The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong47122400, 2021-09-29 11:11:38

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

ปล้อ้ งอ้อ้ ยหนวดยาว ปล้อ้ งอ้อ้ ย

Pangio cuneovirgata Pangio kuhlii

ปล้้องอ้้อย ค้้อหน้้าหักั

Pangio myersi Ellopostoma mystax

ค้้อตาผีีพรุุ ผีีเสื้้อ� หิินอัันนัมั

Barbucca cf. diabolica Annamia normani

ค้อ้ ปีีก ค้้อตาหนาม

Vanmanenia serrilineata Serpenticobitis cingulata

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 87

ค้้อตาหนาม ผีีเสื้้�อติิดหิินหางดำ�ำ

Serpenticobitis zonata Balitoropsis zollingeri

จิ้้�งจกถ้ำ�ำ� ผีีเสื้้�อติิดหิินน่า่ น

Cryptotora thamicola Hemimyzon nanensis

จิ้้�งจกสาละวิิน จิ้้�งจกตะวันั ออก

Homaloptera bilineata Homaloptera confuzona

ผีีเสื้้�อติิดหิิน ผีีเสื้้�อติิดหิินหกจุดุ

Homalopteroides cf. smithi Pseudohomaloptera sexmaculata

พ88 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ค้อ้ ค้้อมัศั ยะ

Nemacheilus binotatus Nemacheilus masyae

ค้อ้ ค้้อ

Nemacheilus pallidus Nemacheilus platiceps

ค้้อมาเลเซีีย Cr.: นณณ์์ ผาณิิตวงศ์์

Nemacheilus selangoricus ค้อ้ ถ้ำ�ำ�

ค้้อแม่่กลอง Nemacheilus troglocataractus

Paracanthocobitis maekhlongensis ค้อ้ ทราย

Paracanthocobitis mandalayensis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 89

Cr.: ธนดล ผิิวดำ�ำ ค้้อเจ้้าฟ้้า

ค้้อภูเู ก็็ต Physoschistura chulabhornae

Paracanthocobitis phuketensis ค้อ้

ค้อ้ แถบส้้ม Schistura bairdi

Schistura aurantiaca

ค้อ้ แถบทอง

Schistura crocatula

ค้้อถ้ำำ��พระไทรงาม

Schistura deansmarti

ค้อ้ ค้อ้ ลายเลืือน

Schistura desmotes Schistura dubia

พ90 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ค้้อถ้ำ��ำ จารุุธานิินทร์์ ค้้อลายเสืือแม่่โจ้้

Schistura jaruthanini Schistura maejotigrina

ค้อ้ ต้น้ น้ำ�ำ� มููล ค้้อตาบอด

Schistura nicholsi Schistura oedipus

ปล้้องทองปรีีดีี ค้อ้ ภาคใต้้

Schistura pridii Schistura robertsi

ค้อ้ ค้อ้ สิิริินธร

Schistura schultzi Schistura sirindhornae

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 91

ค้อ้ ถ้ำำ��พระวังั แดง ค้้อหััวดํํา

Schistura spiesi Sectoria atriceps

ค้้อ เกาะหิิน

Tuberoschistura baenzigeri Psilorhynchus robustus

สะนากยัักษ์์ ตะโกกหน้้าสั้้น�

Aaptosyax grypus Albulichthys albuloides

ตามิิน ไส้้ตันั ตาขาว

Amblyrhynchichthys micracanthus Anematichthys repasson

พ92 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

แก้ม้ นวล หางบ่ว่ ง

Bangana sinkleri Barbichthys laevis

จาดหางแดง อีีกอง

Discherodontus colemani Barbodes lateristriga

ตะเพีียนน้ำ��ำ ตก ตะเพีียนทอง

Barbodes rhombeus Barbonymus altus

ตะเพีียนขาว

Barbonymus gonionotus

กระแห

Barbonymus schwanenfeldii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 93

