The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wannawat, 2022-04-28 22:14:24

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พรบวิปฏิบัติ

ระเบยี บคณะกรรมการวิธีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
วา ดว ยหลกั เกณฑก ารใหค ําปรกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๔๑

142

ระเบยี บคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์การให้คาปรึกษา
พ.ศ. ๒๕๔๑๑

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๒) แห่งพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ คณะกรรมการวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง ออกระเบียบกาหนดหลักเกณฑ์การให้คาปรึกษาไว้
ดงั ต่อไปนี้

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครองวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์การใหค้ าปรกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑”

ข้อ ๒ ในระเบียบน้ี
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ท า ง ป ก ค ร อ ง ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ท า ง ป ก ค ร อ ง
พ.ศ. ๒๕๓๙
“หน่วยงาน” หมายความว่า หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ
รฐั วิสาหกิจราชการส่วนท้องถน่ิ หรอื องค์กรอนื่ ของรัฐทเี่ ปน็ นติ บิ ุคคล
ข้อ ๓ การขอคาปรึกษาเก่ียวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ให้เจ้าหนา้ ทเ่ี สนอเรื่องท่จี ะขอปรกึ ษานนั้ ตอ่ หวั หน้าหน่วยงานทตี่ นสงั กดั

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕ ตอนพิเศษ ๑๒๒ ง วันท่ี ๑๔
ธนั วาคม ๒๕๔๑ (หน้า ๑๗-๑๘)
143

เ ม่ื อ หั ว ห น้ า ห น่ ว ย ง า น เ ห็ น ส ม ค ว ร ใ ห้ ส่ ง เ รื่ อ ง ใ ห้ เ ล ข า ธิ ก า ร
คณะกรรมการกฤษฎีกาเพื่อเสนอตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาต่อไป

ข้อ ๔ การขอคาปรึกษาเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการตาม
พระราชบัญญัติน้ีของสภาหรือคณะกรรมการวิชาชีพอิสระ ให้สภาหรือ
คณะกรรมการดังกล่าวส่งเรื่องโดยตรง ให้เลขาธิการคณะกรรมการ
กฤษฎีกาเพอ่ื เสนอตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาต่อไป

ข้อ ๕ ในกรณีที่เคยมีการให้คาปรึกษาหรือคาแนะนาในประเด็น
เดียวกันหรือในประเด็นท่ีอยู่ในลักษณะเดียวกันมาก่อนแล้ว เลขาธิการ
คณะกรรมการกฤษฎีกาจะส่งคาปรึกษาหรือคาแนะนาท่ีเคยมีมาแล้วนั้น
ไปให้หน่วยงาน สภาหรือคณะกรรมการวิชาชีพอิสระที่ขอคาปรึกษา โดย
ไม่ตอ้ งเสนอต่อคณะกรรมการเพือ่ พิจารณาใหม่กไ็ ด้

ข้อ ๖ ในการพิจารณาให้คาปรึกษา คณะกรรมการหรือสานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกาอาจเชิญบุคคลดังต่อไปนี้ไปช้ีแจงแถลงข้อเท็จจริง
หรอื ให้ความเห็นเพอ่ื ประกอบการพจิ ารณา

(๑) ผู้แทนหน่วยงาน ผู้แทนสภาหรือคณะกรรมการวิชาชีพอิสระ
ท่ีขอคาปรกึ ษา

(๒) ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองที่พิจารณาตามท่ี
คณะกรรมการหรอื สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาเหน็ สมควร

ใ น ก ร ณี ที่ ก า ร พิ จ า ร ณ า เ ป็ น เ ร่ื อ ง เ กี่ ย ว กั บ สิ ท ธิ ข อ ง เ อ ก ช น แ ล ะ
คณะกรรมการเห็นว่าการฟังความคิดเห็นของเอกชนจะเป็นประโยชน์
คณะกรรมการจะขอให้สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเชิญผู้แทน

144

ของสถาบันฝายเอกชน หรอื บุคคลอนื่ ท่ีคณะกรรมการเห็นสมควร เขารวม
ชแี้ จงใหข อเท็จจรงิ หรอื แสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการพจิ ารณาดว ยก็ได

