Page 1
คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน
กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2551
ISBN 978-974-8062-72-3
Page 2
Page 3
คูมือการใชส มุนไพรไทย-จนี
ที่ปรึกษา
นายแพทยลือชา วนรัตน อธบิ ดีกรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
นายแพทยวชิ ัย โชคววิ ัฒน ผูทรงคุณวุฒิ
นายแพทยสมยศ เจรญิ ศักดิ์ ผูท รงคุณวฒุ ิ
บรรณาธกิ าร
เย็นจติ ร เตชะดํารงสิน
คณะทํางาน
ทัศนยี ฮาซาไนน พเยาว เหมือนวงษญาติ อภญิ ญา เวชพงศา รพีพล ภโววาท
วิญู เตโชวาณชิ ย วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช สวาง กอแสงเรอื ง สมชาย จิรพินจิ วงศ
เบญจนีย เภาพานิชย ยุพาวดี บญุ ชิต รวนิ ันท กุดทิง
เจา ของลขิ สทิ ธิ์: กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
ออกแบบ: เยน็ จิตร เตชะดาํ รงสนิ
ถายภาพ: อาวธุ ราชสีหวรรณ อัศวิน นรนิ ทชัยรงั ษี
พิมพคร้งั ที่ 1: มีนาคม 2551 จาํ นวน 1,000 เลม
พมิ พที่ : สาํ นกั งานกิจการโรงพิมพ องคการทหารผานศึกในพระบรมราชปู ถมั ภ
2/9 ซอยกรุงเทพฯ-นนทบรุ ี 31 เขตบางซ่ือ กรุงเทพมหานคร 10800
ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แหงชาติ
เย็นจิตร เตชะดํารงสนิ (บรรณาธิการ)
คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน—กรงุ เทพมหานคร:
สํานกั งานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผา นศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ, 2551. 208 หนา ภาพประกอบ
กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ISBN 978-974-8062-72-3
Page 4
ก กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
คํานํา
ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีนต้ังอยูในภูมิภาคที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของ
ทรัพยากรพชื และสัตว และทรพั ยากรพชื ของทั้งสองประเทศมีจาํ นวนไมน อ ยท่ีเหมอื นกนั ยงั ผลใหส มนุ ไพร
ไทยและจนี มีบางสว นท่ีเหมือนกัน แตม ีช่อื เรยี กไทยและจีนตางกนั นอกจากนีส้ าธารณรัฐประชาชนจนี ยัง
เปน แบบอยา งทดี่ ปี ระเทศหนึง่ ของโลกทีม่ ีการใชส มุนไพรในการปอ งกันและรกั ษาโรคตา ง ๆ ใหก บั ประชาชน
จนี จาํ นวน 1,300 ลานคนไดอยางพอเพยี งและมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารบันทึกการใชสมนุ ไพรอยางเปน ระบบ
มานานนับพนั ป และมแี บบแผนในการใชว ธิ ที างวทิ ยาศาสตรมาสนับสนนุ ภูมิปญญาดัง้ เดิม โดยเปน ท่ี
ยอมรบั ของนานาประเทศทว่ั โลก
ประเทศไทยมรี ะบบการแพทยแผนไทยเชนกัน แตไมมีการบนั ทกึ อยางเปน ระบบมากนกั การแพทย
และสมุนไพรทงั้ ของไทยและจีนทไ่ี ดสืบทอดเปน ภมู ิปญ ญามาแตโบราณกาล มคี วามลมุ ลกึ สขุ ุมและละเอยี ด
ประณีตสอดคลองกบั วถิ ีชวี ติ และวัฒนธรรมอันดีงามของคนไทยและคนจีนอยา งแนบแนน เมื่อศกึ ษาใน
แนวลกึ จะพบวา การแพทยท้ังสองแผนตางมจี ุดเดนของตัวเองและมบี างสว นท่ีคลายคลงึ กัน สามารถนาํ มา
ประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสม การพฒั นาดา นการแพทยต ามภูมิปญ ญาจะตอ งพฒั นาควบคไู ปกบั ดา นเภสัชกรรม
เพ่ือใหการใชยาสมุนไพรเปนไปอยางถูกตอง ปลอดภัย และมีประสิทธิผล จาํ เปนตองทราบวิธีแปรรูป
