สว่ นท่ี ๑๐
การเปดิ เผย
ข้อ ๔๙ ในกรณีที่หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ
ตามมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ
พ.ศ. ๒๕๔๐ มีคาส่ังให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารลับใดโดยมีข้อจากัดหรือ
เง่ือนไขเช่นใด ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารลับนั้นได้ตามข้อจากัดหรือเง่ือนไข
ทกี่ าหนด
ข้อ ๕๐ ในกรณีท่ีข้อมูลข่าวสารลับใดไม่มีเครื่องหมายแสดง
ชั้นความลับไว้ ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องสามารถเปิดเผยข้อมูล
ข่าวสารนั้นได้ เว้นแต่เจ้าหน้าที่นั้นได้รู้หรือควรจะรู้ข้อเท็จจริงว่าข้อมูล
ขา่ วสารนั้นไดม้ ีการกาหนดช้ันความลบั ไว้แล้ว
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๕๑ ให้เอกสารลับตามชั้นความลับท่ีมีอยู่ก่อน ตามระเบียบ
ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นข้อมูลข่าวสาร
ลับตามระเบียบน้ี โดยเอกสารลับชั้นปกปิดให้ถือว่ามีชั้นความลับอยู่ในช้ัน
ลบั นับแตว่ ันที่ระเบยี บน้ีใชบ้ งั คบั
แบบใบปกของเอกสารลับตามระเบียบว่ าด้วยการรักษา
ความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ใหค้ งใช้ไดต้ อ่ ไปจนกวา่ จะหมด
138
แบบเอกสารต่าง ๆ ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัย
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗ ซึ่งมีอยู่ก่อนระเบียบน้ีใช้บังคับให้ใช้ได้ต่อไปเท่าท่ี
ไม่ขัดหรือแยง้ กับระเบียบนี้
ให้นายทะเบียนเอกสารลับและผู้ช่วยนายทะเบียนเอกสารลับท่ีมี
อยู่กอ่ นตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
เป็นนายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับและผู้ช่วยนายทะเบียนข้อมูลข่าวสาร
ลับตามระเบียบน้ี
ให้เจ้าหน้าท่ีนาสารและผู้อารักขาการนาสารที่มีอยู่ก่อนตาม
ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๑๗
เปน็ เจ้าหนา้ ท่ีนาสารและผอู้ ารกั ขาการนาสารตามระเบียบน้ี
ข้อ ๕๒ ภายในหกเดอื นนบั แตว่ ันทรี่ ะเบียบนใ้ี ช้บังคบั
(๑) ข้อมูลขา่ วสารใดที่ได้จดั ทามาแลว้ เกินยี่สิบปี และมีการกาหนด
ช้ันความลับไว้ ถ้ามิได้มีการกาหนดชั้นความลับใหม่เป็นรายช้ินและแจ้งให้
เจ้าหน้าท่ีของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องทราบถึงการกาหนดให้
เปน็ ข้อมลู ขา่ วสารลับต่อไป ใหถ้ ือว่าชัน้ ความลบั นน้ั เป็นอนั ยกเลกิ
(๒) ให้หน่วยงานของรัฐตรวจสอบและกาหนดชั้นความลับของ
ข้อมูลข่าวสารท่ีตนจัดทาขึ้นภายในยี่สิบปีก่อนวันท่ีระเบียบนี้ใช้บังคับให้
แลว้ เสร็จทง้ั หมด
หากหน่วยงานของรัฐแห่งใดมีเหตุจาเป็นไม่อาจจัดทาได้ภายใน
ระยะเวลาทก่ี าหนดตามวรรคหน่ึง ให้ขอขยายระยะเวลาต่อคณะกรรมการ
ข้อมลู ขา่ วสารของราชการ
139
ข้อ ๕๓๘ ให้องค์การรักษาความปลอดภัยฝุายพลเรือน องค์การ
รักษาความปลอดภัยฝุายทหาร และองค์การรักษาความปลอดภัยฝุาย
ตารวจประสานการปฏิบัติในการจัดให้มีหลักเกณฑ์ วิธีการและคาแนะนา
การปฏิบัติตามระเบียบน้ี รวมท้ังการอบรมบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องตามความ
จาเป็นและงบประมาณ
ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๕ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๔
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี
๘ ความในข้อ ๕๓ แก้ไขเพ่ิมเติมโดย ข้อ ๙ แห่งระเบียบว่าด้วยการรักษา
ความลบั ของทางราชการ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
140
พระราชบญั ญัติ
คมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
พ.ศ. ๒๕๖๒
141
พระราชบัญญัติ
ค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล
พ.ศ. ๒๕๖๒
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจา้ อยูห่ วั
ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เป็นปีท่ี ๔ ในรัชกาลปจั จุบัน
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หัวมพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศวา่
โดยท่ีเป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล
พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิ
และเสรีภาพของบคุ คล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓
และมาตรา ๓๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทา
ได้โดยอาศยั อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
142
เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ตามพระราชบัญญัติน้ี เพ่ือให้การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีประสิทธิภาพ
และเพื่อให้มีมาตรการเยียวยาเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจากการถูกละเมิด
สิทธิในข้อมูลส่วนบุคคลท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งการตราพระราชบัญญัติน้ี
สอดคล้องกับเง่ือนไขที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยแลว้
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดย
คาแนะนาและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา
ดังตอ่ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครอง
ข้อมูลสว่ นบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๒”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่บทบัญญัติในหมวด ๒
หมวด ๓ หมวด ๕ หมวด ๖ หมวด ๗ และความในมาตรา ๙๕ และมาตรา ๙๖
ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ตน้ ไป๑
๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๖๙ ก วันที่ ๒๗
พฤษภาคม ๒๕๖๒ (หนา้ ๕๒-๙๕)
143
มาตรา ๓ ในกรณีท่ีมีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเก่ียวกับการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้
โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคบั ตามบทบัญญตั แิ หง่ กฎหมายว่าด้วยการน้ัน เว้นแต่
(๑) บทบัญญัติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
สว่ นบุคคล และบทบัญญัติเก่ียวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้ง
บทกาหนดโทษที่เก่ียวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ี
เป็นการเพิ่มเตมิ ไมว่ ่าจะซ้ากับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการน้ันหรือไม่
กต็ าม
(๒) บทบัญญัติเก่ียวกับการร้องเรียน บทบัญญัติท่ีให้อานาจแก่
คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญออกคาสั่งเพ่ือคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
และบทบัญญัติเกี่ยวกับอานาจหน้าท่ีของพนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้ง
บทกาหนดโทษที่เก่ียวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้
ในกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการน้ันไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การรอ้ งเรยี น
(ข) ในกรณีท่ีกฎหมายว่าด้วยการน้ันมีบทบัญญัติที่ให้อานาจแก่
เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจพิจารณาเร่ืองร้องเรียนตามกฎหมายดังกล่าวออกคาส่ัง
เพ่ือคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่ไม่เพียงพอเท่ากับอานาจของ
คณะกรรมการผู้เชีย่ วชาญตามพระราชบัญญัติน้ีและเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจตาม
กฎหมายดังกล่าวร้องขอต่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าของข้อมูล
ส่ ว น บุ ค ค ล ผู้ เ สี ย ห า ย ยื่ น ค า ร้ อ ง เ รี ย น ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ
ตามพระราชบญั ญตั ินี้ แลว้ แต่กรณี
144
มาตรา ๔ พระราชบญั ญตั ิน้ไี มใ่ ช้บงั คบั แก่
(๑) การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคล
ทีท่ าการเก็บรวบรวมข้อมลู ส่วนบคุ คลเพือ่ ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรม
ในครอบครัวของบคุ คลนัน้ เทา่ นั้น
(๒) การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐท่ีมีหน้าที่ในการรักษาความ
ม่ันคงของรัฐ ซึ่งรวมถึงความม่ันคงทางการคลังของรัฐ หรือการรักษา
ความปลอดภัยของประชาชน รวมทั้งหน้าที่เก่ียวกับการปูองกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน นิติวิทยาศาสตร์ หรือการรักษาความม่ันคง
ปลอดภยั ไซเบอร์
(๓) บุคคลหรือนิติบุคคลซ่ึงใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ทาการ
เก็บรวบรวมไว้เฉพาะเพ่ือกิจการสื่อมวลชน งานศิลปกรรม หรืองาน
วรรณกรรมอันเป็นไปตามจริยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพ หรือเป็น
ประโยชน์สาธารณะเท่าน้นั
(๔) สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา รวมถึงคณะกรรมาธิการ
ที่แต่งตั้งโดยสภาดังกล่าวซ่ึงเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ในการพจิ ารณาตามหน้าที่และอานาจของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา
หรอื คณะกรรมาธิการ แลว้ แต่กรณี
(๕) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของ
เจ้าหน้าท่ีในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์
รวมทั้งการดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(๖) การดาเนินการกับข้อมูลของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิกตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดติ
การยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ท้ังหมดหรือแต่
บางส่วนมาใช้บังคับแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด
145
หรือหน่วยงานใดทานองเดียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง
หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอนื่ ใด ใหต้ ราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖)
และผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานที่ได้รับยกเว้นตามที่กาหนดใน
พระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ต้องจัดให้มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ของขอ้ มูลส่วนบุคคลให้เป็นไปตามมาตรฐานด้วย
มาตรา ๕ พระราชบัญญัตนิ ้ีให้ใช้บังคับแก่การเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผล
ข้อมูลส่วนบุคคลซ่ึงอยู่ในราชอาณาจักร ไม่ว่าการเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยน้นั ไดก้ ระทาในหรอื นอกราชอาณาจักรกต็ าม
ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วน
บุคคลอยู่นอกราชอาณาจักร พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับแก่การเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
ซ่ึงอยู่ในราชอาณาจักรโดยการดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
หรือผ้ปู ระมวลผลขอ้ มลู ส่วนบคุ คลดังกล่าว เม่ือเป็นกจิ กรรม ดังต่อไปน้ี
(๑) การเสนอสินค้าหรือบริการให้แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลซ่ึงอยู่
ในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะมีการชาระเงินของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่
ก็ตาม
(๒) การเฝูาติดตามพฤติกรรมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเกิดขึ้น
ในราชอาณาจักร
146
มาตรา ๖ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเก่ียวกับบุคคลซ่ึงทาให้
สามารถระบุตัวบุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูล
ของผถู้ งึ แกก่ รรมโดยเฉพาะ
“ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือนิติบุคคล
ซึ่งมีอานาจหน้าท่ีตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบคุ คล
“ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า บุคคลหรือ
นิติบุคคลซึ่งดาเนินการเก่ียวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลตามคาส่ังหรือในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ท้ังน้ี บุคคล
หรอื นติ บิ คุ คลซง่ึ ดาเนินการดังกลา่ วไม่เป็นผู้ควบคมุ ข้อมูลส่วนบคุ คล
“บคุ คล” หมายความวา่ บคุ คลธรรมดา
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
สว่ นบุคคล
“พนักงานเจ้าหน้าท่ี” หมายความว่า ผู้ซ่ึงรัฐมนตรีแต่งต้ังให้
ปฏิบัตกิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้
“สานกั งาน” หมายความว่า สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
สว่ นบคุ คล
“เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครอง
ขอ้ มูลส่วนบุคคล
“รัฐมนตร”ี หมายความว่า รัฐมนตรีผ้รู กั ษาการตามพระราชบัญญัติน้ี
มาตรา ๗ ให้รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ี
เพอื่ ปฏิบัติการตามพระราชบญั ญัตินี้
147
หมวด ๑
คณะกรรมการคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบุคคล
มาตรา ๘ ใหม้ ีคณะกรรมการคุ้มครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล ประกอบด้วย
(๑) ประธานกรรมการ ซ่ึงสรรหาและแต่งต้ังจากผู้มีความรู้
ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ด้านสังคมศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านสุขภาพ ด้านการเงิน หรือ
ด้านอื่น ทัง้ นี้ ต้องเกยี่ วขอ้ งและเป็นประโยชนต์ ่อการคุม้ ครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล
(๒) ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เป็นรองประธาน
กรรมการ
(๓) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนห้าคน ได้แก่ ปลัดสานัก
นายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการ
คุ้มครองผบู้ ริโภค อธิบดีกรมคมุ้ ครองสิทธิและเสรภี าพ และอัยการสงู สดุ
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนเก้าคน ซ่ึงสรรหาและแต่งต้ังจาก
ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็นท่ีประจักษ์ในด้าน
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ด้านสังคมศาสตร์ ด้านกฎหมาย ด้านสุขภาพ
ด้านการเงิน หรือด้านอ่ืน ท้ังนี้ ต้องเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครอง
ข้อมลู ส่วนบุคคล
ให้เลขาธิการเป็นกรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการแต่งตั้ง
พนักงานของสานักงานเปน็ ผู้ช่วยเลขานกุ ารได้ไมเ่ กินสองคน
หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาบุคคลเพ่ือแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการ
และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รวมทั้งการสรรหาประธานกรรมการและกรรมการ
148
ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ เ พื่ อ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง แ ท น ผู้ ท่ี พ้ น จ า ก ต า แ ห น่ ง ก่ อ น ว า ร ะ
ตามมาตรา ๑๓ ให้เป็นไปตามท่ีคณะรัฐมนตรีประกาศกาหนด ท้ังน้ี
ตอ้ งคานึงถงึ ความโปรง่ ใสและความเปน็ ธรรมในการสรรหา
มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหน่ึงจานวนแปดคน
ทาหน้าที่คัดเลือกบุคคลท่ีสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการตาม
มาตรา ๘ (๑) หรือกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ติ ามมาตรา ๘ (๔) ประกอบด้วย
(๑) บุคคลซงึ่ นายกรัฐมนตรแี ตง่ ตัง้ จานวนสองคน
(๒) บุคคลซ่ึงประธานรัฐสภาแตง่ ต้ังจานวนสองคน
(๓) บุคคลซง่ึ ผู้ตรวจการแผ่นดนิ แต่งตัง้ จานวนสองคน และ
(๔) บคุ คลซ่งึ คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาตแิ ตง่ ต้ังจานวนสองคน
ในกรณีท่ีผู้มีอานาจแต่งตั้งตาม (๒) (๓) หรือ (๔) ไม่สามารถแต่งตั้ง
กรรมการสรรหาในส่วนของตนได้ภายในส่ีสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจาก
สานักงาน ให้สานักงานเสนอช่ือให้นายกรัฐมนตรีพิจารณาแต่งต้ังบุคคล
ทเี่ หมาะสมเปน็ กรรมการสรรหาแทนผู้มีอานาจแต่งตง้ั นนั้
ให้คณะกรรมการสรรหาเลือกกรรมการสรรหาคนหน่ึงเป็นประธาน
กรรมการสรรหาและเลือกกรรมการสรรหาอีกคนหน่ึงเป็นเลขานุการ
คณะกรรมการสรรหา และให้สานักงานปฏิบัติหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของ
คณะกรรมการสรรหา
ในกรณีท่ีตาแหน่งกรรมการสรรหาว่างลง ให้ดาเนินการเพ่ือให้มี
กรรมการสรรหาแทนในตาแหน่งนั้นโดยเร็ว ในระหว่างที่ยังไม่ได้กรรมการ
สรรหาใหม่ ใหค้ ณะกรรมการสรรหาประกอบดว้ ยกรรมการสรรหาเทา่ ทีม่ อี ยู่
กรรมการสรรหาไม่มีสิทธิได้รับการเสนอช่ือเป็นประธานกรรมการ
ตามมาตรา ๘ (๑) หรือกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิตามมาตรา ๘ (๔)
149
มาตรา ๑๐ ในการสรรหาประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑) หรือ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘ (๔) ให้คณะกรรมการสรรหาคัดเลือก
บุคคลผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๘ (๑) หรือตามมาตรา ๘ (๔) แล้วแต่กรณี
รวมท้ังมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๑ และยินยอมให้
เสนอชื่อเข้ารับคัดเลือกเท่ากับจานวนประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑)
หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒติ ามมาตรา ๘ (๔) ที่จะไดร้ ับแตง่ ต้ัง
เม่ือได้คัดเลือกบุคคลเป็นประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑) หรือ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘ (๔) ครบจานวนแล้ว ให้คณะกรรมการ
สรรหาแจ้งรายชื่อประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑) หรือกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘ (๔) พร้อมหลักฐานแสดงคุณสมบัติและการไม่มี
ลักษณะต้องห้าม รวมท้ังความยินยอมของบุคคลดังกล่าวต่อคณะรัฐมนตรี
เพอื่ แต่งตัง้ เป็นประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑) หรอื กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ตามมาตรา ๘ (๔)
ให้นายกรัฐมนตรีประกาศรายชื่อประธานกรรมการตามมาตรา ๘ (๑)
หรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๘ (๔) ซ่ึงได้รับแต่งต้ังจาก
คณะรฐั มนตรใี นราชกิจจานเุ บกษา
มาตรา ๑๑ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมี
คณุ สมบตั แิ ละไมม่ ีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปน้ี
(๑) มสี ญั ชาตไิ ทย
(๒) ไมเ่ ป็นบคุ คลลม้ ละลายหรือเคยเปน็ บุคคลลม้ ละลายทุจริต
(๓) ไมเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรอื คนเสมือนไรค้ วามสามารถ
(๔) ไมเ่ คยต้องคาพพิ ากษาถึงท่สี ดุ ใหจ้ าคุกไมว่ ่าจะไดร้ ับโทษจาคกุ จริง
หรือไม่ เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิด
ลหุโทษ
150
(๕) ไม่เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงาน
ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจหรือจากหน่วยงานของเอกชน เพราะทุจริตต่อหน้าท่ี
หรือประพฤติชวั่ อยา่ งรา้ ยแรง
(๖) ไมเ่ คยถกู ถอดถอนออกจากตาแหน่งตามกฎหมาย
(๗) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถ่ิน หรือ
ผู้บริหารท้องถ่ิน กรรมการหรือผู้ดารงตาแหน่งซ่ึงรับผิดชอบการบริหาร
พรรคการเมือง ที่ปรกึ ษาพรรคการเมือง หรือเจา้ หนา้ ท่พี รรคการเมอื ง
มาตรา ๑๒ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระ
การดารงตาแหนง่ คราวละสี่ปี
เม่ือครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งต้ัง
ประธานกรรมการหรือกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิขนึ้ ใหม่ ใหป้ ระธานกรรมการหรือ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระน้ันอยู่ในตาแหน่ง
เพ่ือดาเนินงานต่อไปจนกว่าประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งได้รับแตง่ ต้ังใหม่เข้ารับหนา้ ที่
ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่ง
ตามวาระอาจได้รับแต่งต้งั อีกได้แต่จะดารงตาแหนง่ เกนิ สองวาระไม่ได้
มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๒
ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ พิ ้นจากตาแหน่ง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะรัฐมนตรีให้ออก เพราะบกพร่องต่อหน้าท่ี มีความประพฤติ
เสอ่ื มเสีย หรือหย่อนความสามารถ
(๔) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มลี ักษณะตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๑๑
151
ในกรณีท่ีประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก
ตาแหน่งก่อนวาระ ให้ผู้ที่ได้รับแต่งต้ังแทนตาแหน่งท่ีว่างนั้นดารงตาแหน่ง
ได้เท่ากับวาระท่ีเหลืออยู่ของประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ซึ่งตนแทน เว้นแต่วาระท่ีเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่แต่งต้ังประธาน
กรรมการหรอื กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒแิ ทนกไ็ ด้
ในกรณีที่ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก
ตาแหนง่ กอ่ นวาระ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
จนกว่าจะมีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตาม
วรรคสอง และในกรณีท่ีประธานกรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ
ใหร้ องประธานกรรมการทาหน้าท่ีประธานกรรมการเปน็ การชว่ั คราว
มาตรา ๑๔ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุม
ไมน่ อ้ ยกวา่ กงึ่ หนง่ึ ของจานวนกรรมการท่ีมีอยู่ จงึ จะเป็นองค์ประชุม
ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ในกรณีที่ประธาน
กรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการ
ทาหน้าทเี่ ปน็ ประธานในทีป่ ระชุม ในกรณที ่ปี ระธานกรรมการและรองประธาน
กรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้กรรมการซ่ึงมาประชุม
เลอื กกรรมการคนหน่งึ เป็นประธานในทป่ี ระชุม
การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึง
ใหม้ ีเสยี งหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ีประชุม
ออกเสยี งเพิม่ ข้นึ อกี เสียงหนึ่งเป็นเสียงช้ีขาด
การประชุ มของคณะกรรมการอาจกระทาได้ โดยวิธีการ
ทางอเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รอื วธิ ีการอ่นื ได้ตามที่คณะกรรมการกาหนด
152
มาตรา ๑๕ กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม
ในเร่ืองท่ีท่ีประชุมพิจารณาให้แจ้งการมีส่วนได้เสียของตนให้คณะกรรมการ
ทราบล่วงหน้าก่อนการประชุม และห้ามมิให้ผู้นั้นเข้าร่วมประชุมพิจารณา
ในเรื่องดงั กล่าว
มาตรา ๑๖ คณะกรรมการมีหน้าท่แี ละอานาจ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) จัดทาแผนแม่บทการดาเนินงานด้านการส่งเสริม และ
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ และ
แผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสงั คมแหง่ ชาติตามกฎหมายว่าดว้ ยการพัฒนาดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม
(๒) ส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน
ดาเนินกิจกรรมตามแผนแม่บทตาม (๑) รวมท้ังจัดให้มีการประเมินผล
การดาเนินงานตามแผนแม่บทดังกล่าว
(๓) กาหนดมาตรการหรือแนวทางการดาเนินการเก่ียวกบั การคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบคุ คลเพ่ือให้เปน็ ไปตามพระราชบัญญัตินี้
(๔) ออกประกาศหรือระเบียบเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี
(๕) ประกาศกาหนดหลักเกณฑ์การให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ทส่ี ง่ หรอื โอนไปยังต่างประเทศ
(๖) ประกาศกาหนดข้อปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
เป็นแนวทางให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ปฏิบัติ
(๗) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีให้มีการตราหรือปรับปรุงกฎหมาย
หรือกฎทีใ่ ช้บังคับอยู่ในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การคมุ้ ครองข้อมูลส่วนบคุ คล
153
(๘) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกาหรือ
ทบทวนความเหมาะสมของพระราชบญั ญัตินอี้ ย่างน้อยทุกรอบห้าปี
(๙) ให้คาแนะนาและคาปรึกษาเก่ียวกับการดาเนินการใด ๆ เพ่ือให้
ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชนในการ
ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัตินี้
(๑๐) ตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาที่เกิดจากการบังคับใช้
พระราชบญั ญัตนิ ้ี
(๑๑) ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดทักษะการเรียนรู้และความเข้าใจ
เก่ียวกบั การคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคลให้แก่ประชาชน
(๑๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยีที่เก่ียวข้อง
กับการคุ้มครองขอ้ มูลสว่ นบุคคล
(๑๓) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืน
กาหนดใหเ้ ปน็ หน้าท่แี ละอานาจของคณะกรรมการ
มาตรา ๑๗ ให้ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และ
กรรมการได้รับเบ้ียประชุมและประโยชน์ตอบแทนอ่ืนตามหลักเกณฑ์
ที่คณะรัฐมนตรกี าหนด
ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ ประธานกรรมการผู้เช่ียวชาญ
และกรรมการผู้เชี่ยวชาญที่คณะกรรมการแต่งต้ัง ให้ได้รับเบ้ียประชุมและ
ประโยชน์ตอบแทนอื่นตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการกาหนดโดยความ
เหน็ ชอบของกระทรวงการคลัง
มาตรา ๑๘ คณะกรรมการมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อ
พิจารณาหรือปฏิบตั ิการอย่างใดอย่างหน่ึงตามท่ีคณะกรรมการมอบหมายได้
154
การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นาความในมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๕
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
หมวด ๒
การคมุ้ ครองข้อมลู ส่วนบุคคล
สว่ นท่ี ๑
บทท่วั ไป
มาตรา ๑๙ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้
ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะน้ัน เว้นแต่บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้
หรือกฎหมายอืน่ บัญญตั ใิ หก้ ระทาได้
การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดย
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดยสภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการ
ดังกล่าวได้
ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลต้องแจ้งวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลไปด้วย และการขอความยินยอมน้ันต้องแยกส่วนออกจากข้อความ
อ่ืนอย่างชัดเจน มีแบบหรือข้อความที่เข้าถึงได้ง่ายและเข้าใจได้ รวมทั้งใช้
ภาษาท่ีอ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือทาให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
เข้าใจผิดในวัตถุประสงค์ดังกล่าว ท้ังน้ี คณะกรรมการจะให้ผู้ควบคุมข้อมูล
155
สว่ นบคุ คลขอความยินยอมจากเจ้าของขอ้ มูลส่วนบุคคลตามแบบและข้อความ
ท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนดกไ็ ด้
ในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลต้ องคานึงอย่างถึ งท่ีสุดในความเป็นอิสระของเจ้าของข้ อมูล
ส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ท้ังนี้ ในการเข้าทาสัญญาซ่ึงรวมถึง
การให้บริการใด ๆ ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพ่ือเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลท่ีไม่มีความจาเป็นหรือเกี่ยวข้องสาหรับ
การเข้าทาสญั ญาซงึ่ รวมถึงการให้บริการน้นั ๆ
เจา้ ของขอ้ มลู ส่วนบคุ คลจะถอนความยนิ ยอมเสียเมื่อใดกไ็ ด้โดยจะตอ้ ง
ถอนความยินยอมได้ง่ายเช่นเดียวกับการให้ความยินยอม เว้นแต่มีข้อจากัด
สิทธิในการถอนความยินยอมโดยกฎหมายหรือสญั ญาทีใ่ หป้ ระโยชนแ์ กเ่ จ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งน้ี การถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้
ความยินยอมไปแลว้ โดยชอบตามที่กาหนดไวใ้ นหมวดน้ี
ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลในเรื่องใด ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการถอนความยินยอมน้ัน
การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เป็นไปตามท่ี
กาหนดไว้ในหมวดนี้ ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และไม่ทาให้
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
สว่ นบุคคลได้
มาตรา ๒๐ ในกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นผู้เยาว์ซึ่งยังไม่
บรรลุนิติภาวะโดยการสมรสหรือไม่มีฐานะเสมือนดังบุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะ
156
แล้วตามมาตรา ๒๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การขอความ
ยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบคุ คลดงั กล่าว ให้ดาเนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณีที่การให้ความยินยอมของผู้เยาว์ไม่ใช่การใด ๆ ซ่ึงผู้เยาว์
อาจให้ความยินยอมโดยลาพังได้ตามท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓
หรือมาตรา ๒๔ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ต้องได้รับ
ความยนิ ยอมจากผูใ้ ช้อานาจปกครองท่ีมีอานาจกระทาการแทนผเู้ ยาว์ดว้ ย
(๒) ในกรณีท่ีผู้เยาว์มีอายุไม่เกินสิบปี ให้ขอความยินยอมจาก
ผู้ใชอ้ านาจปกครองท่ีมีอานาจกระทาการแทนผเู้ ยาว์
ใ น ก ร ณี ที่ เ จ้ า ข อ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล เ ป็ น ค น ไ ร้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ
การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว ให้ขอความยินยอม
จากผู้อนุบาลที่มอี านาจกระทาการแทนคนไรค้ วามสามารถ
ในกรณีท่ีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
การขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว ให้ขอความยินยอม
จากผูพ้ ทิ ักษท์ ่ีมีอานาจกระทาการแทนคนเสมือนไร้ความสามารถ
ให้นาความในวรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคสาม มาใช้บังคับกับ
การถอนความยินยอมของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล การแจ้งให้เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลทราบ การใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล การร้องเรียนของ
เจ้าของข้อมลู สว่ นบุคคล และการอ่ืนใดตามพระราชบญั ญัตินี้ในกรณีที่เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นผู้เยาว์ คนไร้ความสามารถ หรือคนเสมือน
ไร้ความสามารถ โดยอนโุ ลม
มาตรา ๒๑ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องทาการเก็บรวบรวม ใช้
หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ที่ได้แจ้งเจ้าของข้อมูล
สว่ นบุคคลไว้กอ่ นหรือในขณะท่ีเก็บรวบรวม
157
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่แตกต่างไปจาก
วัตถปุ ระสงคท์ ่ีไดแ้ จง้ ไวต้ ามวรรคหน่ึงจะกระทามไิ ด้ เวน้ แต่
(๑) ได้แจ้งวัตถุประสงค์ใหม่น้ันให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบและ
ได้รับความยินยอมก่อนเกบ็ รวบรวม ใช้ หรอื เปิดเผยแล้ว
(๒) บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติให้
กระทาได้
สว่ นที่ ๒
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ส่วนบุคคล
มาตรา ๒๒ การเก็บรวบรวมข้อมลู ส่วนบคุ คล ใหเ้ กบ็ รวบรวมไดเ้ ทา่ ท่ี
จาเปน็ ภายใต้วัตถุประสงค์อันชอบด้วยกฎหมายของผคู้ วบคมุ ขอ้ มูลสว่ นบุคคล
มาตรา ๒๓ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลจะต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบก่อนหรือในขณะเก็บ
รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลถึงรายละเอียด ดังต่อไปน้ี เว้นแต่เจ้าของข้อมูล
สว่ นบุคคลไดท้ ราบถงึ รายละเอียดน้ันอยแู่ ลว้
(๑) วตั ถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมเพ่ือการนาข้อมลู ส่วนบคุ คลไปใช้
หรือเปิดเผยซ่ึงรวมถึงวัตถุประสงค์ตามท่ีมาตรา ๒๔ ให้อานาจในการ
เกบ็ รวบรวมได้โดยไมไ่ ด้รับความยนิ ยอมจากเจา้ ของขอ้ มูลส่วนบุคคล
(๒) แจ้งให้ทราบถึงกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูล
ส่วนบุคคลเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายหรือสัญญาหรือมีความจาเป็นต้องให้
ข้อมูลส่วนบุคคลเพ่ือเข้าทาสัญญา รวมท้ังแจ้งถึงผลกระทบที่เป็นไปได้
จากการไม่ใหข้ ้อมูลส่วนบุคคล
158
(๓) ข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีการเก็บรวบรวมและระยะเวลาในการ
เก็บรวบรวมไว้ ท้ังนี้ ในกรณีที่ไม่สามารถกาหนดระยะเวลาดังกล่าวได้ชัดเจน
ใหก้ าหนดระยะเวลาทอ่ี าจคาดหมายได้ตามมาตรฐานของการเก็บรวบรวม
(๔) ประเภทของบุคคลหรือหน่วยงานซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเก็บ
รวบรวมอาจจะถูกเปิดเผย
(๕) ข้อมูลเก่ียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล สถานที่ติดต่อ
และวิธีการติดต่อในกรณีที่มีตัวแทนหรือเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ให้แจ้งข้อมูล สถานที่ติดต่อ และวิธีการติดต่อของตัวแทนหรือเจ้าหน้าท่ี
คมุ้ ครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คลดว้ ย
(๖) สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา ๑๙ วรรคห้า
มาตรา ๓๐ วรรคหน่งึ มาตรา ๓๑ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๒ วรรคหนง่ึ มาตรา ๓๓
วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๔ วรรคหนึ่ง มาตรา ๓๖ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๗๓
วรรคหนงึ่
มาตรา ๒๔ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลทาการเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลโดยไม่ไดร้ บั ความยนิ ยอมจากเจ้าของข้อมลู สว่ นบุคคล เว้นแต่
(๑) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีเก่ียวกับการจัดทาเอกสาร
ประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือที่เก่ียวกับ
