึ่งเมืองไพศาลีเกิด ทุพภิกขภัย ภาวะขาวยาก หมากแพง เพราะเกิดฝนแลง สัตวเลี้ยง ตาง ๆ ลมตายเพราะความหิว เกิดโรคระบาด (อหิวาตกโรค) ทำ�ให ผูคนลมตาย ชาวเมืองกลุมหนึ่งจึงพากันไปนิมนตพระพุทธเจาใหมา ขจัดปดเปา พระองคพรอมดวยพระสงฆ ๕๐๐ รูป โดยเดินทาง มาทางเรือใชเวลาเดินทาง ๗ วัน จึงถึงเมืองไพศาลี เมื่อเสด็จมา ถึงก็เกิดฝน “หาแกว” ตกลงมาอยางหนัก จนน้ำ�ฝนทวมแผนดินสูง ถึงหัวเขา และน้ำ�ฝนก็ไดพัดพาเอาซากศพของผูคนและสัตวตาง ๆ ไหลลองลอยลงแมน้ำ�ไปจนหมดสิ้น พระพุทธเจาทำ�น้ำ�มนตใสบาตร ใหพระอานนทนำ�ไปรดทั่วพระนคร โรคราย ไขเจ็บ ก็สูญสิ้นไปดวย อานุภาพของพระพุทธเจาและน้ำ�พระพุทธมนต ดังนั้นคนลาวโบราณ และคนไทยอีสานจึงถือเปนประเพณี เมื่อถึงเดือนเจ็ดของทุกปจะ พากันทำ�บุญซำ�ฮะเปนประจำ�ทุกป เมื่อถึงวันทำ�บุญ ชาวบานจะพากันมารวมกันที่ศาลากลาง บานโดยชาวบานจะนำ�กระทอ กระปองหรือครุถังใสทราย กรวย ดอกไมธูปเทียน ขวดน้ำ�สำ�หรับทำ�น้ำ�มนตและฝายมงคลใสมาดวย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 63 เพื่อรับการสวดใหเกิดความเปนมงคลเพื่อจะ นำ�ไปรด หวาน บริเวณบานเรือนของตน ชาวบานจะมีการกำ�หนดสถานที่จัด งาน และวันเวลาที่จัดจะนิยมจัดบริเวณที่เปน พื้นที่ตรงกลางของหมูบานซึ่งจะมีการจัด สรางปะรำ�พิธีขึ้นโดยการกางเต็นท สิ่งของ ที่ใชในงานจะมี ดังตอไปนี้ เครื่องรอย คือ กระทงใสกลวยดิบ หั่นเปนชิ้นจำ�นวน ๑๐๐ ชิ้น กระทงใสออย หั่นเปนชิ้นจำ�นวน ๑๐๐ ชิ้น กระทงใสบุหรี่ จำ�นวน ๑๐๐ มวน กระทงใสจีบหมากจีบพลู จำ�นวน ๑๐๐ คำ� กระทงใสเมี่ยงคำ�จำ�นวน ๑๐๐ คำ� กระทงใสขาวตอกไมมีการนับจำ�นวน กระทงใสขาวเปลือกไมมีการนับจำ�นวนกระทง ใสขาวสารไมมีการนับจำ�นวน กระทงใสทราย ไมมีการนับจำ�นวน และแตละกระทงจะมีเทียน เลมเล็กกับธงสามเหลี่ยมปกไวที่กระทง ฟนตีนกา นำ�ฝายมาฟนเปนลักษณะ เหมือนกับตีนของกาไวสำ�หรับเปนใสของ ประทีปที่จะจุดตอนสวดมนตเย็น ถังทราย กรวยดอดไม ธูปเทียน ขัน ๕ ขัน ๘, กระทงใสตีนกา เครื่องรอย ฟั่นตีนกา ๑ ๒ ๓ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔


64 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กระทงหนาวัว (ขาวดำ� ขาวแดง จีบหมากจีบพลู พริก เกลือ มะเขือปลารา ดอกไม ธูปเทียน) จะใชทำ�พิธีสงกระทงในวันที่สี่วัน สุดทายของงาน เมื่อไดเวลาที่กำ�หนดชวงเย็นวันแรกของงาน ชาวบานจะเริ่ม มารวมตัวกันที่ปะรำ�พิธี เพื่อจะรวมกันฟงพระเจริญพระพุทธมนต เย็น และฟงเทศนของวันแรก เชาของวันที่สอง ชาวบานจะนิมนตพระภิกษุสงฆจำ�นวน ๙ รูป มาฉันภัตตาหารที่ปะรำ�พิธี ชาวบานแตละหลังคาเรือนจะ นำ�ขาวปลาอาหาร และขาวเหนียว ขนมแหง มารวมทำ�บุญ หลัง จากที่ทำ�บุญเลี้ยงพระเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว ชาวบานก็จะกินขาว ปลาอาหารรวมกันถือวาเปนการเสร็จพิธีชวงเชา กระทงหนาวัว ๒


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 65 การจัดงานบุญซำ�ฮะจะจัดดวยกัน ๓ วัน ๓ คืน จนถึงเชา ของวันที่สี่ ชาวบานจะนิมนตพระภิกษุสงฆจำ�นวน ๙ รูป มาฉัน ภัตตาหารที่ปะรำ�พิธี ชาวบานแตละหลังคาเรือนจะนำ�ขาวปลาอาหาร และขาวเหนียว ขนมแหง มารวมทำ�บุญ และถือกระทงหนาวัวมาวาง ไวรวมกันดวย ระหวางที่พระภิกษุสงฆทานกำ�ลังฉันภัตตาหาร จะ มีการเปาแคนประกอบกับเครื่องดนตรีรวมถึงมีการรองหมอลำ�กัน อยางสนุกสนานเพื่อไมใหบรรยากาศภายในงานเงียบเหงา จากนั้น ก็ไดมีการเทศนใหชาวบานไดสดับรับฟงอีก ๑ กัณฑ ชาวบานที่มา รวมงานมีความตั้งใจฟงสิ่งที่พระทานเทศนอยางมาก หลังจากที่ พระทานเทศนจบแลว พระทานก็ใหพรญาติโยมที่มารวมกันทำ�บุญ ทำ�บุญตักบาตร ถวายภัตตาหาร ชาวบานทากกแก รวมงานบุญซำ�ฮะ


