The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong47122400, 2021-09-29 11:11:38

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

3ความหลากชนิดิ บขอทงปทีล่่�าไทย

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 37

การศึึกษาทางอนุุกรมวิิธานของปลาไทยในปััจจุุบัันได้้จำ�ำ แนกตามหลัักการแบ่่งหมวดหมู่�่
ของ Nelson (2016) และตามระบบของ Fishbase (2021) โดยพบพัันธุ์์�ปลาไทยทั้้�งสิ้้�น
มีีจำำ�นวนรวมไม่่น้้อยกว่่า 2,990 ชนิิด จััดอยู่�่ใน 4 ชั้�น 69 อันั ดัับ 298 วงศ์์ แต่่เนื่่�องจากการ
จััดทำ�ำ เอกสารฉบัับนี้้�เป็็นการจััดทำำ�ในวาระพิิเศษที่่�ไม่่ได้้มุ่่�งเน้้นรายละเอีียดเชิิงวิิชาการมากนััก
คณะผู้้�จััดทำ�ำ จึึงขอนำ�ำ เสนอภาพความหลากหลายของปลาไทยในระดัับที่่�ค่่อนข้้างสููง โดยการ
นำำ�เสนอได้้จัดั แบ่่งกลุ่่�มปลาออกเป็็น 22 เหล่่า ในแต่่ละเหล่่าจะประกอบด้้วยกลุ่่�มของพัันธุ์์�ปลา
ที่่�จััดอยู่�่ในอัันดัับเดีียวกััน หรืือรวมมาจากพัันธุ์�ในหลายอัันดัับที่่�มีีลัักษณะเฉพาะทางอนุุกรมวิิธาน
ที่่ใ� กล้้เคีียงกันั ซึ่่ง� ภาพรวมของการจัดั แบ่่งกลุ่่�มมีีดังั นี้้�

1. ปลาไม่่มีีขากรรไกร
ชั้้น� ปลาปากกลม (Class Myxini)

กลุ่่�มปลาในชั้�นปลาปากกลมเป็็นปลาไม่่มีีขากรรไกร ซึ่่�งเป็็นปลาโบราณที่่�
ยัังคงมีีลัักษณะรููปร่่างคล้้ายบรรพบุุรุุษที่่�เคยมีีชีีวิิตอยู่�่เมื่่�อประมาณ 400 ล้้านปีีมาแล้้ว ได้้แก่่
ปลาปากกลม (Hagfish) ในเขตน่่านน้ำ��ำ ของประเทศไทยมีีรายงานการพบปลาในกลุ่่�มนี้้�เพีียง
1 อัันดัับ ซึ่่�งจััดแบ่่งได้้เป็น็ 1 เหล่่า คืือ
v เหล่่าปลาปากกลม (Hagfish) พบเพีียง 1 อัันดับั 1 วงศ์์ และ 1 ชนิิด เท่่านั้้�น

2. ปลามีีขากรรไกร
1) ชั้้น� ปลากระดููกอ่อ่ นจำำ�พวกปลาฉลามและปลากระเบน
(Class Elasmobranchii)

กลุ่่�มปลาในชั้�นปลากระดููกอ่่อนจำำ�พวกปลาฉลามและปลากระเบนเป็็น
ปลาที่่�มีีวิิวััฒนาการสููงขึ้�น มีีโครงสร้้างประกอบด้้วยเซลล์์กระดููกอ่่อน (Cartilage) เพีียง
อย่่างเดีียว โดยมีีหิินปููนมาประกอบเป็็นบางส่่วน ไม่่มีีกระดููกซี่่�โครง มีีช่่องเหงืือก (Gill slit)
แยกออกเป็็นช่่องจำ�ำ นวน 5 - 7 คู่�่ ในเขตน่่านน้ำ�ำ�ของประเทศไทยมีีรายงานการพบปลา
ในกลุ่่�มนี้้�รวม 12 อันั ดัับ สามารถจัดั แบ่่งได้้เป็็น 2 เหล่่า ดังั นี้้�
v เหล่่าปลาฉลาม (Sharks) พบ 8 อัันดัับ 23 วงศ์์
v เหล่่าปลากระเบน (Rays) พบ 4 อันั ดัับ 18 วงศ์์

พ38 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

2) ชั้้�นปลากระดููกอ่่อนจำ�ำ พวกปลาหนููหรืือไคมีีร่่า (Class Holocephali)

กลุ่่�มปลาในชั้�นปลากระดููกอ่่อนจำ�ำ พวกปลาหนููหรืือไคมีีร่่าเป็็นปลาที่่�มีี
วิิวััฒนาการสููงขึ้�น มีีโครงสร้้างประกอบด้้วยเซลล์์กระดููกอ่่อนเพีียงอย่่างเดีียวเช่่นกััน มีีหิินปููน
มาประกอบเป็็นบางส่่วน ไม่่มีีกระดููกซี่่�โครง เมื่่�อมองจากภายนอกจะเห็็นช่่องเปิิดเหงืือก
(Gill opening) 1 ช่่อง โดยมีีแผ่่นปิิดเหงืือกปกคลุุมช่่องเหงืือกไว้้ ภายในประกอบด้้วยช่่องเหงืือก
(Gill slit) 4 ช่่อง ในเขตน่่านน้ำ��ำ ของประเทศไทยมีีรายงานการพบปลาในกลุ่่�มนี้้�เพีียง 1 อัันดัับ
ซึ่่ง� จััดแบ่่งได้้เป็็น 1 เหล่่า คืือ
v เหล่่าปลาหนูู หรืือ ไคมีีร่่า (Chimaeras) พบ 1 อันั ดัับ 2 วงศ์์

3. ชั้้น� ปลากระดููกแข็็ง (Class Actinopteri) 

กลุ่่�มปลาในชั้�นปลากระดููกแข็็งเป็็นกลุ่่�มปลาส่่วนมากที่่�พบได้้ทั่่�วไปในทุุกแหล่่งน้ำ��ำ
ในปััจจุุบััน โดยส่่วนใหญ่่มีีความสำ�ำ คััญและนำำ�มาใช้้ประโยชน์์มาก และคาดการณ์์ว่่าทั่่�วโลก
มีีปลาในชั้�นนี้้�มากกว่่า 32,000 ชนิิด หรืือคิิดเป็็นสััดส่่วนประมาณร้้อยละ 90 ของจำ�ำ นวน
ปลาทั้้�งหมดในเขตน่่านน้ำ�ำ�ของประเทศไทยพบปลากระดููกแข็ง็ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 2,800 ชนิิด
เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�มีีโครงร่่างภายในเป็็นกระดููกแข็็ง มีีกระดููกซี่่�โครง มีีรููปร่่างลำ�ำ ตััวและครีีบหาง
หลายรููปแบบ มีีแผ่่นปิิดเหงืือกและช่่องเปิิดเหงืือกข้้างละ 1 ช่่อง มีีฟัันบนขากรรไกรเพีียงชุุดเดีียว
รููจมููกเป็็นคู่�่ เกล็็ดมีีหลายแบบ บางชนิิดไม่่มีีเกล็็ดแต่่มีีต่่อมเมืือกจำ�ำ นวนมากมาทดแทน
ส่่วนมากมีีกระเพาะลม ช่่องเปิิดของทวารหนัักและช่่องสืืบพัันธุ์�แยกจากกััน ส่่วนใหญ่่ออกลููก
เป็็นไข่่ แต่่มีีบางชนิิดออกลููกเป็็นตััว โดยในประเทศไทยมีีรายงานการพบปลาในกลุ่่�มนี้้�รวม
55 อันั ดัับ สามารถจััดแบ่่งได้้เป็็น 18 เหล่่า ดัังนี้้�
v เหล่่าปลาตาเหลืือก ปลากระบอกยน ปลาไหลทะเล พบ 3 อัันดับั 11 วงศ์์
v เหล่่าปลาตะพัดั ปลากราย พบ 1 อัันดัับ 2 วงศ์์
v เหล่่าปลากะตััก ปลาหลัังเขีียว ปลาถั่่ว� งอก พบ 2 อันั ดับั 8 วงศ์์
v เหล่่าปลานวลจันั ทร์์ทะเล ปลาตะเพีียน พบ 2 อัันดับั 18 วงศ์์
v เหล่่าปลาดุุก ปลากด ปลาสวาย พบ 1 อันั ดัับ 16 วงศ์์
v เหล่่าปลาทะเลลึึก พบ 11 อันั ดับั 30 วงศ์์
v เหล่่าปลากบ ปลาตกเบ็ด็ ปลาคางคก พบ 2 อัันดับั 6 วงศ์์
v เหล่่าปลาข้้าวเม่่าน้ำ�ำ�ลึึก พบ 3 อันั ดับั 8 วงศ์์
v เหล่่าปลาทูู ปลาอิินทรีี ปลาสีีกุุน ปลากระโทงแทง พบ 2 อัันดับั 15 วงศ์์
v เหล่่าม้้าน้ำ�ำ� ปลาจิ้้�มฟัันจระเข้้ ปลาผีีเสื้้�อกลางคืืน พบ 2 อัันดับั 8 วงศ์์

