The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์

เล่มสมบัติเมืองเพชรบูรณ์1

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 149 สัมภาษณ กัญญารัตน คลายใจตรง. อายุ ๒๓ ป บานเลขที่ ๑๒๕ หมู ๕ ตำ�บล ศรีเทพ อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. กาญจนา จันทรสวยดี. อายุ ๕๒ ป บานเลขที่ ๕๒/๙๐ หมู ๔ บาน ลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ชมพู เรียบใจดี. อายุ ๖๓ บานเลขที่ ๑๗๐ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ตอง สุริวงศ. อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๒๔๑ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ถวัลย สีดวง. อายุ ๖๕ ป บานเลขที่ ๑๗ หมู ๑๓ บานบึงนาจาน ตำ�บลศรีเทพ อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ทอง ประพงษ. อายุ ๗๒ ป บานเลขที่ ๓๐๕ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ทองคำ� แรเพชร. อายุ ๗๒ ป บานเลขที่ ๕๙ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ทองเคียม จงธรรม. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๘๓ หมู ๑๒ บานเนินละคร ตำ�บลนาสนุน อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ทองปาน วงศชัยยา. อายุ ๔๐ ป บานเลขที่ ๙ หมู ๑๒ ตำ�บลนาสนุน อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘.


150 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ นางธนพร เลียบใจดี. อายุ ๕๕ ป บานเลขที่ ๓๕ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. บุญ ขันเคลือบ. อายุ ๔๗ ป บานเลขที่ ๑๒๔ หมู ๖ บานโคกสวาง ตำ�บลสระกรวด อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณ เมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. บุญชวย เรียบสวยดี. อายุ ๕๖ ป บานเลขที่ ๘/๑ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. บุญรอด มีดา. อายุ ๗๘ ป บานเลขที่ ๑๖๐ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. บุญเรือน จันทรสวยดี. อายุ ๖๑ ป บานเลขที่ ๑๖๐/๒ หมู ๔ บาน ลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. เผือ ตาลเพชร. อายุ ๘๘ ป บานเลขที่ ๕๗/๑ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. พื้น คนสะอาด. อายุ ๗๒ ป บานเลขที่ ๑๒๗ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. มณฑา ใจดี. อายุ ๕๘ ป บานเลขที่ ๑๙๑/๒ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. เล็ก สายหยุด. อายุ ๖๐ ป บานเลขที่ ๑๖๔ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 151 วิภาดา ประไพรเมือง. อายุ ๔๐ ป บานเลขที่ ๗๑/๒ หมู ๑๕ บาน ลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. เศียร แรเนธร. อายุ ๖๔ ป บานเลขที่ ๙๕ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. สมหวัง พฤกษา อายุ ๖๔ ป บานเลขที่ ๙/๑ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. สำ�ราญ ตาลเพชร. อายุ ๕๗ ป บานเลขที่ ๓๘๔ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. สำ�ริด ทาวีทอง. อายุ ๗๙ ป บานเลขที่ ๘๐/๑ หมู ๔ ตำ�บลกันจุ อำ�เภอ บึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. ไสว สุริวงษ. อายุ ๗๑ ป บานเลขที่ ๒๑๙ หมู ๔ บานลำ�ตะครอ ตำ�บล กันจุ อำ�เภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘. เอิญ แคชัย. อายุ ๖๓ ป บานเลขที่ ๕๗ หมู ๑๒ บานเนินละคร ตำ�บล นาสนุน อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๘.


152 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 153 สืบตำ�นานเรื่องเลา “กำ�ฟาไทยพวน” จันทรพิมพ มีเปยม สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน มนุษยมีความผูกพันอยูกับสังคมวิถีชีวิตของชนชาติตั้งแต เกิดซึ่งสิ่งที่สำ�คัญที่ทุกคนตองปฏิบัติและรูจักคือขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมรวมถึงคติความเชื่อตาง ๆ ที่บรรพบุรุษ ไดใหเรียนรูอบรมสั่งสอนสืบตอกันมาถือไดวาสิ่งเหลานี้เปนแบบแผน ของสังคมในแตละชนชาติ สังคมแตละสังคมยอมมีความแตกตาง ในวัฒนธรรมและคติความเชื่อ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับคานิยมทางสังคมที่ ผูคนสวนใหญถือปฏิบัติสืบตอกันมาเปนบรรทัดฐานเกี่ยวกับการ ดำ�เนินชีวิตตามความคิดความเชื่อเพื่อความเจริญแหงตนและสังคม ประเพณีไทยเปนผลมาจากสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและสังคม เมื่อเกิดปญหาขึ้นมามนุษยก็พยายามหาวิธีการแกปญหาและแนว ปฏิบัติในสมัยกอนมักอาศัยความเชื่อเปนตัวแกปญหาอยางหนึ่ง


