The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nong47122400, 2021-09-29 11:11:38

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

พรรณปลาไทยจากสายธารสู่มหานที 95 ปี กรมประมง

v การกระจายพัันธุ์์� พบในทะเลเปิิดของมหาสมุุทรในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบน้้อยมาก พบเฉพาะฝั่�่งทะเลอัันดามััน อาศััยในระดัับกลางน้ำ��ำ หรืืออยู่�่ใกล้้
พื้้�นท้้องน้ำ��ำ

v ความสำำ�คััญ ในประเทศเขตหนาวพบมากกว่่ามีีหลายชนิิดที่่�นิิยมบริิโภค คืือ

ปลาดอรี่� Zeus spp. และปลาแป้้นเหลี่่ย� มน้ำ�ำ�ลึึก และไม่่มีีการนำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์ในประเทศไทย

แป้้นเหลี่่ย� มทะเลลึึก

Xenolepidichthys dalgleishi

3.10.10  กลุ่�มปลากุุเราน้ำ��ำ ลึึก  

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบ 1 อัันดัับ (อัันดัับ Polymixiiformes) 1 วงศ์์ คืือ วงศ์์ปลากุุเราน้ำ�ำ�ลึึก
(Polymixidae) จำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 2 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป มีีรููปร่่างป้้อมสั้้�น หััวโต ตาโต จะงอยปากทู่�่ มีีหนวดยาวใต้้คาง
v ขนาด มีีความยาวประมาณ 10 เซนติิเมตร
v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ และแพลงก์์ตอนสััตว์์
v การกระจายพัันธุ์์� พบในทะเลเปิิดของเขตมหาสมุุทรในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อน

ทั่่�วโลก ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบน้้อยมากเฉพาะฝั่่�งทะเลอัันดามััน อาศััยในระดัับกลางน้ำ��ำ หรืืออยู่�่ใกล้้
พื้้�นท้้องน้ำ�ำ�

v ความสำ�ำ คัญั ไม่่มีีการใช้้ประโยชน์์ในไทย

กุเุ ราน้ำำ�� ลึึก สีีเงิินปากเล็็ก

Polymixia cf. fusca Nansenia sp.

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 137

3.11   เหล่่าปลากบ ปลาตกเบ็็ด ปลาคางคก

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 2 อัันดัับ 6 วงศ์์
มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 18 ชนิิด มีีลัักษณะสำำ�คััญคืือมีีลำำ�ตััวลื่่�น ไม่่มีีเกล็็ด มีีติ่่�งเนื้้�อกระจายอยู่�่
ตามบริิเวณส่่วนหััวและใต้้คาง จััดแบ่่งกลุ่่�มย่่อยเป็็น 2 กลุ่่�ม ได้้แก่่ กลุ่่�มปลากบ ปลาตกเบ็็ด
และกลุ่่�มปลาคางคก

3.11.1  กลุ่�มปลากบ ปลาตกเบ็็ด

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบ 1 อัันดับั (Lophiiformes) 5 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 20 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างลำ�ำ ตััวกลมคล้้ายลููกบอลหรืือแบนข้้างเล็็กน้้อย

ยกเว้้นบางชนิิดมีีลำำ�ตััวแบนข้้างและส่่วนหััวกว้้างและแบนลงด้้านท้้าย ส่่วนหััวและลำ�ำ ตััว
ปกคลุุมด้้วยเกล็็ดโดยปลาส่่วนใหญ่่มีีเกล็็ดที่่�เปลี่่�ยนรููปไปเป็็นหนามขนาดเล็็ก (Asterities)
ช่่องเปิิดเหงืือกกลมมีีขนาดเล็็กอยู่�่ด้้านล่่างหรืือด้้านหลัังของครีีบหูู ปากเฉีียงและมีีขนาดใหญ่่
ขากรรไกรบนอยู่�่ติิดกัับจะงอยปาก ขากรรไกรล่่างยืืดหดได้้ ฟัันบนขากรรไกรคมปลายแหลมโค้้ง
ครีีบหลัังตอนแรกมีีก้้านครีีบแยกจากกััน 3 ก้้าน ก้้านครีีบหลัังก้้านแรกเปลี่่�ยนรููปไปเป็็นเส้้น
และกวัดั แกว่่งได้้คล้้ายคัันเบ็ด็ สามารถยืืดหดได้้เพื่่อ� การล่่อเหยื่่�อเรีียกว่่า Illicium และส่่วนปลาย
เป็น็ เนื้้�อเยื่่�อลักั ษณะเป็็นแผ่่นหรืือเป็็นกระจุุกเรีียกว่่า Esca ทำำ�หน้้าที่่เ� ป็็นเหยื่่อ� ล่่อ ครีีบหููยื่่�นยาว
ออกมีีลักั ษณะคล้้ายขาเดิิน มีีสีีสัันบนลำ�ำ ตััวเพื่่อ� การพรางตััวและล่่อเหยื่่�อ

v ขนาด มีีความยาว 15 - 30 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ กิินปลาด้้วยกัันเอง ด้้วยวิิธีีการพรางตััวนิ่่�ง ๆ

บนพื้้�นแล้้วใช้้อวััยวะล่่อเหยื่่�อกวััดแกว่่งเพื่่�อหลอกล่่อให้้ปลาชนิิดอื่่�นเข้้ามาใกล้้จนสามารถ
ฮุุบกิินเหยื่่อ� ได้้ทั้้�งตัวั

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทย

พบทั้้�งฝั่�่งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามัันบริิเวณทะเลชายฝั่�่ง ตั้�้งแต่่แนวหญ้้าทะเลไปจนถึึง
แนวปะการังั โดยเฉพาะบริิเวณที่่�มีีฟองน้ำ�ำ�

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์ด้้านนัันทนาการเพื่่�อเลี้้�ยงเป็็น

ปลาสวยงาม หรืือการท่่องเที่่ย� วทางทะเล แต่่ไม่่นิิยมนำำ�มาบริิโภค

พ138 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ตกเบ็็ด ตกเบ็ด็

Lophiodes miacanthus Lophodes sp.

ล่่อเหยื่่�อ กบครีีบจุดุ

Antennarius hispidus Antennatus nummifer

กบลายเขีียน กบลาย

Antennarius pictus Antennarius striatus

กบ กบสาหร่า่ ย

Antennarius sp. Histrio histrio

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 139

กบแดง กบแดง

Chaunax abei Chaunax pictus

กบแดง ตกเบ็ด็

Chaunax sp. Bufoceratias cf. shaoi

ตกเบ็็ดตาหนาม กบหนามทะเลลึึก

Diceratias bispinosus Coelophrys micropus

กบหนามลายดาว กบหนาม

Halieutaea stellata Ogcocephalus sp.