การศกึ ษาวจิ ัยหรือสถิติซ่ึงได้จัดให้มีมาตรการปกปูองท่ีเหมาะสมเพื่อคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ท้ังน้ี ตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกาหนด
(๒) เพ่ือปูองกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของ
บคุ คล
159
(๓) เป็นการจาเป็นเพ่ือการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพ่ือใช้ในการดาเนินการตามคาขอของเจ้าของ
ข้อมลู สว่ นบคุ คลกอ่ นเขา้ ทาสญั ญานัน้
(๔) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าท่ีในการดาเนินภารกิจเพ่ือ
ประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล หรือปฏิบัติหน้าท่ีในการ
ใชอ้ านาจรัฐทีไ่ ดม้ อบให้แก่ผ้คู วบคมุ ข้อมูลสว่ นบคุ คล
(๕) เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลหรือของบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นท่ีไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคล เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้นพ้ืนฐาน
ในข้อมูลสว่ นบคุ คลของเจ้าของขอ้ มูลส่วนบคุ คล
(๖) เปน็ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายของผู้ควบคุมขอ้ มลู ส่วนบคุ คล
มาตรา ๒๕ ห้ามมิให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลทาการเก็บรวบรวม
ข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโดยตรง
เว้นแต่
(๑) ได้แจ้งถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลจากแหล่งอื่นให้แก่
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบโดยไม่ชักช้า แต่ต้องไม่เกินสามสิบวันนับแต่
วันท่เี กบ็ รวบรวมและได้รับความยนิ ยอมจากเจ้าของข้อมลู ส่วนบคุ คล
(๒) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลท่ีได้รับยกเว้นไม่ต้อง
ขอความยินยอมตามมาตรา ๒๔ หรอื มาตรา ๒๖
ให้นาบทบัญญัติเก่ียวกับการแจ้งวัตถุประสงค์ใหม่ตามมาตรา ๒๑
และการแจง้ รายละเอียดตามมาตรา ๒๓ มาใช้บังคับกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
ส่วนบุคคลท่ีต้องได้รับความยินยอมตามวรรคหน่ึงโดยอนุโลม เว้นแต่กรณี
ดงั ต่อไปน้ี
160
(๑) เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบวัตถุประสงค์ใหม่หรือรายละเอียด
นน้ั อย่แู ลว้
(๒) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลพิสูจน์ได้ว่าการแจ้งวัตถุประสงค์ใหม่
หรือรายละเอียดดังกล่าวไม่สามารถทาได้หรือจะเป็นอุปสรรคต่อการใช้หรือ
เปดิ เผยขอ้ มลู ส่วนบคุ คล โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์เก่ียวกับ
การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ ในกรณีน้ีผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีมาตรการท่ีเหมาะสมเพ่ือคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ
และประโยชน์ของเจ้าของข้อมลู ส่วนบคุ คล
(๓) การใช้หรือการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลต้องกระทาโดยเร่งด่วน
ตามที่ กฎหมายก าหนดซ่ึ งได้ จั ดให้ มี มาตรการท่ี เหมาะสมเพื่ อคุ้ มครอง
ประโยชนข์ องเจ้าของขอ้ มลู สว่ นบุคคล
(๔) เมื่อผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นผู้ซึ่งล่วงรู้หรือได้มาซ่ึงข้อมูล
ส่วนบุคคลจากหน้าท่ีหรือจากการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพและต้องรักษา
วตั ถปุ ระสงคใ์ หม่หรือรายละเอียดบางประการตามมาตรา ๒๓ ไว้เป็นความลับ
ตามที่กฎหมายกาหนด
การแจง้ รายละเอียดตามวรรคสอง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้ง
ใหเ้ จ้าของขอ้ มลู ส่วนบคุ คลทราบภายในสามสบิ วันนบั แตว่ ันทเ่ี ก็บรวบรวมตาม
มาตรานี้ เว้นแต่กรณีท่ีนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้เพ่ือการติดต่อกับเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งในการติดต่อครั้งแรก และกรณีที่จะนาข้อมูล
ส่วนบุคคลไปเปิดเผย ต้องแจง้ กอ่ นท่จี ะนาข้อมูลสว่ นบุคคลไปเปดิ เผยเป็นคร้ังแรก
มาตรา ๒๖ ห้ามมิให้เก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเก่ียวกับเช้ือชาติ
เผ่าพันธ์ุ ความคิดเห็นทางการเมือง ความเช่ือในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา
พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรมข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพ
แรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูลชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใดซ่ึงกระทบต่อเจ้าของ
161
ข้อมูลส่วนบุคคลในทานองเดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
โดยไมไ่ ด้รบั ความยินยอมโดยชัดแจง้ จากเจ้าของข้อมูลสว่ นบุคคล เวน้ แต่
(๑) เพ่อื ปูองกนั หรอื ระงบั อนั ตรายต่อชีวติ ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
ซึง่ เจา้ ของขอ้ มูลส่วนบุคคลไมส่ ามารถให้ความยินยอมได้ ไม่วา่ ดว้ ยเหตใุ ดก็ตาม
(๒) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครอง
ท่ีเหมาะสมของมูลนิธิ สมาคมหรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับการเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคย
เปน็ สมาชกิ หรอื ผซู้ ึง่ มกี ารตดิ ต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กร
ที่ไม่แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
นนั้ ออกไปภายนอกมลู นธิ ิ สมาคม หรอื องค์กรทไ่ี มแ่ สวงหากาไรนัน้
(๓) เป็นข้อมูลท่ีเปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้ง
ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
(๔) เป็นการจาเป็นเพ่ือการก่อต้ังสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติ
ตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกข้ึนต่อสู้สิทธิเรียกร้อง
ตามกฎหมาย
(๕) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกบั
(ก) เวชศาสตร์ปูองกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมิน
ความสามารถในการทางานของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์
การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม การรักษาทางการแพทย์ การจัดการ
ด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้านสังคมสงเคราะห์ ท้ังน้ี ในกรณี
ที่ไม่ใชก่ ารปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคลน้ันอยู่ในความรับผิดชอบ
ของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าท่ีรักษาข้อมูลส่วนบุคคลนั้น
ไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่างเจ้าของ
ขอ้ มูลสว่ นบุคคลกบั ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการแพทย์
162
(ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การปูองกัน
ด้านสุขภาพจากโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดท่ีอาจติดต่อหรือแพร่เข้ามา
ในราชอาณาจักร หรือการควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือ
เครื่องมือแพทย์ ซ่ึงได้จัดให้มีมาตรการท่ีเหมาะสมและเจาะจงเพ่ือคุ้มครองสิทธิ
และเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโดยเฉพาะการรักษาความลับ
ของขอ้ มูลส่วนบุคคลตามหน้าทห่ี รอื ตามจริยธรรมแห่งวิชาชพี
(ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ สวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย
การคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ หรือการคุ้มครองทางสังคมซึ่งการเก็บรวบรวม
ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นในการปฏิบัติตามสิทธิหรือหน้าท่ีของผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล โดยได้จัดให้มีมาตรการที่
เหมาะสมเพอื่ คมุ้ ครองสทิ ธิขั้นพ้ืนฐานและประโยชนข์ องเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
(ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือ
ประโยชน์สาธารณะอ่ืน ทั้งน้ี ต้องกระทาเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว
เพียงเท่าที่จาเป็นเท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการท่ีเหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิ
ข้ันพ้ืนฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ตามท่ีคณะกรรมการ
ประกาศกาหนด
(จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสม
เพือ่ คมุ้ ครองสิทธขิ น้ั พื้นฐานและประโยชนข์ องเจ้าของขอ้ มูลส่วนบุคคล
ข้อมูลชีวภาพตามวรรคหนึ่งให้หมายถึงข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเกิดจาก
การใช้เทคนิคหรือเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับการนาลักษณะเด่นทาง
กายภาพหรือทางพฤติกรรมของบุคคลมาใช้ทาให้สามารถยืนยันตัวตน
ของบุคคลนั้นที่ไม่เหมือนกับบุคคลอ่ืนได้ เช่น ข้อมูลภาพจาลองใบหน้า
ข้อมูลจาลองมา่ นตา หรือข้อมูลจาลองลายน้วิ มอื
163
ในกรณีที่เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเก่ียวกับประวัติ
อาชญากรรมต้องกระทาภายใต้การควบคุมของหน่วยงานท่ีมีอานาจหน้าท่ี
ตามกฎหมาย หรือได้จัดให้มีมาตรการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ตามหลกั เกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด
ส่วนท่ี ๓
การใชห้ รอื เปดิ เผยขอ้ มูลสว่ นบคุ คล
มาตรา ๒๗ หา้ มมิใหผ้ คู้ วบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคล โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่
เ ป็ น ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล ท่ี เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ไ ด้ โ ด ย ไ ด้ รั บ ย ก เ ว้ น ไ ม่ ต้ อ ง ข อ
ความยินยอมตามมาตรา ๒๔ หรือมาตรา ๒๖
บุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับข้อมูลส่วนบุคคลมาจากการเปิดเผย
ตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลเพ่ือวัตถุประสงค์
อื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ที่ได้แจ้งไว้กับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ในการขอรบั ข้อมลู ส่วนบุคคลนนั้
ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอความยินยอมตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลตอ้ งบันทึกการใช้หรือเปดิ เผยน้ันไว้ในรายการตามมาตรา ๓๙
มาตรา ๒๘ ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอนข้อมูล
ส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ ประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่าง
ประเทศท่รี บั ขอ้ มูลส่วนบคุ คลต้องมมี าตรฐานการคุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคล
ท่ีเพียงพอ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์การให้ความคุ้มครองข้อมูล
164
ส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนดตามมาตรา ๑๖ (๕)
เว้นแต่
(๑) เปน็ การปฏิบตั ิตามกฎหมาย
(๒) ไดร้ บั ความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลสว่ นบุคคลโดยได้แจง้ ให้เจ้าของ
ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลทราบถึงมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เพียงพอ
ของประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศทีร่ ับขอ้ มูลส่วนบุคคลแล้ว