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 39

v เหล่่าปลาอมไข่่ ปลาบู่�่ ปลาตั๊๊ก� แตนหิิน ปลามัังกรน้้อย พบ 5 อันั ดับั 15 วงศ์์
v เหล่่าปลาไหลนา ปลาหลด พบ 2 อัันดับั 4 วงศ์์
v เหล่่าปลากัดั ปลาหมอ ปลาช่่อน พบ 1 อัันดับั 7 วงศ์์
v เหล่่าปลาซีีกเดีียว พบ 1 อันั ดับั 8 วงศ์์
v เหล่่าปลาเข็ม็ ปลากระทุุงเหว ปลากระบอก พบ 4 อัันดับั 9 วงศ์์
v เหล่่าปลาปัักเป้้า ปลาวััว พบ 1 อันั ดับั 8 วงศ์์
v เหล่่าปลากะพงต่่าง ๆ (Percomorph) พบ 9 อันั ดับั 66 วงศ์์
v เหล่่าปลากะรััง ปลาสิิงโต พบ 3 อัันดัับ 15 วงศ์์

ความหลากชนิิดของปลาไทย (จำ�ำ นวน)

พ40 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ความหลากชนิิดของปลาไทยที่่จ� ำำ�แนกตามเหล่า่
และการจััดแบ่่งหมวดหมู่่�ทางอนุุกรมวิิธานในระดับั ชั้้น� อันั ดัับ และวงศ์์

ระดัับชั้ น� เหล่่าปลา จำ�ำ นวน จำ�ำ นวน จำำ�นวน
(Class) อันั ดับั /ซัับซีีรี่่ส� ์์ วงศ์์ ปลา
ชCั้ l�นaปssลาMปyาxกinกiลม
1. ปลาปากกลม 1 11

ชั้�นปลากระดูกู อ่อ่ น 2. ปลาฉลาม 8 23 87
กลุ่�มปลาฉลาม-กระเบน 4 18 96
Class Elasmobranchii 3. ปลากระเบน

ชั้น� ปลากระดูกู อ่อ่ น 4. ปลาหนูู หรือไคมีีร่่า 1 25
กลุ่�มปลาหนูู-ไคมีีร่า่
Class Holocephali
Cชั้lน� aปssลาAกcรtiะnดoููกptแeขr็iง็
5. ปลาตาเหลืือก ปลากระบอกยน ปลาไหลทะเล 3 11 87
6. ปลาตะพััด ปลากราย 1 26

7. ปลากะตััก ปลาหลังั เขีียว ปลาถั่�วงอก ปลาวุ้�นเส้้น 2 8 80

8. ปลานวลจัันทร์์ทะเล ปลาตะเพีียน 2 18 426

9. ปลาดุุก ปลากด ปลาสวาย 1 16 197

10. ปลาทะเลลึึก 11 30 100

11. ปลากบ ปลาตกเบ็็ด ปลาคางคก 2 6 18

12. ปลาข้าวเม่่าน้ำ�ำ�ลึึก 3 8 26

13. ปลาทูู ปลาอิินทรีี ปลาสีีกุุน ปลากระโทงแทง 2 15 107

14. ม้้าน้ำ��ำ ปลาจิ้�มฟัันจระเข้ ปลาผีีเสื้�อกลางคืืน ปลานกฮูกู 2 8 52

15. ปลาอมไข่ ปลาบู่�่ ปลาตั๊�กแตนหิิน ปลามัังกรน้้อย 5 15 500

16. ปลาไหลนา ปลาหลด 2 4 27

17. ปลากััด ปลาหมอ ปลาช่อน 1 7 70

18. ปลาซีีกเดีียว 1 8 68

19. ปลาเข็ม็ ปลากระทุุงเหว ปลาข้าวสาร ปลากระบอก 4 9 100

20. ปลาปัักเป้้า ปลาวััว 1 8 104

21. ปลากะพงต่่าง ๆ (Percomorph) 9 66 667

22. ปลากะรััง ปลาสิิงโต 3 15 166
รวมทั้ง� หมด 22 เหล่่า 69 298 2,990

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 41

3.1 เหล่า่ ปลาปากกลม

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวก
ปลาไม่่มีีขากรรไกร มีีรายงานการพบ
รวมทั้้�งหมดทั่่�วโลกจำ�ำ นวน 83 ชนิิด
6 สกุุล ในเขตน่่านน้ำ�ำ�ของประเทศไทย
พบเพีียง 1 ชนิิด จััดอยู่�่ในอัันดัับ
Myxiniformes และวงศ์์ Myxinidae
คืือ Eptatretus indrambaryai เป็็น
ปลาที่่�อาศััยอยู่�่ในทะเลลึึก 200 -
400 เมตร พบในทะเลอัันดามััน ลักั ษณะปากของปลาปากกลม

ตัวั อย่่างปลาที่่�พบมาจากการสำำ�รวจร่่วมกัับเรืือ Nagasaki Maru เมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2524
v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างลำำ�ตััวยาวอวบแบบปลาไหล ไม่่มีีเกล็็ด มีีฟััน
เป็็นแผงอยู่�่ในช่่องคอ ช่่องปากเป็็นช่่องกลม มีีหนวดสั้้�น ๆ จำ�ำ นวน 3 คู่�่ อยู่�่รอบปาก มีีรููจมููก
รููเดีียว มีีต่่อมเมืือกสามารถปล่่อยเมืือกออกมาได้้เป็็นจำ�ำ นวนมากหากถููกรบกวน มีีช่่องเหงืือก
เล็็กหลายช่่องที่่�ด้้านท้้อง กระดููกสัันหลัังเป็็นวุ้�้นกระดููกอ่่อน ไม่่มีีครีีบคู่�่ แต่่มีีครีีบหลััง และ
ครีีบหาง โดยครีีบก้้นมีีลักั ษณะเป็็นแผ่่นหนัังสั้้�น ๆ ต่่อเนื่่อ� งกันั ลำ�ำ ตัวั มีีสีีชมพูู แดง หรืือสีีซีีด

v ขนาด เป็็นปลาทะเลขนาดกลางมีีความยาวประมาณ 40 เซนติิเมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ กิินหนอนทะเล ซากสััตว์์ใหญ่่ โดยใช้้ปาก

ดููดเนื้้�อแล้้วบิิดตััวเป็็นเกลีียวเพื่่อ� กัดั ให้้ชิ้้�นเนื้้�อขาด

v การกระจายพัันธุ์์� พบมากในเขตหนาวและเขตอบอุ่่�น ในเขตร้้อนพบน้้อยเฉพาะ

ในทะเลลึึกเท่่านั้้�น โดยทั่่ว� ไปพบมากในทวีีปยุุโรป ประเทศไทยพบในเขตทะเลลึึกของฝั่่�งอัันดามันั

v ความสำำ�คัญั ใช้้บริิโภคใน
ประเทศยุุโรปและเอเชีียในท้้องตลาด
บางแห่่ง ไม่่มีีการใช้้ประโยชน์์
ในประเทศไทย ปากกลม

Eptatretus indrambaryai
Cr.: ปกรณ์์ ทองบุุญเกื้้�อ

ภาพปลาจากน่า่ นน้ำ�ำ� ไต้้หวันั
(ตัวั อย่่างจริิงของไทยที่่�เป็็นตัวั อย่่างอ้้างอิิงเก็็บรักั ษาไว้้ที่่�
พิิพิิธภัณั ฑ์์ธรรมชาติิวิิทยาแห่่งจุุฬาลงกรณ์์มหาวิิทยาลัยั )

พ42 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.2 เหล่า่ ปลาฉลาม

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกอ่่อน ประกอบด้้วยฉลามชนิิดต่่าง ๆ พบใน
ประเทศไทย 8 อัันดัับ 23 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 87 ชนิิด ปััจจุุบัันพบมีี 1 ชนิิด ที่่�ไม่่มีี
การรายงานสถานภาพการพบมาเป็็นเวลานานแล้้ว ได้้แก่่ ฉลามหััวค้้อนยาว (Eusphyra blochii)
ซึ่่ง� แต่่เดิิมเคยมีีการพบในบริิเวณชายฝั่่ง� ทะเลของประเทศไทย