พ140 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.11.2  กลุ่�มปลาคางคก

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้�รวม 1 อัันดัับ (Batrachoidiformes) 1 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 3 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างลำ�ำ ตััวแบบทรงกระบอก ส่่วนหััวและลำำ�ตััวกลม

ส่่วนหน้้าแบนลงเล็็กน้้อย มีีติ่่�งเนื้้�อเล็็ก ๆ หลายอันั รอบปากและบนหััว ด้้านท้้ายของลำำ�ตััวเป็็น
ทรงกระบอกที่่�แบนข้้าง ปากกว้้างเปิิดออกในตำำ�แหน่่งตรง และเป็็นแบบยืืดหดได้้ มีีหนามสั้้�น
ที่่�กระดููกแผ่่นปิิดเหงืือก (Opercle) 3 อััน ช่่องเปิิดเหงืือกมีีขนาดเล็็กเปิิดออกทางด้้านข้้าง
ของลำ�ำ ตััว ครีีบหลัังมีีสองตอน ครีีบท้้องอยู่�่ตำ�ำ แหน่่งคอ ลำำ�ตััวเป็็นสีีน้ำ��ำ ตาลทองสลัับดำ�ำ
ส่่วนท้้องสีีขาว

v ขนาด มีีความยาว 10 - 20 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกินิ อาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ และสััตว์์หน้้าดิิน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทย

พบทั้้�งฝั่่�งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน อาศััยในพื้้�นโคลนบริิเวณปากแม่่น้ำ��ำ แนวชายฝั่�่ง
แนวหญ้้าทะเล เช่่น ปลาอุุบทะเล (Allenbatrachus reticulatus) พบในแนวปะการััง และ
ปลาอุุบสิิงโต (Allenbatrachus grunniens) ปลาย่่าไอ้้ดุุก (Batrachomoeus trispinosus)
พบในแม่่น้ำ�ำ� ปลากลุ่่�มนี้้�ชอบหลบซ่่อนและพรางตัวั บนหน้้าดิินหรืือซอกโพรงต่่าง ๆ

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภคในบางพื้�นที่่� เช่่น

บริิเวณทะเลสาบสงขลา และเป็็นปลาสวยงามในแม่่น้ำ��ำ บางปะกง บางชนิิดเป็็นผลพลอยจัับ
จากการทำำ�ประมงและนำำ�ไปทำ�ำ ปลาเป็็ด

อุุบสิิงโต อุุบทะเล

Allenbatrachus grunniens Allenbatrachus reticulatus

ย่่าไอ้ด้ ุุก พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 141

Batrachomocus trispinosus

3.12  เหล่า่ ปลาข้้าวเม่่าน้ำำ�� ลึึก

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้�รวม 3 อันั ดัับ 8 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนอย่่างน้้อย 26 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างค่่อนข้้างยาวและแบนข้้าง มีีสัันกระดููก

บนส่่วนหััว ตาโต ปากกว้้างมุุมปากเฉีียงลง ขากรรไกรล่่างเป็็นแบบยืืดหดได้้ มีีฟัันแบบ
ซี่่�ละเอีียดบนขากรรไกรและเพดานปาก เกล็็ดบนลำ�ำ ตััวค่่อนข้้างแข็็งเป็็นแบบทีีนอยด์์เมื่่�อ
สััมผััสจะรู้�สึึกหยาบและสากมืือ ครีีบหลัังยาวติิดกัันโดยบริิเวณรอยต่่อระหว่่างก้้านครีีบแข็็ง
และก้้านครีีบอ่่อนจะมีีร่่องเว้้าลึึกลง ครีีบท้้องและครีีบก้้นมีีก้้านครีีบเดี่่�ยวแข็็งแรง ครีีบหางเว้้า
ลึึก ลำำ�ตััวมีีสีีสัันสวยงาม

v ขนาด มีีความยาว 15 - 30 เซนติิเมตร บางชนิิดพบว่่าเป็็นปลาที่่�โตช้้ามากและ

มีีอายุุยืืนได้้ถึึง 50 ปีี

v นิิสััยการกินิ อาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ และสัตั ว์์หน้้าดิิน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบทั้้�ง

ฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน บริิเวณแนวหญ้้าทะเล แนวปะการังั และทะเลเปิดิ ในระดับั น้ำ�ำ�ลึึก

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�มีีการใช้้ประโยชน์์น้้อย กลุ่่�มปลาข้้าวเม่่าน้ำ��ำ ลึึกใน

อัันดัับ Beryciformes นิิยมบริิโภคในเขตหนาวและอบอุ่่�น มีีชื่่�อการค้้าว่่า Alfonsinos หรืือ
Kinmedai ในเขตร้้อนนำำ�มาบริิโภคน้้อยกว่่าเนื่่�องจากจัับได้้ไม่่บ่่อยนััก ส่่วนกลุ่่�มปลาข้้าวเม่่าน้ำ��ำ ลึึก
ในอัันดัับ Holocentriformes ส่่วนใหญ่่มีีสีีแดง ชมพูู และปลาในวงศ์์ Monocentridae จะมีีลำำ�ตััว
สีีเหลืือง มีีลายดำ�ำ เกล็็ดเป็็นหนาม ดููคล้้ายสัับปะรดจึึงมีีชื่่�อว่่าปลาสัับปะรด นิิยมนำ�ำ มาเลี้้�ยง
เป็น็ ปลาสวยงาม และมีีความสำำ�คัญั ต่่อการท่่องเที่่�ยวทางทะเลเนื่่อ� งจากเป็็นกลุ่่�มปลาเป้้าหมาย
ที่่�นัักดำำ�น้ำ��ำ ต้้องการพบเห็็น ส่่วนวงศ์์ปลาข้้าวเม่่าหััวโต (Trachichthyidae) บางชนิิดเป็็นที่่�นิิยม
บริิโภคในประเทศเขตหนาว

พ142 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

สับั ปะรด ข้า้ วเม่า่ หััวโต

Monocentris japonica Hoplostethus sp. I

ข้า้ วเม่า่ หัวั โต แป้้นทะเลลึึก

Hoplostethus sp. II Diretmichthys sp.

แป้น้ ทะเลลึึก ข้า้ วเม่า่ เขี้้�ยวยาว

Diretmoides sp. Anoplogaster cornuta

ตาโต ตาโต

Beryx splendens Beryx sp.

