The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wannawat, 2022-04-28 22:14:24

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

พรบวิปฏิบัติ

กฎกระทรวง
ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

92

““ยยกกเเลลิกกิ แแลลวว ””

กฎกระทรวง
รรฉฉะะบบรรบัับาาชชททพกบบีี่่ .ฎ๙๙ศญญัั ก.ญญ((ร๒พพะัตตั๕..ทศศิิวว๓ร..ิิธธว๙ปป๒๒ีี ง18๑ฏฏ๕๕บบิิ๔๔ตตัั๒๒ริิร))าาชชกก
อ อก ต ามค วามใน พ พ.ศ. ๒๕๓๙18๑ ารทางป กคร อ ง
อ อก ต ามค วามใน พ ารทางป กคร อ ง

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๕๗ วรรคสอง
นแทนแาหหาางยยงงปกกพพกรรรรคััอฐฐะะรามมอรรศนนงาาัยตตชชออรรบบอําีีโโกัันญญดดกายยญญฎจคคกััตตตํําาริิาววเเะสสมิิธธทนนีีคปปรออววฏฏาแแงิิบบไมนนวััตตใะะนิิดรรขขมังาาออตาชชงงอตกกคคไรปาาณณานรระะ๖ทที้ กกาาแรรงงรรลปปมมะกกกกมคคาาารรรรตววออริิธธางงีีปป๕พพฏฏ๗..ิิบบศศััตตว..ิิรรร๒๒ราาคชช๕๕สกก๓๓อาา๙๙รรง
ทางปกคขรอ อง๑ออกการกใฎชกมราะตทรรกวางรไบวัง ดคงัับตทอ าไงปปนกี้ ครองโดยวิธีการยึดหรืออายัด
ใแแหลลเะะปขขนาาอขยยาํ อททนาออ๑จดดขตตอกลลงาเาารจใดดาชททหมรรนาััพพตา ทรยยกดี่สสางัิินนรตขขบอ อองัไคปงงบัผผนููทออ้ี ายยงููใใปตตกบบคัังงรคคอัับบงโขขดออยงงวคคิธํําาีกสสาั่ั่งงรททยึดาางงหปปรืกกออคคารรยออัดงง
ใหเ ปนอํานาจของเจา หนาท่ดี ังตอไปน้ี

๒๕๔๒ ๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนท่ี ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ ((หห๑นนปาาร๒๒ะก๖๖า--๒๒ศ๗๗ใน)) ราชกิจจานุเบกษ9า 3เลม
๑๑๖ ตอนท่ี ๕ ก วันท่ี ๙ กุมภาพันธ

(๑) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หรือปลัดทบวง
ในกรณที ่ผี ทู าํ คําส่ังทางปกครองเปนเจาหนาที่ในสังกัดของสํานักงานปลัด
สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดกระทรวงหรือสํานักงานปลัดทบวง
แลวแตกรณี

(๒) อธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรม ในกรณีท่ี
ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเจาหนาที่ในสังกัดของกรมหรือสวนราชการ
ทม่ี ีฐานะเปนกรม แลว แตก รณี

(๓) ผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครองเปน
เจาหนาทขี่ องราชการสวนภมู ภิ าคในจังหวดั

(๔) ผูบริหารกิจการของรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐ
ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครองเปนเจาหนาที่ของรัฐวิสาหกิจหรือ
หนวยงานอื่นของรฐั แลวแตกรณี

(๕) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร นายกเทศมนตรี นายกองคการ
บริหารสวนจังหวัดหรือปลัดเมืองพัทยา ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครอง
เปนเจาหนาที่ในสังกัดของกรุงเทพมหานคร เทศบาลนครเทศบาลเมือง
องคก ารบริหารสว นจังหวัด หรือเมอื งพัทยา แลวแตกรณี

(๖) ผูบริหารหรือคณะผูบริหารทองถ่ินอ่ืนนอกจาก (๕) โดย
ความเห็นชอบของผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครอง
เปน เจา หนา ทีข่ ององคก ารบรหิ ารสวนทองถน่ิ

(๗) รัฐมนตรีผูรักษาการตามกฎหมาย ในกรณีท่ีผูทําคําส่ัง
ทางปกครองเปน เอกชน ซง่ึ มอี ํานาจหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนด

(๘) เจาหนาที่ผูมีอํานาจตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗)
แลวแตกรณี ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเอกชนซึ่งไดรับแตงตั้ง
หรอื ไดรบั มอบหมายจากเจา หนา ที่ดังกลา ว

94

ขอ ๒ ในกรณีที่เจาหนาที่ผูมีอํานาจตามขอ ๑ เปนผูทําคําสั่ง
ทางปกครอง ใหเจาหนาท่ีดังกลาวแลวแตกรณี เปนผูมีอํานาจส่ังยึดหรือ
อายดั และขายทอดตลาดทรพั ยสนิ ของผอู ยใู นบงั คับของคาํ สงั่ ทางปกครอง

ขอ ๓ ความในขอ ๑ และขอ ๒ มิใหใชบังคับกับกรณีที่กฎหมายใด
กาํ หนดเรอ่ื งผมู อี าํ นาจสัง่ ยึดหรอื อายดั หรอื ขายทอดตลาดไวโดยเฉพาะ

ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๒ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลกี ภัย
นายกรัฐมนตรี

95

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๕๗ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติวา ผูมีอํานาจส่ังยึดหรืออายัด หรือขายทอดตลาด
ใหเ ปนไปตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง จงึ จําเปน ตอ งออกกฎกระทรวงนี้

96

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

97

““ยยกกเเลลิิกกแแลลวว””

กฎกระทรวง
พพฉฉรรบบะะรรบัับาาททชชพ่ี่ีกบบ๑๑.ฎศญญัั ๐๐ก.ญญร๒((ะพพััตต๕ท..ิววิ ๓ศศริิธธว..๙ปปีี ง๒๒19๑ฏฏ๕๕บิบิ ๔๔ตตัั ๒๒ริิร))าาชชกก
อ อก ต ามค วามใน พ.ศ. ๒๕๓๙19๑ ารทางป กคร อ ง
อ อก ต ามค วามใน ารทางป กคร อ ง