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างเพรีียวยาวแบบกระสวย มีีช่่องเหงืือก 5 - 7 คู่�่

อยู่�ท่ างด้้านข้้างของส่่วนหัวั ส่่วนใหญ่่มีีปากอยู่�ค่ ่่อนมาทางด้้านล่่างของส่่วนหัวั มีีฟัันหลายแถว
ที่่�สามารถงอกใหม่่ออกมาทดแทนได้้ มีีรููจมููกเป็็นคู่�่ บางสกุุลอาจมีีรููช่่วยหายใจ และมีีหนวด
ที่่�จมููก มีีครีีบหางเป็็นแบบ Heterocercal ที่่�มีีแพนหางส่่วนบนยาวกว่่าส่่วนล่่าง จึึงเคลื่่�อนที่่�
ในน้ำ�ำ�ได้้เป็น็ อย่่างดีี และบางชนิิดมีีสัันที่่ค� อดหางด้้วย

v ขนาด มีีความยาว 1.5 - 3 เมตร ยกเว้้น ฉลามแมวหางริิบบิ้้�น (Eridacnis radcliffei)

ซึ่่�งเป็็นฉลามขนาดเล็็กที่่�สุุดพบมีีความยาวสููงสุุด 26 เซนติิเมตร และฉลามวาฬ
(Rhincodon typus) ซึ่่ง� เป็น็ ฉลามขนาดใหญ่่ที่่�สุุด พบมีีความยาวสููงสุุดถึึง 21.4 เมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร ส่่วนใหญ่่เป็็นกลุ่่�มปลากิินเนื้้�อ ชอบกิินปลา กิินสััตว์์หน้้าดิิน

ขนาดใหญ่่ และหมึึก ส่่วนฉลามเสืือและฉลามหััวบาตรสามารถกิินเหยื่่�อได้้หลายแบบ
ตั้�้งแต่่ปลา จนถึึงงููทะเล เต่่า และนกต่่าง ๆ ขณะที่่�ฉลามบางชนิิดมีีนิิสััยกิินแพลงก์์ตอน
เป็น็ อาหาร เช่่น ฉลามวาฬ และฉลามบาสกิ้้�ง เป็น็ ต้้น ซึ่่ง� พบมากในบริิเวณพื้้�นที่่เ� ขตหนาว

v การกระจายพัันธุ์์� พบในท้้องทะเลทั่่�วไปทั้้�งเขตหนาว เขตอบอุ่่�น และเขตร้้อน

สำ�ำ หรัับประเทศไทยพบทั้้�งสองฝั่�่งทะเล อาศััยอยู่�่ได้้ในทุุกระบบนิิเวศทะเล และสามารถพบเข้้ามา
ในน้ำ��ำ จืืดตามแม่่น้ำ��ำ ได้้ในบางช่่วงวงจรชีีวิิต ได้้แก่่ ฉลามหััวบาตร (Carcharhinus leucas)

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภคไม่่มากนััก ส่่วนมาก

เป็็นผลพลอยจัับจากการทำำ�การประมง นิิยมบริิโภคส่่วนเนื้้�อและครีีบ (หููฉลาม) โดยเฉพาะ
ในหมู่�่ชาวจีีน ซึ่่�งความนิิยมนี้้�ส่่งผลให้้มีีการทำ�ำ การประมงมากเกิินขนาดและกระทบต่่อระบบ
นิิเวศในทะเลได้้ ดัังนั้้�นควรต้้องมีีการประชาสััมพัันธ์์ให้้ความรู้�และสร้้างความเข้้าใจเพื่่�อ
ลดความนิิยมในการใช้้ประโยชน์์ ส่่วนกระดููกก็็เคยมีีความเชื่่�อว่่าใช้้เป็็นส่่วนผสมของยาได้้
แต่่ปััจจุุบัันก็็ยัังไม่่มีีผลในการรัักษาจริิง หนัังสามารถนำ�ำ ไปใช้้ทำ�ำ เครื่่�องหนััง นอกจากนี้้�ยัังมีี
ความสำำ�คััญด้้านนัันทนาการด้้วยการเป็็นสิ่่�งดึึงดููดในการท่่องเที่่�ยวทางทะเล และการนำำ�ไป
เลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงามในสถานแสดงพันั ธุ์์�สััตว์์น้ำ��ำ ต่่าง ๆ

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 43

ฉลามปากจิ้้ง� จก

Heptranchias perlo

ฉลามหน้้าวัวั

Heterodontus zebra

Cr.: แน่่งน้้อย ยศสุุนทร ฉลามปากหนวด

ฉลามวาฬ Orectolobus leptolineatus

Rhincodon typus

ฉลามกบ ฉลามกบครีีบเหลี่่ย� ม

Chiloscyllium griseum Chiloscyllium hasseltii

ฉลามกบลายเสืือน้ำ��ำ ตาล ฉลามกบจุดุ

Chiloscyllium plagiosum Chiloscyllium punctatum

พ44 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ฉลามขี้้�เซา ฉลามเสืือดาว

Nebrius ferrugineus Stegostoma fasciatum

ฉลามปากกว้้าง ฉลามหางดาบ

Megachasma pelagios Alopias pelagicus

ฉลามหางยาวตาโต ฉลามหางยาวตาเล็ก็

Alopias superciliosus Alopias vulpinus

ฉลามปากมอม ฉลามกบลายหิินอ่อ่ น

Isurus paucus Atelomycterus marmoratus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 45

Cr.: K.V. Akhilesh

ฉลามแคระ

Bythaelurus hispidus

ฉลามท้้องโป่่งจุดุ ขาว

Cephaloscyllium speccum

Cr.: Dr.K.V.Akhiles ฉลามกบจุดุ ดำำ�

ฉลามท้อ้ งโป่่งแถบน้ำ�ำ�ตาล Halaelurus buergeri

Cephaloscyllium silasi

ฉลามแมวจุุด

Proscyllium magnificum

ฉลามหมาตาโต

Iago omanensis

ฉลามหมา ฉลามเขี้้�ยว

Mustelus manazo Chaenogaleus macrostoma

พ46 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ฉลามหััวแหลม ฉลามสัันทอง

Hemigaleus microstoma Hemipristis elongata

ฉลามครีีบเงิิน ฉลามจ้้าวมันั

Carcharhinus albimarginatus Carcharhinus amblyrhynchoides

ฉลามครีีบดำ�ำ ใหญ่่ ฉลามชวา

Carcharhinus amblyrhynchos Carcharhinus amboinensis

ฉลามครีีบด่่าง Cr.: CSIRO

Carcharhinus brachyurus

ฉลามครีีบดำ�ำ

Carcharhinus brevipinna

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 47

ฉลามครีีบขาว ฉลามเทา

Carcharhinus dussumieri Carcharhinus falciformis

ฉลามหััวบาตร ฉลามครีีบดำำ�เล็็ก

Carcharhinus leucas Carcharhinus limbatus

ฉลามครีีบยาว ฉลามจมููกแข็ง็

Carcharhinus longimanus Carcharhinus macloti

ฉลามหููดำ�ำ ฉลามสัันทราย

Carcharhinus melanopterus Carcharhinus plumbeus

พ48 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ฉลามจุดุ ดำำ� ฉลามหางจุดุ

Carcharhinus sealei Carcharhinus sorrah

ฉลามเสืือ ฉลามคงคา

Galeocerdo cuvier Glyphis gangeticus

ฉลามตาฉีีก ฉลามทราย

Loxodon macrorhinus Negaprion acutidens

ฉลามสีีน้ำ�ำ� เงิิน Cr.: Ahmad Ali

Prionace glauca ฉลามหนููหััวแหลม

Rhizoprionodon acutus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 49

ฉลามหนููเทา Cr.: Ahmad Ali

Scoliodon laticaudus ฉลามหนูหู ััวแหลม

ฉลามครีีบขาว Scoliodon marcrorhychos

Triaenodon obesus ฉลามหัวั ค้้อนยาว

Eusphyra blochii

ฉลามหัวั ค้อ้ นสีีน้ำ��ำ เงิิน ฉลามหัวั ค้อ้ นใหญ่่

Sphyrna lewini Sphyrna mokarran

ฉลามแมว ฉลามหลัังหนาม

Apristurus sinensis Squalus megalops

พ50 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ฉลามหลัังหนามอิินโดนีีเซีีย Cr.: Mohammad Moazzam Khan

