The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความหลากหลายทางชีวภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BIOLOGY 6, 2019-12-22 12:09:27

ความหลากหลายทางชีวภาพ

ความหลากหลายทางชีวภาพ

„ Domain Archaea

‟ สามารถดาํ รงชวี ติ อยู่ไดใ้ นสภาพแวดลอ้ มทไ่ี มเ่ หมาะสม (Extreme
environment)

„ Domain Archaea

‟ 1. อารเ์ คยี ท่ชี อบเคม็ (halophilic archaea) สามารถอาศยั อยู่ในบรเิ วณทม่ี เี กลอื มากกวา่ 30% ซง่ึ มคี วาม
เขม้ ขน้ มากกวา่ นาํ้ ทะเลปกตปิ ระมาณ 10 เทา่ เช่น นาเกลอื ทะเลสาบนาํ้ เค็มช่วงฤดูรอ้ น เช่น
Halobacterium sp. และ Halococcus sp.

Halobacterium sp.

„ Domain Archaea

‟ 2. อารเ์ คยี ท่ชี อบรอ้ น (thermophilic archaea) สามารถอาศยั อยู่ในบรเิ วณทม่ี อี ณุ หภมู สิ ูงมากกวา่ 100
องศาเซลเซยี ส เช่น บรเิ วณรอยแยกของเปลอื กโลกทอ่ี ยู่ใตม้ หาสมทุ รลกึ บอ่ นาํ้ พรุ อ้ น เช่น Methanopyrus
kandleri Pyrolobus fumarii และ Pyrodictium sp. บางชนดิ เช่น Sulfolobus sp. พบทบ่ี อ่ นาํ้ พรุ อ้ นซง่ึ
มอี ณุ หภมู สิ ูงและเป็นกรดสูง เรยี กอารเ์ คยี กลมุ่ น้วี า่ อารเ์ คยี ท่ชี อบรอ้ นและกรด (thermoacidophilic
archaea)

Pyrodictium sp.

„ Domain Archaea

‟ 3. อารเ์ คยี ท่สี รา้ งมเี ทน (methanogenic archaea) สามารถสรา้ งแกส๊ มเี ทน อาศยั อยู่ในบรเิ วณทไ่ี มม่ ี
ออกซเิ จน ถา้ สมั ผสั กบั ออกซเิ จนจะตายเน่ืองจากออกซเิ จนจะเป็นพษิ ต่อเซลล์ พบอารเ์ คยี ประเภทน้ไี ดใ้ น
บรเิ วณนาํ้ ลกึ บอ่ บาํ บดั นาํ้ เสยี ป่าพรุ ในทางเดนิ อาหารของสตั ว์ และใตโ้ คลน เช่น Methanococcus sp.
Methanobacterium sp. Methanobrevibacter sp.

Methanococcus sp.

„ Domain Archaea

‟ 4. อารเ์ คยี ท่ชี อบกรด (acidophilic archaea) สามารถอาศยั อยู่ในบรเิ วณทม่ี กี รดสูง มคี ่า pH 1-2 เช่น นาํ้
ท้งิ จากเหมอื งถ่านหนิ หรอื เหมอื งแร่โลหะต่างๆ เป็นอารเ์ คยี กลมุ่ ทเ่ี พง่ิ ถกู คน้ พบทน่ี าํ้ ท้งิ จากเหมอื งแร่ Iron
Mountain Mine เมอื งแคลฟิ อรเ์ นยี ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ผูค้ น้ พบ ตงั้ ช่อื อารเ์ คยี ทพ่ี บน้วี า่ Archaeal
Richmond Mine Acidophilic Nanoorganisms (ARMAN)

Domain Archaea

„ การจาแนก Archaea มมี ากมายหลายแบบในบางตาราจะแบ่ง Archaea ออกเป็น
3 อาณาจกั ร (Kingdom) โดยพจิ ารณาจาก sequence ของ rRNA

„ การจดั จาแนกสง่ิ มชี ีวติ ใน Domain Archaea

‟ Crenarchaeota สามารถพบสง่ิ มชี วี ติ กลมุ่ น้ไี ดใ้ นพ้นื ทท่ี ร่ี อ้ นจดั (80-100 องศาเซลเซยี ส)
เช่นในภเู ขาไฟ อย่างไรกต็ ามสามารถพบบางชนิดไดใ้ นพ้นื ทเ่ี ยน็ จดั อย่าง Antarctic และ
Arctic สว่ นใหญ่อาศยั ในทอ่ี อกซเิ จนตาํ่ และสามารถพบไดใ้ นบางพ้นื ทท่ี ม่ี คี วามเป็นกรด
สูง ตวั อย่างเช่นอารเ์ คยี ทพ่ี บใน Yellowstone

