The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wannawat, 2022-04-28 22:14:24

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พรบวิปฏิบัติ

พระราชบัญญตั ิวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙

(แ(กแ้ไกขไ เขพเ่มิพเมิ่ ตเมิตจิมนถถงึ พึงพระรระารชาบชัญบญั ญัติัติ
วิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒)

และกฎทเี่ กย่ี วของ

โดยไดร้ ับการสนับสนนุ จากมลู นธิ คิ อนราด อาเดนาวร์ (KAS)

พระราชบััญญัตั ิวิ ิธิ ีปี ฏิิบััติิราชการทางปกครองพ.ศ. ๒๕๓๙

(แก้ไ้ ขเพิ่�มเติมิ จนถึงึ พระราชบัญั ญัตั ิวิ ิธิ ีปี ฏิบิ ัตั ิริ าชการทางปกครอง (ฉบับั ที่� ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒)

และกฎที่่เ� กี่ย� วข้อ้ ง
ISBN 978-616-333-092-5
พิมิ พ์ค์ รั้�งแรก : กัันยายน ๒๕๖๔
จำำ�นวนพิิมพ์์ ๒,๐๐๐ เล่่ม

จัดั พิิมพ์์โดย : สำ�ำ นักั งานศาลปกครอง
อาคารศาลปกครอง เลขที่� ๑๒๐ หมู่� ๓ ถนนแจ้ง้ วัฒั นะ
แขวงทุ่�งสองห้้อง เขตหลักั สี่� กรุงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐
โทรศััพท์์ ๐ ๒๑๔๑ ๑๑๑๑
สายด่่วน ๑๓๕๕
http://www.admincourt.go.th
พิมิ พ์์ที่่� : บริษิ ััท สหมิิตรพริ้�นติ้้�งแอนด์พ์ ับั ลิสิ ชิ่่ง� จำำ�กัดั
๕๙/๔ หมู่� ๑๐ ถนนกาญจนาภิิเษก ตำำ�บลบางม่่วง
อำำ�เภอบางใหญ่่ จัังหวัดั นนทบุรุ ีี ๑๑๑๔๐
โทรศััพท์:์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗-๙
โทรสาร: ๐ ๒๙๒๑ ๔๕๘๗





สารบญั หนา

พระราชบญั ญตั ิวธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๖
หมวด ๑ คณะกรรมการวิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง ๘
หมวด ๒ คาํ สั่งทางปกครอง ๘
สวนท่ี ๑ เจา หนาที่ ๑๑
สวนที่ ๒ คูกรณี ๑๔
สว นท่ี ๓ การพจิ ารณา ๑๘
สวนที่ ๔ รูปแบบและผลของคาํ สง่ั ทางปกครอง ๒๒
สว นท่ี ๕ การอทุ ธรณค าํ สงั่ ทางปกครอง ๒๔
สว นที่ ๖ การเพกิ ถอนคาํ สงั่ ทางปกครอง ๒๘
สว นที่ ๗ การขอใหพจิ ารณาใหม ๒๙
สว นที่ ๘ การบังคบั ทางปกครอง ๓๐
หมวด ๒/๑ การบงั คบั ทางปกครอง ๓๐
สวนที่ ๑ บทท่ัวไป ๓๓
สวนท่ี ๒ การบงั คบั ตามคําสง่ั ทางปกครอง ๓๓
ท่กี ําหนดใหชาํ ระเงนิ ๓๘
๑. การบังคบั โดยเจาหนา ท่ขี อง ๔๒
หนว ยงานของรฐั ๔๔
๒. การบงั คบั โดยเจา พนกั งาน
บงั คับคดี
สว นท่ี ๓ การบังคับตามคําส่งั ทางปกครอง
ทีก่ าํ หนดใหก ระทําหรอื ละเวนกระทํา
หมวด ๓ ระยะเวลาและอายคุ วาม

(ก)

หมวด ๔ การแจง หนา
หมวด ๕ คณะกรรมการท่ีมีอาํ นาจ ๔๖
๔๘
ดาํ เนินการพจิ ารณาทางปกครอง ๕๑
บทเฉพาะกาล ๕๕
กฎกระทรวง (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน ๕๙
พระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๖๓
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน ๖๘
พระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๗๔
กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน ๗๘
พระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน
พระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน
พระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน
พระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

(ข)

กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน หนา
พระราชบญั ญัติวธิ ปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ๘๔
กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการ ๘๙
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ (ยกเลกิ แลว)
กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ๙๓
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ิราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ (ยกเลกิ แลว) ๙๘
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ๑๐๔
ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการ ๑๐๘
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ (ยกเลกิ แลว)
กฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน ๑๑๒
พระราชบญั ญตั วิ ธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความใน
พระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กฎกระทรวงการมอบอํานาจในการพจิ ารณาใชมาตรการ
บงั คบั ทางปกครองของเจา หนา ทผ่ี ทู าํ คาํ สั่งทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒

(ค)

กฎกระทรวงกําหนดเจาหนาทผ่ี อู อกคาํ สง่ั ใชมาตรการบังคบั หนา
ทางปกครองและการแตง ตัง้ เจา พนกั งานบงั คบั ทางปกครอง ๑๑๘
พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๒๕
กฎกระทรวงกาํ หนดเจาหนาทผ่ี มู อี ํานาจกําหนดคาปรบั
บงั คบั การ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๓๐
กฎกระทรวงกําหนดหนว ยงานของรฐั ท่ีสามารถขอให
เจาพนกั งานบงั คบั คดดี ําเนนิ การบงั คบั คดปี กครอง ๑๔๐
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๔๓
ประกาศสํานกั นายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง คาํ สง่ั ทางปกครอง
ทต่ี องระบุเหตผุ ลไวใ นคาํ ส่ังหรอื ในเอกสารแนบทายคาํ สง่ั ๑๔๗
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓
ระเบยี บคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
วา ดวยหลักเกณฑก ารใหค าํ ปรกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑
คาํ แนะนาํ ของคณะกรรมการวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
ที่ ๑/๒๕๔๐ เรอ่ื ง หลกั เกณฑก ารแจงสทิ ธใิ นการอุทธรณ
หรอื โตแ ยงคาํ สง่ั ทางปกครอง

(ง)

พระราชบญั ญัติ
วธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
(แกไ ขเพม่ิ เตมิ จนถงึ พระราชบัญญัติวิธีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

(ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒)

1

พระราชบญั ญตั ิ
วธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙0*

ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ที่ ๒๗ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๙

เปน ปที่ ๕๑ ในรัชกาลปจ จุบนั
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา ฯ ใหป ระกาศวา
โดยท่ีเปนการสมควรใหมกี ฎหมายวา ดว ยวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดย
คําแนะนาํ และยินยอมของรัฐสภา ดงั ตอไปน้ี

* แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก
วนั ท่ี ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ (หนา ๑๑๕-๑๒๖)

2

มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙”

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อย
แปดสบิ วนั นบั แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป๑

มาตรา ๓ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองตามกฎหมายต่างๆ
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ในกรณีท่ีกฎหมายใด
กาหนดวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองเร่ืองใดไว้โดยเฉพาะและมีหลักเกณฑ์
ท่ีประกันความเป็นธรรมหรือมีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ากว่า
หลกั เกณฑท์ ก่ี าหนดในพระราชบญั ญตั นิ ี้

ความในวรรคหนึ่งมใิ ห้ใช้บังคับกบั ขน้ั ตอนและระยะเวลาอุทธรณ์
หรือโตแ้ ย้งที่กาหนดในกฎหมาย

มาตรา ๔ พระราชบญั ญตั ิน้ีมใิ หใ้ ช้บังคบั แก่
(๑) รัฐสภาและคณะรฐั มนตรี
(๒) องคก์ รท่ีใชอ้ านาจตามรฐั ธรรมนญู โดยเฉพาะ
(๓) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรหี รือรัฐมนตรีในงานทางนโยบาย
โดยตรง
(๔) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของ
เจา้ หนา้ ทีใ่ นกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์
(๕) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตามกฎหมาย
ว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๓ ตอนท่ี ๖๐ ก วันท่ี ๑๔
พฤศจิกายน ๒๕๓๙ (หน้า ๑-๒๔)
3

(๖) การดาํ เนินงานเกยี่ วกับนโยบายการตางประเทศ
(๗) การดําเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาท่ีซ่ึงปฏิบัติ
หนาท่ีทางยุทธการรวมกับทหารในการปองกันและรักษาความม่ันคง
ของราชอาณาจกั รจากภยั คุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ
(๘) การดาํ เนนิ งานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
(๙) การดําเนินกจิ การขององคก ารทางศาสนา
การยกเวนไมใหนําบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับ
แกก ารดาํ เนินกิจการใดหรอื กบั หนว ยงานใดนอกจากท่ีกําหนดไวในวรรคหนึ่ง
ใหต ราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง

มาตรา ๕ ในพระราชบญั ญัติน้ี
“วิธีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการ
และการดาํ เนนิ การของเจา หนา ทเี่ พอ่ื จดั ใหมีคาํ สงั่ ทางปกครองหรอื กฎ และ
รวมถงึ การดําเนนิ การใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตนิ ้ี
“การพิจารณาทางปกครอง” หมายความวา การเตรียมการและ
การดาํ เนนิ การของเจาหนาท่ีเพื่อจัดใหม ีคําส่ังทางปกครอง
“คําสัง่ ทางปกครอง” หมายความวา
(๑) การใชอํานาจตามกฎหมายของเจาหนาท่ีที่มีผลเปนการสราง
นติ ิสัมพนั ธข ึ้นระหวางบคุ คลในอันท่ีจะกอ เปล่ียนแปลง โอน สงวน ระงับ
หรือมผี ลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาท่ีของบุคคล ไมวาจะเปน
การถาวรหรือช่วั คราว เชน การส่ังการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัย
อุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึง
การออกกฎ
(๒) การอืน่ ท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง

4

“กฎ” หมายความวา พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ
กระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือบทบัญญัติอ่ืน
ท่ีมีผลบังคบั เปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดหรือบุคคลใด
เปนการเฉพาะ

“คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยขอพิพาท” หมายความวา คณะกรรมการ
ที่ จั ด ต้ั ง ขึ้ น ต า ม ก ฎ ห ม า ย ท่ี มี ก า ร จั ด อ ง ค ก ร แ ล ะ วิ ธี พิ จ า ร ณ า สํ า ห รั บ
การวินิจฉยั ชีข้ าดสทิ ธิและหนา ท่ตี ามกฎหมาย

“เจาหนาที่” หมายความวา บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล
ซ่ึ ง ใ ช อํ า น า จ ห รื อ ไ ด รั บ ม อ บ ใ ห ใ ช อํ า น า จ ท า ง ป ก ค ร อ ง ข อ ง รั ฐ ใ น ก า ร
ดําเนินการอยางหน่ึงอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการจัดต้ังข้ึน
ในระบบราชการ รฐั วิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมกต็ าม

“คูก รณ”ี หมายความวา ผยู น่ื คาํ ขอหรือผูคัดคานคําขอ ผูอยูในบังคับ
หรอื จะอยูในบังคบั ของคําส่ังทางปกครอง และผซู ่งึ ไดเขามาในกระบวนการ
พจิ ารณาทางปกครองเนื่องจากสทิ ธิของผูน ัน้ จะถกู กระทบกระเทอื นจากผล
ของคาํ สัง่ ทางปกครอง

มาตรา ๖ ใหน ายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ
ใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงและประกาศ เพื่อปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตนิ ี้