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๕๘ วรรคสอง
แนแทนาหหาางยยงงปกกพพกรรรรคััอฐฐะะรามมอรรศนนงาาัยตตชชออรรบบอําีีโโกัันญญดดกายยญญฎจคคกััตตตํําาริิาววเเะสสมิิธธทนนีีคปปรออววฏฏาแแงิิบบไมนนวััตตใะะนิิดรรขขมังาาออตาชชงงอตกกคคไรปาาณณานรระะ๖ทที้ กกาาแรรงงรรลปปมมะกกกกมคคาาารรรรตววออริิธธางงีีปป๕พพฏฏ๘..ิิบบศศััตตว..ิิรรร๒๒ราาคชช๕๕สกก๓๓อาา๙๙รรง
ทางปกคขรออง๑ออเกจกาฎหกนราะทที่ผรูมวีงอไําวน ดางัจตกอําไหปนนด้ี จํานวนคาปรับทางปกครอง
ใสทใสนนออกุ กกงงทรรหหอ ณณมมง่ืนืน่ททีีทข((๑๑บบี่ผผี่่ีทอ))ออููาาว่ั รรททยรย๑ฐฐััาใใููตตมมนนชออ เนนอบบววจาตตังังนนััาณคครรหสสีมมีับบั านําาํีออีขขจหหาําาํออักทนนรรงงรับับคคี่ผาากกจจาําํูมสสาากกีอรร่ััง่งํําาําททฝฝหหนาาาานนาฝฝงงดดจปปนน จจกกกหหํําาําคครรนนหรรืืออววออไไนนนมมงงดฝฝคคปปจาาาาฏฏําฝฝปปิิบบนนน รรััตตวหหัับบิิตตนรรททาาออืืคาามมไไางงมมคคปปปปปํําารกกสสฏฏับคคัั่่งงบิบิ ทรรททตััตออาาาิติตงงงงงาาไไปปปดดมมกกกไไคมมคคไไดดรรรเเกกแแอออิินนกกงงง
ทกุ ทอ งท่ที ั่วราชอาณาจักร

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ ((หห๑นนปาาร๒๒ะก๘๘า--๓๓ศ๐๐ใน))ราชกิจจานุเบกษา9เ8ลม
๒๕๔๒ ๑๑๖ ตอนที่ ๕ ก วันท่ี ๙ กุมภาพันธ

(๒) คณะกรรมการตามกฎหมายมีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับ
ทางปกครองไดไ มเกินสองหม่ืนบาทตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือไมปฏิบัติ
ตามคาํ ส่งั ทางปกครองทุกทอ งทท่ี ั่วราชอาณาจักร

(๓) ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือตําแหนงที่เรียกชื่ออยางอ่ืนและ
มีฐานะเทียบเทาปลัดกระทรวงหรืออธิบดีมีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับ
ทางปกครองไดไมเกินหน่ึงหม่ืนหาพันบาทตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือ
ไมปฏิบตั ติ ามคําสั่งทางปกครองทกุ ทองทที่ ่ัวราชอาณาจักร

(๔) ผูวาราชการจังหวัด หรือผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
มีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับทางปกครองไดไมเกินหน่ึงหมื่นหาพันบาท
ตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําสั่งทางปกครองที่อยูใน
เขตจงั หวดั หรอื เขตกรุงเทพมหานคร แลวแตกรณี

(๕) หัวหนาสวนราชการประจําจังหวัดมีอํานาจกําหนดจํานวน
คาปรับทางปกครองไดไมเกินหน่ึงหมื่นบาทตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือ
ไมป ฏิบัติตามคาํ สง่ั ทางปกครองท่อี ยใู นเขตจังหวัด

(๖) นายอําเภอมีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับทางปกครองได
ไมเกินหนึ่งหมื่นบาทตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําส่ัง
ทางปกครองท่อี ยูในเขตอาํ เภอ

(๗) ผูบริหารทองถ่ินหรือคณะผูบริหารทองถ่ินมีอํานาจกําหนด
จํานวนคา ปรบั ทางปกครองไดไมเ กนิ หนง่ึ หม่ืนบาทตอ วนั สาํ หรับการฝาฝน
หรอื ไมปฏิบัตติ ามคาํ สงั่ ทางปกครองทอ่ี ยใู นเขตอํานาจ

(๘) ผแู ทนของรฐั วิสาหกจิ หรือหนว ยงานอืน่ ของรัฐมอี ํานาจกําหนด
จาํ นวนคาปรับทางปกครองไดไมเ กนิ หนึง่ หมืน่ บาทตอ วัน สาํ หรับการฝาฝน
หรอื ไมปฏิบัตติ ามคําส่ังทางปกครองทุกทอ งทท่ี ่ัวราชอาณาจกั ร

99

(๙) พนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายมีอํานาจกําหนดจํานวน
คาปรับทางปกครองไดไมเกินหาพันบาทตอวัน สําหรับการฝาฝนหรือ
ไมป ฏบิ ตั ิตามคาํ ส่งั ทางปกครองที่อยูใ นเขตอาํ นาจ

(๑๐) เอกชนซึ่งไดรับมอบใหใชอํานาจทางปกครองของรัฐอาจใช
มาตรการปรับทางปกครองไดสําหรับการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําส่ัง
ทางปกครองทุกทองท่ีท่ัวราชอาณาจักร โดยเสนอใหรัฐมนตรีผูรักษาการ
ตามกฎหมายเปนผูพิจารณากําหนดจํานวนคาปรับทางปกครองเปน
รายกรณีไป แตท งั้ น้ไี มเ กนิ หนึ่งหม่ืนบาทตอ วัน

ขอ ๒ ในกรณที เ่ี จาหนาทต่ี ามขอ ๑ (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ
(๙) เห็นวาการกําหนดจํานวนคาปรับทางปกครองตามอํานาจที่มีอยู
ไมเพียงพอท่ีจะทําใหบรรลุตามวัตถุประสงค เจาหนาท่ีอาจเสนอ
ผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจกํากับหรือควบคุมดูแลซ่ึงมีอํานาจกําหนด
จํานวนคาปรับทางปกครองสูงกวาตน เปนผูกําหนดจํานวนคาปรับ
ทางปกครองก็ได

ขอ ๓ ใหเจาหนาที่ผูมีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับทางปกครอง
ดาํ เนนิ การบงั คับใหม กี ารชําระคา ปรบั ทางปกครองทกุ สิบหาวัน

ขอ ๔ ใหเจาหนาท่ีออกใบเสร็จรับเงินใหแกผูที่ชําระคาปรับไว
เปนหลักฐาน

ใบเสร็จรับเงินใหมีขอความแสดงวาเปนคาปรับทางปกครอง
ตามกรณีใดและใหบันทกึ การชําระคาปรบั ทางปกครองไวใ นตน เร่ืองดวย

100

ใหไ ว ณ วันท่ี ๒ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลกี ภยั
นายกรฐั มนตรี

101

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๕๘ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติใหเจาหนาท่ีผูออกคําสั่งทางปกครองในแตละระดับ
มีอํานาจกําหนดจํานวนคาปรับทางปกครองเพ่ือบังคับแกผูฝาฝนหรือ
ไมปฏิบัติตามคาํ สั่งทางปกครอง จงึ จาํ เปน ตองออกกฎกระทรวงนี้