ขอ ๗ เมื่อคณะกรรมการไดพิจารณาและมีการใหคําปรึกษาแลว
ใหส าํ นกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาสงเรอ่ื งดงั กลาวใหห นวยงาน สภาหรือ
คณะกรรมการวชิ าชีพอิสระท่ีขอคําปรึกษาทราบโดยเร็ว

ขอ ๘ ระเบยี บนใ้ี หใชบังคับตง้ั แตวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๔๑ เปน ตนไป
ใหไว ณ วันที่ ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๑
เฉลมิ ชัย วสนี นท

ประธานคณะกรรมการวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

145

คาํ แนะนําของคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง
ที่ ๑/๒๕๔๐

เร่ือง หลักเกณฑก ารแจงสิทธใิ นการอทุ ธรณหรอื โตแ ยง
คาํ สั่งทางปกครอง

146

คาํ แนะนําของคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
ท่ี ๑/๒๕๔๐

เรอื่ ง หลกั เกณฑก ารแจง สทิ ธใิ นการอทุ ธรณหรอื โตแ ยง
คาํ ส่งั ทางปกครอง

ดวยคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีความเห็นวา
เมื่อพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผล
ใชบ ังคับ (ต้ังแตวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐) การแจงคําสั่งทางปกครอง
ใหแ กบ ุคคลทเี่ กีย่ วของจะมีหลักเกณฑบางประการท่ีแตกตางไปจากท่ีเคย
เปน มา กลาวคือ การแจง คําส่งั ทางปกครองจะตอ งปฏิบัติตามมาตรา ๔๐ ๑
33
แหงพระราชบญั ญัติวิธีปฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่กําหนดวา
คําส่ังทางปกครองท่ีอาจอทุ ธรณหรือโตแยงตอไปได เจาหนาท่ีผูออกคําส่ัง
ทางปกครองตองแจงใหผูรับคําสั่งทราบถึงรายละเอียดและระยะเวลา
ในการย่ืนอุทธรณหรือโตแยงคําส่ังดังกลาวดวย ในกรณีท่ีเจาหนาท่ี
ผอู อกคําส่ังทางปกครองมไิ ดแ จงรายละเอียดและระยะเวลาในการอุทธรณ
หรือโตแยงไวในคาํ สัง่ และไมม ีการแจงการใชส ทิ ธิในการอทุ ธรณหรือโตแยง

๑ มาตรา ๔๐ คําส่ังทางปกครองที่อาจอุทธรณหรือโตแยงตอไปไดใหระบุ
กรณีที่อาจอุทธรณหรือโตแยง การยื่นคําอุทธรณหรือคําโตแยง และระยะเวลา
สําหรับการอทุ ธรณห รอื การโตแยง ดังกลา วไวดวย

ในการท่ีมีการฝาฝนบทบัญญัติตามวรรคหน่ึง ใหระยะเวลาสําหรับ
การอุทธรณห รอื การโตแ ยงเร่ิมนับใหมต้ังแตวันทีไ่ ดรบั แจง หลกั เกณฑตามวรรคหนึ่ง
แตถาไมมีการแจงใหมและระยะเวลาดังกลาว มีระยะเวลาส้ันกวาหน่ึงป ใหขยาย
เปน หน่งึ ปนับแตว นั ทไ่ี ดรบั คําสง่ั ทางปกครอง

147

ใหมในภายหลัง ระยะเวลาในการอุทธรณหรือโตแยงจะขยายออกไป
เปน หนึ่งป ตามมาตา ๔๐ วรรคสอง แหง พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกผูรับคําส่ัง
ทางปกครองและจะสงผลใหท างราชการตองผกู พนั ในการพจิ ารณาอทุ ธรณ
หรอื โตแ ยงคาํ ส่ังทางปกครองนานขึน้ กวา กฎหมายในเรื่องนั้น ๆ ไดบัญญตั ิไว

ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วิ ธี ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ท า ง ป ก ค ร อ ง เ ห็ น ว า ก า ร
แจงรายละเอียดและระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณหรือโตแยงคําสั่ง
ทางปกครองแกคูกรณเี ปนเรือ่ งทมี่ ีความสําคญั เพราะเปนการคุมครองสิทธิ
ของคกู รณีผูรับคําส่ัง สมควรแนะนําใหเจาหนาท่ีผูออกคําส่ังทางปกครอง
ปฏบิ ตั ิใหค รบถวนถกู ตอ งตามขอ กําหนดทีบ่ ัญญัติไวในมาตรา ๔๐ วรรคหน่ึง
แหง พระราชบญั ญัตวิ ิธีปฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังน้ี

๑. รายละเอียดในการแจงสิทธิอุทธรณหรือโตแยงคําสั่ง
ทางปกครอง

(๑) ระบกุ รณที ี่อาจอทุ ธรณหรือโตแยงไวในคําส่ังในกรณีเปนคําสั่ง
ทางปกครองท่อี าจอทุ ธรณห รอื โตแยงตอไปได

(๒) ระบุการยื่นคําอุทธรณหรือคําโตแยง ประกอบดวย บุคคล
ผรู ับคําอทุ ธรณห รอื คําโตแ ยง สถานท่ีย่ืนคําอุทธรณหรือคําโตแยง เงื่อนไข
อันเปน สาระสาํ คัญในการอทุ ธรณห รอื โตแยง ในกรณที ่กี ฎหมายกําหนดไว

(๓) ระบุระยะเวลาสําหรบั การย่นื อุทธรณห รือโตแ ยง
ตัวอยางเชน ใชขอความวา “ถาหากทานประสงคจะอุทธรณหรือ
โตแยงคําส่ังนี้ใหยื่นอุทธรณหรือโตแยงคําสั่งดังกลาวตอ ..........(๑).........
ภายใน.....(๒).....นบั แตว ันท่รี บั ทราบคําสัง่ น้ี”

148

หมายเหตุ (๑) ใหระบุ บุคคล คณะบคุ คล หรือเจาหนา ที่ผูรับอุทธรณค ําสั่ง
ทางปกครอง

(๒) ใหระบรุ ะยะเวลาในการยนื่ อทุ ธรณ
๒. กรณที ตี่ อ งแจง รายละเอยี ดและระยะเวลาในการอทุ ธรณห รือ
โตแ ยงคําส่ังทางปกครองทท่ี ําเปน หนังสือ อาจแยกเปนกรณีไดด งั นี้
(ก) ในกรณีมีกฎหมายเฉพาะเร่ืองกําหนดระยะเวลาอุทธรณหรือ
โตแยงคําสั่งไว เชน การยื่นอุทธรณตามมาตรา ๔๘ แหงพระราชบัญญัติ
การขนสง ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒
“มาตรา ๔๘ ผูรับใบอนุญาตประกอบการขนสงซ่ึงถูกสั่งเพิกถอน
ใบอนุญาตมสี ิทธอิ ทุ ธรณต อรัฐมนตรภี ายในสบิ หาวันนับแตวันท่ีทราบคําสง่ั

ฯลฯ ฯลฯ”
หรอื การยนื่ อทุ ธรณต ามมาตรา ๒๐ แหงพระราชบัญญัตพิ นั ธุพชื พ.ศ. ๒๕๑๘

“มาตรา ๒๐ ถาพนักงานเจาหนาท่ีไมออกใบอนุญาต หรือไม
อนุญาตใหตออายุใบอนุญาต ผูขอใบอนุญาตหรือผูขอตออายุใบอนุญาต
มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับ
หนังสือของพนักงานเจาหนาท่ีแจงการไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาต
ใหตอ อายใุ บอนุญาต

ฯลฯ ฯลฯ”
ในกรณนี ีใ้ หเ จาหนาท่ีผอู อกคําสั่งทางปกครองแจง รายละเอียดและ
ระยะเวลาตามทก่ี ําหนดไวใ นกฎหมายดังกลาว
(ข) ในกรณีไมมีกฎหมายเฉพาะกําหนดระยะเวลาในการใชสิทธิ
อุทธรณหรือโตแยงคําส่ังไวใหเจาหนาท่ีผูออกคําสั่งแจงใหผูรับคําส่ัง
ย่นื อทุ ธรณหรอื โตแยงคาํ สัง่ ตอเจาหนา ทผ่ี ูออกคําสั่งภายในสิบหาวันนับแต