กฎกระทรวงและประกาศนัน้ เมอ่ื ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแลว
ใหใชบงั คบั ได

5

หมวด ๑
คณะกรรมการวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

มาตรา ๗ ใหมีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกวา “คณะกรรมการ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่ง
ปลดั สํานกั นายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เลขาธิการคณะกรรมการ
กฤษฎกี า และผทู รงคณุ วุฒอิ กี ไมน อ ยกวาหาคนแตไ มเกนิ เกาคนเปนกรรมการ

ใ ห ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี แ ต ง ตั้ ง ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร
ผูทรงคุณวุฒิ โดยแตงตั้งจากผูซ่ึงมีความเช่ียวชาญในทางนิติศาสตร
รัฐประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สังคมศาสตร หรือการบริหารราชการ
แผนดนิ แตผนู ัน้ ตอ งไมเปน ผดู ํารงตําแหนงทางการเมอื ง

ใหเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแตงตั้งขาราชการของ
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี าเปน เลขานกุ ารและผูชวยเลขานุการ

มาตรา ๘ ใหก รรมการซ่งึ คณะรฐั มนตรแี ตง ตง้ั มีวาระดาํ รงตาํ แหนง
คราวละสามป กรรมการซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดรับแตงต้งั อีกได

ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดแตงต้ัง
กรรมการใหม ใหก รรมการน้ันปฏิบตั ิหนาท่ีไปพลางกอนจนกวา จะไดแตง ตง้ั
กรรมการใหม

มาตรา ๙ นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา ๘
กรรมการซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติ
ใหออกหรอื เม่ือมีเหตหุ น่งึ เหตใุ ดตามมาตรา ๗๖

6

มาตรา ๑๐ ให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาทาหน้าที่เป็น
สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
รับผิดชอบงานธุรการ งานประชุม การศึกษาหาข้อมูลและกิจการต่าง ๆ
ทเ่ี กยี่ วกับงานของคณะกรรมการวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

มาตรา ๑๑ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีอานาจ
หน้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) สอดส่องดูแลและให้คาแนะนาเก่ียวกับการดาเนินงาน
ของเจ้าหนา้ ที่ในการปฏบิ ตั ติ ามพระราชบัญญัตนิ ี้

(๒) ให้คาปรึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติน้ี
ตามที่บุคคลดังกล่าวร้องขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ
วิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองกาหนด

(๓) มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอ่ืนใดมาชี้แจงหรือ
แสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้

(๔) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวง
หรอื ประกาศตามพระราชบัญญตั นิ ้ี

(๕) จัดทารายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอ
คณะรัฐมนตรีเป็นครั้งคราวตามความเหมาะสมแต่อย่างน้อยปีละหน่ึงคร้ัง
เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองให้เป็นไปโดย
มคี วามเปน็ ธรรมและมีประสทิ ธิภาพยงิ่ ขน้ึ

(๖) เรื่องอื่นตามท่คี ณะรัฐมนตรหี รือนายกรัฐมนตรมี อบหมาย

7

หมวด ๒
คาสั่งทางปกครอง

ส่วนที่ ๑
เจ้าหน้าที่

มาตรา ๑๒ คาสั่งทางปกครองจะต้องกระทาโดยเจ้าหน้าท่ี
ซึ่งมีอานาจหน้าที่ในเรื่องนั้น

มาตรา ๑๓ เจ้าหน้าทีด่ งั ต่อไปน้ีจะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
(๑) เปน็ คกู่ รณเี อง
(๒) เปน็ คู่หมั้นหรอื คู่สมรสของค่กู รณี
(๓) เป็นญาติของคู่กรณี คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่า
ช้นั ใด ๆ หรือเป็นพ่นี อ้ งหรอื ลูกพ่ลี กู นอ้ งนับได้เพียงภายในสามช้ัน หรือเป็นญาติ
เกย่ี วพนั ทางแต่งงานนบั ได้เพียงสองช้ัน
(๔) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทน
หรือตวั แทนของคกู่ รณี
(๕) เป็นเจา้ หนีห้ รือลูกหน้ี หรอื เป็นนายจ้างของคูก่ รณี
(๖) กรณีอ่นื ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๔ เมื่อมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้านว่า
เจา้ หนา้ ทผี่ ู้ใดเปน็ บคุ คลตามมาตรา ๑๓ ให้เจ้าหน้าท่ีผู้นั้นหยุดการพิจารณา

8

เรื่องไว้ก่อน และแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตนข้ึนไปชั้นหนึ่งทราบ
เพ่ือทผี่ ู้บังคับบัญชาดงั กล่าวจะไดม้ คี าสงั่ ต่อไป

การยื่นคาคดั ค้าน การพิจารณาคาคัดค้าน และการสั่งให้เจ้าหน้าที่อ่ืน
เข้าปฏิบัติหน้าที่แทนผู้ที่ถูกคัดค้านให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๕ เม่ือมีกรณีตามมาตรา ๑๓ หรือคู่กรณีคัดค้าน
ว่ากรรมการในคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณาทางปกครองคณะใด
มีลักษณะดังกล่าว ให้ประธานกรรมการเรียกประชุมคณะกรรมการ
เพื่อพิจารณาเหตุคัดค้านน้ัน ในการประชุมดังกล่าวกรรมการผู้ถูกคัดค้าน
เมือ่ ได้ช้แี จงข้อเท็จจรงิ และตอบขอ้ ซักถามแลว้ ตอ้ งออกจากท่ปี ระชมุ

ถ้ า ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ที่ มี อ า น า จ พิ จ า ร ณ า ท า ง ป ก ค ร อ ง ค ณ ะ ใ ด
มีผู้ถูกคัดค้านในระหว่างท่ีกรรมการผู้ถูกคัดค้านต้องออกจากท่ีประชุม
ใหถ้ อื วา่ คณะกรรมการคณะนั้นประกอบด้วยกรรมการทุกคนทไ่ี ม่ถูกคดั ค้าน

ถ้าท่ีประชุมมีมติให้กรรมการผู้ถูกคัดค้านปฏิบัติหน้าท่ีต่อไป
ด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการท่ีไม่ถูกคัดค้าน
ก็ให้กรรมการผู้น้ันปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ มติดังกล่าวให้กระทาโดย
วิธลี งคะแนนลบั และให้เปน็ ท่สี ดุ

การย่ืนคาคัดค้านและการพิจารณาคาคัดค้านให้เป็นไปตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๖ ในกรณีมีเหตุอื่นใดนอกจากท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา ๑๓
เกี่ยวกับเจ้าหน้าที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอานาจพิจารณา
ทางปกครองซึ่งมีสภาพร้ายแรงอันอาจทาให้การพิจารณาทางปกครอง

9

ไมเ ปน กลาง เจา หนาท่หี รอื กรรมการผูน้ันจะทําการพิจารณาทางปกครอง
ในเรอ่ื งน้ันไมได

ในกรณตี ามวรรคหนงึ่ ใหดําเนินการ ดังน้ี
(๑) ถา ผูน้ันเหน็ เองวา ตนมีกรณีดังกลาว ใหผูน้ันหยุดการพิจารณา
เร่ืองไวกอนและแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนข้ึนไปชั้นหนึ่งหรือประธาน
กรรมการทราบ แลวแตก รณี
(๒) ถา มคี ูกรณีคดั คานวาผูนั้นมเี หตดุ งั กลา ว หากผูนน้ั เห็นวา ตนไมม ี
เหตตุ ามทค่ี ัดคา นนั้น ผนู ้นั จะทาํ การพิจารณาเรื่องตอไปก็ไดแตตองแจงให
ผู บั ง คั บ บั ญ ช า เ ห นื อ ต น ข้ึ น ไ ป ช้ั น ห นึ่ ง ห รื อ ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร ท ร า บ
แลว แตก รณี
(๓) ใหผูบังคับบัญชาของผูนั้นหรือคณะกรรมการท่ีมีอํานาจ
พจิ ารณาทางปกครองซึง่ ผูนัน้ เปนกรรมการอยมู ีคาํ สง่ั หรอื มีมติโดยไมชักชา
แลวแตกรณวี าผนู ัน้ มอี าํ นาจในการพิจารณาทางปกครองในเรือ่ งนน้ั หรอื ไม
ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๕ วรรคสอง
วรรคสาม และวรรคสม่ี าใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๗ การกระทําใด ๆ ของเจาหนาที่หรือกรรมการใน
คณะกรรมการที่มีอํานาจพิจารณาทางปกครองท่ีไดกระทําไปกอนหยุด
การพิจารณาตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ ยอมไมเสียไป เวนแต
เจาหนาท่ีผูเขาปฏิบัติหนาท่ีแทนผูถูกคัดคานหรือคณะกรรมการที่มีอํานาจ
พิจารณาทางปกครอง แลวแตกรณี จะเห็นสมควรดําเนินการสวนหน่ึงสวนใด
เสยี ใหมกไ็ ด

10

มาตรา ๑๘ บทบัญญัติมาตรา ๑๓ ถึงมาตรา ๑๖ ไมใหนํามาใช
บังคับกับกรณีท่ีมีความจําเปนเรงดวน หากปลอยใหลาชาไปจะเสียหาย
ตอ ประโยชนสาธารณะหรอื สทิ ธขิ องบุคคลจะเสียหายโดยไมมีทางแกไขได
หรอื ไมมเี จา หนา ทีอ่ น่ื ปฏิบัติหนาทีแ่ ทนผูน้นั ได

มาตรา ๑๙ ถาปรากฏภายหลังวาเจาหนาท่ีหรือกรรมการ
ในคณะกรรมการท่ีมีอํานาจพิจารณาทางปกครองใดขาดคุณสมบัติหรือ
มลี กั ษณะตอ งหามหรือการแตงต้งั ไมชอบดวยกฎหมาย อันเปนเหตุใหผูนั้น
ตองพนจากตําแหนง การพนจากตําแหนงเชนวาน้ีไมกระทบกระเทือน
ถงึ การใดทผี่ นู น้ั ไดปฏิบัติไปตามอาํ นาจหนาท่ี

มาตรา ๒๐ ผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปช้ันหนึ่งตามมาตรา ๑๔
และมาตรา ๑๖ ใหหมายความรวมถึง ผูซ่ึงกฎหมายกําหนดใหมีอํานาจ
กํากับหรือควบคุมดูแลสําหรับกรณีของเจาหนาที่ที่ไมมีผูบังคับบัญชา
โดยตรง และนายกรฐั มนตรสี าํ หรบั กรณที เี่ จา หนา ท่ผี นู ้ันเปน รฐั มนตรี

สว นท่ี ๒
คกู รณี

มาตรา ๒๑ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อาจเปน
คู ก ร ณี ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า ท า ง ป ก ค ร อ ง ไ ด ต า ม ข อ บ เ ข ต ที่ สิ ท ธิ ข อ ง ต น
ถูกกระทบกระเทือนหรอื อาจถูกกระทบกระเทือนโดยมิอาจหลกี เล่ยี งได

11

มาตรา ๒๒ ผมู ีความสามารถกระทําการในกระบวนการพิจารณา
ทางปกครองได จะตอ งเปน

(๑) ผูซงึ่ บรรลุนิตภิ าวะ
(๒) ผซู ึง่ มบี ทกฎหมายเฉพาะกําหนดใหมีความสามารถกระทําการ
ในเรื่องที่กําหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถ
ถูกจํากัดตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
(๓) นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา ๒๑ โดยผูแทนหรือ
ตัวแทน แลวแตก รณี
(๔) ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรี
มอบหมายในราชกิจจานุเบกษากาํ หนดใหมคี วามสามารถกระทําการในเรอ่ื ง
ที่กําหนดได แมผูน้ันจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจํากัด
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย

มาตรา ๒๓ ในการพิจารณาทางปกครองที่คกู รณีตองมาปรากฏตวั
ตอหนาเจาหนาที่ คูกรณีมีสิทธินําทนายความหรือที่ปรึกษาของตนเขามา
ในการพิจารณาทางปกครองได

การใดที่ทนายความหรือท่ีปรึกษาไดทําลงตอหนาคูกรณีใหถือวา
เปนการกระทําของคกู รณี เวนแตค กู รณจี ะไดคดั คานเสยี แตในขณะนั้น

มาตรา ๒๔ คูกรณีอาจมีหนังสือแตงตั้งใหบุคคลหน่ึงบุคคลใดซ่ึง
บ ร ร ลุ นิ ติ ภ า ว ะ ก ร ะ ทํ า ก า ร อ ย า ง ห น่ึ ง อ ย า ง ใ ด ต า ม ท่ี กํ า ห น ด แ ท น ต น
ในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครองใด ๆ ได ในการน้ีเจาหนาท่ีจะดําเนิน
กระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคูกรณีไดเฉพาะเมื่อเปนเรื่องที่ผูน้ัน
มีหนาท่ีโดยตรงท่ีจะตองทําการน้ันดวยตนเองและตองแจงใหผูไดรับการ
แตงต้งั ใหก ระทาํ การแทนทราบดว ย

12

หากปรากฏวาผูไดรับการแตงตั้งใหกระทําการแทนผูใดไมทราบ
ขอเท็จจริงในเรื่องน้ันเพียงพอหรือมีเหตุไมควรไววางใจในความสามารถ
ของบุคคลดงั กลา วใหเ จาหนา ทีแ่ จงใหคูกรณีทราบโดยไมชักชา

การแตงตั้งใหกระทําการแทนไมถือวาสิ้นสุดลงเพราะความตาย
ของคูกรณีหรือการที่ความสามารถหรือความเปนผูแทนของคูกรณี
เปลี่ยนแปลงไป เวน แตผ ูส บื สิทธิตามกฎหมายของคกู รณีหรอื คูกรณีจะถอน
การแตงตง้ั ดงั กลาว

มาตรา ๒๕ ในกรณีท่ีมีการย่ืนคําขอโดยมีผูลงช่ือรวมกัน
เกนิ หาสบิ คนหรอื มคี ูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคําขอที่มีขอความอยางเดียวกัน
หรือทํานองเดียวกนั ถาในคาํ ขอมกี ารระบุใหบ คุ คลใดเปนตัวแทนของบคุ คล
ดังกลาวหรือมขี อ ความเปน ปริยายใหเ ขาใจไดเ ชนนัน้ ใหถ อื วา ผูท ถ่ี กู ระบุชื่อ
ดังกลาวเปน ตัวแทนรว มของคกู รณเี หลา นน้ั

ในกรณีที่มีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคําขอใหมีคําสั่งทางปกครอง
ในเรื่องเดียวกัน โดยไมมีการกําหนดใหบุคคลใดเปนตัวแทนรวมของตน
ตามวรรคหนึ่ง ใหเจาหนาท่ีในเร่ืองนั้นแตงตั้งบุคคลท่ีคูกรณีฝายขางมาก
เห็นชอบเปนตัวแทนรวมของบุคคลดังกลาว ในกรณีนี้ใหนํามาตรา ๒๔
วรรคสอง และวรรคสาม มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

ตวั แทนรวมตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสองตองเปน บุคคลธรรมดา
คูกรณจี ะบอกเลกิ การใหตัวแทนรวมดําเนินการแทนตนเมื่อใดก็ได
แตต องมหี นงั สือแจง ใหเ จาหนา ที่ทราบและดําเนินการใด ๆ ในกระบวนการ
พจิ ารณาทางปกครองตอไปดวยตนเอง
ตวั แทนรว มจะบอกเลิกการเปน ตวั แทนเมอ่ื ใดก็ได แตตองมีหนังสือ
แจง ใหเจา หนา ทท่ี ราบกับตองแจง ใหค ูก รณที ุกรายทราบดวย

13

สวนท่ี ๓
การพิจารณา

มาตรา ๒๖ เอกสารที่ยื่นตอเจาหนาท่ีใหจัดทําเปนภาษาไทย
ถาเปนเอกสารที่ทําขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ใหคูกรณีจัดทําคําแปลเปน
ภาษาไทยท่ีมีการรับรองความถูกตองมาใหภายในระยะเวลาท่ีเจาหนาที่
กําหนด ในกรณีน้ีใหถือวาเอกสารดังกลาวไดยื่นตอเจาหนาที่ในวันที่
เจาหนาที่ไดรับคําแปลน้ัน เวนแตเจาหนาท่ีจะยอมรับเอกสารท่ีทําขึ้น
เปน ภาษาตางประเทศ และในกรณีนใี้ หถ อื วา วันท่ไี ดย่นื เอกสารฉบบั ทที่ ําขึ้น
เปนภาษาตา งประเทศเปน วันท่เี จาหนาทไ่ี ดรบั เอกสารดงั กลาว

การรบั รองความถกู ตองของคําแปลเปนภาษาไทยหรือการยอมรับ
เอกสารท่ีทําขนึ้ เปนภาษาตา งประเทศ ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑและวิธีการ
ทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๒๗๒ ใหเจาหนาที่แจงสิทธิและหนาท่ีในกระบวนการ
2
พิจารณาทางปกครองใหค ูกรณที ราบตามความจาํ เปน แกก รณี
เมอ่ื มีผยู ่นื คาํ ขอเพ่อื ใหเ จาหนา ท่ีมีคําส่ังทางปกครอง ใหเปนหนาท่ี
ของเจาหนาท่ีผูรับคําขอที่จะตองดําเนินการตรวจสอบความถูกตอง
ของคําขอและความครบถวนของเอกสาร บรรดาท่ีมีกฎหมายหรือกฎ
กําหนดใหตองย่ืนมาพรอมกับคําขอ หากคําขอไมถูกตอง ใหเจาหนาท่ี
ดังกลาวแนะนําใหผูย่ืนคําขอดําเนินการแกไขเพ่ิมเติมเสียใหถูกตอง และ
หากมีเอกสารใดไมครบถวนใหแจงใหผูย่ืนคําขอทราบทันทีหรือภายใน

๒ ความในมาตรา ๒๗ แกไขเพ่ิมเติมโดยมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๒1)4พ.ศ. ๒๕๕๗

ไมเกินเจ็ดวันนับแตวันที่ไดรับคําขอ ในการแจงดังกลาวใหเจาหนาที่
ทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อของผูรับคําขอและระบุรายการเอกสาร
ท่ีไมถูกตองหรือยังไมครบถวนใหผูย่ืนคําขอทราบพรอมท้ังบันทึกการแจง
ดงั กลาวไวใ นกระบวนพิจารณาจดั ทาํ คําสงั่ ทางปกครองน้นั ดว ย

เมอ่ื ผูยน่ื คาํ ขอไดแกไ ขคําขอหรอื จัดสงเอกสารตามทรี่ ะบใุ นการแจง
ตามวรรคสองครบถวนแลวเจาหนาที่จะปฏิเสธไมดําเนินการตามคําขอ
เพราะเหตยุ ังขาดเอกสารอกี มไิ ด เวน แตม คี วามจําเปนเพ่ือปฏิบัติใหถูกตอง
ตามกฎหมายหรือกฎและไดรับความเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาเหนือตน
ขึ้นไปชั้นหน่ึงตามมาตรา ๒๐ ในกรณีเชนนั้นใหผูบังคับบัญชาดังกลาว
ดําเนินการตรวจสอบขอเท็จจริงโดยพลัน หากเห็นวาเปนความบกพรอง
ของเจา หนา ที่ใหด ําเนนิ การทางวนิ ยั ตอไป

ผูย ่ืนคําขอตอ งดาํ เนินการแกไ ขหรือสงเอกสารเพ่มิ เตมิ ตอเจาหนาที่
ภายในเวลาท่ีเจาหนาที่กําหนดหรือภายในเวลาท่ีเจาหนาที่อนุญาต
ใหขยายออกไป เมื่อพนกําหนดเวลาดังกลาวแลว หากผูย่ืนคําขอไมแกไข
หรือสงเอกสารเพ่ิมเติมใหครบถวน ใหถือวาผูย่ืนคําขอไมประสงคท่ีจะให
เจา หนาทดี่ าํ เนนิ การตามคําขอตอ ไป ในกรณเี ชนนนั้ ใหเ จา หนา ท่ีสง เอกสาร
คืนใหผูยื่นคําขอพรอมทั้งแจงสิทธิในการอุทธรณใหผูย่ืนคําขอทราบ
และบันทึกการดําเนินการดงั กลาวไว

มาตรา ๒๘ ในการพิจารณาทางปกครอง เจาหนา ทีอ่ าจตรวจสอบ
ขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสมในเร่ืองน้ัน ๆ โดยไมตองผูกพันอยูกับ
คาํ ขอหรือพยานหลักฐานของคูกรณี

มาตรา ๒๙ เจาหนาที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวา
จาํ เปน แกการพิสจู นขอเท็จจรงิ ในการน้ี ใหร วมถึงการดาํ เนนิ การดังตอไปนี้

15

(๑) แสวงหาพยานหลกั ฐานทกุ อยา งท่เี กี่ยวขอ ง
(๒) รับฟงพยานหลักฐาน คําชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือ
ของพยานบคุ คลหรือพยานผูเช่ียวชาญที่คูกรณีกลาวอาง เวนแตเจาหนาที่
เหน็ วา เปนการกลาวอา งทไ่ี มจ าํ เปน ฟมุ เฟอยหรือเพ่ือประวงิ เวลา
(๓) ขอขอ เท็จจรงิ หรอื ความเหน็ จากคกู รณี พยานบคุ คล หรือพยาน
ผูเชี่ยวชาญ
(๔) ขอใหผ ูครอบครองเอกสารสง เอกสารทเี่ กี่ยวขอ ง
(๕) ออกไปตรวจสถานท่ี
คูกรณีตองใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีในการพิสูจนขอเท็จจริง
และมหี นาที่แจงพยานหลักฐานที่ตนทราบแกเ จา หนา ท่ี
พยานหรือพยานผูเช่ียวชาญท่ีเจาหนาท่ีเรียกมาใหถอยคําหรือ
ทําความเห็นมีสิทธิไดรับคาปวยการตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง
มาตรา ๓๐ ในกรณีที่คําส่ังทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิ
ของคูกรณี เจาหนาท่ีตองใหคูกรณีมีโอกาสท่ีจะไดทราบขอเท็จจริงอยาง
เพียงพอและมโี อกาสไดโตแยง และแสดงพยานหลักฐานของตน
ความในวรรคหน่ึงมิใหนํามาใชบังคับในกรณีดังตอไปนี้ เวนแต
เจาหนา ทจ่ี ะเหน็ สมควรปฏิบตั ิเปน อยางอ่นื
(๑) เม่ือมีความจําเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิด
ความเสียหายอยางรายแรงแกผูหน่ึงผูใดหรือจะกระทบตอประโยชน
สาธารณะ
(๒) เมื่อจะมผี ลทาํ ใหร ะยะเวลาทกี่ ฎหมายหรือกฎกําหนดไวในการ
ทาํ คําส่ังทางปกครองตอ งลาชา ออกไป