102

กฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

103

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๔๒)
ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙20๑

อ า ศั ย อํ า น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า ๖ แ ล ะ ม า ต ร า ๗ ๐
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี

เจาพนักงานที่จะเปนพยานในการวางหนังสือหรือปดหนังสือ
เพอื่ แจง คําส่ังทางปกครอง การนดั พิจารณา หรอื การอยางอื่นท่ีจะตองแจง
ใหผ ูท่ีเกี่ยวของทราบ ในกรณที ผี่ ูรับไมย อมรบั หรอื ไมมีผูรับ ไดแก

(๑) เจาพนักงานตาํ รวจ
(๒) ขาราชการสวนกลาง

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๖ ตอนท่ี ๕ ก วันที่ ๙ กุมภาพันธ
๒๕๔๒ (หนา ๓๑-๓๒)

104

(๓) เจาพนกั งานผมู ีหนาทีร่ ับผิดชอบในเขตพ้ืนที่ ไดแ ก
(ก) กาํ นนั
(ข) แพทยป ระจาํ ตําบล
(ค) สารวัตรกํานัน
(ง) ผใู หญบ าน
(จ) ผชู วยผูใหญบา น
(ฉ) ขา ราชการสวนทองถ่นิ หรอื พนกั งานสว นทองถิน่
(ช) ขาราชการประจําอําเภอหรือจังหวัด
ใหไว ณ วันที่ ๒ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๔๒
ชวน หลีกภยั
นายกรัฐมนตรี

105

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ี
มาตรา ๗๐ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ บัญญัติวา การวางหนังสือหรือปดหนังสือหากไดกระทํา
ตอหนาเจาพนักงานตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวงท่ีไปเปนพยาน ใหถือวา
ไดมีการแจงคําส่ังทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอยางอื่นท่ี
เจา หนาทีต่ อ งแจงแลว จงึ จาํ เปน ตอ งออกกฎกระทรวงนี้

106

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙

107

กฎกระทรวง
ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๔๓)
ออกตามความในพระราชบญั ญัติวิธปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง

พ.ศ. ๒๕๓๙21๑

อาศยั อํานาจตามความใน (๒) ของบทนิยาม “คําสั่งทางปกครอง”
ในมาตรา ๕ และมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ นายกรัฐมนตรี โดยคําแนะนําของ
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ออกกฎกระทรวงไว
ดังตอไปน้ี

ใหก ารดําเนินการของเจา หนาท่ดี ังตอ ไปน้ี เปนคําสงั่ ทางปกครอง
๑. การดําเนินการเก่ียวกบั การจดั หาหรือใหสิทธิประโยชนในกรณี
ดังตอ ไปน้ี

๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนที่ ๗๘ ก วันท่ี ๒๒ สิงหาคม
๒๕๔๓ (หนา ๑๓-๑๔)

108

(๑) การส่ังรับหรือไมรับคําเสนอขาย รับจาง แลกเปล่ียน
ใหเชา ซือ้ เชา หรอื ใหสิทธิประโยชน

(๒) การอนุมตั ิสงั่ ซ้อื จาง แลกเปลี่ยน เชา ขาย ใหเชา หรือ
ใหส ทิ ธปิ ระโยชน

(๓) การส่ังยกเลิกกระบวนการพิจารณาคําเสนอหรือ
การดาํ เนินการอื่นใด ในลักษณะเดยี วกนั

(๔) การส่งั ใหเ ปนผทู ง้ิ งาน
๒. การใหห รือไมใหท ุนการศกึ ษา

ใหไ ว ณ วนั ท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
ชวน หลกี ภยั
นายกรฐั มนตรี

109

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่
คําส่ังของเจาหนาที่ในบางกรณีอาจมีปญหาการตีความวาเปนคําสั่ง
ทางปกครองหรือไม และคําส่ังดังกลาวมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิ
หรือหนา ทขี่ องบุคคลและประโยชนสาธารณะ เพื่อใหการออกคําส่ังที่เปน
ปญหานี้ดําเนินไปดวยความเปนธรรม สมควรกําหนดใหเปนคําสั่ง
ทางปกครองตามมาตรา ๕ แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ จงึ จําเปน ตอ งออกกฎกระทรวงนี้

110

กฎกระทรวง
การมอบอํานาจในการพิจารณาใชม าตรการบงั คบั ทางปกครอง

ของเจา หนา ทผ่ี ทู ําคําสงั่ ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒

111

กฎกระทรวง
การมอบอํานาจในการพจิ ารณาใชม าตรการบงั คบั ทางปกครองของ

เจาหนา ทผี่ ทู าํ คาํ สงั่ ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒22๑

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนงึ่ แหงพระราชบัญญัติ
วธิ ปี ฏิบตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๖๓/๒ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นายกรัฐมนตรีออกกฎกระทรวงไว ดังตอ ไปนี้

ขอ ๑ ในกรณีท่ีกฎหมายใดไมไดกําหนดเรื่องการมอบอํานาจไว
โดยเฉพาะ การมอบอาํ นาจในการพิจารณาใชม าตรการบังคับทางปกครอง
สาํ หรับคําสั่งทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงิน ใหเปนไปตามท่ีกําหนดไว
ดังตอไปนี้

๑ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๓๖ ก วนั ท่ี ๑๑ ธันวาคม
๒๕๖๒ (หนา ๑-๓)

112

(๑) การมอบอํานาจในราชการบริหารสวนกลางและราชการ
บริหารสว นภูมิภาค เจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองอาจมอบอํานาจใหผู
ดาํ รงตําแหนง ดงั ตอไปน้ี เปน ผพู ิจารณาใชมาตรการบังคบั ทางปกครองได

(ก) นายกรัฐมนตรีอาจมอบอํานาจใหรองนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีประจาํ สาํ นกั นายกรัฐมนตรีหรอื ผูวาราชการจังหวัด

(ข) รัฐมนตรีวาการกระทรวงอาจมอบอํานาจใหรัฐมนตรี
ชวยวาการกระทรวง ปลัดกระทรวง อธิบดีหรอื หัวหนาสว นราชการซ่งึ ดํารง
ตาํ แหนง เทียบเทาอธบิ ดี หรอื ผวู าราชการจังหวัด

(ค) รัฐมนตรีวาการทบวงอาจมอบอํานาจใหรัฐมนตรี
ชวยวาการทบวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการซึ่งดํารง
ตําแหนงเทยี บเทา อธิบดี หรือผูว า ราชการจงั หวัด