ตัวยาใหมีคณุ ภาพและวิธใี ชส มนุ ไพรทถ่ี กู ตอ ง
กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลอื ก เปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ
ทร่ี ับผดิ ชอบการถา ยทอดองคค วามรูแ ละเทคโนโลยดี า นการแพทยแ ผนไทย การแพทยทางเลอื กและสมนุ ไพร
ไดต ระหนกั ถึงความจําเปน ของการรวบรวมขอมลู การใชส มุนไพรไทยและจีนเหลานีไ้ วใ ชป ระโยชน จงึ ได
จดั ทําหนงั สอื “คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี ” ขึน้ โดยไดคัดเลือกสมุนไพรท่ียอมรบั วามปี ระโยชน หาได
งา ยในประเทศไทย และมีความสําคัญดา นเศรษฐกิจและการสาธารณสุข มีการใชทัง้ สองประเทศจาํ นวน
50 ชนิดมารวบรวมไว ซึ่งมีเน้ือหาครอบคลุมท้ังดา นความรทู ่ัวไปและการใชส มุนไพรเปน รายชนดิ เพ่อื ให
บุคลากรสาธารณสขุ และผูสนใจทว่ั ไปศึกษาและสามารถนําสมุนไพรดงั กลา วไปใชไ ดอ ยางมนั่ ใจ มีเหตผุ ล
และกวางขวางยง่ิ ข้ึน
กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทานที่มี
ความตัง้ ใจและความทุมเทเสียสละ รวมมือกันทาํ งานจนหนังสอื เลม นี้สาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ยดี และหวังเปน
Page 5
คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี ข
อยา งย่งิ วา องคความรูด า นสมุนไพรไทย-จนี ในหนังสอื เลม นจี้ ะมสี ว นชว ยสะทอ นใหเ หน็ การนําขอดขี อง
ศาสตรอ่ืนมาใชใหเกิดประโยชน เพ่ือพัฒนาศาสตรของตนและเกิดความรวมมือกัน มุงหวังให
ผลการรักษาโรคมีประสทิ ธิภาพเพิ่มขนึ้ และสนบั สนนุ การพึง่ ตนเองดา นสุขภาพของประเทศ
(นายแพทยลอื ชา วนรตั น)
อธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
Page 6
ค กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
สารบญั หนา
คาํ นาํ ก
สารบญั ค
สารบญั ภาพ ฉ
ภาพสมุนไพรไทย-จีน 1
11
บทนํา 13
21
ความรทู ั่วไปเก่ยี วกับสมุนไพร 30
34
การใชย าสมุนไพร 44
45
รสของยาไทยและยาจนี 48
51
การเตรียมตวั ยาพรอ มใช 55
57
การใชส มุนไพรรายชนดิ 60
- กระวาน : โตวโคว (豆蔻 Doukou) 62
- กะเมง็ : ฮั่นเหลียนเฉา (旱莲草 Hanliancao) 66
- กานพลู : ติงเซยี ง (丁香 Dingxiang) 69
- กงิ่ หมอ น : ซังจือ (桑枝 Sangzhi) 72
- กง่ิ อบเชยจนี : กยุ จอื (桂枝 Guizhi) 76
- เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (莲须 Lianxu) 80
- โกฐขแ้ี มว : ตี้หวง (地黄 Dihuang) 83
- โกฐเขมา : ชงั จู (苍术 Cangzhu) 86
- โกฐจุฬาลาํ พา : ชิงเฮา (青蒿 Qinghao) 90
- โกฐเชยี ง : ตงั กุย (当归 Danggui) 93
- โกฐน้ําเตา : ตาหวง (大黄 Dahuang)
- โกฐสอ : ไปจื่อ (白芷 Baizhi)
- โกฐหวั บัว : ชวนซยฺ ง (川芎 Chuanxiong)
- ขิง : เจียง (姜 Jiang)
- คนทสี อ : มา นจงิ จ่ือ (蔓荆子 Manjingzi)
- เฉากว ย : เฉากั่ว (草果 Caoguo)
คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 7
สารบัญ (ตอ ) ง
- ชะเอมเทศ : กันเฉา (甘草 Gancao) หนา
- ดอกคําฝอย : หงฮวา (红花 Honghua) 95
- ดบี วั : เหลยี นจ่ือซิน (莲子心 Lianzixin) 101
- ดปี ลี : ปปอ (荜茇 Bibo) 104
- ตน พิมเสน : ฮวั่ เซยี ง (藿香 Huoxiang) 106
- ตน สะระแหน : ปอ เหอ (薄荷 Bohe) 109
- บว ยดํา : อูเหมย (乌梅 Wumei) 111
- ใบมะขามแขก : ฟานเซ่ียเย่ีย (番泻叶 Fanxieye) 113