149

วันที่ไดรับแจงคําส่ังตามท่ีกําหนดไวในมาตรา ๔๔ ๒ ของพระราชบัญญัติ
34
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เชน มาตรา ๒๑
แหง พระราชบญั ญตั อิ ุทยานแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔
“มาตรา ๒๑ ใหพ นักงานเจา หนาทมี่ ีอาํ นาจออกคําส่ังใหผูกระทําผิด
ตามมาตรา ๑๖ ออกจากเขตอุทยานแหงชาติหรืองดเวนการกระทําใด ๆ
ในเขตอุทยานแหง ชาติ”

๓. กรณีคําส่ังทางปกครองท่ีไมอยูในบังคับที่ตองแจงใหคูกรณี
ทราบถงึ การใชส ทิ ธิอุทธรณหรอื โตแยง ตามมาตรา ๔๐๓
35
คาํ สงั่ ดว ยวาจาโดยสภาพไมสามารถแจงรายละเอียดและระยะเวลา
ใหใชส ิทธิอุทธรณไ ด ถาผูรบั คาํ สง่ั รอ งขอโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวัน
นับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาวเจาหนาท่ีผูออกคําสั่งตองยืนยันคําสั่งน้ัน
เปนหนังสือตามมาตรา ๓๕ ๔ และในคําสั่งยืนยันเปนหนังสือดังกลาว
36

๒ มาตรา ๔๔ ภายใตบ งั คบั มาตรา ๔๘ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองใดไมได
ออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝายปกครอง
ไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคําส่ังทางปกครอง น้ัน โดยยื่นตอเจาหนาที่
ผทู ําคาํ ส่ังทางปกครองภายในสบิ หา วนั นับแตวันทตี่ นไดรบั แจง คาํ ส่ังดงั กลาว

คําอุทธรณตองทําเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือ
ขอ กฎหมายทอ่ี า งอิงประกอบดวย

การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง เวนแต
จะมกี ารสง่ั ใหท เุ ลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหน่งึ

๓ โปรดดเู ชิงอรรถที่ ๑
๔ มาตรา ๓๕ ในกรณีท่คี าํ สั่งทางปกครองเปนคําส่ังดวยวาจา ถาผูรับคําสั่ง
น้ันรองขอและการรองขอไดกระทําโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแตวันท่ี
มคี าํ สั่งดังกลาว เจา หนาท่ผี อู อกคาํ ส่งั ตอ1ง5ย0ืนยันคาํ สั่งเปนหนังสอื

เจา หนา ท่ีตอ งแจง รายละเอยี ดและระยะเวลาในการย่ืนอุทธรณหรือโตแยง
ไวในหนังสือนั้นดวยโดยปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระบุไวในขอ (ก) หรือ (ข)
กลาวคอื ถา มกี ฎหมายเฉพาะกําหนดระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณหรือ
โตแยงไวก็ใหแจงรายละเอียดและระยะเวลาตามนั้น ถากฎหมายเฉพาะ
ไมไดกําหนดระยะเวลาดังกลาวไว ก็ใหเจาหนาท่ีผูออกคําสั่งแจงใหผูรับ
คาํ สั่งยืน่ อทุ ธรณหรือโตแ ยงคําส่ังตอเจาหนาที่ผูออกคําส่ังภายในสิบหาวัน
นับแตวนั ทีไ่ ดร ับแจงคําสั่ง

๔. กรณที ีไ่ มอ ยูใ นบังคบั ท่ตี อ งแจงการใชส ทิ ธอิ ทุ ธรณห รอื โตแยง
ตามพระราชบัญญตั วิ ธิ ปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