66 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชวงเวลานี้จะมีชาวบานบางสวนเริ่มเดินเขาไปจุดเทียนจุด ธูปที่กระทงหนาวัวของตนเอง หลังจากที่พระใหพรเสร็จ ทานก็สวด สงกระทงหนาวัว และจะมีพระภิกษุสงฆจำ�นวน ๔ รูป ลุกมาจาก ที่นั่งเดินเขามาในบริเวณที่ชาวบานวางกระทงหนาวัวไวเปนกลุม ๆ พรอมกับถือแกวใสน้ำ�มนตถือใบไมประพรมน้ำ�มนตลงไปที่กระทง หนาวัวเพื่อความเปนสิริมงคล เมื่อเสร็จจากพิธีที่ปะรำ�พิธีแลว ก็ เปนการสงกระทง ถือวาเปนขั้นตอนสุดทายของพิธี ชาวบานบอก วา การสงกระทงจะตองไปสงที่บริเวณทางสามแพรงเทานั้น ซึ่ง ปจจุบันคือบริเวณหลังโรงเรียนบานทากกแก ชาวบานแตละคนจะ ถือกระทงพรอมขันน้ำ�ไปดวย เพราะจะตองนำ�น้ำ�ในขันรดไปที่กระทง เพื่ออุทิศสวนบุญสวนกุศลไปใหผูที่ลวงลับไปแลว ใหมารับสิ่งของที่ อยูในกระทงทุกอยาง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 67 หลังจากที่ชาวบานสงกระทงเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว ก็ จะรวมกันรับประทานอาหารเชาพรอมหนาพรอมตากัน มีการพูด คุยกันสนุกสนานเฮฮา หลังจากที่แตละคนรับประทานอาหารเสร็จ แลว ชาวบานแตละคนก็จะนำ�ถังทรายที่นำ�มารวมในพิธีกลับบาน โดยจะนำ�ทรายในถังไปโรยรอบบาน แลวนำ�สายสิญจนออมบานนำ� น้ำ�ในขวดไปรดที่เสาบาน ชาวบานเชื่อวาเพื่อเปนการปองกันกั้นพวก ผีปศาจไมใหเขามาภายในบานของตนเอง พระภิกษุสงฆสวดสงกระทงหนาวัวและประพรมน้ำ�มนต


68 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บุญซำ�ฮะ เปนงานประเพณีที่มีจุดประสงคเพื่อปดรังควาน และขับไลเสนียดจัญไรตลอดถึงเหลาภูตผีปศาจหรือสิ่งชั่วรายให ออกไปจากหมูบาน คำ�วา ซำ�ฮะ ก็คือ ชำ�ระ ที่หมายถึงการลางให สะอาด บุญซำ�ฮะ อาจจะเรียกวาเปนบุญเบิกบานหรือบุญบาน ซึ่ง ในงานบุญนี้นอกจากจะทำ�พิธีขับไลสิ่งชั่วรายแลว ยังตองมีการทำ� พิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมือง เพื่อใหเกิดความเปนสิริมงคลแก หมูบานและประชาชน ดวยความเชื่อตามตำ�นานอันนี้จึงไดจัดใหมี ประเพณีบุญซำ�ฮะขึ้นในเดือนเจ็ดเปนประจำ�ทุกป ในการจัดงาน บุญซำ�ฮะหรือบุญเบิกบาน ชาวบานจะตกแตงบริเวณพิธีดวยการนำ� ตนกลวยมาสี่ตนทำ�เปนเสาผูกยึดดวยสายสิญจนและจะมีการโยง สายสิญจนไปยังบานทุกหลังในหมูบาน แลวนิมนตพระมาเจริญพระ พุทธมนต นอกจากนี้จะมีการนำ�หินเขาพิธี เมื่อปลุกเสกแลวพระ หรือพราหมณก็จะนำ�หินที่ปลุกเสกไปหวานทั่วหมูบาน เพื่อปดรังควาน ในปจจุบันบางหมูบานที่มีขนาดใหญ ชาวบานจะนำ�หินใสถุงเขียนชื่อ เมื่อเสร็จพิธีก็จะมารับกลับไปหวานที่บานของตน บางก็นำ�สิ่งศักดิ์ สิทธิ์ในบานของตนไปสูดหรือปลุกเสกในพิธีดังกลาวดวย ชาวบานสงกระทงหนาวัว บริเวณทางสามแพรง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 69 บรรณานุกรม สัมภาษณ ถาวร เชื่องแสง. อายุ ๔๕ ป บานเลขที่ ๑๗๖ หมูที่ ๔ บานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. ธันยา คำ�มี. อายุ ๓๖ ป บานเลขที่ ๗๖ หมูที่ ๘ บานทากกแก ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. บัวเรียน สรอยพราว. อายุ ๖๖ ป บานเลขที่ ๕๐/๑ หมูที่ ๔ บานทากกแก ตำ�บลตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. พิณ นวลทอง. อายุ ๖๘ ป บานเลขที่ ๒๗ หมูที่ ๔ บานทากกแก ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. สีดา ทาวเงิน. อายุ ๗๗ ป บานเลขที่ ๖ หมูที่ ๔ บานทากกแก ตำ�บล ตาลเดี่ยว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๘. ชาวบานพากันถือกระทงหนาวัวไปยังทางสามแพรงเพื่อสงกระทง


70 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 71 ฟนตรุษ ตีกินขนมสงผี ประเพณีของคนชนชาติพันธุญัฮกุร (ชาวบน) พิทักษ จันทรจิระ สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน “ญัฮกุร” กลุมชนชาติพันธุหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรณ ชุมชน ที่ใชภาษามอญโบราณ อยูบนภูเขาแถบแมน้ำ�ปาสักในเขตจังหวัด เพชรบูรณ กลุมชนดังกลาวเรียกตนเองวา “ญัฮกุร” (Nyah-Kur) แปลวา “คนภูเขา” คนไทยในเมืองเรียกชนกลุมนี้วา “ชาวบน” ปจจุบันพบไดที่ บานน้ำ�เลา ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัด เพชรบูรณ (ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร, ๒๕๕๐) ประเพณีฟนตรุษ ตีกินขนมสงผี ที่สืบทอดตอกันมาหลาย ชวงอายุคน ประเพณีดังกลาว หมอพราหมณประจำ�หมูบานจะเปน คนกำ�หนดวันจัดพิธีฟนตรุษ ซึ่งในแตละปจะจัดในชวงกอนสงกรานต ชาวบานมีความเชื่อเรื่องอำ�นาจลึกลับเหนือธรรมชาติ ซึ่งอำ�นาจเหลา นั้นอาจจะเปนภูตผีปศาจ เทพ หรือสัตวปา ตลอดจนพระอาทิตย ดวงจันทร ดวงดาว เปนตน ผูคนในหมูบานจะทำ�พิธีฟนตรุษ เพื่อ ใหสิ่งชั่วราย โรคภัยไขเจ็บและภัยพิบัติตาง ๆ ออกจากหมูบานไป อันสงผลใหประชาชนในหมูบานเกิดความสงบสุข


