The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wannawat, 2022-04-28 22:14:24

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พรบวิปฏิบัติ

ทางปกครองท่ีกําหนดใหชําระเงิน ใหเปนไปตามประมวลกฎหมาย
วธิ ีพจิ ารณาความแพง

สวนท่ี ๓
การบังคบั ตามคาํ สัง่ ทางปกครองทกี่ ําหนดใหก ระทาํ หรอื ละเวน กระทาํ

มาตรา ๖๓/๒๐ ในสวนน้ี
“คาปรับบังคับการ” หมายความวา คาปรับที่เจาหนาที่สั่งใหผูที่
ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งทางปกครองท่ีกําหนดใหกระทําหรือละเวน
กระทาํ ชําระเปนรายวนั ไปจนกวา จะยตุ กิ ารฝา ฝน คาํ ส่ังหรือไดมีการปฏิบัติ
ตามคาํ สง่ั แลว ไมวาจะเปน คาปรับที่กําหนดโดยพระราชบัญญัติน้ีหรือโดย
กฎหมายอน่ื
มาตรา ๖๓/๒๑ คาํ สงั่ ทางปกครองที่กําหนดใหกระทําหรือละเวน
กระทํา ถาผูอยูในบังคับของคําส่ังทางปกครองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม
เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองอยางหนึง่ อยางใด ดังตอไปนี้
(๑) เจา หนา ทเี่ ขา ดําเนนิ การดว ยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอ่ืน
กระทําการแทน โดยผูอยูในบังคับของคําสั่งทางปกครองจะตองชดใช
คาใชจายและเงินเพิ่มรายวันในอัตรารอยละย่ีสิบหาตอปของคาใชจาย
ดงั กลา วแกห นวยงานของรัฐทีเ่ จา หนาท่นี ้ันสังกดั
(๒) ใหมีการชําระคาปรับบังคับการตามจํานวนท่ีสมควรแกเหตุ
แตตองไมเกนิ หาหมน่ื บาทตอวัน
เจา หนา ท่รี ะดบั ใดมีอํานาจกําหนดคาปรับบังคับการจํานวนเทาใด
สาํ หรบั ในกรณใี ด ใหเปนไปตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

42

ในกรณีท่ีมีความจาเป็นที่จะต้องบังคับการโดยเร่งด่วนเพื่อป้องกัน
มิให้มีการกระทาท่ีขัดต่อกฎหมายที่มีโทษทางอาญาหรือมิให้เกิดความ
เสียหายต่อประโยชน์สาธารณะ เจ้าหน้าท่ีอาจใช้มาตรการบังคับ
ทางปกครองโดยไม่ต้องออกคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้กระทาหรือ
ละเว้นกระทาก่อนก็ได้ แต่ทั้งน้ีต้องกระทาโดยสมควรแก่เหตุและภายใน
ขอบเขตอานาจหน้าทขี่ องตน

มาตรา ๖๓/๒๒ ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครอง ตาม
มาตรา ๖๓/๒๑ เจ้าหน้าที่จะต้องมีคาเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทา
หรือละเว้นกระทาตามคาสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
ตามสมควรแก่กรณี คาเตือนดังกล่าวจะกาหนดไปพร้อมกับคาส่ัง
ทางปกครองก็ได้

คาเตอื นนั้นจะตอ้ งระบุ
(๑) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะกาหนด
มากกวา่ หนง่ึ มาตรการในคราวเดยี วกันไม่ได้
(๒) ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวันในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดาเนินการ
ด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บุคคลอ่ืนกระทาการแทน หรือจานวนค่าปรับ
บงั คับการ แล้วแต่กรณี
การกาหนดค่าใช้จ่ายในคาเตือน ไม่เป็นการตัดสิทธิท่ีจะเรียก
ค่าใช้จา่ ยเพิม่ ข้นึ หากจะต้องเสียคา่ ใช้จา่ ยจริงมากกว่าทไ่ี ด้กาหนดไว้

มาตรา ๖๓/๒๓ เจ้าหน้าที่จะต้องใช้มาตรการบังคับทางปกครอง
ตามท่ีกาหนดไว้ในคาเตือนตามมาตรา ๖๓/๒๒ การเปลี่ยนแปลง
มาตรการจะกระทาได้ก็ต่อเมื่อปรากฏว่ามาตรการท่ีกาหนดไว้ไม่บรรลุ
ตามวตั ถปุ ระสงค์

43

ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคาส่ังทางปกครองต่อสู้ขัดขวางการบังคับ
ทางปกครอง เจ้าหน้าที่อาจใช้กาลังเข้าดาเนินการเพ่ือให้เป็นไปตาม
มาตรการบังคบั ทางปกครองได้ แตต่ ้องกระทาโดยสมควรแก่เหตุ

ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง
เจ้าหนา้ ทอ่ี าจแจ้งขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนกั งานตารวจได้

มาตรา ๖๓/๒๔ ในกรณีไม่มีการชาระค่าปรับบังคับการ ค่าใช้จ่าย
หรือเงินเพิ่มรายวันโดยถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับ
ทางปกครองตามสว่ นที่ ๒ ตอ่ ไป

มาตรา ๖๓/๒๕ การฟ้องคดโี ต้แยง้ การบงั คบั ทางปกครองตามส่วนน้ี
ให้เสนอต่อศาลที่มีเขตอานาจในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับคาส่ัง
ทมี่ ีการบงั คับทางปกครองนั้น

หมวด ๓
ระยะเวลาและอายุความ

มาตรา ๖๔ กาหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีน้ัน มิให้
นับวันแรกแห่งระยะเวลาน้ันรวมเข้าด้วย เว้นแต่จะได้เร่ิมการในวันนั้นหรือ
มกี ารกาหนดไว้เป็นอยา่ งอน่ื โดยเจ้าหน้าที่

ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่มีหน้าท่ีต้องกระทาการอย่างหน่ึงอย่างใดภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด ให้นับวันสิ้นสุดของระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วยแม้ว่า
วันสดุ ท้ายเป็นวันหยดุ ทาการงานสาหรับเจ้าหน้าที่

44

ในกรณีท่ีบุคคลใดตองทําการอยางหน่ึงอยางใดภายในระยะเวลา
ที่กําหนดโดยกฎหมายหรือโดยคําสั่งของเจาหนาที่ ถาวันสุดทาย
เ ป น วั น ห ยุ ด ทํ า ก า ร ง า น สํ า ห รั บ เ จ า ห น า ท่ี ห รื อ วั น ห ยุ ด ต า ม ป ร ะ เ พ ณี
ของบุคคลผูรับคําส่ัง ใหถือวาระยะเวลานั้นส้ินสุดในวันทํางานที่ถัดจาก
วนั หยดุ นนั้ เวน แตก ฎหมายหรือเจา หนาท่ีที่มีคําส่งั จะกําหนดไวเปนอยา งอื่น

มาตรา ๖๕ ระยะเวลาท่กี ําหนดไวใ นคําส่ังของเจา หนาท่ีอาจมีการ
ขยายอีกได และถาระยะเวลานั้นไดส้ินสุดลงแลวเจาหนาที่อาจขยาย
โดยกําหนดใหมีผลยอนหลังไดเชนกันถาการสิ้นสุดตามระยะเวลาเดิม
จะกอ ใหเ กิดความไมเปนธรรมท่จี ะใหส ิ้นสุดลงตามนนั้