(ง) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีอาจมอบอํานาจใหรองปลัด
สํานักนายกรัฐมนตรี ผูชวยปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี หรือผูวาราชการ
จงั หวดั

(จ) ปลัดกระทรวงอาจมอบอํานาจใหรองปลัดกระทรวง
ผูชว ยปลัดกระทรวง หรอื ผวู าราชการจงั หวัด

(ฉ) ปลัดทบวงอาจมอบอํานาจใหรองปลัดทบวง ผูชวย
ปลดั ทบวง หรือผวู าราชการจังหวัด

(ช) อธิบดีหรอื ผูดาํ รงตําแหนงเทียบเทาอาจมอบอํานาจให
รองอธบิ ดี ผชู วยอธิบดี หรือผูดํารงตําแหนงเทียบเทารองอธิบดีหรือผูชวย
อธิบดี ผูอํานวยการกองหรือผูดํารงตําแหนงเทียบเทาผูอํานวยการกอง
หรอื ผวู า ราชการจงั หวดั

(ซ) ผูว าราชการจงั หวัดอาจมอบอํานาจใหรองผูวาราชการ
จังหวดั ผูชว ยผูวา ราชการจงั หวัด ปลัดจังหวัด หัวหนาสวนราชการประจํา
จงั หวัด นายอําเภอ หรอื ปลัดอาํ เภอผเู ปน หวั หนาประจําก่งิ อาํ เภอ

113

(๒) การมอบอํานาจในราชการบริหารสวนทองถ่ิน ใหเปนไปตาม
กฎหมายท่จี ัดต้งั ราชการสวนทองถิ่นน้ัน

(๓) การมอบอํานาจในรัฐวิสาหกิจ ใหเปนไปตามกฎหมายท่ีจัดต้ัง
รฐั วสิ าหกจิ นัน้

(๔) การมอบอํานาจในหนวยงานอ่นื ของรัฐ ใหเปนไปตามกฎหมาย
ท่ีจัดตงั้ หนว ยงานนัน้

(๕) การมอบอาํ นาจในสภาวิชาชีพ ใหเปนไปตามกฎหมายท่ีจัดต้ัง
สภาวิชาชพี นั้น

ในกรณีที่มีการมอบอํานาจใหผูวาราชการจังหวัดเปนผูพิจารณา
ใชมาตรการบังคับทางปกครอง ผูวาราชการจังหวัดอาจมอบอํานาจน้ัน
ใหแ กผ ดู าํ รงตาํ แหนงตาม (ซ) ตอ ไปได

ขอ ๒ การมอบอํานาจในการพิจารณาใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองสําหรับคําสั่งทางปกครองท่ีกําหนดใหกระทําหรือละเวน
กระทํา ในกรณีที่เจาหนาทผี่ ูท าํ คําส่ังทางปกครองเปนผูดํารงตําแหนงตาม
ขอ ๑ ใหน ําหลักเกณฑการมอบอํานาจในการพิจารณาใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองตามขอ ๑ มาใชบงั คับโดยอนุโลม

ในกรณีท่ีเจาหนาท่ีผูทําคําส่ังทางปกครองท่ีกําหนดใหกระทําหรือ
ละเวนกระทํา ดํารงตําแหนงต่ํากวาผูดํารงตําแหนงตามขอ ๑ เจาหนาท่ี
ผนู ัน้ ตองพจิ ารณาใชมาตรการบงั คับทางปกครองนัน้ เอง

หากเจาหนา ท่ีผทู ําคาํ สงั่ ทางปกครองทก่ี ําหนดใหก ระทําหรือละเวน
กระทําตามวรรคสองเห็นวาการพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครอง
อ า จ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ สิ ท ธิ ห รื อ เ ส รี ภ า พ ข อ ง ผู อ ยู ใ น บั ง คั บ ข อ ง คํ า สั่ ง
ทางปกครองเกินสมควร ใหเจาหนาท่ีผูนั้นเสนอเรื่องตอหัวหนาหนวยงาน

114

ต น สั ง กั ด เ พ่ื อ พิ จ า ร ณ า ม อ บ ห ม า ย ใ ห เ จ า ห น า ที่ อ่ื น เ ป น ผู พิ จ า ร ณ า ใ ช
มาตรการบังคบั ทางปกครองแทนไดตามทเี่ ห็นสมควร

ขอ ๓ การมอบอาํ นาจตามขอ ๑ และขอ ๒ ใหท าํ เปนหนงั สอื
ใหไว ณ วันท่ี ๖ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา
นายกรัฐมนตรี

115

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก ฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา
๖๓/๒ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติใหเจาหนาท่ีผูทําคําส่ัง
ทางปกครองซึ่งมีอํานาจท่ีจะพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครอง
จ ะ ม อ บ อํ า น า จ ใ ห เ จ า ห น า ที่ ซึ่ ง อ ยู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ช า ห รื อ เ จ า ห น า ที่ อื่ น
เปนผูดําเนินการก็ไดตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีกําหนดในกฎกระทรวง
จึงจาํ เปนตอ งออกกฎกระทรวงนี้

116

กฎกระทรวง
กาํ หนดเจา หนาทผี่ อู อกคาํ สง่ั ใชม าตรการบงั คบั ทางปกครอง

และการแตง ต้ังเจาพนกั งานบงั คับทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒

117

กฎกระทรวง
กาหนดเจ้าหน้าทผ่ี ู้ออกคาส่ังใช้มาตรการบงั คับทางปกครอง

และการแต่งตัง้ เจ้าพนักงานบงั คับทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๖๒๑

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๖๓/๗ วรรคสาม
แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงแก้ไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นายกรฐั มนตรีออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน้ี

ข้อ ๑ การออกคาสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครองสาหรับคาสั่ง
ทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงินให้เปน็ อานาจของเจ้าหนา้ ท่ี ดังต่อไปน้ี

๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๓๖ ตอนท่ี ๑๓๖ ก วันท่ี ๑๑ ธันวาคม
๒๕๖๒ (หนา้ ๔-๗)

118

(๑) ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง หรือปลัดทบวง
ใ น ก ร ณี ที่ ผู ทํ า คํ า ส่ั ง ท า ง ป ก ค ร อ ง เ ป น เ จ า ห น า ท่ี ข อ ง สํ า นั ก ง า น ป ลั ด
สํานักนายกรัฐมนตรี สํานักงานปลัดกระทรวง หรือสํานักงานปลัดทบวง
แลว แตก รณี

(๒) อธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการที่มีฐานะเปนกรม ในกรณีท่ี
ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเจาหนาที่ของกรมหรือสวนราชการท่ีมีฐานะ
เปนกรม แลว แตกรณี