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 143

ตาโต ตาเรืืองแสง

Centroberyx druzhinini Anomalops katoptron

วงศ์์เรืืองแสงหััวโต ข้้าวเม่่าน้ำ��ำ ลึึกขลิิบดำ�ำ

Melamphaidae Myripristis botche

ข้า้ วเม่า่ น้ำำ�� ลึึกแดง ข้้าวเม่่าน้ำ�ำ� ลึึกขอบขาว

Myripristis greenfieldi Myripristis murdjan

ข้า้ วเม่่าน้ำำ��ลึึกยักั ษ์์ ข้า้ วเม่่าน้ำ��ำ ลึึก

Ostichthys japonicus Sargocentron rubrum

ข้า้ วเม่่าแก้ม้ หนาม

Sargocentron spiniferum

พ144 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.13  เหล่า่ ปลาทูู ปลาอิินทรีี ปลาสีีกุุน ปลากระโทงแทง

ปลาในเหล่่านี้้�จััดอยู่�่ในจำำ�พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 2 อัันดัับ 15 วงศ์์
มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 107 ชนิิด มีีลัักษณะสำ�ำ คััญคืือเป็็นปลาผิิวน้ำ�ำ�และกลางน้ำ��ำ ที่่�มีีรููปร่่างเพรีียว
คล้้ายกระสวย ว่่ายน้ำ��ำ เร็็ว กรมประมง โดยศููนย์์วิิจััยและพััฒนาการเพาะเลี้้�ยงสััตว์์น้ำ��ำ ชายฝั่�่ง
สมุุทรสาครประสบความสำ�ำ เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์์�ปลาทูู โดยจััดแบ่่งกลุ่่�มย่่อยเป็็น 2 กลุ่่�ม
ได้้แก่่ กลุ่่�มปลาทูู ปลาอิินทรีี และกลุ่่�มปลาสีีกุุน ปลากระโทงแทง

3.13.1  กลุ่�มปลาทูู ปลาอินิ ทรีี

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (Scombriformes) 6 วงศ์์ จำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า
43 ชนิิด เช่่น ปลาทูู ปลาโอ ปลาทููน่่า ปลาอิินทรีี ปลาดาบเงิิน และปลาจาระเม็ด็ ขาว

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบ ทั้้�งแบบกระสวย

แบนข้้างค่่อนข้้างสั้้�นถึึงยาว เกล็็ดขนาดเล็็กมีีขอบเรีียบแบบไซคลอยด์์ ตามีีแผ่่นไขมััน
(Adipose eyelid) ปกคลุุม ปากกว้้าง มีีฟัันบนขากรรไกรหลายรููปแบบ ทั้้�งแบบตุ่่�ม แบบฟัันเขี้�ยว
ขนาดเล็็ก และแบบฟัันคล้้ายเขี้�ยวสุุนััข ซี่่�กรองเหงืือกมีีขนาดเล็็ก ยาว และมีีจำ�ำ นวนมาก
บางชนิิดมีีสัันเนื้้�อขนาดเล็็กที่่�โคนหาง บางชนิิดมีีครีีบฝอย (Finlet) ที่่�ส่่วนท้้ายของครีีบหลััง
และครีีบก้้น ครีีบหางมีีหลายแบบทั้้�งเรีียวแหลม เว้้าตื้้�น และเว้้าลึึกคล้้ายส้้อม ปลาในกลุ่่�มนี้้�
ส่่วนใหญ่่มีีลำำ�ตััวด้้านบนเป็็นสีีฟ้้าเข้้มหรืือเขีียวเหลืือบเงิิน แต่่ด้้านท้้องเป็็นสีีขาว ลำำ�ตััว
มีีแถบสีีแตกต่่างกันั ไปตามชนิิดปลา

v ขนาด มีีความยาว 10 เซนติิเมตร ถึึง 1.8 เมตร
v นิิสัยั การกินิ อาหาร เป็น็ กลุ่่�มปลากิินเนื้้�อ และแพลงก์์ตอน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบทั้้�ง

ฝั่่ง� อ่่าวไทยและทะเลอันั ดามันั บริิเวณผิิวน้ำ�ำ�ตั้�้งแต่่น้ำ�ำ�ตื้้�นใกล้้ทะเลชายฝั่ง่� ไปจนถึึงทะเลเปิิด

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค ทั้้�งบริิโภคสดและ

แปรรููปเป็น็ อาหารกระป๋๋อง รวมถึึงตากแห้้ง

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 145

หัวั เหลี่่�ยม ซาลาเปา

Cubiceps cf. whiteleggii Ariomma indicum

จะละเม็ด็ ขาว จะละเม็็ดเทา

Pampus argenteus Pampus chinensis

ซาลาเปา เขี้้�ยวงููท้้องโต

Psenopsis anomala Chiasmodon braueri

อิินทรีีช้้าง โอหลอด

Acanthocybium solandri Auxis rochei

พ146 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

โอขาว โอลาย

Auxis thazard Euthynnus affinis

อิินทรีีปากเหม็็น ทูนู ่า่ ปากหมา

Grammatocynos bilineatus Gymnosarda unicolor

ทููน่่าท้อ้ งแถบ ทููน่่าขาว

Katsuwonus pelamis Lepidocybium flavobrunneum

ทูู ทูปู ากจิ้้ง� จก

Rastrelliger brachysoma Rastrelliger faughni

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 147

ลััง โอแถบ

Rastrelliger kanagurta Sarda orientalis

ทูญู ี่่ป� ุ่่�น อิินทรีีบั้้�ง

Scomber australasicus Scomberomorus commerson

อิินทรีีลายข้า้ วตอก อิินทรีีจุดุ

Scomberomorus guttatus Scomberomorus lineolatus

ทูนู ่่าครีีบเหลืือง ทูนู ่า่ ตาโต

Thunnus albacares Thunnus obesus

พ148 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

โอดำำ�

Thunnus tonggol

แขกดำ�ำ

Brama sp.

แขกดำำ�เรืือใบ อิินทรีีเขี้้�ยวตัวั ยาว

Pterycombus petersii Gempylus serpens

อิินทรีี อิินทรีีเขี้้ย� วตัวั สั้้�น

Gempylus sp. Neoepinnula cf. minetomai

อิินทรีีเขี้้�ยวตัวั สั้้น� ออยล์์ฟิิช

Neoepinnula orientalis Promethichthys prometheus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 149

ออยล์ฟ์ ิิช ขี้้ม� ััน

Rexea sp. Ruvettus pretiosus

ดาบเงิิน ดาบเงิิน

Lepturacanthus savala Tentoriceps cristatus

ดาบเงิิน

Trichiurus lepturus

พ150 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.13.2  กลุ่�มปลาสีีกุุน ปลากระโทงแทง  

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อัันดัับ (อัันดัับ Carangiformes) 6 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 67 ชนิิด เช่่น ปลาสีีกุุน ปลาช่่อนทะเล ปลาเหาฉลาม ปลากระโทงแทงดาบ
และปลากระโทงแทงต่่าง ๆ เป็น็ ต้้น

