The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหลากหลายทางชีวภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BIOLOGY 6, 2019-12-22 12:09:27

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

„ จานวนหน่วยการเรยี น 1.5 หน่วยกติ

„ จานวนคาบ : สปั ดาห์ 3 คาบ : สปั ดาห์

„ จานวนคาบ : ภาคเรยี น 60 คาบ : ภาคเรยี น

„ ขาดเรยี นไดไ้ ม่เกนิ 12 คาบ

„ คะแนน

‟ ระหวา่ งภาคเรยี น ก่อนเรยี น ‟ หลงั เรยี น 20:20 คะแนน

‟ สอบกลางภาค 30 คะแนน

‟ สอบปลายภาค 30 คะแนน

ผลการเรยี นรู้

„ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายเก่ยี วกบั ความหมาย และองคป์ ระกอบของความหลากหลาย ทางชวี ภาพ

„ 2. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายการศึกษาความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ การจดั หมวดหม่ขู องสง่ิ มชี วี ติ
ชอ่ื ของสง่ิ มชี วี ติ และการระบชุ นิด

„ 3. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย อธบิ าย และสรปุ เก่ยี วกบั กาํ เนดิ ของชวี ติ กาํ เนิดของเซลลโ์ พรคารโิ อต และเซลลย์ ู
คารโิ อต

„ 4. สบื คน้ ขอ้ มลู ทดลอง อภปิ ราย อธบิ าย และสรุปเกณฑท์ ใ่ี ชใ้ นการจดั จาํ แนกสง่ิ มชี วี ติ ออกเป็น โดเมน และ
อาณาจกั ร ลกั ษณะทเ่ี หมอื น และแตกต่างกนั ของสง่ิ มชี วี ติ ในอาณาจกั รมอเนอรา อาณาจกั ร
โพรทสิ ตา อาณาจกั รพชื อาณาจกั รฟงั ไจและอาณาจกั รสตั ว์

„ 5. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย อธบิ าย และนาํ เสนอคณุ ค่าของความหลากหลายทางชวี ภาพกบั การใช้ ประโยชน์
ของมนุษยท์ ม่ี ผี ลต่อสงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม

„ ผลการเรยี นรู้

„ 6. ใชเ้ทคโนโลยสี บื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และนาํ เสนอสถานการณค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย
และผลกระทบจากการสูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างสรา้ งสรรค์ เผยแพร่และแลกเปลย่ี นผลงานได้
ในระดบั นานาชาติ

„ 7. ออกแบบสถานการณจ์ าํ ลองทแ่ี สดงถงึ การเปลย่ี นแปลงปจั จยั ต่าง ๆ ของสง่ิ แวดลอ้ มทม่ี ผี ลต่อ การอยู่รอด
ของสง่ิ มชี วี ติ

„ 8. วเิ คราะห์ อภปิ ราย และสรปุ ไดว้ า่ การอยู่รอดของสง่ิ มชี วี ติ สมั พนั ธก์ บั ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ
„ 9. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายเก่ยี วกบั ความหมายของประชากร ความหนาแน่นของประชากร อตั ราการ

เปลย่ี นแปลงขนาดของประชากร และปจั จยั สาํ คญั ทม่ี ผี ลต่อการ เปลย่ี นแปลงขนาดของประชากร

„ 10. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และวเิ คราะหข์ อ้ มลู เก่ยี วกบั เรอ่ื งประชากรมนุษย์ การเตบิ โต และโครงสรา้ งอายุของ
ประชากรมนุษย์

„ ผลการเรยี นรู้
„ 11. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ
„ 12. อภปิ ราย อธบิ าย และสรุปแนวทางการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทงั้ การอนุรกั ษ์

และพฒั นาทย่ี งั่ ยนื พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางในการอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ
„ 13. สบื คน้ ขอ้ มลู อภปิ ราย และอธบิ ายเก่ยี วกบั ชนดิ พนั ธุต์ ่างถน่ิ ทส่ี ่งผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม
„ 14. จดั ทาโครงงาน เรอ่ื ง การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ เขียนรายงานตามหลกั วชิ าการโดยใชภ้ าษาองั กฤษไม่

นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 30 นาเสนอองคค์ วามรูท้ ่เี ป็นประโยชนส์ ูส่ าธารณะโดยใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์
„ รวมทง้ั หมด 14 ผลการเรยี นรู้

เน้ือหา ประชากร

‟ ความหลากหลายทางชีวภาพ „ ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร

„ ประเภทของความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ „ ขนาดของประชากร

„ การศึกษาความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ „ รูปแบบการเพม่ิ ของประชากร

„ กาํ เนดิ สง่ิ มชี วี ติ „ การรอดชวี ติ ของประชากร

„ อาณาจกั รของสง่ิ มชี วี ติ „ ประชากรมนุษย์

„ ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย มนุษยก์ บั ความยงั่ ยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม

„ การสูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ „ ทรพั ยากรธรรมชาติ

„ หลกั การอนุรกั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ

„ ชนดิ พนั ธุต์ ่างถน่ิ ทส่ี ่งกระทบต่อสภาพแวดลอ้ ม

Cherdchay Chimburut
Khaeng Khoi school

„ Biodiversity (Biological + diversity)

„ การมสี ง่ิ มีชีวติ นานาชนิด นานาพนั ธุใ์ นระบบนิเวศอนั เป็นแหล่งท่อี ยู่อาศยั ซ่ึง
มีมากมายและแตกต่างกันทัว่ โลก หรือกล่าวอย่างง่ายก็คือ การท่ีมี
ชนิดพนั ธุ์ (Species) สายพนั ธุ์ (Genetic) และระบบนิเวศ (Ecosystem) ท่ี
แตกต่างหลากหลายบนโลก

„ ระดบั ของความหลากหลายทางชีวภาพ

‟ ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม (genetic diversity)
‟ ความหลากหลายทางชนิดพนั ธุ์ (species diversity)
‟ ความหลากหลายทางระบบนิเวศ (ecological diversity)

„ ระดบั ของความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม (genetic diversity)
‟ ความหลากหลายทางพนั ธุกรรม หมายถงึ ความหลากหลายของหน่วยพนั ธุกรรมหรอื

ยีน(genes) ท่มี อี ยู่ในสง่ิ มชี ีวิตแตล่ ะชนิด สง่ิ มีชีวติ ชนิดเดยี วกนั อาจมียีนแตกตา่ ง
กนั ไปตามสายพนั ธุ์

„ ระดบั ของความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชนิดพนั ธุ์ (Species diversity)

‟ ความหลากหลายของชนิดสง่ิ มชี วี ติ (species) ทม่ี อี ยูใ่ นพ้นื ทห่ี น่ึงนนั่ เอง ซง่ึ เป็นผล
มาจากการความหลากหลายทางพนั ธุกรรม เกดิ การสะสมความแตกต่าง เป็นระยะเวลา
ทย่ี าวนานหลายชวั่ รุ่น และผา่ นกระบวนการคดั เลอื กโดยธรรมชาติ หรอื อาจเกดิ จาก
การคดั เลอื กพนั ธุโ์ ดยมนุษยท์ าํ ใหเ้กดิ สง่ิ มชี วี ติ สปีชสี ใ์ หม่

„ ระดบั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ

ความหลากหลายของระบบนิเวศ
(Ecological diversity)

‟ คอื ความซบั ซอ้ นของลกั ษณะพ้นื ท่ี ท่ี
แตกต่างกนั ในแต่ละภมู ภิ าคของโลก เมอ่ื
ประกอบกบั สภาพภมู อิ ากาศ ลกั ษณะภูมิ
ประเทศทาํ ใหเ้กดิ ระบบนิเวศ หรอื ถน่ิ ทอ่ี ยู่
อาศยั ของสง่ิ มชี วี ติ ทแ่ี ตกต่างกนั ไป

การศึกษาความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ

„ การศึกษาความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิตในอดีต

‟ ตารางธรณีการ (Geologic time scale)

การศึกษาความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวติ

„ อนุกรมวธิ าน (taxonomy) คอื ชีววทิ ยาแขนงหน่ึงท่ศี ึกษาการจดั จาแนก
หมวดหมู่ ของสง่ิ มชี ีวติ โดยมีองคป์ ระกอบ 3 สว่ นคอื

‟ การจดั จาแนกสง่ิ มีชีวติ ออกเป็นกลมุ่ (Classification)
เป็นการจดั ลาดบั ขน้ั และหน่วยอนุกรมวธิ านของสง่ิ มชี ีวติ

‟ การตง้ั ช่ือสง่ิ มชี ีวติ ใหม่ (nomenclature)
เป็นการระบชุ ่ืออย่างชดั เจนของสง่ิ มชี ีวติ น้นั

‟ การระบชุ ่ือวทิ ยาศาสตรข์ องสง่ิ มชี ีวติ (identification)

Hominidae „ การจดั จาแนกสง่ิ มชี ีวติ ออกเป็นกลมุ่
Primates (Classification) เป็นการจดั ลาดบั ขน้ั
Mammalia และหน่วยอนุกรมวธิ านของสง่ิ มชี ีวติ
Chordata
Animalia ลาดบั ขน้ั (Categories)

หน่วยอนุกรมวธิ าน
(Taxa)





„ การแบง่ ขน้ั ย่อย
‟ Sub.........
‟ Super............

‟ หลกั ฐานในการจดั จาแนก

„ ซากดกึ ดาบรรพ์

„ ชีววทิ ยาระดบั โมเลกลุ
(เปรยี บเทยี บลาดบั เบสใน DNA)

„ ลกั ษณะทางกายวภิ าค
„ ลกั ษณะทางสณั ฐานวทิ ยา
„ ลกั ษณะทางนิเวศวทิ ยา
„ พฤตกิ รรม

„ การใหช้ ่ือสง่ิ มชี ีวติ (nomenclature) เป็นการระบุ
ช่อื อย่างชดั เจนของสง่ิ มชี วี ติ นน้ั เน่อื งจากสง่ิ มชี วี ติ
1 ชนิดอาจมชี ่อื หลายช่อื

‟ ช่ือสามญั : ช่อื ทเ่ี รยี กกนั ทวั่ ไปในการอนุกรมวธิ าน ใช้
ช่อื อาจใหช้ อ่ื ตามลกั ษณะรูปร่างของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ นนั้ ๆ
เช่น สบั ปะรด (pineapple)

‟ ช่ือทอ้ งถน่ิ : ช่อื ทใ่ี ชส้ อ่ื สารเพอ่ื ความเขา้ ใจในแต่ละ
ทอ้ งถน่ิ เช่น สบั ปะรด (ภาคกลาง) บกั นดั (ภาคอสี าน)
มะนดั (ภาคเหนือ) ย่านดั (ภาคใต)้

- ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Ananas comosus

„ ระบบการเรยี กช่ือสง่ิ มีชีวิตแบบทวินาม
(Binomial nomenclature) เป็นระบบการ
เรยี กชอ่ื สง่ิ มชี วี ติ แต่ละสปีชสี ท์ ใ่ี ชอ้ ยูใ่ นปจั จบุ นั
เป็นช่อื ทใ่ี ชเ้รยี กแทนสง่ิ มชี วี ติ ในสปีชสี ต์ ่าง ๆ
อยา่ งเป็นทางการ

„ ชอ่ื ทวนิ ามจะเป็นภาษาละตนิ ประกอบดว้ ย
คาํ ศพั ท์ 2 คาํ คอื คาแรกเป็นช่ือสกลุ (generic
name) คาท่สี องเป็นคาระบชุ นิด (specific
epithet)

ช่ือวิทยาศาสตร์
„ คาโรลสั ลนิ เนียส (Carolus Linnaeus)

‟ บดิ าแหง่ อนุกรมวธิ าน
‟ รเิ รม่ิ การตง้ั ช่ือแบบทวนิ าม

„ การเรยี กช่ือวทิ ยาศาสตรข์ องสง่ิ มชี ีวติ

‟ Binomial nomenclature
คอื เรยี กช่ือ Genus + Specific epithet

Felis Catus Lin.
Felis catus Lin. Felis catus Lin.
Felis catus Lin. Felis catus Lin.