กระโห้้ ขิ้้ง�

Catlocarpio siamensis Chagunius baileyi

ปีีกแดง นวลจัันทร์น์ ้ำ�ำ� จืืด

Cirrhinus jullieni Cirrhinus microlepis

แกง ตะกาก

Cirrhinus molitorella Cosmochilus harmandi

เล็บ็ มืือนางแม่่โขง จิ้้ง� จอก

Crossocheilus atrilimes Crossocheilus oblongus

พ94 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

เล็็บมืือนาง เล็บ็ มืือนาง

Crossocheilus reticulatus Crossocheilus tchangi

เล็็บมืือนาง ไส้้ตัันตาแดง

Crossocheilus sp. Cyclocheilichthys apogon

ไส้ต้ ันั ตาขาว กะทิิ

Cyclocheilichthys armatus Cyclocheilicthys heteronema

ไส้้ตันั สนธิิรัตั น

Cyclocheilichthys lagleri

ตะโกก

Cyclocheilos enoplos

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 95

ไน

Cyprinus rubrofuscus

เสืือป่่าพรุุ

Desmopuntius pentazona

แดงน้้อย ทรงเครื่ �อง

Discherodontus schroederi Epalzeorhynchos bicolor

กาแดง จิ้้�งจอก

Epalzeorhynchos frenatus Epalzeorhynchos kalopterus

กาแดงแม่น่ ้ำ�ำ�มููล ข้อ้ มืือนาง

Epalzeorhynchos munense Folifer brevifilis

พ96 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

เลีียหิิน มููด

Garra cambodgiensis Garra fuliginosa

มููดน้ำ��ำ ว้า้ กระสููบขีีด

Garra waensis Hampala macrolepidota

กระสููบสาละวิิน สร้อ้ ยน้ำำ�� เงิิน

Hampala salweenensis Henicorhynchus caudimaculatus

สร้อ้ ยลููกนุ่�น สร้้อยขาว

Henicorhynchus ornatipinnis Henicorhynchus siamensis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 97

ตะพากส้้ม ตะพาก

Hypsibarbus malcolmi Hypsibarbus suvattii

ตะเพีียนปากหนวด ตะพากทอง

Hypsibarbus vernayi Hypsibarbus wetmorei

หว้า้ หน้้านอ กา

Incisilabeo behri Marulius chrysophekadion

สร้้อยลููกนุ่ �น ซ่่า

Labiobarbus leptocheilus Labiobarbus siamensis

พ98 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

สร้้อยลููกบััว

Lobocheilos rhabdoura

สะอีี

Mekongina erythrospila

ขี้้ย� อก หนามหลังั

Mystacoleucus greenwayi Mystacoleucus marginatus

หนามหลััง พลวงเกาะ

Mystacoleucus obtusirostris Neolissochilus hendersoni

พลวงทอง

Neolissochilus soroides

พลวงหิิน

Neolissochilus stracheyi

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 99

พลวงถ้ำ�ำ� ขิ้้ง�

Neolissochilus subterraneus Onychostoma meridionale

ตะเพีียนแคระ ไข่่ออง

Oreichthys parvus Osteobrama cunma

หน้า้ หมอง พรมหัวั เหม็็น

Osteochilus lini Osteochilus melanopleurus

ร่อ่ งไม้้ตัับ สร้อ้ ยนกเขา

Osteochilus microcephalus Osteochilus schlegelii

พ100 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

สร้้อยนกเขา ร่อ่ งไม้ต้ ัับ

Osteochilus vittatus Osteochilus waandersii

น้ำ�ำ�ฝายแคระ มะไฟ

Parasikukia maculata Pethia stoliczkana

จาดบ้า้ นถ้ำำ�� จาด

Poropuntius bantamensis Poropuntius chondrorhynchus

จาด จาดหางแดง

Poropuntius faucis Poropuntius genyognathus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 101

จาด จาด

Poropuntius laoensis Poropuntius melanogrammus

จาด จาดถ้ำ�ำ�

Poropuntius smedleyi Poropuntius speleops

ยี่่ส� ก เอิินคางมุุม

Probarbus jullieni Probarbus labeamajor

เสืือข้า้ งลาย ตุุม

Puntigrus partipentozona Puntioplites bulu

พ102 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กระมังั ครีีบสูงู กระมััง

Puntioplites fulcifer Puntioplites proctozystron

ตะเพีียนทราย ตะเพีียนครีีบจุดุ

Puntius brevis Puntius spilopterus

มอน ปากเปี่่ย� น

Scaphiodonichthys acanthopterus Scaphognathops bandanensis

ปากเปี่่ย� น น้ำ�ำ�ฝาย

Scaphognathops stejnegeri Sikukia gudgeri

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 103

น้ำ��ำ ฝายหลัังดำ�ำ แก้ม้ ช้ำำ��ภููเขา

Sikukia stejnegeri Systomus rubripinnis

สร้อ้ ยเกล็ด็ ถี่่� พลวงชมพูู

Thynnichthys thynnoides Tor douronensis

เวีียนครีีบแดง เวีียน

Tor sinensis Tor aff. tambroides

ซิิวเจ้า้ ฟ้้า ซิิวสามจุุดพรุุ

Amblypharyngodon chulabhornae Boraras maculatus

พ104 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ซิิวแคระสามจุุด ซิิวหนูู

Boraras micros Boraras urophthalmoides

ซิิวใบไผ่เ่ ล็็ก ซิิวใบไผ่่เล็็ก

Brachydanio pulchra Brachydanio tweedei

ซิิวใบไผ่เ่ ล็็กแถบขาว ซิิวใบไผ่เ่ ขีียว

Danio albolineatus Danio kerri

ซิิวใบไผ่่สีีกุุหลาบ ซิิวใบไผ่่ราชิินีี

Danio roseus Devario regina

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 105

ซิิวหนวดยาว ท้อ้ งพลุุ

Esomus metallicus Laubuka caeruleostigmata

ซิิวอ้้าว น้ำ��ำ หมึึกโคราช

Luciosoma bleekeri Opsarius koratensis

น้ำ��ำ หมึึก นางอ้้าว

Opsarius pulchellus Raiamas guttatus

ซิิวควาย ซิิวหางแดง

Rasbora aurotaenia Rasbora borapetensis

พ106 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ซิิวหััวแถบ ซิิวควายพม่า่