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบ ทั้้�งแบบกระสวย แบนข้้าง

ค่่อนข้้างสั้้�นถึึงยาว คอดหางเรีียว ส่่วนใหญ่่มีีเกล็็ดที่่�เปลี่่�ยนรููปเป็็นแผ่่นหนามปกคลุุม
บริิเวณเส้้นข้้างลำ�ำ ตััว ตามีีขนาดปานกลางและมัักมีีเยื่่�อไขมัันปกคลุุม มีีเกล็็ดขนาดเล็็ก
ขอบเรีียบแบบไซคลอยด์์ ในกลุ่่�มปลาสีีกุุนมีีเกล็็ดบนเส้้นข้้างตััวหนาและเป็็นหนามแหลม
(Scute) ซี่่�กรองเหงืือกยาวเรีียว วงศ์์ปลาสีีกุุนที่่�ครีีบก้้นมีีก้้านครีีบแข็็ง 2 ก้้านแยกออกมา
เป็็นอิิสระทางด้้านหน้้าเรีียกว่่า Two Detached Anal Spine ครีีบหููยาวเรีียวโค้้งแบบ
รููปเคีียว (Falcate) หรืือสั้้�นปลายแหลมในบางชนิิด ส่่วนใหญ่่มีีครีีบหางเว้้าลึึกแบบส้้อม
ยกเว้้นบางชนิิดมีีครีีบหางตััดตรงหรืือเว้้าตื้้�น ในกลุ่่�มปลากระโทงร่่มและกระโทงแทงจะมีีส่่วน
ของจะงอยปากยื่่น� ยาวแหลมและมีีสัันเนื้้�อบริิเวณคอดหาง

v ขนาด มีีความยาว 15 เซนติิเมตร ถึึง 3 เมตร
v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็น็ ปลากิินเนื้้�อ บางชนิิดกิินแพลงก์์ตอนหรืือสััตว์์หน้้าดิิน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบทั้้�ง

ฝั่�่งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน บริิเวณแถบน้ำ�ำ�ตื้้�นใกล้้ทะเลชายฝั่่�งไปจนถึึงทะเลเปิิดและ
ทะเลลึึก

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค ทั้้�งบริิโภคสด

และแปรรููปเป็็นอาหารกระป๋๋อง รวมถึึงตากแห้้ง และด้้านนัันทนาการในกีีฬาตกปลา และ
การท่่องเที่่ย� วเชิิงนิิเวศทางทะเล

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 151

โฉมงามลาย โฉมงาม

Alectis ciliaris Alectis indica

สีีกุุนแก้้มดำำ� สีีขนเขีียว

Alepes djedaba Alepes kleinii

สีีกุนุ กลม สีีกุุนรากชาย

Alepes malanoptera Alepes vari

จุ้ �ยจิิน

Atropus atropus

พ152 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

สีีกุุนทอง กะมงแซ่่

Atule mate Carangoides armatus

กะมงเหลืือง สีีกุุนแป้้นจุดุ เหลืือง

Carangoides bajad Carangoides caeruleopinnatus

มงแก้ม้ บาง กะมงปากบาง

Carangoides chrysophrys Carangoides malabaricus

สีีกุนุ ครีีบดำ�ำ สีีขนหางขลิิบดำำ�

Carangoides praeustus Caranx heberi

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 153

สีีกุนุ เผืือก กะมงครีีบฟ้้า

Caranx ignobilis Caranx melampygus

กะมงตาโต ทูแู ขกหางแดง

Caranx sexfasciatus Decapterus kurroides

ทููแขก ทููแขกครีีบหูสู ั้้น�

Decapterus macarellus Decapterus macrosoma

ทููแขกครีีบหูยู าว ทููแขกใหญ่่

Decapterus maruadsi Decapterus russelli

พ154 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ทููแขก กล้้วยเกาะ

Decapterus tabl Elagatis bipinnulata

ตะคองเหลืือง นกยาง

Gnathanodon speciosus Scomberoides tol

จะละเม็ด็ ดำำ� สีีเสีียด

Parastromateus niger Scomberoides lysan

สละ หางแข็ง็

Scomberoides commersonianus Megalaspis cordyla

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 155

สีีกุนุ ตาวัวั สีีกุุนตาพอง

Selar boops Selar crumenophthalmus

ข้้างเหลืือง หางเหลืือง

Selaroides leptolepis Seriola rivoliana

สำำ�ลีี ล่อ่ งลมจุุด

Seriolina nigrofasciata Trachinotus bailloni

จะละเม็ด็ ทอง มงปากกว้้าง

Trachinotus blochii Ulua mentalis

พ156 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

จุ้ �ยจิินบั้้�ง เหาฉลาม

Uraspis uraspis Echeneis naucrates

ช่่อนทะเล อีีโต้ม้ อญ

Rachycentron canadum Coryphaena equiselis

อีีโต้ม้ อญ กระโทงดำ�ำ

Coryphaena hippurus Istiompax indicus

กระโทงร่่ม กระโทงแทงดาบ

Istiophorus platypterus Xiphias gladius

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 157

3.14   เหล่่าม้้าน้ำ��ำ ปลาจิ้้ม� ฟันั จระเข้้ ปลาผีีเสื้้�อกลางคืืน ปลานกฮููก

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบ 2 อัันดัับ 8 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 52 ชนิิด โดยม้้าน้ำ�ำ�ทุุกชนิิด
มีีสถานภาพทางการอนุุรัักษ์์เป็น็ กลุ่่�มที่่ม� ีีแนวโน้้มใกล้้สููญพัันธุ์� (Vulnerable: VU)

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นกลุ่่�มที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบ ส่่วนใหญ่่มีีลัักษณะที่่�สำำ�คััญ

คืือ มีีเกล็็ดที่่�เปลี่่�ยนแปลงรููปร่่างเป็็นแผ่่นกระดููกแข็็ง หรืือมีีเกล็็ดแข็็งห่่อหุ้�้มลำำ�ตััว โดยม้้าน้ำ�ำ�
และปลาจิ้้ม� ฟัันจระเข้้มีลี ำ�ำ ตัวั เรียี วยาวถึงึ ยาวมาก มีปี ากเล็ก็ อยู่บ�่ ริเิ วณปลายจะงอยปากที่่ย� ื่น่� ยาว
ออกไปคล้้ายกัับท่่อ ครีีบทุุกครีีบมีีขนาดเล็็ก และมีีสีีสัันหลากหลายเปลี่่�ยนแปลงไปตาม
สภาพแหล่่งอาศััย ในขณะที่่�ปลาผีีเสื้้�อกลางคืืนและปลานกฮููกมีีลำ�ำ ตััวหนาแผ่่ออกด้้านข้้าง
และแบนลง และมีีครีีบหููขนาดใหญ่่แผ่่ออกด้้านข้้าง กลุ่่�มม้้าน้ำ�ำ�มีีรููปแบบการสืืบพัันธุ์�แบบพิิเศษ
โดยตััวเมีียจะวางไข่่ไว้้ในช่่องว่่างพิิเศษของตััวผู้้�ซึ่่�งมีีลัักษณะเหมืือนกระเป๋๋าหน้้าท้้อง ไข่่จะถููก
เก็็บไว้้จนกว่่าจะฟัักออกมาเป็็นตััว และในกลุ่่�มปลาจิ้้�มฟัันจระเข้้ปีีศาจมีีรููปแบบการสืืบพัันธุ์�
แบบพิิเศษโดยตััวเมีียจะเก็็บไข่่ที่่�ได้้รัับการผสมแล้้วไปเก็็บในช่่องว่่างที่่�พััฒนาขึ้ �นจากฐานครีีบท้้อง
จนกว่่าไข่่จะฟัักออกมาเป็น็ ตััว

v ขนาด มีีความยาว 5 - 47 เซนติิเมตร ยกเว้้นม้้าน้ำ��ำ แคระที่่�มีีขนาดความยาวเพีียง