Squalus hemipinnis ฉลามหนาม

ฉลามนางฟ้้า Echinorhinus brucus

Squatina tergocellatoides ฉลามท้้องดำำ�

ฉลามกลูเู ปอร์์ครีีบเล็ก็ Etmopterus sculptus

Centrophorus isodon ฉลามทราย

Carcharias taurus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 51

3.3 เหล่่าปลากระเบน

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกอ่่อน ประกอบด้้วยกระเบนชนิิดต่่าง ๆ พบใน
ประเทศไทย 4 อัันดัับ 18 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 96 ชนิิด และมีีรายงานว่่า 3 ชนิิด
ไม่่มีีการพบมาเป็็นเวลานานแล้้ว ได้้แก่่ ฉนาก (Sawfishes) 3 ชนิิด ซึ่่�งแต่่เดิิมเคยมีีรายงาน
การพบในทะเลและแหล่่งน้ำ��ำ จืืดของประเทศไทย ในขณะที่่�กระเบนอีีกหลายชนิิดพบว่่า
ถููกจัดั อยู่�ใ่ นกลุ่่�มปลาที่่�มีีสถานภาพทางการอนุุรัักษ์์ในกลุ่่�มปลาใกล้้สููญพัันธุ์� (Endangered: EN)
ได้้แก่่ โรนิิน หรืือ กระเบนท้้องน้ำ��ำ (Rhina ancylostoma) และกระเบนเจ้้าพระยา (Urogymnus
chaophraya)

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างแบนลง ไม่่มีีเกล็็ด แต่่อาจมีีปุ่�มกระดููกหรืือ

หนามเล็็ก ๆ ในบางบริิเวณ ส่่วนใหญ่่พบบริิเวณแนวกลางแผ่่นลำำ�ตัวั ด้้านบน มีีช่่องเปิดิ เหงืือก
อยู่�ท่ างด้้านล่่างของส่่วนหััว ส่่วนใหญ่่มีี 5 คู่�่ และมีีรููช่่วยหายใจ 1 คู่�่ อยู่�่ด้้านบนของหััวบริิเวณ
หลัังตา ซึ่่�งใช้้เป็็นทางที่่�น้ำ�ำ�ผ่่านเข้้าและไหลเวีียนผ่่านเหงืือกเพื่่�อการหายใจ โดยไม่่ไหลเวีียน
ผ่่านปากที่่�อยู่�่ด้้านล่่างของส่่วนหััว ในบางชนิิดมีีปากอยู่�่ในตำำ�แหน่่งปลายสุุดของจะงอยปาก
มีีครีีบอกที่่แ� ผ่่ขยายคลุุมส่่วนหััว และบางส่่วนของลำำ�ตัวั หรืืออาจคลุุมลำ�ำ ตัวั ทั้้�งหมด มีีครีีบท้้อง
อยู่�่ใกล้้กัับครีีบอก ครีีบหลัังมีี 1 - 2 อััน หรืือไม่่มีีในบางชนิิด ไม่่มีีครีีบก้้น มีีครีีบหางซึ่่�งส่่วนใหญ่่
เปลี่่�ยนไปเป็็นเส้้นเรีียวยาวคล้้ายแส้้ (Whip tail) ที่่�โคนหางด้้านบนอาจมีีหนามแข็็งขนาดใหญ่่
หรืือเงี่�ยง และอาจมีีแผ่่นหนัังบาง ๆ (Skin fold) ที่่�ตอนบนหรืือล่่างของหาง

v ขนาด มีีขนาดความกว้้างแผ่่นลำ�ำ ตััวตั้�้งแต่่ 25 เซนติิเมตร จนถึึง 4 เมตร ยกเว้้น

กระเบนราหููยัักษ์์ (Mobula birostris) ที่่�มีีรายงานการพบขนาดความกว้้างของแผ่่นลำำ�ตััว
สููงสุุดถึึง 9.1 เมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร ส่่วนใหญ่่เป็็นกลุ่่�มปลากิินเนื้้�อ มีีพฤติิกรรมการกิินอาหาร

แบบปลาผู้้ล� ่่า โดยกินิ สัตั ว์ข์ นาดเล็ก็ หรืือกินิ ซากตามพื้้น� ท้้องน้ำ��ำ ยกเว้้นบางชนิดิ ที่่ก� ินิ แพลงก์ต์ อน
เป็็นอาหาร

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก สำ�ำ หรัับประเทศไทย

พบทั้้�งฝั่�่งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน มีีบางชนิิดที่่�พบอาศััยในเขตน้ำ��ำ กร่่อยบริิเวณป่่าชายเลน
ปากแม่่น้ำ�ำ� และในแหล่่งน้ำ��ำ จืืด

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค ส่่วนหนัังใช้้ทำ�ำ

เครื่่�องหนัังต่่าง ๆ จะงอยปาก หนามบนหลััง และหางใช้้ทำ�ำ เครื่่�องประดัับหรืือของตกแต่่งบ้้าน
และมีีการใช้้ประโยชน์์ด้้านนันั ทนาการเพื่่�อเลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม หรืือการท่่องเที่่ย� วทางทะเล

พ52 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

Cr.: กรอร วงศ์์กำำ�แหง กระเบนไฟฟ้้าหางจุดุ

โรนัันหััวกลม Narke dipterygia

Platyrhina psomadakisi

กระเบนไฟฟ้้าหลังั เรีียบ กระเบนไฟฟ้า้ จุดุ น้ำ�ำ�ตาล

Temera hardwickii Narcine brevilabiata

กระเบนไฟฟ้า้ จุดุ เข้้ม กระเบนไฟฟ้้าตาบอด

Narcine maculata Benthobatis moresbyi

กระเบนไฟฟ้า้ จุดุ เล็็ก กระเบนไฟฟ้า้ สีีน้ำ�ำ� ตาล

Narcine prodorsalis Narcine timlei

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 53

โรนัันหััวใสจุดุ ขาว โรนันั หััวใสบอร์เ์ นีียว

Rhinobatos annandalei Rhinobatos borneensis

โรนันั หััวใสหลังั เรีียบ โรนิิน

Rhinobatos ranongensis Rhina ancylostoma

โรนัันจุุดขาว โรนันั จุดุ ขาวลาย

Rhynchobatus australiae Rhynchobatus springeri

โรนัันจมููกเรีียบ โรนันั เม็ด็

Rhynchobatus laevis Glaucostegus granulatus

พ54 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

Cr.: นัันทวััฒน์์ โชติิสุุวรรณ Cr.: J.E. Randall

โรนันั จมููกกว้า้ ง โรนันั หััวจิ้้ง� จก

Glaucostegus obtusus Glaucostegus thouin

โรนัันหััวใสยักั ษ์์ ฉนากปากแหลม

Glaucostegus typus Anoxypristis cuspidata

ฉนากยักั ษ์์ ฉนากเขีียว

Pristis pristis Pristis zijsron

กระเบนหลังั หนามบอร์์เนีียว Cr.: กรอร วงศ์์กำำ�แหง

Okamejei cairae กระเบนหลังั หนามจุดุ

Orbiraja powelli

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 55

กระเบนหลังั หนามจุุดเหลืือง กระเบนขายาว

Okamejei hollandi Sinobatis andamanensis

กระเบนหลังั หนามอัันดามััน กระเบนเหงืือกหกคู่ �

Cruriraja andamanica Hexatrygon bickelli

กระเบนหางหนาม กระเบนตุ๊๊�กตา

Bathytoshia lata Brevitrygon heterura

กระเบนปากแหลม กระเบนทราย

Brevitrygon imbricata Fluvitrygon kittipongi

พ56 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กระเบนน้ำ�ำ� จืืดขาว กระเบนลาย

Fluvitrygon signifer Fluvitrygon oxyrhynchus

กระเบนหาง กระเบนหางหวาย

Hemitrygon bennetti Hemitrygon akaje

กระเบนปากแม่่น้ำ��ำ กระเบนลาว

Hemitrygon fluviorum Hemitrygon laosensis

กระเบนทรายเทา กระเบนลายเสืือดาว

Hemitrygon navarrae Himantura leoparda

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 57

กระเบนลายเสืือ กระเบนลายเสืือใหญ่่

Himantura uarnak Himantura undulata

กระเบนแมลงวันั กระเบนบััว

Maculabatis gerrardi Maculabatis pastinacoides

กระเบนตาเล็็ก กระเบนจมููกโต

Megatrygon microps Neotrygon caeruleopunctata

กระเบนจุุดฟ้า้ กระเบนจมููกโตสีีน้ำ�ำ� ตาล

Neotrygon kuhlii Neotrygon varidens

พ58 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กระเบนจมููกโต กระเบนธงหางใบตอง