72 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ตนตรุษ ตามตำ�นานเลาวาเมื่ออดีตชาวญัฮกุรถูกศัตรูเขามารุกราน โดยเขามาขโมยเสบียงอาหาร เพื่อขมขวัญศัตรูและปลุกขวัญกำ�ลัง ใจใหกับชาวบาน จึงนำ�ตนตรุษมาเปนตัวแทนศัตรูแลวฟนลงไปจน ขาด (ลักษณะเหมือนตัดไมขมนาม) เปรียบเสมือนไดรับชัยชนะแลว เหตุผลที่ตองเปนตนตรุษก็เพราะวาตนตรุษมีขึ้นเฉพาะที่และใชเวลา ประมาณ ๑ ป ในการเจริญเติบโต พิธีกรรมนี้ก็จัดขึ้นทุก ๆ ป ปละ ๑ ครั้งพอ ตนตรุษมีลักษณะคลายตนขา ชอบอยูที่ปาดิบชื้น ไม สามารถปลูกในพื้นที่ราบได ขึ้นอยูเปนที่เฉพาะบนภูเขาตามโตรกธาร และไหลเขา ซึ่งอยูทางทิศเหนือของหมูบานน้ำ�เลา วันแรกของงานพิธีฟนตรุษ ชาวบานผูชายจะมารวมตัวกัน ประมาณ ๑๐ คน เพื่อเดินทางออกไปเก็บตนตรุษในปาเหนือหมูบาน ในการเขาไปในปาจะมีผูที่เชี่ยวชาญในการเดินปานำ�ทาง และจะทำ� การเซนไหวเพื่อบอกกลาวกับเจาที่เจาทาง เจาปาเจาเขา เพื่อใหการ เดินทางปลอดภัยพนจากอันตรายทั้งปวงแกสมาชิกผูรวมเดินทาง ชาวบานน้ำ�เลาเขาปาเก็บตนตรุษ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 73 การเตรียมสถานที่ ชาวบานบางสวนจัดเตรียมสถานที่พิธีฟนตรุษ โดยมีการ ตั้งหอพระที่บริเวณตรงกลางของลานวัดบานน้ำ�เลา ตนตรุษที่ไดมา (ทั้งตนทั้งรากยาวประมาณ ๒ เมตรเศษ) นั้น นำ�มากองไวใกลกับ หอพระแลวปกหลักขนาบทั้ง ๒ ดาน จำ�นวน ๖ หลัก เพื่อกันไมให ตนตรุษที่กองไวทลาย ระยะหลักระหวางคูประมาณ ๑ เมตร ระยะ หางระหวางคูหลักประมาณ ๑ เมตร กองตนตรุษสูงระดับอก ปลาย หลักแตละคูโยงเชือกปลายหลักแตละคูใหอยูในระดับเคียงกัน ดวยเชือก กองตนตรุษนั้นจะวางอยูหางจากหอพระมาทางขวามือ ประมาณ ๑ เมตร และที่ดานหนาหอพระประมาณ ๑ เมตร ก็จะ มีกองทรายอยูอีก ๑ กอง ดานขางหอพระทางซายมือจะมีโตะใหญ อยู ๑ ตัว (สำ�หรับวางแกะดอกไม) ใตตนโพธิ์ก็จะมีโตะใหญอีก ๑ ตัว (สำ�หรับนักดนตรีนั่งบรรเลง) ชาวบานเตรียมสถานที่พิธีฟันตรุษ


74 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ นอกจากนี้ชาวบานจะพากันเก็บดอกไมตามบานเรือนของ ตัวเอง และยังมีการชวยกันเก็บหาดอกไมที่มีอยูภายในหมูบาน ไม วาจะเปน ดอกคูน ดอกตะแบก ดอกหางนกยูง นำ�ดอกไมที่ไดมา จัดตกแตงใสแกะ (แกะในที่นี่คือภาชนะใสดอกไมสานดวยไมไผ) และสิ่งสำ�คัญที่จะขาดไมไดเลยก็คือ เทียนที่แตละบานจะนำ�มาตาม จำ�นวนคน และสัตวเลี้ยงที่มีอยูในบาน หลังจากที่นำ�เทียนเหลานั้น มารวมกันแลวแยกเทียนออกเปน ๒ กอง ระหวางคนกับสัตว ซึ่ง ชาวบานจะรวบรวมกันไวที่บานผูนำ�หมูบาน เพื่อเปนการสำ�รวจจำ�นวน ประชากรที่มีอยูภายในหมูบาน เนื่องจากในอดีตนั้นหมูบานมีการตอ สูปะทะกับศัตรูที่เขามารุกรานจำ�เปนจะตองมีการสำ�รวจชาวบานใน ขณะนั้นวามีกำ�ลังพลอยูทั้งหมดเทาไหร จะไดวางแผนเตรียมรับมือ ศัตรูไดอยางเหมาะสม เพราะเหตุนี้เองจึงตองมีการรวมทำ�บัญชีของ หมูบานขึ้นมา โดยนับจำ�นวนเทียนวาเพิ่มหรือลดลงเทาใด แทนการ สำ�รวจประชากรในหมูบาน ชาวบานจัดเตรียมดอกไมสำ�หรับใชในพิธีฟนตรุษ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 75 พิธีกรรมฟนตรุษ ลำ�ดับแรก จะทำ�พิธีสรงน้ำ�พระพุทธรูปโดยมีหมอพราหมณ ของหมูบานเปนตัวแทนบอกกลาวตอหนาองคพระพุทธรูปและสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์พรอมกับยกขันน้ำ�อบน้ำ�ปรุงขึ้นเหนือหัว หลังจากที่บอก กลาวเสร็จหมอพราหมณก็จะสรงน้ำ�ที่องคพระกอนแลวจึงตามดวย เพชรฆาตทำ�หนาที่ฟนตรุษ


