The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pisal.f, 2022-05-04 08:57:21

1หลักสูตรไทย 2565

1หลักสูตรไทย 2565

หลักสูตรกลมุ สาระการเรียนรู ภาษาไทย
ปก ารศกึ ษา 2565

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕60)

โรงเรยี นเทศบาล 1 (บา นเกา )
สังกัดเทศบาลตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวดั เชยี งราย

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

คำนำ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยกำหนดใหโรงเรียนตนแบบการใชหลักสูตรและโรงเรียนที่มีความพรอมเริ่มใช
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั นี้

โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นเกา) สังกัดเทศบาลตำบลเมืองพาน ซงึ่ เปน โรงเรียนตนแบบการใชหลักสูตรได
ดำเนินการจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษาโดยใชห ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนแกน
หลกั เพอ่ื กำหนดการจัดทำโครงสรางและสาระหลกั สตู รสถานศึกษาและหลักสตู รทองถนิ่ ใหสอดคลองกับบริบทของ
สถานศึกษา ซึ่งในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาครั้งนี้ เปนการสรางหลักสูตรที่อาศัยการมีสวนรวมของนักเรียน
คณะครู ผูปกครองและชุมชน ทั้งนี้เพื่อใหส ามารถขับเคลื่อนไปสูการจดั การเรียนรูที่สงผลใหผ ูเรียนมีคณุ ภาพดาน
ความรูและทักษะที่จำเปนในการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยาง
ตอ เนื่องตลอดชวี ิต ตามคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ เรือ่ งใหเปลี่ยนมาตรฐานการ
เรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อใหสอดคลองกับสภาพความเปนอยูของ
สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และมีความทันสมัย มุงผลประโยชนตอ ผูเ รยี นเปนสำคัญ และเพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณ
ในการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551

ในปการศึกษา 256๕ นี้ทางกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ไดรวมกันจัดทำหลักสูตรการเรียนรู
ภาษาไทย โรงเรียนเทศบาล 1 (บานเกา) พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช
2551 เพ่อื เปนกรอบทิศทางในการนำหลักสูตรไปใชอยางมีประสิทธภิ าพและเพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพผูเรยี น
ใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวติ ที่ดีและมีศักยภาพความสามารถในการปรบั ตัวใหอยใู นสังคมไดอยางมีความสุข
ทัง้ ในสังคมไทยและสังคมโลกตอ ไป

ขอขอบคุณผูมีสวนเกีย่ วขอ งทุกภาคสวนที่ใหความรวมมอื และมีสว นรวมในการพัฒนาหลักสูตรฉบบั นี้ใหมี
ความสมบูรณแ ละเหมาะสมตามบรบิ ทตอการจดั การศึกษาในโรงเรียนเทศบาล 1 (บานเกา) ต้ังแต
ปการศกึ ษา 256๕ เปน ตนไป

กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย

ลงชอ่ื ..............................................
(นางสาวชลธิชา อนนั ตชยั พทั ธนา)
ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย

ลงชื่อ.................................................
(นายพิศาล ฟองนิ้ว)

ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ
ปฏบิ ัติหนา ท่ี หวั หนาฝายบรหิ ารงานวิชาการ

ลงช่อื .........................................
(นางสาวปวชิ ญา ใจมาตุน )
รองผอู ำนวยการสถานศึกษา
โรงเรยี นเทศบาล 1 (บา นเกา)

ลงชอ่ื .........................................
(นายพรเทพ ศรีจักร)
ผูอำนวยการสถานศึกษา

โรงเรียนเทศบาล 1 (บา นเกา )

สารบญั หนา

วสิ ยั ทัศนก ลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ๒
สมรรถนะสำคัญของผเู รียน ๓
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๓
สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นตามหลักสตู รบูรณาการทองถ่ิน 4
มาตรฐานการเรยี นรู ๔
คณุ ภาพผูเ รยี น ๖

ตวั ชวี้ ัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง ๖

สาระท่ี ๑ การอา น ๑๓

สาระท่ี ๒ การเขียน ๑9

สาระท่ี ๓ การฟง การดู และการพดู ๒5
สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย ๒๘
สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๓3
อภธิ านศพั ท 40
โครงสรางหลักสตู รกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ๔1
คำอธบิ ายรายวชิ า ๔1
วชิ าพนื้ ฐานภาษาไทย ป. ๑ - ๓ / ป. ๔ - ๖ / ม. ๑ - ๓ ๕3
โครงสรา งรายวิชาและวางแผนการประเมิน ๕3
วชิ าพ้ืนฐานภาษาไทย ป. ๑ - ๓ / ป. ๔ - ๖ / ม. ๑ - ๓ ๑๘๓
คณะผูจดั ทำ

1

วสิ ัยทัศนหลกั สตู รกลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย

หลักสูตรโรงเรียนบาล 1 (บานเกา) พุทธศักราช 25๖๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 255๘) เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนาผูเรียนทุกคนเปนบุคคลแหง
การเรยี นรสู มู าตรฐานสากลและเปนมนษุ ยท ่ีมคี วามสมดลุ ทั้งรางกาย ความรูค ูคณุ ธรรม มีความเปนผูนำของสังคม
มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกโดยใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยดึ มั่นในการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐานสามารถใชนวัตกรรมและ
เทคโนโลยรี วมทั้งเจตคติที่จำเปนตอการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิตโดยมุงเนนผูเรียนเปน
สำคญั บนพน้ื ฐานความเชือ่ วาทกุ คนสามารถเรียนรแู ละพฒั นาตนเองไดเ ตม็ ตามศักยภาพ

ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและเสริมสราง
บุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจและ
ความสัมพันธทดี่ ีตอกนั ทำใหส ามารถประกอบกจิ ธุระ การงาน และดำรงชีวติ รว มกนั ในสงั คมประชาธปิ ไตยไดอยาง
สันติสุข และเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจากแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู
พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรา งสรรคใ หท นั ตอ การเปล่ียนแปลงทางสังคม และความกา วหนาทาง
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนส่ือ
แสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปนสมบัติล้ำคาควรแกการเรียนรู
อนรุ ักษ และสืบสานใหค งอยคู ูช าติไทยตลอดไป

ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชำนาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การเรียนรูอยางมี
ประสิทธิภาพ และเพื่อนำไปใชในชีวิตจริง การอาน การอานออกเสียงคำ ประโยค การอานบทรอยแกว
คำประพันธชนิดตางๆ การอานในใจเพือ่ สรางความเขาใจ และการคิดวิเคราะห สังเคราะหความรูจากสิ่งที่อาน
เพื่อนำไป ปรับใชในชีวิตประจำวัน การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใชถอยคำและ
รูปแบบตางๆ ของการเขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ
วิเคราะหว ิจารณ และเขียนเชิงสรางสรรค การฟง การดู และการพดู การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ การพูด
แสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดลำดับเรื่องราวตางๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพูดในโอกาสตางๆ ทั้งเปน
ทางการและไมเปนทางการ และการพูดเพื่อโนมนาวใจ หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของ
ภาษาไทย การใชภาษาใหถ ูกตองเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแตงบทประพันธประเภทตา งๆ และอิทธิพล
ของภาษาตางประเทศในภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูล
แนวความคิด คุณคาของงานประพันธ และความเพลิดเพลนิ การเรียนรูและทำความเขาใจบทเห บทรองเลนของ
เด็ก เพลงพื้นบานที่เปนภูมิปญญาที่มีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี เร่อื งราวของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพือ่ ใหเ กิดความซาบซง้ึ และภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ีได
ส่ังสมสืบทอดมาจนถงึ ปจจบุ นั

2

สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี น

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย โรงเรียนบาล 1 (บานเกา) พุทธศักราช 256๔ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2558) มุงใหผ เู รียนเกดิ สมรรถนะ
สำคัญ 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ
ประสบการณอ ันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหา
ความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใช
วิธกี ารส่ือสาร ทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสงั เคราะห การคิดอยาง
สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูก ารสรางองคความรูหรือสารสนเทศเพ่ือ
การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ ยางเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญ
ไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
และมกี ารตัดสนิ ใจทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขึ้นตอ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดว ย
การสรา งเสรมิ ความสมั พันธอนั ดรี ะหวางบคุ คล การจดั การปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัว
ใหทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผล
กระทบตอตนเองและผอู ื่น

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน
การแกป ญหาอยา งสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

3

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย โรงเรียนบาล 1 (บานเกา) พุทธศักราช 256๔ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2558) มุงพัฒนา
ผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปน
พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน กษัตริย
2. ซื่อสตั ยสุจรติ
3. มีวินัย
4. ใฝเรียนรู
5. อยอู ยางพอเพยี ง
6. มุงมนั่ ในการทำงาน
7. รักความเปน ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นตามหลักสูตรบรู ณาการทองถ่ิน

เพื่อใหผ ูเรียนเขาใจ รับรูบ ทบาท หนาท่ี และมงุ ใหเกิดความรักตอทองถิ่น จงึ กำหนดสมรรถนะสำคัญในสาระ
หลกั สตู รทอ งถิน่ ของสถานศึกษา 3 ประการดงั ตอ ไปน้ี

1. ความสามารถในการเขาใจและดำรงไวซึ่งความเปนทองถิ่นที่ดีงาม ความเปนตัวตน มีความภูมิใจในสิ่งที่ดี
งามของชุมชน ทองถน่ิ และรวมเปน สว นหนึ่งในการอนุรกั ษ ธำรงไวซึ่งความเปน ทองถ่ินที่ดีงามตอไปได

2. ความสามารถในการพัฒนาทองถิ่น เรียนรูความเปนทองถิ่นนำมาพัฒนา ตอยอด สงเสริม ใหทองถ่ิน
กา วหนา ในดา นตาง ๆ อยางเหมาะสม และดงี าม

3. ความสามารถในการมีสวนรวม และการบริหารจัดการทองถิ่น รูจ ักแสดงบทบาทผูนำ ผูตาม แสดงความ
คิดเห็น มีสว นรวมในกระบวนการบริหารจัดการทองถ่ินทั้งในขณะปจจุบัน และอนาคต

4

สาระและมาตรฐานการเรียนรู

สาระท่ี ๑ การอาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดำเนิน

ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอา น
สาระท่ี ๒ การเขยี น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ

เขียนรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควา อยา ง มีประสทิ ธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และ ความรูสึกใน

โอกาสตา งๆ อยางมวี จิ ารณญาณและสรางสรรค
สาระที่ ๔ หลกั การใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ขิ องชาติ
สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยางเหน็ คณุ คาและนำมา

ประยกุ ตใ ชในชวี ิตจริง

คณุ ภาพผูเรยี น

จบชนั้ ประถมศึกษาปท่ี ๓

 อานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ ไดถูกตองคลองแคลว
เขาใจความหมายของคำและขอ ความที่อา น ต้ังคำถามเชงิ เหตุผล ลำดับเหตกุ ารณ คาดคะเนเหตกุ ารณ สรุปความรู
ขอคิดจากเร่ืองท่อี า นปฏิบตั ิตามคำสั่ง คำอธบิ ายจากเรอ่ื งทีอ่ านได เขา ใจความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่
และแผนภมู ิ อา นหนังสืออยางสมำ่ เสมอและมมี ารยาทในการอาน

 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู
เขยี นเร่อื งเก่ียวกับประสบการณ เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการและมมี ารยาทในการเขียน

 เลารายละเอียดและบอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรูสึก
เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู พูดสื่อสารเลาประสบการณและพูดแนะนำหรือพูดเชิญชวนใหผูอื่นปฏิบัติตาม และมี
มารยาทในการฟง ดู และพูด

 สะกดคำและเขาใจความหมายของคำ ความแตกตางของคำและพยางค หนาที่ของคำ ในประโยค
มีทักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคำ แตงประโยคงายๆ แตงคำคลองจอง แตงคำขวัญ และ
เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ

 เขาใจและสามารถสรุปขอคิดที่ไดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน
แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีที่อาน รูจักเพลงพื้นบาน เพลงกลอมเด็ก ซึ่งเปนวัฒนธรรมของทองถิน่ รองบทรอง
เลนสำหรบั เด็กในทองถน่ิ ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรอง ทม่ี คี ุณคา ตามความสนใจได

จบชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖

5

 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ขอความ สำนวนโวหาร จากเรื่องที่อาน เขาใจคำแนะนำ คำอธิบายในคูมือตางๆ
แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสำคัญของเรื่องที่อานและนำความรูความคิดจากเรื่องที่อานไป
ตัดสินใจแกป ญ หาในการดำเนินชวี ติ ได มมี ารยาทและมนี ิสัยรักการอา น และเหน็ คณุ คาส่งิ ทอ่ี า น

 มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคำ แตงประโยคและเขียนขอความ
ตลอดจนเขียนส่ือสารโดยใชถอยคำชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่องและแผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน
เขยี นเรียงความ ยอ ความ จดหมายสว นตวั กรอกแบบรายการตา งๆ เขยี นแสดงความรสู ึกและความคิดเห็น เขยี นเรื่องตาม
จินตนาการอยา งสรา งสรรค และมีมารยาทในการเขยี น

 พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเรือ่ งที่ฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องที่ฟงและดู ตั้งคำถาม ตอบ
คำถามจากเรื่องที่ฟงและดู รวมทั้งประเมินความนาเชื่อถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมีเหตุผล พูดตามลำดับขั้นตอน
เรื่องตางๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจาก การฟง การดู การสนทนา และพูดโนมนาวไดอยางมีเหตุผล
รวมท้งั มีมารยาทในการดูและพดู

 สะกดคำและเขาใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสภุ าษิต รูและเขาใจ ชนิดและหนาที่ของคำใน
ประโยค ชนิดของประโยคและคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคำราชาศัพทและคำสุภาพไดอยางเหมาะสม แตง
ประโยค แตง บทรอ ยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ และกาพยยานี ๑๑

 เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบาน รองเพลงพื้นบานของทองถิ่น นำ
ขอคิดเหน็ จากเรื่องทอี่ า นไปประยกุ ตใชใ นชวี ิตจริง และทอ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดได

จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๓

 อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะไดถูกตอง เขาใจความหมายโดยตรงและ
ความหมายโดยนัย จับใจความสำคัญและรายละเอียดของสิ่งที่อาน แสดงความคิดเห็นและขอโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน
และเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด ยอความ เขียนรายงานจาก สิ่งที่อานได วิเคราะห วิจารณ อยางมีเหตุผล ลำดับ
ความอยา งมีข้ันตอนและความเปนไปไดข องเร่ืองท่ีอา น รวมท้ังประเมินความถกู ตอ งของขอ มูลท่ใี ชสนับสนนุ จากเรือ่ งทอ่ี า น

 เขียนสื่อสารดวยลายมือที่อานงา ยชัดเจน ใชถอยคำไดถูกตองเหมาะสมตามระดับภาษาเขียนคำขวัญ คำคม
คำอวยพรในโอกาสตางๆ โฆษณา คติพจน สุนทรพจน ชีวประวัติ อัตชีวประวัติและประสบการณตางๆ เขียนยอความ
จดหมายกิจธุระ แบบกรอกสมัครงาน เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดงความรูความคิดหรือโตแยงอยางมีเหตุผล
ตลอดจนเขยี นรายงานการศึกษาคน ควาและเขยี นโครงงาน

 พูดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณ ประเมินสิ่งที่ไดจากการฟงและดู นำขอคิดไปประยุกตใชใน
ชวี ิตประจำวนั พดู รายงานเร่อื งหรือประเดน็ ที่ไดจากการศกึ ษาคน ควาอยางเปนระบบ มศี ิลปะในการพดู พดู ในโอกาสตา งๆ ได
ตรงตามวตั ถุประสงค และพูดโนม นา วอยา งมีเหตผุ ลนา เชื่อถือ รวมทั้งมีมารยาทในการฟง ดู และพูด

 เขาใจและใชคำราชาศัพท คำบาลีสันสกฤต คำภาษาตางประเทศอื่นๆ คำทับศัพท และศัพทบัญญัติใน
ภาษาไทย วิเคราะหความแตกตางในภาษาพูด ภาษาเขียน โครงสรางของประโยครวม ประโยคซอน ลักษณะภาษาที่เปน
ทางการ กงึ่ ทางการและไมเปนทางการ และแตงบทรอ ยกรองประเภทกลอนสภุ าพ กาพย และโคลงส่ีสุภาพ

 สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน วิเคราะหตัวละครสำคัญ วิถีชีวิตไทย และคุณคาที่ไดรับจาก
วรรณคดวี รรณกรรมและบทอาขยาน พรอ มทง้ั สรปุ ความรูขอคิดเพอื่ นำไปประยุกตใชในชีวิตจริง

6

ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง

สาระที่ ๑ การอา น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรางความรแู ละความคิดเพื่อนำไปใชตัดสินใจ แกป ญหาในการดำเนนิ

ชีวติ และมีนิสยั รักการอา น

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. อา นออกเสยี งคำ คำคลองจอง และ  การอานออกเสียงและบอกความหมายของคำ

ขอ ความสัน้ ๆ คำคลองจอง และขอความที่ประกอบดวย คำ

๒. บอกความหมายของคำ และขอความท่ี พ้ืนฐาน คือ คำทใ่ี ชในชวี ิตประจำวัน ไมน อยกวา

อา น ๖๐๐ คำ รวมท้ังคำท่ใี ชเ รียนรูใน กลุมสาระการ

เรยี นรูอืน่ ประกอบดว ย

- คำท่มี รี ปู วรรณยกุ ตและไมมีรูปวรรณยุกต

- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตาม

มาตรา

- คำทมี่ ีพยัญชนะควบกลำ้

- คำท่ีมอี ักษรนำ

๓. ตอบคำถามเกีย่ วกับเรื่องที่อาน  การอา นจบั ใจความจากส่ือตางๆ เชน

๔. เลาเรอ่ื งยอ จากเร่ืองที่อา น - นทิ าน

๕. คาดคะเนเหตุการณจ ากเรื่องที่อาน - เร่อื งสนั้ ๆ

- บทรอ งเลนและบทเพลง

- เรือ่ งราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทยและกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน

ป.๑ ๖. อานหนงั สอื ตามความสนใจ  การอา นหนงั สอื ตามความสนใจ เชน

อยา งสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอา น - หนังสือท่ีนกั เรียนสนใจและเหมาะสมกบั วยั

- หนังสอื ทค่ี รูและนกั เรียนกำหนดรว มกนั

๗. บอกความหมายของเครื่องหมาย หรอื  การอา นเคร่ืองหมายหรอื สญั ลกั ษณ
สัญลักษณส ำคัญทม่ี ักพบเห็นใน ประกอบดวย
ชวี ติ ประจำวัน - เคร่อื งหมายสัญลักษณต างๆ ท่ีพบเห็นใน
ชีวิตประจำวัน
๘. มีมารยาท ในการอา น - เคร่ืองหมายแสดงความปลอดภยั และแสดง
อันตราย

 มารยาทในการอาน เชน
- ไมอานเสียงดงั รบกวนผูอื่น
- ไมเ ลนกนั ขณะท่อี าน
- ไมทำลายหนงั สอื

7

ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๒ ๑. อา นออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ  การอานออกเสยี งและการบอกวามหมายของคำ

และบทรอยกรองงายๆ ได คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ

ถกู ตอง ที่ประกอบดวยคำพื้นฐานเพิ่มจาก ป. ๑ ไมนอย

๒. อธิบายความหมายของคำและขอความ กวา ๘๐๐ คำ รวมทั้งคำที่ใชเรียนรูในกลุมสาระ

ทีอ่ า น การเรียนรูอ่ืน ประกอบดว ย

- คำที่มรี ูปวรรณยกุ ตและไมมีรูปวรรณยกุ ต

- คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตาม

มาตรา

- คำทมี่ ีพยัญชนะควบกล้ำ

- คำทม่ี อี ักษรนำ

- คำท่มี ีตวั การนั ต

- คำทมี่ ี รร

- คำทีม่ ีพยัญชนะและสระที่ไมอ อกเสยี ง

๓. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเกีย่ วกับ  การอา นจับใจความจากส่ือตางๆ เชน

เรือ่ งที่อา น - นทิ าน

๔. ระบใุ จความสำคัญและรายละเอียดจาก - เรอื่ งเลาสั้น ๆ

เรือ่ งที่อา น - บทเพลงและบทรอยกรองงา ยๆ

๕. แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรยี นรู

เหตุการณจ ากเรือ่ งที่อาน ภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรอู ่ืน

- ขาวและเหตกุ ารณประจำวัน

๖. อานหนงั สือตามความสนใจอยาง  การอา นหนังสือตามความสนใจ เชน

สมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอา น - หนงั สอื ท่นี กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั

- หนังสือทค่ี รแู ละนกั เรยี นกำหนดรวมกัน

๗. อา นขอเขยี นเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ิตาม  การอานขอเขยี นเชงิ อธิบาย และปฏิบัตติ าม

คำสั่งหรอื ขอแนะนำ คำส่ังหรือขอแนะนำ

- การใชส ถานทีส่ าธารณะ

- คำแนะนำการใชเครื่องใชที่จำเปนในบา นและ

ในโรงเรียน

๘. มมี ารยาทในการอา น  มารยาทในการอาน เชน

- ไมอ านเสยี งดังรบกวนผอู ่ืน

- ไมเ ลนกันขณะที่อาน

- ไมท ำลายหนังสอื

- ไมค วรแยง อานหรือชะโงกหนาไปอานขณะท่ี

ผอู ืน่ กำลังอานอยู

8

ชนั้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

ป.๓ ๑. อา นออกเสยี งคำ ขอความ เรื่องสน้ั ๆ  การอานออกเสยี งและการบอกความหมายของ

และบทรอยกรองงา ยๆ ไดถูกตอง คำ คำคลองจอง ขอ ความ และบทรอยกรอง

คลองแคลว งา ยๆ ทป่ี ระกอบดวยคำพืน้ ฐานเพ่มิ จาก ป.๒

๒. อธิบายความหมายของคำและขอความ ไมนอยกวา ๑,๒๐๐ คำ รวมทั้งคำที่เรียนรูในกลุม

ที่อา น สาระการเรียนรูอนื่ ประกอบดวย

- คำทม่ี ตี วั การนั ต

- คำท่มี ี รร

- คำที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง

- คำพอ ง

- คำพิเศษอืน่ ๆ เชน คำทใ่ี ช ฑ ฤ 

๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล  การอา นจบั ใจความจากสื่อตางๆ เชน

เก่ียวกบั เรอ่ื งทอ่ี าน - นิทานหรือเรอ่ื งเกยี่ วกบั ทอ งถนิ่

๔. ลำดบั เหตกุ ารณและคาดคะเน - เรือ่ งเลาส้ันๆ

เหตกุ ารณจ ากเรือ่ งท่อี านโดยระบเุ หตผุ ล - บทเพลงและบทรอ ยกรอง

ประกอบ - บทเรียนในกลมุ สาระการเรียนรอู ่ืน

๕. สรุปความรแู ละขอ คดิ จากเรอ่ื งที่อา น - ขาวและเหตกุ ารณใ นชีวิตประจำวันในทอ งถ่นิ

เพอ่ื นำไปใชในชีวิตประจำวัน และชมุ ชน

๖. อานหนังสือตามความสนใจ  การอานหนงั สอื ตามความสนใจ เชน

อยา งสมำ่ เสมอและนำเสนอเร่ืองท่ีอาน - หนังสือทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั

- หนงั สอื ท่ีครแู ละนกั เรยี นกำหนดรว มกัน

๗. อา นขอเขียนเชงิ อธิบายและปฏิบัติตาม  การอา นขอเขยี นเชิงอธิบาย และปฏบิ ตั ติ าม

คำสง่ั หรอื ขอแนะนำ คำส่งั หรือขอแนะนำ

- คำแนะนำตา งๆ ในชวี ิตประจำวัน

- ประกาศ ปา ยโฆษณา และคำขวญั

๘. อธบิ ายความหมายของขอมูลจาก  การอา นขอมูลจากแผนภาพ แผนท่ี และ

แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ แผนภูมิ

๙. มีมารยาทในการอา น  มารยาทในการอาน เชน

- ไมอา นเสยี งดังรบกวนผูอ ื่น

- ไมเ ลน กนั ขณะที่อา น

- ไมทำลายหนังสอื

- ไมค วรแยง อานหรอื ชะโงกหนาไปอา นขณะที่

ผูอืน่ กำลังอาน

ป.๔ ๑. อานออกเสยี งบทรอยแกว และ  การอา นออกเสยี งและการบอกความหมายของ

บทรอ ยกรองไดถูกตอง บทรอ ยแกว และบทรอยกรองท่ีประกอบดวย

- คำทีม่ ี ร ล เปนพยญั ชนะตน

9

๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยค - คำที่มีพยัญชนะควบกลำ้
และสำนวนจากเรอื่ งท่ีอาน - คำทีม่ ีอักษรนำ - คำประสม
- อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน
๓. อา นเร่ืองสนั้ ๆ ตามเวลาที่กำหนดและ - ประโยคที่มีสำนวนเปน คำพังเพย สภุ าษติ
ตอบคำถามจากเรือ่ งที่อา น
ปริศนาคำทาย และเคร่ืองหมายวรรคตอน
๔. แยกขอเท็จจริงและขอ คดิ เห็น  การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ
จากเรอื่ งทอี่ าน
 การอานจับใจความจากส่ือตางๆ เชน
๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอานโดย - เรอ่ื งส้ัน ๆ
ระบเุ หตุผลประกอบ - เรื่องเลาจากประสบการณ
- นทิ านชาดก
๖. สรปุ ความรูและขอ คดิ จากเรื่องท่ีอา น - บทความ
เพอ่ื นำไปใชในชีวติ ประจำวนั - บทโฆษณา
- งานเขียนประเภทโนม นา วใจ- ขาวและ
เหตุการณป ระจำวัน
- สารคดแี ละบนั เทงิ คดี

๗. อา นหนังสอื ที่มีคุณคาตามความสนใจ  การอานหนงั สอื ตามความสนใจ เชน

อยา งสมำ่ เสมอและแสดงความคิดเห็น - หนังสอื ทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

เกย่ี วกบั เรื่องที่อาน - หนงั สอื ท่ีครูและนกั เรียนกำหนดรวมกัน

๘. มมี ารยาทในการอาน  มารยาทในการอา น

ป.๕ ๑. อานออกเสยี งบทรอยแกวและ  การอานออกเสียงและการบอกความหมายของ

บทรอยกรองไดถูกตอ ง บทรอ ยแกวและบทรอยกรองที่ประกอบดว ย

๒. อธิบายความหมายของคำ ประโยคและ - คำทีม่ ีพยัญชนะควบกล้ำ

ขอ ความท่ีเปนการบรรยาย - คำที่มีอักษรนำ - คำทม่ี ีตัวการันต

และการพรรณนา - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน

๓. อธิบายความหมายโดยนัย จากเร่อื งท่ี - ขอ ความที่เปน การบรรยายและพรรณนา

อานอยา งหลากหลาย - ขอความที่มคี วามหมายโดยนัย

 การอา นบทรอยกรองเปน ทำนองเสนาะ

๔. แยกขอ เทจ็ จรงิ และขอ คิดเหน็ จากเร่อื ง  การอา นจับใจความจากสื่อตา งๆ เชน
ทีอ่ า น - วรรณคดใี นบทเรยี น
- บทความ
๕. วิเคราะหแ ละแสดงความคิดเห็น - บทโฆษณา
เกย่ี วกับเร่ืองทีอ่ านเพื่อนำไปใช ใน - งานเขยี นประเภทโนม นาวใจ
การดำเนินชวี ติ - ขา วและเหตุการณประจำวัน

๖. อา นงานเขยี นเชิงอธบิ าย คำส่ัง  การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสัง่ ขอ แนะนำ
ขอแนะนำ และปฏิบตั ิตาม และปฏิบัติตาม เชน

10

- การใชพจนานุกรม

- การใชวสั ดอุ ปุ กรณ

- การอา นฉลากยา

- คมู ือและเอกสารของโรงเรียนทีเ่ ก่ียวของกับ

นักเรียน

- ขา วสารทางราชการ

๗. อานหนงั สอื ทม่ี คี ุณคาตามความสนใจ  การอา นหนังสือตามความสนใจ เชน

อยา งสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น - หนังสือท่ีนักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย

เกยี่ วกบั เร่อื งทีอ่ าน - หนังสือทค่ี รูและนักเรยี นกำหนดรว มกนั

๘. มมี ารยาทในการอาน  มารยาทในการอาน

ป.๖ ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และ  การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของ

บทรอ ยกรองไดถ ูกตอ ง บทรอ ยแกว และบทรอยกรอง ประกอบดว ย

๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและ - คำที่มพี ยัญชนะควบกลำ้

ขอ ความที่เปน โวหาร - คำทมี่ อี ักษรนำ

- คำทมี่ ีตัวการันต

- คำทม่ี าจากภาษาตา งประเทศ

- อกั ษรยอและเครือ่ งหมายวรรคตอน

- วนั เดอื น ปแ บบไทย

- ขอ ความที่เปน โวหารตางๆ

- สำนวนเปรยี บเทยี บ

 การอานบทรอยกรองเปนทำนองเสนาะ

๓. อานเรอื่ งสัน้ ๆ อยางหลากหลาย โดย  การอา นจบั ใจความจากส่ือตา งๆ เชน

จับเวลาแลว ถามเกย่ี วกบั เร่ืองทอ่ี า น - เร่ืองสน้ั ๆ

๔. แยกขอเทจ็ จริงและขอคดิ เหน็ จากเร่อื ง - นิทานและเพลงพ้ืนบาน

ทอ่ี าน - บทความ

๕. อธบิ ายการนำความรูและความคดิ จาก - พระบรมราโชวาท

เรอ่ื งท่ีอา นไปตัดสินใจแกปญ หา ในการ - สารคดี - เรอื่ งส้นั

ดำเนนิ ชวี ติ - งานเขียนประเภทโนม นา ว

- บทโฆษณา

- ขา ว และเหตกุ ารณส ำคัญ

 การอา นเรว็

๖. อา นงานเขียนเชงิ อธิบาย คำส่งั  การอานงานเขยี นเชิงอธิบาย คำสง่ั ขอ แนะนำ

ขอ แนะนำ และปฏบิ ตั ิตาม และปฏบิ ตั ิตาม

- การใชพจนานกุ รม

- การปฏบิ ตั ิตนในการอยูรวมกันในสงั คม

11

๗. อธิบายความหมายของขอมลู จากการ - ขอตกลงในการอยูรวมกนั ในโรงเรยี น และการ
อานแผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ ใชส ถานทส่ี าธารณะในชมุ ชนและทอ งถน่ิ

 การอานขอมลู จากแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ และ
กราฟ

๘. อานหนังสือตามความสนใจ และอธิบาย  การอานหนงั สอื ตามความสนใจ เชน

คณุ คา ที่ไดร บั - หนังสอื ทีน่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วยั

- หนงั สืออา นท่ีครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน

๙. มมี ารยาทในการอาน  มารยาทในการอา น

ม.๑ ๑. อา นออกเสียงบทรอยแกว และ  การอา นออกเสียง ประกอบดว ย

บทรอยกรองไดถูกตอ งเหมาะสมกบั เร่อื ง - บทรอยแกว ท่เี ปน บทบรรยาย

ท่ีอาน - บทรอ ยกรอง เชน กลอนสุภาพ กลอนสักวา

กาพยย านี ๑๑ กาพยฉ บัง ๑๖ กาพยส รุ างคนางค ๒๘

และโคลงสีส่ ุภาพ

๒. จบั ใจความสำคัญจากเรื่องที่อา น  การอานจับใจความจากสื่อตา งๆ เชน

๓. ระบุเหตแุ ละผล และขอเท็จจริงกบั - เรือ่ งเลาจากประสบการณ

ขอ คิดเหน็ จากเรื่องท่ีอา น - เร่ืองสนั้ - บทสนทนา

๔. ระบแุ ละอธบิ ายคำเปรียบเทียบ และคำ - นิทานชาดก - วรรณคดใี นบทเรยี น

ทม่ี ีหลายความหมายในบริบทตางๆ จาก - งานเขยี นเชงิ สรางสรรค

การอาน - บทความ

๕. ตคี วามคำยากในเอกสารวชิ าการ โดย

พิจารณาจากบริบท

๖. ระบุขอ สังเกตและความสมเหตสุ มผล - สารคดี- บันเทิงคดี

ของงานเขยี นประเภทชักจงู โนม นา วใจ - เอกสารทางวิชาการที่มีคำ ประโยค และ

ขอความท่ตี องใชบริบทชว ยพิจารณา

ความหมาย

- งานเขยี นประเภทชกั จงู โนม นา วใจเชงิ

สรางสรรค

๗. ปฏบิ ัติตามคมู ือแนะนำวธิ ีการใชง าน  การอานและปฏิบตั ิตามเอกสารคูมือ

ของเครื่องมอื หรือเคร่ืองใชในระดบั ที่

ยากข้ึน

๘. วเิ คราะหคณุ คาที่ไดรับจากการอา นงาน  การอานหนังสือตามความสนใจ เชน

เขยี นอยางหลากหลายเพ่ือนำไปใช - หนังสือทน่ี ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั

แกป ญ หาในชวี ิต - หนงั สืออา นท่ีครูและนักเรียนกำหนดรว มกัน

๙. มีมารยาทในการอา น  มารยาทในการอา น

12

ม.๒ ๑. อานออกเสยี งบทรอยแกว และ  การอานออกเสียง ประกอบดวย

บทรอ ยกรองไดถูกตอ ง - บทรอยแกวที่เปนบทบรรยายและบทพรรณนา

- บทรอ ยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอน

นทิ าน กลอนเพลงยาว และกาพยหอ โคลง

๒. จบั ใจความสำคญั สรุปความ และ  การอา นจับใจความจากส่ือตา งๆ เชน

อธิบายรายละเอยี ดจากเรื่องท่ีอา น - วรรณคดใี นบทเรียน

๓. เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความเขาใจใน - บทความ

บทเรยี นตา งๆ ที่อาน - บันทึกเหตกุ ารณ

๔. อภิปรายแสดงความคดิ เห็น และ ขอ - บทสนทนา

โตแยงเกีย่ วกับเรื่องท่ีอา น - บทโฆษณา

๕. วเิ คราะหแ ละจำแนกขอเท็จจริง ขอ มูล - งานเขียนประเภทโนมนา วใจ

สนับสนุน และขอ คิดเหน็ จากบทความที่ - งานเขียนหรอื บทความแสดงขอเท็จจรงิ

อาน - เรื่องราวจากบทเรยี นในกลุมสาระการเรียนรู

๖. ระบุขอ สังเกตการชวนเชื่อ การ โนม ภาษาไทย และกลุม สาระการเรยี นรอู ่นื

นา ว หรือความสมเหตสุ มผลของงาน

เขียน

๗. อานหนงั สือ บทความ หรือคำประพนั ธ  การอา นตามความสนใจ เชน

อยางหลากหลาย และประเมินคณุ คา - หนงั สอื อานนอกเวลา

หรอื แนวคดิ ที่ไดจ ากการอา น เพอ่ื - หนังสอื ทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย

นำไปใชแ กป ญหาในชีวิต - หนังสืออานที่ครูและนักเรียนกำหนดรวมกัน

๘. มมี ารยาทในการอาน  มารยาทในการอา น

ม.๓ ๑. อา นออกเสยี งบทรอยแกว และ  การอานออกเสยี ง ประกอบดว ย

บทรอยกรองไดถ ูกตอ งและเหมาะสมกับ - บทรอ ยแกว ทเ่ี ปน บทความทวั่ ไปและบทความ

เร่ืองที่อาน ปกิณกะ

- บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเสภา

กาพยยานี ๑๑ กาพยฉ บัง ๑๖ และโคลงสสี่ ภุ าพ

๒. ระบคุ วามแตกตางของคำท่ีมีความหมาย  การอานจับใจความจากสื่อตา งๆ เชน

โดยตรงและความหมายโดยนัย - วรรณคดีในบทเรียน

๓. ระบุใจความสำคัญและรายละเอยี ดของ - ขาวและเหตุการณส ำคัญ

ขอ มลู ที่สนับสนนุ จากเร่อื งท่ีอาน - บทความ

๔. อานเรื่องตางๆ แลว เขยี นกรอบแนวคดิ - บนั เทงิ คดี

ผังความคิด บันทึก ยอ ความและ - สารคดี

รายงาน - สารคดีเชงิ ประวตั ิ

๕. วเิ คราะห วจิ ารณ และประเมินเร่ือง - ตำนาน

ท่อี านโดยใชกลวิธีการเปรยี บเทยี บ - งานเขียนเชงิ สรางสรรค

เพื่อใหผอู า นเขาใจไดด ขี ึ้น

13

๖. ประเมินความถูกตอ งของขอมูล - เร่ืองราวจากบทเรยี นในกลุมสาระการเรียนรู

ทใี่ ชสนบั สนุนในเร่อื งท่ีอา น ภาษาไทย และกลุม สาระการเรียนรูอน่ื

ม.๓ ๗. วิจารณความสมเหตสุ มผล การลำดบั

ความ และความเปน ไปไดข องเรอ่ื ง

๘. วเิ คราะหเ พอื่ แสดงความคิดเหน็ โตแ ยง

เกย่ี วกับเรื่องทอี่ าน

๙. ตีความและประเมินคุณคา และ  การอา นตามความสนใจ เชน

แนวคดิ ที่ไดจ ากงานเขียนอยาง - หนงั สอื อา นนอกเวลา

หลากหลายเพอ่ื นำไปใชแ กปญหา ใน - หนังสืออานตามความสนใจและตามวยั ของ

ชีวิต นักเรียน

- หนังสืออา นท่ีครแู ละนักเรียนรวมกนั กำหนด

๑๐. มีมารยาทในการอาน  มารยาทในการอาน

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก ระบวนการเขียนเขยี นสอื่ สาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรอ่ื งราวในรปู แบบ

ตา งๆ เขียนรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควาอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

ช้ัน ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัด  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบ

การเขียนตัวอักษรไทย

๒. เขยี นสอ่ื สารดว ยคำและประโยคงา ยๆ  การเขียนสื่อสาร

- คำทใ่ี ชในชวี ิตประจำวนั

- คำพ้นื ฐานในบทเรยี น

- คำคลองจอง

- ประโยคงายๆ

๓. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เชน

- เขยี นใหอานงาย สะอาด ไมขดี ฆา

- ไมข ดี เขยี นในทสี่ าธารณะ

- ใชภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และ

บคุ คล

ป.๒ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ

การเขียนตัวอักษรไทย

๒. เขยี นเรือ่ งสั้นๆ เกย่ี วกับประสบการณ  การเขียนเร่อื งส้นั ๆ เกีย่ วกับประสบการณ

๓. เขยี นเร่ืองส้นั ๆ ตามจนิ ตนาการ  การเขยี นเรอ่ื งสนั้ ๆ ตามจินตนาการ

๔. มีมารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน เชน

- เขียนใหอานงา ย สะอาด ไมขดี ฆา

14

ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

- ไมข ีดเขยี นในทส่ี าธารณะ

- ใชภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และ

บคุ คล

- ไมเขียนลอเลียนผูอ่ืนหรอื ทำใหผ อู น่ื เสียหาย

ป.๓ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ

การเขยี น ตัวอักษรไทย

๒ เขยี นบรรยายเก่ียวกับสิ่งใดสง่ิ หน่ึง ได  การเขยี นบรรยายเกี่ยวกับลกั ษณะของ คน สัตว

อยา งชดั เจน สิง่ ของ สถานท่ี

๓. เขียนบันทึกประจำวัน  การเขยี นบันทึกประจำวัน

๔. เขียนจดหมายลาครู  การเขยี นจดหมายลาครู

๕. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ  การเขยี นเรอื่ งตามจินตนาการจากคำ ภาพ และ

หวั ขอทก่ี ำหนด

๖. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น เชน

- เขียนใหอ านงา ย สะอาด ไมขีดฆา

- ไมขดี เขียนในที่สาธารณะ

- ใชภาษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และ

บุคคล

- ไมเ ขยี นลอเลียนผูอื่นหรือทำใหผูอ่ืนเสยี หาย

ป.๔ ๑. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึ่ง  การคดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครง่ึ บรรทัด

บรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

๒. เขียนสือ่ สารโดยใชค ำไดถูกตอ งชดั เจน  การเขยี นส่อื สาร เชน

และเหมาะสม - คำขวัญ

- คำแนะนำ

๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  การนำแผนภาพโครงเร่อื งและแผนภาพความคิด

ความคิดเพ่อื ใชพ ัฒนางานเขยี น ไปพัฒนางานเขียน

๔. เขยี นยอ ความจากเรือ่ งสั้นๆ  การเขยี นยอความจากส่ือตา งๆ เชน นิทาน
ความเรยี งประเภทตา งๆ ประกาศ จดหมาย
๕. เขยี นจดหมายถึงเพื่อนและบดิ ามารดา คำสอน
๖. เขยี นบันทกึ และเขียนรายงานจาก
 การเขียนจดหมายถงึ เพ่ือนและบิดามารดา
การศึกษาคนควา
การเขียนบนั ทึกและเขยี นรายงานจากการศึกษา
คนควา

๗. เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ
๘. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขยี น

15

ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๕ ๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด และ  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ

คร่งึ บรรทัด ครงึ่ บรรทัดตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย

๒. เขียนสือ่ สารโดยใชคำไดถูกตอ งชัดเจน  การเขยี นสื่อสาร เชน

และเหมาะสม - คำขวัญ

- คำอวยพร

- คำแนะนำและคำอธิบายแสดงขั้นตอน

๓. เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  การนำแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด

ความคดิ เพอ่ื ใชพ ฒั นางานเขียน ไปพฒั นางานเขยี น

๔. เขยี นยอความจากเรื่องที่อาน  การเขยี นยอ ความจากส่ือตา งๆ เชน นทิ าน

ความเรียงประเภทตา งๆ ประกาศ แจงความ

แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย

๕. เขียนจดหมายถึงผปู กครองและญาติ  การเขยี นจดหมายถึงผปู กครองและญาติ

๖. เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นได  การเขียนแสดงความรูส ึกและความคิดเห็น

ตรงตามเจตนา

๗. กรอกแบบรายการตา งๆ  การกรอกแบบรายการ

- ใบฝากเงนิ และใบถอนเงนิ

- ธนาณตั ิ

- แบบฝากสงพสั ดุไปรษณียภณั ฑ

๘. เขยี นเร่ืองตามจินตนาการ  การเขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการ

๙. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น

ป.๖ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั และ  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั และ

คร่งึ บรรทดั คร่งึ บรรทดั ตามรูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทย

๒. เขยี นสื่อสารโดยใชคำไดถูกตองชัดเจน  การเขยี นสือ่ สาร เชน

และเหมาะสม - คำขวญั

- คำอวยพร

- ประกาศ

๓. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ  การเขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพ

ความคดิ เพ่ือใชพ ัฒนางานเขียน ความคดิ

๔. เขียนเรยี งความ  การเขยี นเรียงความ

๕. เขียนยอความจากเรอื่ งท่ีอาน  การเขียนยอความจากส่ือตางๆ เชน นิทาน

ความเรียงประเภทตางๆ ประกาศ แจงความ

แถลงการณ จดหมาย คำสอน โอวาท

คำปราศรัย สุนทรพจน รายงาน ระเบยี บ คำสงั่

๖. เขยี นจดหมายสวนตวั  การเขียนจดหมายสวนตวั

- จดหมายขอโทษ

16

ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

- จดหมายแสดงความเหน็ ใจ

- จดหมายแสดงความยินดี

๗. กรอกแบบรายการตางๆ  การกรอกแบบรายการ

- แบบคำรอ งตางๆ

- ใบสมัครศกึ ษาตอ

- แบบฝากสง พสั ดแุ ละไปรษณียภัณฑ

๘. เขยี นเรือ่ งตามจนิ ตนาการและ  การเขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการและสรา งสรรค

สรา งสรรค

๙. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน

ม.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทดั  การคัดลายมือตวั บรรจงครงึ่ บรรทดั ตามรปู แบบ

การเขียนตวั อักษรไทย

๒. เขียนสือ่ สารโดยใชถ อยคำถูกตองชดั เจน  การเขยี นส่อื สาร เชน

เหมาะสม และสละสลวย - การเขยี นแนะนำตนเอง

- การเขียนแนะนำสถานที่สำคญั ๆ

- การเขียนบนส่อื อเิ ล็กทรอนิกส

๓. เขียนบรรยายประสบการณโ ดยระบุ  การบรรยายประสบการณ

สาระสำคัญและรายละเอียดสนบั สนนุ

๔. เขียนเรยี งความ  การเขยี นเรียงความเชงิ พรรณนา

๕. เขยี นยอ ความจากเร่ืองท่ีอาน  การเขยี นยอ ความจากส่ือตางๆ เชน เรือ่ งสน้ั

คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน รายงาน

ระเบียบ คำสั่ง บทสนทนาเรื่องเลาประสบการณ

๖. เขียนแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั สาระ  การเขยี นแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับสาระจาก

จากสอื่ ท่ีไดรับ สอ่ื ตา งๆ เชน

- บทความ

- หนังสอื อา นนอกเวลา

- ขา วและเหตกุ ารณป ระจำวัน

- เหตุการณส ำคญั ตางๆ

๗. เขียนจดหมายสวนตัวและจดหมาย  การเขียนจดหมายสว นตัว

กิจธุระ - จดหมายขอความชว ยเหลอื

- จดหมายแนะนำ

 การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ

- จดหมายสอบถามขอมลู

๘. เขียนรายงานการศึกษาคนควา และ  การเขียนรายงาน ไดแ ก

โครงงาน - การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา

17

ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๙. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น

ม.๒ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทัดตามรูปแบบ

การเขยี น ตวั อักษรไทย

๒. เขยี นบรรยายและพรรณนา  การเขียนบรรยายและพรรณนา

๓. เขียนเรยี งความ  การเขียนเรียงความเกีย่ วกบั ประสบการณ

๔. เขียนยอ ความ  การเขียนยอ ความจากส่ือตางๆ เชน นิทาน

คำสอน บทความทางวิชาการ บันทึกเหตกุ ารณ

เรือ่ งราวในบทเรยี นในกลมุ สาระการเรยี นรูอนื่

นิทานชาดก

๕. เขียนรายงานการศึกษาคน ควา  การเขียนรายงาน

- การเขียนรายงานจากการศึกษาคน ควา

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๖. เขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ  การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ

- จดหมายเชญิ วทิ ยากร

- จดหมายขอความอนุเคราะห

๗. เขียนวเิ คราะห วจิ ารณ และแสดง  การเขยี นวเิ คราะห วจิ ารณ และแสดงความรู

ความรู ความคิดเหน็ หรือโตแยง ความคดิ เหน็ หรอื โตแ ยง จากส่ือตา งๆ เชน

ในเรื่องท่ีอา นอยางมีเหตุผล - บทความ

- บทเพลง

- หนังสืออานนอกเวลา

- สารคดี

- บันเทิงคดี

๘. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน

ม.๓ ๑. คดั ลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทดั  การคัดลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบ

การเขยี นตัวอักษรไทย

๒. เขียนขอ ความโดยใชถอยคำไดถูกตอง  การเขียนขอความตามสถานการณแ ละโอกาส

ตามระดบั ภาษา ตา งๆ เชน

- คำอวยพรในโอกาสตางๆ

- คำขวญั - คำคม

- โฆษณา

- คติพจน

- สุนทรพจน

18

ช้ัน ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง

๓. เขียนชีวประวตั หิ รืออตั ชวี ประวัตโิ ดยเลา  การเขียนอตั ชีวประวัติหรือชีวประวัติ

เหตุการณ ขอคิดเห็น และทศั นคตใิ น

เรื่องตา งๆ

๔. เขยี นยอ ความ  การเขยี นยอความจากส่ือตา งๆ เชน นิทาน

ประวตั ิ ตำนาน สารคดที างวิชาการ พระราชดำรสั

พระบรมราโชวาท จดหมายราชการ

๕. เขยี นจดหมายกจิ ธุระ  การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ

- จดหมายเชญิ วิทยากร

- จดหมายขอความอนเุ คราะห

- จดหมายแสดงความขอบคุณ

๖. เขยี นอธบิ าย ชแี้ จง แสดงความคิดเห็น  การเขียนอธิบาย ชีแ้ จง แสดงความคิดเห็น และ