„ การจดั จาแนกสง่ิ มีชีวติ ใน Domain
Archaea

‟ Euryarchaeota เป็นกลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ ทพ่ี บ
ไดใ้ นพ้นื ทท่ี ม่ี เี กลอื สูง ซง่ึ อาจเรยี ก
สง่ิ มชี วี ติ เหลา่ น้วี า่ พวก Halophiles สว่ น
ใหญ่เป็นพวกทส่ี รา้ งแกสมเี ทนได้
(Methanogen) บางชนดิ พบในลาํ ไสข้ อง
สตั ว์

„ การจดั จาแนกสง่ิ มชี ีวติ ใน Domain Archaea

‟ Korarchaeota เป็น Archaea กลมุ่ เลก็ ๆ ท่ี
ถกู แยกออกมาเน่ืองจากความแตกต่างของขอ้ มลู
16S rRNA ทไ่ี ม่เหมอื น 2 กลมุ่ ทก่ี ลา่ วมา
นกั วทิ ยาศาสตรบ์ างกลุม่ เชอ่ื วา่ น่าจะเป็นบรรพ
บรุ ุษของ Archaea อน่ื (แต่บางกลมุ่ คิดวา่ อาจ
เป็นเพยี งการ mutant ของสารพนั ธุกรรม)
สามารถพบไดต้ ามบอ่ นาํ้ พรุ อ้ น ขอ้ มลู เก่ยี วกบั
กลมุ่ น้ยี งั มคี ่อนขา้ งนอ้ ย



„ ลกั ษณะทวั่ ไป

‟ สมาชกิ กลมุ่ น้ี ไดแ้ ก่ แบคทเี รยี
และไซยาโนแบคทเี รยี

‟ ไมม่ เี ยอ่ื หมุ้ นวิ เคลยี ส
‟ สารพนั ธุกรรมเป็น DNA ทไ่ี มม่ โี ปรตนี

Histone อยู่บรเิ วณ Nucleoid
‟ บางชนิดอาจมี plasmid
‟ มี cell wall (สารพวก peptidoglycan)

และอาจมี Capsule ห่อหมุ้ อกี ชนั้ หน่งึ

„ ลกั ษณะทวั่ ไป

‟ อาจมี flagella ทาํ หนา้ ทเ่ี ก่ยี วกบั การ
เคลอ่ื นท่ี หรอื ยดึ เกาะกบั สง่ิ ต่างๆ

‟ Fimbriae มลี กั ษณะคลา้ ยขนสน้ั ๆ ทาํ
หนา้ ทย่ี ดึ เกาะกบั พ้นื ผวิ หรอื สง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ขา้
ไปอาศยั อยู่

‟ Pili เป็นสารทเ่ี ป็นโปรตนี ทาํ หนา้ ทย่ี ดึ
เกาะกบั กบั เซลลอ์ น่ื และสง่ ผ่านสาร
พนั ธุกรรมขณะเกดิ conjugation

„ ลกั ษณะทวั่ ไป

‟ ผนงั เซลลข์ องแบคทเี รยี

„ เป็นสง่ิ มีชีวิตเซลลเ์ ดียวอยูร่ วมกนั เป็ นโคโลนี
„ มีรูปรา่ งหลกั 3 แบบไดแ้ ก่ Spherical, Rod, Spiral

PROTEOBACTERIA (Gram negative bacteria)
- เป็นแบคทเี รยี แกรมลบ ยอ้ มติดสี  Rhizobium แบคทเี รยี ในปมรากถวั่ ช่วยตรงึ

แดงของซาฟรานินเน่ืองจากผนงั ไนโตรเจน
เซลลม์ ี peptidoglycan บางและมี  E. coli แบคทเี รยี ในลาํ ไสม้ นุษยช์ ่วยผลติ

ชน้ั lipopolysaccharide หนา วติ ามนิ K,B12
Helicobacter pylori แบคทเี รยี ทก่ี ่อใหเ้กดิ