76 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชาวบานที่มารวมงานกัน โดยจะเริ่มจากผู อาวุโสจนไปถึงเด็ก ๆ เมื่อเสร็จพิธีสรงน้ำ� พระพุทธรูปเปนที่เรียบรอยจึงจัดตั้งขบวน แหไปยังวัดบานน้ำ�เลา โดยขบวนจะนำ�หนา ดวยชาวบานที่ถือองคพระพุทธรูปแลวตาม ดวยชาวบานถือแกะดอกไม ถาชาวบานคน ไหนไมไดถือแกะดอกไมก็จะจุดเทียนถือไป ในขบวนจากหมูบานมุงหนาสูลานพิธีที่วัด จากนั้นขบวนแหก็จะเดินเวียนรอบปะรำ� พิธี ๓ รอบ โดยเวียนแบบอุตราวรรต (เวียน ซาย โดยใหมือซายอยูทางดานใน) จากที่ เดินเวียนเทียนครบ ๓ รอบแลว ชาวบาน จะนำ�เทียนที่ถือมานั้นไปปกไวบนกองทราย ที่เตรียมเอาไว ซึ่งเปนกองพระทรายองค ใหญเพียงกองเดียวโดยชาวบานบางคนจะ เขียนชื่อบรรพบุรุษของตนเองที่เสียชีวิต ไปแลวใสกระดาษติดกับไมแลวนำ�ไปปกไว ที่กองทราย เพื่อเปนการรำ�ลึกถึงบรรพบุรุษ ของตนเองที่เสียชีวิต ดนตรีบรรเลงเพลงถวายดอกไมเสร็จตามดวยเพลงฟนตรุษ ผูที่จะฟนตรุษเปนชายแตงกายดวยชุดที่มีสีแดงเหมือนกับเพชฌฆาต จะใสเสื้อแขนกุดนุงโจงกระเบนไมสวมรองเทากอนที่จะฟนตนตรุษ นั้นจะตองมีการอัญเชิญมีดดาบ โดยเดินเขาไปที่ดานหนาของกอง รำ�แหรอบปะรำ�พิธี ๓ รอบ ชาวบานปกเทียนที่กองทราย ๑ ๑ ๒ ๒


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 77 ตนตรุษแลวนั่งคุกเขากราบลงที่พื้นดิน ๓ ครั้งแลวจึงลุกขึ้นรำ�รอบ กองตนตรุษ ๑ รอบ โดยรำ�เวียนไปทางดานซายมือ หลังจากนั้นก็ เดินเขาไปชักดาบออกมาจากฝกที่วางไวขางกองตนตรุษ ตอจากนั้น ก็นั่งลงถือดาบพนมมือถวายบังคม ๑ ครั้ง แลวจึงลุกขึ้นรำ�ดาบไป รอบกองตนตรุษอีก ๑ รอบ ในระหวางที่รำ�รอบกองตนตรุษนั้น ก็จะ มีการทำ�ทาทางเหมือนวาจะฟนลงไปที่กองตนตรุษ แตแลวก็ไมฟน ลงไปและเดินถอยออกมา จนรำ�ดาบมาถึงยังจุดเริ่มตนแลวถึงฟน ลงไปที่กองตนตรุษ โดยการฟนนั้นจะฟนดวยกัน ๓ จุด คือ จุดที่ ๑ โคนตน จุดที่ ๒ กลางตน และจุดที่ ๓ ปลายตนตรุษ เมื่อฟนครบ ทั้ง ๓ จุดแลว ฟนตรุษก็จะรำ�ดาบรอบกองตนตรุษอีก ๑ รอบแลว เก็บดาบเขาฝกที่เดิม ตามดวยการรำ�รอบกองตนตรุษเปนครั้งสุดทาย อีก ๑ รอบเปนอันเสร็จสิ้นการรำ�ตรุษในวันแรก จากนั้นชาวบานก็ จะมาชวยกันฟนแตจะไมฟนใหขาดไปทีเดียว ยังเหลือไวสำ�หรับให ฟนอีก ๒ คืน เพราะการฟนตนตรุษจะฟนดวยกัน ๓ คืน ตีกินขนม หลังจากนั้นจะเปนขั้นตอนการตีกินขนม โดยวัยรุนเด็ก ผูชาย จะแตงกายดวยเสื้อผาที่ขาดวิ่น มอม หนาตาดำ�ดวยดินหมอ (สมมุติ เปนผีที่อดอยาก) พากันแหยกขบวนไปตามบานเรือนภายในหมูบาน หลังจากที่บานไหนใหขนมแลวก็จะสาดน้ำ�ใสกลุมที่ตีกินขนม ระหวางการไปขอขนมจะโหรองเปนภาษาถิ่นวา “เถิกจาขนั้ม” แปลวา “ขอขนมกินหนอย”


78 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ การสงผี ชาวบานจะเตรียมกระทงสงผี ไดแก หวด กระติบขาว กระจาด หรือ ตะกราเกา ๆ อาจมีบางบานนำ�กาบกลวยมาทำ�เปน กระทงสงผีโดยทำ�เปนรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมภายในประกอบ ไปดวยกลวยดิบ ขาวตอก ขนมขาวเกรียบ หมากแหง มะเขือ สีเสียด พริกแหง ปลารา เกลือ ขาวดำ� (ทำ�มาจากขาวสวยคลุก กับถานตำ�ละเอียด) ขาวแดง (ทำ�มาจากขาวสวยคลุกกับปูนแดงที่ ใสกินกับหมาก) บุหรี่ ๑ มวน กระทงสงผี


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 79 คำ�พูดของชาวบานตอนที่สงกระทงใหผี “อาวใหผีตายโหงตายหาไปกินดวยกันเดอ” “ผีตายโหงตายหาไปใหหมดบานหมดชองเดอ อยามารบกวนเด็ก นอยเดอ” “เออผีตายโหงผีตายหาผีปาผีดง ผีเจก ผีจีน ผีลาว ผีไทย ก็ใหออก ไปซะ ปหนาฟาใหมคอยมากินดวยกันอีก” “อาวผีปวยผีไข ผีปวดหัวมัวกาว ออกไปใหหมดเดอ สงกรานตหมด แลวจะไปสงแลว ผีตายโหงตายหาออกไป ปดเปาออกไปใหอยูเย็น เปนสุข อยาไดมีเจ็บมีไขมีหนาว” ซึ่งคำ�พูดของชาวบานแตละหลังคาเรือนจะพูดไมเหมือนกัน ผีตีกินขนม