และโตแ ยงอยางมีเหตผุ ล โตแยงในเร่อื งตางๆ

๗. เขยี นวเิ คราะห วจิ ารณ และแสดง  การเขยี นวเิ คราะห วจิ ารณ และแสดงความรู

ความรู ความคิดเห็น หรือโตแยง ความคดิ เหน็ หรือโตแ ยงจากสื่อตางๆ เชน

ในเร่อื งตา งๆ - บทโฆษณา

- บทความทางวิชาการ

๘. กรอกแบบสมัครงานพรอมเขยี น  การกรอกแบบสมัครงาน

บรรยายเกย่ี วกบั ความรูและทักษะ

ของตนเองที่เหมาะสมกบั งาน

๙. เขียนรายงานการศึกษาคน ควา และ  การเขยี นรายงาน ไดแก

โครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคน ควา

- การเขยี นรายงานโครงงาน

๑๐. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน

19

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟง และดูอยา งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคดิ และความรสู กึ
ในโอกาสตา งๆ อยางมีวิจารณญาณและสรา งสรรค

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. ฟง คำแนะนำ คำส่ังงา ยๆ และปฏิบตั ิตาม  การฟง และปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ คำสั่งงา ยๆ

๒. ตอบคำถามและเลาเร่ืองท่ีฟงและดู ท้ัง  การจับใจความและพดู แสดงความคิดเห็น

ทเ่ี ปน ความรแู ละความบนั เทิง ความรูสกึ จากเรื่องท่ีฟงและดู ทั้งท่เี ปน ความรู

๓. พูดแสดงความคิดเหน็ และความรูส กึ จาก และความบนั เทิง เชน

เรอ่ื งท่ีฟง และดู - เร่อื งเลาและสารคดีสำหรบั เดก็

- นิทาน

- การตูน

- เรื่องขบขัน

๔. พูดสือ่ สารไดตามวัตถุประสงค  การพดู สื่อสารในชวี ิตประจำวัน เชน

- การแนะนำตนเอง

- การขอความชว ยเหลอื

- การกลา วคำขอบคุณ

- การกลาวคำขอโทษ

๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด  มารยาทในการฟง เชน

- ตงั้ ใจฟง ตามองผูพูด

- ไมร บกวนผอู ืน่ ขณะท่ีฟง

- ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทาน

ขณะท่ฟี ง

- ใหเกยี รตผิ พู ดู ดวยการปรบมอื

- ไมพดู สอดแทรกขณะทฟ่ี ง

 มารยาทในการดู เชน

- ตั้งใจดู

- ไมส ง เสียงดังหรอื แสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง

ผอู ื่น

 มารยาทในการพูด เชน

- ใชถอยคำและกิริยาท่สี ภุ าพ เหมาะสมกบั

กาลเทศะ

- ใชน ำ้ เสยี งนุมนวล

- ไมพ ดู สอดแทรกในขณะที่ผูอน่ื กำลังพูด

20

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.๒ ๑. ฟงคำแนะนำ คำสงั่ ท่ีซับซอน และ  การฟง และปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งท่ีซบั ซอ น

ปฏบิ ัติตาม

๒. เลาเรอื่ งท่ฟี งและดูท้ังที่เปนความรูและ  การจบั ใจความและพูดแสดงความคิดเห็น

ความบันเทงิ ความรสู กึ จากเรื่องท่ีฟง และดู ทงั้ ทเ่ี ปน ความรู

๓. บอกสาระสำคัญของเรือ่ งที่ฟงและดู และความบันเทิง เชน

๔. ตัง้ คำถามและตอบคำถามเก่ียวกบั เรื่อง - เรอ่ื งเลาและสารคดีสำหรับเดก็

ทฟี่ งและดู - นทิ าน การต นู และเร่ืองขบขัน

๕. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูสกึ จาก - รายการสำหรับเด็ก

เร่ืองที่ฟงและดู - ขา วและเหตุการณป ระจำวัน

- เพลง

๖. พูดส่อื สารไดช ดั เจนตรงตาม  การพดู สอื่ สารในชีวติ ประจำวัน เชน

วตั ถปุ ระสงค - การแนะนำตนเอง

- การขอความชวยเหลือ

- การกลา วคำขอบคุณ

- การกลาวคำขอโทษ

- การพดู ขอรองในโอกาสตา งๆ

- การเลาประสบการณในชีวิตประจำวนั

๗. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง เชน

- ตงั้ ใจฟง ตามองผูพดู

- ไมรบกวนผอู ่ืนขณะท่ฟี ง

- ไมควรนำอาหารหรือเครื่องดม่ื ไปรบั ประทาน

ขณะที่ฟง

- ไมพ ูดสอดแทรกขณะทีฟ่ ง

 มารยาทในการดู เชน

- ต้งั ใจดู

- ไมส งเสยี งดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง

ผูอ่นื

 มารยาทในการพูด เชน

- ใชถ อยคำและกิริยาทสี่ ภุ าพ เหมาะสมกับ

กาลเทศะ

- ใชนำ้ เสยี งนุมนวล

- ไมพ ดู สอดแทรกในขณะทผ่ี ูอืน่ กำลงั พูด

- ไมพดู ลอเลยี นใหผ อู น่ื ไดรับความอบั อายหรือ

เสยี หาย

21

ช้นั ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง

ป.๓ ๑. เลา รายละเอียดเกีย่ วกบั เร่ืองที่ฟง และดู  การจับใจความและพดู แสดงความคิดเหน็ และ

ทั้งท่ีเปน ความรูและความบันเทิง ความรสู กึ จากเร่ืองท่ีฟงและดูท้งั ที่เปนความรูแ ละ

๒. บอกสาระสำคัญจากการฟงและการดู ความบันเทิง เชน

๓. ตั้งคำถามและตอบคำถามเก่ยี วกบั เร่ือง - เร่อื งเลา และสารคดสี ำหรับเดก็

ทีฟ่ ง และดู - นิทาน การตูน เร่อื งขบขัน

๔. พดู แสดงความคิดเห็นและความรูส กึ จาก - รายการสำหรบั เด็ก

เรอื่ งที่ฟง และดู - ขา วและเหตกุ ารณใ นชีวิตประจำวนั

- เพลง

๕. พดู สือ่ สารไดชดั เจนตรงตาม  การพดู ส่อื สารในชวี ิตประจำวนั เชน

วัตถุประสงค - การแนะนำตนเอง

- การแนะนำสถานท่ใี นโรงเรียนและในชุมชน

- การแนะนำ/เชญิ ชวนเกยี่ วกับการปฏิบัติตนใน

ดา นตางๆ เชน การรักษาความสะอาดของ

รา งกาย

- การเลาประสบการณในชีวติ ประจำวัน

- การพูดในโอกาสตา งๆ เชน การพดู ขอรอง การ

พูดทักทาย การกลา วขอบคุณและขอโทษ

การพูดปฏเิ สธ และการพดู ชักถาม

๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง เชน

- ตัง้ ใจฟง ตามองผูพูด

- ไมรบกวนผูอื่นขณะทฟ่ี ง

- ไมควรนำอาหารหรือเครื่องด่มื ไปรบั ประทาน

ขณะทฟี่ ง

- ไมแ สดงกิรยิ าท่ีไมเ หมาะสม เชน โห ฮา หาว

- ใหเ กียรตผิ พู ูดดวยการปรบมือ

- ไมพดู สอดแทรกขณะที่ฟง

 มารยาทในการดู เชน

- ตงั้ ใจดู

- ไมส ง เสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ อง

ผอู นื่

 มารยาทในการพูด เชน

- ใชถอยคำและกริ ิยาท่ีสภุ าพ เหมาะสมกบั

กาลเทศะ

- ใชน้ำเสยี งนุมนวล

- ไมพูดสอดแทรกในขณะท่ีผูอ่นื กำลังพดู

22

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

- ไมพ ูดลอเลยี นใหผูอ่ืนไดรับความอบั อายหรอื

เสียหาย

ป.๔ ๑. จำแนกขอ เท็จจริงและขอคิดเหน็ จาก  การจำแนกขอเทจ็ จริงและขอคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ี

เร่ืองที่ฟงและดู ฟง และดู ในชวี ติ ประจำวัน

๒. พดู สรุปความจากการฟงและดู  การจบั ใจความ และการพดู แสดงความรู

๓. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น ความคดิ ในเรื่องที่ฟงและดู จากสอ่ื ตา งๆ เชน

และความรสู ึกเก่ยี วกับเรือ่ งที่ฟงและดู - เรอ่ื งเลา

๔. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผล - บทความส้ันๆ

จากเรอ่ื งท่ฟี ง และดู - ขาวและเหตกุ ารณประจำวัน

- โฆษณา

- สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส

- เรอ่ื งราวจากบทเรยี นกลมุ สาระการเรียนรู

ภาษาไทย และกลมุ สาระการเรยี นรูอน่ื

๕. รายงานเรื่องหรอื ประเด็นท่ศี กึ ษา  การรายงาน เชน

คนควาจากการฟง การดู และการ - การพูดลำดับขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน

สนทนา - การพูดลำดบั เหตุการณ

๖. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง การดู และการพูด

ป.๕ ๑. พดู แสดงความรู ความคดิ เห็น และ  การจับใจความ และการพดู แสดงความรู

ความรูส ึกจากเร่ืองท่ีฟงและดู ความคิดในเรื่องท่ีฟงและดู จากส่อื ตางๆ เชน

๒. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล - เรอ่ื งเลา

จากเร่ืองทีฟ่ งและดู - บทความ

๓. วิเคราะหค วามนาเชอ่ื ถือจากเรอ่ื ง ท่ี - ขา วและเหตกุ ารณป ระจำวัน

ฟงและดอู ยางมเี หตผุ ล - โฆษณา

- ส่อื สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส

 การวิเคราะหค วามนาเช่ือถือจากเร่อื งที่ฟงและดู

ในชวี ิตประจำวัน

๔. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษา  การรายงาน เชน

คนควา จากการฟง การดู และการ - การพดู ลำดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน

สนทนา - การพดู ลำดับเหตุการณ

๕. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด  มารยาทในการฟง การดู และการพดู

ป.๖ ๑. พูดแสดงความรู ความเขา ใจ  การพูดแสดงความรู ความเขา ใจในจุดประสงค

จดุ ประสงคข องเร่ืองที่ฟงและดู ของเร่ืองที่ฟง และดูจากสอื่ ตา งๆ ไดแก

๒. ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ล - สือ่ สงิ่ พมิ พ

จากเรือ่ งท่ีฟงและดู - สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส

23

ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

๓. วเิ คราะหค วามนา เชื่อถือจากการฟงและ  การวิเคราะหค วามนาเช่ือถือจากการฟงและดู

ดูส่อื โฆษณาอยา งมีเหตผุ ล สือ่ โฆษณา

๔. พดู รายงานเรอื่ งหรือประเดน็ ที่ศึกษา  การรายงาน เชน
คน ควาจากการฟง การดู และการ - การพูดลำดับข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน
สนทนา - การพดู ลำดบั เหตุการณ

๕. พดู โนม นาวอยางมีเหตผุ ล และ  การพดู โนม นา วในสถานการณต า งๆ เชน
นาเชอื่ ถือ - การเลอื กตัง้ กรรมการนกั เรยี น

- การรณรงคด า นตางๆ
- การโตวาที

๖. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง การดู และการพูด

ม.๑ ๑. พูดสรุปใจความสำคัญของเรื่องท่ีฟง และ  การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู ความคิด

ดู อยา งสรางสรรคจ ากเรอ่ื งทีฟ่ งและดู

๒. เลา เรอ่ื งยอจากเรื่องท่ีฟง และดู  การพูดประเมนิ ความนาเชือ่ ถือของส่ือท่ีมี

๓. พดู แสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรค เนอ้ื หาโนม นา ว
เก่ียวกับเร่อื งทีฟ่ งและดู

๔. ประเมินความนา เชอ่ื ถือของส่ือ

ทมี่ เี น้ือหาโนม นาวใจ

๕. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทศี่ กึ ษา  การพูดรายงานการศึกษาคนควาจากแหลง

คน ควาจากการฟง การดู และการ เรียนรตู างๆ ในชมุ ชน และทองถน่ิ ของตน
สนทนา

๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพดู  มารยาทในการฟง การดู และการพดู

ม.๒ ๑. พดู สรปุ ใจความสำคญั ของเรื่องที่ฟง และ  การพดู สรุปความจากเร่อื งทีฟ่ ง และดู

ดู

๒. วเิ คราะหข อเทจ็ จรงิ ขอ คิดเหน็ และ  การพดู วเิ คราะหแ ละวิจารณจากเรื่องท่ีฟงและดู

ความนาเชือ่ ถือของขา วสารจากส่อื ตา งๆ
๓. วิเคราะหแ ละวิจารณเ ร่อื งทฟ่ี ง และดู

อยางมีเหตุผลเพือ่ นำขอ คดิ มา

ประยุกตใ ชใ นการดำเนินชวี ิต

๔. พูดในโอกาสตา งๆ ไดต รงตาม  การพูดในโอกาสตา งๆ เชน
วตั ถปุ ระสงค - การพดู อวยพร
- การพดู โนม นา ว

- การพูดโฆษณา

๕. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นทศ่ี ึกษา  การพูดรายงานการศึกษาคนควา จากแหลง

คน ควา เรียนรูต า งๆ

๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด  มารยาทในการฟง การดู และการพดู

24

ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

ม.๓ ๑. แสดงความคดิ เห็นและประเมนิ เรื่องจาก  การพดู แสดงความคดิ เห็น และประเมนิ เร่อื ง

การฟง และการดู จากการฟงและการดู

๒. วเิ คราะหแ ละวิจารณเ รื่องท่ีฟง และดู  การพดู วเิ คราะหว ิจารณจ ากเร่อื งท่ีฟงและดู

เพอื่ นำขอคดิ มาประยุกตใชใ นการ

ดำเนินชวี ิต

๓. พูดรายงานเรอ่ื งหรือประเด็นท่ีศึกษา  การพดู รายงานการศึกษาคนควาเก่ียวกบั
คนควา จากการฟง การดู และการ ภูมิปญ ญาทองถน่ิ
สนทนา
 การพูดในโอกาสตา งๆ เชน
๔. พูดในโอกาสตา งๆ ไดต รงตาม - การพดู โตว าที
วตั ถุประสงค - การอภปิ ราย
- การพูดยอวาที
๕. พดู โนม นา วโดยนำเสนอหลกั ฐาน
ตามลำดบั เนอ้ื หาอยางมเี หตุผลและ  การพูดโนมนาว
นา เชือ่ ถือ
 มารยาทในการฟง การดู และการพดู
๖. มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระท่ี ๔ หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภมู ปิ ญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ิของชาติ

ช้นั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต  พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต

และเลขไทย  เลขไทย

๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย ของ  การสะกดคำ การแจกลกู และการอา นเปนคำ

คำ  มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต รงตาม

มาตรา

 การผนั คำ

 ความหมายของคำ

๓. เรียบเรียงคำเปน ประโยคงาย ๆ  การแตง ประโยค

๔. ตอ คำคลองจองงายๆ  คำคลองจอง

ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต  พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต

และเลขไทย  เลขไทย

25

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแ กนกลาง

๒. เขยี นสะกดคำและบอกความหมาย ของ  การสะกดคำ การแจกลกู และการอานเปนคำ

คำ  มาตราตวั สะกดท่ีตรงตามมาตราและไมต รงตาม

มาตรา

 การผนั อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตำ่

 คำท่ีมตี ัวการนั ต

 คำทีม่ พี ยัญชนะควบกล้ำ

 คำที่มีอักษรนำ

 คำทม่ี คี วามหมายตรงขามกนั

 คำที่มี รร

 ความหมายของคำ

๓. เรยี บเรยี งคำเปนประโยคไดต รงตาม  การแตง ประโยค

เจตนาของการสือ่ สาร  การเรียบเรยี งประโยคเปน ขอ ความส้นั ๆ

๔. บอกลักษณะคำคลอ งจอง  คำคลอ งจอง

๕. เลือกใชภ าษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถ่ินไดเหมาะสมกับกาลเทศะ  ภาษาถิ่น