16

(๓) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคาขอ คาให้การ
หรือคาแถลง

(๔) เมื่อโดยสภาพเห็นได้ชัดในตัวว่าการให้โอกาสดังกล่าวไม่อาจ
กระทาได้

(๕) เม่อื เป็นมาตรการบงั คับทางปกครอง
(๖) กรณีอ่นื ตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ให้โอกาสตามวรรคหนึ่ง ถ้าจะก่อให้เกิด
ผลเสยี หายอย่างรา้ ยแรงตอ่ ประโยชนส์ าธารณะ
มาตรา ๓๑ คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็นต้องรู้
เพ่ือการโต้แย้งหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ แต่ถ้ายังไม่ได้ทาคาสั่ง
ทางปกครองในเร่ืองน้ัน คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดูเอกสารอันเป็นต้นร่าง
คาวนิ ิจฉยั
การตรวจดูเอกสาร ค่าใช้จ่ายในการตรวจดูเอกสาร หรือการจัดทา
สาเนาเอกสารให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์และวิธีการทก่ี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๓๒ เจ้าหน้าท่ีอาจไม่อนุญาตให้ตรวจดูเอกสารหรือ
พยานหลกั ฐานได้ ถา้ เป็นกรณที ี่ตอ้ งรักษาไว้เป็นความลับ
มาตรา ๓๓ เพ่ือประโยชน์ในการอานวยความสะดวกแก่ประชาชน
ค ว า ม ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ ค ว า ม มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง รั ฐ
ให้คณะรัฐมนตรีวางระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพ่ือให้เจ้าหน้าที่
กาหนดเวลาสาหรับการพิจารณาทางปกครองข้ึนไว้ตามความเหมาะสม
แก่กรณี ทัง้ นี้ เทา่ ท่ไี มข่ ดั หรอื แย้งกับกฎหมายหรือกฎในเรอื่ งนนั้

17

ในกรณีที่การดาเนินงานในเร่ืองใดจะต้องผ่านการพิจารณา
ของเจ้าหน้าที่มากกว่าหนึ่งราย เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องมีหน้าที่ต้องประสานงาน
กันในการกาหนดเวลาเพ่ือการดาเนินงานในเรื่องนั้น

ส่วนที่ ๔
รูปแบบและผลของคาสั่งทางปกครอง

มาตรา ๓๔ คาส่ังทางปกครองอาจทาเป็นหนังสือหรือวาจาหรือ
โดยการส่ือความหมายในรูปแบบอื่นก็ได้ แต่ต้องมีข้อความหรือความหมาย
ทช่ี ดั เจนเพยี งพอท่ีจะเขา้ ใจได้

มาตรา ๓๕ ในกรณีที่คาส่ังทางปกครองเป็นคาส่ังด้วยวาจา
ถ้าผู้รับคาสั่งน้ันร้องขอและการร้องขอได้กระทาโดยมีเหตุอันสมควรภายใน
เจ็ดวันนับแต่วันที่มีคาส่ังดังกล่าว เจ้าหน้าที่ผู้ออกคาส่ังต้องยืนยันคาส่ังน้ัน
เปน็ หนงั สือ

มาตรา ๓๖ คาสั่งทางปกครองที่ทาเป็นหนังสืออย่างน้อยต้องระบุ
วัน เดือน และปีท่ีทาคาส่ัง ช่ือและตาแหน่งของเจ้าหน้าท่ีผู้ทาคาส่ัง
พร้อมท้งั มีลายมอื ชอื่ ของเจา้ หน้าที่ผู้ทาคาสัง่ นั้น

มาตรา ๓๗ คาส่ังทางปกครองที่ทาเป็นหนังสือและการยืนยัน
คาสั่งทางปกครองเป็นหนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย และเหตุผลน้ัน
อยา่ งนอ้ ยต้องประกอบด้วย

(๑) ข้อเทจ็ จริงอนั เปน็ สาระสาคัญ

18

(๒) ขอ กฎหมายทอ่ี างองิ
(๓) ขอพจิ ารณาและขอสนับสนนุ ในการใชด ุลพนิ ิจ
นายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษากาํ หนดใหคาํ ส่งั ทางปกครองกรณหี น่ึงกรณใี ดตองระบุ
เหตุผลไวใ นคาํ สั่งนั้นเองหรือในเอกสารแนบทายคําสั่งนนั้ ก็ได
บทบัญญตั ติ ามวรรคหนง่ึ ไมใชบงั คบั กบั กรณีดงั ตอไปน้ี
(๑) เปนกรณีท่ีมีผลตรงตามคําขอและไมกระทบสิทธิและหนาท่ี
ของบคุ คลอน่ื
(๒) เหตผุ ลนัน้ เปน ท่ีรูกนั อยแู ลวโดยไมจาํ ตองระบอุ ีก
(๓) เปน กรณีท่ตี องรักษาไวเปน ความลบั ตามมาตรา ๓๒
(๔) เปนการออกคาํ ส่งั ทางปกครองดวยวาจาหรือเปนกรณีเรงดวน
แตตอ งใหเหตุผลเปน ลายลักษณอ กั ษรในเวลาอนั ควรหากผูอยูในบังคับของ
คําส่ังนน้ั รองขอ

มาตรา ๓๘ บทบัญญตั ิตามมาตรา ๓๖ และมาตรา ๓๗ วรรคหนึ่ง
มิใหใชบังคับกับคําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ท้ังน้ี
ตามหลักเกณฑ วิธกี าร และเง่อื นไขทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๓๙ การออกคําส่ังทางปกครองเจาหนาท่ีอาจกําหนด
เงื่อนไขใด ๆ ไดเ ทาทีจ่ ําเปน เพอื่ ใหบ รรลุวัตถุประสงคของกฎหมาย เวนแต
กฎหมายจะกาํ หนดขอจํากัดดลุ พินจิ เปนอยา งอ่นื

การกําหนดเง่อื นไขตามวรรคหน่งึ ใหหมายความรวมถงึ การกําหนด
เงอื่ นไขในกรณดี ังตอ ไปน้ี ตามความเหมาะสมแกก รณดี วย

(๑) การกําหนดใหสิทธิหรือภาระหนาท่ีเริ่มมีผลหรือส้ินผล ณ เวลาใด
เวลาหน่งึ

19

(๒) การกาํ หนดใหก ารเร่ิมมีผลหรือสิน้ ผลของสิทธิหรือภาระหนาที่
ตองขนึ้ อยูกับเหตุการณใ นอนาคตท่ีไมแนน อน

(๓) ขอสงวนสิทธิที่จะยกเลกิ คาํ สั่งทางปกครอง
(๔) การกําหนดใหผูไดรับประโยชนตองกระทําหรืองดเวนกระทํา
หรือตองมีภาระหนาท่ีหรือยอมรับภาระหนาที่หรือความรับผิดชอบ
บางประการ หรือการกําหนดขอความในการจัดใหมี เปลี่ยนแปลง หรือ
เพ่มิ ขอ กาํ หนดดงั กลา ว
มาตรา ๓๙/๑3๓ การออกคําส่ังทางปกครองเปนหนังสือในเรื่องใด
หากมิไดม ีกฎหมายหรอื กฎกาํ หนดระยะเวลาในการออกคําสั่งทางปกครอง
ในเรื่องนัน้ ไวเ ปนประการอ่ืน ใหเจาหนาที่ออกคําส่ังทางปกครองน้ันใหแลวเสร็จ
ภายในสามสิบวันนับแตวันที่เจาหนาที่ไดรับคําขอและเอกสารถูกตอง
ครบถวน
ใหเปนหนาท่ีของผูบังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปของเจาหนาที่
ท่ีจะกาํ กับดูแลใหเ จา หนา ทีด่ าํ เนนิ การใหเปนไปตามวรรคหนึ่ง

มาตรา ๔๐ คําสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณหรือโตแยงตอไปได
ใหระบกุ รณที ี่อาจอุทธรณหรือโตแยง การยื่นคาํ อทุ ธรณหรอื คําโตแยง และ
ระยะเวลาสาํ หรับการอทุ ธรณหรือการโตแ ยง ดงั กลาวไวดวย

ในกรณีท่ีมีการฝาฝนบทบญั ญตั ติ ามวรรคหนึง่ ใหระยะเวลาสําหรับ
การอุทธรณหรือการโตแยงเริ่มนับใหมตั้งแตวันที่ไดรับแจงหลักเกณฑ
ตามวรรคหนึ่ง แตถาไมมีการแจงใหมและระยะเวลาดังกลาวมีระยะเวลา
สนั้ กวา หนง่ึ ป ใหขยายเปนหนึ่งปนับแตว ันท่ีไดรบั คําสัง่ ทางปกครอง

๓ ความในมาตรา ๓๙/๑ เพ่ิมโดยมาตรา ๔ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗

20

มาตรา ๔๑ คาส่ังทางปกครองท่ีออกโดยการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี ไมเ่ ป็นเหตุให้คาสงั่ ทางปกครองนั้นไมส่ มบูรณ์

(๑) การออกคาสั่งทางปกครองโดยยังไม่มีผู้ย่ืนคาขอในกรณีท่ี
เจ้าหน้าท่ีจะดาเนินการเองไม่ได้นอกจากจะมีผู้ยื่นคาขอ ถ้าต่อมา
ในภายหลงั ไดม้ กี ารย่ืนคาขอเช่นนั้นแลว้

(๒) คาส่ังทางปกครองท่ีต้องจัดให้มีเหตุผลตามมาตรา ๓๗
วรรคหน่ึง ถา้ ไดม้ ีการจัดให้มีเหตผุ ลดงั กล่าวในภายหลัง

(๓) การรับฟังคู่กรณีท่ีจาเป็นต้องกระทาได้ดาเนินการมา
โดยไม่สมบูรณ์ ถา้ ได้มีการรับฟงั ให้สมบูรณใ์ นภายหลงั

(๔) คาส่ังทางปกครองท่ีต้องให้เจ้าหน้าท่ีอ่ืนให้ความเห็นชอบก่อน
ถ้าเจ้าหนา้ ทนี่ ัน้ ได้ให้ความเห็นชอบในภายหลัง

เม่ือมีการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้ว และ
เจ้าหน้าที่ผู้มีคาส่ังทางปกครองประสงค์ให้ผลเป็นไปตามคาสั่งเดิม
ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีผู้น้ันบันทึกข้อเท็จจริงและความประสงค์ของตนไว้ในหรือแนบไว้
กับคาสั่งเดมิ และตอ้ งมหี นังสือแจง้ ความประสงค์ของตนใหค้ กู่ รณที ราบดว้ ย

กรณีตาม (๒) (๓) และ (๔) จะต้องกระทาก่อนส้ินสุดกระบวนการ
พจิ ารณาอทุ ธรณต์ ามส่วนท่ี ๕ ของหมวดน้ี หรือตามกฎหมายเฉพาะว่าด้วย
การนั้น หรือถ้าเป็นกรณีท่ีไม่ต้องมีการอุทธรณ์ดังกล่าวก็ต้องก่อนมีการ
นาคาส่ังทางปกครองไปสู่การพิจารณาของผู้มีอานาจพิจารณาวินิจฉัย
ความถูกตอ้ งของคาสงั่ ทางปกครองน้ัน

มาตรา ๔๒ คาส่ังทางปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ขณะท่ี
ผนู้ ้นั ได้รบั แจง้ เป็นต้นไป

คาส่ังทางปกครองย่อมมีผลตราบเท่าท่ียังไม่มีการเพิกถอนหรือ
ส้นิ ผลลงโดยเงื่อนเวลาหรือโดยเหตอุ ่ืน