(๓) ผูวาราชการจังหวัด ในกรณีท่ีผูทําคําสั่งทางปกครองเปน
เจา หนาทขี่ องราชการสวนภมู ิภาคในจงั หวัด

(๔) ผูบริหารรัฐวิสาหกิจ ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปน
เจา หนา ที่ของรฐั วสิ าหกิจ

(๕) ผูบรหิ ารหนวยงานอ่ืนของรัฐ ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครอง
เปน เจา หนาทข่ี องหนว ยงานอนื่ ของรฐั

(๖) นายกองคการบริหารสว นจงั หวดั นายกเทศมนตรี ผูวาราชการ
กรุงเทพมหานคร หรือนายกเมืองพัทยา ในกรณีท่ีผูทําคําส่ังทางปกครอง
เปนเจาหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดเทศบาลนคร เทศบาลเมือง
กรงุ เทพมหานคร หรือเมืองพัทยา แลวแตกรณี

(๗) ผูบริหารทองถิ่นอื่นนอกจาก (๖) โดยความเห็นชอบของ
ผูวาราชการจังหวัด ในกรณีที่ผูทําคําส่ังทางปกครองเปนเจาหนาท่ีของ
องคก ารบริหารสว นทองถิ่นน้ัน

(๘) นายกสภาวิชาชีพ ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปน
สภาวชิ าชพี ซึง่ มอี ํานาจหนาท่ีตามท่กี ฎหมายกําหนด

(๙) หวั หนา หนวยงานของรัฐซงึ่ เปนหนว ยธรุ การของคณะกรรมการ
น้ัน ในกรณีที่ผูทาํ คําสงั่ ทางปกครองเปนคณะกรรมการตามกฎหมาย

119

(๑๐) เจาหนาท่ีผูมีอํานาจตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) หรือ
(๘) แลวแตกรณี ในกรณีที่ผูทําคําสั่งทางปกครองเปนเอกชนซึ่งไดรับ
อนุญาต ไดร ับแตงต้ัง หรอื ไดรับมอบหมายจากเจาหนา ที่ดังกลาว

ขอ ๒ ในกรณีท่ีรัฐมนตรี หรือเจาหนาที่ผูมีอํานาจตามขอ ๑
เปนผทู าํ คาํ ส่ังทางปกครองท่กี าํ หนดใหชําระเงิน ใหรัฐมนตรีหรือเจาหนาที่
แลวแตก รณี เปนผมู อี ํานาจออกคาํ ส่ังใชมาตรการบงั คบั ทางปกครอง

ขอ ๓ ใหผูมีอํานาจออกคําส่ังใชมาตรการบังคับทางปกครอง
แตงต้งั เจาหนา ที่ผอู ยภู ายใตบังคับบัญชาซึ่งผานการอบรมดานการบังคับคดี
จากกรมบังคับคดี หรือดานการบังคับทางปกครองตามหลักสูตรที่
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองใหความเห็นชอบ เปน
เจาพนักงานบังคับทางปกครองเพื่อดําเนินการยึดหรืออายัด และขาย
ทอดตลาดทรพั ยสิน

ในการดําเนินการยึดหรืออายัด และขายทอดตลาดทรัพยสิน
เ พ่ื อ ป ร ะ โ ย ช น ใ น ก า ร ใ ช ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ ท า ง ป ก ค ร อ ง สํ า ห รั บ คํ า ส่ั ง
ทางปกครองที่กําหนดใหชําระเงินแตละคําส่ัง ผูออกคําสั่งใชมาตรการ
บังคับทางปกครองอาจมอบหมายใหเจาพนักงานบังคับทางปกครอง
หนง่ึ คนหรอื หลายคนรวมเปน เจาพนักงานบงั คับทางปกครองก็ได

ในกรณีท่ีมกี ารมอบหมายเจา พนักงานบงั คับทางปกครองตามวรรค
สองเพียงหนึ่งคน บุคคลดังกลาวตองสําเร็จการศึกษาปริญญาตรีทาง
นิติศาสตร แตกรณีท่ีมีการมอบหมายเจาพนักงานบังคับทางปกครอง
หลายคน ในการดําเนนิ การยึดหรืออายัดทรัพยสนิ ตองมีเจาพนักงานบังคับ
ทางปกครองอยา งนอ ยหนง่ึ คนสําเร็จการศกึ ษาปรญิ ญาตรีทางนิติศาสตร

120

ขอ ๔ ในการแตงตั้งเจาพนักงานบังคับทางปกครอง ใหหัวหนา
หนวยงานของรัฐหรือนายกสภาวิชาชีพ แลวแตกรณี เปนผูออกบัตร
ประจําตัวเจาพนักงานบังคับทางปกครอง โดยใหนําแบบบัตรและ
หลักเกณฑในการออกบัตรตามกฎหมายวาดวยบัตรประจําตัวเจาหนาท่ี
ของรฐั มาใชบังคับโดยอนุโลม

ขอ ๕ กรณที ก่ี ฎหมายใดกําหนดเจา หนา ท่ีผูอ อกคําส่ังใชมาตรการ
บังคับทางปกครองหรือหลักเกณฑในการแตงตั้งเจาพนักงานบังคับ
ทางปกครองไวโดยเฉพาะแลว ใหใชบังคับตามกฎหมายวาดวยการนั้น
เวนแตเจาหนาท่ีเห็นวาการใชหลักเกณฑตามกฎหมายวาดวยการนั้น
จะเกดิ ผลนอยกวา หลกั เกณฑท ี่กาํ หนดไวใ นกฎกระทรวงนี้ เจาหนาที่จะใช
หลกั เกณฑตามกฎกระทรวงนแี้ ทนก็ได

ขอ ๖ บรรดาคําสั่งใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยวิธีการยึด
หรืออายัด และขายทอดตลาดทรัพยสินของผูอยูใตบังคับของคําสั่งทาง
ปกครองท่ไี ดอ อกโดยชอบตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กอนวันที่กฎกระทรวงนี้ใชบังคับ ใหถือวาเปนคําสั่งใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองตามกฎกระทรวงน้ี และใหดําเนินการยึดหรืออายัดหรือ
ข า ย ท อ ด ต ล า ด ท รั พ ย สิ น ต า ม ท่ี ร ะ บุ ไ ว ใ น คํ า ส่ั ง ใ ช ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ
ทางปกครองตอไปได แตตองไมเกินหน่ึงปนับแตวันที่กฎกระทรวงน้ี
ใชบ งั คบั