ป.๓ ๑. เขยี นสะกดคำและบอกความหมา  การสะกดคำ การแจกลูก และการอานเปนคำ

ของคำ  มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมต รงตาม

มาตรา

 การผนั อักษรกลาง อักษรสูง และอักษรตำ่

 คำทมี่ ีพยัญชนะควบกลำ้

 คำทม่ี ีอักษรนำ

 คำท่ีประวิสรรชนยี แ ละคำทไ่ี มประวิสรรชนีย

 คำท่ีมี ฤ 

 คำทใ่ี ช บัน บรร

 คำทใ่ี ช รร

 คำท่มี ตี วั การนั ต

 ความหมายของคำ

๓. ระบุชนิดและหนา ทข่ี องคำในประโยค  ชนดิ ของคำ ไดแ ก

- คำนาม

- คำสรรพนาม

- คำกริยา

๔. ใชพ จนานกุ รมคนหาความหมายของคำ  การใชพ จนานุกรม

๕. แตงประโยคงา ยๆ  การแตง ประโยคเพ่ือการสอ่ื สาร ไดแก

- ประโยคบอกเลา

- ประโยคปฏเิ สธ

26

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง
๖. แตงคำคลอ งจองและคำขวัญ
- ประโยคคำถาม
- ประโยคขอรอง
- ประโยคคำส่ัง
 คำคลอ งจอง
 คำขวญั

๗. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถ่นิ ไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ  ภาษาถ่ิน

ป.๔ ๑. สะกดคำและบอกความหมายของคำใน  คำในแม ก กา

บรบิ ทตา งๆ  มาตราตัวสะกด

 การผนั อกั ษร

 คำเปนคำตาย

 คำพอง

๒. ระบชุ นิดและหนาท่ีของคำในประโยค  ชนิดของคำ ไดแก

- คำนาม

- คำสรรพนาม

- คำกริยา

- คำวเิ ศษณ

๓ ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคำ  การใชพจนานกุ รม

๔. แตงประโยคไดถกู ตองตามหลักภาษา  ประโยคสามัญ

- สว นประกอบของประโยค

- ประโยค ๒ สวน

- ประโยค ๓ สว น

๕. แตงบทรอยกรองและคำขวัญ  กลอนสี่

 คำขวัญ

๖. บอกความหมายของสำนวน  สำนวนท่เี ปน คำพังเพยและสุภาษติ

๗. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับ  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถน่ิ ได  ภาษาถ่ิน

ป.๕ ๑. ระบชุ นิดและหนา ที่ของคำในประโยค  ชนิดของคำ ไดแ ก

- คำบุพบท

- คำสนั ธาน

- คำอทุ าน

๒. จำแนกสว นประกอบของประโยค  ประโยคและสว นประกอบของประโยค

๓. เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ  ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาถน่ิ  ภาษาถนิ่

27

ชนั้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง

๔. ใชค ำราชาศพั ท  คำราชาศพั ท

๕. บอกคำภาษาตา งประเทศในภาษาไทย  คำทมี่ าจากภาษาตางประเทศ

๖. แตงบทรอยกรอง  กาพยย านี ๑๑

๗. ใชส ำนวนไดถ ูกตอ ง  สำนวนท่ีเปนคำพังเพยและสภุ าษิต

ป.๖ ๑. วิเคราะหชนิดและหนา ที่ของคำใน  ชนดิ ของคำ
ประโยค - คำนาม
- คำสรรพนาม

- คำกรยิ า
- คำวิเศษณ
- คำบุพบท

- คำเช่ือม
- คำอทุ าน

๒. ใชค ำไดเ หมาะสมกับกาลเทศะและ  คำราชาศพั ท
บุคคล  ระดบั ภาษา

 ภาษาถิน่

๓. รวบรวมและบอกความหมายของ  คำทีม่ าจากภาษาตา งประเทศ

คำภาษาตางประเทศท่ีใชใ นภาษาไทย

๔. ระบุลกั ษณะของประโยค  กลุมคำหรือวลี

 ประโยคสามญั

 ประโยครวม
 ประโยคซอ น

๕. แตง บทรอ ยกรอง  กลอนสุภาพ

๖. วิเคราะหและเปรยี บเทียบสำนวนท่ีเปน  สำนวนทเี่ ปน คำพังเพย และสุภาษิต

คำพงั เพย และสุภาษติ

ม.๑ ๑. อธิบายลกั ษณะของเสยี งในภาษาไทย  เสยี งในภาษาไทย

๒. สรางคำในภาษาไทย การสรางคำ

- คำประสม คำซำ้ คำซอน

- คำพอ ง

๓. วเิ คราะหช นดิ และหนา ท่ขี องคำใน  ชนดิ และหนา ทข่ี องคำ
ประโยค

๔. วิเคราะหค วามแตกตา งของภาษาพูด  ภาษาพดู

และภาษาเขยี น  ภาษาเขยี น

๕. แตงบทรอยกรอง  กาพยยานี ๑๑

28

ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง

๖. จำแนกและใชสำนวนทเ่ี ปนคำพังเพย  สำนวนท่ีเปนคำพังเพยและสุภาษติ

และสุภาษิต

ม.๒ ๑. สรางคำในภาษาไทย  การสรา งคำสมาส

๒. วิเคราะหโครงสรางประโยคสามัญ  ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย

ประโยครวม และประโยคซอน - ประโยคสามญั

- ประโยครวม

- ประโยคซอ น

๓. แตง บทรอ ยกรอง  กลอนสภุ าพ

๔. ใชค ำราชาศพั ท  คำราชาศพั ท

๕. รวบรวมและอธบิ ายความหมายของ  คำท่มี าจากภาษาตา งประเทศ

คำภาษาตางประเทศทใี่ ชในภาษาไทย

ม.๓ ๑. จำแนกและใชค ำภาษาตางประเทศท่ีใช  คำที่มาจากภาษาตางประเทศ

ในภาษาไทย

๒. วเิ คราะหโครงสรางประโยคซับซอ น  ประโยคซบั ซอ น

๓. วเิ คราะหระดบั ภาษา  ระดบั ภาษา

๔. ใชค ำทับศัพทและศัพทบ ัญญตั ิ  คำทบั ศัพท

 คำศพั ทบ ญั ญัติ

๕. อธิบายความหมายคำศัพททางวชิ าการ  คำศัพททางวิชาการและวิชาชพี

และวิชาชีพ

๖. แตงบทรอ ยกรอง  โคลงส่สี ุภาพ

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา งเหน็ คุณคา
และนำมาประยกุ ตใ ชใ นชวี ิตจริง

ชัน้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง

ป.๑ ๑. บอกขอคดิ ท่ีไดจากการอานหรอื การฟง  วรรณกรรมรอยแกวและรอ ยกรองสำหรบั เดก็

วรรณกรรมรอ ยแกว และรอยกรอง เชน

สำหรบั เดก็ - นิทาน

- เรื่องสั้นงายๆ

- ปรศิ นาคำทาย

- บทรอ งเลน

- บทอาขยาน

- บทรอยกรอง

- วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน

29

ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง

๒. ทอ งจำบทอาขยานตามที่กำหนด และ  บทอาขยานและบทรอยกรอง

บทรอ ยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด

- บทรอยกรองตามความสนใจ

ป.๒ ๑. ระบุขอคดิ ทีไ่ ดจ ากการอา นหรอื การฟง  วรรณกรรมรอยแกว และรอยกรองสำหรบั เดก็

วรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อนำไปใชใ น เชน

ชีวติ ประจำวัน - นิทาน

- เรอื่ งสนั้ งา ยๆ

- ปรศิ นาคำทาย

- บทอาขยาน

- บทรอยกรอง

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น

๒. รอ งบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถิน่  บทรองเลน ทมี่ ีคณุ คา

- บทรองเลน ในทอ งถิ่น

- บทรอ งเลนในการละเลน ของเด็กไทย

๓. ทอ งจำบทอาขยานตามที่กำหนด และ  บทอาขยานและบทรอยกรองทีม่ ีคณุ คา

บทรอ ยกรองที่มคี ุณคา ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด

- บทรอ ยกรองตามความสนใจ

ป.๓ ๑. ระบุขอคิดท่ีไดจ ากการอา นวรรณกรรม  วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพืน้ บาน

เพอ่ื นำไปใชใ นชีวิตประจำวนั - นทิ านหรอื เรือ่ งในทองถ่นิ

๒. รูจกั เพลงพ้ืนบานและเพลงกลอมเด็ก - เรอ่ื งสั้นงายๆ ปริศนาคำทาย

เพ่ือปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิน่ - บทรอยกรอง

๓. แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั วรรณคดี ที่ - เพลงพนื้ บา น

อา น - เพลงกลอ มเด็ก

- วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและ ตาม

ความสนใจ

๔. ทอ งจำบทอาขยานตามทก่ี ำหนดและ  บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคณุ คา

บทรอ ยกรองท่มี ีคุณคาตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด

- บทรอยกรองตามความสนใจ

ป.๔ ๑. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบานหรอื นทิ าน  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน

คตธิ รรม - นทิ านพนื้ บา น

๒. อธิบายขอคดิ จากการอา นเพอ่ื นำไปใช - นิทานคตธิ รรม

ในชวี ิตจรงิ - เพลงพน้ื บาน

- วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตาม

ความสนใจ

๓. รองเพลงพน้ื บาน  เพลงพ้นื บาน

30

ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง

๔. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และ  บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา

บทรอยกรองที่มคี ุณคาตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด

- บทรอยกรองตามความสนใจ

ป.๕ ๑. สรปุ เรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน

อา น - นิทานพ้ืนบา น

๒. ระบคุ วามรแู ละขอคิดจากการอาน - นทิ านคตธิ รรม

วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่สามารถ - เพลงพื้นบาน

นำไปใชใ นชวี ติ จริง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียนและตาม

๓. อธบิ ายคณุ คา ของวรรณคดีและ ความสนใจ

วรรณกรรม

๔. ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและ  บทอาขยานและบทรอยกรองทม่ี ีคุณคา

บทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด

- บทรอยกรองตามความสนใจ

ป.๖ ๑. แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดี หรอื  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน

วรรณกรรมที่อา น - นิทานพืน้ บา นทองถน่ิ ตนเองและทองถ่นิ อน่ื

๒. เลา นิทานพื้นบานทองถน่ิ ตนเอง และ - นทิ านคตธิ รรม

นิทานพน้ื บานของทอ งถิน่ อื่น - เพลงพื้นบาน

๓. อธิบายคุณคา ของวรรณคดี และ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม

วรรณกรรมท่ีอา นและนำไป ประยกุ ตใ ช ความสนใจ

ในชีวติ จรงิ

๔. ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด และ  บทอาขยานและบทรอยกรองทม่ี ีคณุ คา

บทรอยกรองที่มีคุณคา ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด

- บทรอยกรองตามความสนใจ

ม.๑ ๑. สรุปเนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ี  วรรณคดีและวรรณกรรมเก่ียวกับ

อา น - ศาสนา

- ประเพณี

- พิธกี รรม

- สภุ าษติ คำสอน

- เหตกุ ารณป ระวัติศาสตร

- บนั เทิงคดี

- บนั ทึกการเดินทาง

- วรรณกรรมทองถ่ิน

๒. วิเคราะหว รรณคดแี ละวรรณกรรม ท่ี  การวิเคราะหค ุณคาและขอคิดจากวรรณคดีและ

อานพรอมยกเหตผุ ลประกอบ วรรณกรรม

31

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

๓. อธิบายคุณคา ของวรรณคดีและ

วรรณกรรมที่อาน

๔. สรุปความรแู ละขอ คิดจากการอานเพื่อ

ประยุกตใ ชใ นชีวิตจริง

๕. ทอ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบท  บทอาขยานและบทรอยกรองทมี่ ีคณุ คา

รอยกรองทม่ี ีคุณคา ตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด

- บทรอ ยกรองตามความสนใจ

ม.๒ ๑. สรุปเนอื้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ี  วรรณคดแี ละวรรณกรรมเก่ียวกบั

อา นในระดบั ทยี่ ากขึ้น - ศาสนา

- ประเพณี

- พธิ ีกรรม

- สุภาษติ คำสอน

- เหตกุ ารณป ระวัติศาสตร

- บันเทิงคดี

- บันทึกการเดินทาง

๒. วิเคราะหแ ละวจิ ารณว รรณคดี  การวิเคราะหคุณคา และขอคิดจากวรรณคดี

วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิน่ ที่ วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถน่ิ

อา น พรอมยกเหตุผลประกอบ

๓. อธบิ ายคณุ คาของวรรณคดแี ละ

วรรณกรรมท่ีอา น

๔. สรุปความรแู ละขอคดิ จากการอา น ไป

ประยกุ ตใชใ นชวี ติ จริง

๕. ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ  บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา

บทรอยกรองท่มี คี ุณคาตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กำหนด

- บทรอ ยกรองตามความสนใจ

ม.๓ ๑. สรุปเนอื้ หาวรรณคดี วรรณกรรมและ  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิน่

วรรณกรรมทอ งถ่นิ ในระดบั ทย่ี ากยิ่งขึ้น เกี่ยวกบั

- ศาสนา

- ประเพณี

- พิธกี รรม

- สภุ าษิตคำสอน

- เหตุการณในประวัตศิ าสตร

- บันเทงิ คดี

32

ชนั้ ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง

๒. วเิ คราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดี  การวิเคราะหวิถีไทย และคณุ คา จากวรรณคดี

และวรรณกรรมทอ่ี า น และวรรณกรรม

๓. สรุปความรแู ละขอ คดิ จากการอาน

เพอ่ื นำไปประยุกตใชใ นชีวิตจรงิ

๔. ทอ งจำและบอกคณุ คาบทอาขยาน  บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมีคุณคา

ตามทก่ี ำหนด และบทรอยกรองทีม่ ี - บทอาขยานตามที่กำหนด

คุณคาตามความสนใจและนำไปใช - บทรอยกรองตามความสนใจ

อางอิง

33

อภธิ านศพั ท

กระบวนการเขยี น
กระบวนการเขียนเปนการคิดเรื่องที่จะเขียนและรวบรวมความรูในการเขียน กระบวนการเขียน มี ๕ ขั้น

ดงั นี้
๑. การเตรียมการเขียน เปนขั้นเตรียมพรอมที่จะเขียนโดยเลือกหัวขอเรื่องที่จะเขียน บนพื้นฐานของ

ประสบการณ กำหนดรูปแบบการเขียน รวบรวมความคิดในการเขียน อาจใชวิธีการอานหนังสือ สนทนา จัด
หมวดหมูค วามคิด โดยเขยี นเปนแผนภาพความคดิ จดบนั ทกึ ความคิดท่ีจะเขียนเปนรูปหวั ขอเรื่องใหญ หัวขอยอย
และรายละเอียดคราวๆ

๒. การยกรางขอเขียน เมื่อเตรยี มหัวขอเรื่องและความคดิ รูปแบบการเขยี นแลว ใหนำความคิดมาเขยี น
ตามรปู แบบทีก่ ำหนดเปนการยกรา งขอเขียน โดยคำนึงถงึ วา จะเขียนใหใครอาน จะใชภาษาอยางไรใหเหมาะสมกับ
เรื่องและเหมาะกับผูอื่น จะเริ่มตนเขียนอยางไร มีหัวขอเรื่องอยางไร ลำดับความคิดอยางไร เชื่อมโยงความคิด
อยางไร

๓. การปรับปรุงขอเขียน เมื่อเขียนยกรางแลวอานทบทวนเรื่องที่เขียน ปรับปรุงเรื่องที่เขียนเพิ่มเติม
ความคิดใหส มบรู ณ แกไขภาษา สำนวนโวหาร นำไปใหเ พื่อนหรือผูอนื่ อาน นำขอเสนอแนะมาปรบั ปรุงอีกคร้งั

๔. การบรรณาธิการกิจ นำขอเขียนที่ปรับปรุงแลวมาตรวจทานคำผิด แกไขใหถูกตอง แลวอาน
ตรวจทานแกไ ขขอ เขียนอกี ครัง้ แกไขขอ ผิดพลาดท้ังภาษา ความคดิ และการเวน วรรคตอน

๕. การเขียนใหสมบูรณ นำเรื่องที่แกไขปรับปรุงแลวมาเขียนเรื่องใหสมบูรณ จัดพิมพ วาดรปู ประกอบ
เขียนใหสมบูรณดว ยลายมือท่ีสวยงามเปนระเบียบ เมื่อพิมพหรือเขียนแลว ตรวจทานอีกคร้ังใหสมบูรณกอนจัดทำ
รูปเลม
กระบวนการคิด