โรคแผลในกระเพาะอาหาร

 Neisseria gonorrhoeae โรคหนองในแท้



Domain Bacteria or Eubacteria

GRAM POSITIVE BACTERIA  Streptococcus ทาํ ใหเ้กดิ โรคเจบ็ คอ
- ยอ้ มตดิ สมี ่วงของ crystal violet  Bacillus anthracis ก่อโรคแอนแทรซใ์ นปศุสตั ว์
- แบคทเี รยี กลมุ่ ใหญ่ ก่อโรคหลายชนิด  Mycoplasma pneumoniae ก่อโรคปอดบวม
 Lactobacillus sp. สรา้ งกรดแลกตกิ
 Streptomyces ทาํ ยาปฏชิ วี นะ Streptomycin





Domain Bacteria or Eubacteria

CHLAMYDIAS (lower bacteria)
- เป็นปรสติ เท่าน้นั เน่ืองจากสรา้ ง ATP เอง  Chlamydia trachomatis ก่อโรคหนองในเทยี ม

ไม่ได้ ผนงั เซลลไ์ ม่มี peptidoglycan และทาํ เกดิ โรคตาอกั เสบ

SPIROCHETE  Treponema pallidum โรคซฟิ ิลสิ
- มรี ูปรา่ งเป็น spiral  Leptospira interrogans โรคฉ่ีหนู
- ดารงชีวติ อสิ ระทง้ั ในดนิ และในน้า

- อาจกอ่ โรคในคน

Domain Bacteria or Eubacteria

CYANOBACTERIA BACTERIA  Spirulina มโี ปรตนี สูงใชท้ าํ อาหารเสรมิ
- สาหรา่ ยสเี ขียวแกมน้าเงนิ  Nostoc, Anabaena, Oscillatoria สามารถ
- เป็นพวกสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้
(คลอโรฟิ ลลเ์ อ แคโรทนี อยด์ ไฟโคบลิ นิ ) ตรงึ ไนโตรเจนได้ อาศยั อยูร่ ่วมกบั พวกแหนแดง
- ตรงึ ไนโตรเจนไดใ้ นบางชนิด

„ ประโยชน์ของแบคทเี รยี

‟ เป็นผูย้ ่อยสลายในระบบนเิ วศ
‟ ใชใ้ นการกาํ จดั ขยะ
‟ สลายคราบนาํ้ มนั บรเิ วณชายฝงั่ ทะเล
‟ กาํ จดั สารเคมตี กคา้ งจากการเกษตร
‟ ใชใ้ นการแปรรูปอาหาร เช่น นาํ้ สม้ สายชู

ปลารา้ ผกั ดอง ปลาสม้ นมเปร้ยี ว



Kingdom Protista
Kingdom Plantae
Kingdom Fungi

Kingdom Animalia

„ Eukaryotic cell, No tissue, No embryo stage
„ เซลลเ์ ดียวท่มี ีความสมบูรณพ์ รอ้ มท่จี ะมชี ีวติ (Complete organism)
„ อาจมีหรอื ไม่มีออรแ์ กแนลท่สี ามารถสงั เคราะหแ์ สงได้
„ สบื พนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ หรอื ไม่อาศยั เพศกไ็ ด้
„ โปรติสตใ์ นยคุ แรก ๆอาจเกดิ ขน้ั ตามทฤษฎี Endosymbiosis



„ การดารงชีพ มีทง้ั ชนิดท่เี ป็นผูผ้ ลติ
(Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิ ลล์ เป็น
ผูบ้ รโิ ภค (Consumer) และเป็นผูย้ ่อย
สลายอนิ ทรยี สาร (Decomposer

„ การเคล่อื นท่ี บางชนิดเคล่อื นท่ีไดโ้ ดยใช้
ซีเลยี (Cilia) แฟลกเจลลมั (Flagellum)
หรอื ซูโดโปเดียม(Pseudopodium) บาง
ชนิดเคล่อื นท่ไี ม่ได



• Excavata • Archaeplastida

– Diplomonads – Green algae
– Parabasalids – Red algae
– Euglenozoans
• Unikonta
• Kinetoplastid
• Euglenid – Amoebozoans

• SAR „ Tubulinid

– Stramenopila „ Entameba

• Diatom, Oomycetes, Brown algae, Glod algae „ Slime mold

– Alveolates – Opisthokonts

• Dinoflagellate
• Apicomplexan
• Ciliated

– Rhizarians

• Radiolarian
• foramminiferan

 Excavata

‟ สว่ นของปากมลี กั ษณะคลา้ ยท่ขี ุดเจาะ (Excavated mount)
‟ อาจมีหรือไม่มไี มโทคอนเดรยี
‟ บางชนิดมี mitosomes
‟ มกั อยู่ในสภาวะท่ไี ม่มีออกซเิ จน
‟ สว่ นใหญ่มีเฟกเจลลามากกว่า 2 เสน้