Neotrygon orientalis Pastinachus ater

กระเบนธงหางแคบ กระเบนธงหน้้าแหลม

Pastinachus gracilicaudus Pastinachus solocirostris

กระเบนธง กระเบนบััวจมูกู แหลม

Pastinachus stellurostris Pateobatis bleekeri

กระเบนหิิน กระเบนทองหางหนาม

Pateobatis fai Pateobatis jenkinsii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 59

กระเบนจมูกู ขาว กระเบนจมููกโต

Pateobatis uarnacoides Taeniura lymma

Cr.: แน่่งน้้อย ยศสุุนทร กระบางหน้้าแหลม

กระเบนตกกระ Telatrygon biasa

Taeniurops meyeni

กระบางปากแหลม กระเบนใบขนุนุ

Telatrygon zugei Urogymnus asperrimus

กระเบนเจ้้าพระยา กระเบนจุดุ ขาว

Urogymnus chaophraya Urogymnus granulatus

พ60 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กระเบนบััวปากหลอด กระเบนผีีเสื้้�อหางยาว

Urogymnus aff. Lobistoma Gymnura poecilura

กระเบนผีีเสื้้อ� ญี่่�ปุ่่�น กระเบนผีีเสื้้อ� หางลาย

Gymnura japonica Gymnura zonura

กระเบนน้ำำ�� ลึึก กระเบนนก

Plesiobatis daviesi Aetobatus ocellatus

กระเบนนกจุดุ ขาว กระเบนนกบั้้ง�

Aetomylaeus maculatus Aetomylaeus nichofii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 61

กระเบนจมููกวััว

Rhinoptera jayakari

กระเบนราหูยู ัักษ์์

Mobula birostris

กระเบนปีีศาจหางหนาม

Mobula tarapacana

กระเบนราหูหู างหนาม

Mobula mobular

กระเบนราหูู กระเบนปีีศาจแคระ

Mobula thurstoni Mobula eregoodoo

พ62 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.4 เหล่า่ ปลาหนูู หรืือ ไคมีีร่่า

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกอ่่อน ประกอบด้้วยปลาหนููชนิิดต่่าง ๆ พบใน
ประเทศไทย 1 อันั ดับั 2 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 5 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างยาวแบนข้้าง ส่่วนท้้ายของลำำ�ตััวค่่อย ๆ

ลดขนาดลงจนถึึงคอดหาง ส่่วนหััวค่่อนข้้างโตมีีลัักษณะคล้้ายส่่วนหััวของหนููหรืือกระต่่าย
ตาโตอยู่�่ชิิดด้้านบนของส่่วนหััว จะงอยปากในบางชนิิดอาจมีีการพััฒนาเป็็นอวััยวะช่่วยรัับ
สััมผัสั ที่่�ยื่่น� ยาวออกมาคล้้ายงวงช้้าง มีีช่่องเปิิดเหงืือก 1 คู่�่ อยู่�ท่ างด้้านข้้างของส่่วนหัวั (เกิิดจาก
มีีแผ่่นปิิดเหงืือกมาปิิดไว้้เหมืือนพวกปลากระดููกแข็็ง) ปากอยู่�่ค่่อนมาทางด้้านล่่างของส่่วนหััว
มีีฟัันแข็็งแรงเป็็นแผ่่นขนาดใหญ่่ 3 คู่�่ ที่่�ไม่่สามารถงอกใหม่่ได้้ และขากรรไกรบนมีีการเชื่่�อม
ติิดกัับกะโหลกศีีรษะ มีีรููจมููก 1 คู่�่ ลำำ�ตััวอ่่อนนุ่่�ม ไม่่มีีเกล็็ด มีีเส้้นข้้างตััวยาวตลอดแนวลำ�ำ ตััว
เชื่่�อมต่่อกัับแนวเส้้นที่่�ส่่วนหััว รููทวารและช่่องสืืบพัันธุ์�แยกจากกััน มีีครีีบอกขนาดใหญ่่ ครีีบหลััง
มีี 2 อััน และมีีหนามแข็็ง ซึ่่�งมีีพิิษที่่�หน้้าครีีบหลัังอัันแรก ส่่วนครีีบหลัังอัันที่่� 2 มีีทั้้�งขนาด
ใกล้้เคีียงกัับครีีบหลัังอัันแรกหรืือเป็็นแถบยาว ครีีบก้้นและครีีบหางขนาดเล็็ก บางชนิิด
มีีปลายหางยื่่�นยาวเป็็นเส้้น ในปลาเพศผู้้�มีี Pre-pelvic tentaculum และ Frontal tentaculum
อยู่�ท่ ี่่�หน้้าครีีบท้้องและบนหััว ตามลำ�ำ ดับั

v ขนาด มีีความยาว 45 เซนติิเมตร ถึึง 1.5 เมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ สััตว์์หน้้าดิิน และปลาขนาดเล็็ก
v การกระจายพัันธุ์์� พบในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบเฉพาะ

ทะเลอัันดามันั อาศัยั ในเขตน้ำ��ำ ลึึกตั้�้งแต่่ 200 - 3,000 เมตร หรืือมากกว่่านั้้�น

 v ความสำำ�คััญ พบจำำ�นวนน้้อยมาก ไม่่มีีรายงานการนำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 63

ไคมีีร่า่ สีีเงิิน ไคมีีร่า่ หนามยาว

Chimaera cf. phantasma Chimaera aff. macrospina

ฉลามผีี ไคมีีร่่า

Hydrolagus cf. deani Hydrolagus sp.

หนูจู มูกู ยาว

Neoharriotta pinnata

พ64 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.5 เหล่า่ ปลาตาเหลืือก ปลากระบอกยน ปลาไหลทะเล

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 3 อัันดัับ 11 วงศ์์
มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 87 ชนิิด มีีลัักษณะสำำ�คััญของเหล่่าคืือเป็็นกลุ่่�มปลาที่่�มีีรููปแบบ
การเจริิญเติิบโตด้้วยการเปลี่่�ยนแปลงรููปร่่าง (Metamorphosis) จากช่่วงปลาวััยอ่่อน
เป็็นปลาวััยเจริิญพัันธุ์� เมื่่�อเป็็นปลาวััยอ่่อน มีีรููปร่่างคล้้ายใบไม้้ หรืือริิบบิ้้�นที่่�มีีความโปร่่งใส
(Leptocephalus) แต่่เมื่่�อถึึงระยะตััวเต็็มวััย ปลาจะมีีรููปร่่างลัักษณะที่่�แตกต่่างกัันไปอย่่างชััดเจน
แบ่่งได้้เป็น็ 2 กลุ่่�ม คืือ กลุ่่�มปลาตาเหลืือก ปลากระบอกยน และกลุ่่�มปลาไหลทะเล

3.5.1 กลุ่�มปลาตาเหลืือก ปลากระบอกยน

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบรวม 2 อัันดัับ 3 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 3 ชนิิด ลัักษณะเด่่นคืือ
มีีแผ่่นกระดููกบาง ๆ รููปร่่างยาวรีี 1 อััน อยู่�ท่ ี่่บ� ริิเวณใต้้คาง (Gular plate)

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างเพรีียว แบนข้้าง มีีเกล็็ดละเอีียดแบบไซคลอยด์์

ตาค่่อนข้้างใหญ่่ ครีีบหลัังตอนเดีียวสั้้�น ครีีบอก ครีีบท้้อง และครีีบก้้นใส ครีีบหางเว้้าลึึก

v ขนาด มีีความยาวได้้ถึึงประมาณ 1.8 เมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นกลุ่่�มปลากิินเนื้้�อ โดยปลาตาเหลืือกกิินปลาเป็็นอาหาร

ส่่วนปลากระบอกยนกิินสััตว์์หน้้าดิินขนาดเล็ก็ เป็น็ อาหาร

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในท้้องทะเลเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนรอบโลก สำำ�หรัับ

ประเทศไทยพบได้้ทั้้�งฝั่ง่� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน อาศััยในบริิเวณทะเลชายฝั่ง�่ และปากแม่่น้ำ�ำ�

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์น้้อย เนื่่�องจากจัับได้้น้้อยและนิิยม