มาตรา ๖๖ ในกรณีท่ีผูใดไมอาจกระทําการอยางหนึ่งอยางใด
ภายในระยะเวลาที่กําหนดไวในกฎหมายไดเพราะมีพฤติการณที่จําเปน
อันมิไดเกิดข้ึนจากความผิดของผูนั้น ถาผูนั้นมีคําขอเจาหนาท่ีอาจขยาย
ระยะเวลาและดําเนินการสวนหน่ึงสวนใดที่ลวงมาแลวเสียใหมก็ได ท้ังน้ี
ตอ งยืน่ คาํ ขอภายในสิบหาวนั นบั แตพ ฤติการณเชนวาน้ันไดส้นิ สุดลง

มาตรา ๖๗ เม่ือมีการอุทธรณตามบทบัญญัติในสวนที่ ๕
ของหมวด ๒ แหงพระราชบัญญัตินี้ หรือการย่ืนคําขอตอคณะกรรมการ
วินิจฉัยขอพิพาทหรือคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวย
คณะกรรมการกฤษฎีกาเพอื่ ใหวนิ จิ ฉัยชขี้ าดแลวใหอายุความสะดุดหยุดอยู
ไมนับในระหวา งนน้ั จนกวาการพิจารณาจะถึงท่ีสุดหรือเสร็จไปโดยประการอื่น
แตถ าเสรจ็ ไปเพราะเหตุถอนคําขอหรือทิ้งคําขอใหถือวา อายุความเรียกรอง
ของผยู ื่นคําขอไมเ คยมีการสะดดุ หยุดอยูเลย

45

หมวด ๔
การแจง

มาตรา ๖๘ บทบัญญัตใิ นหมวดนี้มใิ หใชบังคบั กบั การแจง ซึ่งไมอาจ
กระทําโดยวาจาหรือเปนหนังสือไดหรือมีกฎหมายกําหนดวิธีการแจงไว
เปน อยา งอ่ืน

ในกรณีคําสั่งทางปกครองท่ีแสดงใหทราบโดยการส่ือความหมาย
ในรูปแบบอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหม ีผลเมื่อไดแจง

มาตรา ๖๙ การแจงคําสั่งทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือ
การอยางอ่นื ท่ีเจาหนา ท่ตี องแจง ใหผูท่ีเก่ยี วของทราบอาจกระทําดวยวาจาก็ได
แตถ าผูน ัน้ ประสงคจ ะใหกระทําเปน หนงั สอื ก็ใหแ จงเปน หนังสอื

การแจงเปนหนังสือใหสงหนังสือแจงตอผูนั้น หรือถาไดสงไปยัง
ภูมิลาํ เนาของผนู น้ั ก็ใหถอื วา ไดรบั แจงตัง้ แตในขณะทไี่ ปถงึ

ในการดําเนินการเร่ืองใดท่ีมีการใหที่อยูไวกับเจาหนาที่ไวแลว
การแจงไปยงั ท่ีอยดู ังกลาวใหถือวาเปนการแจง ไปยงั ภูมิลาํ เนาของผนู น้ั แลว

มาตรา ๗๐ การแจงเปนหนังสือโดยวิธีใหบุคคลนําไปสง ถาผูรับ
ไมยอมรับหรือถาขณะนําไปสงไมพบผูรับ และหากไดสงใหกับบุคคลใด
ซ่ึงบรรลุนิติภาวะท่ีอยูหรือทํางานในสถานท่ีนั้น หรือในกรณีที่ผูนั้น
ไมยอมรับ หากไดวางหนังสือน้ันหรือปดหนังสือนั้นไวในที่ซึ่งเห็นไดงาย
ณ สถานที่น้ันตอหนาเจาพนักงานตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงท่ีไปเปน
พยานกใ็ หถ อื วา ไดร บั แจง แลว

46

มาตรา ๗๑ การแจง โดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับใหถือวาไดรับแจง
เมื่อครบกําหนดเจ็ดวันนับแตวันสงสําหรับกรณีภายในประเทศ หรือ
เม่ือครบกําหนดสิบหาวันนับแตวันสงสําหรับกรณีสงไปยังตางประเทศ
เวน แตจะมีการพสิ ูจนไ ดวา ไมมีการไดรับหรือไดร ับกอนหรือหลงั จากวันน้ัน

มาตรา ๗๒ ในกรณที ่มี ผี รู บั เกินหา สิบคนเจาหนา ทจ่ี ะแจง ใหท ราบ
ตัง้ แตเ ริ่มดาํ เนนิ การในเร่ืองน้ันวาการแจงตอบุคคลเหลานั้นจะกระทําโดย
วิธีปดประกาศไว ณ ที่ทําการของเจาหนาที่และท่ีวาการอําเภอที่ผูรับ
มภี มู ลิ ําเนากไ็ ด ในกรณีนใี้ หถ อื วา ไดร บั แจงเมื่อลวงพนระยะเวลาสิบหาวัน
นบั แตวนั ที่ไดแ จง โดยวธิ ีดงั กลา ว

มาตรา ๗๓ ในกรณีท่ีไมรูตัวผูรับหรือรูตัวแตไมรูภูมิลําเนา หรือ
รูต ัวและภมู ิลาํ เนาแตม ผี รู บั เกินหนงึ่ รอยคน การแจงเปนหนังสือจะกระทํา
โดยการประกาศในหนังสือพิมพซ่ึงแพรหลายในทองถ่ินน้ันก็ได ในกรณีน้ี
ใหถือวาไดรับแจงเม่ือลวงพนระยะเวลาสิบหาวันนับแตวันท่ีไดแจงโดย
วธิ ีดงั กลา ว

มาตรา ๗๔ ในกรณีมีเหตุจาํ เปน เรง ดวนการแจง คําสั่งทางปกครอง
จะใชวิธสี ง ทางเคร่ืองโทรสารกไ็ ด แตต องมหี ลักฐานการไดส งจากหนวยงาน
ผจู ดั บริการโทรคมนาคมท่ีเปน สื่อในการสง โทรสารน้นั และตองจัดสงคําส่ัง
ทางปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหน่ึงตามหมวดนี้ใหแกผูรับในทันที
ท่ีอาจกระทําได ในกรณีน้ีใหถือวาผูรับไดรับแจงคําส่ังทางปกครอง
เปนหนังสือตามวัน เวลา ท่ีปรากฏในหลักฐานของหนวยงานผูจัดบริการ
โทรคมนาคมดังกลาว เวนแตจะมีการพิสูจนไดวาไมมีการไดรับหรือไดรับ
กอนหรอื หลังจากนั้น

47

หมวด ๕
คณะกรรมการที่มอี าํ นาจดําเนนิ การพจิ ารณาทางปกครอง

มาตรา ๗๕ การแตงตั้งกรรมการในลักษณะที่เปนผูทรงคุณวุฒิ
ใหแตงต้ังโดยระบตุ ัวบคุ คล

มาตรา ๗๖ นอกจากพนจากตําแหนงตามวาระ กรรมการ
พน จากตาํ แหนง เมื่อ

(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) เปนบุคคลลมละลาย
(๔) เปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมือนไรค วามสามารถ
(๕) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแต
เปนความผิดลหุโทษหรอื ความผดิ อนั ไดกระทาํ โดยประมาท
(๖) มีเหตุตองพนจากตําแหนงกอนครบวาระตามกฎหมาย
วาดว ยการนั้น
มาตรา ๗๗ ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงกอนวาระ
ผูมีอํานาจแตงต้ังอาจแตงต้ังผูอื่นเปนกรรมการแทนได และใหผูที่ไดรับ
แตงต้ังใหดํารงตําแหนงแทนอยูในตําแหนงเทากับวาระที่เหลืออยู
ของผซู ่งึ ตนแทน
ในกรณีที่มีการแตงต้ังกรรมการเพิ่มข้ึนในระหวางที่กรรมการ
ซ่ึงแตงตัง้ ไวแ ลว ยังมวี าระอยใู นตาํ แหนง ใหผ ูที่ไดรบั แตงตงั้ ใหเปน กรรมการ
เพ่ิมข้นึ อยใู นตาํ แหนงเทา กับวาระท่เี หลืออยขู องกรรมการทีไ่ ดร บั แตง ตั้งไวแ ลว