2.4 เซนติิเมตร

v นิิสัยั การกินิ อาหาร เป็็นปลากิินแพลงก์์ตอน และสััตว์์หน้้าดิิน
v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบทั้้�ง

ฝั่�่งอ่่าวไทยและทะเลอัันดามััน อาศััยหลบซ่่อนและพรางตััวในบริิเวณพื้้�นโคลนชายฝั่่�ง
แนวหญ้้าทะเลไปจนถึึงแนวปะการััง ยกเว้้นปลาจิ้้�มฟัันจระเข้้บางชนิิดที่่�พบอาศััยในน้ำ�ำ�จืืด

v ความสำำ�คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำ�ำ มาใช้้ประโยชน์์ทางยาแผนโบราณ และด้้านนัันทนาการ

เพื่่�อเลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม หรืือการท่่องเที่่ย� วทางทะเล

ปากแตร

Aulostomus chinensis

พ158 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ปากแตรเรีียบ ใบมีีดโกน

Fistularia petimba Aeoliscus strigatus

ปากแตรสั้้�นหลังั กระโดง

Macroramphosus gracilis

จิ้้�มฟัันจระเข้้ลายด่า่ ง จิ้้ม� ฟัันจระเข้ป้ ีีศาจ

Corythoichthys intestinalis Solenostomus paradoxus

จิ้้ม� ฟัันจระเข้ย้ ักั ษ์์ จิ้้�มฟัันจระเข้ย้ ักั ษ์์

Doryichthys cf. boaja Doryichthys boaja

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 159

จิ้้�มฟัันจระเข้้แม่น่ ้ำำ�� โขง

Doryichthys contiguus

จิ้้�มฟัันจระเข้น้ ้ำ�ำ�ตก จิ้้ม� ฟัันจระเข้จ้ ุดุ

Doryichthys martensii Doryichthys deokhatoides

จิ้้�มฟัันจระเข้้ จิ้้�มฟัันจระเข้้

Hippichthys penicillus Halicampus grayi

ม้า้ น้ำ�ำ�หางลายเสืือ จิ้้ม� ฟัันจระเข้้ทะเล

Hippocampus comes Hippichthys spicifer

พ160 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ม้้าน้ำำ��หนามขอ

Hippocampus histrix

ม้้าน้ำ�ำ� ยักั ษ์์

Hippocampus kelloggi

ม้า้ น้ำ��ำ ดำำ�

Hippocampus kuda

ม้า้ น้ำ��ำ แคระ

Hippocampus mohnikei

ม้า้ น้ำ��ำ หนาม

Hippocampus spinosissimus

ม้้าน้ำ��ำ สามจุดุ

Hippocampus trimaculatus

จิ้้�มฟัันจระเข้้ปากสั้้�น

Ichtyocampus carce

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 161

จิ้้�มฟัันจระเข้้

Trachyrhamphus longirostris

จิ้้ม� ฟัันจระเข้้เขีียว

Syngnathoides biaculeatus

นกฮูกู

Dactyloptena orientalis

ผีีเสื้้�อกลางคืืนสั้้�น

Pegasus laternarius

ผีีเสื้้�อกลางคืืนหางยาว

Pegasus volitans

3.15   เหล่่าปลาอมไข่่ ปลาบู่่� ปลาตั๊๊�กแตนหินิ ปลามังั กรน้้อย

จััดอยู่�่ในจำ�ำ พวกปลากระดููกแข็็ง พบในประเทศไทย 5 อัันดัับ 15 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวน
ไม่่น้้อยกว่่า 500 ชนิิด จััดแบ่่งเป็็น 2 กลุ่่�ม ได้้แก่่ กลุ่่�มปลาอมไข่่ และกลุ่่�มปลาบู่�่
ปลาตั๊๊ก� แตนหิิน ปลามัังกรน้้อย

3.15.1  กลุ่�มปลาอมไข่ ่

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบปลากลุ่่�มนี้้� 1 อันั ดับั (อัันดับั Kurtiformes) 2 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า
67 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป ปลาในกลุ่่�มนี้้�เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างป้้อมและแบนข้้าง มีีตาขนาดใหญ่่

ปากค่่อนข้้างกว้้างและเฉีียงลง ขอบกระดููกแผ่่นปิิดเหงืือกแยกเป็็นสองขอบ โดยขอบนอก

พ162 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

อาจเป็็นหยัักหนามหรืือเรีียบ เกล็็ดอาจเป็็นแบบขอบเรีียบหรืือขอบเป็็นหนาม เกล็็ดมัักมีี
ขนาดใหญ่่หลุุดง่่าย ครีีบหางมีีรููปร่่างหลายแบบประกอบด้้วยแบบเว้้า ตััดตรง หรืือกลม
ปลากลุ่่�มนี้้�มีีสีีสัันหลากหลายแปรผัันตามชนิิด บางชนิิดอาจมีีแถบตามขวางหรืือตามยาว
โดยปลาในวงศ์์ปลาอมไข่่หากิินเวลากลางคืืน (Nocturnal) ในปลาเพศผู้้�จะอมไข่่ที่่�ผสมแล้้ว
ไว้้ในช่่องปากจนกว่่าไข่่จะฟัักเป็็นตััว ส่่วนปลาพยาบาลเพศผู้้�จะมีีอวััยวะคล้้ายตะขอบริิเวณ
หน้้าผากไว้้สำำ�หรัับให้้ไข่่ที่่ผ� สมแล้้วมาเกาะติิดไว้้

v ขนาด มีีความยาว 5 - 30 เซนติิเมตร
v นิิสััยการกินิ อาหาร เป็น็ กลุ่่�มปลากิินปลา แพลงก์์ตอนสัตั ว์์ และสััตว์์หน้้าดิิน
v การกระจายพัันธุ์์� พบในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่ว� โลก ประเทศไทยพบทั้้�งฝั่ง�่ อ่่าวไทย

และทะเลอันั ดามััน บริิเวณปากแม่่น้ำ��ำ ทะเลชายฝั่�ง่ แนวหญ้้าทะเล ไปจนถึึงแนวปะการังั

v ความสำ�ำ คััญ มีีการใช้้ประโยชน์์ด้้านนัันทนาการเพื่่�อเลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม หรืือ

การท่่องเที่่�ยวทางทะเล และชนิิดที่่�เป็็นผลพลอยได้้จากการทำ�ำ ประมงนำ�ำ มาทำ�ำ ลููกชิ้�น ปลาเป็็ด
หรืือปลาป่่น