Rasbora cephalotaenia Rasbora daniconius

ซิิวทองแดง ซิิวควาย

Rasbora einthovenii Rasbora hobelmani

ซิิวควาย ซิิวบึึง

Rasbora myersi Rasbora palustris

ซิิวธารแถบทอง ซิิวควายแถบดำำ�

Rasbora paucisqualis Rasbora paviana

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 107

ซิิวครีีบแดง ซิิวหางกรรไกร

Rasbora rubrodorsalis Rasbora trilineata

ซิิวควายแถบดำำ� ซิิวหางกรรไกรเล็็ก

Rasbora vulgaris Rasbosoma spilocerca

แปบสาละวิิน ซิิวกะตักั

Salmostoma aff. sardiniella Thryssocypris wongrati

ซิิวผอม ซิิวสมพงษ์์

Trigonopoma gracile Trigonostigma somphongsi

พ108 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ซิิวข้้างขวาน

Trigonostigma truncata

Cr.: สมหมาย เจนกิิจการ บ้้า

แปบจีีน Leptobarbus rubipinna

Culter cf. recurviceps ฝัักพร้า้

Macrochirichthys macrochirus

แปบขาวหางดำำ� แปบขาว

Oxygaster anomalura Oxygaster pointoni

แปบหางดอก แปบ

Parachela maculicauda Parachela oxygastroides

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 109

แปบขาว แปบใส

Parachela siamensis Parachela williaminae

แปบควาย แปบควาย

Paralaubuca barroni Paralaubuca harmandi

แปบแม่่น้ำำ�� แปบควาย

Paralaubuca riveroi Paralaubuca typus

ไข่่หอย สร้้อยบู่่�

Rhodeus ocellatus Abbottina rivularis

พ110 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.9 เหล่่าปลาดุุก ปลากด ปลาสวาย

ปลาในเหล่่านี้้�จัดั อยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกแข็ง็ พบในประเทศไทย 1 อัันดับั (Siluriformes)
16 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 197 ชนิิด โดยปลาในเกืือบทุุกวงศ์์ภายในเหล่่านี้้�เป็็นปลาน้ำ��ำ จืืด
มีีเพีียง 2 วงศ์์ ที่่เ� ป็็นปลาทะเล คืือ วงศ์์ปลากดทะเล และวงศ์์ปลาดุุกทะเล ในปััจจุุบันั กรมประมง
ประสบความสำำ�เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์์�ปลาบึึก (Pangasianodon gigas) ปลาสวาย
(Pangasianodon hypophthalmus) ปลาเทโพ (Pangasius larnaudii) และปลาดุุกอุุย (Clarias
macrocephalus) โดยปลาสวายเป็็นปลาชนิิดแรกที่่�กรมประมงเพาะพัันธุ์�ได้้สำำ�เร็็จเมื่่�อปีี
พ.ศ. 2509 ส่่วนปลาบึึกเป็็นปลาที่่�กรมประมงเพาะพัันธุ์�ได้้สำำ�เร็จ็ เมื่่�อปีี พ.ศ. 2526

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบ มีีลัักษณะสำำ�คััญคืือ

ไม่่มีีเกล็็ด ส่่วนใหญ่่มีีหนวดจำ�ำ นวน 2 - 4 คู่�่ มีีส่่วนหััวค่่อนข้้างแบนราบ ลำำ�ตััวแบนข้้างไป
ทางด้้านท้้าย ปากกว้้างอยู่�่ที่่ป� ลายสุุดของจะงอยปาก มีีฟัันเป็็นซี่่�เล็ก็ แหลม ส่่วนมากมีีครีีบอก
และครีีบหลัังที่่�มีีก้้านครีีบแข็็ง (Spine) บางชนิิดมีีครีีบหลัังยาว สั้้�น หรืือไม่่มีีครีีบหลััง
เกืือบทุุกวงศ์์มีีครีีบไขมััน ในขณะที่่�วงศ์์ปลาดุุก พบอวััยวะช่่วยหายใจ ทำ�ำ ให้้สามารถอาศััย
ในน้ำ�ำ�ที่่�มีีออกซิิเจนต่ำ�ำ� ได้้เป็็นเวลานาน

v ขนาด ส่่วนใหญ่่มีีความยาว 20 - 50 เซนติิเมตร ยกเว้้นปลาขยุุย (Akysis

pulvinatus) ที่่�มีีขนาดความยาวเพีียง 3 เซนติิเมตร และปลาบึึก (Pangasianodon gigas)
ที่่�มีีขนาดความยาวมากถึึง 3 เมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�กิินทั้้�งพืืชและสััตว์์ กิินสััตว์์น้ำ�ำ�ที่่�มีีขนาด