121

ขอ ๗ ในวาระเร่ิมแรก ผูมีอํานาจออกคําสั่งใชมาตรการบังคับ
ทางปกครองจะแตงต้ังผูซ่ึงไมผานการอบรมดานการบังคับคดีจาก
กรมบังคบั คดี หรือดา นการบังคบั ทางปกครองตามหลักสูตรท่ีคณะกรรมการ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองใหความเห็นชอบ เปนเจาพนักงานบังคับ
ทางปกครองก็ได โดยเจาหนาท่ีดังกลาวสามารถปฏิบัติหนาที่ไดไมเกิน
หนงึ่ ปน ับแตวนั ทกี่ ฎกระทรวงน้ใี ชบ ังคบั

ใหไ ว ณ วนั ที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก ประยุทธ จนั ทรโอชา
นายกรฐั มนตรี

122

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชก ฎกระทรวงฉบบั นี้ คือ โดยที่มาตรา
๖๓/๗ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติใหเจาหนาที่ผูออกคําส่ัง
ใ ช ม า ต ร ก า ร บั ง คั บ ท า ง ป ก ค ร อ ง แ ล ะ ก า ร แ ต ง ต้ั ง เ จ า พ นั ก ง า น บั ง คั บ
ทางปกครองเปนไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง จึงจําเปนตอง
ออกกฎกระทรวงน้ี

123

กฎกระทรวง
กําหนดเจา หนา ทผี่ มู อี ํานาจกาํ หนดคาปรับบังคบั การ

พ.ศ. ๒๕๖๒

124

กฎกระทรวง
กาํ หนดเจาหนาทผี่ มู อี ํานาจกาํ หนดคาปรบั บงั คบั การ

พ.ศ. ๒๕๖๒24๑

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนงึ่ แหงพระราชบัญญัติ
วิธีปฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๖๓/๒๑ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นายกรัฐมนตรอี อกกฎกระทรวงไว ดงั ตอไปน้ี

ขอ ๑ ใหเจาหนา ที่ผทู ําคําส่ังทางปกครองมีอํานาจกําหนดคาปรับ
บังคับการในกรณีท่ีมีการฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามคําส่ังทางปกครอง
ที่กําหนดใหกระทําหรือละเวนกระทํา เวนแตในกรณีที่เอกชนเปน
ผูใชอํานาจทําคําส่ังทางปกครอง ใหอํานาจกําหนดคาปรับบังคับการ

๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๓๖ ก วนั ท่ี ๑๑ ธันวาคม
๒๕๖๒ (หนา ๘-๑๐)

125

เปน ของหัวหนาหนวยงานของรัฐผูมอบอํานาจหรือผูกํากับดูแลเอกชนนั้น
แลว แตก รณี

ขอ ๒ ใหเจาหนาท่ีตามขอ ๑ มีอํานาจกําหนดคาปรับบังคับการ
ดงั นี้

(๑) รฐั มนตรกี าํ หนดไดไมเ กนิ หาหม่ืนบาทตอ วนั
(๒) คณะกรรมการตามกฎหมายกําหนดไดไมเกินหาหม่ืนบาท
ตอ วนั
(๓) ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนและ
มีฐานะเทียบเทาปลัดกระทรวงหรืออธิบดี กําหนดไดไมเกินสามหมื่นบาท
ตอวนั
(๔) ผวู าราชการจังหวัดหรือผูวาราชการกรุงเทพมหานครกําหนดได
ไมเ กนิ สามหม่ืนบาทตอ วัน
(๕) หวั หนา สวนราชการประจําจงั หวดั กาํ หนดไดไมเ กินสองหม่ืนบาท
ตอ วนั
(๖) นายอําเภอกาํ หนดไดไมเกินสองหมื่นบาทตอ วัน
(๗) ผบู ริหารทองถิ่นกาํ หนดไดไ มเ กินสองหมนื่ บาทตอวัน
(๘) ผบู รหิ ารรัฐวิสาหกจิ กาํ หนดไดไมเ กินสองหม่นื บาทตอวนั
(๙) ผูบริหารหนวยงานอ่ืนของรัฐกําหนดไดไมเกินสองหม่ืนบาท
ตอ วัน
(๑๐) พนกั งานเจา หนาท่ตี ามกฎหมายหรอื ตําแหนงที่เรียกช่ืออยางอื่น
ซึ่งเปนเจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองกําหนดไดไมเกินหน่ึงหม่ืนบาท
ตอ วัน
(๑๑) นายกสภาวิชาชีพกาํ หนดไดไมเ กนิ สองหมน่ื บาทตอ วนั

126

(๑๒) หัวหนาหนวยงานของรัฐผูมอบอํานาจหรือผูกํากับดูแล
เอกชนกําหนดไดไมเกินสองหม่ืนบาทตอวัน สําหรับกรณีที่เอกชนเปน
ผใู ชอ าํ นาจทําคาํ สงั่ ทางปกครอง

ขอ ๓ ในกรณีที่ไมมีการชําระคาปรับบังคับการ ใหเจาหนาที่
ตามขอ ๑ แจงใหผูอยูในบงั คับของคําส่ังทางปกครองชําระคาปรับบังคับการ
ทกุ สบิ หา วนั

ใหไว ณ วันท่ี ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
พลเอก ประยทุ ธ จันทรโ อชา
นายกรัฐมนตรี

127

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชก ฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา
๖๓/๒๑ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัติใหเจาหนาที่ระดับใดมีอํานาจ
กาํ หนดคาปรบั บังคับการจํานวนเทาใด สําหรับในกรณีใด ใหเปนไปตามท่ี
กาํ หนดในกฎกระทรวง จึงจําเปน ตองออกกฎกระทรวงน้ี

128

กฎกระทรวง
กําหนดหนว ยงานของรฐั ทส่ี ามารถขอใหเ จาพนกั งานบังคบั คดี

ดาํ เนนิ การบงั คบั คดปี กครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓

129

กฎกระทรวง
กําหนดหนว ยงานของรฐั ทีส่ ามารถขอใหเ จา พนกั งานบงั คบั คดี

ดาํ เนนิ การบงั คบั คดปี กครอง
พ.ศ. ๒๕๖๓25๑

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๖ วรรคหนง่ึ แหงพระราชบัญญัติ
วิธปี ฏิบตั ริ าชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และมาตรา ๖๓/๑๕ วรรคหก
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งแกไข
เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ นายกรฐั มนตรีออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี

ขอ ๑ ใหยกเลิกกฎกระทรวงกําหนดหนวยงานของรัฐที่สามารถ
ข อ ใ ห เ จ า พ นั ก ง า น บั ง คั บ ค ดี ดํ า เ นิ น ก า ร บั ง คั บ ท า ง ป ก ค ร อ ง แ ท น
พ.ศ. ๒๕๖๓

๑ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๓๗ ตอนที่ ๖๘ ก วันท่ี ๒๘ สิงหาคม
๒๕๖๓ (หนา ๑-๒)