การฟง การพูด การอา น และการเขียน เปนกระบวนการคดิ คนทจี่ ะคิดไดดีตองเปนผฟู ง ผูพูด ผูอาน และ
ผูเขียนที่ดี บุคคลที่จะคิดไดดีจะตองมีความรูและประสบการณพื้นฐานในการคิด บุคคลจะมีความสามารถในการ
รวบรวมขอมูล ขอเท็จจริง วิเคราะห สังเคราะห และประเมินคา จะตองมีความรูและประสบการณพ้ืนฐานที่
นำมาชวยในการคิดทั้งสิ้น การสอนใหคิดควรใหผูเรียนรูจักคัดเลือกขอ มูล ถายทอด รวบรวม และจำขอมูลตางๆ
สมองของมนุษยจะเปนผูบริโภคขอมูลขาวสาร และสามารถแปลความขอมูลขาวสาร และสามารถนำมาใชอางอิง
การเปนผูฟง ผูพูด ผูอาน และผูเขียนที่ดี จะตองสอนใหเปนผูบริโภคขอมูลขาวสารที่ดีและเปนนักคิดที่ดีดวย
กระบวนการสอนภาษาจึงตอ งสอนใหผ ูเรยี นเปน ผูรับรูขอมูลขาวสารและมที ักษะการคิด นำขอมูลขาวสารที่ไดจาก
การฟงและการอานนำมาสูการฝกทักษะการคิด นำการฟง การพูด การอาน และการเขียน มาสอนในรูปแบบ
บรู ณาการทกั ษะ ตวั อยาง เชน การเขยี นเปนกระบวนการคิดในการวิเคราะห การแยกแยะ การสังเคราะห การประเมิน
คา การสรา งสรรค ผูเ ขยี นจะนำความรแู ละประสบการณส ูการคิดและแสดงออกตามความคิดของตนเสมอ ตองเปน
ผูอา นและผูฟงเพ่อื รบั รูขาวสารทจี่ ะนำมาวิเคราะหแ ละสามารถแสดงทรรศนะได
กระบวนการอา น

การอานเปนกระบวนการซึ่งผูอานสรางความหมายหรือพัฒนา การตีความระหวางการอานผูอานจะตองรู
หัวขอเรื่อง รูจุดประสงคของการอาน มีความรูทางภาษาที่ใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือที่อาน โดยใช
ประสบการณเ ดิมเปน ประสบการณท ำความเขาใจกับเรื่องทีอ่ าน กระบวนการอา นมดี งั นี้

34

๑. การเตรียมการอาน ผูอานจะตองอานชื่อเรื่อง หัวขอยอยจากสารบัญเรื่อง อานคำนำ ใหทราบ
จุดมุงหมายของหนังสือ ตั้งจุดประสงคของการอานจะอานเพื่อความเพลิดเพลินหรืออานเพื่อหาความรู วาง
แผนการอานโดยอานหนงั สือตอนใดตอนหนง่ึ วาความยากงายอยางไร หนังสอื มีความยากมากนอยเพียงใด รปู แบบ
ของหนังสือเปนอยางไร เหมาะกับผูอานประเภทใด เดาความวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เตรียมสมุด ดินสอ
สำหรับจดบันทึกขอความหรอื เนือ้ เร่อื งทสี่ ำคัญขณะอาน

๒. การอาน ผูอานจะอานหนังสือใหตลอดเลมหรือเฉพาะตอนที่ตองการอาน ขณะอานผูอานจะใช
ความรจู ากการอานคำ ความหมายของคำมาใชใ นการอาน รวมทง้ั การรจู กั แบงวรรคตอนดวย การอา นเร็วจะมีสวน
ชวยใหผ ูอานเขาใจเรื่องไดดีกวาผูอานชา ซึ่งจะสะกดคำอานหรืออานยอนไปยอนมา ผูอานจะใชบริบทหรือคำ
แวดลอ มชว ยในการตีความหมายของคำเพอ่ื ทำความเขาใจเรือ่ งทีอ่ าน

๓. การแสดงความคิดเห็น ผูอานจะจดบันทึกขอความที่มีความสำคัญหรือเขียนแสดง ความคิดเห็น
ตีความขอความที่อาน อานซ้ำในตอนที่ไมเขาใจเพ่ือทำความเขาใจใหถูกตอง ขยายความคิดจากการอา น จับคูกับ
เพ่ือนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตั้งขอสังเกตจากเรื่องที่อาน ถาเปนการอานบทกลอนจะตองอานทำนอง
เสนาะดงั ๆ เพ่อื ฟงเสียงการอา นและเกดิ จินตนาการ

๔. การอา นสำรวจ ผอู านจะอานซำ้ โดยเลือกอานตอนใดตอนหนงึ่ ตรวจสอบคำและภาษา ที่ใช สำรวจ
โครงเร่อื งของหนงั สือเปรียบเทียบหนังสอื ท่ีอานกับหนังสือท่ีเคยอาน สำรวจและเชื่อมโยงเหตกุ ารณในเรื่องและการ
ลำดับเรอ่ื ง และสำรวจคำสำคญั ที่ใชใ นหนังสือ

๕. การขยายความคิด ผูอานจะสะทอนความเขาใจในการอาน บันทึกขอคิดเห็น คุณคาของเรื่อง
เช่ือมโยงเรื่องราวในเรื่องกับชีวิตจริง ความรูสึกจากการอาน จัดทำโครงงานหลักการอาน เชน วาดภาพ เขียน
บทละคร เขียนบนั ทึกรายงานการอาน อานเร่ืองอ่ืนๆ ท่ีผูเ ขียนคนเดียวกันแตง อานเรื่องเพิ่มเติม เร่ืองท่ีเก่ียวโยง
กับเรื่องทีอ่ าน เพอื่ ใหไดค วามรทู ่ีชัดเจนและกวา งขวางข้นึ

การเขียนเชิงสรา งสรรค
การเขียนเชิงสรางสรรคเปนการเขียนโดยใชความรู ประสบการณ และจินตนาการในการเขียน เชน การ

เขียนเรียงความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย และบทรอยกรอง การเขียนเชิงสรางสรรคผูเขียนจะตองมีความคิดดี
มีจินตนาการดี มีคลังคำอยางหลากหลาย สามารถนำคำมาใช ในการเขียน ตองใชเทคนิคการเขียน และใช
ถอยคำอยา งสละสลวย
การดู

การดูเปนการรับสารจากสื่อภาพและเสียง และแสดงทรรศนะไดจากการรับรูสาร ตีความ แปลความ
วิเคราะห และประเมินคณุ คา สารจากสือ่ เชน การดูโทรทศั น การดคู อมพวิ เตอร การดลู ะคร การดูภาพยนตร การดู
หนังสือการตูน (แมไมมีเสียงแตมีถอยคำอานแทนเสียงพูด) ผูดูจะตองรับรูสาร จากการดูและนำมาวิเคราะห
ตีความ และประเมินคุณคาของสารที่เปนเน้ือเรื่องโดยใชหลักการพิจารณาวรรณคดีหรือการวิเคราะหวรรณคดี
เบื้องตน เชน แนวคิดของเรื่อง ฉากที่ประกอบเรื่องสมเหตุสมผล กิริยาทาทาง และการแสดงออกของตัวละครมี
ความสมจริงกับบทบาท โครงเรื่อง เพลง แสง สี เสียง ที่ใชประกอบการแสดงใหอารมณแกผูดูสมจริงและ
สอดคลองกับยุคสมัยของเหตุการณที่จำลองสูบทละคร คุณคาทางจริยธรรม คุณธรรม และคุณคาทางสังคมที่มี
อิทธิพลตอผูดูหรือผูชม ถาเปนการดูขาวและเหตุการณ หรือการอภิปราย การใชความรูหรือเรื่องที่เปนสารคดี
การโฆษณาทางส่ือจะตองพจิ ารณาเนื้อหาสาระวา สมควรเชื่อถือไดหรือไม เปน การโฆษณาชวนเช่ือหรือไม ความคิด

35

สำคัญและมอี ิทธิพลตอการเรียนรูมาก และการดลู ะครเวที ละครโทรทศั น ดูขาวทางโทรทัศนจะเปนประโยชนไดรับ
ความสนุกสนาน ตอ งดแู ละวเิ คราะห ประเมินคา สามารถแสดงทรรศนะของตนไดอยางมีเหตผุ ล
การตคี วาม

การตีความเปนการใชความรูและประสบการณของผูอานและการใชบริบท ไดแก คำที่แวดลอมขอความ
ทำความเขา ใจขอ ความหรอื กำหนดความหมายของคำใหถกู ตอง

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ใหค วามหมายวา การตีความหมาย ชีห้ รอื กำหนดความหมาย
ใหความหมายหรอื อธบิ าย ใชห รือปรบั ใหเขาใจเจตนา และความมงุ หมายเพอ่ื ความถกู ตอง
การเปล่ยี นแปลงของภาษา

ภาษายอมมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา คำคำหนึ่งในสมัยหนึ่งเขียนอยางหนึ่ง อีกสมัยหนึ่งเขียนอีก
อยา งหนึง่ คำวา ประเทศ แตเดมิ เขียน ประเทษ คำวา ปก ษใ ต แตเ ดมิ เขียน ปกใต ในปจจบุ ันเขยี น ปกษใ ต คำ
วา ลุมลึก แตกอนเขียน ลุมฦก ภาษาจึงมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งความหมายและการเขียน บางครั้งคำบางคำ เชน
คำวา หลอน เปนคำสรรพนามแสดงถึงคำพูด สรรพนามบุรุษที่ ๓ ที่เปนคำสุภาพ แตเดี๋ยวนี้คำวา หลอน
มีความหมายในเชงิ ดูแคลน เปนตน
การสรางสรรค

การสรางสรรค คือ การรูจักเลือกความรู ประสบการณที่มีอยูเดิมมาเปนพื้นฐานในการสรางความรู
ความคิดใหม หรือสิ่งแปลกใหมที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงกวาเดิม บุคคลที่จะมีความสามารถในการ
สรางสรรคจะตองเปนบุคคลที่มีความคิดอิสระอยูเสมอ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มองโลกในแงดี คิดไตรตรอง ไม
ตัดสนิ ใจสิง่ ใดงายๆ การสรางสรรคของมนุษยจะเก่ียวเนื่องกนั กับความคิด การพดู การเขียน และการกระทำเชิง
สรางสรรค ซ่ึงจะตอ งมีการคดิ เชงิ สรา งสรรคเปน พ้ืนฐาน

ความคิดเชิงสรางสรรคเปนความคิดท่ีพัฒนามาจากความรูและประสบการณเ ดิม ซ่ึงเปนปจจัยพ้ืนฐานของ
การพูด การเขียน และการกระทำเชงิ สรางสรรค

การพูดและการเขียนเชิงสรางสรรคเปนการแสดงออกทางภาษาที่ใชภาษาขัดเกลาใหไพเราะ งดงาม
เหมาะสม ถูกตองตามเนอ้ื หาทพ่ี ูดและเขียน

การกระทำเชิงสรางสรรคเปนการกระทำที่ไมซ้ำแบบเดิมและคิดคนใหมแปลกไปจากเดิม และเปน
ประโยชนทีส่ ูงข้ึน
ขอ มูลสารสนเทศ

ขอมูลสารสนเทศ หมายถึง เรื่องราว ขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่สามารถ สื่อความหมายดวย
การพูดบอกเลา บันทึกเปนเอกสาร รายงาน หนังสือ แผนที่ แผนภาพ ภาพถาย บันทึกดวยเสียงและภาพ
บนั ทกึ ดวยเครือ่ งคอมพิวเตอร เปน การเก็บเร่ืองราวตางๆ บันทึกไวเ ปน หลกั ฐานดว ยวิธีตา งๆ
ความหมายของคำ

คำที่ใชในการตดิ ตอสื่อสารมีความหมายแบงไดเ ปน ๓ ลักษณะ คือ
๑. ความหมายโดยตรง เปน ความหมายที่ใชพดู จากันตรงตามความหมาย คำหนึ่งๆ นัน้ อาจมคี วามหมาย
ไดห ลายความหมาย เชน คำวา กา อาจมคี วามหมายถึง ภาชนะใสนำ้ หรอื อาจหมายถงึ นกชนดิ หน่งึ ตัวสดี ำ รอง
กา กา เปน ความหมายโดยตรง

36

๒. ความหมายแฝง คำอาจมีความหมายแฝงเพิ่มจากความหมายโดยตรง มักเปนความหมายเกี่ยวกับ
ความรูสึก เชน คำวา ขี้เหนียว กับ ประหยัด หมายถึง ไมใชจายอยางสุรุยสุราย เปนความหมายตรง แต
ความรสู ึกตางกัน ประหยัดเปน สง่ิ ดี แตข ้ีเหนียวเปน สิ่งไมด ี

๓. ความหมายในบริบท คำบางคำมีความหมายตรง เมื่อรวมกับคำอื่นจะมีความหมายเพิ่มเติมกวางขึ้น
หรือแคบลงได เชน คำวา ดี เด็กดี หมายถึง วา นอนสอนงาย เสยี งดี หมายถงึ ไพเราะ ดินสอดี หมายถึง เขียนได
ดี สุขภาพดี หมายถงึ ไมมโี รค ความหมายบริบทเปนความหมายเชน เดยี วกับความหมายแฝง
คณุ คา ของงานประพนั ธ

เมื่อผูอานอานวรรณคดีหรือวรรณกรรมแลวจะตองประเมินงานประพันธ ใหเห็นคุณคาของงานประพันธ
ทำใหผูอานอานอยางสนุก และไดรับประโยชนจาการอานงานประพันธ คุณคาของงานประพันธแบงไดเปน ๒
ประการ คือ

๑. คุณคา ดานวรรณศิลป ถา อา นบทรอยกรองก็จะพิจารณากลวิธีการแตง การเลอื กเฟน ถอยคำมาใชได
ไพเราะ มีความคดิ สรา งสรรค และใหความสะเทือนอารมณ ถา เปนบทรอ ยแกว ประเภทสารคดี รปู แบบการเขียน
จะเหมาะสมกับเน้ือเรื่อง วิธีการนำเสนอนา สนใจ เน้อื หามีความถูกตอง ใชภ าษาสละสลวยชัดเจน การนำเสนอมี
ความคดิ สรา งสรรค ถาเปนรอยแกวประเภทบันเทิงคดี องคประกอบของเรื่องไมว าเร่ืองส้นั นวนิยาย นทิ าน จะ
มีแกนเรื่อง โครงเร่ือง ตัวละครมีความสัมพันธกัน กลวิธีการแตงแปลกใหม นาสนใจ ปมขัดแยงในการแตง
สรางความสะเทือนอารมณ การใชถอยคำสรางภาพไดชัดเจน คำพูดในเรื่องเหมาะสมกับบุคลิกของตัวละครมี
ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกบั ชีวติ และสังคม

๒. คุณคาดานสังคม เปนคุณคาทางดานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ ชีวิตความเปนอยู
ของมนุษย และคุณคาทางจริยธรรม คุณคาดานสังคม เปนคุณคาที่ผูอานจะเขาใจชีวิตท้ังในโลกทัศนและชวี ทศั น
เขาใจการดำเนินชีวิตและเขาใจเพื่อนมนุษยดีขึ้น เนื้อหายอมเกี่ยวของกับการชวยจรรโลงใจแกผูอาน ชวยพัฒนา
สงั คม ชวยอนรุ กั ษส ิ่งมีคณุ คาของชาติบานเมอื ง และสนับสนนุ คา นยิ มอนั ดีงาม
โครงงาน

โครงงานเปน การจัดการเรียนรูว ิธีหน่ึงที่สงเสริมใหผ ูเรียนเรียนดวยการคนควา ลงมอื ปฏิบัติจริง ในลักษณะ
ของการสำรวจ คนควา ทดลอง ประดิษฐคิดคน ผูเรียนจะรวบรวมขอมูล นำมาวิเคราะห ทดสอบเพื่อแกป ญ หา
ของใจ ผูเรียนจะนำความรูจากชั้นเรียนมาบูรณาการในการแกปญหา คนหาคำตอบ เปนกระบวนการคนพบ
นำไปสูการเรยี นรู ผูเรยี นจะเกดิ ทักษะการทำงานรว มกับผูอ่ืน ทักษะการจดั การ ผสู อนจะเขา ใจผูเรียน เห็นรูปแบบ
การเรียนรู การคดิ วธิ กี ารทำงานของผูเ รยี น จากการสงั เกตการทำงานของผเู รียน