154 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ที่มาของชาวไทยพวนในจังหวัดเพชรบูรณ พวน เปนคำ�เรียกของกลุมชนที่ตั้งอยูในแควนเชียงขวาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แควนเชียงขวาง มีแมน้ำ�สายสำ�คัญไหลผานคือ แมน้ำ�พวน ซึ่งชาวเชียงขวางนิยมตั้ง ถิ่นฐานทำ�กินบริเวณลุมแมน้ำ�และทำ�อาชีพเกษตรกรรม ทำ�ไรไถนา เมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๓๒๒ ในสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรง โปรดใหสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ยกทัพไปตีเวียงจันทนและ หัวเมืองตาง ๆ หนึ่งในนั้นคือเมืองเชียงขวางไดถูกกวาดตอนและเอา ลาวเวียงจันทน ลาวพวนรวมถึงลาวโซงมาอยูในเมืองสระบุรี ลพบุรี นครนายกและฉะเชิงเทรา ตอมาประมาณป พ.ศ. ๒๓๓๕ สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ เมืองแถงและ เมืองพวนแข็งขอตอเวียงจันทน เจาเมืองเวียงจันทนจึงยกทัพไปปราบ และกวาดตอนผูคนสงมากรุงเทพฯ ลาวโซงถูกตอนไปอยูที่เพชรบุรี สวนลาวพวนถูกสงมาอยูเมืองลพบุรี สระบุรี นครนายก ฉะเชิงเทรา ราชบุรีและจันทบุรี ราวป พ.ศ. ๒๓๗๐ เจาอนุวงศเมืองเวียงจันทนได กอกบฏตอกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๓ โปรดเกลาใหพระยาราชสุภาวดี (เจาพระยาบดินทรเดชา) เปนแมทัพ ไปปราบและกวาดตอนชาวลาวมาไวที่ปราจีนบุรี สระแกว ลพบุรีและ พิจิตร และจากเหตุที่กลาวมาขางตนพบวาชาวพวนในเพชรบูรณนา จะมีการอพยพมาจากหลายทองที่หนึ่งในนั้นคือจังหวัดลพบุรีและ จังหวัดพิจิตร ซึ่งมีอาณาเขตติดกับจังหวัดเพชรบูรณ เพราะพบวา ประเพณีกำ�ฟาของชาวไทยพวนมีการอนุรักษอยูในบานโคกเจริญ อำ�เภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณซึ่งไดรับอิทธิพลของประเพณีกำ�ฟา มาจากชาวบานปาแดง จังหวัดพิจิตร มีการสืบทอดกิจกรรมตาง ๆ อาทิ การทำ�บุญ การทำ�ขาวจี่ การทำ�ขาวหลาม เปนตน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 155 ตำ�นานกำ�ฟาไทยพวน มีเรื่องเลาวา เจาชมพูกษัตริยผูครองเมืองพวนไดยกทัพไป รบกับหลวงพระบางแลวมีชัย หลังจากยกทัพกลับเมืองพวนแลวเจา ชมพูก็ไมยอมตกเปนเมืองขึ้นของเวียงจันทนอีกตอไป จึงประกาศ เปนเอกราช เจานนทแหงนครเวียงจันทน จึงยกทัพไปปราบเมืองพวน และจับเจาชมพูมาประหารชีวิต ซึ่งในขณะที่ทำ�พิธีการประหารอยู นั้นเกิดฟาผาลงมาถูกดามหอกที่จะใชประหารเจาชมพูหักสะบั้นลง ทหารแหงเมืองเวียงจันทนรูสึกกลัวและวิ่งกระเจิงหนีไปเจานนท ทราบเหตุอัศจรรยเห็นวาเจาชมพูเปนผูที่มีบุญบารมี จึงรับสั่งใหนำ� เจาชมพูกลับไปครองเมืองพวนตามเดิมดวยเหตุการณที่เกิดขึ้นใน ครั้งนี้ทำ�ใหชาวพวนมีความศรัทธาในฟาจึงทำ�การบูชาและนับถือฟา ทำ�ใหเกิดเปนประเพณีกำ�ฟาขึ้นมาจนถึงทุกวันนี้ ประเพณีกำ�ฟาไทยพวน กำ�ฟาเปนประเพณีที่สืบทอดกันมาตั้งแตสมัยโบราณกาล ของชาวไทยพวนที่เชื่อวาการนับถือบูชาฟาเปนการแสดงกตเวทิตา ตอฟาที่ทานไดคุมครองใหมีอายุยืนยาว ใหอยูดีกินดีมีฝนตกตองตาม ฤดูกาล มีขาวปลาอาหารอุดมสมบูรณ และหากไมเชื่อหรือไมปฏิบัติ ตามเมื่อออกไปทำ�งานอาจถูกฟาผาได นี้คือความเชื่อที่สอนสั่งให ชาวพวนรักในความเปนวัฒนธรรมอันดีงาน และสืบทอดสิ่งที่ดีไว ใหคงอยูคูลูกหลานชาวพวนตอไป ประเพณีกำ�ฟาของชาวไทยพวนเปน ประเพณีที่มีการสืบทอดกันมาจนถึงลูกหลานในปจจุบันตามจังหวัด ตาง ๆ ในประเทศไทยไดสืบทอดประเพณีนี้ใหคงอยู เชน จังหวัด สระบุรี จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงหบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด ฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย จังหวัดแพร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดอุตรดิตถ จังหวัด พิจิตรรวมถึงจังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งไดมีการสืบทอดประเพณีนี้มาจน ถึงปจจุบัน


156 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ประเพณีกำ�ฟา ยังคงปฏิบัติกันอยูในหมูชาวพวนเกือบทุก จังหวัด แตละทองที่จะกำ�หนดวัน เวลา โดยจะคาดเคลื่อนกันไปบาง ในหวงเวลาของเดือนอาย ขึ้น ๑๔ ค่ำ� เดือนยี่ ขึ้น ๑๓ ค่ำ� และเดือน ๓ ขึ้น ๓ ค่ำ� ทั้งนี้เปนการตกลงของชาวพวนในแตละทองที่เดิมชาว พวน โดยทั่วไปจะถือเอาวันที่มีผูไดยินเสียงฟารองครั้งแรกในเดือน ๓ ใหเปนวันเริ่มกำ�ฟา (แตการยึดถือตามแนวนี้มักเกิดปญหาคนนั้นได ยินคนนี้ไมไดยิน) การที่ไดยินเสียงฟารองครั้งแรกในเดือน ๓ นี้ ถือ กันวาฟาเปดประตูน้ำ� ชาวบานเผาขาวหลามเพื่อถวายพระ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 157 คำ�วา “กำ�” ในภาษาพวน หมายถึง การนับถือสักการะ คำ�วา “ฟา” หมายถึงเจาฟา เจาแผนดิน หรือผูที่อยูสูงเทียมฟา คือ เทวดาและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ไมอาจมองเห็นได ดังนั้นคำ�วา “กำ�ฟา” จึงหมายถึงการนับถือฟา สักการะบูชาฟา เปนงานบุญพื้นบานอยาง หนึ่งของชาวไทยพวนโดยเชื่อกันวา เมื่อไดมีการทำ�บุญประกอบพิธี กรรมตั้งบายศรีและประกาศขอพรจากเทวดาผูรักษาฟากฟาแลว เทวดาจะบันดาลใหฝนตกตองตามฤดูกาล ขั้นตอนของประเพณีกำ�ฟาไทยพวน ประเพณีกำ�ฟามีขั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้ ๑. กอนวันกำ�ฟา ๑ วัน คือวันขึ้น ๒ ค่ำ�เดือน ๓ จะถือเปน วันสุกดิบแตละบานจะหยุดทำ�งานทุกชนิด เชน ทำ�ไร ทำ�นา ทอหูก ปนฝาย ตีเหล็ก เปนตน แมแตอุปกรณเครื่องมือทำ�มาหากินก็ตอง เก็บเขาที่เขาทางใหเรียบรอย คงเหลือแตอุปกรณในการหุงหาอาหาร ในแตละมื้อจะทำ�ขาวปุนหรือขนมจีน พรอมทั้งน้ำ�ยา และน้ำ�พริกไว เลี้ยงดูกัน มีการทำ�ขาวหลามเผา (บางที่จะทำ�ในวัด จึงเรียกวา “ขาวหลามทิพย”) จะใชในพิธีบายศรีและที่เหลือก็แจกแบงปนกัน กินดวยความเชื่อกันวาใครก็ตามที่กินขาวหลามจะไมโดนฟาผามีการ ทำ�ขาวจี่ ซึ่งขาวจี่ทำ�โดยนำ�ขาวเหนียวที่นึ่งสุกแลวนำ�มาปนเปนกอน ขนาดพอเหมาะ อาจจะใสไสหวานหรือใสไสเค็มหรือไมใสไสเลยก็ได เสียบเขากับไมและทาโดยรอบดวยไขแลวนำ�ไปปงไฟจนสุกหอม ขาวจี่ จะนำ�ไปเซนไหวผีฟาและแบงกันกินในหมูญาติพี่นอง พอถึงเวลา สามโมงเย็น ชาวไทยพวนก็จะรวมกันทำ�บุญ เมื่อพิธีสงฆเสร็จสิ้น ลงเจาพิธีซึ่งเปนผูรูในหมูบานทำ�หนาที่สวดเบิกบายศรีบูชาผีฟาแลว