48

มาตรา ๗๘ ภายใตบังคับมาตรา ๗๖ การใหกรรมการ
ในคณะกรรมการวนิ ิจฉยั ขอ พิพาทพน จากตําแหนงกอนครบวาระจะกระทํา
มิได เวนแตกรณีมีเหตุบกพรองอยางย่ิงตอหนาที่หรือมีความประพฤติ
เส่ือมเสยี อยางรา ยแรง

มาตรา ๗๙ ภายใตบังคับมาตรา ๑๕ วรรคสอง การประชุม
ของคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมอยางนอยก่ึงหน่ึงจึงจะเปน
องคประชุม เวนแตบทบัญญัติแหงกฎหมายหรือกฎหรือคําสั่งที่จัดใหมี
คณะกรรมการชุดนั้นจะกาํ หนดไวเ ปนอยา งอื่น

ในกรณีมีกรรมการครบท่ีจะเปนองคประชุมได แตการพิจารณา
เรื่องใดถาตองเล่ือนมาเพราะไมครบองคประชุม ถาเปนการประชุม
ของคณะกรรมการซ่งึ มใิ ชค ณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท หากไดมีการนัด
ประชุมเรื่องนั้นอีกภายในสิบสี่วันนับแตวันนัดประชุมที่เล่ือนมา และ
การประชุมครั้งหลังนี้มีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาหน่ึงในสามของ
จํานวนกรรมการท้ังหมด ใหถือวาเปนองคประชุม แตทั้งน้ีตองระบุ
ความประสงคใ หเกิดผลตามบทบัญญัตินี้ไวในหนงั สอื นดั ประชมุ ดวย

มาตรา ๘๐ การประชมุ ใหเ ปนไปตามระเบียบการทคี่ ณะกรรมการ
กาํ หนด

การนัดประชมุ ตองทําเปน หนังสอื และแจงใหกรรมการทุกคนทราบ
ลวงหนาไมนอยกวาสามวัน เวนแตกรรมการน้ันจะไดทราบการบอกนัด
ในทีป่ ระชุมแลว กรณีดงั กลา วนี้จะทาํ หนังสือแจงนดั เฉพาะกรรมการที่ไมไ ด
มาประชมุ ก็ได

บทบัญญัติในวรรคสองมิใหนํามาใชบังคับในกรณีมีเหตุจําเปน
เรง ดว นซึ่งประธานกรรมการจะนดั ประชมุ เปนอยางอืน่ ก็ได

49

มาตรา ๘๑ ประธานกรรมการมีอํานาจหนาที่ดําเนินการประชุม
และเพ่ือรักษาความเรียบรอยในการประชุม ใหประธานมีอํานาจออกคําสั่งใด ๆ
ตามความจาํ เปน ได

ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได
ใหรองประธานกรรมการทําหนาที่แทน ถาไมมีรองประธานกรรมการหรือ
มีแตไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการ
คนหนง่ึ ขนึ้ ทําหนา ที่แทน

ในกรณีท่ีประธานกรรมการมีหนาท่ีตองดําเนินการใด ๆ นอกจาก
การดาํ เนินการประชุมใหนาํ ความในวรรคสองมาใชบ ังคบั โดยอนโุ ลม

มาตรา ๘๒ การลงมตขิ องท่ปี ระชมุ ใหถือเสยี งขางมาก
กรรมการคนหนึ่งใหมีหน่ึงเสียงในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียง
เทากันใหประธานในท่ปี ระชุมออกเสยี งเพม่ิ ขึน้ อกี เสยี งหนึ่งเปน เสยี งชี้ขาด
เร่ืองใดถาไมมีผูคัดคาน ใหประธานถามที่ประชุมวามีผูเห็นเปน
อยา งอ่ืนหรอื ไม เม่ือไมมผี ูเหน็ เปนอยางอื่น ใหถอื วา ท่ปี ระชมุ ลงมติเหน็ ชอบ
ในเรือ่ งนัน้
มาตรา ๘๓ ในการประชุมตองมีรายงานการประชุมเปนหนังสือ
ถ า มี ค ว า ม เ ห็ น แ ย ง ใ ห บั น ทึ ก ค ว า ม เ ห็ น แ ย ง พ ร อ ม ทั้ ง เ ห ตุ ผ ล
ไวใ นรายงานการประชุม และถากรรมการฝายขางนอยเสนอความเห็นแยง
เปน หนังสือก็ใหบ ันทกึ ความเห็นแยง นนั้ ไวดวย
มาตรา ๘๔ คําวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท
ตอ งมลี ายมอื ชอ่ื ของกรรมการทว่ี นิ ิจฉัยเร่ืองน้ัน

50

ถากรรมการคนใดมคี วามเห็นแยง ใหมีสิทธิทําความเห็นแยงของตน
รวมไวใ นคาํ วนิ จิ ฉยั ได

บทเฉพาะกาล
มาตรา ๘๕ ใหถือวาระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการ
ปฏิบัติราชการเพ่ือประชาชนของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๒ เปนระเบียบ
ที่คณะรัฐมนตรีวางขนึ้ ตามมาตรา ๓๓ แหงพระราชบัญญัติน้ี
มาตรา ๘๖ บรรดาคําขอเพื่อใหมีคําส่ังทางปกครองท่ีเจาหนาท่ี
ไดรับไวก อ นท่ีพระราชบัญญตั นิ ้ใี ชบงั คบั ใหเจาหนาทีท่ าํ การพจิ ารณาคาํ ขอ
ดงั กลา วตามหลกั เกณฑท ่กี ฎหมายหรอื กฎสาํ หรับเรอ่ื งนั้นไดก ําหนดไว
มาตรา ๘๗ เม่ือไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแลว บทบัญญัติ
มาตรา ๔๘ ใหเปนอนั ยกเลกิ
ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ
บรรหาร ศิลปอาชา
นายกรฐั มนตรี

51

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ

โดยที่การดาํ เนนิ งานทางปกครองในปจจบุ ันยงั ไมมีหลักเกณฑแ ละข้นั ตอนที่
เหมาะสม จึงสมควรกําหนดหลักเกณฑและขั้นตอนตาง ๆ สําหรับการ
ดําเนินงานทางปกครองข้ึนเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปโดยถูกตอง
ตามกฎหมาย มีประสิทธิภาพในการใชบังคับกฎหมายใหสามารถรักษา
ประโยชนสาธารณะได และอํานวยความเปนธรรมแกประชาชน อีกท้ัง
ยงั เปนการปอ งกนั การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ จงึ จําเปน ตอ ง
ตราพระราชบญั ญตั นิ ้ี7๗

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ

โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครองเพื่อกําหนดหลักเกณฑในการจัดทําคําส่ังทางปกครองใหมี
ประสิทธิภาพเพื่อรกั ษาประโยชนสาธารณะและอํานวยความเปนธรรมแก
ประชาชน อีกท้ังยังเปนการปองกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในวง
ราชการ จึงจําเปนตอ งตราพระราชบญั ญัตินี้8๘