เล็ก็ กว่่ารวมถึึงแมลงต่่าง ๆ บางชนิิดก็็กิินซากสัตั ว์์ และบางชนิิดกิินลููกไม้้สุุกที่่ห� ล่่นลงน้ำ�ำ�

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไป สำำ�หรัับประเทศไทยพบได้้ทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและ

ทะเลอัันดามััน อาศััยในบริิเวณทะเลชายฝั่่�งจนถึึงปากแม่่น้ำ��ำ และในแหล่่งน้ำ��ำ จืืดพบทุุกลุ่่�มน้ำ�ำ�
ทั้้�งแหล่่งน้ำ�ำ�นิ่่�งและแหล่่งน้ำ��ำ ไหล หลายชนิิดมีีการอพยพเพื่่�อการผสมพัันธุ์�วางไข่่ตามฤดููกาล
และบางชนิิดนำ�ำ ไปใช้้เป็็นดััชนีีชี้�วััดคุุณภาพแหล่่งน้ำ�ำ�ในระดัับดีีถึึงดีีมากได้้ เช่่น ปลาแค้้ติิดหิิน
(Glyptothorax spp.) และปลาค้้างคาว (Oreoglanis spp.) เป็็นต้้น

v ความสำ�ำ คััญ เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค และด้้านนัันทนาการ

เพื่่อ� เลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 111

กะแมะ ดุุกทะเล

Chaca aff. bankanensis Plotosus canius

ปิ่่�นแก้้ว ยอนทอง

Plotosus lineatus Clupisoma sinense

สังั กะวาดขาว ตะมังั

Laides longibarbis Silonia cf. silundia

หวีีเกศ ดุุกมูนู ครีีบสูงู

Platytropius siamensis Bagriichthys majusculus

พ112 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ดุุกมูนู

Bagriichthys obscurus

แขยงเขา

Batasio fluviatilis

โชงโลง กดขี้้ล� ิิง

Hemibagrus capitulum Hemibagrus divaricatus

กดคังั กดขี้้ล� ิิง

Hemibagrus filamentus Hemibagrus spilopterus

กดดำ�ำ กดแก้ว้

Hemibagrus wyckii Hemibagrus wyckioides

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 113

แขยงธง แขยงแถบขาว

Heterobagrus bocourti Mystus albolineatus

แขยงนวล แขยงข้า้ งลาย

Mystus armiger Mystus atrifasciatus

แขยงหางจุดุ อีีกง

Mystus castaneus Mystus cf. gulio

แขยงข้า้ งลาย แขยงข้้างลาย

Mystus multiradiatus Mystus mysticetus

พ114 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

แขยงหนูู แขยงใบข้้าว

Mystus rhegma Mystus singaringan

แขยงนวล แขยงหิิน

Mystus velifer Pseudomystus siamensis

กดหัวั เสีียม กดหมูู

Sperata acicularis Rita aff. sacerdotum

ขยุยุ ยักั ษ์พ์ รหมพิิราม

Acrochordonichthys gyrinus

ขยุุยยักั ษ์ใ์ ต้้

Acrochordonichthys rugosus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 115

ขยุยุ ขยุุย

Akysis cf. ephippifer Akysis maculipinnis

ขยุุย ขยุยุ

Akysis pictus Akysis similis

ขยุยุ ขยุยุ แค้้

Akysis vespa Pseudobagarius hardmani

ขยุยุ ปากขาว ขยุุย

Pseudobagarius inermis Pseudobagarius leucorhynchus

พ116 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ดักั

Amblyceps caecutiens

ดักั

Amblyceps foratum

ดักั แค้้ยักั ษ์์

Amblyceps platycephalus Bagarius lica

แค้้งูู แค้้

Bagarius suchus Bagarius vegrandis

แค้้ยัักษ์์ แค้้ติิดหิิน

Bagarius yarrelli Glyptothorax buchanani

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 117

แค้้ติิดหิิน แค้ต้ ิิดหิินหลัังจุดุ เหลืือง

Glyptothorax coracinus Glyptothorax dorsalis

แค้้ติิดหิิน แค้ต้ ิิดหิิน

Glyptothorax fuscus Glyptothorax lampris

แค้ต้ ิิดหิินลาว แค้้ติิดหิินสามแถบใต้้

Glyptothorax laoensis Glyptothorax schmidti

ค้้างคาวติิดหิินดอยภููคา ค้้างคาวแม่่ฮ่อ่ งสอน

Oreoglanis colurus Oreoglanis laciniosus

พ118 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ค้้างคาวคุุณสืืบ ค้้างคาวสุุรพล

Oreoglanis nakasathieni Oreoglanis sudarai

ค้า้ งคาวทุ่�งช้า้ ง ค้า้ งคาวภูคู า

Oreoglanis tenuicauda Oreoglanis vicinus

สวายหนูู สวาย

Helicophagus leptorhynchus Pangasianodon hypophthalmus

ยาง เผาะ

Pangasius bocourti Pangasius conchophilus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 119