158 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ อานประกาศอัญเชิญเทวดาใหมารับเครื่องสังเวย เสร็จแลวจึงเปน การรำ�ขอพรจากผีฟาเพื่อใหอยูรมเย็นเปนสุข จากนั้นก็จะแยกยาย กลับบานของตน ตกดึกกอนที่จะเขานอนคนเฒาคนแกจะเอาไมไป เคาะที่เตาไฟแลวพูดในสิ่งที่เปนมงคล เพื่อใหผีฟาผีบานผีเรือน ได ชวยปกปกรักษาคนในครอบครัวใหมีความสุขและทำ�มาหากินขาวปลา อาหารสมบูรณ ๒. พอถึงวันกำ�ฟาวันขึ้น ๓ ค่ำ� เดือน ๓ จะเริ่มตั้งแตรุงเชา ไปถึงกลางคืน โดยจะมีกิจกรรมรวมกันและการพบปะสังสรรคระหวาง เครือญาติดวยกัน เชน ทุกคนในบานจะไปทำ�บุญที่วัด มีการใสบาตร ดวยขาวหลาม ขาวจี่ ตกตอนบายจะมีการละเลนไปจนถึงกลางคืน ในปจจุบันประเพณีกำ�ฟาแตละทองถิ่นอาจมีรายละเอียดแตกตาง กันออกไป ซึ่งมีบรรยากาศความสนุกสนานทามกลางเสียงแคนและ การละเลนพื้นบานไดแก ชวงชัย มอญซอนผา นางดง เปนตน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 159 ความสำ�คัญของประเพณีกำ�ฟา นอกจากตำ�นานกำ�ฟาที่เกิดขึ้นเปนประเพณีกำ�ฟาแลว ชาว พวนมีความสามารถในดานการเกษตร โดยเฉพาะการทำ�นา ทำ�ไร ดังนั้นชาวนาตองพึ่งพาอาศัยธรรมชาติจึงมีความเกรงกลัวตอฟา มาก จึงมีการเซนไวสักการะบูชาฟา ซึ่งชาวบานรูสึกสำ�นึกในบุญคุณ ของฟาที่ดลบันดาลน้ำ�ฝนมาใหทำ�การเกษตรสาเหตุที่เกิดประเพณี กำ�ฟา เพราะชาวไทยพวนมีอาชีพทำ�นาจึงมีวิถีชีวิตผูกพันกับฟา ไม กลาทำ�ใหฟาพิโรธเพราะกลัววาฟาจะไมตกตองตามฤดูกาล หรือ ฟาจะผาคนตาย เพื่อผีฟาเทวดามีความพึงพอใจ ยังเปนการแสดง ความขอบคุณผีฟาที่ประทานฝนใหตกตองตามฤดูกาล ความชุมชื้น ความอุดมสมบูรณ ความมีชีวิตของคน สัตวและพืชตาง ๆ จึงเกิด เปนประเพณีกำ�ฟาขึ้นในการบูชาฟานั้นแตเดิมยึดถือเอาวันที่มีผูที่ ไดยินเสียงฟารองครั้งแรกในเดือน ๓ เปนวันเริ่มประเพณีแตเนื่อง พิธีสงฆในเชาวันงานประเพณีกำ�ฟา


160 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จากปจจุบันนี้ไมสามารถไดยินไดทุกคนจึงไดกำ�หนดใหวันกำ�ฟาเปน วันขึ้น ๓ ค่ำ� เดือน ๓ ของทุกป มีบางทองถิ่นจัดประเพณีกำ�ฟาปละ ๓ ครั้ง จากประเพณีกำ�ฟาของชาวไทยพวนพบวาชาวไทยพวนยังรักษา ความงดงามของชาวพวนรักในวัฒนธรรมอันดีของตนโดยการปลูก ฝงลูกหลานใหมารวมทำ�กิจกรรมเพื่อมิใหประเพณีสูญหาย มีความ เปนสิริมงคลและที่สำ�คัญเปนมรดกแหงสังคมที่แสดงถึงภูมิปญญา ของบรรพชนชาวไทยพวนที่แฝงไวดวยคุณคาแหงความกตัญู กตเวที การสรางขวัญกำ�ลังใจความสมัครสมานสามัคคีในหมูคณะ โดยมีความเชื่อศรัทธาในพิธีกรรมบูชาฟาเปนศูนยรวมแหงจิตใจและ นอกจากนั้นกิจกรรมที่ชาวพวนถือปฏิบัติกันในระหวางกำ�ฟามี ๓ ประการ คือ ประการที่ ๑ งดเวนจากการงานที่ปฏิบัติอยูเปนประจำ�ทั้งหมด ประการที่ ๒ ทำ�บุญใสบาตร ประการที่ ๓ ประกอบพิธีตั้งบายศรีบูชาฟาและประกาศขอ พรจากเทพยาดาที่รักษาทองฟาหรือผีฟา ชาวบานใสบาตรดวยขาวหลาม ขาวจี่