80 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เริ่มทำ�พิธีสงผีในเชาวันรุงขึ้น หมอพราหมณเปนผูทำ�พิธี บอกกลาวเจาบานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยใชเหลา ดอกไมธูปเทียน ใน ระหวางที่หมอพราหมณบอกกลาวเจาบานและสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยูนั้น บรรดากลุมวัยรุนของหมูบานที่ทำ�หนาที่เปนผี จะไปยืนรวมตัวเขา แถวกันบริเวณดานหนาของศาลเจาบาน และรองเพลงชาติไทยรวม กัน หลังจากที่รองเพลงชาติไทยจบแลว ขบวนผีจึงเริ่มออกเดินเขา ไปภายในหมูบานโดยเดินตามถนนเสนกลางหมูบาน และในระหวาง เสนทางที่ขบวนผีเดินทางไปนั้น จะมีกลุมชาวบานไดจัดเตรียมกระทง สงผีแขวนไวหนาบาน เมื่อขบวนผีเดินผานมาถึงหนาบาน ชาวบาน ก็จะยื่นกระทงสงผี ใหกับผีในขบวน ซึ่งกอนหนานั้นชาวบานจะนำ� กระทงสงผีไปเรียกผีที่อยูตามบานเรือนของตนเองพรอมกับพูด เรียกผีชั่วรายใหออกไปจากบาน โดยใหเขาไปอยูในกระทงแลวฝาก ไปกับขบวนผีที่จะไปสงยังทายหมูบาน นอกจากนี้ก็จะมีชาวบานบาง หลังคาเรือนที่นำ�เอาปนออกมายิงสงผี หรือไมก็จุดประทัดแทนการ ยิงปน เพื่อเปนการไลสิ่งชั่วรายใหออกไปจากบานเรือน ขบวนผีออกเดินภายในหมูบานเพื่อรับกระทง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 81 เมื่อขบวนผีเดินทางไปถึงยังบริเวณทายหมูบานแลว บรรดา ผีก็นำ�เอากระทงสงผีที่ไดรับมาจากชาวบานนั้นไปวางรวมกัน แลวก็ ถอดเสื้อผาเครื่องแตงตัวที่ไดแตงเปนผีมานั้นนำ�ไปกองรวมกับกระทง สงผี แลวจึงจุดไฟเผาสิ่งของเหลานั้น บรรดาวัยรุนที่ไดรับหนาที่ เปนผีก็เดินทางไปยังตนโพธิ์ของวัดน้ำ�เลา โดยจะมีคนเฒาคนแก นั่งรอผูกขอไมขอมือเรียกขวัญให ตอจากนั้นก็พากันไปลางตัวที่อาง เก็บน้ำ�เฉลียงลับ ถือเปนอันเสร็จงานพิธีฟนตรุษอยางสมบูรณแบบ ประเพณี ความเชื่อของแตละชุมชน แฝงความงามทาง วัฒนธรรมเอาไวอยางแยบคาย ความสามัคคี กลมเกลียว ความ เสียสละ ถูกซอนไวในประเพณีพิธีกรรมอยางสมบูรณแบบ หากมอง อยางผิวเผิน อาจคิดไดแตเพียงวาชาวบานงมงาย คร่ำ�ครึ แตจะมี ใครสักกี่คนที่จะเห็นความงดงามของคนพื้นถิ่นเพชรบูรณที่ยังรักษา ประเพณีฟนตรุษ และสืบทอดมาจนตราบเทาทุกวันนี้ บรรดาผีจุดไฟเผาเครื่องแตงกายและกระทงสงผีที่รับมาจากชาวบาน


82 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม มานุษยวิทยาสิรินธร, ศูนย. ฐานขอมูลกลุมชาติพันธุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ๒๕๕๐. วิโรจน หุนทอง ปวีณา บัวบาง พิทักษ จันทรจิระ มนชยา คลายโศก สุพิชญา พูนมี. รายงานการลงพื้นที่เก็บขอมูลภาคสนามเรื่อง พิธีฟนตรุษสงกรานต บานน้ำ�เลา ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง เพชรบูรณ. สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ. ๒๕๕๘. หัสญา ทาวนนท. นาฏยประดิษฐชุดรำ�ตรุด. รายงานผลการวิจัยงาน คนควาริเริ่มทางนาฏศิลป สาขานาฏศิลปและการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ. ๒๕๔๙. สัมภาษณ กูด ชวยเมือง. อายุ ๗๑ ป บานเลขที่ ๔๓/๑ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. ฉลวย ชวยเมือง. อายุ ๖๗ ปี บานเลขที่ ๑๒/๑ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. ชอุม เงินเหรียญ. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๒๔/๑ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. เชาว ยืนยัง. อายุ ๖๘ ป บานเลขที่ ๒๕ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. เดชนรงค เดชจันทร. อายุ ๕๓ ป บานเลขที่ ๒๙ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 83 ตัน เสือเมือง. อายุ ๘๔ ป บานเลขที่ ๓๖ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. ตุน มวงจีน. อายุ ๗๓ ป บานเลขที่ ๑๙ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. ไทย ยืนยัง. อายุ ๔๔ ป บานเลขที่ ๒๕/๒ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. บัวตัน เสือเมือง. อายุ ๘๗ ป บานเลขที่ ๓๖ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. รินทร ทองพันธ. อายุ ๗๕ ป บานเลขที่ ๑ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. และ ชวยเมือง. อายุ ๖๔ ป บานเลขที่ ๒๑ บานน้ำ�เลา หมู ๕ บาน น้ำ�เลา ตำ�บลบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. สมบัติ ชวยเมือง. อายุ ๕๔ ป บานเลขที่ ๒๖/๕ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บลบานบานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. สมัย ยิ่งเจริญ. อายุ ๕๒ ป บานเลขที่ ๘๗ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘. หนวย อินทรสุข. อายุ ๗๕ ป บานเลขที่ ๕๗ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๘. หวิน นิลกลม. อายุ ๖๗ ป บานเลขที่ ๔๒ บานน้ำ�เลา หมู ๕ ตำ�บล บานโคก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๕๘.


84 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 85 บุญบั้งไฟผาแดง : ความเชื่อและศรัทธาของชุมชน ความเชื่อและความศรัทธา สองคำ�นี้ถูกนำ�มายึดโยงในระบบ ของสังคมไทยมาอยางยาวนาน ทั้งที่แฝงอยูในรูปของงานวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรม หรือจารีตของชุมชนที่ชุมชนกอเกิดขึ้นมา คำ� ทั้งสองคำ�นี้ลวนมีความหมายที่แตกตางกันและเชื่อมโยงกัน ดังนี้ ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับวาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเปนความจริง หรือมีการดำ�รงอยูจริง โดยอาศัยประสบการณตรง การไตรตรอง ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ ไมงมงายไรเหตุผล เปน ความเชื่อที่ประกอบดวยปญญา ศรัทธาที่มั่นคง หมายถึง ศรัทธา ที่มีความรูกำ�กับ ไมหวั่นไหวเอนเอียงไปเพราะความไมรู ความหลง งมงาย (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๓๖)ต ผูเขียน ภัทรพล พิมพา สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