(๓) เป็นการจาเป็นเพอ่ื การปฏิบตั ิตามสญั ญาซ่งึ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
เป็นคู่สัญญาหรือเพือ่ ใชใ้ นการดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
กอ่ นเข้าทาสัญญาน้ัน
(๔) เป็นการกระทาตามสัญญาระหว่างผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
กับบุคคลหรอื นติ บิ ุคคลอนื่ เพอื่ ประโยชนข์ องเจ้าของข้อมลู สว่ นบุคคล
(๕) เพ่ือปูองกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของ
เจ้าของขอ้ มลู ส่วนบุคคลหรอื บุคคลอ่ืน เมื่อเจ้าของข้อมลู สว่ นบุคคลไมส่ ามารถ
ใหค้ วามยินยอมในขณะน้นั ได้
(๖) เป็นการจาเป็นเพอ่ื การดาเนินภารกิจเพือ่ ประโยชนส์ าธารณะทสี่ าคัญ
ในกรณีท่ีมีปัญหาเก่ียวกับมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ท่ีเพียงพอของประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศท่ีรับข้อมูล
ส่วนบุคคล ให้เสนอต่อคณะกรรมการเป็นผู้วินิจฉัย ท้ังนี้ คาวินิจฉัยของ
คณะกรรมการอาจขอให้ทบทวนได้เม่ือมีหลักฐานใหม่ทาให้เชื่อได้ว่าประเทศ
ปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศท่ีรับข้อมูลส่วนบุคคลมีการพัฒนา
จนมมี าตรฐานการคมุ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเพยี งพอ
มาตรา ๒๙ ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูล
ส่วนบุคคลซ่ึงอยู่ในราชอาณาจักรได้กาหนดนโยบายในการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคลเพื่อการส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
165
หรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งอยู่ต่างประเทศและอยู่ในเครือกิจการ
หรอื เครอื ธุรกิจเดียวกนั เพ่ือการประกอบกิจการหรอื ธรุ กจิ ร่วมกนั หากนโยบาย
ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวได้รับการตรวจสอบและรับรอง
จากสานักงาน การสง่ หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศท่ีเป็นไปตาม
นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับการตรวจสอบและรับรอง
ดังกลา่ วให้สามารถกระทาได้โดยไดร้ ับยกเว้นไมต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรา ๒๘
นโยบายในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ลักษณะของเครือกิจการ
หรือเครือธุรกิจเดียวกันเพื่อการประกอบกิจการหรือธุรกิจร่วมกัน และ
หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบและรับรองตามวรรคหน่ึงให้เป็นไปตามที่
คณะกรรมการประกาศกาหนด
ในกรณีท่ียังไม่มีคาวินิจฉัยของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๘ หรือ
ยังไม่มนี โยบายในการคุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลอาจส่งหรือโอนข้อมูล
ส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศได้โดยได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๒๘
เม่ือผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลได้จัดให้มี
มาตรการคุ้มครองที่เหมาะสมสามารถบังคับตามสิทธิของเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลได้ รวมทั้งมีมาตรการเยียวยาทางกฎหมายท่ีมีประสิทธิภาพ
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด
หมวด ๓
สิทธิของเจา้ ของขอ้ มลู สว่ นบุคคล
มาตรา ๓๐ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอเข้าถึงและขอรับสาเนา
ข้อมูลส่วนบุคคลท่ีเก่ียวกับตนซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ควบคุมข้อมูล
166
ส่วนบุคคล หรือขอให้เปิดเผยถึงการได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าว
ทต่ี นไม่ได้ให้ความยินยอม
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องปฏิบัติตามคาขอตามวรรคหนึ่ง
จะปฏิเสธคาขอได้เฉพาะในกรณีที่เป็นการปฏิเสธตามกฎหมายหรือคาสั่งศาล
และการเข้าถึงและขอรับสาเนาข้อมูลส่วนบุคคลน้ันจะส่งผลกระทบ
ทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่นื
ในกรณี ท่ี ผู้ ควบคุ มข้ อมู ลส่ วนบุ คคลปฏิ เสธค าขอตามวรรคหน่ึ ง
ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลบันทึกการปฏิเสธคาขอดังกล่าวพร้อมด้วย
เหตุผลไวใ้ นรายการตามมาตรา ๓๙
เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีคาขอตามวรรคหน่ึงและเป็นกรณีท่ี
ไม่อาจปฏิเสธคาขอได้ตามวรรคสอง ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลดาเนินการ
ตามคาขอโดยไม่ชกั ช้า แตต่ อ้ งไม่เกนิ สามสบิ วันนับแตว่ นั ที่ได้รบั คาขอ
คณะกรรมการอาจกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเข้าถึงและ
การขอรับสาเนาตามวรรคหนึ่ง รวมท้ังการขยายระยะเวลาตามวรรคส่ี
หรอื หลกั เกณฑอ์ ่ืนตามความเหมาะสมก็ได้
มาตรา ๓๑ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคล
ท่ีเก่ียวกับตนจากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลได้ ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลได้ทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่ในรูปแบบท่ีสามารถอ่านหรือใช้งาน
โดยท่ัวไปได้ด้วยเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ที่ทางานได้โดยอัตโนมัติและสามารถใช้
หรอื เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นบุคคลไดด้ ้วยวิธีการอัตโนมัติ รวมทั้งมสี ิทธิ ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคล
ในรูปแบบดังกล่าวไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่นเม่ือสามารถทาได้ด้วย
วิธกี ารอัตโนมตั ิ
167
(๒) ขอรับข้อมูลส่วนบุคคลท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอน
ข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบดังกล่าวไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่น
โดยตรง เว้นแต่โดยสภาพทางเทคนคิ ไมส่ ามารถทาได้
ข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่งต้องเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลตามหลักเกณฑ์แห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเป็นข้อมูลส่วนบุคคล
ท่ีได้รับยกเว้นไม่ต้องขอความยินยอมตามมาตรา ๒๔ (๓) หรือเป็นข้อมูล
สว่ นบุคคลอน่ื ที่กาหนดในมาตรา ๒๔ ตามทค่ี ณะกรรมการประกาศกาหนด
การใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่งจะใช้กับการส่ง
หรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซ่ึงเป็นการปฏิบัติ
หน้าที่เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเป็นการปฏิบัติหน้าท่ีตามกฎหมายไม่ได้
หรือการใช้สิทธิน้ันต้องไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอ่ืน ทั้งน้ี ในกรณี
ทผี่ ูค้ วบคุมข้อมูลสว่ นบคุ คลปฏิเสธคาขอด้วยเหตุผลดงั กล่าว ใหผ้ ้คู วบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลบนั ทึกการปฏิเสธคาขอพรอ้ มด้วยเหตผุ ลไวใ้ นรายการตามมาตรา ๓๙
มาตรา ๓๒ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิคัดค้านการเก็บรวบรวม
ใชห้ รอื เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตนเม่ือใดกไ็ ด้ ดงั ต่อไปนี้
(๑) กรณีที่เป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมได้โดยได้รับยกเว้น
ไม่ต้องขอความยินยอมตามมาตรา ๒๔ (๔) หรือ (๕) เว้นแต่ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลพสิ จู นไ์ ดว้ ่า
(ก) การเก็บรวบรวม ใช้ หรอื เปิดเผยข้อมูลสว่ นบคุ คลนัน้ ผ้คู วบคมุ
ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลไดแ้ สดงให้เห็นถงึ เหตุอันชอบดว้ ยกฎหมายที่สาคญั ย่งิ กว่า
(ข) การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลน้ันเป็นไป
เพ่ือกอ่ ตง้ั สิทธเิ รียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้อง
ตามกฎหมาย หรอื การยกขึ้นต่อสสู้ ิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย
168
(๒) กรณีที่เป็นการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
เพอื่ วตั ถุประสงค์เกย่ี วกับการตลาดแบบตรง
(๓) กรณีท่ีเป็นการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
เพื่อวัตถุประสงค์เก่ียวกับการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์
หรือสถิติ เว้นแต่เป็นการจาเป็นเพื่อการดาเนินภารกิจเพ่ือประโยชน์
สาธารณะของผคู้ วบคุมขอ้ มลู ส่วนบุคคล
ในกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลใช้สิทธิคัดค้านตามวรรคหน่ึง
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคลนั้นต่อไปได้ ท้ังน้ี ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องปฏิบัติโดย
แ ย ก ส่ ว น อ อ ก จ า ก ข้ อ มู ล อ่ื น อ ย่ า ง ชั ด เ จ น ใ น ทั น ที เ มื่ อ เ จ้ า ข อ ง ข้ อ มู ล
ส่วนบุคคลไดแ้ จง้ การคัดคา้ นให้ผู้ควบคมุ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลทราบ
ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลปฏิเสธการคัดค้านด้วยเหตุผล
ตาม (๑) (ก) หรือ (ข) หรือ (๓) ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลบันทึก
การปฏเิ สธการคัดค้านพร้อมด้วยเหตุผลไว้ในรายการตามมาตรา ๓๙
มาตรา ๓๓ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอให้ผู้ควบคุมข้อมูล
สว่ นบุคคลดาเนินการลบหรอื ทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูล
ท่ีไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ ในกรณี
ดงั ต่อไปน้ี
(๑) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้
ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรอื เปิดเผยข้อมูลส่วนบคุ คล
(๒) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลถอนความยินยอมในการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ไมม่ ีอานาจตามกฎหมายท่จี ะเกบ็ รวบรวม ใช้ หรอื เปิดเผยขอ้ มูลส่วนบุคคล
น้นั ได้ต่อไป
169
(๓) เม่ือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา ๓๒ (๑) และผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธคาขอตามมาตรา ๓๒ (๑) (ก) หรือ (ข) ได้ หรือ
เป็นการคัดค้านตามมาตรา ๓๒ (๒)
(๔) เม่ือข้อมูลส่วนบุคคลได้ถูกเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดย
ไมช่ อบดว้ ยกฎหมายตามที่กาหนดไว้ในหมวดนี้
ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับกับการเก็บรักษาไว้เพื่อ
วัตถุประสงค์ในการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การเก็บรักษาไว้
เพื่อวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๒๔ (๑) หรือ (๔) หรือมาตรา ๒๖ (๕) (ก)
หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตาม
หรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้อง
ตามกฎหมาย หรอื เพ่อื การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
ในกรณีท่ีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลได้ทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็น
ข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลถูกขอใ ห้ลบ
หรอื ทาลายหรือทาใหข้ ้อมูลส่วนบุคคลเปน็ ข้อมลู ที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคล
ทเี่ ปน็ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ตามวรรคหน่ึง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