สัังกะแวง ซวยเสาะ

Pangasius elongatus Pangasius krempfi

เทโพ สัังกะวาดเหลืือง

Pangasius larnaudii Pangasius macronema

เทพา สัังกะวาดท้้องคม

Pangasius sanitwongsei Pseudolais pleurotaenia

คางเบืือน สายยูู

Belodontichthys truncatus Ceratoglanis pachynema

พ120 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ดัังแดง ดุุกแก้้ว

Hemisilurus mekongensis Kryptopterus bicirrhis

ปีีกไก่่ ปีีกไก่ห่ นวดยาว

Kryptopterus cheveyi Kryptopterus dissitus

ขาไก่่ ปีีกไก่ห่ นวดยาว

Kryptopterus geminus Kryptopterus limpok

เพีียว ก้า้ งพระร่ว่ ง

Kryptopterus paraschilbeides Kryptopterus vitreolus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 121

หนวดแมว

Ompok eugeneiatus

เนื้้�ออ่อ่ นหนวดยาว

Ompok rhadinurus

ชะโอน เนื้้อ� อ่อ่ นหนวดยาว

Ompok siluroides Ompok urbaini

น้ำ�ำ�เงิิน แดง

Phalacronotus apogon Phalacronotus bleekeri

แดงไห, สะงั่ว� ชะโอนหิิน

Phalacronotus cf. micronema Pterocryptis bokorensis

พ122 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

Cr.: ธนดล ผิิวดำำ� เค้า้ ขาว

หนวดแมว Wallago attu

Silurichthys schneideri

เค้้าดำำ� ดุุกด้า้ น

Wallago micropogon Clarias aff. batrachus

ดุุกภูเู ขา ดุุกอุุย

Clarias cataractus Clarias macrocephalus

ดักั ดุุกลำ�ำ พันั

Clarias meladerma Clarias nieuhofii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 123

จีีด กดหัวั โต

Heteropneustes kemrattensis Arius acutirostris

กดทะเล กดอีีติิก

Arius leptonotacanthus Arius oetik

กดทะเล กดนกจอก

Arius utik Arius venosus

กดหัวั กบ อุกุ จุดุ ดำ�ำ

Batrachocephalus mino Cephalocassis bicolor

พ124 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

อุกุ อุกุ

Cephalocassiss borneensis Cephalocassiss jatia

กดขี้้ล� ิิง กดคัันหลาว

Cochlefelis burmanicus Cryptarius truncatus

กดหัวั ผาน กดขี้้ล� ิิง

Hemiarius verrucosus Hexanematichthys sagor

กดหััวลิิง กดทะเล

Ketengus typus Nemapteryx macronotacanthus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 125

กดทะเล กดทะเล

Nemapteryx nenga Netuma bilineatus

ริิวกิิว กดหัวั อ่่อน

Netuma thalassinus Osteogeneiosus militaris

กดทะเล กดทะเลหลัังจุดุ

Plicofollis argyropleuron Plicofollis dussumieri

กดหัวั แข็็ง

Plicofollis nella

พ126 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.10 เหล่่าปลาทะเลลึกึ

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 11 อัันดัับ 30 วงศ์์
จำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 80 ชนิิด มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบที่่�แปลกตา เช่่น มีีหััวโต ปากกว้้าง
มีีฟัันเขี้�ยวยาว ตาโต บางวงศ์์มีีหนวดรอบปากหรืือใต้้คาง ลำำ�ตััวอาจคล้้ายปลาไหล หรืือ
ทรงกระบอกเรีียวไปด้้านท้้าย หรืือแบนข้้าง มีีครีีบบางหรืือเปลี่่�ยนรููปเป็็นอวััยวะล่่อเหยื่่�อหรืือ
เป็็นเส้้นยาว มีีผิิวบางและเกล็็ดเล็็ก เนื้้�อนิ่่�มหรืือค่่อนข้้างเหลว บางวงศ์์มีีอวััยวะเรืืองแสง
เป็็นจุุดหรืือแนวบนตัวั ส่่วนใหญ่่มีีสีีดำำ�เทาหรืือแดงคล้ำ�ำ� สำำ�หรับั ปลาทะเลลึึกที่่�พบมีีหลายขนาด
ซึ่่�งได้้จากการสำำ�รวจและวิิจััยการประมงและสมุุทรศาสตร์์ในทะเลลึึก หรืือจากประมงอวนลาก
หน้้าดิินทะเลลึึก จำ�ำ แนกปลาเป็็นกลุ่่�มย่่อยได้้ดัังนี้้�

3.10.1 กลุ่�มปลาคอด ปลากุุเราแคระ  

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลาในกลุ่่�มนี้้�รวม 1 อัันดัับ (อัันดัับ Gadiformes) 3 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 10 ชนิิด

v ลักั ษณะทั่่ว� ไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างยาวเรีียว ปากกว้้าง ส่่วนใหญ่่มีีครีีบหลััง 3 ตอน