21

เม่ือคําสั่งทางปกครองส้ินผลลง ใหเจาหนาที่มีอํานาจเรียก
ผูซ่ึงครอบครองเอกสารหรือวัตถุอื่นใดที่ไดจัดทําข้ึนเนื่องในการมีคําส่ัง
ทางปกครองดังกลาว ซ่ึงมีขอความหรือเครื่องหมายแสดงถึงการมีอยูของ
คําสั่งทางปกครองนั้น ใหสงคืนสิ่งนั้นหรือใหนําส่ิงของดังกลาวอันเปน
กรรมสิทธ์ิของผูนั้นมาใหเจาหนาที่จัดทําเคร่ืองหมายแสดงการส้ินผลของ
คาํ สง่ั ทางปกครองดงั กลาวได

มาตรา ๔๓ คาํ สง่ั ทางปกครองท่ีมีขอ ผิดพลาดเลก็ นอยหรอื ผดิ หลง
เล็กนอยนน้ั เจา หนา ท่ีอาจแกไ ขเพ่มิ เติมไดเสมอ

ในการแกไขเพิ่มเติมคําสั่งทางปกครองตามวรรคหน่ึงใหแจงให
ผูท่ีเกี่ยวของทราบตามควรแกกรณี ในการนี้เจาหนาที่อาจเรียกให
ผูทเ่ี ก่ยี วของจัดสงคําส่ังทางปกครอง เอกสารหรือวัตถุอ่ืนใดที่ไดจัดทําข้ึน
เน่อื งในการมีคาํ สง่ั ทางปกครองดงั กลาวมาเพ่อื การแกไขเพ่มิ เตมิ ได

สว นที่ ๕
การอุทธรณค ําสงั่ ทางปกครอง

มาตรา ๔๔ ภายใตบงั คับมาตรา ๔๘ ในกรณที ่ีคําส่ังทางปกครองใด
ไมไ ดอ อกโดยรฐั มนตรี และไมมกี ฎหมายกําหนดขน้ั ตอนอุทธรณภายในฝาย
ปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคําสั่งทางปกครองนั้น
โดยยื่นตอเจาหนาที่ผูทําคําส่ังทางปกครองภายในสิบหาวันนับแตวันที่ตน
ไดร บั แจง คําส่ังดงั กลา ว

คําอุทธรณตองทําเปนหนงั สอื โดยระบขุ อ โตแ ยงและขอเทจ็ จริงหรือ
ขอ กฎหมายท่ีอา งองิ ประกอบดวย

22

การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง
เวน แตจะมีการส่งั ใหทุเลาการบังคับตามมาตรา ๖๓/๒ วรรคหนงึ่ 4๔

มาตรา ๔๕ ใหเจาหนาที่ตามมาตรา ๔๔ วรรคหน่ึง พิจารณา
คําอุทธรณและแจงผูอุทธรณโดยไมชักชา แตตองไมเกินสามสิบวันนับแต
วันท่ีไดรับอุทธรณ ในกรณีท่ีเห็นดวยกับคําอุทธรณไมวาท้ังหมดหรือ
บางสวนก็ใหดําเนินการเปลี่ยนแปลงคําสั่งทางปกครองตามความเห็น
ของตนภายในกําหนดเวลาดังกลา วดวย

ถาเจาหนาท่ีตามมาตรา ๔๔ วรรคหนึ่ง ไมเห็นดวยกับคําอุทธรณ
ไมวาท้ังหมดหรือบางสวนก็ใหเรงรายงานความเห็นพรอมเหตุผลไปยัง
ผู มี อํ า น า จ พิ จ า ร ณ า คํ า อุ ท ธ ร ณ ภ า ย ใ น กํ า ห น ด เ ว ล า ต า ม ว ร ร ค ห นึ่ ง
ใหผูมีอํานาจพิจารณาคําอุทธรณพิจารณาใหแลวเสร็จภายในสามสิบวัน
นับแตวันท่ีตนไดรับรายงาน ถามีเหตุจําเปนไมอาจพิจารณาใหแลวเสร็จ
ภายในระยะเวลาดังกลาว ใหผูมีอํานาจพิจารณาอุทธรณมีหนังสือแจงให
ผูอุทธรณท ราบกอนครบกาํ หนดเวลาดังกลา ว ในการน้ี ใหขยายระยะเวลา
พิจารณาอุทธรณออกไปไดไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่ครบกําหนดเวลา
ดงั กลา ว

เจาหนาที่ผูใดจะเปนผูมีอํานาจพิจารณาอุทธรณตามวรรคสอง
ใหเ ปน ไปตามทกี่ ําหนดในกฎกระทรวง

บทบัญญัติมาตราน้ีไมใชกับกรณีท่ีมีกฎหมายเฉพาะกําหนดไว
เปนอยางอืน่

๔ ความในมาตรา ๔๔ วรรคสาม แกไขเพ่ิมเติมโดยมาตรา ๓ แหง
พระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

23

มาตรา ๔๖ ในการพจิ ารณาอุทธรณ ใหเ จาหนา ทีพ่ ิจารณาทบทวน
คําสั่งทางปกครองไดไมวาจะเปนปญหาขอเท็จจริง ขอกฎหมาย หรือ
ความเหมาะสมของการทําคาํ ส่ังทางปกครอง และอาจมคี าํ ส่ังเพกิ ถอนคําสงั่
ทางปกครองเดิมหรือเปล่ียนแปลงคําสั่งนั้นไปในทางใด ทั้งนี้ ไมวาจะเปน
การเพิ่มภาระหรอื ลดภาระหรือใชดุลพินิจแทนในเรื่องความเหมาะสมของ
การทาํ คําส่ังทางปกครองหรือมขี อกําหนดเปนเงื่อนไขอยา งไรก็ได

มาตรา ๔๗ การใดที่กฎหมายกําหนดใหอุทธรณตอเจาหนาที่
ซง่ึ เปนคณะกรรมการ ขอบเขตการพจิ ารณาอุทธรณใ หเปน ไปตามกฎหมาย
วาดวยการนั้น สําหรับกระบวนการพิจารณาใหปฏิบัติตามบทบัญญัติ
หมวด ๒ น้ี เทา ที่ไมข ัดหรือแยง กับกฎหมายดงั กลาว

มาตรา ๔๘ คําสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ
ไมวาจะจัดตั้งข้ึ นตามกฎหมาย หรือไม ใหคูก รณีมีสิทธิโตแย ง
ตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการ
กฤษฎีกาไดท งั้ ในปญหาขอเทจ็ จริงและขอ กฎหมาย ภายในเกา สิบวนั นับแต
วันท่ีไดรับแจงคําสั่งน้ัน แตถาคณะกรรมการดังกลาวเปนคณะกรรมการ
วนิ ิจฉยั ขอ พพิ าท สทิ ธกิ ารอุทธรณและกําหนดเวลาอทุ ธรณ ใหเปนไปตามที่
บัญญัติในกฎหมายวา ดว ยคณะกรรมการกฤษฎีกา

สว นท่ี ๖
การเพกิ ถอนคําสัง่ ทางปกครอง

24

มาตรา ๔๙ เจา หนา ท่ีหรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาท่ีอาจเพิกถอน
คาํ ส่ังทางปกครองไดต ามหลักเกณฑในมาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ และมาตรา
๕๓ ไมวาจะพนขน้ั ตอนการกาํ หนดใหอ ุทธรณหรือใหโตแยง ตามกฎหมายนี้
หรือกฎหมายอน่ื มาแลวหรือไม

การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองท่ีมีลักษณะเปนการใหประโยชน
ตองกระทําภายในเกาสิบวันนับแตไดรูถึงเหตุท่ีจะใหเพิกถอนคําสั่ง
ทางปกครองนั้น เวนแตคําส่ังทางปกครองจะไดทําข้ึนเพราะการแสดง
ขอความอนั เปน เท็จหรือปกปดขอ ความจริงซงึ่ ควรบอกใหแ จงหรือการขมขู
ห รื อ ก า ร ชั ก จู ง ใ จ โ ด ย ก า ร ใ ห ท รั พ ย สิ น ห รื อ ป ร ะ โ ย ช น อื่ น ใ ด ที่ มิ ช อ บ
ดว ยกฎหมาย

มาตรา ๕๐ คําสงั่ ทางปกครองทไี่ มช อบดวยกฎหมายอาจถูกเพิกถอน
ทั้งหมดหรือบางสวน โดยจะใหมีผลยอนหลังหรือไมยอนหลังหรือ
มีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหน่ึงตามที่กําหนดได แตถาคําส่ังน้ัน
เปนคําส่ังซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับ การเพิกถอนตองเปนไปตาม
บทบญั ญัติมาตรา ๕๑ และมาตรา ๕๒

มาตรา ๕๑ การเพกิ ถอนคําสั่งทางปกครองทีไ่ มช อบดวยกฎหมาย
ซึ่งเปนการใหเงิน หรือใหทรัพยสินหรือใหประโยชนที่อาจแบงแยกได
ใหคํานึงถึงความเชื่อโดยสุจริตของผูรับประโยชนในความคงอยูของคําสั่ง
ทางปกครองนั้นกับประโยชนสาธารณะประกอบกัน

ความเชื่อโดยสุจริตตามวรรคหน่ึงจะไดรับความคุมครองตอเม่ือ
ผูรับคําสั่งทางปกครองไดใชประโยชนอันเกิดจากคําส่ังทางปกครองหรือ
ไดด ําเนนิ การเก่ยี วกับทรพั ยสินไปแลว โดยไมอาจแกไขเปล่ียนแปลงไดหรือ
การเปลีย่ นแปลงจะทาํ ใหผนู ั้นตองเสียหายเกนิ ควรแกก รณี

25

ในกรณีดังตอไปนี้ ผรู ับคาํ สงั่ ทางปกครองจะอางความเช่อื โดยสุจริต
ไมได

(๑) ผูนั้นไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริง
ซ่ึงควรบอกใหแจง หรือขมขู หรือชักจูงใจโดยการใหทรัพยสินหรือ
ใหป ระโยชนอน่ื ใดท่มี ิชอบดวยกฎหมาย

(๒) ผูนัน้ ไดใหขอ ความซงึ่ ไมถ กู ตอ งหรอื ไมครบถว นในสาระสําคัญ
(๓) ผูนั้นไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคําส่ังทางปกครอง
ในขณะไดรับคําสั่งทางปกครองหรือการไมรูนั้นเปนไปโดยความประมาท
เลินเลออยางรายแรง
ในกรณีที่เพิกถอนโดยใหมีผลยอนหลัง การคืนเงิน ทรัพยสิน
หรือประโยชนที่ผูรับคําส่ังทางปกครองไดไป ใหนําบทบัญญัติวาดวย
ลาภมิควรไดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับโดยอนุโลม
โดยถาเม่ือใดผูรับคําส่ังทางปกครองไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมาย
ของคําสั่งทางปกครองหรือควรไดรูเชนน้ันหากผูนั้นมิไดประมาทเลินเลอ
อยา งรายแรงใหถือวาผูน้ันตกอยูในฐานะไมสุจริตตั้งแตเวลานั้นเปนตนไป
และในกรณีตามวรรคสาม ผูน้ันตองรับผิดในการคืนเงิน ทรัพยสินหรือ
ประโยชนท ีไ่ ดรบั ไปเต็มจาํ นวน