การเรียนแบบโครงงานเปนการเรียนแบบศึกษาคนควาวิธีการหนึ่ง แตเปนการศึกษาคนควาที่ใช
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรมาใชในการแกปญหา เปน การพฒั นาผูเรียนใหเปน คนมเี หตผุ ล สรุปเรอ่ื งราวอยางมี
กฎเกณฑ ทำงานอยางมีระบบ การเรียนแบบโครงงานไมใชก ารศกึ ษาคนควา จดั ทำรายงานเพียงอยา งเดยี ว ตอ งมี
การวิเคราะหขอ มูลและมีการสรุปผล
ทักษะการส่ือสาร

ทักษะการสื่อสาร ไดแก ทักษะการพูด การฟง การอาน และการเขียน ซึ่งเปน เครื่องมอื ของการสงสาร
และการรับสาร การสงสาร ไดแก การสงความรู ความเชื่อ ความคิด ความรูสึกดวยการพูด และการเขียน สวน
การรบั สาร ไดแ ก การรับความรู ความเชอื่ ความคิด ดว ยการอานและการฟง การฝก ทักษะการส่ือสารจงึ เปน
การฝก ทกั ษะการพดู การฟง การอา น และการเขียน ใหสามารถรบั สารและสง สารอยา งมปี ระสิทธิภาพ

37

ธรรมชาตขิ องภาษา
ธรรมชาติของภาษาเปนคุณสมบัติของภาษาที่สำคัญ มีคุณสมบัติพอสรุปได คือ ประการที่หนึ่ง ทุก

ภาษาจะประกอบดวยเสยี งและความหมาย โดยมีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑในการใช อยางเปนระบบ ประการ
ที่สอง ภาษามีพลังในการงอกงามมิรูสิ้นสุด หมายถึง มนุษยสามารถใชภาษา สื่อความหมายไดโดยไมสิ้นสุด
ประการที่สาม ภาษาเปนเรื่องของการใชสัญลักษณรวมกันหรอื สมมติรวมกัน และมีการรับรูสัญลักษณหรือสมมติ
รว มกนั เพ่อื สรา งความเขาใจตรงกัน ประการทส่ี ี่ ภาษาสามารถใชภาษาพูดในการติดตอส่ือสาร ไมจำกัดเพศของ
ผูสงสาร ไมวาหญิง ชาย เด็ก ผูใหญ สามารถผลัดกันในการสงสารและรับสารได ประการที่หา ภาษาพูดยอม
ใชไดท ั้งในปจจุบัน อดีต และอนาคต ไมจำกัดเวลาและสถานที่ ประการที่หก ภาษาเปนเครื่องมือการถายทอด
วฒั นธรรม และวิชาความรนู านาประการ ทำใหเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมและการสรา งสรรคส่ิงใหม
แนวคดิ ในวรรณกรรม

แนวคดิ ในวรรณกรรมหรือแนวเร่ืองในวรรณกรรมเปน ความคิดสำคัญในการผูกเร่ืองให ดำเนนิ เรื่องไปตาม
แนวคิด หรือเปนความคิดที่สอดแทรกในเรื่องใหญ แนวคิดยอมเกี่ยวของกับมนุษยและสังคม เปนสารที่ผูเขียนสง
ใหผ อู า น เชน ความดียอ มชนะความช่วั ทำดีไดด ที ำชั่วไดชวั่ ความยุติธรรมทำใหโ ลกสันติสุข คนเราพนความตาย
ไปไมได เปนตน ฉะนั้นแนวคิดเปนสารที่ผูเ ขียนตอ งการสงใหผ ูอื่นทราบ เชน ความดี ความยุติธรรม ความรกั
เปนตน
บรบิ ท

บริบทเปนคำทีแ่ วดลอมขอความท่ีอาน ผูอานจะใชความรูสึกและประสบการณมากำหนดความหมายหรอื
ความเขา ใจ โดยนำคำแวดลอมมาชว ยประกอบความรูแ ละประสบการณ เพอื่ ทำความเขา ใจหรอื ความหมายของคำ
พลังของภาษา

ภาษาเปนเครื่องมือในการดำรงชีวิตของมนุษย มนุษยจึงสามารถเรียนรูภาษาเพื่อการดำรงชีวิต เปน
เครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพัฒนาภาษาของตนได ภาษาชวยใหคนรูจักคิดและแสดงออกของความคิด
ดวยการพูด การเขียนและการกระทำซึ่งเปนผลจากการคิด ถาไมมีภาษา คนจะคิดไมได ถาคนมีภาษานอย มี
คำศัพทนอย ความคิดของคนก็จะแคบไมกวางไกล คนท่ีใชภาษาไดดีจะมีความคิดดีดวย คนจะใชความคิดและ
แสดงออกทางความคิดเปนภาษา ซง่ึ สงผลไปสูการกระทำ ผลของการกระทำสงผลไปสูความคิด ซ่งึ เปนพลังของ
ภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสำคัญตอมนุษย ชวยใหมนุษยพัฒนาความคิด ชวยดำรงสังคมใหมนุษยอยูรวมกันใน
สังคมอยางสงบสุข มีไมตรีตอกัน ชวยเหลือกันดวยการใชภาษาติดตอสื่อสารกัน ชวยใหคนปฏิบัติตนตาม
กฎเกณฑข องสงั คม ภาษาชวยใหมนุษยเ กิดการพัฒนา ใชภาษาในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น การอภิปรายโตแยง
เพื่อนำไปสูผลสรุป มนุษยใชภาษาในการเรียนรู จดบันทึกความรู แสวงหาความรู และชวยจรรโลงใจ ดวยการ
อานบทกลอน รองเพลง ภาษายงั มพี ลงั ในตวั ของมันเอง เพราะภาพยอมประกอบดวยเสยี งและความหมาย การใช
ภาษาใชถอยคำทำใหเกิดความรสู ึกตอผรู ับสาร ใหเ กิดความจงเกลียดจงชังหรือเกิด ความช่ืนชอบ ความรักยอมเกิด
จากภาษาทัง้ สนิ้ ที่นำไปสผู ลสรปุ ท่มี ีประสิทธภิ าพ
ภาษาถิ่น

ภาษาถิ่นเปนภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใชในทองถิ่น ซึ่งเปนภาษาดั้งเดิมของชาวพื้นบานที่ใชพูดจากันใน
หมูเหลาของตน บางครั้งจะใชคำท่ีมีความหมายตางกันไปเฉพาะถิ่น บางครั้งคำที่ใชพูดจากันเปนคำเดียว
ความหมายตางกันแลวยังใชสำเนียงที่ตางกัน จึงมีคำกลาวที่วา “สำเนียงบอกภาษา” สำเนียงจะบอกวาเปน

38

ภาษาอะไร และผูพดู เปนคนถ่นิ ใด อยา งไรกต็ ามภาษาถน่ิ ในประเทศไทยไมวาจะเปน ภาษาถิ่นเหนือ ถน่ิ อสี าน ถน่ิ ใต
สามารถส่ือสารเขา ใจกนั ได เพียงแตส ำเนียงแตกตางกนั ไปเทา นั้น
ภาษาไทยมาตรฐาน

ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกวา ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เปนภาษาที่ใช ส่ือสารกันท่ัว
ประเทศและเปนภาษาที่ใชในการเรียนการสอน เพื่อใหคนไทยสามารถใชภาษาราชการในการติดตอสื่อสารสรางความ
เปน ชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาที่ใชก ันในเมืองหลวง ทีใ่ ชต ดิ ตอกันทัง้ ประเทศ มคี ำและสำเนียงภาษาที่
เปนมาตรฐาน ตองพูดใหชัดถอยชัดคำไดตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือภาษาไทยมาตรฐานมี
ความสำคัญในการสรางความเปนปก แผน วรรณคดีมีการถายทอดกันมาเปนวรรณคดีประจำชาตจิ ะใชภาษาที่เปน
ภาษาไทยมาตรฐานในการสรา งสรรคง านประพนั ธ ทำใหวรรณคดเี ปนเคร่อื งมอื ในการศึกษาภาษาไทยมาตรฐานได
ภาษาพูดกับภาษาเขยี น

ภาษาพูดเปนภาษาที่ใชพูดจากัน ไมเปนแบบแผนภาษา ไมพิถีพิถันในการใชแตใชสื่อสารกันไดดี สราง
ความรูสึกท่ีเปนกันเอง ใชในหมูเพื่อนฝงู ในครอบครัว และติดตอสื่อสารกันอยางไมเปนทางการ การใชภาษาพูด
จะใชภาษาที่เปน กันเองและสภุ าพ ขณะเดียวกันก็คำนึงวาพูดกับบุคคลทมี่ ีฐานะตางกัน การใชถอยคำก็ตางกันไป
ดวย ไมคำนงึ ถึงหลักภาษาหรือระเบยี บแบบแผนการใชภาษามากนัก

สวนภาษาเขียนเปนภาษาที่ใชเครงครัดตอการใชถอยคำ และคำนึงถึงหลักภาษา เพื่อใชในการสื่อสารให
ถูกตองและใชใ นการเขียนมากกวาพูด ตองใชถอ ยคำท่ีสภุ าพ เขียนใหเปน ประโยค เลือกใชถอยคำท่ีเหมาะสมกับ
สถานการณในการสื่อสาร เปนภาษาทใี่ ชในพิธีการตา งๆ เชน การกลา วรายงาน กลา วปราศรัย กลา วสดุดี การ
ประชุมอภปิ ราย การปาฐกถา จะระมัดระวงั การใชค ำที่ไมจ ำเปนหรือ คำฟุมเฟอย หรือการเลนคำจนกลายเปน การ
พูดหรอื เขยี นเลน ๆ
ภูมิปญ ญาทองถิ่น

ภูมิปญ ญาทองถิ่น (Local Wisdom) บางครั้งเรียกวา ภูมิปญญาชาวบาน เปนกระบวนทัศน (Paradigm)
ของคนในทองถิ่นที่มีความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับธรรมชาติ เพื่อความอยูรอด แตคนในทองถิ่นจะสราง
ความรูจากประสบการณและจากการปฏิบัติ เปนความรู ความคิด ที่นำมาใชในทองถิ่นของตนเพื่อการดำรงชีวิตที่
เหมาะสมและสอดคลองกับธรรมชาติ ผูรูจึงกลายเปนปราชญชาวบานที่มีความรูเกี่ยวกับภาษา ยารักษาโรคและ
การดำเนนิ ชวี ติ ในหมูบา นอยา งสงบสุข
ภมู ปิ ญญาทางภาษา

ภูมิปญญาทางภาษาเปนความรูทางภาษา วรรณกรรมทองถิ่น บทเพลง สุภาษิต คำพังเพยในแตละ
ทองถิ่น ที่ไดใชภาษาในการสรางสรรคผลงานตางๆ เพื่อใชประโยชนในกิจกรรมทางสังคมที่ตางกัน โดยนำภูมิ
ปญญาทางภาษาในการสั่งสอนอบรมพิธีการตางๆ การบนั เทงิ หรือการละเลน มีการแตง เปน คำประพันธในรูปแบบ
ตางๆ ทั้งนิทาน นิทานปรัมปรา ตำนาน บทเพลง บทรองเลน บทเหกลอม บทสวดตางๆ บททำขวัญ เพ่ือ
ประโยชนทางสงั คมและเปน สวนหน่ึงของวัฒนธรรมประจำถ่นิ
ระดบั ภาษา

ภาษาเปนวัฒนธรรมทีค่ นในสังคมจะตองใชภาษาใหถูกตองกับสถานการณและโอกาสที่ใชภาษา บุคคล
และประชุมชน การใชภาษาจึงแบงออกเปนระดับของการใชภาษาไดหลายรูปแบบ ตำราแตละเลมจะแบงระดับ
ภาษาแตกตางกนั ตามลกั ษณะของสัมพันธภาพของบคุ คลและสถานการณ

การแบง ระดบั ภาษาประมวลไดด ังนี้

39

๑. การแบงระดบั ภาษาที่เปน ทางการและไมเปนทางการ
๑.๑ ภาษาที่ไมเปนทางการหรือภาษาที่เปนแบบแผน เชน การใชภาษาในการประชุม ในการกลาวสุนทร

พจน เปน ตน
๑.๒ ภาษาที่ไมเ ปนทางการหรือภาษาท่ีไมเ ปนแบบแผน เชน การใชภ าษาในการสนทนา การใชภ าษา

ในการเขียนจดหมายถึงผูค ุนเคย การใชภ าษาในการเลา เร่ืองหรือประสบการณ เปนตน
๒. การแบงระดับภาษาที่เปนพิธีการกับระดับภาษาที่ไมเปนพิธีการ การแบงภาษาแบบนี้เปนการแบง

ภาษาตามความสมั พันธระหวางบุคคลเปนระดบั ดงั นี้
๒.๑ ภาษาระดบั พิธกี าร เปนภาษาแบบแผน
๒.๒ ภาษาระดบั กง่ึ พธิ ีการ เปน ภาษาก่งึ แบบแผน
๒.๓ ภาษาระดับท่ีไมเ ปน พิธีการ เปน ภาษาไมเปนแบบแผน

๓. การแบงระดับภาษาตามสภาพแวดลอม โดยแบง ระดบั ภาษาในระดับยอยเปน ๕ ระดับ คอื
๓.๑ ภาษาระดับพธิ กี าร เชน การกลา วปราศรัย การกลาวเปด งาน
๓.๒ ภาษาระดับทางการ เชน การรายงาน การอภิปราย
๓.๓ ภาษาระดบั กึ่งทางการ เชน การประชมุ อภปิ ราย การปาฐกถา
๓.๔ ภาษาระดบั การสนทนา เชน การสนทนากบั บคุ คลอยางเปนทางการ
๓.๕ ภาษาระดับกันเอง เชน การสนทนาพดู คยุ ในหมเู พ่อื นฝูงในครอบครวั

วจิ ารณญาณ
วิจารณญาณ หมายถึง การใชความรู ความคิด ทำความเขาใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางมีเหตุผล การมี

วิจารณญาณตองอาศัยประสบการณใ นการพจิ ารณาตดั สนิ สารดวยความรอบคอบ และอยา งชาญฉลาดเปน เหตุเปนผล

40

โครงสรางหลกั สตู รกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย

ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ – ๓

รหสั วิชา รายวชิ า จำนวนชวั่ โมง หนวยการเรยี น ชัน้ ปท ่เี รยี น
รายวิชาพน้ื ฐาน
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ประถมศึกษาปท่ี ๑
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ 5 ประถมศึกษาปท ี่ ๒
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐ 5 ประถมศึกษาปท ่ี ๓
๒๐๐ 5

ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๔ – ๖

รหัสวชิ า รายวิชา จำนวนชั่วโมง หนวยการเรียน ช้นั ปท เี่ รียน
รายวชิ าพื้นฐาน
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ 4 ประถมศึกษาปท่ี ๔
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ 4 ประถมศึกษาปที่ ๕
๑๖๐ 4 ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑ – ๓

รหสั วชิ า รายวิชา จำนวนชว่ั โมง หนวยการเรยี น ช้ันปทเี่ รยี น
รายวิชาพื้นฐาน
ท 2๑๑๐๑ ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี ๑
ท 2๑๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๑
ท 2๒๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี ๒
ท 2๒๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๒
ท 2๓๑๐๑ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๓
ท 2๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖๐ ๑.๕ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓
๖๐ ๑.๕

41

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหสั วชิ า ท ๑1๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เวลา 200 ชั่วโมง

ฝกอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง ความหมายของคำ การอานเรื่อง การอานจับใจความตาม
กระบวนการอานจับใจความ การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ การเขียนตัวอักษรไทยและเลขไทย การเขียน
สื่อสาร ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ รูจักการตั้งคำถามและตอบคำถาม การพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก รูจัก
ลักษณะของประโยค คำคลอ งจอง บทอาขยานและบทรอยกรอง

สามารถอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง อานออกเสียงคำสมาชิกในครอบครัวของฉันและบอก
ความหมายของคำ อานเรื่องสั้นๆ และตอบคำถามจากเรื่อง สามารถเลาเรื่องยอและสามารถวิเคราะหเหตุการณ
จากเรื่องที่อาน สรุปความและขอคิดจากการอานเรื่อง อานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทัด คัดลายมือคำสมาชิกในครอบครัวของฉัน เขียนคำและประโยคตางๆ สามารถปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่ง
งายๆ ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อาน สามารถพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึกสามารถพูดแนะนำ
สมาชิกในครอบครัวของฉัน และการพูด-เขียน พยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย เขียนสะกดคำและบอก
ความหมายของคำ สามารถแตงประโยคทั่วไป แตงประโยคคำสมาชิกในครอบครัว สามารถตอคำคลองจอง บอก
ขอ คิดเรอื่ งทอี่ าน บอกขอ คิดจากการฟง บทความสมาชิกในครอบครัว สามารถทองจำบทอาขยานและบทรอยกรอง