86 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หากวาไปแลวประเพณีบุญบั้งไฟ จัดวาเปนประเพณีที่มา จากความคิดความเชื่อของคนในทองถิ่นในเรื่องการขอฝน เมื่อเขา ฤดูแลง ดังนั้นเมื่อเริ่มจะเขาสูหนาฝน (ฤดูฝน) ชาวบานก็เริ่มเตรียม ตัวเพื่อตอนรับฝนที่กำ�ลังมาถึง จากฐานความเชื่อเหลานี้ที่มีอยูใน ทองถิ่นชุมชน จนแปรเปลี่ยนเปนประเพณีวัฒนธรรมที่มีการสืบทอด ตอกันมา จนถือวาเปนงานบุญที่เปนสวนหนึ่งในชีวิตเราไปแลว แต จริง ๆ แลวประเพณีนี้มีทำ�อยูแทบทุกพื้นที่ทั้งภาคอีสานและภาคเหนือ เมื่อถึงงานบุญเดือนหกนี้ ประชาชนทุกเพศทุกวัยจะรวมหาการละเลน ตาง ๆ มารวมสนุก เพื่อเฉลิมฉลองและกระทำ�อยางสม่ำ�เสมอจน เปนประเพณี หากใครมาชวงเทศกาลนี้จะเห็นวา แมในตลาดก็จะ เงียบเหงา เพราะพอคาแมคาที่เปนคนพื้นเพจริง ๆ เขาจะไมคาขาย จะหยุดงานและมารวมสนุกสนานในประเพณีตาง ๆ ของหมูบาน ในบทความนี้จึงจะขอนำ�เสนอเรื่องราวงานประเพณีบุญ บั้งไฟผาแดง ตำ�บลปากชอง อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่ง จัดวาเปนงานประเพณีหนึ่งที่มีความสำ�คัญตอความรูสึกของคนใน ชุมชนอำ�เภอหลมสักและใกลเคียงเปนอยางมาก เพราะคนในชุมชน ละแวกนี้จะผูกติด และยึดโยงกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คอยปกปองคุมครอง ชุมชนใหอยูรอดปลอดภัย และฝนฟาตกตองตามฤดูกาลตามความ เชื่อและความศรัทธาของชุมชนที่มีตอเจาพอผาแดงที่สิงสถิตอยู ณ บริเวณภูผาแดง ซึ่งตั้งอยูในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 87 ศาลเจาพอผาแดง ตั้งอยูยังบริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปา ภูผาแดง ตำ�บลปากชอง อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ หางจาก ตัวอำ�เภอหลมสักประมาณ ๒๐ กิโลเมตร มีลักษณะเปนหนาผาสูง ชัน บริเวณหนาผาจะมีลักษณะเปนหินสีแดงทั้งบริเวณโดยรอบ จึง เรียกบริเวณนี้วา “ภูผาแดง” บริเวณดานลางที่อยูขางทางของถนนสายหลมสัก - ขอนแกน จะเปนที่ตั้งของศาลเจาพอผาแดงแหงที่ ๒ เพื่อความสะดวกในการ สักการะบูชาของผูที่ใหความศรัทธาตอทานและผูที่สัญจรไปมา สวน บริเวณดานบนของภูผาแดงจะเปนที่ตั้งของศาลหลังแรก ในบริเวณ ศาลแหงนี้จะคอนขางไมสะดวกในการทำ�พิธีตาง ๆ ของชุมชน จึงได จัดตั้งศาลแหงที่ ๒ ดังที่ไดกลาวมา แตดวยความเชื่อและศรัทธา ของชาวบานก็ยังคงที่จะทำ�พิธีศักดิ์สิทธิ์ที่แสดงถึงความศรัทธาใน องคเจาพอผาแดง ณ บริเวณศาลเจาพอที่ตั้งอยูบนภูผาแดงนั่นเอง ศาลเจาพอผาแดง บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง


88 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บุญบั้งไฟผาแดง จะประกอบพิธีในชวงของบุญเดือน ๖ ในชวงของเดือนนี้จะมีการจัดทำ�บุญตาง ๆ มากมายกอนที่จะถึงพิธี บุญบั้งไฟผาแดง เชน เลี้ยงปศาลเจาพอ บุญวัด บุญหอ บุญบั้งไฟ ผาแดง และบุญบั้งไฟของชุมชน เปนตน งานบุญตาง ๆ ดังกลาวนี้ จะเริ่มจัดติดตอกันมาตามลำ�ดับความสำ�คัญของชุมชน คำ�วา “บุญ บั้งไฟผาแดง” ในที่นี้หลาย ๆ คนอาจจะมองวาเปนงานประเพณี บุญบั้งไฟดังที่เคยเห็นในหลาย ๆ ทองที่ที่จัดขึ้น แตในที่นี้บุญบั้งไฟ ผาแดง คือ งานบุญที่ทางชุมชนขึ้นไปทำ�พิธีทางศาสนา เหมือนกับ การประกอบพิธีทำ�บุญทั่วไป และเปนการถวายบั้งไฟแกเจาพอ ผาแดง เพื่อการเสี่ยงทาย กอนจัดงานบุญบั้งไฟของแตละชุมชน ในการประกอบพิธีถวายบั้งไฟแดองคเจาพอผาแดง จะจัด ขึ้นชวงเดือนหกของทุกป “เดือนหกในที่นี้จะอิงตามหลักจันทรคติ” ในเวลา ๐๙.๐๐ น. ชาวบานที่เขารวมในการประกอบพิธีกรรมจะนัด รวมตัวกันเพื่อเดินขึ้นสูยอดของภูผาแดง ในระหวางการเดินทางทุก ยางกาวที่ชาวบานเดินผานจะเต็มไปดวยปาไผสีเขียวตลอดสองขาง ทาง การขึ้นภูผาแดงตองใชการเดินเทาเพราะเสนทางที่จะถึงจุด หมายคอนขางลาดชันรถธรรมดาไมสามารถขึ้นได จึงจำ�เปนตอง เดินเทา ในระหวางการเดินทางนั้นชาวบานแตละคน แตละครอบครัว ก็จะจัดเตรียมสัมภาระ ขาวปลาอาหาร เครื่องดื่มตาง ๆ นานาเพื่อ ใชในการเดินขึ้นสูยอดภู นอกจากนั้นแลวยังตองจัดอาหารคาวหวาน ดอกไมธูปเทียนสำ�หรับถวายเจาพอติดไปดวยทุกครอบครัว โดย เฉพาะเทียนที่จะใชถวายเปนสิ่งจำ�เปนมากของแตละคน เพราะถือกัน วาเมื่อจุดเทียนถวายเจาพอเศษเทียน หรือกนเทียนที่หลงเหลือจาก เปลวไฟที่จุดนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ ปกปองภัยอันตรายตาง ๆ ไดเปน อยางดี ทุกคนที่ไปรวมงานจึงตางพากันนำ�กนเทียนกลับบานเพื่อนำ� ไปบูชาตอไป