„ Diplomonad

‟ มนี วิ เคลยี สเทา่ กนั 2 นิวเคลยี สใน 1 เซลล์
‟ หายใจแบบไมใ่ ช่ออกซเิ จน, มี mitosome
‟ มี Flagella หลายเสน้
‟ สว่ นใหญ่ดาํ รงชวี ติ แบบปรสติ
‟ ตวั อย่างเช่น

„ Giadia intertinalis (ปรสติ ในลาไสเ้ ลก็ )

‟ โรค giardiasis

„ PARABASALIDS

‟ มี parabasal body (กอลจคิ อมเพลก็ ซท์ เ่ี ปลย่ี นรูป)
‟ Axostyle (microtubule)
‟ มี Flagella หลายเสน้
‟ หายใจแบบไมใ่ ชอ้ อกซเิ จน, ส่วนใหญ่เป็นปรสติ
‟ undulating membrane
‟ ตวั อย่างเช่น

„ Trichomonas vaginalis ปรสติ ในช่องคลอด
„ Trichonympha (ในลาํ ไสป้ ลวก)

„ PARABASALIDS

‟ มี parabasal body (กอลจคิ อมเพลก็ ซท์ ่เี ปลย่ี นรูป)
‟ Axostyle (microtubule)
‟ มี Flagella หลายเสน้
‟ หายใจแบบไมใ่ ชอ้ อกซเิ จน, ส่วนใหญ่เป็นปรสติ
‟ undulating membrane
‟ ตวั อยา่ งเช่น

„ Trichomonas vaginalis ปรสติ ในช่องคลอด
„ Trichonympha (ในลาํ ไสป้ ลวก)

อยู่ร่วมกนั แบบ Mutualism

Euglenozoans 1) Kinetoplastids

‟ กลมุ่ มี Flagella - มไี มโทคอนเดรยี อนั เดยี วขนาดใหญ่ และมกี ลมุ่ ของ

circular DNA อยูร่ ่วมกนั เรยี กวา่ kinetoplast

‟ มที ง้ั ผูผ้ ลติ ผูบ้ รโิ ภค และปรสติ - มที งั้ พวกทด่ี าํ รงชวี ติ อสิ ระและพวกทเ่ี ป็นปรสติ

‟ มไี มโทคอนเดรยี แลว้ ตวั อย่างเช่น

Trypanosoma sp. ก่อโรคเหงาหลบั

Trypanosoma gambiense

ก่อโรค Chagas Disease

2) EUGLENIDS

- chloroplast สามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้
- ดาํ รงชวี ติ แบบ Mixothoph
- เก็บอาหารในรูปแบบของ Paramylon
granules
- มี flagela 1-2 เสน้
ตวั อย่างสาคญั – Phacus sp.

- Euglena sp.

• Excavata • Archaeplastida

– Diplomonads – Green algae
– Parabasalids – Red algae
– Euglenozoans
• Unikonta
• Kinetoplastid
• Euglenid – Amoebozoans

• SAR „ Tubulinid

– Stramenopila „ Entameba

• Diatom, Oomycetes, Brown algae, Glod algae „ Slime mold

– Alveolates – Opisthokonts

• Dinoflagellate
• Apicomplexan
• Ciliated

– Rhizarians

• Radiolarian
• foramminiferain

 SAR : Stramenopila, Alveolate,

Rhizarian

„ Stramenopila

‟ สามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้
‟ เซลลส์ บื พนั ธุข์ องโปรตสิ ตก์ ลุม่ น้ีมแี ฟลเจลลมั

2 เสน้ ยาวไมเ่ ท่ากนั คอื hair
flagellum และ smooth flagellum
‟ แบง่ ออกเป็น 4 กลมุ่ คอื Diatom, Gold
algae, Brown algae, Oomycetes

1) BACILLARIOPHYTES (DIATOM)
- เป็นสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วทม่ี ฝี าเป็น Silica
- มรี งควตั ถใุ นการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง
- สว่ นมากสบื พนั ธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ
- เป็น phytoplankton ทง้ั ในนาํ้ จดื และ

นาํ้ เคม็
- ใชป้ ระโยชนใ์ นอตุ สาหกรรมการกรอง

การขดั โลหะ ยาสฟี นั และสารเคลอื บ

2) OOMYCETES
- แตกต่างจาก straminopile กลมุ่ อน่ื ๆตรงทไ่ี ม่รงควตั ถทุ ใ่ี ชใ้ นการ

สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง
- ลกั ษณะเป็นเสน้ ยาวทป่ี ระกอบดว้ ยหลายนวิ เคลยี ส
- แตกตา่ งจากราตรงท่มี ผี นงั เซลลเ์ ป็ นเซลลโู ลสไม่ใช่ไคตนิ เหมือนรา

2) OOMYCETES

3) PHAEOPHYTES (BROWN ALGAE)
- สาหร่ายสนี าํ้ ตาล (Sea weed) เป็นสาหร่ายทม่ี ขี นาดใหญ่
- พบในนาํ้ ทะเลบรเิ วณเขตอบอ่นุ
- มรี งควตั ถทุ ใ่ี ชใ้ นการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คอื

Chlorophyll A และC Carotene
และสารทท่ี าํ ใหม้ สี นี าํ้ ตาล คอื fucoxanthin

3) PHAEOPHYTES (BROWN ALGAE)
- มโี ครงสรา้ งคลา้ ยราก ช่วยยดึ เกาะ
เรยี กวา่ Holdfast
- โครงสรา้ งคลา้ ยลาํ ตน้ เรยี กวา่ Stipe
- โครงสรา้ งคลา้ ยใบ เรยี กวา่ Blade หรอื Lamina

4) GOLD ALGAE
- พบมากในนาํ้ จดื
- อยู่เป็นเซลลเ์ ดยี วหรอื โคโลนี
- มแี ฟลคเจลลมั 2 เสน้
- มรี งควตั ถเุ ป็น Carotenoid

Alveolata 1) Dinoflagelates

‟ สง่ิ มชี วี ติ ในกลมุ่ น้จี ะมเี ยอ่ื หมุ้ - ลกั ษณะเดน่ คอื มแี ผน่ Cellulose ภายในเซลล์
เซลลเ์ วา้ เขา้ ไปเป็นถงุ เรยี กว่า - มี flagella 2 เสน้
Alveoli ใชใ้ นการรกั ษาสมดลุ นาํ้ - หากมกี ารเพม่ิ จาํ นวนปริมาณมากๆจะก่อใหเ้กดิ Red
และเกลอื แร่ tide เป็นพษิ ต่อสง่ิ มชี วี ติ ในทะเล

‟ แบง่ เป็น 3 กลมุ่

1) Dinoflagelates
- ลกั ษณะเด่นคอื มแี ผ่น Cellulose

ภายในเซลล์
- มี flagella 2 เสน้
- หากมกี ารเพม่ิ จานวนปรมิ าณมากๆจะ

ก่อใหเ้ กดิ Red tide เป็นพษิ ตอ่
สง่ิ มีชีวติ ในทะเล

2) APICOMPLEXANS

„ ทกุ ชนิดเป็นปรสติ ในสตั ว์ ไมม่ ี
อวยั วะในการเคลอ่ื นท่ี

‟ ทห่ี วั มี apical complex
‟ Plasmodium ทก่ี ่อโรคมาลาเรยี
‟ มาลาเรยี เป็นโรคทร่ี ุนแรงมาในเขต

รอ้ นโดยมพี าหะเป็นยุงกน้ ปลอ่ ง



3) Ciliated
„ ทกุ ชนิดมซี เี ลยี
„ มนี ิวเคลยี สม์ ากกว่า 1 อนั

Macronucleus + Micronucleus
„ บางชนิดมี trichocyte

‟ ตวั อยา่ งสาคญั

„ Paramecium
„ Vorticella
„ Stentor

Rhizarian 1) Radiolarian
- อะมบี าเปลอื กแขง็
‟ คลา้ ยอะมบี า มเี ทา้ เทยี ม - โครงสรา้ งเป็นสารพวกซลิ กิ า
‟ แบ่งเป็น 2 กลมุ่ - เทา้ เทยี มเป็นแบบ Axopodium
- ประโยชนค์ ลา้ ยกบั พวกไดอะตอม
„ Radiolarian
„ Foraminiferan

2) Foraminiferan
- อะมบี าเปลอื กแขง็
- โครงสรา้ งเป็นสารพวกหนิ ปูน เปลอื กมรี ูพรุน
- เทา้ เทยี มเป็นแบบ reticulopodia
- ประโยชนค์ ลา้ ยกบั พวกไดอะตอม


Click to View FlipBook Version