„ การระบชุ ่ือวทิ ยาศาสตรข์ องสง่ิ มชี ีวติ (identification) เป็นการสรา้ งแบบหรอื
แนวทางในการอาํ นวยความสะดวกใหผ้ ูอ้ น่ื สามารถจดั จาํ แนกหรอื บอกช่อื
วทิ ยาศาสตรข์ องสง่ิ มชี วี ติ นน้ั ไดเ้มอ่ื พบเหน็ หรอื ตอ้ งการ

„ เคร่อื งมอื ท่นี ิยมใชใ้ นการระบชุ ่ือวทิ ยาศาสตรข์ องสง่ิ มีชีวติ ไดแ้ ก่
Dichotomous key และ Pictoral key

1. Beak present........................................................................go to 2
Beak absent.........................................................................go to 3

2. Beak hooked........................................................................osprey
Beak flat.................................................................................duck

3. Body without appendages (legs, etc.).................................go to 4
Body with appendages........................................................go to 5

4. Body V-shaped...................................................................mussel
Body not V-shaped...............................................oak tree (acorn)

5. Fur present...........................................................................beaver
Fur absent............................................................................go to 6

6. Rear of body encased in a shell........................................caddisfly
Rear of body not encased in a shell.....................................go to 7

„ จงสรา้ ง dichotomous key เพอ่ื จดั จาแนกสง่ิ มชี ีวติ ดงั ต่อไปน้ี



„ สมมตฐิ าน : กาเนิดของสง่ิ มีชีวติ (Origin of life)

‟ 1) อทิ ธพิ ลจากศาสนา: สง่ิ มชี ีวติ แรกบนโลกเกดิ จากสง่ิ ไม่มชี ีวติ
‟ 2) ลยุ ปาสเตอร์ : สง่ิ มชี ีวติ เกดิ จากสง่ิ ท่มี ีชีวติ ก่อนหนา้ น้ีเท่าน้นั
‟ 3) อเลก็ ซานดร์ อวี าโนวชิ โอพารนิ (Alexsandr Ivanovich Oparin) :

สง่ิ มชี ีวติ ไม่สามารถเกดิ ข้ึนเองในช่วงเวลาสน้ั ๆ เพยี งขน้ั ตอนเดียว แตต่ อ้ ง
ใชเ้ วลานานมากโดยกระบวนการววิ ฒั นาการทางเคมีอย่างชา้ ๆ

„ สมมตฐิ าน : กาเนิดของสง่ิ มีชีวติ (Origin of life)

‟ แนวคดิ การกาเนิดของสง่ิ มีชีวติ บนโลกของโอพารนิ

RNA เกดิ กอ่ น DNA

„ สมมตฐิ าน : กาเนิดของสง่ิ มชี ีวติ (Origin of life)

‟ การทดลองของของ สแตนเลย์ มิลเลอร์ (Stanley Miller)

„ สมมตฐิ าน : กาเนิดของสง่ิ มีชีวติ (Origin of life)

‟ การทดลองของซดิ นีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox)

„ ขอ้ สนั นิษฐาน

‟ สง่ิ มชี ีวิตเร่มิ แรกน่าจะเป็นพวกเซลลเ์ ดียว
‟ เป็นเซลลแ์ บบโพรคารโิ อต (ดารงชีวติ แบบไม่

ใชอ้ อกซเิ จน ไม่สามารถสรา้ งอาหารไดเ้ อง)
‟ เกดิ ววิ ฒั นาการจนเซลลส์ ามารถสรา้ งอาหาร

ไดเ้ องและสามารถสรา้ งออกซเิ จนได้
‟ การมีออกซิเจนเป็นปจั จยั สาคญั ท่จี ะนาไปสู่

การกาเนิดเซลลแ์ บบยูคารโิ อต

„ Endosymbiotic theory

„ อรสิ โตเตลิ

‟ จดั แบง่ สง่ิ มชี ีวิตออกเป็น 2 อาณาจกั ร คอื

„ Kingdom Animalia
„ Kingdom Plantae

‟ ตอ่ มาเม่อื มีการพฒั นากลอ้ งจลุ ทรรศน์ ทาให้
สามารถศึกษาเก่ยี วกบั สง่ิ มีชีวติ ขนาดเลก็ แต่
ไม่สามารถจดั เขา้ ในอาณาจกั รใดได้