ต้องเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการทั้งในทางเทคโนโลยีและค่าใช้จ่ายเพื่อให้
เป็นไปตามคาขอนั้น โดยแจ้งผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่น ๆ เพ่ือให้ได้รับ
คาตอบในการดาเนินการให้เปน็ ไปตามคาขอ
กรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่ดาเนินการตามวรรคหนึ่งหรือ
วรรคสาม เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการ
ผู้เชยี่ วชาญเพอื่ สง่ั ให้ผคู้ วบคุมขอ้ มลู สว่ นบคุ คลดาเนินการได้
คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ในการลบหรือ
ทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลท่ีไม่สามารถระบุตัวบุคคล
ทีเ่ ปน็ เจา้ ของข้อมูลสว่ นบุคคลตามวรรคหน่ึงกไ็ ด้
170
มาตรา ๓๔ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิขอให้ผู้ควบคุมข้อมูล
สว่ นบุคคลระงบั การใช้ข้อมูลส่วนบุคคลได้ ในกรณีดงั ต่อไปนี้
(๑) เมื่อผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ในระหว่างการตรวจสอบตามท่ี
เจ้าของข้อมูลสว่ นบุคคลรอ้ งขอให้ดาเนนิ การตามมาตรา ๓๖
(๒) เมื่อเป็นข้อมูลส่วนบุคคลท่ีต้องลบหรือทาลายตามมาตรา ๓๓ (๔)
แต่เจ้าของขอ้ มลู ส่วนบคุ คลขอใหร้ ะงบั การใชแ้ ทน
(๓) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้
ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล แต่เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลมีความจาเป็นต้องขอให้เก็บรักษาไว้เพื่อใช้ในการก่อตั้ง
สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตาม
กฎหมาย หรอื การยกขึ้นตอ่ สู้สทิ ธเิ รียกรอ้ งตามกฎหมาย
(๔) เม่ือผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอยู่ในระหว่างการพิสูจน์ตาม
มาตรา ๓๒ (๑) หรือตรวจสอบตามมาตรา ๓๒ (๓) เพ่ือปฏิเสธการคัดค้าน
ของเจา้ ของข้อมลู สว่ นบุคคลตามมาตรา ๓๒ วรรคสาม
กรณีผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่ดาเนินการตามวรรคหน่ึง เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการผู้เช่ียวชาญเพ่ือสั่งให้
ผู้ควบคมุ ขอ้ มลู ส่วนบุคคลดาเนินการได้
คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ในการระงับการใช้ตาม
วรรคหนง่ึ ก็ได้
มาตรา ๓๕ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดาเนินการให้ข้อมูล
ส่วนบคุ คลนน้ั ถูกตอ้ งเป็นปจั จุบนั สมบรู ณ์ และไมก่ อ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจผดิ
มาตรา ๓๖ ในกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอให้ผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลดาเนินการตามมาตรา ๓๕ หากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
171
ไม่ดาเนินการตามคาร้องขอ ผคู้ วบคุมขอ้ มูลส่วนบคุ คลต้องบนั ทึกคาร้องขอ
ของเจา้ ของขอ้ มลู ส่วนบคุ คลพรอ้ มดว้ ยเหตุผลไว้ในรายการตามมาตรา ๓๙
ให้นาความในมาตรา ๓๔ วรรคสอง มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม
มาตรา ๓๗ ผูค้ วบคุมข้อมลู ส่วนบคุ คลมีหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้
(๑) จัดให้มีมาตรการรักษาความม่ันคงปลอดภัยที่เหมาะสม เพ่ือ
ปูองกันการสูญหาย เข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
โดยปราศจากอานาจหรือโดยมิชอบ และต้องทบทวนมาตรการดังกล่าวเม่ือมี
ความจาเป็นหรือเมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไปเพ่ือให้มีประสิทธิภาพในการ
รักษาความม่ันคงปลอดภัยท่ีเหมาะสม ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามมาตรฐานข้ันต่า
ท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด
(๒) ในกรณีท่ีต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่บุคคลหรือนิติบุคคลอื่น
ท่ีไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องดาเนินการเพ่ือปูองกันมิให้ผู้นั้นใช้หรือ
เปิดเผยขอ้ มลู สว่ นบุคคลโดยปราศจากอานาจหรือโดยมิชอบ
(๓) จัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อดาเนินการลบหรือทาลายข้อมูล
ส่วนบุคคลเม่ือพ้นกาหนดระยะเวลาการเก็บรักษา หรือท่ีไม่เก่ียวข้องหรือเกิน
ความจาเป็นตามวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลน้ัน หรือตามที่
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอ หรือท่ีเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ถอน
ความยินยอม เว้นแต่เก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการใช้เสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็นการเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๒๔ (๑) หรือ (๔) หรือ
มาตรา ๒๖ (๕) (ก) หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย
การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมายหรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิ
เรียกร้องตามกฎหมาย หรือเพ่ือการปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งน้ี ให้นาความใน
มาตรา ๓๓ วรรคหา้ มาใชบ้ งั คับกับการลบหรือทาลายขอ้ มูลส่วนบคุ คลโดยอนุโลม
172
(๔) แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สานักงานโดยไม่ชักช้า
ภายในเจ็ดสิบสองช่ัวโมงนับแต่ทราบเหตุเท่าท่ีจะสามารถกระทาได้ เว้นแต่
การละเมิ ดดังกล่ าวไม่ มี ความเสี่ยงท่ี จะมี ผลกระทบต่ อสิ ทธิและเสรี ภาพ
ของบุคคล ในกรณีท่ีการละเมิดมีความเสี่ยงสูงท่ีจะมีผลกระทบต่อสิทธิและ
เสรีภาพของบุคคล ให้แจ้งเหตุการละเมิดให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบ
พร้อมกับแนวทางการเยียวยาโดยไม่ชักช้าด้วย ท้ังนี้ การแจ้งดังกล่าวและ
ขอ้ ยกเว้นใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด
(๕) ในกรณีที่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา ๕ วรรคสอง
ต้องแต่งต้ังตัวแทนของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหนังสือซ่ึงตัวแทนต้อง
อยูใ่ นราชอาณาจักรและตัวแทนต้องได้รับมอบอานาจให้กระทาการแทนผู้ควบคุม
ข้อมลู ส่วนบุคคลโดยไม่มีข้อจากัดความรบั ผิดใด ๆ ท่เี ก่ยี วกับการเก็บรวบรวม ใช้
หรอื เปิดเผยขอ้ มูลส่วนบุคคลตามวัตถุประสงค์ของผู้ควบคุมขอ้ มูลส่วนบุคคล
มาตรา ๓๘ บทบัญญัติเกีย่ วกับการแต่งต้ังตวั แทนตามมาตรา ๓๗ (๕)
มใิ ห้นามาใชบ้ ังคับแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ดงั ต่อไปนี้
(๑) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐตามที่
คณะกรรมการประกาศกาหนด
(๒) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งประกอบอาชีพหรือธุรกิจในการ
เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลท่ีไม่มีลักษณะตามมาตรา ๒๖
และไม่มีข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามท่ีคณะกรรมการประกาศ
กาหนดตามมาตรา ๔๑ (๒)
ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา ๕ วรรคสอง
มีผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลให้นาความในมาตรา ๓๗ (๕) และความใน
วรรคหน่งึ มาใช้บังคบั แก่ผปู้ ระมวลผลขอ้ มูลส่วนบุคคลนั้นโดยอนุโลม
173
มาตรา ๓๙ ให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลบันทึกรายการ อย่างน้อย
ดงั ต่อไปนี้ เพ่อื ใหเ้ จ้าของข้อมูลส่วนบุคคลและสานักงานสามารถตรวจสอบได้
โดยจะบันทึกเป็นหนังสอื หรอื ระบบอิเลก็ ทรอนกิ สก์ ็ได้
(๑) ขอ้ มูลส่วนบคุ คลทีม่ กี ารเก็บรวบรวม
(๒) วตั ถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมขอ้ มูลส่วนบุคคลแตล่ ะประเภท
(๓) ขอ้ มูลเก่ียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
(๔) ระยะเวลาการเก็บรักษาข้อมูลส่วนบคุ คล
(๕) สิทธิและวิธีการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคล รวมท้ังเงื่อนไขเกี่ยวกับ
บุคคลที่มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลและเง่ือนไขในการเข้าถึงข้อมูล
ส่วนบคุ คลน้ัน
(๖) การใช้หรอื เปดิ เผยตามมาตรา ๒๗ วรรคสาม
(๗) การปฏิเสธคาขอหรือการคัดค้านตามมาตรา ๓๐ วรรคสาม
มาตรา ๓๑ วรรคสาม มาตรา ๓๒ วรรคสาม และมาตรา ๓๖ วรรคหนงึ่
(๘) คาอธิบายเกี่ยวกับมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยตาม
มาตรา ๓๗ (๑)
ความในวรรคหนึ่งให้นามาใช้บังคับกับตัวแทนของผู้ควบคุมข้อมูล
สว่ นบุคคลตามมาตรา ๕ วรรคสอง โดยอนโุ ลม
ความใน (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๘) อาจยกเว้นมิให้นามาใช้
บังคับกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซ่ึงเป็นกิจการขนาดเล็กตามหลักเกณฑ์
ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด เว้นแต่มีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
ข้ อมู ลส่ วนบุ คคลที่ มี ความเสี่ ยงท่ี จะมี ผลกระทบต่ อสิ ทธิ และเสรี ภา พ
ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล หรือมิใช่กิจการที่เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นครั้งคราว หรือมีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
สว่ นบุคคลตามมาตรา ๒๖
174
มาตรา ๔๐ ผปู้ ระมวลผลข้อมลู สว่ นบคุ คลมีหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ดาเนนิ การเกยี่ วกบั การเกบ็ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ตามคาสั่งท่ีได้รับจากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเท่านั้น เว้นแต่คาส่ังนั้นขัดต่อ
กฎหมายหรอื บทบญั ญตั ใิ นการคุม้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั ินี้
(๒) จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยท่ีเหมาะสม เพ่ือ
ปูองกันการสูญหาย เข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือเปิดเผยข้อมูล
สว่ นบคุ คลโดยปราศจากอานาจหรือโดยมิชอบ รวมทั้งแจ้งให้ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบคุ คลทราบถงึ เหตุการละเมิดข้อมลู ส่วนบคุ คลที่เกิดขน้ึ
(๓) จัดทาและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผล
ขอ้ มลู ส่วนบุคคลไว้ตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารทีค่ ณะกรรมการประกาศกาหนด
ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งไม่ปฏิบัติตาม (๑) สาหรับการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลใด ให้ถือว่าผู้ประมวลผลข้อมูล
ส่วนบุคคลเป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสาหรับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นบุคคลน้นั
การดาเนินงานตามหน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตามที่
ได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลต้องจัดให้มีข้อตกลงระหว่างกัน เพื่อควบคุมการดาเนินงาน
ตามหนา้ ท่ีของผู้ประมวลผลขอ้ มูลส่วนบุคคลให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
ความใน (๓) อาจยกเว้นมิให้นามาใช้บังคับกับผู้ประมวลผลข้อมูล
ส่วนบุคคลซ่ึงเป็นกิจการขนาดเล็กตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการประกาศ
กาหนด เว้นแต่มีการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่มี
ความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
หรือมิใช่กิจการที่เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลเป็นครั้งคราว