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 161 วิถีชีวิตและภาษาของชาวไทยพวน ชาวพวนมีนิสัยรักความสงบ ใจคอเยือกเย็น มีความโอบออม อารี ยึดมั่นในศาสนา รักอิสระ มีความขยันขันแข็งในการประกอบ อาชีพ เมื่อวางจากการทำ�ไรทำ�นาก็จะทำ�งานหัตถกรรม คือ ผูชาย จะสานกระบุง ตะกรา เครื่องมือหาปลา สวนผูหญิงจะทอผา เชน กลุมทอผามัดหมี่ลพบุรี เปนตน อาหารชาวไทยพวนที่มีประจำ�ทุกครัวเรือนคือ ปลารา เมื่อ มีงานบุญมักนิยมทำ�ขนมจีนและขาวหลาม สวนอาหารอื่น ๆ จะเปน อาหารงาย ๆ ที่ประกอบจากพืชผัก ปลา ที่มีในทองถิ่น เชน ปลาสม ปลาสมฟก เปนตน ดานความเชื่อชาวพวนมีความเชื่อเรื่องผี จะมีศาลประจำ� หมูบานเรียกวา ศาลตาปูหรือศาลเจาปูบาน รวมทั้งการละเลนใน เทศกาลก็จะมีการเลนผีนางดง ผีนางกวัก ประเพณีที่เปนเอกลักษณ ของชาวพวนคือ ประเพณีใสกระจาด ประเพณีกำ�ฟา ซึ่งเปนประเพณี ที่แสดงถึงการสักการะฟา เพื่อใหผีฟาหรือเทวดาพอใจ เพื่อไมให เกิดภัยพิบัติ


162 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ภาษาพวนชาวพวนมีภาษาเปนของตนเองมาชานานโดย ลักษณะเดนของคำ�พวนคือหากใช ก เปนตัวสะกดจะไมออกเสียง ตัวสะกด ดังเชน หูก หู ปาก เปน ปะม แบก เปน แบะ คำ�ที่ใช ใ- ไมมวนสวนใหญจะออกเปนเสียงสระเออ เชน บานใต - บาน เตอมใส - เสอมให - เหอสวนสระ ไ- ไมมลายจะออกเสียงตามรูป เชน ผัดไทยใสไข จะพูด ผัดไทยเสอไข ไมมีเสียงควบกล้ำ� ร ล ว ใชตัว ฮ แทน ร เชน เรือน - เฮือน เรา - เฮา ร่ำ�เรียน - ฮ่ำ�เฮียน ตัวอยางภาษาพวน เชน ภาษาไทยพวน ภาษาลาวเวียง ภาษาไทยกลาง ไปกะเลอ ไปไส ไปไหน เอ็ดผิเลอ เฮ็ดหยัง ทำ�อะไร ไปแทออ ไปอีหลีตั๊ว ไปจริง ๆ หรือ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 163 บรรณานุกรม ธีระวัฒน แสนคำ�. เมืองเพชรบูรณและเมืองหลมสักกับศึกเจาอนุวงศ. เพชรบูรณ : ไทยมีเดียเพชรบูรณ, ๒๕๕๖. แปลก สนธิรักษ. พิธีกรรมและลัทธิประเพณี. พิมพครั้งที่ ๒. พระนคร: โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๐๔. วิเชียร วงศวิเศษ. ไทยพวน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช, ๒๕๒๕ สายชล ผดุงพันธ. เพลงพื้นบานในประเพณีกำ�ฟาของชาวพวน ตำ�บล หาดเสี้ยว อำ�เภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. การศึกษาคนควา ดวยตนเอง มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๕๕. สัมภาษณ จำ�ปา ชีวิลัย. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. เปล ชีวิลัย. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. รัชดา ชีวิลัย. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. ระทุม เครือขวัญ. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. ศรีนวล ปานทอง. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. สมควร ดีแกว. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. สนั่น แหยมแกว. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖. สวาง เครือขวัญ. บานโคกเจริญ ตำ�บลชนแดน อำ�เภอชนแดน จังหวัด เพชรบูรณ. สัมภาษณเมื่อวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖.


164 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 165 สืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก : ศรัทธาจากคนตนน้ำ� มนชยา คลายโศก สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน “...ทองที่มณฑลเพชรบูรณบอกแผนที่ไดไมยาก คือ ลำ�แมน้ำ�สักเปน แนวแตเหนือลงมาใตมีภูเขาสูงเปนเทือกลงมาตามแนวลำ�น้ำ�ทั้ง ๒ ฟาก เทือกขางตะวันออกเปนเขาปนน้ำ�ตอแดนมณฑล นครราชสีมา เทือกขางตะวันตกเปนเขาปนน้ำ�ตอแดนมณฑลพิษณุโลก เทือก เขาทั้งสองขางนั้น บางแหงก็หาง บางแหงก็ใกลลำ�แมน้ำ�สัก เมือง หลมสักอยูที่สุดลำ�น้ำ�สักทางขางเหนือตอลงมาถึงเมืองเพชรบูรณ ตรงที่ตั้งเมืองเพชรบูรณเทือกเขาเขามาใกลลำ�น้ำ� ดูเหมือนจะไม ถึง ๔๐๐ เสน แลเห็นตนไมบนเขาถนัดทั้ง ๒ ฝาย ทำ�เลที่เมือง เพชรบูรณตอนริมลำ�แมน้ำ�เปนที่ลุม ฤดูน้ำ� ๆ ทวมแทบทุกแหงพนที่ ลุมขึ้นไปเปนที่ราบทำ�นาไดผลดี เพราะอาจจะขุดเหมืองชักน้ำ�จาก ลำ�หวยมาเขานาไดเหมือนเชนที่เมืองลับแล พนที่ราบขึ้นไปเปนโคก สลับกับแองเปนหยอม ๆ ไปจนถึงเชิงเขาบรรทัด บนโคกเปนปาไม เต็งรังเพาะปลูกอะไรอยางอื่นไมได แตตามแองนั้นเปนที่น้ำ�ซับเพาะ ปลูกพันธุไมงอกงามดี เมืองเพชรบูรณจึงสมบูรณดวยกสิกรรม...”