ครีีบท้้องอาจเป็น็ เส้้น ครีีบก้้นมีีฐานยาว หางเล็็ก เกล็ด็ เล็็ก

v ขนาด มีีความยาว 5 - 50 เซนติิเมตร
v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ สััตว์์หน้้าดิินและปลาขนาดเล็็ก
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบได้้

ทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน ส่่วนใหญ่่พบในบริิเวณทะเลลึึกที่่�มีีความลึึกมากกว่่า
100 เมตรขึ้้�นไป แต่่มีีปลาในวงศ์์ปลากุุเราแคระ (Bregmacerotidae) ซึ่่�งเป็็นปลาขนาดเล็็ก
ความยาวไม่่เกิิน 10 เซนติิเมตร มีีครีีบหลัังตอนหน้้าสุุดเป็็นเส้้นยาว ส่่วนหััวเล็็ก ลำำ�ตััวยาว
พบได้้ในบริิเวณชายฝั่�่ง ส่่วนวงศ์์ปลาคอดน้ำ�ำ�ลึึก (Macrouridae) วงศ์์ปลาคอดหางหนูู (Moridae)
พบค่่อนข้้างน้้อย มีีรายงานการพบในเขตจัังหวััดระนองถึึงจัังหวััดภููเก็็ตเป็็นครั้�งคราวจาก
การประมงทะเลลึึกและการสำำ�รวจ

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์ทางเศรษฐกิิจในเขตหนาวและเขต

อบอุ่่�น เช่่น ปลาคอด และปลาหิิมะ เป็น็ ต้้น สำ�ำ หรัับประเทศไทยไม่่มีีการใช้้ประโยชน์์

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 127

กุุเราแคระ กุุเราแคระ

Bregmaceros mcclellandi Bregmaceros sp.

หางหนูู หางหนูหู ััวโต

Coelorinchus mycterismus Hymenocephalus heterolepis

ค็อ็ ดหางหนูู ค็็อดหางหนูู

Gadella edelmanni Physiculus japonicus

พ128 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.10.2 กลุ่�มปลาปากคม  

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Aulopiformes) 5 วงศ์์ มีีจำำ�นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 16 ชนิิด เช่่น ปลาหััวยุ่่�ง (Harpadon nehereus) ปลาปากคม (Saurida spp.)
และปลาสากกะเบืือทอง (Trachinocephalus myops) เป็น็ ต้้น

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างทรงกระบอก ยาวเรีียว หััวโต ปากกว้้าง

มีีครีีบไขมัันขนาดเล็็ก ครีีบก้้นมีีฐานสั้้�น ครีีบหางเว้้าแฉก เกล็็ดเล็็กบางแบบขอบเรีียบ
ส่่วนปลาในวงศ์์ปลาปากคม (Synodontidae) มีีรููปร่่างทรงกระบอกยาว ตาเล็็ก ปากกว้้าง
มีีฟัันเล็ก็ แหลม ครีีบหลังั อยู่�ก่ ึ่่�งกลางลำำ�ตัวั ครีีบท้้องใหญ่่

v ขนาด มีีความยาว 5 เซนติิเมตร ถึึง 1.5 เมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นกลุ่่�มปลากิินเนื้้�อ และสััตว์์หน้้าดิินขนาดใหญ่่
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตร้้อน อาศััยในบริิเวณหน้้าดิินของทะเลชายฝั่�่ง

แนวปะการััง และทะเลลึึก ยกเว้้นกลุ่่�มที่่�ไม่่พบจากการทำ�ำ ประมงทั่่�วไป ได้้แก่่ ปลาในวงศ์์
ปลาปากคมสั้้�น (Neoscopelidae) วงศ์์ปลาเขี้�ยวกาง (Alepisauridae) และวงศ์์ปลาตาเขีียว
(Chlorophthalmidae)

v ความสำำ�คััญ ในกลุ่่�มปลาปากคม ปลาสากกะเบืือทอง เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�มีี

การนำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์ เช่่น แปรรููปทำำ�ลููกชิ้�น ซููริิมิิ ตากแห้้ง ส่่วนกลุ่่�มปลาอื่่�น ๆ มีีการนำ�ำ มา
ใช้้ประโยชน์์น้้อย

หัวั ยุ่�ง ปากคมหููเล็็ก

Harpadon nehereus Saurida micropectoralis

ปากคมหางจุุด ปากคมลาย

Saurida undosquamis Synodus variegatus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 129