หรือมีการเก็บรวบรวม ใช้หรอื เปิดเผยข้อมูลส่วนบคุ คลตามมาตรา ๒๖
175
มาตรา ๔๑ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูล
ส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของตน ในกรณี
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
เปน็ หนว่ ยงานของรฐั ตามทคี่ ณะกรรมการประกาศกาหนด
(๒) การดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือ
ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
จาเป็นต้องตรวจสอบขอ้ มลู สว่ นบุคคลหรือระบบอยา่ งสม่าเสมอโดยเหตุท่ีมี
ขอ้ มลู ส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด
(๓) กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผล
ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ตามมาตรา ๒๖
ใน ก รณี ท่ี ผู้ ค วบ คุ ม ข้ อมู ลส่ วน บุ ค ค ลห รื อผู้ ปร ะ ม วลผ ลข้ อมู ล
ส่วนบุคคลอยู่ในเครือกิจการหรือเครือธุรกิจเดียวกันเพื่อการประกอบกิจการ
หรือธุรกิจร่วมกันตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนดตามมาตรา ๒๙
วรรคสอง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ดังกล่าวอาจจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลร่วมกันได้ ทั้งน้ี
สถานที่ทาการแต่ละแห่งของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผล
ข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในเครือกิจการหรือเครือธุรกิจเดียวกันดังกล่าว
ตอ้ งสามารถตดิ ตอ่ กบั เจ้าหน้าทีค่ ุ้มครองขอ้ มูลส่วนบุคคลได้โดยง่าย
ความในวรรคสองให้นามาใช้บังคับแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
หรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลซ่ึงเป็นหน่วยงานของรัฐตาม (๑)
ซง่ึ มีขนาดใหญห่ รอื มีสถานทท่ี าการหลายแหง่ โดยอนโุ ลม
176
ใ น ก ร ณี ท่ี ผู้ ค ว บ คุ ม ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล ห รื อ ผู้ ป ร ะ ม ว ล ผ ล ข้ อ มู ล
ส่วนบุคคลตามวรรคหน่ึงต้องแต่งตั้งตัวแทนตามมาตรา ๓๗ (๕) ให้นาความ
ในวรรคหน่งึ มาใช้บงั คับแก่ตัวแทนโดยอนุโลม
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลมีหน้าท่ี
ต้องแจ้งขอ้ มูลเกย่ี วกับเจา้ หนา้ ที่คมุ้ ครองขอ้ มูลสว่ นบคุ คล สถานที่ติดต่อ และ
วิธีการติดต่อให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลและสานักงานทราบ ท้ังนี้ เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลสามารถติดต่อเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับ
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลและการใช้สิทธิของเจ้าของ
ข้อมูลสว่ นบคุ คลตามพระราชบญั ญตั นิ ีไ้ ด้
คณะกรรมการอาจประกาศกาหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าท่ีคุ้มครอง
ข้ อมู ลส่ วนบุ คคลได้ โดยค านึ งถึ งค วามรู้ หรื อความเชี่ ยวชาญเก่ี ยวกั บ
การคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล
เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอาจเป็นพนักงานของผู้ควบคุม
ข้อมูลสว่ นบคุ คลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลหรือเป็นผู้รับจ้างให้บริการ
ตามสัญญากับผู้ควบคมุ ข้อมลู ส่วนบุคคลหรือผปู้ ระมวลผลข้อมูลสว่ นบคุ คลก็ได้
มาตรา ๔๒ เจ้าหน้าทคี่ มุ้ ครองข้อมลู ส่วนบุคคลมีหน้าที่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) ให้คาแนะนาแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูล
ส่วนบุคคล รวมทั้งลูกจ้างหรือผู้รับจ้างของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือ
ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี
(๒) ตรวจสอบการดาเนินงานของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือ
ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลรวมท้ังลูกจ้างหรือผู้รับจ้างของผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยขอ้ มลู ส่วนบุคคลเพ่ือให้เป็นไปตามพระราชบัญญตั ินี้
177
(๓) ประสานงานและให้ความร่วมมือกับสานักงานในกรณีท่ีมีปัญหา
เกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลรวมท้ังลูกจ้างหรือผู้รับจ้างของ
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลในการปฏิบัติ
ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
(๔) รักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลที่ตนล่วงรู้หรือได้มาเน่ืองจาก
การปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามพระราชบัญญัติน้ี
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้อง
สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลโดยจัดหา
เครื่องมือหรืออุปกรณ์อย่างเพียงพอ รวมทั้งอานวยความสะดวกในการเข้าถึง
ขอ้ มูลสว่ นบคุ คลเพ่ือการปฏิบัติหนา้ ที่
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลจะให้
เจ้าหน้าท่ีคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลออกจากงานหรือเลิกสัญญาการจ้างด้วย
เหตุท่ีเจ้าหน้าท่ีคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัตินี้
ไม่ได้ ทั้งนี้ ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติหน้าท่ี เจ้าหน้าท่ีคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคลต้องสามารถรายงานไปยังผู้บริหารสูงสุดของผู้ควบคุมข้อมูลส่วน
บคุ คลหรอื ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบคุ คลโดยตรงได้
เจา้ หนา้ ท่คี ้มุ ครองข้อมลู สว่ นบุคคลอาจปฏิบัติหน้าทีห่ รอื ภารกิจอ่ืนได้
แต่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องรับรอง
กับสานักงานว่าหน้าท่ีหรือภารกิจดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้งต่อการปฏิบัติ
หน้าทตี่ ามพระราชบัญญัตนิ ี้
หมวด ๔
สานกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล
178
มาตรา ๔๓ ให้มีสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมท้ังส่งเสริมและ
สนบั สนุนให้เกิดการพฒั นาด้านการคุ้มครองขอ้ มูลส่วนบคุ คลของประเทศ
สานักงานเป็นหน่วยงานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล และไม่เป็น
ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หรือ
รฐั วิสาหกิจตามกฎหมายว่าดว้ ยวิธีการงบประมาณหรือกฎหมายอ่นื
กิจการของสานักงานไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายว่าด้วยการ
คุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยแรงงาน
รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วย
เงินทดแทน แต่พนักงานและลูกจ้างของสานักงานต้องได้รับประโยชน์
ตอบแทนไม่น้อยกว่าท่ีกาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวา่ ดว้ ยการประกันสังคม และกฎหมายว่าด้วยเงนิ ทดแทน
ให้สานักงานเป็นหน่วยงานของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิด
ทางละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ี
มาตรา ๔๔ นอกจากหน้าท่ีและอานาจในการดาเนินการให้เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๔๓ วรรคหน่ึง ให้สานักงานมีหน้าท่ีปฏิบัติงาน
วิชาการและงานธุรการให้แก่คณะกรรมการ คณะกรรมการกากับสานักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ และ
คณะอนุกรรมการ รวมทั้งให้มหี นา้ ทแ่ี ละอานาจ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทาร่างแผนแม่บทการดาเนินงานด้านการส่งเสริม และ
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่สอดคล้องกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ
และแผนระดับชาติที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งร่างแผนแม่บทและมาตรการ
แก้ไขปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติการตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ชาติ และ
แผนระดับชาติดังกล่าวเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการ
179
(๒) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
กับการคมุ้ ครองขอ้ มูลสว่ นบุคคล
(๓) วิเคราะห์และรับรองความสอดคล้องและความถูกต้องตาม
มาตรฐานหรือตามมาตรการหรือกลไกการกากับดูแลท่ีเกี่ยวข้องกับการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล รวมท้ังตรวจสอบและรับรองนโยบายในการ
คุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคลตามมาตรา ๒๙
(๔) สารวจ เก็บรวบรวมข้อมูล ติดตามความเคลอื่ นไหวของสถานการณ์
ด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงด้านการ
คุ้มครองข้อมลู ส่วนบคุ คล รวมทัง้ วเิ คราะห์และวิจัยประเด็นทางด้านการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบคุ คลท่ีมีผลตอ่ การพัฒนาประเทศเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ
(๕) ประสานงานกับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถ่ิน
องคก์ ารมหาชน หรอื หนว่ ยงานอ่ืนของรฐั เก่ยี วกบั การคุม้ ครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คล
(๖) ให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐและหน่วยงานของเอกชน
เก่ียวกบั การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
(๗) เป็นศูนย์กลางในการให้บริการทางวิชาการหรือให้บริการ
ที่เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลแก่หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของ
เอกชน และประชาชน รวมท้ังเผยแพร่และให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
(๘) กาหนดหลักสูตรและฝึกอบรมการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูล
สว่ นบุคคล ลกู จ้าง ผรู้ ับจ้าง หรอื ประชาชนทั่วไป
(๙) ทาความตกลงและร่วมมือกับองค์การหรือหน่วยงานท้ังในประเทศ
และต่างประเทศในกิจการท่ีเกี่ยวกับการดาเนินการตามหน้าท่ีและอานาจของ
สานักงาน เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
(๑๐) ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตนิ ี้
180
(๑๑) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีคณะกรรมการ คณะกรรมการกากับ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คณะกรรมการผู้เช่ียวชาญ
หรือคณะอนกุ รรมการมอบหมาย หรอื ตามทก่ี ฎหมายกาหนด
มาตรา ๔๕ ในการดาเนินงานของสานักงาน นอกจากหน้าท่ี
และอานาจตามที่บัญญัติในมาตรา ๔๔ แล้ว ให้สานักงานมีหน้าที่และ
อานาจท่วั ไป ดังต่อไปน้ีด้วย
(๑) ถอื กรรมสทิ ธ์ิ มีสิทธคิ รอบครอง และมีทรัพยสิทธิต่าง ๆ
(๒) ก่อตั้งสิทธิ หรือทานิติกรรมทุกประเภทผูกพันทรัพย์สิน ตลอดจน
ทานติ ิกรรมอน่ื ใดเพื่อประโยชน์ในการดาเนินกิจการของสานกั งาน
(๓) จดั ให้มแี ละให้ทนุ เพอ่ื สนบั สนุนการดาเนินกจิ การของสานกั งาน
(๔) เรียกเก็บค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน หรือค่าบริการ
ในการดาเนินงานต่าง ๆ ตามวตั ถุประสงคข์ องสานักงาน ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์
และอัตราท่ีสานักงานกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกากับ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
(๕) ปฏิบัติการอื่นใดที่กฎหมายกาหนดให้เป็นหน้าที่และอานาจของ
สานักงาน หรือตามที่คณะกรรมการ คณะกรรมการกากับสานักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ หรือ