หััวขอ อมไข่ด่ ำำ�

Kurtus indicus Apogonichthyoides niger

อมไข่่หางจุุด อมไข่่เขี้้�ยวยาว

Archamia bleekeri Cheilodipterus artus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 163

อมไข่่ฟัันใหญ่่ อมไข่่ครีีบดวง

Cheilodipterus macrodon Jaydia carinatus

อมไข่่ อมไข่ล่ ายซี่่ก� รง

Jaydia poecilopterus Jaydia striatodes

อมไข่ค่ รีีบบั้้ง� อมไข่แ่ ถบขาว

Jaydia truncatus Ostorhinchus cavitensis

อมไข่ส่ ิิบเอ็็ดเเถบ อมไข่่แดงลายแถบ

Ostorhinchus endekataenia Ostorhinchus fasciatus

พ164 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

อมไข่่ลายขีีด

Ostorhinchus pleuron

อมไข่ค่ รีีบยาว

Pterapogon kauderni

อมไข่่หลัังโหนก

Yarica hyalosoma

3.15.2  กลุ่�มปลาบู่่� ปลาตั๊๊�กแตนหิิน และปลามังั กรน้้อย

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบ 3 อัันดับั 11 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 435 ชนิิด

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างหลากหลายรููปแบบมาก โดยบางชนิิดมีีลำ�ำ ตััวยาว

และแบนลง บางชนิิดมีีลำ�ำ ตััวเรีียวยาวและแบนข้้าง บางชนิิดมีีรููปร่่างป้้อมเป็็นทรงกระบอก
หรืือค่่อนข้้างกลมยาว ส่่วนใหญ่่ตำ�ำ แหน่่งของตาจะตั้�้งอยู่�่ทางขอบบนของหััว บางชนิิดมีีติ่่�งเนื้้�อ
ที่่�ยื่่�นจากผิิวหนัังออกมาเหนืือบริิเวณขอบตา ช่่องเปิิดรููจมููก หน้้าผาก หรืือบริิเวณแก้้ม ลำ�ำ ตััว
ปกคลุุมด้้วยเกล็็ดทั้้�งแบบที่่�มีีขอบเรีียบ และขอบนอกเป็็นหนาม หรืือเรีียบลื่่�น ในบางชนิิด
ไม่่มีีเกล็็ด ปลาในกลุ่่�มนี้้�จะมีีครีีบท้้องอยู่�่ในตำำ�แหน่่งคอ (Jugular) มีีทั้้�งแบบแยกจากกัันหรืือ
อาจจะเชื่่อ� มติิดกัันเป็็นรููปถ้้วย

v ขนาด มีีความยาว 5 - 40 เซนติิเมตร
v นิสิ ัยั การกินิ อาหาร กิินปลาขนาดเล็็ก และสัตั ว์์หน้้าดิิน

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 165

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในเขตอบอุ่่�นและเขตร้้อนทั่่�วโลก ประเทศไทยพบทั้้�ง

ฝั่ง่� อ่่าวไทยและทะเลอันั ดามััน บริิเวณปากแม่่น้ำ�ำ� ทะเลชายฝั่่�ง ไปจนถึึงแนวปะการังั และในแหล่่ง
น้ำ��ำ จืืดพบทุุกลุ่่�มน้ำ�ำ� บริิเวณแม่่น้ำ��ำ ลำำ�คลอง อ่่างเก็็บน้ำ��ำ ขนาดใหญ่่ ไปจนถึึงลำำ�ธารขนาดเล็็ก
บริิเวณภููเขาหรืือป่่าต้้นน้ำ�ำ�

v ความสำำ�คััญ ชนิิดที่่�มีีขนาดใหญ่่ถููกนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภค เนื่่�องจาก

ปลาในกลุ่่�มนี้้�ส่่วนใหญ่่เป็็นปลาขนาดเล็็ก มีีการนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ในด้้านนัันทนาการเพื่่�อเลี้้�ยง
เป็็นปลาสวยงาม และยัังเป็็นกลุ่่�มปลาที่่�มีีความหลากหลายของชนิิดสููงมากจึึงมีีความสำำ�คััญ
ต่่อระบบนิิเวศของแหล่่งน้ำ�ำ�

บู่่�กุุดทิิง บู่่�ลื่่น� ดำ�ำ

Neodontobutis aurarmus Eleotris melanosoma

บู่่�เกาะสุรุ ิินทร์์ บู่่�ค้า้ งคาว

Giuris margaritacea Prionobutis microps

บู่่�จากลาย บู่่�ลื่่�น

Bostrychus scalaris Bostrychus sinensis

พ166 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

บู่่�จากผอม บู่่�เกล็็ดแข็ง็

Butis amboinensis Butis butis

บู่่�จากแต้ม้ ส้ม้ บู่่�จากอ้้วน

Butis gymnopomus Butis koilomatodon

บู่่�หััวมััน บู่่�ทราย

Ophiocara porocephala Oxyeleotris marmorata

บู่่�ดำ�ำ บู่่�ทะเล

Oxyeleotris urophthalmoides Acentrogobius caninus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 167

บู่่�ดำ�ำ หััวโต บู่่�ดํําครีีบยาว

Acentrogobius chlorostigmatoides Acentrogobius cyanomos

บู่่�ครีีบฟ้า้ บู่่�จุดุ เขีียว

Acentrogobius janthinopterus Acentrogobius viridipunctatus

บู่่�ด่่าง บู่่�เทา

Arcygobius baliurus Aulopareia unicolor

จุุมพรวด เขืือแดงสั้้น�

Boleophthalmus boddarti Brachyamblyopus brachysoma

พ168 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

บู่่�หมาจูเู ล็ก็ บู่่�หมาจูู

Brachygobius kabiliensis Brachygobius sabanus

บู่่�เสืือ เขืือแดง

Brachygobius xanthomelas Caragobioides geomys

บู่่�เหลืือง บู่่�หัวั กลม

Cryptocentrus cinctus Drombus key

บู่่�ลููกหยีี บู่่�ปากกว้้าง

Drombus kranjiensis Eugnathogobius illotus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 169