มาตรา ๕๒ คาํ สง่ั ทางปกครองที่ไมชอบดวยกฎหมายและไมอยูใน
บังคับของมาตรา ๕๑ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนได แตผูไดรับ
ผลกระทบจากการเพิกถอนคําส่ังทางปกครองดังกลาวมีสิทธิไดรับ
คาทดแทนความเสียหายเนื่องจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของ
คําส่ังทางปกครองได และใหนําความในมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง
และวรรคสาม มาใชบังคับโดยอนุโลม แตตองรองขอคาทดแทนภายใน
หนงึ่ รอยแปดสิบวนั นบั แตไดรับแจง ใหทราบถึงการเพกิ ถอนนั้น

26

คาทดแทนความเสียหายตามมาตราน้ีจะตองไมสูงกวาประโยชน
ที่ผนู ั้นอาจไดร บั หากคาํ ส่ังทางปกครองดงั กลา วไมถกู เพกิ ถอน

มาตรา ๕๓ คําสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งไมเปนการ
ใหป ระโยชนแกผ ูรับคาํ สง่ั ทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทงั้ หมดหรอื บางสวน
โดยใหมีผลต้ังแตข ณะทเ่ี พิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง
ตามที่กําหนดได เวนแตเปนกรณีท่ีคงตองทําคําส่ังทางปกครองท่ีมีเนื้อหา
ทาํ นองเดียวกนั นั้นอีก หรอื เปนกรณีท่ีการเพิกถอนไมอาจกระทําไดเพราะ
เหตุอน่ื ทง้ั น้ี ใหค ํานงึ ถึงประโยชนข องบุคคลภายนอกประกอบดวย

คําสั่งทางปกครองท่ีชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหประโยชนแก
ผูรับคําสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผล
ต้ังแตขณะท่ีเพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหน่ึง
ตามทีก่ าํ หนดไดเ ฉพาะเม่อื มีกรณีดังตอ ไปน้ี

(๑) มีกฎหมายกาํ หนดใหเ พกิ ถอนไดหรือมขี อสงวนสทิ ธิใหเพิกถอน
ไดในคําสง่ั ทางปกครองน้นั เอง

(๒) คาํ สัง่ ทางปกครองนั้นมีขอกําหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ
แตไมม ีการปฏิบตั ภิ ายในเวลาท่ีกําหนด

(๓) ขอ เทจ็ จรงิ และพฤติการณเ ปลย่ี นแปลงไป ซึ่งหากมีขอเท็จจริง
และพฤตกิ ารณเชน นใี้ นขณะทําคาํ สั่งทางปกครองแลวเจา หนา ที่คงจะไมทํา
คําสั่งทางปกครองน้ัน และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหาย
ตอ ประโยชนสาธารณะได

(๔) บทกฎหมายเปลย่ี นแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเชน นีใ้ นขณะ
ทําคําสั่งทางปกครองแลวเจาหนาท่ีคงจะไมทําคําสั่งทางปกครองนั้น
แ ต ก า ร เ พิ ก ถ อ น ใ น ก ร ณี นี้ ใ ห ก ร ะ ทํ า ไ ด เ ท า ที่ ผู รั บ ป ร ะ โ ย ช น ยั ง ไ ม ไ ด

27

ใชประโยชน หรอื ยงั ไมไ ดร ับประโยชนต ามคําสั่งทางปกครองดังกลาว และ
หากไมเ พกิ ถอนจะกอใหเกดิ ความเสยี หายตอประโยชนส าธารณะได

(๕) อาจเกดิ ความเสยี หายอยา งรา ยแรงตอประโยชนส าธารณะหรือ
ตอ ประชาชนอันจาํ เปนตอ งปองกนั หรือขจดั เหตุดังกลาว

ในกรณที ม่ี กี ารเพกิ ถอนคาํ สั่งทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง
(๓) (๔) และ (๕) ผูไดรับประโยชนมีสิทธิไดรับคาทดแทนความเสียหาย
อันเกดิ จากความเชอ่ื โดยสจุ รติ ในความคงอยขู องคาํ ส่ังทางปกครองได และ
ใหน าํ มาตรา ๕๒ มาใชบงั คบั โดยอนโุ ลม

คําสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซ่ึงเปนการใหเงินหรือ
ใหทรัพยส นิ หรือใหประโยชนทอ่ี าจแบง แยกได อาจถกู เพกิ ถอนทั้งหมดหรือ
บางสวนโดยใหมีผลยอ นหลงั หรือไมมีผลยอนหลังหรือมีผลในอนาคตไปถึง
ขณะใดขณะหนงึ่ ตามท่ีกําหนดไดใ นกรณีดังตอ ไปนี้

(๑) มไิ ดปฏิบัติหรือปฏิบตั ิลาชาในอนั ที่จะดําเนินการใหเปนไปตาม
วัตถปุ ระสงคข องคาํ ส่ังทางปกครอง

(๒) ผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะ
ดาํ เนนิ การใหเปน ไปตามเง่อื นไขของคาํ สง่ั ทางปกครอง

ท้ังน้ี ใหน าํ ความในมาตรา ๕๑ มาใชบ ังคับโดยอนุโลม
สวนท่ี ๗

การขอใหพจิ ารณาใหม

มาตรา ๕๔ เม่ือคูกรณีมีคําขอ เจาหนาที่อาจเพิกถอนหรือแกไข
เพ่ิมเติมคําสั่งทางปกครองท่ีพนกําหนดอุทธรณตามสวนท่ี ๕ ไดในกรณี
ดังตอไปน้ี

28

(๑) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทาให้ข้อเท็จจริงท่ีฟังเป็นยุติแล้ว
นน้ั เปลี่ยนแปลงไปในสาระสาคัญ

(๒) คู่กรณีท่ีแท้จริงมิได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง
หรือได้เข้ามาในกระบวนการพิจารณาคร้ังก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดย
ไมเ่ ปน็ ธรรมในการมสี ่วนรว่ มในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง

(๓) เจา้ หน้าทไี่ มม่ ีอานาจท่ีจะทาคาสั่งทางปกครองในเรอ่ื งนนั้
(๔) ถ้าคาส่ังทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือ
ข้อกฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไป
ในสาระสาคญั ในทางท่ีจะเป็นประโยชนแ์ ก่คู่กรณี
การยื่นคาขอตามวรรคหน่ึง (๑) (๒) หรือ (๓) ให้กระทาได้เฉพาะ
เมือ่ คู่กรณีไมอ่ าจทราบถึงเหตุน้ันในการพิจารณาครั้งที่แล้วมาก่อนโดยไม่ใช่
ความผิดของผูน้ ้นั
การย่ืนคาขอให้พิจารณาใหม่ต้องกระทาภายในเก้าสิบวันนับแต่
ผู้น้นั ไดร้ ถู้ ึงเหตุซงึ่ อาจขอให้พจิ ารณาใหมไ่ ด้

ส่วนท่ี ๘
การบงั คบั ทางปกครอง๕

มาตรา ๕๕ (ยกเลกิ )
มาตรา ๕๖ (ยกเลิก)

๕ ส่วนที่ ๘ การบังคับทางปกครอง มาตรา ๕๕ ถึงมาตรา ๖๓ ยกเลิกโดย
มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัตวิ ธิ ปี ฏิบัตริ าช2ก9ารทางปกครอง (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

มาตรา ๕๗ (ยกเลกิ )
มาตรา ๕๘ (ยกเลกิ )
มาตรา ๕๙ (ยกเลิก)
มาตรา ๖๐ (ยกเลิก)
มาตรา ๖๑ (ยกเลกิ )
มาตรา ๖๒ (ยกเลิก)
มาตรา ๖๓ (ยกเลิก)

หมวดที่ ๒/๑
การบงั คบั ทางปกครอง๖

ส่วนท่ี ๑
บททว่ั ไป

๖ หมวดที่ ๒/๑ การบังคับทางปกครอง เพ่ิมโดยมาตรา ๕ แห่ง
พระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

30

มาตรา ๖๓/๑ การบงั คับทางปกครองไมใ ชบงั คบั กับหนวยงานของรัฐ
ดวยกัน เวน แตจ ะมีกฎหมายกาํ หนดไวเ ปนอยางอ่ืน

มาตรา ๖๓/๒ เจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองมีอํานาจที่จะ
พิจารณาใชม าตรการบังคับทางปกครองเพ่ือใหเปนไปตามคําส่ังของตนได
ตามบทบัญญัติในหมวดน้ี เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับไวกอน
โดยเจาหนาท่ีผูทําคําสั่งนั้นเอง ผูมีอํานาจพิจารณาคําอุทธรณ หรือผูมี
อาํ นาจพจิ ารณาวินิจฉยั ความถกู ตองของคําส่ังทางปกครองดงั กลา ว

เจาหนา ทตี่ ามวรรคหนึ่งจะมอบอํานาจใหเจาหนาท่ีซ่ึงอยูใตบังคับ
บัญชาหรือเจาหนาท่ีอื่นเปนผูดําเนินการก็ไดตามหลักเกณฑและวิธีการ
ท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง

ใหเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองเพียงเทาท่ีจําเปนเพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของคําส่ัง
ทางปกครอง โดยกระทบกระเทือนผูอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครอง
นอ ยทส่ี ุด

มาตรา ๖๓/๓ ถาบทกฎหมายใดกําหนดมาตรการบังคับ
ทางปกครองไวโดยเฉพาะแลวหากเจาหนา ที่เห็นวาการใชมาตรการบังคับนั้น
จะเกิดผลนอยกวามาตรการบังคับตามหมวดน้ี เจาหนาที่จะใชมาตรการ
บังคบั ทางปกครองตามหมวดน้แี ทนกไ็ ด

มาตรา ๖๓/๔ ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองแกบุคคลใด
หากบุคคลน้ันถึงแกความตายใหดําเนินการบังคับทางปกครองตอไปได
ถา บคุ คลนน้ั มที ายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดก ใหถือวาทายาทผูรับมรดก
หรือผูจ ัดการมรดกเปนผูอ ยูในบังคับของมาตรการบงั คับทางปกครองนน้ั

31

ในกรณีทผ่ี อู ยูใ นบงั คับของมาตรการบังคบั ทางปกครองตาย ใหแจง
มาตรการบังคับทางปกครองไปยังทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดก
แลวแตก รณี โดยใหระยะเวลาอุทธรณการใชมาตรการบังคับทางปกครอง
เร่ิมนับใหมต้ังแตวันที่ทายาทผูรับมรดกหรือผูจัดการมรดกไดรับแจง
เม่ือปรากฏวา

(๑) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายกอนส้ินสุด
ระยะเวลาอุทธรณก ารใชมาตรการบังคับทางปกครองและไมไดย่ืนอุทธรณ
การใชม าตรการบงั คบั ทางปกครอง

(๒) ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองตายหลังส้ินสุด
ระยะเวลาอุทธรณก ารใชม าตรการบังคับทางปกครองและไมไดย่ืนอุทธรณ
การใชม าตรการบงั คับทางปกครอง เนื่องจากมีพฤติการณที่จําเปนอันมิได
เกดิ จากความผิดของผนู ั้น

ในกรณีที่เปนการใชมาตรการบังคับทางปกครองแกนิติบุคคลใด
หากนติ บิ ุคคลนน้ั ส้ินสภาพ โอนกจิ การ หรือควบรวมกิจการ ใหดําเนินการ
บังคับทางปกครองตอไปได โดยใหแจงมาตรการบังคับทางปกครองไปยัง
ผชู ําระบัญชี หรอื นติ บิ คุ คลท่รี ับโอนกจิ การหรือเกิดจากการควบรวมกิจการ
แลวแตกรณี ท้ังน้ี โดยไมจําตองออกคําส่ังทางปกครองใหมแกบุคคลหรือ
นิติบุคคลดังกลาวอีก และใหนําหลักเกณฑเร่ืองระยะเวลาในการอุทธรณ
ตามวรรคสองมาใชบ งั คบั ดว ยโดยอนุโลม