166 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เนื้อความจากเรื่อง ความไขเมืองเพชรบูรณ พระนิพนธ ในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ชวงหนึ่ง บรรยายถึงครั้งมาเยือนเพชรบูรณไวไดอยางชัดเจน และเขาใจไดถึง ความสัมพันธระหวางเมืองเพชรบูรณกับแมน้ำ� วิถีพื้นถิ่นคนเพชรบูรณ ที่มีแมน้ำ�ปาสักเปนสายเลือดสำ�คัญตอการดำ�รงชีวิต แมน้ำ�ปาสัก กำ�เนิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ ไหลจากดาน ซาย จังหวัดเลย ผานเพชรบูรณตั้งแตเหนือจรดใต และแบงเมือง เพชรบูรณออกเปนสองฟากฝงถือเปนแมน้ำ�สายสำ�คัญที่หลอเลี้ยง คนเปนจำ�นวนมาก หลายชีวิตเกิดและเติบโตริมสองฝงแมน้ำ� อาศัย อยูกันเปนกลุมเปนกอน ดวยความที่เพชรบูรณเปนเมืองเกามายาว นาน จึงมีหลักฐานปรากฏการตั้งรกรากถิ่นฐานตั้งแตเมื่อครั้งอดีต ผูคนดำ�รงชีวิตอยูกับ ภูเขา ปาไม และแมน้ำ� ทำ�มาหากินอยูกันแบบ วิถีเกษตรกรรม หรือแมกระทั่งการเดินทางในอดีตนั้นก็ตองไปมาหา สูกันโดยเรือ รวมถึงการติดตอคาขายที่ตองใชเสนทางแมน้ำ�ปาสักนี้ แมน้ำ�ปาสักบริเวณวัดไตรภูมิ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 167 ดังที่ไดทราบจากเรื่องความไขเมืองเพชรบูรณ ที่สมเด็จฯ ไดทรง ประพันธไวตอนหนึ่งวา “...ถามพวกชาวเมืองเพชรบูรณ เขาบอก วาเรือบรรทุกสินคาเหลานั้น ไมไดขึ้นลองทางลำ�น้ำ�สักตลอด ประเพณี ของพวกพอคาเมื่อใกลจะถึงเวลาน้ำ�หลาก เขาบรรทุกสินคาลงเรือ เตรียมไว พอน้ำ�ทวมฝงก็ลองเรือหลีกลำ�น้ำ�สักตอนมีไมลมกีดขวาง ไปตามที่ลุมที่น้ำ�ทวมบนตลิ่งจน ถึงที่กวางพนเครื่องกีดขวาง จึง ลองทางลำ�น้ำ�สัก เมื่อสงสินคาแลวก็รีบซื้อของในกรุงเทพฯ บรรทุก กลับขึ้นไปใหทันในฤดูน้ำ� พอถึงเมืองเพชรบูรณก็เอาเรือขึ้นคาน เรือบรรทุกสินคาขึ้นลองแตปละครั้งเดียวเทานั้น…” จากเนื้อความตอนนี้ เราไดทราบวาการลองเรือขนสงสินคา ของพอคาเมืองเพชรบูรณทำ�ไดเพียงปละครั้งเทานั้น นี่สะทอนให เห็นชัดถึงอิทธิพลของแมน้ำ�ปาสักที่กำ�หนดวิถีการใชชีวิตของคนได คนที่นี่จึงผูกพันและใกลชิดกับแมน้ำ�ปาสัก ทำ�ใหทุกชีวิต ไมวาคน สัตว หรือแมกระทั่งตนไมใบหญาลวนเปนหนี้บุญคุณแมน้ำ�ปาสักดวย กันทั้งสิ้น แมน้ำ�ปาสักบริเวณโคงวัดไตรภูมิ


168 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ แมน้ำ�ปาสักมีความสำ�คัญมาตั้งแตสมัยโบราณกาลผานผูคน หลายชวงอายุ และยังคงหลอเลี้ยงผูคนจากรุนสูรุนไดใชประโยชน กันถวนทั่ว ทุกคนไมปฏิเสธวาแมน้ำ�ปาสักสำ�คัญเพียงใด แตจะมีสัก กี่คนที่จะสำ�นึกรักษแมน้ำ�อยางแทจริง นานวันไปแมน้ำ� ยอมเกิดการ เปลี่ยนแปลงหากไมชวยกันดูแลรักษา ระบบนิเวศอาจถูกทำ�ลายดวย ดวยน้ำ�มือมนุษย หรือบางครั้งสายน้ำ�อาจแหงขอดบางตามฤดูกาล อันจะสงผลโดยตรงตอผูคนที่ตางตองใชน้ำ�ทำ�มาหากิน เมื่อเกิด การเหือดแหงขาดแคลน คลายกับวาแมน้ำ�กำ�ลังจะตาย ชาวบาน จึงตองหากุศโลบายยืดอายุของแมน้ำ�ใหอยูรอดยืนยาว ไมวาจะเปน การปลูกปา รักษาตนไม ชวยกันดูแลแมน้ำ�ใหใสสะอาดอุดมสมบูรณ หรือแมกระทั่งตองพึ่งพาสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยางการทำ�พิธี “สืบชะตา” คนไทยผูกพันกับความเชื่ออยูตลอดเวลา ตั้งแตเกิด แก เจ็บ ตาย ไมวาจะทำ�อะไรก็มักจะผูกโยงกับความเชื่อเสมอ เรียกไดวา ความเชื่อฝงลึกอยูในวิถีชีวิตไทยมายาวนาน อาจเปนเพราะดวยความ เปนสังคมเกษตรกรรมที่ตองพึ่งพาอาศัยธรรมชาติ ดิน ฟา อากาศ ชาวบานจึงผูกพันและเชื่อในปรากฏการณธรรมชาติ หรือตีความสิ่ง ที่ผิดแปลกไปจากเดิมตามความเชื่อ เชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เทพเทวดา โชคลาภ ไสยศาสตร คาถาอาคม หรือการนับถือผี ความเชื่อเหลานี้ สรางใหเกิดวัฒนธรรมการบูชา เซนไหว บวงสรวง เนื่องจากเชื่อวา สิ่งที่ตนเคารพบูชาจะสามารถดลบันดาลใหสมปรารถนาไดตามที่ตน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 169 รองขอ ในชีวิตประจำ�วันก็เชนกัน ความเชื่อแทรกซึมอยูในทุก ๆ กิจวัตร ทั้งเวลากิน เวลานอน การทำ�มาหากินหาเลี้ยงชีพ หรือการสรางที่ อยูอาศัย ความเชื่อยังคงอยูคูกับคนไทย และฝงแนนแบบหยั่งรากลึก ประเพณี พิธีกรรมตาง ๆ ยังคงปฏิบัติมาอยางสม่ำ�เสมอ ทามกลาง การพัฒนาและเติบโตของสังคม พิธีสืบชะตา เปนพิธีกรรมหนึ่งซึ่งเกี่ยวพันธกับความเชื่อ และปฏิบัติกันสืบกันมาแตสมัยกอน ในประเทศไทยนั้นพบวา มีพิธี สืบชะตาในจังหวัดทางภาคเหนือ ดวยความเชื่อของชาวลานนาที่ วาการตอชะตาเปนการตออายุ ตอชีวิตคนหรือบานเมือง ใหมีความสุข ความเจริญ และเสริมความเปนสิริมงคล สวนใหญแลวจะนิยมทำ� พิธีตอชะตาใหคนในวันคลายวันเกิดบาง หรือเมื่อหายจากการเจ็บ ปวยบาง หรือแมแตใครก็ตามที่โดนทักทวงเรื่องดวงไมดี ราศีไมผอง หนาตาดูหมองเศรา ก็มักจะจัดใหมีพิธีสืบชะตา หรือตอชะตา เพื่อ ปดไลสิ่งชั่วราย และใหชีวิตดีขึ้น จากศรัทธาและความเชื่อที่ฝงแนน ในวิถีชีวิตของผูคนในชุมชน วัฒนธรรมตาง ๆ จึงอิงจากความเชื่อ เปนหลัก ดวยเหตุนี้ชาวบานจึงใชความเชื่อผสมผสานกับภูมิปญญา ทองถิ่นในการอนุรักษแมน้ำ� เปนผลใหเกิดการนำ�พิธีสืบชะตาคนมา ประยุกตใชกับแมน้ำ�บาง ยามใดแมน้ำ�เหือดแหง หรือแมแตจำ�นวน ปลาลดลง แมน้ำ�ไมอุดมสมบูรณแลว ก็จะทำ�พิธีสืบชะตาเพื่อตอ อายุแมน้ำ�ใหยืนยาว จึงเกิดเปน “พิธีสืบชะตาแมน้ำ�” ขึ้น