„ Ernst Haeckel

‟ นกั วิทยาศาสตรช์ าวเยอรมนั นี
‟ จดั สง่ิ มีชีวิตท่มี ขี นาดเลก็ ทง้ั หมดไวใ้ น

อาณาจกั รใหม่ เรยี กว่า Kingdom Protista

„ Robert H. Whittadker

‟ มีการพฒั นากลอ้ งจลุ ทรรศน์
อเิ ลก็ ตรอนทาใหส้ ามารถแยกระหว่าง
เซลลโ์ พรคารโิ อตและเซลลย์ ูคารโิ อต
และลกั ษณะบางอยา่ งของสง่ิ มีชีวติ

‟ ทาใหม้ ีการจดั แบง่ สง่ิ มชี ีวติ ออกเป็น
5 อาณาจกั ร

• Carl Woese

– ทาการศกึ ษาระดบั โมเลกลุ
ของสงิ่ มีชีวิต พบวา่ สิง่ มีชีวติ ท่ี
เป็ นโพรคาริโอตสามารถแยก
ออกเป็น 2 กลมุ่ คือ

• Eubacteria

• Archaea (มีลกั ษณะเหมอื นทงั ้
ในกลมุ่ Eubacteria และ กลมุ่
ที่เป็ ยยคู าริโอต)

Eukaryote
Prokaryote

„ ตารางเปรยี บเทยี บความแตกต่างของสง่ิ มีชีวติ ทง้ั 3 โดเมน

ขอ้ เปรยี บเทยี บ ยูแบคทีเรยี อารเ์ คยี ยูคาเรยี
นิวเคลยี สและเย่อื หมุ้ นิวเคลยี ส ไม่มี ไมม่ ี มี
ออรแ์ กแนลท่มี ีเย่อื หมุ้ ไมม่ ี ไม่มี มี
สาร peptidoglycan ท่ผี นงั เซลล์ มี ไม่มี ไม่มี
ขนาดของไรโบโซม 70s 70s 80s
ลกั ษณะของโครโมโซม วงแหวน
โปรตนี Histone วงแหวน มี ปลายเปิด
พลาสมิด ไม่มี มี มี
มี ไม่มี

Virus
Viroid & Prions

„ Virus (ละตนิ : เป็นพษิ )

„ ไม่มี Domain ไม่มี Kingdom
„ ไม่มีคณุ สมบตั เิ ป็นเซลล์
„ มีคณุ สมบตั ิในการเป็นสง่ิ มชี ีวติ เพราะสามารถ

สบื พนั ธไ์ ด้
„ สารพนั ธุกรรมท่พี บในไวรสั อาจเป็น DNA

หรอื RNA
„ ไม่มอี อรแ์ กแนลไม่การแมแทบอลซิ ึมเม่ืออยู่

นอกเซลล์ Host

„ องคป์ ระกอบของไวรสั
„ 1. สว่ นท่ที าหนา้ ท่เี ป็ นสารพนั ธุกรรมหรือจีโนม
„ 2. สว่ นท่ที าหนา้ ท่เี ป็ นโปรตนี ห่อหมุ้ (capsid or

protein coat) มลี กั ษณะเป็นกอ้ นโปรตนี มาเรยี งต่อ
กนั แต่ละกอ้ นประกอบข้นึ จากสายโพลเี ปปไทดท์ ข่ี ดกนั
จนดูคลา้ ยเป็นกอ้ น แต่ละกอ้ นเรยี ก Capsomere
„ 3. สว่ นประกอบอน่ื ๆ เช่น ไขมนั และคารโ์ บไฮเดรต
รวมถงึ โปรตนี ชนดิ อน่ื ๆ ทาํ หนา้ ทเ่ี ป็นเอนไซมท์ ส่ี าํ คญํ
„ ไวรสั ท่มี ีองคป์ ระกอบครบจะเรยี กว่า virion
„ บางชนิดอาจมีสว่ นท่เี รยี กว่า envelope