๗ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๓ ตอนท่ี ๖๐ ก วนั ท่ี ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙ (หนา ๑-๒๔)
๘ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๑ ตอนท่ี ๘๙ ก วันท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๗
(หนา ๑-๓)
52

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ

โดยทีป่ จ จบุ นั บทบัญญัตเิ ก่ียวกบั การบงั คับทางปกครองตามกฎหมายวา ดวย
วิ ธี ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ท า ง ป ก ค ร อ ง ยั ง ไ ม มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร บั ง คั บ ใ ช
โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก า ร บั ง คั บ ต า ม คํ า ส่ั ง ท า ง ป ก ค ร อ ง ท่ี กํ า ห น ด ใ ห ชํ า ร ะ เ งิ น
ซ่ึงกฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกําหนดใหนําวิธีการยึด
การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพยสินตามประมวลกฎหมาย
วิธีพจิ ารณาความแพง มาใชบังคับโดยอนุโลม จึงไมมีรายละเอียดวิธีปฏิบัติ
และระยะเวลาในการบังคับทางปกครองท่ชี ัดเจน ซ่งึ กอใหเ กดิ ความไมเปนธรรม
แกผอู ยใู นบงั คบั ของมาตรการบังคับทางปกครอง ประกอบกบั เจา หนา ที่ของ
หนวยงานของรัฐสวนใหญไมมีความเช่ียวชาญในการยึด การอายัด
และการขายทอดตลาดทรัพยสิน อีกท้ังไมมีบทบัญญัติที่ใหอํานาจ
แกเจาหนาที่ในการสืบหาทรัพยสินและมอบหมายใหหนวยงานอ่ืน
หรือเอกชนดําเนินการแทนได สงผลใหไมสามารถบังคับตามคําส่ัง
ทางปกครองทก่ี าํ หนดใหช าํ ระเงินไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพและรฐั ตองสูญเสยี
รายไดใ นทส่ี ุด ดังนน้ั สมควรปรับปรงุ หลกั เกณฑใ นการบังคับทางปกครอง
เพื่อใหชัดเจน มีประสิทธิภาพ และเปนธรรมยิ่งข้ึน จึงจําเปนตองตรา
พระราชบัญญตั ิน9ี้๙

๙ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ ตอนท่ี ๖๙ ก วนั ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
(หนา ๑๑๕-๑๒๖)
53

กฎกระทรวง
(พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙

54

กฎกระทรวง
(พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙10๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๒๖ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้

ขอ ๑ การรับรองความถูกตองของคําแปลเปนภาษาไทย
ใหก ระทําโดย

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนท่ี ๑๗ ก วันท่ี ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (หนา ๒๗-๒๘)

55

(๑) คนไทยท่ีจบการศึกษาในระดับท่ีไมตํ่ากวาปริญญาตรี
ในหลักสูตรที่ใชภาษาที่ปรากฏในเอกสารน้ันเปนภาษาในการเรียน
การสอน

(๒) อาจารยในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาและเปนผูสอน
ภาษาที่ปรากฏในเอกสารนน้ั ในสถาบันการศกึ ษาดงั กลา ว

(๓) สถานทูตหรือสถานกงสุลตางประเทศที่ตั้งอยูในประเทศไทย
โดยประเทศนัน้ ใชภาษาทปี่ รากฏในเอกสารนน้ั เปนภาษาราชการ

(๔) สถานทูตหรือสถานกงสลุ ไทยในตางประเทศ
ขอ ๒ เจา หนา ทจ่ี ะยอมรับเอกสารที่ทําข้ึนเปนภาษาตางประเทศ
โดยไมตองใหจัดทาํ คําแปลเปนภาษาไทยไดในกรณี ดงั ตอ ไปนี้
(๑) เจา หนาทีน่ ้นั เห็นวา ตนสามารถเขาใจภาษาดังกลาวได
(๒) เจาหนาทีน่ น้ั มีผูร ว มงานที่มคี วามรใู นภาษาดงั กลา ว

ใหไ ว ณ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรฐั มนตรี

56

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับน้ี คือ
โดยที่มาตรา ๒๖ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติใหการรับรองความถูกตองของคําแปล
เปน ภาษาไทยของเอกสารท่ีทําข้ึนเปนภาษาตางประเทศ หรือการยอมรับ
เอกสารท่ีทาํ ขึน้ เปน ภาษาตางประเทศ ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑและวิธีการ
ท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง จงึ จําเปน ตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

57

กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

58

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙11๑

อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๓๐ วรรคสอง (๖)
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดังตอ ไปน้ี

ใหคําส่ังทางปกครองในกรณีดังตอไปน้ี เปนคําสั่งทางปกครองตาม
มาตรา ๓๐ วรรคสอง (๖)

(๑) การบรรจุ การแตงตั้ง การเล่ือนข้ันเงินเดือน การส่ังพักงาน
หรอื ส่งั ใหออกจากงานไวกอ น หรอื การใหพ น จากตาํ แหนง

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๗ ก วันท่ี ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (หนา ๒๙-๓๐)

59

(๒) การแจงผลการสอบหรือการวัดผลความรูหรือความสามารถ
ของบุคคล

(๓) การไมออกหนงั สือเดินทางสาํ หรบั การเดินทางไปตางประเทศ
(๔) การไมตรวจลงตราหนงั สอื เดินทางของคนตางดา ว
(๕) การไมออกใบอนุญาตหรือการไมตออายุใบอนุญาตทํางาน
ของคนตางดาว
(๖) การสง่ั ใหเนรเทศ

ใหไ ว ณ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรัฐมนตรี

60

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่
เปนการสมควรกําหนดใหคําสั่งทางปกครองในบางกรณี ซึ่งโดยสภาพ
ไมสามารถแจงหรือไมสมควรแจงใหคูกรณีทราบขอเท็จจริงหรือใหคูกรณี
โตแยงกอนการทําคําสั่งทางปกครอง เปนคําสั่งทางปกครองที่เจาหนาท่ี
ไ ม ต อ ง แ จ ง ใ ห คู ก ร ณี ท ร า บ ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ห รื อ โ ต แ ย ง ก อ น ก า ร ทํ า คํ า สั่ ง
ทางปกครอง ประกอบกับมาตรา ๓๐ วรรคสอง (๖) แหงพระราชบัญญัติ
วิธปี ฏิบัตริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดกําหนดใหการกําหนดคําส่ัง
ทางปกครองดังกลาวตองกระทําโดยกฎกระทรวง จึงจําเปนตองออก
กฎกระทรวงนี้

61

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

62

กฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙12๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๓๑ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปนี้

ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“เอกสาร” ใหหมายความรวมถึงส่ิงที่ส่ือความหมายใหรูเร่ืองราว
ขอเท็จจริง ขอมูล รูป ตัวเลขหรือสิ่งใดๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้น
จะทําไดโดยสภาพของสิ่งน้ันเองหรือโดยผานวิธีการใดๆ และไมวาจะได

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนท่ี ๑๗ ก วันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (หนา ๓๑-๓๓)

63

จัดทาํ ไวในรปู ของหนังสอื แฟม รายงาน แผนผงั แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย
ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือ
วิธีอ่ืนใดที่ทําใหสิ่งท่ีบันทึกไวปรากฏไดและวัตถุใดๆ บรรดาที่ใชเปน
พยานหลักฐานในการพจิ ารณาทางปกครอง