บริิโภคในบางท้้องที่่�

ตาเหลืือกสั้้น� ตาเหลืือกยาว

Megalops cyprinoides Elops machnata

ลููกกล้ว้ ยเงิิน

Albula oligolepis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 65

3.5.2 กลุ่�มปลาไหลทะเล

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Anguilliformes) 6 วงศ์์ มีีจำำ�นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 84 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างกลมยาวคล้้ายงูู ส่่วนท้้ายลำำ�ตััวจะแบนข้้าง

มีีช่่องเปิิดเหงืือกขนาดเล็็ก ไม่่มีีเส้้นข้้างลำำ�ตััวแต่่มีีรููรัับความรู้�สึึกอยู่�่บนส่่วนหััว ปากกว้้าง
มีีฟัันเป็็นแบบฟัันเขี้�ยวแหลมและแข็็งแรง รููจมููกมีี 2 คู่�่ คู่�่หน้้ามีีลัักษณะเป็็นท่่ออยู่�่ใกล้้
ปลายจะงอยปาก คู่�่หลัังเป็็นรููปกติิหรืือเป็็นท่่อยกตััวสููงอยู่�่หน้้าตา ครีีบทุุกครีีบไม่่มีีก้้านครีีบแข็็ง
ครีีบหลััง ครีีบหาง และครีีบก้้นเชื่่�อมติิดกันั พบทั้้�งชนิิดที่่ม� ีีและไม่่มีีครีีบอก

v ขนาด มีีขนาด 10 เซนติิเมตร จนถึึง 2 เมตร
v นิสิ ัยั การกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ กิินสัตั ว์์หน้้าดิิน และกิินปลาขนาดเล็็ก
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก สำ�ำ หรัับประเทศไทย

พบทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน อาศััยในบริิเวณปากแม่่น้ำ�ำ� ทะเลชายฝั่�่ง แนวปะการััง
และแม่่น้ำ��ำ โดยปลาในวงศ์์ปลาตููหนา Anguillidae เป็็นปลาสองน้ำ��ำ ที่่�วางไข่่ในทะเลลึึกตััวอ่่อน
เข้้ามาเจริิญเติิบโตในน้ำ��ำ จืืด อาศััยในแม่่น้ำ��ำ ลำ�ำ ธารของภาคใต้้ฝั่่�งทะเลอัันดามััน ลุ่่�มน้ำ�ำ�สาละวิิน
และแม่่น้ำ�ำ�โขง เคยมีีรายงานการพบในลุ่่�มแม่่น้ำ��ำ เจ้้าพระยา และปลาในบางวงศ์์เป็็นกลุ่่�ม
ปลาทะเลลึึกที่่�พบได้้เฉพาะจากการสำำ�รวจเท่่านั้้�น ส่่วนปลาไหลสปาเก็็ตตี้้�วงศ์์ Moringuidae
จััดอยู่�่ในกลุ่่�มปลาหายากมาก เคยพบในลำำ�ธารของจังั หวัดั ระนอง

v ความสำ�ำ คััญ ปลาในวงศ์์ปลาตููหนานิิยมบริิโภคในภาคใต้้ฝั่่�งอัันดามััน ส่่วน

ปลายอดจากนิิยมนำำ�กระเพาะลมมาตากแห้้งเป็็นกระเพาะปลาซึ่่�งมีีราคาสููงและเนื้้�อ
นำ�ำ ไปทำ�ำ ลููกชิ้�น ปลาหลดหิินและปลาไหลทะเลวงศ์์อื่่�น ๆ มีีการบริิโภคในบางพื้้�นที่่� ส่่วนปลา
บางชนิิดที่่�มีีสีีสันั แปลกตาจะนิิยมนำำ�มาเลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม

พ66 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ไหลสปาเก็ต็ ตี้้� หลดหิินลายกระดำ�ำ

Moringua cf. ritaborua Gymnothorax fimbriatus

หลดหิินยัักษ์์ หลดหิินลายตาข่า่ ย

Gymnothorax javanicus Gymnothorax favagineus

หลดหิินคิิดาโกะ หลดหิินกระขาว

Gymnothorax kidako Gymnothorax neglectus

หลดหิินดำ�ำ หลดหิินครีีบสูงู

Gymnothorax pseudoherrei Gymnothorax pseudothyrsoideus

ไหลช่่อ พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 67

Gymnothorax tile

ไหลริิบบิ้้�น หลดหิินยัักษ์เ์ รีียว

Rhinomuraena quaesita Strophidon sathete

หลดหิินลายเหลืือง ไหลหััวกบ

Echidna polyzona Coloconger raniceps

ไหลคอยาวทะเลลึึก ไหลปากส้้อม

Nessorhamphus ingolfianus Nemichthys scolopaceus

ไหลทะเล ไหลงููด่า่ ง

Ophichthus rutidoderma Myrophis microchir

ไหลงูู

Pisodonophis boro

พ68 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ยอดจากปากยาว ยอดจากหูยู าว

Congresox talabonoides Congresox talabon

ยอดจากปากตะโขง ยอดจาก

Gavialiceps taeniola Muraenosox cinereus

ไหลหอก ไหลปากเป็ด็ หางดำ�ำ

Muraenesox bagio Saurenchelys cf. fierasfer

ตููหนา

Anguilla bicolor

เอี่่ย� นหูู สะแงะ

Anguilla marmorata Anguilla bengalensis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 69

3.6 เหล่า่ ปลาตะพััด ปลากราย

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 1 อัันดัับ (อัันดัับ
Osteoglossiformes) 2 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 6 ชนิิด มีีลักั ษณะสำ�ำ คัญั คืือมีีฟัันบนลิ้้�น และ
มีีลำ�ำ ไส้้อยู่�่ทางด้้านซ้้ายของหลอดคอและกระเพาะอาหาร ในขณะที่่�ปลากระดููกแข็็งส่่วนใหญ่่
จะพบอยู่�ท่ างด้้านขวา จัดั แบ่่งเป็็น 2 กลุ่่�ม คืือ กลุ่่�มปลาตะพััด และกลุ่่�มปลากราย โดยปััจจุุบันั
กรมประมงประสบความสำำ�เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์� ปลาตะพััด (Scleropages formosus)
ปลากราย (Chitala ornata) และปลาตองลาย (Chitala blanci)

3.6.1 กลุ่�มปลาตะพััด

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ 1 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน 2 ชนิิด และเป็็นกลุ่่�มปลาที่่�
มีีสถานภาพทางการอนุุรัักษ์์อยู่�ใ่ นกลุ่่�มปลาใกล้้สููญพันั ธุ์� (Endangered: EN)

v ลักั ษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างทรงป้้าน แบนข้้างเล็็กน้้อย หัวั โต ตาโต ปลายคาง

มีีหนวดสั้้�นหนึ่่�งคู่�่ ครีีบหลัังและครีีบก้้นอยู่�่ค่่อนไปทางด้้านท้้ายของลำ�ำ ตััว เกล็็ดใหญ่่ และ
มีีลวดลายเป็็นเส้้นละเอีียดไขว้้กันั ตััวมักั มีีสีีเงิินเหลืือบเขีียว หรืือมีีลวดลายสีีเรื่่อ� ๆ

v ขนาด มีีความยาว 70 เซนติิเมตร ถึึง 1 เมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ กิินแมลง กิินสััตว์์เลื้้�อยคลานและกบเขีียด

เป็น็ อาหาร โดยมีีพฤติิกรรมหากิินอาหารบริิเวณผิิวน้ำ��ำ

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในภููมิิภาคเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ เช่่น กััมพููชา

เมีียนมาร์์ อิินโดนีีเซีีย มาเลเซีีย ในประเทศไทยพบในภาคใต้้ และเคยมีีรายงานการพบใน
จัังหวัดั จันั ทบุุรีีถึึงจัังหวััดตราดบริิเวณลำำ�ธารหรืือแม่่น้ำ�ำ�สายเล็็กที่่ม� ีีป่่าที่่ส� มบููรณ์์ปกคลุุม

v ความสำ�ำ คััญ เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์ด้้านปลาสวยงาม

ตะพัดั ตะพััั�ดสีีนาก

Scleropages formosus Scleropages inscriptus

พ70 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.6.2 กลุ่�มปลากราย

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดับั 1 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 4 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างแบนข้้างมาก ไม่่มีีเกล็็ดบนหััว เกล็็ดมีีขนาด