มมี ารยาทในการอา น มนี ิสัยรกั การอาน มวี นิ ยั ใฝเรยี นรู มงุ ม่นั ในการทำงาน มีมารยาทในการเขยี น
มีนสิ ัยรกั การเขยี น รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  รกั ความเปนไทย มมี ารยาทในการฟง การดู และการพดู ซ่ือสัตยส ุจริต
และเห็นคุณคา ของเรื่องที่อาน อยอู ยา งพอเพยี งและมจี ิตสาธารณะ

รหัสตวั ชี้วัด
ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8
ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5
ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2

รวมทั้งหมด 22 ตัวชี้วัด

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน 42

รหัสวิชา ท ๑2๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย
ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 2 เวลา 200 ช่ัวโมง

ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง นิยามความหมายของคำ หลักการอาน การเลา
เรื่อง การคาดคะเนเหตุการณ หลักการอานจับใจความ การอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ มารยาทในการอาน
หลักการเขียนตัวอักษรไทยและเลขไทยการเขียนสื่อสาร-มารยาทในการเขียน การฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ
หลกั การต้งั คำถามและตอบคำถาม หลกั การพูดแสดงความคิดเหน็ และความรูสึก การพดู สื่อสาร มารยาทในการฟง
การดู และการพูด ชื่อและการเขียนตัวอักษรไทยและเลขไทย หลักการเขียนสะกดคำ ลักษณะของประโยค คำ
คลองจอง การจบั ใจความสำคญั บทอาขยาน บทรอ ยกรอง

สามารถอานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทความและรอยกรองงายๆ ไดถูกตอง อานออก
เสียงคำโรงเรียนของฉัน ฝกการอานเรื่องสั้นๆ และตอบคำถามจากเรื่อง ฝกทักษะการเลาเรื่อง การคาดคะเน
เหตุการณ สรุปความและขอคิดจากการอานเรื่อง ฝกอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
บรรทดั ฝกทกั ษะการเขียนคำและประโยค เขียนเรอ่ื งเกี่ยวกบั โรงเรียนของฉัน ฝก มารยาทในการเขียน อาน และฟง
คำแนะนำ คำส่ังงา ยๆ และปฏิบตั ิตาม ฝกการต้งั คำถามและตอบคำถาม ฝก การพดู ความคดิ เห็นและความรสู ึก การ
พูดสื่อสาร การพูดแนะนำโรงเรียนของฉัน สามารถบอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได
สามารถเรียบเรียงคำเปนประโยคไดตรงตามเจตนาของการสื่อสาร เรียงประโยคเกี่ยวกับโรงเรียนของฉัน บอก
ลักษณะของคำคลองจอง เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นไดเหมาะกับกาลเทศะ เขียนและสะกดคำและ
บอกความหมายของคำที่กำหนดใหได ระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อนำไปใชใน
ชีวิตประจำวัน บอกขอคิดจากบทความโรงเรียนของฉัน สามารถรองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถิ่น ทองจำบท
อาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองที่มีคณุ คา ตามความสนใจ

มีมารยาทในการอาน เขียน มีนิสัยรักการเขียนและอาน มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทำงาน ตระหนักใน
วฒั นธรรมการใชภ าษาไทย ภมู ิใจในวรรณคดี วรรณกรรม ซึง่ เปน ภูมปิ ญ ญาของคนไทย สามารถนำทักษะทางภาษา
มาประยุกตใ ชใ นชีวิตประจำวันอยางมปี ระสทิ ธภิ าพเหมาะกาลเทศะและบุคคล

รหสั ตวั ชี้วดั
ท 1.1 ป.2/1,ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ท 2.1 ป.2/1,ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4
ท 3.1 ป.2/1,ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ท 4.1 ป.2/1,ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ท 5.1 ป.2/1,ป.2/2, ป.2/3

รวมทั้งหมด 27 ตวั ช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน 43

รหัสวชิ า ท ๑3๑๐๑ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 เวลา 200 ช่ัวโมง

ศึกษาหลักการอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง นิยามความหมายของคำ หลักการอาน การเลาเรื่อง
การคาดคะเนเหตกุ ารณ หลักการอา นจับใจความ การอานเคร่อื งหมายหรอื สัญลกั ษณ มารยาทในการอา น หลกั การ
เขียนตัวอักษรไทยและเลขไทยการเขียนสื่อสาร-มารยาทในการเขียน การฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆ หลักการตั้ง
คำถามและตอบคำถาม หลกั การพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก การพดู สอ่ื สาร มารยาทในการฟง การดู และ
การพูด ชื่อและการเขยี นตัวอักษรไทยและเลขไทย หลักการเขียนสะกดคำ ลักษณะของประโยค คำคลองจอง การ
จับใจความสำคัญ บทอาขยาน บทรอยกรอง

ฝกอา นออกเสียงรอยแกวและรอยกรอง อานออกเสยี งเร่ืองสนั้ เกี่ยวกบั ชมุ ชนของฉนั ฝกทักษะการอธิบาย
ความหมายของคำ ฝกการอานเรื่องสั้นๆ และตอบคำถามจากเรื่อง ฝกทักษะการเลาเรื่อง ฝกการคาดคะเน
เหตุการณ ฝกสรุปความและขอคิดจากการอานเรื่อง ฝกอานเครื่องหมายหรือสัญลักษณ ฝกทักษะคัดลายมือตัว
บรรจงเต็มบรรทัด ฝก ทกั ษะการเขียนคำและประโยค เขยี นบันทึกเร่อื งราวในชมุ ชนของฉนั ฝก มารยาทในการเขียน
ฝกมารยาทในการอาน ฝกทกั ษะการฟง คำแนะนำ คำส่งั งา ยๆ และปฏบิ ตั ติ าม ฝก การตง้ั คำถามและตอบคำถาม ฝก
การพูดความคิดเห็นและความรูสึก ฝกพูดสื่อสาร สามารถพูดเลาเรื่องชุมขนของฉัน ฝกมารยาทในการฟง การดู
และการพูด ฝก ทักษะการเขียน พยัญชนะ สระ วรรณยุกตและเลขไทย ฝกการสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ฝก แตง ประโยค แตงคำคลอ งจองชุมชนของฉัน ฝก ตอคำคลองจอง ฝกจับใจความสำคัญและขอคดิ บอกขอคิดเรื่อง
สนั้ ชุมชนของฉัน ทองจำบทอาขยานและบทรอยกรอง

มีมารยาทในการอาน การเขียน นิสัยรักการอาน มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทำงาน ตระหนักใน
วฒั นธรรมการใชภ าษาไทย ภูมิใจในวรรณคดี วรรณกรรม ซ่ึงเปน ภูมปิ ญญาของคนไทย สามารถนาทักษะทางภาษา
มาประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจาวันอยางมปี ระสิทธภิ าพเหมาะกาลเทศะและบุคคล มมี ารยาทในการฟง การดู และการ
พดู มคี วามซ่ือสัตยส จุ ริต เหน็ คณุ คา ของเรอื่ งที่อา น รักความเปนไทย รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  อยอู ยางพอเพียง มีจิต
สาธารณะ

รหัสตัวช้ีวดั
ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9
ท 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6
ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4

รวมทัง้ หมด 31 ตัวชี้วดั

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน 44

รหัสวิชา ท ๑๔๑๐๑ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษาและฝกปฏิบตั เิ กยี่ วกบั การอา นออกเสยี งบทรอ ยแกว และบทรอยกรอง พรอมอธิบายความหมายของ
คำ ประโยค และสำนวน อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลาที่กำหนด ตอบคำถาม แยกขอเท็จจริง และขอคิดเห็น คาดคะเน
เหตุการณ อานสรุปความรูและขอ คิดจากเรือ่ ง“เชิญเท่ียวเมืองพาน”(น้ำตกปูแกง) คัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทัด
เขียนสื่อสารดวยแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เขียนยอความ เขียนจดหมาย เขียนบันทึก และเขยี น
รายงาน เขียนเรอื่ งตามจินตนาการ“เชิญเทยี่ วเมืองพาน” (นำ้ ตกปูแกง) จำแนกขอเท็จจริง และขอ คิดเห็น พูดสรุป
ความ พดู แสดงความรู ความคิดเห็น“เชิญเที่ยวเมืองพาน”(น้ำตกปูแกง) ตัง้ คำถามและตอบคำถาม พูดรายงานเร่ือง
ทีศ่ ึกษาจากการฟง และดูอยางมีมารยาท สะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หนาที่ของคำในประโยค
แตงประโยค บทรอยกรองและแตง คำขวัญ“เชญิ เที่ยวเมืองพาน”(น้ำตกปูแกง) บอกความหมายของสำนวน การใช
พจนานุกรม เปรียบเทียบภาษาไทยกับภาษาถิ่น รองเพลงพื้นบาน ทองจำบทอาขยาน และบทรอยกรองที่มีคุณคา
ตามความสนใจ ศึกษาและวิเคราะหว รรณกรรมรอ ยแกวและรอยกรองสำหรบั เด็กเรื่อง ไมอยากเปน ควาย สิงโตเจา
ปญญา เลนกลางแจง ตนไม เรื่องของมาเหมี่ยว บานพิลึก โทรทัศนเปนเหตุ และนางในวรรณคดี เพื่อระบุและ
อธิบายขอคดิ ทไ่ี ดจากการอา น“เชิญเทีย่ วเมอื งพาน”(น้ำตกปูแกง) ไปปรบั ใชใ นชีวติ จริง

โดยใชการฝกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน กระบวน
การคิด กระบวนการปฏบิ ตั ิ กระบวนการกลมุ

เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควาหา
ความรู จากแหลงการเรียนรูตางๆ อยางสม่ำเสมอ ซักถามและสืบคนเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบในการทำงาน
ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพดู การอาน
การเขยี น และการฟง นำความรทู ไี่ ดจากการศกึ ษาไปประยุกตใชในชีวติ จริง

ตวั ช้ีวัด
ท 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8
ท 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8
ท 3.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6
ท 4.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7
ท 5.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4

รวม 33 ตัวช้ีวัด

คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน 45

รหสั วชิ า ท ๑๕๑๐๑ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย
ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษาและฝกปฏิบัติเกย่ี วกับการอานออกเสยี งบทรอยแกวและบทรอยกรอง พรอมอธิบายความหมายของ
คำ ประโยค และขอความที่เปนการบรรยายและการพรรณนา อานงานเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำสั่งหรือ
ขอแนะนำ อานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเรื่อง“เชญิ เที่ยวเมืองพาน”
(พระธาตจุ อมแว) อธบิ ายความหมายโดยนัย การเขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคดิ การเขยี นยอความ
การเขียนจดหมายการเขียนเร่ืองตามจินตนาการ การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น เรื่อง“เชิญเที่ยวเมือง
พาน” (พระธาตุจอมแว) การกรอกแบบรายการตางๆ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด พูดแสดง
ความคิดเห็นและความรูสึกจากเร่ืองทีฟ่ งและดู ฝกตั้งคำถามและตอบคำถามเร่ือง“เชิญเท่ียวเมอื งพาน” (พระธาตุ
จอมแว) พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟงและดูไดอยางมีมารยาท การระบุชนิดและหนาท่ี
ของคำและการจำแนกสวนประกอบของประโยค การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ทองจำบท
อาขยานตามทก่ี ำหนดและแตง กลอน ๔ “เชิญเทยี่ วเมืองพาน” (พระธาตุจอมแว) บทรอ ยกรองท่ีมีคณุ คาตามความ
สนใจ ศึกษาและวิเคราะหวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็กเรื่อง นิทานพื้นบานไทย นอมรำลึก พระ
คุณครู เพลินอานงานพระราชนิพนธ กระเชาใบนอยของนางสีดา แมโพสพ มิตรแท พระสังขพบพระบิดา พระ
มารดา และบัวนอยคอยคลี่บาน เพื่อระบุขอคิดที่ไดจากการอานเรื่อง“เชิญเที่ยวเมืองพาน”(พระธาตุจอมแว)
ไปปรับใชในชีวิตประจำวัน

โดยใชการฝกทักษะกระบวนการทางภาษา ทั้งในดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน กระบวน
การคดิ กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการกลุม

เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควาหา
ความรูจากแหลงการเรียนรูต างๆ อยางสม่ำเสมอ ซักถามและสืบคนเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบในการทำงาน
ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอาน การเขียน และการฟง นำความรูที่ไดจาก
การศึกษาไปประยกุ ตใชในชวี ติ จรงิ

ตวั ช้ีวัด
ท 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8
ท 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ป.5/9
ท 3.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ท 4.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7
ท 5.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4

รวม 33 ตัวชว้ี ดั

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน 46

รหัสวชิ า ท ๑๖๑๐๑ กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

ศึกษาและฝกปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การอา นออกเสียง คำ คำคลองจอง ขอ ความ และบทรอยกรองงายๆ วรรณคดี
และวรรณกรรม พรอมอธิบายความหมายของคำ ประโยค และขอความที่เปนโวหาร อานขอเขียนเชิงอธิบาย และ
ปฏิบัติตามคำสั่งหรือขอแนะนำการอาน แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่อง“เชิญเที่ยวเมืองพาน”(ถ้ำผาโขง)
อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อาน สามารถอธิบายความหมายของขอมูลจากการ
อานแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ การเขียนแผนภาพโครงเรื่องในการเขียนตามจินตนาการ การเขียน
เรียงความ เขียนบรรยาย“เชิญเที่ยวเมืองพาน”(ถ้ำผาโขง) การเขียนจดหมาย การกรอกแบบรายการตางๆ คัด
ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด และสามารถเลอื กใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ไดเหมาะสมกับ
กาลเทศะ ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ พูดสื่อสารไดชัดเจนตรง
ตามวัตถุประสงค พูดโนมนาวเรือ่ ง“เชิญเที่ยวเมืองพาน” (ถ้ำผาโขง) อยางมีเหตุผลและนา เช่ือถอื พูดรายงานเรื่อง
หรือประเด็นที่ศึกษา แสดงความคิดเห็นและความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ฟงคำแนะนำ และปฏิบัติตามอยางมี
มารยาท พรอมบอกสาระสำคัญของเร่ืองท่ีฟงและดู และฝก ต้ังคำถามและตอบคำถามเกย่ี วกับเรื่องทีอ่ าน หลกั การ
วิเคราะหชนิดและหนา ท่ีของคำในประโยค ใชคำไดเ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมาย
ของ คำภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค การแตงบทรอยกรอง การวิเคราะหและ
เปรียบเทียบสำนวนที่เปนคำพงั เพย และสภุ าษติ แตงกลอน ๖“เชิญเทีย่ วเมอื งพาน”(ถ้ำผาโขง) ศึกษาและวิเคราะห
วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็กเรือ่ ง เหจับระบำ การเดินทางของพลายงาม จดแลวจำ นักสืบ ทอง
อิน ศึกไมยราพ สุภาษิตสอนจิตเตือนใจ กำเนิดมะกะโท และอำลา อาลัย เพื่อระบุขอคิดที่ใหจากการอานเรื่อง
“เชญิ เทยี่ วเมืองพาน”(ถ้ำผาโขง) ทำใหปรับใชใ นชวี ิตประจำวัน

โดยใชก ารฝก ทักษะกระบวนการทางภาษา ทงั้ ในดา นการฟง การพูด การอา น และการเขยี น กระบวนการ
คดิ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม

เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควาหา
ความรูจากแหลง การเรียนรูตางๆ อยางสม่ำเสมอ ซกั ถามและสบื คนเพ่ือหาขอมูล มีความรอบคอบในการทำงาน ใช
ภาษาไทยไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพูด การอาน การเขียน และการฟง นำความรูที่ใหจาก
การศึกษาไปประยุกตใ ชในชวี ติ จรงิ

ตัวชีว้ ัด
ท 1.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9
ท 2.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6 ป.6/7 ป.6/8 ป.6/9
ท 3.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
ท 4.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4 ป.6/5 ป.6/6
ท 5.1 ป.6/1 ป.6/2 ป.6/3 ป.6/4

รวม 34 ตัวช้ีวัด


Click to View FlipBook Version