สากกะเบืือทอง วงศ์ป์ ากคมตาโต

Trachinocephalus myops Paraulopidae I

ตาเขีียว เขี้้ย� วกาง

Chlorophthalmus corniger Alepisaurus ferox

ปากเป็ด็ ทะเลลึึก

Lestrolepis cf. intermedia

วงศ์ป์ ากเป็ด็ ทะเลลึึก เขี้้�ยวดาบ

Paralepididae I Coccorella atrata

3.10.3 กลุ่�มปลาจมููกวุ้�น  

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อันั ดัับ (อันั ดับั Ateleopodiformes) 1 วงศ์์ (Ateleopodidae)
มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 2 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างยาวเรีียว หััวโต ปากเล็็ก จะงอยปากและจมููก

เป็น็ รููปกรวย นิ่่�มเหมืือนวุ้�้น มีีครีีบหลังั อันั เล็็ก ครีีบก้้นมีีฐานยาวต่่อกับั ครีีบหาง

v ขนาด มีีความยาวประมาณ 60 เซนติิเมตร

พ130 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

v นิสิ ััยการกินิ อาหาร ส่่วนใหญ่่เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ ชอบกิินสััตว์์หน้้าดิินขนาดใหญ่่
v การกระจายพัันธุ์์� พบในเขตทะเลลึึก
v ความสำำ�คััญ เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่�ไม่่มีีการนำำ�มาใช้้ประโยชน์์

วงศ์์จมููกวุ้ �น

Ateleopodidae I

3.10.4 กลุ่�มปลาเขี้้ย� วกางตกเบ็ด็   

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Stomiiformes) 2 วงศ์์ คืือ วงศ์์ปลา
เขี้�ยวกางตกเบ็็ด (Stomiidae) และวงศ์์ปลาข้้างขวานน้ำ��ำ ลึึก (Sternoptychidae) จากฝั่่�งทะเล
อันั ดามััน มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 10 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างแบนข้้าง สั้้�น หรืือทรงกระบอกยาวเรีียว หััวเล็็ก

ปากกว้้าง มีีครีีบหลังั ยาว ใต้้คางมีีติ่่ง� ล่่อเหยื่่อ� อันั ยาว หรืือมีีจุุดเรืืองแสงข้้างตััว

v ขนาด มีีความยาว 40 เซนติิเมตร ถึึง 1 เมตร
v นิสิ ััยการกินิ อาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ แพลงก์์ตอนสััตว์์
v การกระจายพัันธุ์์� พบในเขตทะเลลึึก
v ความสำ�ำ คัญั เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่ไ� ม่่มีีการนำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์

ข้า้ งขวานทะเลลึึก ข้า้ งขวานทะเลลึึก

Argyropelecus cf. affinis Polyipnus sp.

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 131

หน้้าผีี เขี้้�ยวงูกู ระโดงยาว

Astronesthes cf. cyaneus Chauliodus sp.

เขี้้ย� วกางตกเบ็ด็ เขี้้ย� วกางตกเบ็ด็

Eustomias schmidti Idiacanthus sp.

เขี้้�ยวกางตกเบ็ด็ ปากกว้้างเรืืองแสง

Leptostomias sp. Malacosteus cf. australis

เขี้้ย� วกางตกเบ็ด็ เรืืองแสงตััวยาว

Photonectes sp. Diplophos sp.

พ132 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ปากแปรง ปากแปรง

Gonostoma denudatum Sigmops elongatus

3.10.5 กลุ่�มปลาเรืืองแสง  

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Myctophiformes) 2 วงศ์์
มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 10 ชนิิด คืือ วงศ์์ปลาเรืืองแสง (Myctophidae) วงศ์์ปลาปากคมสั้้�น
(Neoscopelidae) จากฝั่่�งทะเลอัันดามัันและพบบางครั้�งในอ่่าวไทย

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างทรงกระบอกสั้้�น หััวโต ปากกว้้าง มีีจุุดเรืืองแสง

เรีียงเป็็นแถวข้้างลำำ�ตัวั มีีครีีบหลัังอัันเล็ก็ ครีีบหางเว้้าแฉก

v ขนาด มีีความยาวตั้�้งแต่่ 5 - 15 เซนติิเมตร

v นิิสัยั การกินิ อาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ กิินแพลงก์์ตอนสััตว์์เป็น็ อาหาร

v การกระจายพันั ธุ์์� พบในเขตทะเลลึึก

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�ไม่่มีีการใช้้ประโยชน์์

นีีโอสโคปครีีบสั้้�น จมูกู เรืืองแสง

Neoscopelus microchir Diaphus sp.

เรืืองแสง พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 133

Electrona sp.

3.10.6 กลุ่�มปลาหางงูู 

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Ophidiiformes) 3 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 13 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างยาวเรีียวไปด้้านท้้าย หััวโต ส่่วนปลาไข่่มุุก

เป็็นปลาขนาดเล็็ก รููปร่่างเรีียวยาวแบบปลาไหล ตััวใส ไม่่มีีเกล็็ด อาศััยแบบพึ่่�งพิิงในรููทวาร
ของปลิิงทะเล

v ขนาด มีีความยาว 5 เซนติิเมตร ถึึง 1.5 เมตร
v นิิสัยั การกินิ อาหาร ส่่วนใหญ่่เป็็นปลากิินเนื้้�อ และสััตว์์หน้้าดิินขนาดใหญ่่
v การกระจายพันั ธุ์์� พบในเขตอบอุ่่�น เขตร้้อน อาศััยในบริิเวณทะเลชายฝั่ง�่ จนถึึงทะเลลึึก
v ความสำำ�คัญั เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์น้้อย

หางงููปากหนวด หางงูหู ััวโต

Brotula cf. multibarbata Neobythites sp.