ขอ ๒ คูกรณีที่ประสงคจะขอเขาตรวจดูเอกสารใดเพ่ือ
ประกอบการโตแยงหรือช้ีแจงหรือปองกันสิทธิของตนในกระบวนการ
พิจารณาทางปกครอง อาจทําคําขอดวยวาจา หรือทําเปนหนังสือโดยนํามายื่น
ดวยตนเองตอเจาหนาที่หรือหนวยงานของรัฐท่ีเจาหนาที่ผูน้ันสังกัดหรือ
โดยสงทางไปรษณียโดยระบุเอกสารหรือลักษณะของเอกสารที่ตองการ
จะตรวจดู

ในกรณีมีคําขอดวยวาจาหรือมีคําขอเปนหนังสือโดยนํามาย่ืน
ดวยตนเองใหเจาหนาที่พิจารณาใหคูกรณีไดตรวจดูเอกสารในขณะน้ัน
แตถ าเจาหนาท่ีไมพรอมท่ีจะใหตรวจดูในขณะน้ันไดหรือเปนกรณีมีคําขอ
เปนหนงั สอื โดยสงทางไปรษณีย ใหเจาหนาท่ีพิจารณาและแจงกําหนดวัน
เวลาและสถานท่ี ทีจ่ ะใหตรวจดูเอกสารใหคูกรณที ราบ

ขอ ๓ ในการตรวจดูเอกสาร ใหเจาหนาที่อํานวยความสะดวกแก
การตรวจดูตามความเหมาะสมและตองระมัดระวังมิใหเอกสารชํารุด
เสยี หายหรอื สญู หาย

เพ่ือประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหน่ึง หนวยงานของรัฐ
ท่ีเจาหนาที่ผูนั้นสังกัดอาจวางแนวปฏิบัติที่สมควรในการใหคูกรณีตรวจดู
เอกสาร โดยคํานึงถงึ ประเภทหรอื ลักษณะของเอกสาร

64

ขอ ๔ ในการยื่นคําขอตรวจดูเอกสาร คูกรณีผูยื่นคําขอไมตอง
เสียคาธรรมเนียมเพอื่ การดังกลาว

ในการใหคกู รณีตรวจดูเอกสารใด ถาตองมีคา ใชจา ยเกินกวาการให
ตรวจดูตามปกติ ใหหนวยงานของรัฐที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัดเรียกเก็บ
คาธรรมเนียมในอตั ราทเี่ ห็นสมควร

การกําหนดคาธรรมเนียมตามวรรคสอง ใหคํานึงถึงคาใชจายจริง
ที่ตองเสียในการตรวจดูเอกสารตลอดจนคาใชจายอื่นเกี่ยวกับสํานักงาน
และบุคลากรของหนว ยงานของรฐั แหงนั้นประกอบดวย แตไมสูงกวาอัตรา
ในตลาดหากใหเอกชนจัดทํา แตในกรณีเล็กนอยจะยกเวนไมเรียกเก็บ
คา ธรรมเนยี มก็ได

ขอ ๕ ถาคูกรณีตองการสําเนาเอกสารใด ใหเจาหนาที่พิจารณา
ดําเนินการใหตามความเหมาะสม โดยจะตองระมัดระวังมิใหตนฉบับเอกสาร
ชาํ รดุ เสียหาย หรือสูญหาย

เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหน่ึง หนวยงานของรัฐ
ที่เจาหนาที่ผูนั้นสังกัดอาจวางแนวปฏิบัติที่สมควรในการจัดทําสําเนา
เอกสาร โดยคํานงึ ถึงประเภทหรอื ลกั ษณะของเอกสาร

ในการจัดทําสําเนาเอกสาร ใหหนวยงานของรัฐท่ีเจาหนาที่ผูนั้น
สงั กัดเรยี กเก็บคาใชจ ายในอตั ราทเี่ ห็นสมควร แตใ นกรณีเลก็ นอยจะยกเวน
ไมเรียกเก็บคาใชจายก็ได และใหนําความในขอ ๔ วรรคสาม มาใชบังคับ
โดยอนุโลม

ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ
นายกรฐั มนตรี

65

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่ในการ
พิ จ า ร ณ า ท า ง ป ก ค ร อ ง ข อ ง เ จ า ห น า ท่ี จ ะ ต อ ง ใ ห โ อ ก า ส แ ก คู ก ร ณี
ผูมีสวนไดเสียไดโตแยงหรือชี้แจงขอเท็จจริง เพ่ือสนับสนุนหรือหักลาง
ขอ อางหรือขอเถยี งพรอมท้ังแสดงพยานหลักฐานประกอบการพิจารณาทํา
คําส่ังทางปกครองอันเปนการปองกันสิทธิของคูกรณี หากคูกรณีไมได
รับทราบขอ เทจ็ จรงิ หรือพยานหลักฐานที่จะใชเปนพ้ืนฐานในการพิจารณา
ทางปกครองของเจาหนาท่ีแลวคูกรณีก็ยอมไมอาจจะรูไดวาตนมีสิทธิ
ประการใด และควรปองกันสิทธิของตนอยางไร ซึ่งมาตรา ๓๑
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ก็ใหสิทธิ
แกคกู รณใี นการขอตรวจดูเอกสารท่จี ําเปน เพื่อที่จะดําเนินการโตแยงหรือ
ชี้แจง หรือปองกันสิทธิของตนได โดยกําหนดใหการตรวจดูเอกสาร
คา ใชจ า ยในการตรวจดเู อกสารหรือการจัดทําสําเนาเอกสารใหเปนไปตาม
หลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ท้ังนี้ เวนแตเอกสารหรือ
พยานหลักฐานนั้นเปนกรณีท่ีตองรักษาไวเปนความลับตามมาตรา ๓๒
แหงพระราชบัญญัตดิ งั กลา ว จงึ จาํ เปนตอ งออกกฎกระทรวงนี้

66

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

67

กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙13๑
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๔๕ วรรคสาม
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี คาํ สงั่ ทางปกครองไมรวมถงึ
(๑) คําส่ังทางปกครองอันเปนการวินิจฉัยอุทธรณท่ีไดดําเนินการ
ตามขอ ๒

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนที่ ๑๗ ก วันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (หนา ๓๔-๓๖)

68

(๒) คําสั่งทางปกครองอันเปนการวินิจฉัยอุทธรณตามขั้นตอน
ทีม่ ีกฎหมายกาํ หนดไวเ ปนการเฉพาะ

ขอ ๒ การพิจารณาอทุ ธรณคําสั่งทางปกครองในกรณีที่เจาหนาที่
ผูท าํ คําส่งั ไมเ หน็ ดวยกบั คําอุทธรณ ใหเ ปนอํานาจของเจาหนา ท่ี ดังตอ ไปนี้

(๑) หัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด ในกรณีท่ีผูทําคําสั่ง
ทางปกครองเปนเจาหนาที่ในสังกัดของสวนราชการประจําจังหวัดหรือ
สวนราชการประจาํ อําเภอของ กระทรวง ทบวง กรม เดียวกัน

(๒) เลขานุการรัฐมนตรี เลขานุการกรม หัวหนาสวนราชการ
ระดับกองหรือเทียบเทา หัวหนาสวนราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือ
หัวหนาสวนราชการประจําเขต แลวแตกรณี ในกรณีที่ผูทําคําส่ัง
ทางปกครองเปน เจาหนา ท่ใี นสงั กัดของสวนราชการน้นั

(๓) อธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรม แลวแตกรณี
ในกรณีท่ีผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเลขานุการกรม หัวหนาสวนราชการ
ระดับกองหรอื สว นราชการตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ หรือหัวหนาสวนราชการ
ประจําเขต หรือผูอยูใตบังคับบัญชาของอธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการ
ทม่ี ีฐานะเปน กรมซงึ่ ดาํ รงตําแหนงสงู กวาน้ัน