170 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เพชรบูรณจัดพิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสักทุกป ที่ตำ�บลศิลา อำ�เภอหลมเกา ซึ่งนอยคนนักที่จะทราบวามีพิธีกรรมนี้อยู ความ เปนมาของการจัดพิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสักนี้ ครูศิลา มวงงาม เลา วา เริ่มตนจากเหตุการณอุทกภัยดินโคลนถลมหมูบานในเขตตนน้ำ� ปาสักของตำ�บลศิลา เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘ และทำ�ให ๖ หมูบานของตำ�บลศิลา ไดแก หมูที่ ๒ บานสักงา หมูที่ ๓ บานอุมกะทาด หมูที่ ๔ บานวังกนหวด หมูที่ ๕ บานหินโงน หมูที่ ๑๐ บานหวย ผักกูด และหมูที่ ๑๔ บานกลาง ตกเปนพื้นที่ประสบภัยธรรมชาติ ซึ่งมีผลมาจากอิทธิพลของพายุ ฝนตกหนักในเขตอำ�เภอดานซาย จังหวัดเลยชวงรอยตอเชื่อมกับตำ�บลศิลา ซึ่งเปนตนกำ�เนิดของแมน้ำ� ปาสักสรางความเสียหายใหกับบานเรือน ทรัพยสิน และพืชผลทาง การเกษตรเปนจำ�นวนมาก บานเรือนหลายหลังถูกน้ำ�พัดพังหายไป กับสายน้ำ� บริเวณงานพิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก บานสักงา


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 171 หลังจากเหตุการณอุทกภัยไดสงบลง ทางชุมชนตระหนักถึง ความสำ�คัญของตนน้ำ�ปาสัก จึงรวมกันคิดหาวิธีที่จะสรางจิตสำ�นึกให เกิดขึ้นในชุมชน ใหทุกคนรูสึกหวงแหนและชวยกันดูแลรักษา จึงได รวมกันจัดตั้งเครือขายรักษตนน้ำ�ปาสักขึ้น เพื่อการอนุรักษและฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และกิจกรรมสำ�คัญที่ถือปฏิบัติ สืบเนื่องกันมา คือ พิธีทำ�บุญสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก ซึ่งถูกกำ�หนดให จัดขึ้นในวันที่ ๔ ธันวาคม ของทุกป โดยจัดหมุนเวียนไปตามหมูบาน ตาง ๆ ทั้ง ๖ หมูบานที่เปนเครือขายรวมกัน นั่นนับเปนจุดเริ่มตน ของพิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก จังหวัดเพชรบูรณ เขาปที่ ๑๑ แลว ที่คนตนน้ำ�แหงนี้จัดพิธีสืบชะตาแมน้ำ� ปาสักขึ้น ปนี้โอกาสดีผูเขียนไดไปรวมพิธีครั้งนี้ดวย เสนทางการเดิน ทางจากตัวเมืองเพชรบูรณสูบานสักงา ตำ�บลศิลา อำ�เภอหลมเกา ใชเวลาเดินทางราว ๒ ชั่วโมง เมื่อเขาเขตบานสักงาเปนเสนทางที่ สูงชันและคดเคี้ยวคอนขางมาก เนื่องจากสักงาเปนหมูบานในหุบเขา จึงตองใชความระมัดระวังอยางมากในการเดินทาง แตก็สนุกสนาน ตื่นเตนกันมากทีเดียว เมื่อถึงยังหมูบาน เราตองจอดรถไวแลวเดิน ขามธารน้ำ�ปาสักเพื่อไปยังสถานที่จัดงาน เมื่อขามไปถึงฝงสถานที่จัดงาน สิ่งแรกที่ไดพบคือ รอยยิ้ม และการตอนรับจากชาวบานสักงา พรอมขาวปลาอาหารที่ยกมารับ แขกรวมงาน มีผูใหญหลาย ๆ ทานนั่งทานอยูกอนแลว พูดคุยสนทนา กันอยางเปนกันเอง บรรยากาศอบอุน อิ่มเอมใจ รับพิธีมงคลที่ กำ�ลังจะเริ่มขึ้น


172 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรยากาศการเดินทางไปยังบริเวณพิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก บานสักงา