130

ขอ ๒ ใหหนวยงานดังตอไปนี้ เปนหนวยงานของรัฐท่ีสามารถ
ขอใหเ จาพนกั งานบงั คับคดีดําเนินการบงั คับทางปกครองตามมาตรา ๖๓/๑๕

(๑) สาํ นกั งานตรวจเงินแผนดิน
(๒) สํานกั งานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน
และกิจการโทรคมนาคมแหง ชาติ
(๓) สํานักงานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ 26๒
(๔) สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร27๓
(๕) สํานกั งานศาลยุตธิ รรม
(๖) สํานักงานผูต รวจการแผนดนิ
(๗) สํานักงานคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง ชาติ
(๘) สาํ นักงานอยั การสูงสุด
(๙) สํานกั งานบรหิ ารและพัฒนาองคความรู (องคก ารมหาชน)
(๑๐) กองทนุ พัฒนาสอื่ ปลอดภยั และสรา งสรรค
(๑๑) ศนู ยม านษุ ยวทิ ยาสิรินธร (องคการมหาชน)
(๑๒) หอภาพยนตร (องคก ารมหาชน)
(๑๓) ศูนยค ณุ ธรรม (องคก ารมหาชน)
(๑๔) สาํ นักงานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา
(๑๕) สถาบนั วิจยั และพัฒนาพน้ื ท่ีสูง (องคการมหาชน)
(๑๖) สาํ นกั งานสง เสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม
(๑๗) สํานกั งานคณะกรรมการการแขงขนั ทางการคา

๒ ความใน (๓) เพิ่มโดยกฎกระทรวงกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีสามารถ
ขอใหเ จาพนกั งานบังคับคดดี าํ เนินการบงั คบั คดีปกครอง (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓

๓ ความใน (๔) – (๑๗) เพิ่มโดยกฎกระทรวงกําหนดหนวยงานของรัฐท่ีสามารถ
ขอใหเจาพนกั งานบังคบั คดดี าํ เนินการบงั คบั คดปี กครอง (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔

131

(๑๘) สถาบันอุดมศึกษาในกากับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม๔

(๑๙) สถาบนั วิจยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
(๒๐) องค์การพิพธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
(๒๑) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ
(๒๒) สถาบันมาตรวิทยาแหง่ ชาติ
(๒๓) สานกั งานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวตั กรรมแหง่ ชาติ
(๒๔) สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม
(๒๕) สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน)
(๒๖) สถาบนั เทคโนโลยนี ิวเคลียร์แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
(๒๗) สถาบนั วิจยั แสงซินโครตอน (องค์การมหาชน)
(๒๘) สถาบันวจิ ัยดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน)
(๒๙) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้า (องค์การมาชน)
(๓๐) สานกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)
(๓๑) ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ด้านชวี วิทยาศาสตร์ (องคก์ ารมหาชน)
(๓๒) สถาบันอดุ มศกึ ษาของรฐั ที่เป็นส่วนราชการ แต่ไม่มฐี านะเปน็ กรม
(๓๓) สถาบันบณั ฑิตพฒั นศลิ ป์

๔ ความใน (๑๘) – (๓๓) เพ่ิมโดยกฎกระทรวงกาหนดหน่วยงานของรัฐท่ีสามารถ
ขอให้เจา้ พนกั งานบังคับคดดี าเนินการบังคบั คดีปกครอง (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔

132

(๓๔) การยางแห่งประเทศไทย๕
(๓๕) สานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ ัว (องคก์ ารมหาชน)
(๓๖) การไฟฟ้านครหลวง
(๓๗) การไฟฟ้าสว่ นภมู ภิ าค
(๓๘) การประปานครหลวง
(๓๙) การประปาสว่ นภูมิภาค
(๔๐) องค์การตลาด
(๔๑) องคก์ ารจัดการนา้ เสยี
(๔๒) สถาบนั เพอ่ื การยตุ ิธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน)๖
(๔๓) สถาบนั อนุญาโตตลุ าการ

ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา
นายกรัฐมนตรี

๕ ความใน (๓๔) – (๔๑) เพ่ิมโดยกฎกระทรวงกาหนดหน่วยงานของรัฐที่สามารถ
ขอให้เจา้ พนกั งานบงั คบั คดีดาเนนิ การบงั คับคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๖๔

๖ ความใน (๔๒) – (๔๓) เพิ่มโดยกฎกระทรวงกาหนดหน่วยงานของรัฐท่ีสามารถ
ขอใหเ้ จ้าพนกั งานบังคบั คดดี าเนนิ การบังคบั คดีปกครอง (ฉบบั ท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๔

133

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซง่ึ แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถย่ืนคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพื่อให้ศาล ออกหมายบังคับคดีต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีเพื่อบังคับ
ให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้ และการที่ จะนา
หลักการนี้ไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอื่นของรัฐท่ีมิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการที่เรียกช่ือ อย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นนั้น จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังนั้น
เพ่อื ให้การบังคับตามคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินของสานักงาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน สมควรกาหนดให้สานักงาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ เป็นหน่วยงานของรัฐที่สามารถขอให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีดาเนินการบังคับทางปกครองได้ และโดยที่ปัจจุบันได้มีการ
กาหนดให้สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเป็นหน่วยงานของรัฐตามมาตรา
๖๓/๑๕ ด้วยแล้ว สมควรปรับปรุงโดยนามารวมอยู่ในกฎกระทรวง
ฉบบั เดยี วกนั เพื่อประโยชนใ์ นการตรวจสอบและอ้างอิงของเจา้ หนา้ ท่ี และ
ประชาชนท่ัวไป จงึ จาเปน็ ตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้

134

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีมาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซ่ึงแก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถยื่นคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพ่ือให้ศาลออกหมายบังคับคดีต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือบังคับ
ให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้ และการที่จะนา
หลักการนี้ไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นน้ัน จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังน้ัน
เพ่ือใหก้ ารบงั คับตามคาสงั่ ทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินของสานักงาน
คณะกรรมการการเลือกตั้งมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน สมควรกาหนดให้
สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นหน่วยงานของรัฐท่ีสามารถ ขอให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีดาเนินกรบังคับทางปกครองได้ จึงจาเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซ่งึ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถยื่นคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพ่ือให้ศาลออกหมายบังคับคดีต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือบังคับ
ให้เป็นไปตามคาสั่งทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงินได้ และการที่จะนา
หลักการน้ีไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอ่ืนของรัฐท่ีมิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นน้ัน จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังนั้น
เพื่อให้การบงั คบั ตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินของสานักงาน

135

เลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร สานกั งานศาลยุติธรรม สานักงานผู้ตรวจการ
แผน่ ดนิ สานักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติ สานักงานอัยการ
สูงสุด สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) กองทุน
พัฒนาส่ือปลอดภัยและสร้างสรรค์ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การ
มหาชน) หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน)
สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นท่ีสูง (องค์การ
มหาชน) สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และ
สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้ามีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น
สมควรกาหนดให้หน่วยงานดังกล่าวเป็นหน่วยงานของรัฐที่สามารถขอให้
เจ้าพนักงานบังคับคดีดาเนินการบังคับทางปกครองได้ จึงจาเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบับน้ี คือ โดยท่ีมาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถยื่นคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพ่ือให้ศาลออกหมายบังคับคดีตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือบังคับ
ให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้ และการท่ีจะนา
หลักการนี้ไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอื่นของรัฐที่มิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภูมิภาคและราชการส่วนท้องถิ่นนั้น จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังน้ัน
เพ่ือให้การบังคับตามคาสั่งทางปกครองที่กา หนดให้ชาระเงิน
ของสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐในกากับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หน่วยงานในกากับ
ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

136

สถาบันอุดมศึกษาของรัฐท่ีเป็น ส่วนราชการ แต่ไม่มีฐานะเป็นกรม และ
สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป์ มปี ระสิทธิภาพยิง่ ข้ึน สมควรกาหนดให้หน่วยงาน
ดังกล่าวเป็นหน่วยงานของรัฐท่ีสามารถขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดี
ดาเนินการบังคบั ทางปกครองได้ จงึ จาเปน็ ตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้
หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซ่งึ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถยื่นคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพื่อให้ศาลออกหมายบังคับคดีต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือบังคับ
ให้เป็นไปตามคาส่ังทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้ และการท่ีจะนา
หลักการนี้ไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอ่ืนของรัฐที่มิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภมู ิภาค และราชการส่วนท้องถ่ินน้ัน จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังน้ัน
เพื่อให้การบังคับตามคาส่ังทางปกครองท่ีกาหนดให้ชาระเงินของการยาง
แห่งประเทศไทย สานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) การไฟฟ้านครหลวง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค
องค์การตลาด และองค์การจัดการน้าเสีย มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน สมควร
กาหนดให้หน่วยงานดังกล่าวเป็นหน่วยงานของรัฐที่สามารถขอให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีดาเนินการบังคับทางปกครองได้ จึงจาเป็นต้องออก
กฎกระทรวงนี้

137

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา
๖๓/๑๕ แห่งพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
ซึง่ แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดให้หน่วยงานของรัฐสามารถย่ืนคาขอฝ่ายเดียว
ต่อศาลเพื่อให้ศาลออกหมายบังคับคดีต้ังเจ้าพนักงานบังคับคดีเพ่ือบังคับ
ให้เป็นไปตามคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินได้ และการท่ีจะนา
หลักการนี้ไปใช้บังคับแก่หน่วยงานอ่ืนของรัฐท่ีมิใช่กระทรวง ทบวง กรม
หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน
ภมู ิภาค และราชการส่วนท้องถิ่นน้ัน จะต้องกาหนดในกฎกระทรวง ดังน้ัน
เพ่ือให้การบังคับตามคาสั่งทางปกครองที่กาหนดให้ชาระเงินของสถาบัน
เพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) และสถาบัน
อนุญาโตตุลาการ มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน สมควรกาหนดให้สถาบันเพ่ือการ
ยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) และสถาบันอนุญาโตตุลาการ
เป็นหน่วยงานของรัฐท่ีสามารถขอให้เจ้าพนักงานบังคับคดีดาเนินการ
บงั คบั ทางปกครองได้ จงึ จาเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงนี้

138

ประกาศสาํ นกั นายกรัฐมนตรี
เร่อื ง คาํ สงั่ ทางปกครองทีต่ อ งระบเุ หตผุ ลไวในคาํ ส่งั

หรือในเอกสารแนบทายคาํ ส่ัง
ประกาศ ณ วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓

139

ประกาศสาํ นกั นายกรัฐมนตรี
เรื่อง คาํ สั่งทางปกครองท่ตี อ งระบเุ หตผุ ลไวใ นคําส่ัง

หรอื ในเอกสารแนบทา ยคาํ สงั่ 31๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๓๗ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
นายกรัฐมนตรีโดยคําเสนอแนะของคณะกรรมการ วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครองออกประกาศไว ดงั ตอ ไปน้ี

ใ ห คํ า ส่ั ง ท า ง ป ก ค ร อ ง ที่ ทํ า เ ป น ห นั ง สื อ แ ล ะ ก า ร ยื น ยั น คํ า สั่ ง
ทางปกครองเปนหนังสือในกรณีดังตอไปนี้ เปนคําสั่งทางปกครองที่ตอง
ระบุเหตุผลไวในคําสั่งหรือเอกสารแนบทายคําส่ัง ตามมาตรา ๓๗
วรรคสอง

(๑) คําส่ังทางปกครองที่เปนการปฏิเสธการกอต้ังสิทธิของคูกรณี
เชน การไมรับคําขอ ไมอนุญาต ไมอนุมัติ ไมรับรอง ไมรับอุทธรณ หรือ
ไมรบั จดทะเบียน

(๒) คําส่ังทางปกครองท่ีเปนการเพิกถอนสิทธิ เชน การเพิกถอน
ใบอนุญาต เพิกถอนการอนุมัติ เพิกถอนการรับรอง หรือเพิกถอน
การรับจดทะเบยี น

(๓) คาํ สัง่ ทางปกครองทก่ี าํ หนดใหก ระทําการหรือละเวน กระทําการ
(๔) คําส่งั ทางปกครองท่เี ปนคาํ วนิ จิ ฉัยอทุ ธรณ

๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗ ตอนพิเศษ ๘๔ ง วันท่ี ๒๓
สิงหาคม ๒๕๔๓ (หนา ๑-๒)
140

(๕) คาํ สงั่ ยกเลกิ การสอบราคา การประกวดราคา หรือการประมูล
ราคาที่มีผูไดรับคัดเลือกจากคณะกรรมการที่มีอํานาจหนาที่ในการ
พจิ ารณาผลการดําเนินการดังกลา วแลว

ความในวรรคหนึ่งมิใหนํามาใชในกรณีท่ีไมอาจเปดเผยไดตามท่ี
กาํ หนดในมาตรา ๓๒

ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๓
ชวน หลีกภยั
นายกรฐั มนตรี

141


Click to View FlipBook Version