คณะอนุกรรมการมอบหมาย
มาตรา ๔๖ ทุนและทรัพย์สินในการดาเนินงานของสานักงาน
ประกอบดว้ ย
(๑) ทนุ ประเดิมที่รัฐบาลจดั สรรใหต้ ามมาตรา ๙๔ วรรคหนง่ึ
(๒) เงินอุดหนนุ ท่วั ไปท่ีรัฐบาลจัดสรรให้ตามความเหมาะสมเปน็ รายปี
181
(๓) เงินอุดหนุนจากหน่วยงานของรัฐท้ังในประเทศและต่างประเทศ
หรือองคก์ ารระหวา่ งประเทศระดบั รัฐบาล
(๔) ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือรายได้อันเกิด
จากการดาเนินการตามหน้าทีแ่ ละอานาจของสานักงาน
(๕) ดอกผลของเงินหรือรายได้จากทรพั ย์สินของสานกั งาน
เงินและทรัพย์สินของสานักงานตามวรรคหน่ึง ต้องนาส่งคลัง
เป็นรายได้แผ่นดนิ
มาตรา ๔๗ บรรดาอสังหาริมทรัพย์ท่ีสานักงานได้มาจากการซื้อ
หรือแลกเปล่ียนจากรายได้ของสานักงานตามมาตรา ๔๖ (๔) หรือ (๕) ให้เป็น
กรรมสิทธขิ์ องสานักงาน
มาตรา ๔๘ ให้มีคณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ประกอบด้วยประธานกรรมการซงึ่ สรรหาและแตง่ ต้ัง
จากผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ในด้านการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และเลขาธิการ
คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการ และ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจานวนหกคนซึ่งสรรหาและแต่งต้ังจากผู้มีความรู้
ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ในด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
อย่างน้อยสามคน และดา้ นอื่นท่ีเก่ยี วข้องอันเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงาน
ของสานักงาน
ให้เลขาธกิ ารเปน็ กรรมการและเลขานุการ และให้เลขาธิการแต่งตั้ง
พนกั งานของสานกั งานเป็นผู้ช่วยเลขานกุ ารไดไ้ มเ่ กินสองคน
ให้นาความในมาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๓ มาใช้บังคับกับประธาน
กรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ โิ ดยอนโุ ลม
182
มาตรา ๔๙ ให้มีคณะกรรมการสรรหาคณะหนึ่งประกอบด้วยบุคคล
ซง่ึ คณะกรรมการแต่งตง้ั จานวนแปดคนทาหนา้ ทีค่ ัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับ
การแตง่ ตง้ั เปน็ ประธานกรรมการและกรรมการผทู้ รงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๘
ให้คณะกรรมการสรรหาเลือกกรรมการสรรหาคนหนึ่งเป็นประธาน
กรรมการสรรหาและเลือกกรรมการสรรหาอกี คนหน่งึ เปน็ เลขานุการคณะกรรมการ
สรรหา และใหส้ านักงานปฏิบตั หิ นา้ ท่เี ปน็ หน่วยธุรการของคณะกรรมการสรรหา
ในกรณีท่ีตาแหน่งกรรมการสรรหาว่างลง ให้ดาเนินการเพ่ือให้มี
กรรมการสรรหาแทนในตาแหน่งนั้นโดยเร็ว ในระหว่างที่ยังไม่ได้กรรมการ
สรรหาใหม่ ใหค้ ณะกรรมการสรรหาประกอบด้วยกรรมการสรรหาเท่าทม่ี ีอยู่
กรรมการสรรหาไม่มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อเป็นประธานกรรมการ
และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒติ ามมาตรา ๔๘
หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหาให้เป็นไปตามท่ีคณะกรรมการกาหนด
ทัง้ นี้ ตอ้ งคานงึ ถึงความโปร่งใสและความเป็นธรรมในการสรรหา
มาตรา ๕๐ ในการสรรหาประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ตามมาตรา ๔๘ ให้คณะกรรมการสรรหาคัดเลือกบุคคลผู้มีคุณสมบัติตาม
มาตรา ๔๘ วรรคหนึ่ง รวมท้ังมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม
มาตรา ๔๘ วรรคสาม และยินยอมให้เสนอช่ือเข้ารับคัดเลือกเท่ากับจานวน
ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ติ ามมาตรา ๔๘ ท่ีจะได้รับแตง่ ตงั้
เม่ือได้คดั เลือกบุคคลเปน็ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ตามมาตรา ๔๘ ครบจานวนแล้ว ให้คณะกรรมการสรรหาแจ้งรายชื่อประธาน
กรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๔๘ พร้อมหลักฐานแสดง
คุณสมบัติและการไม่มีลักษณะต้องห้าม รวมทั้งความยินยอมของบุคคล
ดังกล่าวต่อคณะกรรมการเพื่อแต่งต้ังเป็นประธานกรรมการและกรรมการ
ผู้ทรงคณุ วุฒิตามมาตรา ๔๘
183
ให้คณะกรรมการประกาศรายช่ือประธานกรรมการและกรรมการ
ผทู้ รงคณุ วุฒติ ามมาตรา ๔๘ ซงึ่ ได้รับแต่งตง้ั ในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๕๑ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา
๔๘ มวี าระการดารงตาแหน่งคราวละส่ีปี
เม่ือครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง ให้ดาเนินการแต่งตั้งประธาน
กรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ภายในหกสิบวัน ในระหว่างที่
ยังมิได้มีการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่
ให้ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ
นน้ั อยใู่ นตาแหนง่ เพ่อื ดาเนนิ งานตอ่ ไปจนกว่าประธานกรรมการหรือกรรมการ
ผู้ทรงคุณวฒุ ซิ ่งึ ไดร้ บั แตง่ ตัง้ ใหม่เขา้ รับหนา้ ที่
ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่ง
ตามวาระอาจไดร้ ับแต่งตง้ั อีกได้แตจ่ ะดารงตาแหนง่ เกนิ สองวาระไม่ได้
มาตรา ๕๒ ในกรณีท่ีประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ตามมาตรา ๔๘ พ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้คณะกรรมการกากับสานักงาน
คณะกรรมการคมุ้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คลประกอบด้วยกรรมการท้ังหมดเท่าที่มี
อยู่จนกว่าจะมีการแต่งต้ังประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทน
และในกรณีที่ประธานกรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ปลัดกระทรวง
ดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมทาหนา้ ท่ีประธานกรรมการเปน็ การช่วั คราว
ให้ดาเนินการแต่งตั้งประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
แทนตาแหนง่ ทวี่ า่ งภายในหกสบิ วนั นบั แต่วันท่ตี าแหนง่ วา่ งลง และให้ผทู้ ไ่ี ด้รับ
แต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งแทนอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่ง
ตนแทน เว้นแตว่ าระของประธานกรรมการหรอื กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึง
เก้าสิบวนั จะไม่แต่งต้งั ประธานกรรมการหรือกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนกไ็ ด้
184
มาตรา ๕๓ การประชุมคณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของ
จานวนกรรมการทม่ี อี ยู่ จงึ จะเป็นองคป์ ระชมุ
ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการ
ไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้กรรมการซ่ึงมาประชุม
เลอื กกรรมการคนหนงึ่ เปน็ ประธานในท่ีประชุม
การวินิจฉัยช้ีขาดของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่ง
ให้มเี สยี งหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ีประชุม
ออกเสยี งเพิ่มขึ้นอกี เสยี งหนึง่ เป็นเสียงชขี้ าด
กรรมการทมี่ ีสว่ นได้เสยี ในเรอ่ื งที่มีการพจิ ารณาจะเข้ารว่ มประชมุ มิได้
การประชมุ ของคณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล อ า จ ก ร ะ ท า โ ด ย วิ ธี ก า ร ท า ง อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ต า ม ท่ี
คณะกรรมการกาหนดกไ็ ด้
มาตรา ๕๔ คณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลมีหนา้ ทแี่ ละอานาจ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดนโยบายการบริหารงาน และให้ความเห็นชอบแผนการ
ดาเนนิ งานของสานักงาน
(๒) ออกข้อบังคับว่าด้วยการจัดองค์กร การเงิน การบริหารงานบุคคล
การบริหารงานทั่วไป การตรวจสอบภายใน รวมตลอดทั้งการสงเคราะห์และ
สวสั ดิการต่าง ๆ ของสานักงาน
(๓) อนุมัติแผนการดาเนินงาน แผนการใช้จ่ายเงินและงบประมาณ
รายจา่ ยประจาปขี องสานักงาน
(๔) ควบคุมการบริหารงานและการดาเนินการของสานักงานและ
เลขาธิการใหเ้ ป็นไปตามพระราชบญั ญตั นิ แี้ ละกฎหมายอนื่ ท่เี กย่ี วข้อง
185
(๕) แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสรรหาเลขาธกิ าร
(๖) วินิจฉัยอุทธรณ์คาส่ังทางปกครองของเลขาธิการในส่วนท่ีเกี่ยวกับ
การบริหารงานของสานกั งาน
(๗) ประเมินผลการดาเนินการของสานักงาน และการปฏิบัติงานของ
เลขาธิการ
(๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นกาหนด
ให้เป็นหน้าที่และอานาจของคณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองขอ้ มลู ส่วนบคุ คลหรอื ตามทีค่ ณะกรรมการหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย
ข้อบังคับตาม (๒) ถ้ามีการจากัดอานาจเลขาธิการในการทานิติกรรม
กบั บุคคลภายนอกใหป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๕๕ คณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลมีอานาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือ
ก ร ะ ท า ก า ร อ ย่ า ง ห นึ่ ง อ ย่ า ง ใ ด ต า ม ท่ี ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ส า นั ก ง า น
คณะกรรมการคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบคุ คลมอบหมายได้
คณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคลอาจแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ที่จะเป็น
ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ส า นั ก ง า น
คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมการกากับ
สานักงานคณะกรรมการค้มุ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคลได้
การปฏิบัติหน้าท่ีและจานวนของคณะอนุกรรมการตามวรรคหน่ึง
หรือบุคคลตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกากับสานักงาน
คณะกรรมการคมุ้ ครองข้อมลู ส่วนบุคคลกาหนด
การประชุมคณะอนุกรรมการ ให้นาความในมาตรา ๕๓ มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
186
มาตรา ๕๖ ให้ประธานกรรมการและกรรมการกากับสานักงาน
คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ที่ปรึกษาคณะกรรมการกากับ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ประธานอนุกรรมการ
และอนุกรรมการที่คณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลแต่งต้ัง ได้รับเบ้ียประชุมหรือค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์
ท่คี ณะกรรมการกาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลงั
มาตรา ๕๗ ใหส้ านักงานมเี ลขาธิการคนหนึ่งซ่ึงคณะกรรมการกากับ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลแต่งต้ัง มีหน้าท่ีบริหาร
กิจการของสานกั งาน
การแต่งต้ังเลขาธิการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการสรรหาตามที่คณะกรรมการกากับสานักงานคณะกรรมการคุ้มครอง
ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลกาหนด
มาตรา ๕๘ ผู้ที่จะได้รับการแต่งต้ังเป็นเลขาธิการต้องมีคุณสมบัติ
ดังต่อไปนี้
(๑) มสี ัญชาตไิ ทย
(๒) อายไุ ม่ต่ากว่าสามสิบหา้ ปแี ตไ่ มเ่ กนิ หกสบิ ปี
(๓) เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในด้านท่ี
เก่ียวกับภารกจิ ของสานกั งานและการบริหารจดั การ
มาตรา ๕๙ ผมู้ ลี กั ษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ ต้องห้ามมิให้
เป็นเลขาธิการ
(๑) เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรือเคยเป็นบคุ คลล้มละลายทุจรติ
(๒) เปน็ คนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
187