หางงูจู ุดุ วงศ์์ไข่ม่ ุุก

Pycnocraspedum cf. squamipinne Carapidae I

วงศ์ไ์ ข่่มุุกสั้้�น

Carapidae II

พ134 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.10.7 กลุ่�มปลาหัวั ลื่น�่   

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบจากการสำำ�รวจทะเลลึึกฝั่�่งทะเลอัันดามัันพบ 1 อัันดัับ (อัันดัับ
Alepocephaliformes) 2 วงศ์์ คืือ วงศ์์ปลาหััวลื่่�น (Alepocephalidae) และวงศ์์ปลากระบอกทะเลลึึก
(Platytroctidae) มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 2 ชนิิด

v ลักั ษณะทั่่ว� ไป เป็็นปลาทะเลขนาดกลาง ส่่วนหััวเรีียว จะงอยปากแหลม ปากกว้้าง

ตาโต รููปร่่างทรงกระบอกยาว ลำำ�ตัวั ค่่อนข้้างกลม เกล็็ดเล็็ก ครีีบหางเป็็นแฉก

v ขนาด มีีความยาว 15 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ และสััตว์์หน้้าดิินขนาดใหญ่่
v การกระจายพันั ธุ์์� พบในเขตทะเลลึึก
v ความสำ�ำ คััญ เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่ไ� ม่่มีีการนำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์

กระบอกทะเลลึึก หัวั ลื่่�น

Sagamichthys cf. abei Talismania kotlyari

3.10.8 กลุ่�มปลาพญานาค  

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อันั ดัับ (อัันดับั Lampriformes) 5 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า
5 ชนิิด ได้้แก่่ วงศ์์ปลาโอปาห์์ (Lampridae) วงศ์์ปลาพญานาค วงศ์์ปลาพญานาคเล็็ก และ
วงศ์์ปลาพญานาคแคระ (Trachipteridae)

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาขนาดกลางถึึงใหญ่่มาก มีีรููปร่่างกลมกว้้างหรืือยาวเป็็นแถบ

ลำ�ำ ตััวแบนข้้างมาก ส่่วนหางเรีียวเล็ก็ หรืือเป็็นเส้้น ส่่วนหัวั เล็็ก ปากกว้้าง ตาโต มีีเกล็็ดเล็็ก

v ขนาด มีีความยาวประมาณ 15 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ และแพลงก์์ตอนขนาดใหญ่่

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 135

v การกระจายพัันธุ์์� พบในทะเลเปิิด มหาสมุุทรในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบน้้อยมาก พบเฉพาะฝั่่�งทะเลอัันดามััน อาศััยอยู่�่ในระดัับกลางน้ำ�ำ�หรืืออยู่�่
ใกล้้พื้้�นท้้องน้ำ��ำ

v ความสำำ�คัญั มีกี ารใช้้ประโยชน์น์ ้้อยมากในประเทศไทย ปลาโอปาห์ม์ ีขี นาดใหญ่่มาก

นิิยมบริิโภคในต่่างประเทศ ส่่วนปลาพญานาคเป็็นชนิิดที่่�ถููกนำำ�ไปร่ำ�ำ� ลืือกัันว่่าเป็็นพญานาค
ที่่�ทหารอเมริิกัันจัับได้้ในแม่่น้ำ��ำ โขงที่่�ประเทศลาวนั้้�น ในความเป็็นจริิงเป็็นภาพถ่่ายจากชายฝั่�่ง
แคลิิฟอร์์เนีีย

พญานาคเล็ก็

Trachipterus jacksonensis

โอปาห์์

Lampris australensis

พญานาคแคระ

Zu cristatus

3.10.9 กลุ่�มปลาดอรี่่ �  

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Zeiformes) 2 วงศ์์ ได้้แก่่
วงศ์์ปลาแป้้นเหลี่่�ยมน้ำ��ำ ลึึก (Grammicolepididae) และวงศ์์ปลาดอรี่� (Zeidae) มีีจำำ�นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 3 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป มีีรููปร่่างกลมกว้้าง ลำ�ำ ตััวแบนข้้างมาก หััวโต ปากกว้้าง เกล็็ดเล็็ก

มีีสีีเงิินวาว

v ขนาด มีีความยาวประมาณ 30 เซนติิเมตร
v นิสิ ัยั การกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ และแพลงก์์ตอนสััตว์์

พ136 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง


Click to View FlipBook Version