รูปร่างของไวรสั

„ รูปรา่ งของไวรสั ข้ึนกบั การจดั เรยี งตวั ของ capsomeres
ซ่งึ สามารถแบ่งไดเ้ ป็ น 3 แบบ คอื

‟ 1. icosahedral symmetry รูปร่างเป็นสามเหลย่ี ม
20 หนา้ 12 มมุ เช่น ไวรสั โรคโปลโิ อ หดู

‟ 2. Helical symmetry มีลกั ษณะท่อนตรงยาว หรอื ทอ่ น
โคง้ เช่น ไวรสั ท่ที าใหเ้ กดิ โรคไขห้ วดั ใหญ่ หดั คางทูม โรค
พษิ สนุ ัขบา้ TMV

‟ 3. Complex รูปรา่ งสมมาตรไม่แน่นอน เช่น ไวรสั โรค
ฝีดาษ Bacteriophage

„ ไม่สามารถดาํ รงชวี ติ แบบอสิ ระตอ้ งมี Host
เพราะตวั มนั เองไม่สามารถสงั เคราะห์
โปรตนี ได้

„ ขน้ั ตอนการเพม่ิ จาํ นวน (สบื พนั ธ)์

‟ 1. การเกาะตดิ กบั เซลลเ์ จา้ บา้ น
‟ 2. การเขา้ สูเ่ ซลลเ์ จา้ บา้ น
‟ 3. การสงั เคราะหส์ ่วนประกอบของไวรสั
‟ 4. ระยะเป็นไวรสั โดยสมบูรณ์
‟ 5. ระยะปลดปลอ่ ยออกจากเซลลเ์ จา้ บา้ น



„ ปจั จบุ นั มกี ารใชไ้ วรสั ในทาง
การแพทยเ์ พอ่ื เป็นพาหะในการ
นาํ ยนี ทต่ี อ้ งการเขา้ สู่ร่างกาย
ผูป้ ่วยเรยี กการรกั ษาแบบน้วี า่
Gene therapy

„ Viroid

‟ ไม่มีคณุ สมบตั เิ ป็ นเซลล์ โครงสรา้ งมเี พยี งสารพนั ธุกรรมท่เี ป็นอารเ์ อน็ เอ ไม่มโี ปรตีน
หอ่ หมุ้

„ Viroid

„ ไวรอยดก์ ่อโรคในพชื หลายชนิด เช่น
โรค potato spindle tuber (ตน้ มนั ฝรงั่ ) โรค citrus
exocortis (ตน้ สม้ ) Chrysanthemum stunt
(เบญจมาศ) และ Cucumber pale fruit (แตงกวา)

„ สง่ิ ทม่ี ลี กั ษณะคาบเก่ยี วระหวา่ งการมแี ละการไมม่ ชี วี ติ

„ มลี กั ษณะเป็นโปรตีนท่ปี ระกอบข้ึนจากกรดอะมิโน
ประมาณ 250 หน่วย

„ โครงสรา้ งปกตขิ องมนั จะไม่เป็นอนั ตรายต่อใคร แต่ถา้
โครงสรา้ งมนั “เปลย่ี น” ไปจากปกตมิ นั จะเป็นแมแ่ บบ
และชกั นาํ ใหโ้ ปรตนี ท่ี “ปกต”ิ เกดิ การเปลย่ี นแปลงเป็น
โครงสรา้ งทผ่ี ดิ ปกตไิ ด้ พริออนจงึ สามารถเพม่ิ จาํ นวน
โดยทไ่ี มต่ อ้ งพง่ึ ยนี และมคี วามสามารถในการก่อโรค
ไดท้ นั ที

„ โรคท่เี กดิ จากพรอิ อนไดแ้ ก่
‟ Kuru disease (คน)
‟ Creutzfeldt Jacob disease (CJD) (คน)
‟ scrapio (แกะ)
‟ โรคววั บา้ ( mad cow disease หรอื
Bovine spongiform encephalopathy
(BSE))


Click to View FlipBook Version