มาตรา ๖๓/๕ ในกรณีท่บี ทบญั ญัติในหมวดนห้ี รือกฎหมายอืน่ มิได
กําหนดเปนอยางอื่น ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง
อาจอุทธรณก ารใชมาตรการบงั คบั ทางปกครองนนั้ ได

32

การอทุ ธรณก ารใชมาตรการบังคับทางปกครองใหใชหลกั เกณฑและ
วิธีการเดียวกับการอุทธรณคําส่ังทางปกครองตามสวนที่ ๕ การอุทธรณ
คําสง่ั ทางปกครอง ในหมวด ๒ คาํ ส่งั ทางปกครอง

มาตรา ๖๓/๖ บทบัญญตั ใิ นหมวดนม้ี ใิ หใ ชบ ังคับกบั การบงั คับตาม
คําสั่งทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงินหรือใหกระทําหรือละเวนกระทํา
ในกรณีที่หนวยงานของรัฐไดฟองคดีตอศาลและศาลไดมีคําพิพากษาให
ชําระเงนิ หรอื ใหกระทําหรือละเวน กระทาํ แลว

เม่ือศาลไดรับฟองคดีตามวรรคหน่ึงไวแลว หามมิใหเจาหนาที่
ดาํ เนินการตามสวนที่ ๒ การบังคับตามคาํ ส่งั ทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงิน
และสวนที่ ๓ การบังคับตามคําส่ังทางปกครองที่กําหนดใหกระทําหรือ
ละเวน กระทํา เวนแตจะไดมีการถอนฟอ ง หรือศาลมีคําสั่งจําหนายคดีจาก
สารบบความเพราะเหตุอ่ืน ทง้ั น้ี ไมก ระทบตอ การดําเนินการตามมาตรการ
บังคบั ทางปกครองที่เจา หนาท่ไี ดด ําเนินการไปกอ นทีศ่ าลไดรับฟอ งคดี และ
ใหเจาหนาท่ีดําเนินการตามมาตรการบังคับทางปกครองในสวนนั้นตอไป
จนแลวเสร็จ

สว นที่ ๒
การบงั คบั ตามคาํ สัง่ ทางปกครองทกี่ าํ หนดใหชําระเงนิ

๑. การบงั คบั โดยเจา หนาทขี่ องหนวยงานของรัฐ

33

มาตรา ๖๓/๗ ในกรณีทีเ่ จา หนาทมี่ คี าํ ส่งั ทางปกครองทก่ี ําหนดให
ชาํ ระเงนิ ถาถงึ กาํ หนดแลว ไมมีการชําระโดยถูกตองครบถวน ใหเจาหนาที่
ผูทําคําสั่งทางปกครองมีหนังสือเตือนใหผูนั้นชําระภายในระยะเวลา
ที่กําหนดแตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาไมมีการปฏิบัติตามคําเตือน
เจาหนาที่มีอํานาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัด
ทรัพยส ินของผนู น้ั และขายทอดตลาดเพ่อื ชาํ ระเงนิ ใหค รบถว นได

ในการใชมาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหน่ึง ใหแตงตั้ง
เ จ า พ นั ก ง า น บั ง คั บ ท า ง ป ก ค ร อ ง เ พื่ อ ดํ า เ นิ น ก า ร ยึ ด ห รื อ อ า ยั ด แ ล ะ
ขายทอดตลาดทรัพยสนิ ตอไป

เจาหนาที่ผูออกคําส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครอง และการ
แตงตั้งเจาพนักงานบังคับทางปกครอง ใหเปนไปตามที่กําหนด
ในกฎกระทรวง

มาตรา ๖๓/๘ หนวยงานของรัฐที่ออกคําสั่งใหชําระเงิน
ตองดําเนินการยึดหรืออายัดทรัพยสินภายในสิบปนับแตวันท่ีคําสั่งทาง
ปกครองท่ีกาํ หนดใหชําระเงินเปน ทีส่ ุด

คาํ ส่ังทางปกครองท่กี ําหนดใหชาํ ระเงินเปนทสี่ ุดในกรณดี ังตอไปนี้
(๑) ไมมีการอุทธรณคําส่ังตอเจาหนาท่ีฝายปกครองภายใน
ระยะเวลาอทุ ธรณ
(๒) เจาหนาที่ผูมีอํานาจพิจารณาอุทธรณมีคําวินิจฉัยยกอุทธรณ
และไมม ีการฟอ งคดีตอ ศาลภายในระยะเวลาการฟองคดี
(๓) ศาลมีคําส่งั หรอื คําพิพากษายกฟอง หรอื เพกิ ถอนคาํ สงั่ บางสวน
และคดีถึงที่สดุ แลว

34

หากหนวยงานของรัฐท่ีออกคําส่ังใหชําระเงินไดยึดหรืออายัด
ทรัพยสินแลว แตยังไมไดรับชําระเงินครบถวน และลวงพนกําหนดเวลา
ตามวรรคหนง่ึ จะยดึ หรอื อายัดทรพั ยส นิ เพมิ่ เติมอกี มไิ ด

การขายทอดตลาดหรือจําหนายโดยวิธีอื่นซึ่งทรัพยสินของผูอยูใน
บังคับของมาตรการบังคับทางปกครองท่ีถูกยึดหรืออายัดไวภายใน
กาํ หนดเวลาตามวรรคหนึง่ เพ่อื ชาํ ระเงนิ รวมทั้งคาธรรมเนียม คาตอบแทน
หรือคาใชจายอ่ืนในการบังคับทางปกครอง ใหกระทําไดแมลวงพน
ระยะเวลาดงั กลา ว

มาตรา ๖๓/๙ กรณีท่ีมีการอุทธรณการใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองและขอทุเลาการบังคับตามมาตรการดังกลาว เจาหนาท่ี
ผูออกคําสั่งใชมาตรการบังคับทางปกครอง หรือผูมีอํานาจพิจารณา
คําอุทธรณ อาจสง่ั ใหม กี ารทเุ ลาการบังคบั ทางปกครองไวก อนก็ได โดยมีอํานาจ
กําหนดเง่ือนไขใหผ อู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบังคับทางปกครองตองปฏิบัติ
ดว ยก็ได

มาตรา ๖๓/๑๐ เพ่ือประโยชนในการบังคับทางปกครอง
ใหเจา หนา ที่ผอู อกคาํ สง่ั ใชม าตรการบงั คับทางปกครองมีอํานาจ

(๑) มหี นงั สือสอบถามสถาบันการเงิน สหกรณออมทรัพย สหกรณ
เครดติ ยูเนยี น ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย กรมที่ดิน กรมการขนสง
ทางบก กรมทรพั ยส ินทางปญญา หรอื หนวยงานอ่นื ของรัฐท่ีมีหนา ทคี่ วบคุม
ทรัพยสินท่ีมีทะเบียน เกี่ยวกับทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการ
บงั คบั ทางปกครอง

(๒) มหี นังสือขอใหนายทะเบียน พนักงานเจาหนาท่ี หรือบุคคลอื่น
ผมู ีอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายระงบั การจดทะเบียนหรือแกไขเปลี่ยนแปลง

35

ทางทะเบียนที่เก่ียวกับทรัพยสินของผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครองไวเ ปน การช่ัวคราวเทาที่จาํ เปน เน่อื งจากมีเหตุขัดขอ งท่ที าํ ใหไม
อาจยึดหรืออายัดทรัพยสินไดทันที และเม่ือเหตุขัดของส้ินสุดลงใหแจง
ยกเลิกหนังสือดังกลาว ทั้งน้ี ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑเกี่ยวกับการระงับ
การจดทะเบียนหรือแกไขเปลย่ี นแปลงทางทะเบียนตามกฎหมายวา ดว ยการน้ัน

หนว ยงานตาม (๑) ทใี่ หขอ มลู แกเ จาหนาที่ผูออกคําสั่งใชมาตรการ
บังคับทางปกครองในการดําเนนิ การตาม (๑) ใหถือวาไมเปนความผิดตาม
กฎหมายวาดวยธุรกิจสถาบันการเงิน กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและ
ตลาดหลักทรัพย และกฎหมายอ่ืน

ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือของเจาหนาท่ีผูออกคําสั่งใชมาตรการ
บงั คบั ทางปกครองตามวรรคหน่ึงโดยไมมเี หตผุ ลอนั สมควร ผูนั้นมีความผิด
ฐานขัดคําสั่งเจาพนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๖๓/๑๑ ในการสืบหาทรัพยสินของผูอยูในบังคับของ
มาตรการบังคับทางปกครองหนวยงานของรัฐที่ออกคําส่ังใหชําระเงินอาจ
รองขอใหสํานักงานอัยการสูงสุดหรือหนวยงานอื่นดําเนินการสืบหา
ทรพั ยส นิ แทนได โดยใหหนว ยงานดงั กลาวมีอํานาจตามมาตรา ๖๓/๑๐ ดว ย

ในกรณีที่หนวยงานของรัฐท่ีออกคําสั่งใหชําระเงินไมมีเจาหนาท่ี
ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร สื บ ห า ท รั พ ย สิ น แ ล ะ ห า ก จํ า น ว น เ งิ น ที่ ต อ ง ชํ า ร ะ
ตามมาตรการบังคับทางปกครองน้ันมีมูลคาตั้งแตสองลานบาทขึ้นไปหรือ
ตามมูลคาท่ีกําหนดเพ่ิมขึ้นโดยกฎกระทรวง หนวยงานของรัฐอาจ
มอบหมายใหเ อกชนสบื หาทรพั ยส ินแทนได

ใหเ อกชนที่สบื พบทรพั ยส ินไดรับคาตอบแทนไมเกนิ รอยละสองครึ่ง
จากเงนิ หรอื ทรพั ยส ินทไ่ี ดม าจากการยดึ อายดั หรือขายทอดตลาดทรัพยส ิน
ที่สืบพบได ท้ังนี้ จํานวนเงินคาตอบแทนสูงสุดตองไมเกินหน่ึงลานบาท

36

ตอจาํ นวนเงนิ ท่ีตอ งชาํ ระตามคาํ สงั่ ทางปกครองในเรอื่ งนน้ั หรอื ตามจาํ นวน
ทีก่ ําหนดเพิม่ ขึน้ โดยกฎกระทรวง

หลกั เกณฑและวิธีการคัดเลอื กเอกชนทสี่ ืบหาทรัพยส นิ การกาํ หนด
คาตอบแทน และวิธีการจายคาตอบแทนตามวรรคสาม ใหเปนไปตามท่ี
กาํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๖๓/๑๒ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการยึด การอายัด
และการขายทอดตลาดทรัพยสินใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีท่ีกฎกระทรวงไมไดกําหนดเร่ืองใดไว ใหนําบทบัญญัติในประมวล
กฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพง มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม โดยใหถือวา

(๑) เจาหนี้ตามคาํ พพิ ากษา หมายถึง หนว ยงานของรัฐที่ออกคําส่ัง
ใหชําระเงิน

(๒) ลูกหน้ีตามคําพิพากษา หมายถึง ผูอยูในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครอง

(๓) อาํ นาจของศาลในสวนทีเ่ ก่ยี วกับการบังคับคดี เปนอํานาจของ
หัวหนา หนวยงานของรฐั ท้ังนตี้ ามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