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 89 พิธีทำ�บุญบั้งไฟผาแดงจะนิมนตพระสงฆจำ�นวน ๑๐ รูป สวดมงคลถวายแดองคเจาพอผาแดง พรอมกับถวายภัตตาหารเพล แดพระสงฆ ในระหวางนี้ก็จะมีการนำ�สิ่งของ อาหารถวายที่ศาล เจาพอ ของไหวที่นำ�มาถวาย ไดแก ขาวเหนียว เหลา ๑๒ ขวด ตาม จำ�นวนหมูบาน ดอกไม อาหารคาวหวาน และพานขัน ๕ ขัน ๘ เปนตน หลังจากที่พระสงฆฉันเพลคณะสงฆจะพาชาวบานเดินขบวน แหรอบศาลเจาพอผาแดง ทั้งหมด ๓ รอบดวยกัน โดยในขบวนจะ ประกอบไปดวย บั้งไฟ ดนตรี นางรำ�เสื้อแขบลาน เมื่อเดินครบ ๓ รอบ จะเปนขั้นตอนของการนำ�บั้งไฟที่จัดเตรียมมาไปจุดถวายเจาพอ ยังบริเวณที่เตรียมไว บั้งไฟที่นำ�ไปถวายมีทั้งหมด ๕ บั้ง คือ บั้งที่ ๑ บั้งถวายเจาพอ บั้งที่ ๒ บั้งขอฝน บั้งที่ ๓ บั้งขาวป บั้งที่ ๔ บั้งขาวกลาง บั้งที่ ๕ บั้งขาวดอ ของไหว พิธีบุญบั้งไฟผาแดง ถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ ๑๐ รูป


90 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บั้งไฟทั้งหมดนี้จุดเพื่อถวายแดองคเจาพอผาแดง และอีก นัยหนึ่งก็เปนการจุดเพื่อเสี่ยงทายฝนฟาในการทำ�เกษตร ในการจุด บั้งไฟถากระบอกนั้นขึ้นสูงแสดงวาการเสี่ยงทายจะไดผลดี แตถา จุดไมขึ้นหรือแตกกลางคันแสดงวาจะเกิดเหตุรายขึ้น หรือน้ำ�ทาไม เพียงพอ เมื่อจุดบั้งไฟถวายครบแลวก็ถือวาจบขั้นตอนในการทำ�พิธี ขบวนฟอนแขบลาน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 91 ในการประกอบพิธีถวายบั้งไฟแดเจาพอผาแดง สิ่งหนึ่งที่ ขาดไมไดเลยคือ ขบวนฟอนแขบลาน ใชคำ�วา ฟอนแขบลาน (ชาวบาน มักจะเรียกวา ฟอนเสื้อแขบลาน) ซึ่งถือวาเปนองคประกอบสำ�คัญ ในการถวายบั้งไฟแตองคเจาพอ เพราะถือวาเสื้อแขบลานเปรียบ เสมือนดอกไมประจำ�องคของเจาพอผาแดง แขบลาบ หรือ แถบลาน มาจากกการนำ�ใบลาน มาเย็บตัดเป็นริ้ว ๆ ตามตัวเสื้อการฟอน แขบลานนี้สันนิษฐานไดวาเปนการแสดงความสนุกสนานของ เหลาบรรดาทหารที่ติดตามเจาพอผาแดงมาในขบวนแหบั้งไฟสมัย กอนในการแหบั้งไฟนี้จะมีการตีกลองในจังหวะที่เราใจทำ�ใหเหลา บรรดาทหารรูสึกคึกคักสนุกสนาน จึงทำ�ทาขยับแขน - ขา ใหเขา กับจังหวะกลองตอมาจึงกลายเปนประเพณีที่ชาวบานนิยมแสดง สืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน ขบวนแหบั้งไฟ


92 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 93 บรรณานุกรม ภัทรพล พิมพา สุพิชญา พูนมี. รายงานการลงพื้นที่เก็บขอมูลภาคสนาม เรื่อง บุญบั้งไฟผาแดง อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ : สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ. ๒๕๕๕. ราชบัณฑิตยสภา, สำ�นัก. ศรัทธา ความเชื่อ. [ออนไลน] สืบคนจาก : http://www.royin.go.th/?knowledges. [๒๕๕๙, มิถุนายน ๑๕] องคการบริหารสวนตำ�บลบานติ้ว. ประวัติตำ�บลบานติ้ว. [ออนไลน] สืบคนจาก : http://bantiw.tripod.com/history.html. [๒๕๕๘, พฤษภาคม ๒๗] สัมภาษณ คำ�กวน พิลาเกิด. อายุ ๖๓ ป บานเลขที่ ๓๔ หมู ๙ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ จีวร ภาพสิงห. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๔๘ หมู ๙ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เตือนใจ สาบุญมี. อายุ ๗๓ ป บานเลขที่ ๙๔ หมู ๑๐ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ทอง จันทรสมุทร. อายุ ๕๔ ป บานเลขที่ ๓๐ หมู ๙ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ศรีเมือง คณเกณฑ. อายุ ๗๘ ป บานเลขที่ ๖๔ หมู ๑๒ ตำ�บลบาน ติ้ว อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สงวน แกวทะ. อายุ ๗๖ ป บานเลขที่ ๓๓ หมู ๔ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ สำ�เนียง เลยวัน. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๑๑๘ หมู ๓ ตำ�บลบานติ้ว อำ�เภอ หลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘


94 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 95 งานบุญเดือนสิบเอ็ด ตักบาตรเทโวโรหณะ วัดโฆษา บานทาชาง ตำ�บลหวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ มัลลิกา อุฤทธิ์ สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน บุญออกพรรษา การตักบาตรเทโวมีอยูทั่วประเทศ แต การทำ�บุญที่ชาวบานเนรมิตสถานที่เสมือนหนึ่งไปตักบาตรบนสรวง สวรรคไดถูกสรรสรางไวอยางงดงาม ทำ�ใหผูมาพบเห็นเกิดความ ประทับใจและรูสึกอิ่มเอมกับการทำ�บุญใหทาน จะมีที่ใดเสมอ เหมือนการทำ�บุญบนสวรรคแหงวัดโฆษา ผูเขียนขอนำ�เสนอเขาสู บรรยากาศงานบุญผานเรื่องราวความเชื่อที่งดงามในแบบฉบับของ วัดโฆษา บานทาชาง