(๔) ปลดั กระทรวงหรอื ปลัดทบวง แลว แตก รณี ในกรณีท่ีผูทําคําสั่ง
ทางปกครองเปน ผดู ํารงตาํ แหนง อธิบดหี รอื เทยี บเทา

(๕) นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี แลวแตกรณี ในกรณีท่ีผูทําคําส่ัง
ทางปกครองเปนหัวหนาสวนราชการที่ข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือ
รัฐมนตรี หรอื เปนผูดํารงตําแหนงปลดั กระทรวงหรอื ปลดั ทบวง

69

(๖) ประธานวุฒิสภา ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครองเปนผูดํารง
ตําแหนง เลขาธิการวุฒิสภา

(๗) ประธานสภาผูแทนราษฎร ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครอง
เปน ผูดาํ รงตาํ แหนง เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

(๘) ผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครอง
เปนหัวหนาสวนราชการประจําจังหวัด นายอําเภอ เจาหนาที่ของสวน
ราชการของจังหวัด เจาหนาที่ของสวนราชการของอําเภอ หรือเจาหนาที่
ของสภาตาํ บล เวน แตกรณีท่ีกําหนดไวแลว ใน (๑) หรือ (๓)

(๙) ผูบริหารทองถิ่นหรือคณะผูบริหารทองถิ่น แลวแตกรณี
ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเจาหนาที่ขององคการบริหารสวน
ทองถนิ่

(๑๐) ผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปน
ผูบรหิ ารทอ งถน่ิ หรือคณะผูบ ริหารทองถนิ่

(๑๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ในกรณีท่ีผูทําคําสั่ง
ทางปกครองเปนผูวาราชการกรุงเทพมหานคร หรือผูวาราชการจังหวัด
ใ น ฐ า น ะ ผู บ ริ ห า ร อ ง ค ก า ร บ ริ ห า ร ส ว น จั ง ห วั ด ห รื อ ใ น ฐ า น ะ ร า ช ก า ร
ในสว นภูมิภาค

(๑๒) ผแู ทนของรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐ แลวแตกรณี
ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครองเปนเจาหนาที่ของรัฐวิสาหกิจหรือ
หนวยงานอน่ื ของรัฐ

(๑๓) เจาหนาที่ผูมีอํานาจสั่งการหรือมอบหมายใหเอกชนปฏิบัติ
หนาทีต่ ามท่ีกฎหมายกําหนด ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเอกชน
ซ่ึงไดรับคําสั่งหรือไดรบั มอบหมายจากเจาหนาท่ดี ังกลา ว

70

(๑๔) ผูบังคับบัญชา ผูกํากับดูแล หรือผูควบคุมช้ันเหนือขึ้นไป
ช้ันหนึ่ง แลวแตกรณี ในกรณีท่ีผูทําคําส่ังทางปกครองเปนเจาหนาท่ีอื่น
นอกจากทีก่ าํ หนดไวข างตน

(๑๕) เจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครองนั้นเอง ในกรณีที่ผูทําคําส่ัง
ทางปกครองเปน ผูซ ่งึ ไมม ีผูบังคบั บญั ชา ผูกํากับดูแล หรอื ผูควบคมุ

ใหไว ณ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรฐั มนตรี

71

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่
หลักการของพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ประสงคใหมกี ารอทุ ธรณในกรณีที่เจาหนาที่ผูทําคําส่ังทางปกครองไมเห็นดวย
กับคําอุทธรณไดเพียงหน่ึงชั้น กอนท่ีจะนําคดีขึ้นวินิจฉัยยังองคกรท่ีมี
อํานาจพิจารณาวินิจฉัยคดีปกครอง ทั้งนี้ เพ่ือใหผูมีอํานาจพิจารณา
อุทธรณไดพิจารณาแกไขหรือทบทวนคําส่ังทางปกครองใหถูกตอง และ
เปดโอกาสใหประชาชนไดรับความเปนธรรม กอนที่จะนําคดีขึ้นวินิจฉัย
ยังองคกรท่ีมีอํานาจพิจารณาวินิจฉัยคดีปกครองดังกลาวดวย และโดยที่
มาตรา ๔๕ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ กําหนดใหเจาหนาท่ีผูมีอํานาจพิจารณาอุทธรณดังกลาว
ใหเ ปนไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง จึงจําเปน ตองออกกฎกระทรวงนี้

72

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

73

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
ออกตามความในพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙14๑
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๘ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปนี้
ใหคําสั่งทางปกครองที่แสดงใหทราบโดยทางเสียง แสงหรือ
สัญญาณที่สามารถทําใหรับรูถึงคําส่ังทางปกครองนั้นไดทันที เปนคําสั่ง
ทางปกครองทมี่ ีผลเมอ่ื ไดแ จง

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนท่ี ๑๗ ก วันท่ี ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๔๐ (หนา ๓๗-๓๘)

74

ใหไ ว ณ วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
นายกรฐั มนตรี

75

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับน้ี คือ เนื่องจาก
โดยทวั่ ไปการแจง คาํ สั่งทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ อาจกระทําดวยวาจาหรือหนังสือ แตมีคําสั่ง
ทางปกครองบางประเภทที่แสดงใหทราบโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่น
ซึ่งตองมีผลทันทีและโดยที่มาตรา ๖๘ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ
ดั ง ก ล า ว กํ า ห น ด ใ ห คํ า ส่ั ง ท า ง ป ก ค ร อ ง ท่ี แ ส ด ง ใ ห ท ร า บ โ ด ย ก า ร ส่ื อ
ความหมายในรูปแบบอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหมีผลเม่ือไดแจง
จึงจําเปน ตองออกกฎกระทรวงนี้

76

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

77

กฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙15๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๑๔ วรรคสอง และ
มาตรา ๑๖ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ การคดั คา นวา เจา หนา ทผี่ ใู ดจะทาํ การพจิ ารณาทางปกครอง
ในเรอื่ งใดไมไดตามมาตรา ๑๓ หรอื ตามมาตรา ๑๖ ใหคูกรณีทําคําคัดคาน
เปน หนงั สอื ถงึ เจาหนา ทผี่ นู ัน้ โดยระบขุ อ คัดคานพรอมดวยขอเท็จจริงและ
ขอกฎหมายทีเ่ ปน เหตุแหงการคัดคา นไวในหนังสือคัดคานน้นั ดว ย

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ (หนา ๑๙-๒๑)

78

ขอ ๒ การยื่นหนังสือคัดคาน ตองกระทํากอนไดรับแจงคําสั่ง
ทางปกครอง โดยคูกรณจี ะยน่ื ดว ยตนเองหรอื สงทางไปรษณยี ต อบรับก็ได

ขอ ๓ ในกรณีที่มายื่นหนังสือคัดคานดวยตนเอง คูกรณีจะยื่นตอ
เจาหนาท่ีซึ่งถูกคัดคานนั้นเอง หรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาท่ี
ซึ่งถูกคัดคาน เจาหนาที่สารบรรณ หรือเจาหนาที่คนหน่ึงคนใด
ในหนวยงานทเ่ี จาหนาทซ่ี ึ่งถูกคดั คา นสงั กดั กไ็ ด