(๔) เจาพนกั งานบังคับคดี หมายถึง เจา พนกั งานบงั คบั ทางปกครอง
มาตรา ๖๓/๑๓ การโตแยงหรือการใชส ิทธิทางศาลเกยี่ วกบั การยดึ
การอายัด และการขายทอดตลาดทรพั ยสนิ โดยผูอยูในบังคับของมาตรการ
บังคับทางปกครอง รวมท้ังบุคคลภายนอกผูมีสวนไดเสียเกี่ยวกับทรัพยสิน
ที่ถกู ยดึ หรืออายดั ใหเ สนอตอศาล ดงั ตอ ไปนี้
(๑) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพยสินทางปญญาและ
การคา ระหวา งประเทศศาลเยาวชนและครอบครวั หรอื ศาลชํานัญพิเศษอ่ืน

37

แลว แตกรณี ซง่ึ เปนศาลที่มีเขตอาํ นาจในการพิจารณาพิพากษาคดเี กี่ยวกับ
คําสัง่ ท่ีมกี ารบงั คบั ทางปกครองนนั้

(๒) ศาลปกครอง สําหรบั กรณอี นื่ ทไ่ี มอ ยูภายใตบงั คับ (๑)
มาตรา ๖๓/๑๔ กรณีที่เจาหนี้ตามคําพิพากษาในคดีอ่ืนไดมีการ
ยึดทรพั ยส ินหรืออายัดสิทธิเรียกรองอื่นใดของผูอยูในบังคับของมาตรการ
บงั คับทางปกครองเพื่อนําเงินมาชําระตามคําพิพากษาใหหนวยงานของรัฐ
ท่ี อ อ ก คํ า ส่ั ง ใ ห ชํ า ร ะ เ งิ น มี สิ ท ธิ ข อ เ ข า เ ฉ ล่ี ย ไ ด เ ช น เ ดี ย ว กั บ เ จ า ห น้ี
ตามคําพพิ ากษา

๒. การบังคบั โดยเจาพนกั งานบงั คบั คดี

มาตรา ๖๓/๑๕ ในกรณีที่มีการบังคับใหชําระเงินและคําสั่ง
ทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงนิ เปน ท่ีสุดแลว หากหนว ยงานของรัฐท่ีออก
คําสั่งใหชําระเงินประสงคใหเจาพนักงานบังคับคดีในสังกัดกรมบังคับคดี
ดําเนินการบังคับใหเปนไปตามคําสั่งทางปกครองดังกลาว ใหยื่นคําขอ
ฝา ยเดียวตอศาลภายในสบิ ปนบั แตว ันที่คําสง่ั ทางปกครองทีก่ ําหนดใหชําระเงิน
เปนที่สุด เพ่ือใหศาลออกหมายบังคับคดีเพื่อบังคับใหเปนไปตามคําสั่ง
ทางปกครองนั้น โดยระบุจํานวนเงินที่ผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครองยังมไิ ดช ําระตามคาํ ส่งั ทางปกครอง ทัง้ น้ี ไมวา หนวยงานของรัฐ
ยงั ไมไ ดบงั คับทางปกครองหรือไดดาํ เนินการบังคับทางปกครองแลว แตยัง
ไมไดร ับชําระเงินหรอื ไดร บั ชาํ ระเงนิ ไมครบถว น

เมื่อหนวยงานของรัฐย่ืนคําขอตามวรรคหนึ่ง ถาศาลเห็นวาคําสั่ง
ทางปกครองท่กี าํ หนดใหช าํ ระเงินเปนที่สุดแลว ใหศาลออกหมายบังคับคดี

38

ตั้ ง เ จ า พ นั ก ง า น บั ง คั บ ค ดี แ ล ะ แ จ ง ใ ห เ จ า พ นั ก ง า น บั ง คั บ ค ดี ท ร า บ
เพือ่ ดาํ เนนิ การตอ ไป โดยใหถ อื วาหนวยงานของรัฐท่ีออกคําสั่งใหชําระเงิน
เปนเจา หนต้ี ามคําพิพากษาและใหถือวาผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครองเปนลูกหนี้ตามคําพพิ ากษา

เม่ือศาลออกหมายบังคับคดีแลว ใหหนวยงานของรัฐติดตอ
กรมบังคับคดี พรอมท้ังมีหนังสือแจงใหผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครองทราบวาศาลไดตั้งเจาพนักงานบังคับคดีเพ่ือดําเนินการ
บงั คบั คดีแลว

เพื่อประโยชนในการบังคับคดีตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาศาลจังหวัด
ศาลแพง ศาลแพงกรุงเทพใต ศาลแพงธนบุรี หรือศาลแพงอื่น
ในกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี ท่ีผูอยูในบังคับของมาตรการบังคับ
ทางปกครองมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาล หรือที่ทรัพยสินท่ีถูกบังคับ
ทางปกครองน้นั ตั้งอยูใ นเขตศาลมีอํานาจวินิจฉัยช้ีขาด หรือทําคําส่ังในเรื่องใด ๆ
อนั เกีย่ วดวยการบงั คับคดี และเปน ศาลท่ีมีอํานาจในการบังคับคดี

กรณีคําขอซึ่งอาจยนื่ ตอ ศาลไดมากกวาหน่ึงศาล ไมว าจะเปนเพราะ
ภมู ิลาํ เนาของผอู ยใู นบงั คับของมาตรการบังคบั ทางปกครองก็ดี เพราะท่ีต้ัง
ของทรัพยสินท่ีถูกบังคับทางปกครองก็ดี หรือเพราะมีผูอยูในบังคับ
ของมาตรการบังคบั ทางปกครองหลายคนในมลู หนที้ ่เี ก่ียวของกันก็ดี จะยื่น
คาํ ขอตอ ศาลใดศาลหนึ่งเชนวา น้นั ก็ได

หนวยงานของรัฐตามมาตราน้ี หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม
หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอ่ืนและมีฐานะเปนกรม ราชการ
สวนภูมิภาค ราชการสวนทองถ่ิน และหนวยงานอื่นของรัฐตามท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง

39

มาตรา ๖๓/๑๖ ในกรณีท่ีคําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดใหชําระเงิน
เปน ท่ีสุดแลว และตอ มาผอู ยูในบงั คับของคําส่ังทางปกครองขอใหพิจารณา
คําสั่งทางปกครองที่เปนท่ีสุดแลวน้ันใหม หรือฟองคดีตอศาลเพ่ือให
พจิ ารณาเกย่ี วกบั คาํ สั่งทางปกครองท่ีเปนที่สุดแลวน้ันใหม หรือขอใหศาล
พิจารณาคดีใหมและหนวยงานของรัฐที่ออกคําสั่งใหชําระเงินหรือศาล
มีคําส่ังใหรับคําขอหรือไดรับคําฟองไวพิจารณา ผูอยูในบังคับของคําส่ัง
ทางปกครองอาจย่นื คํารอ งตอ ศาลท่มี อี ํานาจในการออกหมายบังคับคดีตาม
มาตรา ๖๓/๑๕ เพ่ือขอใหสั่งงดการบังคับคดีไวกอน หากศาลพิจารณา
คํารอ งแลวมคี าํ สง่ั ใหง ดการบังคับคดี ใหศาลสงคําส่ังน้ันไปใหเจาพนักงาน
บังคับคดีทราบ และใหเจาพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดีไวภายใน
ระยะเวลาหรือเง่ือนไขตามที่ศาลกําหนด รวมท้ังสงคําบอกกลาวงด
การบังคบั คดใี หห นว ยงานของรัฐท่อี อกคําสงั่ ใหชําระเงินและบคุ คลภายนอก
ผูมีสวนไดเ สยี ทราบโดยไมช กั ชา

ถาหนวยงานของรัฐที่ออกคําส่ังใหชําระเงินย่ืนคํารองวาอาจไดรับ
ความเสียหายจากการย่นื คํารอ งตามวรรคหน่งึ และมพี ยานหลักฐานเบ้ืองตน
แสดงวาคํารองนั้นไมมีมูลและยื่นเขามาเพ่ือประวิงการบังคับคดี ศาลมี
อํานาจส่ังใหผูอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครองวางเงินหรือหาประกัน
ตามที่ศาลเห็นสมควรภายในระยะเวลาที่ศาลจะกําหนด เพื่อเปนประกัน
การชาํ ระคา สินไหมทดแทนแกห นวยงานของรฐั สาํ หรับความเสียหายท่ีอาจ
ไดร ับเน่อื งจากเหตุเน่ินชาในการบังคบั คดีอนั เกิดจากการย่ืนคํารองนั้นหรือ
กําหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุมครองอยางใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได
ถาผอู ยูใ นบงั คับของคําสั่งทางปกครองไมปฏิบตั ติ ามคาํ ส่งั ศาล ใหศาลสั่งให
ดําเนนิ การบงั คบั คดตี อ ไป

ในกรณตี ามวรรคหนึง่ หากหนวยงานของรัฐทีอ่ อกคาํ สงั่ ใหช ําระเงนิ
ห รื อ ศ า ล ที่ มี เ ข ต อํ า น า จ ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า พิ พ า ก ษ า ค ดี เ กี่ ย ว กั บ คํ า สั่ ง

40

ทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงิน ไดมีคําสั่งใหทบทวนคําสั่งทางปกครอง
ท่เี ปน ทสี่ ดุ นน้ั ใหม ใหหนว ยงานของรฐั ทอี่ อกคาํ สงั่ ใหชําระเงินยื่นคํารองตอ
ศาลที่มีอํานาจออกหมายบังคับคดีตามมาตรา ๖๓/๑๕ เพื่อเพิกถอนการ
บังคับคดีทไี่ ดด ําเนนิ การไปแลว ในกรณีท่ีศาลเหน็ วาเปน การพน วสิ ยั ที่จะให
คูความกลับสูฐานะเดิม หรือเมื่อศาลเห็นวาไมจําเปนท่ีจะบังคับใหเปนไป
ตามหมายบังคับคดีตอไป เพื่อประโยชนแกคูความหรือบุคคลภายนอก
ใหศ าลมีอาํ นาจสง่ั อยา งใด ๆ ตามที่ศาลเหน็ สมควร และแจงใหเจาพนักงาน
บังคบั คดีทราบ

มาตรา ๖๓/๑๗ เพ่ือประโยชนในการบังคับคดี ใหนําความใน
มาตรา ๖๓/๑๐ และมาตรา ๖๓/๑๑ มาใชบ งั คับกับการสืบหาทรัพยสินของ
ผอู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบงั คบั ทางปกครองดว ย

มาตรา ๖๓/๑๘ หนวยงานของรัฐที่ออกคําส่ังใหชําระเงิน
ตองดาํ เนนิ การสืบทรัพยแลวแจงใหเจาพนักงานบังคับคดีทราบพรอมเอกสาร
หลกั ฐานทีเ่ กยี่ วขอ งเพือ่ ใหเจาพนักงานบงั คับคดดี าํ เนินการเพ่ือใหมีการยึด
หรืออายัดทรัพยสินภายในสิบปนับแตวันท่ีคําสั่งทางปกครองที่กําหนดให
ชําระเงินเปนท่ีสุดและใหนําความในมาตรา ๖๓/๘ วรรคสามและวรรคสี่
มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม

มิใหนําระยะเวลาระหวางการงดการบังคับคดีตามคําสั่งศาลตาม
มาตรา ๖๓/๑๖ วรรคหนึ่ง มานับรวมในระยะเวลาสิบปตามวรรคหนงึ่

มาตรา ๖๓/๑๙ เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีและแตงต้ัง
เจาพนักงานบังคับคดีแลว การดําเนินการบังคับใหเปนไปตามคําส่ัง

41


Click to View FlipBook Version