เล็็กมากเป็็นแบบไซคลอยด์์ ครีีบหลัังขนาดเล็็ก ครีีบหางและครีีบก้้นเชื่่�อมต่่อกััน ลำำ�ตััว
เป็็นสีีเงิิน อาจมีีลวดลายหรืือจุุดเป็น็ ดวงที่่�ด้้านท้้ายของตััว

v ขนาด มีีความยาว 20 เซนติิเมตร ถึึง 1 เมตร
v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ สัตั ว์์หน้้าดิิน แมลงน้ำ��ำ และปลาขนาดเล็็ก
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในภููมิิภาคเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ ประเทศไทยพบได้้

ในทุุกลุ่่�มน้ำ�ำ� ทั้้�งแหล่่งน้ำ�ำ�นิ่่ง� และแหล่่งน้ำ��ำ ไหล เช่่น แม่่น้ำ��ำ ลำ�ำ คลอง หนอง และบึึง เป็น็ ต้้น

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เป็็นปลาเศรษฐกิิจสำ�ำ คััญเพื่่�อการ

บริิโภคและปลาสวยงาม

สลาด ตองลาย

Notopterus notopterus Chitala blanci

กราย สะตืือ

Chitala ornata Chitala lopis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 71

3.7 เหล่่าปลากะตักั ปลาหลังั เขีียว ปลาถั่่ว� งอก ปลาวุ้้�นเส้้น

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 2 อัันดัับ 8 วงศ์์
มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 80 ชนิิด

3.7.1 กลุ่�มปลากะตััก ปลาหลัังเขีียว ปลาถั่่ว� งอก

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดับั 7 วงศ์์ จำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 80 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบทั้้�งแบบกระสวย หรืือ

แบนข้้างเล็็กน้้อยถึึงมาก เกล็็ดละเอีียดขนาดเล็็ก ปากยืืดหดไม่่ได้้ บางชนิิดมีีปากกว้้างมาก
จนเลยด้้านหลัังของตาหรืือมีีรููปร่่างกลมขนาดเล็็ก ซี่่�กรองเหงืือกยาวและมีีจำำ�นวนมาก
ครีีบหางเว้้าลึึก ทุุกครีีบไม่่มีีก้้านครีีบแข็็ง ส่่วนใหญ่่จะมีีสัันหนามบริิเวณส่่วนท้้องยกเว้้น
ปลาในวงศ์์ Chirocentridae, Engraulidae และ Sundasalangidae

v ขนาด มีีความยาว 5 - 50 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร มีีพฤติิกรรมหากิินอาหารบริิเวณผิิวน้ำ��ำ และกลางน้ำ��ำ เป็็นปลา

กิินเนื้้�อและแพลงก์์ตอน ยกเว้้นปลาดาบลาวที่่ก� ิินสัตั ว์์น้ำ�ำ�อื่่�นเป็็นอาหาร

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อน สำ�ำ หรัับประเทศไทยพบได้้

ทั้้�งฝั่ง�่ อ่่าวไทยและทะเลอันั ดามััน อาศััยในบริิเวณทะเลชายฝั่่ง� จนถึึงปากแม่่น้ำ�ำ� และแหล่่งน้ำ��ำ จืืด
ทุุกลุ่่�มน้ำ�ำ� ทั้้�งแหล่่งน้ำ��ำ นิ่่�งและแหล่่งน้ำ�ำ�ไหล เช่่น ปลาซิิวแก้้ว พบในบริิเวณอ่่างเก็็บน้ำ�ำ�ขนาดใหญ่่
ในภาคกลางและภาคตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ส่่วนปลาถั่่�วงอก พบในแม่่น้ำ��ำ ภาคใต้้และตะวัันออก
เฉีียงเหนืือ และปลาหมากผาง พบเฉพาะในแม่่น้ำ�ำ�โขงและสาขา เป็็นต้้น

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อบริิโภคที่่�สำำ�คััญ มีีการนำำ�ไป

แปรรููปแบบต่่าง ๆ เช่่น ปลากระป๋๋อง ตากแห้้ง ทำ�ำ น้ำ��ำ ปลา หรืือปรุุงสด รวมถึึงเป็็นปลาป่่น
คุุณภาพสููงในอุุตสาหกรรมอาหารสััตว์์

พ72 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กุแุ ลกลมจุุด กุุแลกลม

Amblygaster sirm Amblygaster leiogaster

ตะเพีียนน้ำ��ำ เค็ม็ โคก

Anodontostoma chacunda Anodontostoma thailandiae

ไส้้ตันั หางดอก ซิิวแก้้วอ่่าวไทย

Clupeoides borneensis Corica laciniata

ซิิวแก้ว้ อีีสาน ซิิวแก้ว้ สั้้น�

Clupeichthys aesarnensis Clupeichthys goniognathus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 73

ซิิวแก้ว้ เปรักั กะตัักแก้้วเรีียว

Clupeichthys perakensis Escualosa elongata

กะตักั แก้้ว กุแุ ลสี่่�จุดุ

Escualosa thoracata Herklotsichthys quadrimaculatus

กุแุ ลสองจุดุ มงโกรย

Herklotsichthys dispilonotus Hilsa kelee

โคกกระโดงข้า้ งขีีด โคกกระโดงจุดุ

Nematalosa galatheae Nematalosa nasus

พ74 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

หลัังเขีียวเกล็ด็ ขาว หลัังเขีียวสั้้น�

Sardinella albella Sardinella brachysoma

หลัังเขีียว หลัังเขีียวแถบทอง

Sardinella pacifica Sardinella gibbosa

กุุแลยาว หมากผาง

Sardinella lemuru Tenualosa thibaudeaui

ตะลุุมพุุกพม่า่ ตะลุุมพุกุ สั้้�น

Tenualosa ilisha Tenualosa reevesii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 75

ตะลุุมพุกุ กะตัักหััวแข็ง็ เรีียว

Tenualosa toli Spratelloides gracilis

กุแุ รกล้้วย หางไก่จ่ ุุด

Dussumieria acuta Coilia dussumieri

หางไก่่ หางไก่ป่ ากกว้า้ ง

Coilia lindmani Coilia macrognathos

กะตััก แมวหูดู ำำ�

Encrassicholina heteroloba Setipinna melanochir

แมวหููยาว

Setipinna taty

พ76 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กะตัักหััวดำ�ำ กะตักั สั้้�น

Stolephorus tri Stolephorus baganensis

กะตััก กะตัักควายอ่า่ วไทย

Stolephorus commersonnii Stolephorus oceanicus

กะตักั อ่า่ วไทย กะตัักควายอัันดามััน

Stolephorus dubiosus Stolephorus indicus

กะตักั หััวป้า้ น กะตัักเหลืือง

Stolephorus insularis Stolephorus waitei

แมวเขี้้ย� ว พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 77

Lycothrissa crocodilus

แมวเขี้้�ยวยาว แมวเขี้้ย� วยาว

Thryssa hamiltonii Thryssa dussumieri

แมวหางแดง แมวสั้้น�

Thryssa kammalensis Thryssa mystax

แมวเขี้้�ยวยาว ดาบลาวยาว

Thryssa setirostris Chirocentrus dorab

ดาบลาว อีีปุดุ ยาว

Chirocentrus nudus Ilisha kampeni

อีีปุุด

Ilisha megaloptera

พ78 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

อีีปุุดตาโต ตาตุ่ �ม

Ilisha melastoma Ilisha sirishae

อีีปุุดท้้องโต ใบไผ่่

Ilisha macrogaster Opisthopterus tardoore

ใบไผ่ย่ าว ตาตุ่ �มสั้้�น

Opisthopterus valenciennesi Pellona ditchela

ถั่่�วงอก ถั่่�วงอกแม่่โขง

Sundasalanx praecox Sundasalanx mekongensis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 79

3.7.2 กลุ่�มปลาวุ้้�นเส้้น

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อันั ดับั (Osmeriformes) 1 วงศ์์

v ลัักษณะทั่่ว� ไป เป็็นปลาที่่�มีีลัักษณะรููปร่่างเรีียวยาว หััวเล็็ก ปากเล็็ก ครีีบหลัังเล็็ก

และมีีครีีบไขมััน เกล็ด็ หลุุดง่่าย หรืือไม่่มีีเกล็ด็

v ขนาด  มีีความยาว 5 – 10 เซนติิเมตร
v นิสิ ัยั การกิินอาหาร  เป็็นปลากิินแพลงก์์ตอน
v การกระจายพัันธุ์์�  ส่่วนมากเป็็นปลาในเขตหนาวและอบอุ่่�น ชอบอยู่�่เป็็นฝููงใหญ่่