ขอ ๔ ในกรณที สี่ ง หนังสือคัดคานทางไปรษณยี ตอบรบั ใหจาหนาซอง
ถึงเจาหนาที่ซึ่งถูกคัดคาน หรือผูบังคับบัญชาของเจาหนาท่ีซ่ึงถูกคัดคาน
เจาหนาที่สารบรรณ หรือเจาหนาท่ีคนหนึ่งคนใดในหนวยงานท่ีเจาหนาท่ี
ซง่ึ ถูกคดั คา นสังกัดก็ได

ขอ ๕ เมื่อไดรับหนังสือคัดคานแลว ใหผูรับจัดใหมีการประทับ
ตรารับ และลงทะเบียนรับไวเปนหลักฐานในวันที่รับหนังสือคัดคาน
ตามระเบียบวาดวยงานสารบรรณ และในกรณีที่คูกรณีย่ืนหนังสือคัดคาน
ดว ยตนเอง ใหผรู ับออกใบรับหรอื จัดใหออกใบรบั ใหด ว ย

ขอ ๖ ในกรณีที่ผูรับหนังสือคัดคานมิใชเจาหนาที่ซึ่งถูกคัดคาน
ใหผูรับนั้นแจงการรับพรอมทั้งหนังสือคัดคานใหเจาหนาท่ีซึ่งถูกคัดคาน
ทราบโดยไมชักชา ท้งั น้ี ภายในวนั ทําการรงุ ขึน้

ขอ ๗ เม่ือเจาหนาที่ซึ่งถูกคัดคานไดรับหนังสือคัดคานตามขอ ๓
หรือขอ ๖ แลว ใหเจาหนาทซ่ี ่ึงถกู คัดคา นปฏบิ ตั ดิ ังนี้

79

(๑) ในกรณีที่ถูกคัดคานเพราะเหตุมีสวนไดเสียตามมาตรา ๑๔
ใหห ยดุ การพิจารณาเร่ืองน้ันไวกอน และสงหนังสือคัดคานพรอมคําช้ีแจง
ไ ป ยั ง ผู บั ง คั บ บั ญ ช า เ ห นื อ ต น ข้ึ น ไ ป ช้ั น ห น่ึ ง ภ า ย ใ น ห า วั น ทํ า ก า ร เ พื่ อ
ผบู งั คับบัญชาดังกลาวจะไดพิจารณาและมคี าํ สง่ั ตอไป

(๒) ในกรณีท่ีถูกคัดคานเพราะเหตุตามมาตรา ๑๖ ถาเห็นวาตน
มีเหตุตามที่ถูกคัดคานใหปฏิบัติตาม (๑) แตถาเห็นวาตนไมมีเหตุตามที่
ถูกคดั คา น จะทําการพจิ ารณาเร่ืองตอไปก็ได แตตองแจงใหผูบังคับบัญชา
เหนือตนขน้ึ ไปชั้นหนง่ึ ทราบเพ่อื พจิ ารณาและมีคาํ สั่งตอไป

ในกรณีท่ีผูบังคับบัญชาเหนือเจาหนาท่ีซ่ึงถูกคัดคานข้ึนไปช้ันหน่ึง
ไมมีอํานาจพิจารณาและส่ังการใหผูบังคับบัญชาดังกลาวเสนอหนังสือ
คัดคานและคําช้ีแจงใหผูบังคับบัญชาซ่ึงมีอํานาจพิจารณาส่ังการเพ่ือมี
คําสง่ั ตอ ไป

ขอ ๘ ใหผูบังคับบัญชาตามขอ ๗ พิจารณาส่ังการโดยไมชักชา
ทั้งนี้ ไมเกินหาวันทําการนับแตวันไดรับหนังสือคัดคานและคําชี้แจง
จากเจา หนาทีซ่ งึ่ ถูกคดั คาน

ในการพิจารณาคําคัดคาน ผูบังคับบัญชาตามวรรคหน่ึงอาจ
ตรวจสอบขอเทจ็ จริงไดตามความเหมาะสมโดยไมผูกพันกับคําคัดคานหรือ
พยานหลกั ฐานของคกู รณี

ใ น ก ร ณี ท่ี พิ จ า ร ณ า เ ห็ นว า คํ า คั ด ค า น มี เ ห ตุ ผ ล เ พี ย ง พ อ
ใหผ บู งั คับบัญชาส่ังใหเจาหนา ท่ซี ึง่ ถูกคัดคานพนจากหนาที่ในการพิจารณา
ทางปกครองในเรื่องท่ีทําใหถูกคัดคาน และส่ังใหเจาหนาท่ีอื่นซึ่งมีอํานาจ
พจิ ารณาทางปกครองในเรื่องนัน้ หรือเจา หนา ท่ีอืน่ ซึง่ ตามกฎหมายอาจเปน
ผทู าํ หนา ทแี่ ทนไดเขา ทําหนาท่ีนั้นและแจงใหค กู รณที ราบโดยไมช กั ชา

80

ใ น ก ร ณี ที่ พิ จ า ร ณ า เ ห็ น ว า คํ า คั ด ค า น มี เ ห ตุ ผ ล ไ ม เ พี ย ง พ อ
ใหผ บู งั คับบญั ชาส่งั ยกคําคัดคา นและแจง ใหคกู รณที ราบโดยไมชกั ชา

การพิจารณาส่ังการของผูบังคับบัญชาตามวรรคสามและวรรคส่ี
ไมตัดอํานาจผูบังคับบัญชาในระดับที่สูงกวาที่จะพิจารณาส่ังการในเร่ือง
ดงั กลาว

ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลกี ภัย
นายกรฐั มนตรี

81

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๑๔ วรรคสอง และมาตรา ๑๖ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติวา การย่ืนคําคัดคาน
การพิจารณาคําคัดคานและการสั่งใหเจาหนาท่ีอื่นเขาปฏิบัติหนาที่แทน
เจาหนาที่ซ่ึงถูกคัดคาน ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง จงึ จําเปนตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

82

กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

83

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญัตวิ ิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙16๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๑๕ วรรคส่ี และ
มาตรา ๑๖ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ การคัดคานวาประธานกรรมการหรือกรรมการผูใด
ในคณะกรรมการที่มีอํานาจพิจารณาทางปกครองจะทําการพิจารณา
ทางปกครองเรื่องใดไมไดตามมาตรา ๑๓ ใหทําคําคัดคานถึงประธาน
กรรมการ แตถาเปนการคัดคานตามมาตรา ๑๖ ใหทําคําคัดคานถึง
ผูถูกคัดคาน

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนท่ี ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ (หนา ๒๒-๒๓)

84

การคัดคานตามวรรคหน่ึงใหทําเปนหนังสือโดยระบุขอคัดคาน
พรอมดวยขอเท็จจริงและขอกฎหมายท่ีเปนเหตุแหงการคัดคานไวใน
หนงั สอื น้นั ดว ย

ขอ ๒ การยื่นหนังสือคัดคาน คูกรณีจะยื่นดวยตนเองหรือสงทาง
ไปรษณียตอบรบั ก็ได แตต อ งกอ นไดรับแจง คาํ สัง่ ทางปกครอง

ขอ ๓ ในกรณีที่มายื่นหนังสือคัดคานดวยตนเอง คูกรณีจะย่ืนตอ
ผูถูกคัดคาน กรรมการคนหนึ่งคนใด หรือหนวยงานธุรการของ
คณะกรรมการกไ็ ด

ขอ ๔ ในกรณีที่สง หนังสือคดั คานทางไปรษณียตอบรบั ใหจ าหนาซอง
ถึงประธานกรรมการ กรรมการคนหน่ึงคนใด หรือหนวยงานธุรการของ
คณะกรรมการกไ็ ด