96 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ความเปนมาของประเพณีตักบาตรเทโว ตักบาตรเทโว หมายถึง วันทำ�บุญตักบาตรในเทศกาลวัน ออกพรรษา ในวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๑๑ เนื่องในโอกาสที่พระพุทธเจา เสด็จลงจากเทวโลก คำ�วา เทโว เรียกกรอนมาจากคำ�วา เทโวโร หณะ (เทว + โอโรหณ) ซึ่งแปลวา การเสด็จลงจากเทวโลก มีประวัติเลาวา ในสมัยพุทธกาล เมื่อองคพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงตรัสรูแลวไดเสด็จไปประกาศพระศาสนาในแควนตาง ๆ ทั่วชมพูทวีป ตลอดจนไปทรงเทศนาโปรดพระพุทธบิดาและพระ ประยูรญาติทั้งหลายใหบรรลุมรรคผลตามสมควรแกอุปนิสัยของแต ละคนแลวพระองคไดทรงรำ�ลึกถึงพระนางสิริมหามายา ซึ่งไดสิ้น พระชนมไปตั้งแตพระองคประสูติได ๗ วัน ทรงดำ�ริที่จะสนองคุณ พระพุทธมารดา ดังนั้นจึงไดเสด็จขึ้นไปจำ�พรรษาบนสวรรคชั้นดาว ดึงสเทศนาพระอภิธรรมปฎกโปรดพระพุทธมารดาอยูหนึ่งพรรษา ครั้นวันแรม ๑ ค่ำ�เดือน ๑๑ หรือหลังวันออกพรรษา ๑ วัน พระ องคจึงไดเสด็จลงมาจากสวรรคชั้นดาวดึงส มาประทับที่เมือง สังกัสสะประชาชนตางพากันไปเฝาพระพุทธองคเพื่อทำ�บุญตักบาตร กันอยางเนื่องแนน ดวยเหตุนี้พุทธศาสนิกชนจึงถือเอา วันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๑๑ เปนวันคลายวันที่พระพุทธเจาเสด็จจากเทวโลกมาสูเมือง มนุษยเพื่อโปรดสัตว ชาวบานทั่วไปเรียกวันนี้วา “วันพระพุทธเจา เปดโลก” หมายถึง เปนวันที่พระพุทธเจาทรงเปดโอกาสใหโลกทั้ง ๓ สามารถมองเห็นซึ่งกันและกันได ประกอบดวย สวรรคโลก มนุษยโลก และนรกภูมิ เปนวันแหงอิสระ เสรีภาพของเหลานางฟา เทพบุตร เทพธิดาในแดนสวรรค ตลอดจนเหลาภูต ผี ปศาจ เปรต และ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 97 อสุรกายทุกรูปทุกนามในแดนนรกภูมิ สามารถจะไปไหนมาไหนก็ได เมื่อเหลานางฟา เทพบุตร เทพธิดา ทั้งหลายไดทราบขาวอันเปน มงคลยิ่งนี้ จึงไดรวมตัวกันประกอบพิธี “กวนขาวมธุปายาส” เปน ขาวที่กวนผสมกับน้ำ�ผึ้ง เรียกวา ขาวทิพยพิธีกวนขาวทิพยนี้จะตอง กระทำ�ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ เพื่อแจกจายใหแกเหลานางฟา เทพบุตร เทพธิดาไดนำ�ไปใสบาตรถวายสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ขณะที่พระองคกำ�ลังเสด็จพระราชดำ�เนินลงมาจากสวรรคชั้น ดาวดึงสตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๑๑ เรียกวันสำ�คัญในวันออก พรรษาวันแรกนี้วา “วันตักบาตรเทโวโรหณะ” ชาวบานเรียกวันนี้ วา “วันตักบาตรเทโว” พุทธศาสนิกชนตางถือปฏิบัติดวยการทำ�บุญ ตักบาตรถวายภัตตาหาร ดอกบัว ขาวตมลูกโยน ขาวสารอาหารแหง เปนการทำ�บุญเพื่ออุทิศสวนบุญสวนกุศลใหแกบิดา มารดา ญาติ มิตรที่ลวงลับไปแลว ตลอดจนอุทิศสวนกุศลนี้ใหแกเจากรรมนาย เวร เพื่อใหตนไดรับสวนบุญกุศลอันจะกอใหเกิดความเปนสิริมงคล แกตนเองและครอบครัว และทำ�สืบตอมาเปนประเพณีจนทุกวันนี้ การตักบาตรเทโวนี้ บางวัดทำ�ในวันออกพรรษา คือวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๑๑ บางวัดก็ทำ�ในวันรุงขึ้น คือวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๑๑ ทั้งนี้ แลวแตความตกลงรวมใจทั้งทางวัดและทางบาน อาหาร ที่นิยมตักในวันนั้น นอกจากขาวและอาหารคาวหวานธรรมดาแลวก็ จะมีขาวตมลูกโยน ซึ่งทำ�มาจากขาวเหนียวผัดกับกระทิ และถั่วดำ� แลวนำ�มาหอดวยใบเตยหรือใบมะพราว โดยจะทำ�เปนกรวยหอหุม ขาวเหนียว และเหลือใบไวเปนหางยาว


98 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ประเพณีตักบาตรเทโว วัดโฆษา ชาวบานทาชางและชาวอำ�เภอหลมสักสืบเชื้อสายมาจาก ลาวลานชางดั้งเดิมในราชอาณาจักรลาวหลวงพระบางและเวียงจันทน ในอดีต ความเชื่อและคานิยมดานวัฒนธรรมประเพณี ซึ่งไดรับ อิทธิพลจากวัฒนธรรมลานชาง คือ “หลักฮีตสิบสอง คองสิบสี่” การทำ�บุญวันออกพรรษาและตักบาตรเทโวเปนประเพณีนิยมอยาง หนึ่งที่เกี่ยวของกับหลักฮีตสิบสอง คองสิบสี่ นั่นเอง วัดโฆษา ตั้งอยูเลขที่ ๑๕๑ บานทาชาง หมูที่ ๒ ตำ�บล หวยไร อำ�เภอหลมสัก จังหวัดเพชรบูรณ สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ชาวบานนิยมเรียกวา “วัดทาชาง” ตามชื่อหมูบาน ไดสรางขึ้นเปน วัดนับตั้งแตประมาณ พ.ศ. ๒๒๖๓ ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในราว พ.ศ. ๒๔๒๗ ประเพณีตักบาตรเทโว วัดโฆษา


Click to View FlipBook Version