โดยทห่ี นา ทีต่ องแจงสิทธอิ ุทธรณห รือโตแยงไวใ นคําสง่ั ทางปกครอง
นี้จะใชบังคับเฉพาะในกรณีที่มีบทบัญญัติแจงชัดไวในกฎหมายวาคําส่ัง
ทางปกครองใดของเจาหนาที่ตองอุทธรณหรือโตแยงอยางไรและภายใน
ระยะเวลาเทาใดเทา นนั้ สวนกรณีท่กี ระบวนการพจิ ารณาของฝายปกครอง
สน้ิ สดุ ลงแลว และคูกรณียังไมพอใจในผลของคาํ สัง่ ทางปกครองนั้น คูกรณี
ยอ มมสี ทิ ธิทีจ่ ะนําเรื่องไปฟองเปนคดตี อศาลปกครองไดตอไปตามหลักการ
ทบทวนทางกฎหมาย ซึ่งในกรณีดังกลาวเจาหนาที่ไมอยูในสภาพท่ีจะ
รับผิดชอบไดวาเรื่องใดจะรองทุกขตอคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขหรือ
ฟองศาลไดหรือไมแ ละภายในระยะเวลาใดโดยแนชัด ดังนั้น เจาหนาท่ีจึง
ไมมีหนาท่ีตองแจงรายละเอียดและระยะเวลาในการใชสิทธิอุทธรณหรือ
โตแยงตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
อยางไรก็ตาม เจาหนาที่จะแนะนําถึงสิทธิท่ีจะนําเร่ืองไปรองทุกข
ตอคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยรองทุกขหรือฟอ งคดีตอศาลตามทเี่ หน็ สมควรก็ได

151

๕. ปญหาคาบเก่ียวในการใชพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
เน่ืองจากหลักการในพระราชบัญญัติดังกลาวถือวาการแจงสิทธิ
ในการอทุ ธรณหรือโตแยง คําส่ังทางปกครองเปนสวนหน่ึงของการทําคําส่ัง
ทางปกครอง การไมแจง รายละเอียดและระยะเวลาในการย่ืนอุทธรณหรือ
โตแยงจะมีผลเปนการขยายระยะเวลาอุทธรณหรือโตแยงท่ีสั้นกวาหนึ่งป
ออกไปเปนหนง่ึ ปและมผี ลใชบงั คับแกคําส่ังทางปกครองท่ีออก ต้ังแตวันท่ี
๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ เปนตนไป ดังนั้น คําส่ังทางปกครองที่ออกกอน
วนั ที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ การไมแจง รายละเอียดและระยะเวลาในการ
ย่ืนอุทธรณหรือโตแยงจึงไมอยูในบังคับของมาตรา ๔๐ ๕ วรรคสอง
37
แหงพระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

๖. แนวทางปฏิบัติเก่ียวกับคําส่ังทางปกครองที่ออกต้ังแตวันที่
๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ และเจา หนา ท่ไี มไ ดแจงสิทธิในการอุทธรณหรือ
โตแยงไวใ นคาํ ส่ังทางปกครอง

บรรดาคาํ สงั่ ทางปกครองท่อี อกต้ังแตวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐
เปนตนมา ถาเจาหนาที่ไมไดแจงรายระเอียดและระยะเวลาในการย่ืน
อุทธรณหรอื โตแยงใหผูรบั คําสงั่ ทราบ ผลทางกฎหมายจะทําใหระยะเวลา
การใชสิทธิอุทธรณหรือโตแยงที่สั้นกวาหนึ่งปขยายไปเปนหนึ่งปเสมอ
ฉะนัน้ เจาหนาท่ีควรพิจารณาวา จะแจงคําส่ังใหมหรือไม หากเห็นเปนการ
สมควรก็ใหแจงคําสั่งทางปกครองไปใหมพรอมทั้งกําหนดระยะเวลา
อทุ ธรณหรือโตแ ยง ไปดว ย เพ่ือใหร ะยะเวลาอุทธรณเ ปนไปตามท่ีกําหนดไว

๕ โปรดดูเชงิ อรรถ ๑

152

ในกฎหมายเฉพาะหรือตามมาตรา ๔๔ ๖ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
38
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แลวแตกรณี ทั้งน้ี เพ่ือมิใหการใชสิทธิ
อุทธรณในทุกเรื่องตองขยายระยะเวลาออกไปเปนหนึ่งปอันจะทําใหการ
บรหิ ารราชการไมตรงตามเจตนารมณของกฎหมาย

เฉลิมชยั วสนี นท
(นายเฉลิมชัย วสีนนท)
ประธานคณะกรรมการวธิ ีปฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง

๖ โปรดดูเชิงอรรถ ๒

153


Click to View FlipBook Version