ขอ ๕ เมื่อไดรับหนังสือคัดคานแลว ใหผูรับจัดใหมีการประทับ
ตรารับ และลงทะเบียนรับไวเปนหลักฐานในวันที่รับหนังสือคัดคาน
ตามระเบียบวาดวยงานสารบรรณ และในกรณีท่ีคูกรณียื่นหนังสือคัดคาน
ดว ยตนเอง ใหผ ูรับออกใบรบั หรอื จดั ใหอ อกใบรบั ใหดวย

ขอ ๖ ในกรณีที่ผูรับหนังสือคัดคานมิใชประธานกรรมการหรือ
ผูถูกคัดคาน ใหผูน้ันแจงการรับพรอมทั้งหนังสือคัดคานใหประธาน
กรรมการหรือผถู กู คดั คาน แลว แตกรณี ทราบโดยไมช ักชา

85

ขอ ๗ เมอื่ ไดร บั หนงั สอื คดั คานตามขอ ๓ หรือขอ ๖ แลวแตกรณี
ใหดําเนินการ ดังนี้

(๑) ในกรณีคัดคานตามมาตรา ๑๕ ใหประธานกรรมการ
เรียกประชมุ คณะกรรมการเพือ่ พิจารณาเหตคุ ดั คา นนน้ั

(๒) ในกรณีคัดคานตามมาตรา ๑๖ ถาผูที่ถูกคัดคานเห็นวาตน
ไมม เี หตตุ ามที่ถูกคัดคานจะทําการพิจารณาเร่ืองตอไปก็ได แตตองแจงให
ประธานกรรมการทราบเพื่อเรียกประชุมกรรมการเพื่อพิจารณาเหตุ
คดั คานน้นั

ขอ ๘ ในการพจิ ารณาคําคัดคาน คณะกรรมการจะตองใหโอกาส
ผูถูกคัดคานช้ีแจงขอเท็จจริงและตอบขอซักถาม และคณะกรรมการอาจ
ตรวจสอบขอเท็จจริงไดตามความเหมาะสมในเรื่องนั้นๆ โดยไมผูพันกับ
คาํ คดั คา นหรือคาํ ช้ีแจงของผูถูกคดั คานหรอื พยานหลักฐานของคูก รณี

เมอ่ื ท่ีประชมุ มมี ติเปนประการใดแลว ใหประธานกรรมการแจงมติ
ทปี่ ระชมุ ใหผูถกู คดั คา นและคกู รณที ราบโดยไมชักชา

ใหไ ว ณ วันท่ี ๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลกี ภัย
นายกรัฐมนตรี

86

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๑๔ วรรคสี่ และมาตรา ๑๖ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิธี
ปฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติวา การยื่นคําคัดคานและ
ก า ร พิ จ า ร ณ า คํ า คั ด ค า น ก ร ร ม ก า ร ที่ มี อํ า น า จ พิ จ า ร ณ า ท า ง ป ก ค ร อ ง
ใหเปนไปตามหลกั เกณฑและวิธีการท่กี ําหนดในกฎกระทรวง จงึ จาํ เปนตอง
ออกกฎกระทรวงน้ี

87

กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

88

““ยยกกเเลลิกิกแแลลวว ””

กฎกระทรวง
รรฉฉะะบบรรับับาาชชททพกบบี่่ี .ฎ๘๘ศญญัั ก.ญญ((ร๒พพะััตต๕..ทศศวิิว๓ร..ิิธธว๙ปป๒๒ีี ง17๑ฏฏ๕๕บบิิ๔๔ตตัั๒๒ิริร))าาชชกก
อ อก ต ามค วามใน พ พ.ศ. ๒๕๓๙17๑ ารทางป กคร อ ง
อ อก ต ามค วามใน พ ารทางป กคร อ ง

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๕๖ วรรคสอง
แนแนทาหหาางยยงงปกกพพกรรรรคััอฐฐะะรามมอรรศนนงาาัยตตชชออรรบบอําีีโโกัันญญดดกายยญญฎจคคกััตตตํําาริิาววเเะสสมิิธธทนนีีคปปรออววฏฏาแแงิิบบไมนนวััตตใะะนิิดรรขขมังาาออตาชชงงอตกกคคไรปาาณณานรระะ๖ทท้ี กกาาแรรงงรรลปปมมะกกกกมคคาาารรรรตววออริิธธางงีีปป๕พพฏฏ๖..ิิบบศศััตตว..ิิรรร๒๒ราาคชช๕๕สกก๓๓อาา๙๙รรง
ทางปกคขรออง๑ออกกากรฎมกอรบะอทํารวนงาไจวใ ดนงั กตาอ รไดปํานเ้ีนินการพิจารณาใชมาตรการ
บบบวบางัังรรดคคิิหหวับับาายททรรรสสาาขะงงววเอปปบนนกกียกก๑คคบลลรรบาากอองงรงงาแแิหขขรลลาออมะะรงงอรรรเเาจจบาาชชชาาอกหหกกําานนาานรรราา แาบบททจผรรีผ่่ผี ในิิหหูมมูนดาาออีีกนิ รราํําาสสนนรววาาดนนจจําททภภเนาํําููมมคคินิิภภําาํ กาาสสาคคง่งัั่ รใใททหหพาาเเิจงงปปปปานนกกรไไณคคปปรราตตออใาางงชมมใใมนนกการรฎฎตาาหหชชรมมกกกาาาาายยรรร
วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดนิ

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ (ห๑นปาร๒ะก๔า-๒ศ๕ใน)ราชกิจจานุเบกษา8เล9ม ๑๑๖ ตอนท่ี ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ (หนา ๒๔-๒๕)

ขอ ๒ การมอบอํานาจในการดําเนินการพิจารณาใชมาตรการ
บงั คบั ทางปกครองของเจา หนาทผ่ี มู ีอาํ นาจทําคําส่ังทางปกครองในราชการ
บรหิ ารสว นทอ งถิน่ ใหเ ปนไปตามกฎหมายท่จี ดั ตงั้ ราชการสวนทองถิ่นนั้นๆ

ขอ ๓ การมอบอํานาจในการดําเนินการพิจารณาใชมาตรการ
บังคับทางปกครองของเจาหนาที่ผูมีอํานาจทําคําส่ังทางปกครองในสังกัด
รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐ ใหเปนไปตามกฎหมายที่จัดต้ัง
รฐั วิสาหกจิ หรอื หนวยงานอืน่ ของรัฐนั้นๆ

ขอ ๔ การมอบอํานาจในการดําเนินการพิจารณาใชมาตรการ
บังคับทางปกครองของเจาหนาท่ีในระหวางหนวยงานตามขอ ๑ ขอ ๒
และขอ ๓ ที่มีฐานะเปนนิติบุคคล ใหเปนไปตามความตกลงระหวาง
หนว ยงานน้นั

ความตกลงตามวรรคหนึ่งใหทําเปนหนังสือและกําหนดตําแหนง
ของเจา หนา ทที่ ีจ่ ะมอบและรับมอบอาํ นาจไวในขอ ตกลงนนั้ ดวย

ใหไ ว ณ วันที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลกี ภัย
นายกรัฐมนตรี

90

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๕๖ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติใหเจาหนา ท่ีผูมอี ํานาจที่จะพิจารณาใชม าตรการบังคบั
ทางปกครองอาจมอบอํานาจใหเจาหนาที่ซึ่งอยูใตบังคับบัญชาหรือ
เจาหนาท่อี นื่ เปนผูดาํ เนนิ การได จึงจําเปนตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

91


Click to View FlipBook Version