บู่่�ปากกว้า้ ง บู่่�ตาเล็็ก

Eugnathogobius kabilia Eugnathogobius microps

บู่่�ปากกว้้าง บู่่�ปากกว้า้ งลายกระ

Eugnathogobius siamensis Eugnathogobius variegatus

บู่่�ทอง บู่่�หิิน

Glossogobius aureus Glossogobius guiris

บู่่�ทองสีีจาง บู่่�หนวด

Glossogobius sparsipapillus Gobiopsis macrostoma

พ170 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

บู่่�ใส บู่่�หััวยาว

Gobiopterus chuno Hemigobius hoevenii

บู่่�มหิิดล บู่่�

Mahidolia mystacina Mugilogobius cavifrons

บู่่�จุลุ บู่่�รำ�ำ ไพ

Mugilogobius chulae Mugilogobius rambaiae

บู่่�ลายเสืือ บู่ �กุ้ �งครีีบยาว

Mugilogobius tigrinus Myersina filifer

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 171

บู่่�หางแดง เขืือแดง

Nemateleotris magnifica Odontamblyopus rubicundus

บู่่�หางยาว บู่่�หน้า้ เสืือเกล็ด็ ถี่่�

Oligolepis acutipennis Oxyurichthys microlepis

บู่่�เกล็็ดถี่่� บู่่�ปากกว้า้ งแม่น่ ้ำ��ำ โขง

Oxyurichthys ophthalmonema Tridentiger aff. ocellatus

บู่่�หางจุุด เขืือจักั รพรรดิิ

Parachaeturichthys polynema Platygobiopsis akihito

พ172 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

บู่่�ขี้้�เซา บู่่�ปากกว้้างหััวโต

Psammogobius biocellatus Pseudogobiopsis oligactis

บู่่�ชวา บู่่�สั้้น� เข็ม็ ขัดั

Pseudogobius avicenia Redigobius balteatus

บู่่�สั้้น� กระโดงแดง บู่่�น้ำ�ำ� ตก

Redigobius chrysosoma Rhinogobius sp.

บู่่�กล้ว้ ย บู่่�กล้้วย

Stigmatogobius pleurostigma Stigmatogobius sandanundio

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 173

เขืือไหล เขืือหน้้าผีี

Taenioides anguillaris Taenioides cirratus

เขืือครีีบดำ�ำ บู่่�หนวด

Taenioides nigrimarginatus Tridentiger cf. barbatus

เขืือ เขืือ

Trypauchen vagina Trypauchenichthys typus

บู่่�ทรายเส้้นชมพูู บู่่�ลายเมฆ

Valenciennea muralis Yongeichthys nebulosus

พ174 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ท่่องเที่่�ยว ท่อ่ งเที่่�ยว

Apocryptodon madurensis Parapocryptes serperaster

กระจััง ตีีนครีีบประขาว

Periophthalmodon schlosseri Periophthalmus argentilineatus

ตีีน

Periophthalmus chrysospilos

Cr.: fishbase.org ตีีนเล็ก็

จุมุ พรวดวลััยลักั ษณ์์ Periophthalmus gracilis

Periophthalmus walailakae ท่อ่ งเที่่�ยว

Pseudapocryptes borneensis

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 175

ท่่องเที่่ย� วยาว ท่อ่ งเที่่ย� ว

Pseudapocryptes elongatus Oxuderces dentatus

ท่อ่ งเที่่ย� วเขี้้�ยว ท่อ่ งเที่่�ยวกระโดง

Oxuderces nexipinnis Scartelaos histophorus

มัังกรน้้อยครีีบเส้้น มังั กรน้้อย

Callionymus filamentosus Callionymus fluviatilis

มังั กรน้้อยครีีบขาว มัังกรน้้อยครีีบดำ�ำ

Callionymus meridionalis Callionymus sagitta

พ176 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

มังั กรน้อ้ ยกระโดงยาว มังั กรน้อ้ ย

Callionymus schaapii Dactylopus dactylopus

มังั กรน้อ้ ยแมนดาริิน ตั๊๊ก� แตนหิินสองสีี

Synchiropus splendidus Ecsenius bicolor

ตั๊๊�กแตนหิินลายแถบ ตั๊๊�กแตนหิินหน้้าลาย

Meiacanthus grammistes Omobranchus ferox

ตั๊๊�กแตนหิินปากยื่่น� กระบี่่�

Omobranchus punctatus Xiphasia setifer

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 177

3.16  เหล่่าปลาไหลนา ปลาหลด

ในน่่านน้ำ��ำ ไทยพบ 2 อัันดัับ 4 วงศ์์ มีีจำ�ำ นวนไม่่น้้อยกว่่า 27 ชนิิด กรมประมงประสบ
ความสำำ�เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์์�ปลาในเหล่่านี้้�แล้้วหลายชนิิด เช่่น ปลาไหลนา (Monopterus
javanensis) ปลาหลดลาย (Macrognathus siamensis) และปลากระทิิงไฟ (Mastacembelus
erythrotaenia) เป็น็ ต้้น

v ลัักษณะทั่่�วไป เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างยาวมากคล้้ายงูู ไม่่มีีครีีบท้้อง ส่่วนมากมีีเกล็็ด

ขนาดเล็็กแบบขอบเรีียบฝัังอยู่�่ใต้้ผิิวหนััง ตามีีขนาดเล็็ก ยกเว้้นวงศ์์ปลาจิ้้�มฟัันจระเข้้แคระ
ลำ�ำ ตััวยาวเรีียว เกล็็ดมีีลัักษณะเป็็นเกราะแข็็ง ส่่วนวงศ์์ปลาไหลนามีีลัักษณะพิิเศษ คืือ
เปลี่่�ยนเพศได้้ (Hermaphrodite) โดยช่่วงต้้นของวงจรชีีวิิตจะเป็็นเพศเมีีย และจะเปลี่่�ยนเป็็น
เพศผู้้�เมื่่�อโตขึ้้�น เพศเมีียมีีความยาว 29 - 50 เซนติิเมตร และมีีน้ำ��ำ หนัักน้้อยกว่่า 300 กรััม
ส่่วนเพศผู้้�มีีความยาวมากกว่่า 60 เซนติิเมตร และมีีน้ำ�ำ�หนัักมากกว่่า 400 กรัมั

v ขนาด มีีความยาว 20-50 เซนติิเมตร ยกเว้้นปลาจิ้้�มฟัันจระเข้้แคระ (Indostomus

spinosus) ที่่�พบมีีขนาดเล็็กที่่ส� ุุดเพีียง 3 เซนติิเมตร และปลาไหลนา ที่่�พบมีีความยาวมากที่่ส� ุุด
ถึึง 1 เมตร

v นิสิ ััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ มีีพฤติิกรรมการกิินอาหารสดไปจนถึึงเน่่าเปื่่�อย

เช่่น ตััวหนอน ตัวั อ่่อนแมลง หอย ไส้้เดืือน และสัตั ว์์หน้้าดิิน ออกหากิินในเวลากลางคืืน

v การกระจายพัันธุ์์� พบทั่่�วไปในทุุกภููมิิภาคทั่่�วโลก ประเทศไทยพบได้้ทั่่�วทุุกภาค