สามารถจับั ได้้ครั้�งละจำำ�นวนมาก สำำ�หรัับในประเทศไทยพบบริิเวณแม่่น้ำ��ำ โขงบ้้างเป็น็ บางครั้�ง

v ความสำ�ำ คัญั   จััดเป็็นปลาเศรษฐกิิจที่่�นิิยมบริิโภค เช่่น ปลาไข่่ (Capelin, Shishamo)

ปลาเงิิน หรืือปลาหงิ่�นฮื้�อ (Nooddlefish, Shirasu) ส่่วนที่่�พบในประเทศไทย ได้้แก่่ ปลาวุ้�้นเส้้น
(Neosalanx jordani) ซึ่่�งเป็็นปลาในวงศ์์ปลาวุ้�้นเส้้น (Salangidae) พบจำำ�นวนน้้อย จึึงไม่่ได้้
ใช้้ประโยชน์์

วุ้ �นเส้น้

Neosalanx jordani

พ80 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.8 เหล่่าปลานวลจัันทร์ท์ ะเล ปลาตะเพียี น

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 2 อัันดัับ 18 วงศ์์
ไม่่น้้อยกว่่า 426 ชนิิด มีีลัักษณะสำำ�คัญั คืือมีีฟัันในลำำ�คอ (Pharyngeal teeth) มีีกระดููกสันั หลััง
3 - 5 ข้้อแรกที่่�เชื่่�อมต่่อกัันเป็็นอวััยวะช่่วยรัับฟัังเสีียงเรีียกว่่า Weberian apparatus ปััจจุุบััน
กรมประมงประสบความสำำ�เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์� ปลานวลจัันทร์์ทะเล (Chanos chanos)
ปลาตะเพีียนขาว (Barbonymus gonionatus) ปลาตะเพีียนทอง (Barbonymus altus)
ปลากระโห้้ (Catlacarpio siamensis) ปลาสร้้อยขาว (Henicorhynchus siamensis)
ปลาเสืือข้้างลาย (Puntius partipentazona) ปลาซิิวควาย (Rasbora paviana) และ
ปลารากกล้้วยจิินดา (Acantopsis thiemmedhi) โดย ปลานวลจัันทร์์ทะเล เป็็นปลาที่่�
พระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร ทรงมีี
พระราชกระแสรัับสั่่�งให้้กรมประมงดำ�ำ เนิินการเพาะเลี้้�ยง ซึ่่�งดำำ�เนิินการเพาะพัันธุ์�ได้้สำ�ำ เร็็จ
เมื่่�อปีี พ.ศ. 2553 โดยปลาในเหล่่านี้้�จััดแบ่่งได้้เป็็น 2 กลุ่่�ม ได้้แก่่ กลุ่่�มปลานวลจัันทร์์ทะเล
และกลุ่่�มปลาตะเพีียน

3.8.1 กลุ่�มปลานวลจัันทร์ท์ ะเล

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อันั ดับั (อัันดับั Gonorynchiformes) 1 วงศ์์ จำ�ำ นวน 1 ชนิิด
คืือ ปลานวลจันั ทร์์ทะเล

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างค่่อนข้้างยาว แบนข้้าง เกล็็ดเล็็กละเอีียด

สีีเงิิน ครีีบหางเว้้าลึึก

v ขนาด มีีความยาว 40 เซนติิเมตร ถึึง 1 เมตร
v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ สัตั ว์์น้ำ��ำ ขนาดเล็ก็ สาหร่่ายและแพลงก์์ตอน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ในประเทศไทย

พบทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามัันบริิเวณทะเลชายฝั่่�งจนถึึงปากแม่่น้ำ��ำ สามารถปรัับตััวให้้
อาศัยั ในน้ำ�ำ�กร่่อยหรืือน้ำ��ำ จืืดได้้

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค ปััจจุุบัันเป็็นปลา

ที่่�เพาะพันั ธุ์�และส่่งเสริิมในรููปแบบการเลี้้�ยงร่่วมกับั กุ้�้งทะเล

นวลจัันทร์์ทะเล

Chanos chanos

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 81

3.8.2 กลุ่�มปลาตะเพีียน

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (Cypriniformes) 17 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า
425 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบ ทั้้�งแบบลำ�ำ ตััวสั้้�นถึึงยาวมาก

ลำ�ำ ตััวกลม ลำำ�ตััวแบนข้้าง ส่่วนหััวไม่่มีีเกล็็ดและแผ่่นกระดููกปกคลุุม ปากสามารถยืืดหดได้้
ไม่่มีีฟัันบนขากรรไกร เกล็็ดลำ�ำ ตััวเล็็กมากเป็็นแบบไซคลอยด์์ ไม่่มีีครีีบไขมััน ครีีบหลัังมีีเพีียง
ตอนเดีียว

v ขนาด ส่่วนใหญ่่มีีความยาว 10 - 30 เซนติิเมตร ยกเว้้นปลาซิิวแคระสามจุุด

(Boraras micros) ซึ่่�งจััดเป็็นสััตว์์มีีกระดููกสัันหลัังที่่�มีีขนาดเล็็กที่่�สุุดของไทยมีีขนาดความยาว
เพีียง 1.4 เซนติิเมตร ในขณะที่่�ปลากระโห้้ (Catlocarpio siamensis) พบมีีความยาวสููงสุุดถึึง
2.5 เมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�กิินอาหารหลากหลายรููปแบบ ทั้้�งพืืช สััตว์์

แพลงก์์ตอน สาหร่่ายและพืืชน้ำ�ำ�

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในแหล่่งน้ำ�ำ�จืืดทุุกลุ่่�มน้ำ�ำ� ตั้�้งแต่่ลำำ�ธารบนภููเขา แม่่น้ำ��ำ

ลำ�ำ คลอง หนองบึึง และอ่่างเก็็บน้ำ�ำ� โดยพบบางชนิิดในกลุ่่�มนี้้�นำำ�ไปใช้้เป็็นดััชนีีชี้�วััดคุุณภาพ
แหล่่งน้ำ�ำ�ในระดับั ดีีถึึงดีีมากได้้ เช่่น ปลาค้้อ (Schistura spp.) ปลาผีีเสื้้�อติิดหิิน (Homaloptera spp.)
และปลารากกล้้วย (Acantopsis spp.) เป็น็ ต้้น

v ความสำำ�คัญั เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์เพื่่อ� การบริิโภค และด้้านนัันทนาการ

เพื่่อ� เลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม หรืือกีีฬาตกปลา

พ82 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

สร้้อยน้ำ�ำ� ผึ้้ง� สร้อ้ ยน้ำำ�� ผึ้้ง� แม่โ่ ขง

Gyrinocheilus aymonieri Gyrinocheilus pennocki

หมููน่า่ น หมูอู ารีีย์์

Ambastaia nigrolineata Ambastaia sidthimunki

หมููลายเมฆ หมููฮ่่องเต้้

Botia kubotai Botia histrionica

หมููกำ�ำ พล หมููลายเสืือ

Botia udomritthiruji Syncrossus beauforti

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 83

หมูลู ายสาละวิิน หมูขู ้า้ งลาย

Syncrossus berdmorei Syncrossus helodes

หมูหู างจุุด หมูคู รีีบแดง

Yasuhikotakia caudipunctata Yasuhikotakia eos

หมูสู ััก หมูหู ลัังยาว

Yasuhikotakia lecontei Yasuhikotakia longidorsalis

หมููขาว หมูคู อก

Yasuhikotakia modesta Yasuhikotakia morleti

พ84 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

หมููหางดอก ค้อ้ ปลาไหล

Yasuhikotakia splendida Vaillantella maassi

รากกล้ว้ ยแคระหน้า้ ยาว รากกล้้วยแคระ

Acanthopsoides delphax Acanthopsoides gracilentus

รากกล้ว้ ยแคระ รากกล้ว้ ยแคระ

Acanthopsoides gracilis Acanthopsoides bruinen

รากกล้ว้ ย รากกล้ว้ ยลายจุดุ

Acantopsis dialuzona Acantopsis dinema

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 85

รากกล้ว้ ยด่่าง รากกล้้วยจิินดา

Acantopsis rungthipae Acantopsis thiemmedhi

อีีด อีีด

Lepidocephalichthys berdmorei Lepidocephalichthys hasselti

อีีด อีีด

Lepidocephalichthys kranos Lepidocephalichthys zeppelini

อีีดครีีบยาว สายทอง

Lepidocephalus nanensis Pangio anguillaris

พ86 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง


Click to View FlipBook Version