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 173 ชวงเวลากอนงานพิธีจะเริ่ม ไดมีโอกาสพูดคุยกับชาวบาน สักงา ทำ�ใหทราบวากอนวันงานนั้น ชาวบานจะพรอมใจกันตระเตรียม ทุกสิ่งอยางสำ�หรับประกอบพิธี แรงงานผูชายจะชวยกันจัดสถานที่ สรางแทนทำ�พิธี เตรียมที่ทางสำ�หรับรับรองแขก ประดับตกแตง บริเวณโดยรอบงาน บรรดาแมบานก็จะชวยกันเตรียมวัตถุดิบสำ�หรับ ประกอบอาหาร ทั้งทำ�เลี้ยงคนวันเตรียมงาน และทำ�ไวสำ�หรับวัน ประกอบพิธีดวย นอกจากนี้ก็จะตองเตรียมเครื่องเซนไหวที่ใชในพิธี ใหตรงตามที่กำ�หนดไว สวนใครที่พอจะมีทักษะงานฝมือก็จะตั้งใจ ทำ�พานบายศรีสูขวัญดวยความประณีตสวยงาม เพื่อนำ�เขาพิธีสืบ ชะตาในวันเชารุงขึ้น พิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก บานสักงา ตำ�บลศิลา นอกจากจะ เปนพิธีสืบชะตาใหแมน้ำ�แลว งานนี้จัดใหมีการปลอยพันธุปลาเพื่อ ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องใน วโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม และยังเปนการสราง บรรยากาศในครัวตอนเชา และการเลี้ยงขาวปลาอาหารกอนเริ่มพิธี


174 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สมดุลของระบบนิเวศใหแมน้ำ�ปาสักอีกทางหนึ่งดวย ในสวนของ เชาวันประกอบพิธีนี้ บรรยากาศโดยรอบดูคึกคัก มีเด็ก ๆ วิ่งเลนกัน สนุกสนาน ชาวบานพากันมาเตรียมงานแตเชาตรู บรรดาแมบาน ตางสาละวนกันอยูในครัว ชวยกันปรุงอาหารเลี้ยงแขกที่มารวมพิธี อยางไมขาดตกบกพรอง อาหารพื้นถิ่นแบบงาย ๆ ของชาวบาน สักงาแตรับรองแขกไดอยางนารักเปนกันเองตามวิถีชาวบานอยาง นาประทับใจ มองไปยังบริเวณแมน้ำ�ปาสัก มีการสรางแทนกลางน้ำ�ไว สำ�หรับประกอบพิธี โดยสรางเปนสะพานกวางประมาณสองเมตร ทอดยาวเชื่อมระหวางฝงบานสักงาไปยังอีกฝง ซึ่งเปนอำ�เภอดานซาย จังหวัดเลย มีทางมะพราวทำ�เปนซุมประตูกอนเขาสูบริเวณทำ�พิธี ที่บริเวณประกอบพิธีนั้นปูดวยเสื่อสีแดง ประดับตกแตงดวยราชวัตร ฉัตรธงทั้งสี่มุมบอกอาณาเขตมณฑลพิธี ทั้งฉัตรเงิน ฉัตรทอง ประดับธงทิว และโยงสายสิญจนโดยรอบบริเวณงาน ตรงกลางแทน พิธีนั้นมีเครื่องประกอบพิธีวางอยู มีพานบายศรีสูขวัญ เครื่องเซนไหว ไกตม ขาวเหนียว กลวยสุข เหลา น้ำ�เปลา ใบพลู เทียน ฝายผูกแขน ขาวเรียง ไขตม และขันครูหมอขวัญ เตรียมไวพรอมรอเวลาฤกษ งามยามดีที่พิธีจะเริ่ม ถัดมานั้นเปนบริเวณที่สำ�หรับประกอบพิธีสงฆ และที่รับรอง แขกผูรวมงาน ซึ่งมีทั้งผูเฒาผูแก ลูกเด็กเล็กแดง และผูใหญใน ทองถิ่น รวมถึงชาวบานจากทั้ง ๖ หมูบานที่เปนเครือขายรักษตนน้ำ� ปาสัก เมื่อพิธีเปดงานเสร็จสิ้นแลว ก็เขาสูขั้นตอนพิธีสงฆ สวดมนต รับศีลรับพรจากพระสงฆเพื่อความเปนสิริมงคล และรวมกันถวาย ภัตตาหารเพลแดพระคุณเจาดวยความอิ่มเอิบ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 175 จากนั้น เขาสูชวงของพิธีพราหมณที่บริเวณแทนทำ�พิธีกลาง น้ำ� โดยมีหมอพราหมณพื้นถิ่นเปนผูนำ�ในการประกอบพิธี พิธีกรรม ศักดิ์สิทธิ์นี้เริ่มขึ้นดวยการบวงสรวงเทพเทวดา ถวายเครื่องเซน สักการะที่ไดจัดเตรียมไว และกลาวขอขมาตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปกปก รักษาแมน้ำ� กลาวทำ�ขวัญและสืบชะตาตออายุแมน้ำ� ใหยืนยาวอุดม สมบูรณ ตลอดการทำ�พิธีสืบชะตานี้ สัมผัสไดถึงพลังความศรัทธา ชาวบานจะพากันยกมือพนมไหวตลอดการทำ�พิธี แสดงถึงความ เคารพยำ�เกรงที่มีตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปกปกรักษาดูแลแมน้ำ�ปาสักความ นอบนอม ความสำ�นึกในบุญคุณมหาศาลของพระแมคงคาแหงนี้ ความรัก ความหวงแหนที่มีตอแมน้ำ�ปาสัก ชาวบานตางถือวาวันนี้ เปนวันดีที่ทุกคนจะไดมีโอกาสกลาวขอขมาตอแมน้ำ�ผานพิธีสืบชะตา ทำ�พิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก


176 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลังจากเสร็จสิ้นพิธีสืบชะตาเรียบรอยแลว ทุกคนจะพากัน ปลอยพันธุปลาลงแมน้ำ�ปาสักเพื่อการอนุรักษและขยายพันธุและเพิ่ม ความสมบูรณแกธรรมชาติ จากนั้นจะรวมรับประทานอาหารกลางวัน ดวยกัน เด็ก ๆ ในหมูบานตางพากันเลนน้ำ�อยางสนุกสนาน สวน ผูใหญก็จะชวยกันเก็บขาวของที่ใชในงานกอนที่จะแยกยายกันกลับ บรรยากาศตั้งแตเริ่มจนจบงานนี้เต็มไปดวยกลิ่นไอความเปนพื้นบาน พื้นถิ่น เรียบงายและเปนธรรมชาติในรูปแบบของชาวบาน และที่ สำ�คัญคือ ศรัทธาตอแมน้ำ�ที่หมูบานสักงายังคงรักษาไวไดอยางดี