ในแหล่่งน้ำ�ำ�หลายรููปแบบ เช่่น หนอง บึึง และแหล่่งน้ำ��ำ ไหลที่่�มีีกระแสน้ำ�ำ�ไหลเอื่่�อยทั้้�งใน
ลำ�ำ ธาร ลำำ�คลอง และแม่่น้ำ��ำ ที่่�มีีพืืชน้ำ�ำ�หนาแน่่น โดยปลาไหลนามีีพฤติิกรรมขุุดรููอยู่�่ใน
พื้้�นโคลนตมหรืือริิมตลิ่่�ง ในขณะที่่�ปลาหลดบางชนิิดชอบอาศััยตามแก่่งหรืือลำ�ำ ธารที่่�กระแสน้ำ�ำ�
ไหลแรง และปลาหลดพรุุพบอาศัยั เฉพาะในพื้้�นที่่พ� รุุทางภาคใต้้เท่่านั้้�น

v ความสำ�ำ คััญ เป็็นกลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่�อการบริิโภคทั้้�งรููปแบบสด

และแปรรููป เช่่น ปลาหลดตากแห้้ง และด้้านนัันทนาการเพื่่�อเลี้้�ยงเป็็นปลาสวยงาม เช่่น
ปลากระทิิงไฟ

พ178 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

หลดงวงช้้าง หลดภููเขา

Macrognathus cf. aculeatus Macrognathus circumcinctus

หลดแม่่กลอง หลดหลังั จุดุ

Macrognathus meklongensis Macrognathus semiocellatus

หลดนา หลดลาย

Macrognathus siamensis Macrognathus tapirus

หลดม้า้ ลาย กระทิิงจุุดขาว

Macrognathus zebrinus Mastacembelus alboguttatus

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 179

กระทิิงลายดอกไม้้ กระทิิงไฟ

Mastacembelus armatus Mastacembelus erythrotaenia

กระทิิงท้้องลาย หลดแคระอีีสาน

Mastacembelus favus Chaudhuria fusipinnis

หลดแคระ จิ้้ม� ฟัันจระเข้้แคระ

Chaudhuria caudata Indostomus crocodylus

จิ้้�มฟัันจระเข้้แคระพรุุ หลาดแดง

Indostomus spinosus Macrotrema caligans

ไหลนา ไหลหลาด

Monopterus javanensis Ophisternon bengalense

พ180 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

3.17  เหล่่าปลากััด ปลาหมอ ปลาช่่อน

ในน่่านน้ำ�ำ�ไทยพบ 1 อัันดัับ (Anabantiformes) 7 วงศ์์ มีีจำำ�นวนไม่่น้้อยกว่่า 50 ชนิิด
โดยกรมประมงประสบความสำำ�เร็็จในการเพาะขยายพัันธุ์�และปรับั ปรุุงพันั ธุ์� ปลาช่่อน ปลาแรด
และปลาหมอ

v ลัักษณะทั่่�วไป ปลาในกลุ่่�มนี้้�เป็็นปลาที่่�มีีรููปร่่างสั้้�นหรืือค่่อนข้้างสั้้�น แบนข้้าง

มีีเกล็็ดแบบเป็็นหนาม มีีอวััยวะช่่วยหายใจเรีียกว่่า ลาไบริินธ์์ (Labyrinth organ) มีีเส้้น
ข้้างลำำ�ตััว ปากยืืดหดได้้ ครีีบท้้องอยู่�่ค่่อนมาทางส่่วนหััว ยกเว้้น วงศ์์ปลาช่่อน ซึ่่ง� มีีลำ�ำ ตััวกลม
และเรีียวยาว มีีอวััยวะช่่วยหายใจเรีียกว่่าไดเวอติิคููล่่า (Diverticula) มีีกระเพาะลมยาวถึึง
คอดหาง ใช้้ประโยชน์์ในการลอยตัวั รอเหยื่่อ�

v ขนาด มีีความยาว 10 - 30 เซนติิเมตร ยกเว้้น ปลากััดไทย (Betta splendens)

ที่่�มีีขนาดเพีียง 4 เซนติิเมตร และปลาชะโด (Channa micropeltes) พบมีีความยาวถึึง
70 เซนติิเมตร

v นิิสััยการกิินอาหาร เป็็นปลากิินเนื้้�อ แพลงก์์ตอนสััตว์์ แมลง กุ้�้ง ปูู รวมทั้้�ง

ปลาขนาดเล็็ก ส่่วนปลาแรดกิินพืืชบางชนิิดได้้ด้้วย

v การกระจายพันั ธุ์์� พบทั่่ว� ไปในแหล่่งน้ำ�ำ�นิ่่�ง เช่่น นาข้้าว ลำ�ำ คลอง หนอง และบึึง เป็็นต้้น
v ความสำำ�คััญ เป็น็ กลุ่่�มปลาที่่�นำำ�มาใช้้ประโยชน์์เพื่่อ� การบริิโภค และด้้านนันั ทนาการ

เพื่่อ� เลี้้�ยงเป็น็ ปลาสวยงาม

หมอ หมอตาล

Anabas testudineus Helostoma temminkii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 181

หมอจำำ�ปะ กััดสงขลา

Belontia hasselti Betta ferox

กัดั ภาคใต้้ กััดอมไข่น่ ราธิิวาส

Betta imbellis Betta kuehnei

กัดั มหาชััย กััดน้ำ�ำ� แดง

Betta mahachaiensis Betta pi

Cr.: ชานนท์์ โควสุุภััทร์์  กัดั กระบี่่�

กััดป่่าตะวัันออก Betta simplex

Betta siamorientalis

พ182 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

กััดเขีียวอีีสาน กััดเขีียวบึึงกาฬ

Betta smaragdina Betta cf. smaragdina

กััดไทย ช่่อนเข็็ม

Betta splendens Luciocephalus pulcher

แรดแม่่น้ำ��ำ โขง แรด

Osphronemus exodon Osphronemus goramy

กริิมแรด กระดี่่�มุุก

Parosphromenus paludicola Trichopodus leerii

พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่ม� หานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 183

กระดี่่�นาง สลิิด

Trichopodus microlepis Trichopodus pectoralis

กระดี่่ห� ม้้อ กริิมสีี

Trichopodus trichopterus Trichopsis pumila

กริิมอีีสาน กริิมควาย

Trichopsis schalleri Trichopsis vittata

ช่่อนงูเู ห่่าแม่่น้ำ��ำ โขง ช่่อนงูเู ห่่า

Channa auroflammea Channa aurolineata

พ184 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง

ก้้าง ก้า้ ง

Channa gachua Channa cf. gachua

กระสง ช่่อนข้า้ หลวง

Channa lucius Channa marulioides

พังั กัับ ชะโด

Channa melasoma Channa micropeltes

ช่่อน พรรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง 185

Channa striata

เสืือดำ�ำ เสืือปรืือ

Nandus nebulosus Nandus oxyrhynchus

หมอช้า้ งเหยีียบ หมอช้้างเหยีียบแดง

Pristolepis fasciatus Pristolepis grootii

หมอแคระแม่่โขง หมอแคระใต้้

Badis ruber Badis siamensis

พ186 รรณปลาไทยจากสายธาราสู่่�มหานทีี ๙๕ ปีี กรมประมง


Click to View FlipBook Version