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 177 แมวาสังคมในสมัยนี้ จะมีวิวัฒนาการในการแกไขจัดการ ปญหาเรื่องน้ำ�หลากหลายวิธี การรณรงคอนุรักษในรูปแบบคนรุนใหม ไมวาจะทางสื่อสารมวลชนที่ประชาสัมพันธกันอยางคึกคัก ดวยความ กาวหนาของมนุษยที่พัฒนาไปดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย แตเปนที่ นาสนใจวาพิธีกรรมสืบชะตาแมน้ำ�ปาสัก เปนพิธีกรรมแบบโบราณ ของชาวบานยังไมหายไปจากสังคม ความเชื่อ ความศรัทธาอีกทั้ง กุศโลบายจากภูมิปญญายังคงถูก ถายทอดผานพิธีกรรมสืบชะตา แมน้ำ�ปาสักมาจนกระทั่งทุกวันนี้ หวังผลเพียงใหเกิดความรักและ


178 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หวงแหนแมน้ำ�ปาสัก รวมมือรวมใจกันเพื่อชวยดูแลตนน้ำ�แหงนี้ รวม ถึงสรางจิตสำ�นึกความรูสึกสำ�นึกผิดหากเคยทำ�ลาย หรือละเลยแมน้ำ� ชาวบานสักงายึดถือปฏิบัติพิธีกรรมนี้มาอยางสม่ำ�เสมอทุก ๆ ป และ ที่นาสนใจอีกประการหนึ่ง คือ ผูคนที่มารวมพิธีมีตั้งแตผูเฒาผูแก คนวัยทำ�งาน หนุมสาว วัยรุนไปจนถึงเด็ก ๆ นั้นทำ�ใหสัมผัสไดวา ไมวาจะเปนคนรุนไหนก็ตามตางก็มีความศรัทธาในสิ่งเดียวกัน คือ ศรัทธาใน พิธีสืบชะตาแมน้ำ�ปาสักสะทอนใหเห็นถึงความเขมแข็งทาง วัฒนธรรมพื้นถิ่นของคนที่นี่ยังคงปฏิบัติกันมาอยางนาชื่นชม บางที วิถีชีวิตที่ ดูเรียบงายกันเองเชนนี้ แทจริงแลวกลับเปนความงดงาม และควจริงใจที่ซอนตัวอยูในหมูบานเล็ก ๆ กลางปาตนน้ำ�แหงนี้


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 179 บรรณานุกรม พระมหาดวงรัตน ฐิตรตโน (กิจประภานนท). อิทธิพลของธัมมปทัฏฐ กถาเรื่องอายุวัฒนกุมารตอประเพณีสืบชะตาของลานนา. วิทยา นิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๕๐ ภัทรพล พิมพา วิโรจน หุนทอง นางสาวปวีณา บัวบาง นางสาวมนชยา คลายโศก. รายงาน การเก็บขอมูลภาคสนามเรื่องพิธีตอชะตา แมน้ำ�ปาสัก บานสักงา ตำ�บลศิลา อำ�เภอหลมเกา จังหวัด เพชรบูรณ. สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ, ๒๕๕๙. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี. พิมพครั้งที่ ๑๐. กรุงเทพฯ : เขษมบรรณกิจ, ๒๕๐๓. สัมภาษณ วันชัย วังคีรี. อายุ ๔๒ ป บานเลขที่ ๑๖ หมู ๒ บานสักหงา ตำ�บลศิลา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘. ศิลา มวงงาม. อายุ ๕๗ ป โรงเรียนบานสักหงา (หินโงน) ตำ�บลศิลา อำ�เภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ, สัมภาษณเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘.


180 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ คุณชยางคทิพย โฆษิตานนท เกิด ๒๘ กันยายน ๒๔๙๓ การศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนโฆษิตวิทยา มัธยมศึกษา โรงเรียนวิทยานุกุลนารี โรงเรียนราชินีบน เรียนจบดีไซนเนอร จากประเทศฝรั่งเศส เจตอย....ของลูกนอง ฟาประทาน คุณชยางคทิพย มาคูชาติ เปรื่องปราด แหลมคม สมศักดิ์ศรี ลูกเมืองเพชรฯ เกล็ดฟา คุณคามี ยอดสตรี สืบปญญา โฆษิตานนท เปนหญิงแกรง สรางงานเกง แถมใจกลา จบดีไซนเนอรมา ไมหมองหมน จากฝรั่งเศส เธอสดใส ใจอดทน กลาเหมือนชาย ปญหาชน ไมชักชา ทั้งขยัน ทั้งถี่ถวน แถมซื่อสัตย รูแจงจัด ประหยัดจริง หญิงกาวหนา คนจริงจัง ทำ�จริงใจ ไมรอเวลา นักพัฒนา บุคลากร คิดซอนซับ มีแตให ใจถึง คอยเทถาย นำ�ของเกา มาแอพพลาย หลายมุมกลับ ของไรคา นำ�มาคูณ สรางทุนทรัพย หัวสรางสรรค พรอมสรรพ คาคุมทุน นามเจตอย คอยติดตาม ถามลูกนอง รัก ปรองดอง ชื่อกระเดื่อง ไมเคืองขุน สรางสรรคคน ใหมีคา รูบุญคุณ เธอจึงอุน อยูใน ใจลูกนอง กระจายแจก คนยากจน ที่ทนหิว มักหอบหิ้ว หวานคาว พรอมขาวของ ดวยเมตตา เอื้ออารี มีครรลอง รักคนงาน เหมือนรักนอง จองใหทาน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ 181 ของเหลือใช ใฝสังเกต เศษขยะ ไมเลยละ รวบรวมไว ไดสืบสาน ชั่งกิโลขาย ไดเงินมา คาประมาณ รวมลูกนอง แลวแบงหาร ปนทุกคน สอนใหคิด ทำ�ความดี มีสาระ กตัญู รูคุณพระ รักเหตุผล สรางบุญทาน เปนทุนไว ไมอับจน ทั้งปลายตน เผื่อชาติหนา พาสบาย สงขาวน้ำ� ใหคุณแม ทุกเชาค่ำ� บำ�รุงรักษ เปนประจำ� บุญแจกจาย กตัญู รูพระคุณ มิเสื่อมคลาย จึงโฆษิตานนท คนทั้งหลาย ไดชื่นชม อาราธนา หลวงพอพุทธมหาธรรมราชา โปรดปกปก รักษา ใหงามสม ทั้งตระกูล พูนสวัสดิ์ ขจัดตรม คนนิยม ลูกหลานฉลาด สุขญาติมิตร คิดสิ่งใด สำ�เร็จได ดั่งประสงค ทรัพยมั่นคง สถาพร สุนทรสถิตย เจริญรุง จรุงฟา ทั่วสารทิศ เปนหลักคิด ใหเพชรบูรณ เพิ่มพูนเทอญ ประพันธโดย ผศ. กมล บุญเขต ผูอำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version