- ใบหมอน : ซังเยยี่ (桑叶 Sangye) 116
- เปลอื กรากโบตั๋น : หมูตันผี (牡丹皮 Mudanpi) 119
- เปลือกรากหมอ น : ซังไปผี (桑白皮 Sangbaipi) 122
- โปงรากสน : ฝหู ลิง (茯苓 Fuling) 125
- ผลพดุ ซอน : จือจื่อ (栀子 Zhizi) 128
- ผลเลย่ี น : ชวนเลี่ยนจื่อ (川楝子 Chuanlianzi) 130
- ผักคาวทอง : ยฺหวีซิงเฉา (鱼腥草 Yuxingcao) 133
- ผวิ สมจีน : เฉินผี (陈皮 Chenpi) 136
- พทุ ราจนี : ตาเจา (大枣 Dazao) 139
- ฟา ทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (穿心莲 Chuanxinlian) 142
- เมลด็ บัว : เหลียนจื่อ (莲子 Lianzi) 144
- เมลด็ ฝอยทอง : ทูซ ือจ่อื (兔丝子 Tusizi) 149
- ราชดดั : ยาตา นจอ่ื (鸭胆子 Yadanzi) 151
- เรวดง: ซาเหริน (砂仁 Sharen) 154
- ลูกจนั ทนเ ทศ : โรว โตว โคว (肉豆蔻 Roudoukou) 157
- ลูกเดือย : อี้อี่เหริน (意苡仁 Yiyiren) 160
- เล็บมือนาง : ส่ือจฺวินจ่ือ (使君子 Shijunzi) 164
167
Page 8
จ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
สารบัญ (ตอ ) หนา
- วา นพรา ว : เซยี นเหมา (仙茅 Xianmao) 170
- วานนํ้า : จั้งชางผู (藏菖蒲 Zangchangpu) 173
- สายน้าํ ผ้ึง : จนิ อ๋นิ ฮวา (金银花 Jinyinhua) 176
- สเี สยี ด : เออ ฉา (儿茶 Ercha) 179
- หญา คา : ไปเ หมาเกนิ (白茅根 BaiMaogen) 182
- หญาแหวหมู : เซียงฟู (香附 Xiangfu) 185
- หมาก : ปงหลาง (槟榔 Binglang) 189
- โหราเดอื ยไก : ฟูจ่ือ (附子 Fuzi) 192
- อบเชยจนี : โรวกุย (肉桂 Rougui) 196
คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 9
สารบญั ภาพ ฉ
1. กระวาน : โตวโคว (Fructus Amomi Rotundus) หนา
2. กะเมง็ : ฮ่ันเหลียนเฉา (Herba Ecliptae) 1, 45
3. กานพลู : ติงเซยี ง (Flos Caryophylli) 1, 48
4. กิง่ หมอน : ซังจือ (Ramulus Mori) 1, 51
5. กิง่ อบเชยจนี : กยุ จอื (Ramulus Cinnamomi) 1, 55
6. เกสรบวั หลวง : เหลยี นซู (Stamen Nelumbinis) 1, 57
7. โกฐข้แี มว : ตห้ี วง (Radix Rehmanniae) 1, 60
8. โกฐเขมา : ชงั จู (Rhizoma Atractylodis) 2, 62
9. โกฐจฬุ าลาํ พา : ชิงเฮา (Herba Artemisiae Annuae) 2, 66
10. โกฐเชยี ง : ตังกยุ (Radix Angelicae Sinensis) 2, 69
11. โกฐนาํ้ เตา : ตาหวง (Radix et Rhizoma Rhei) 2, 72
12. โกฐสอ : ไปจ ือ่ (Radix Angelicae Dahuricae) 3, 76
13. โกฐหัวบวั : ชวนซฺยง (Rhizoma Chuanxiong) 3, 80
14. ขงิ : เจยี ง (Rhizoma Zingiberis) 3, 83
15. คนทีสอ : มานจงิ จอื่ (Fructus Viticis) 3, 86
16. เฉากว ย : เฉากั่ว (Fructus Tsaoko) 3, 90
17. ชะเอมเทศ : กนั เฉา (Radix Glycyrrhiza) 3, 93
18. ดอกคําฝอย : หงฮวา (Flos Carthami) 4, 95
19. ดีบัว : เหลียนจื่อซนิ (Plumula Nelumbinis) 4, 101
20. ดปี ลี : ปปอ (Fructus Piperis Longi) 4, 104
21. ตนพมิ เสน : ฮ่ัวเซยี ง (Herba Pogostemonis) 4, 106
22. ตน สะระแหน : ปอเหอ (Herba Menthae) 4, 109
23. บว ยดํา : อูเหมย (Fructus Mume) 5, 111
24. ใบมะขามแขก : ฟานเซ่ียเยี่ย (Folium Sennae) 5, 113
25. ใบหมอน : ซังเยยี่ (Folium Mori) 5, 116
26. เปลอื กรากโบตัน๋ : หมูตันผี (Cortex Moutan) 5, 119
5, 122
Page 10
ช กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
สารบัญภาพ (ตอ) หนา
27. เปลอื กรากหมอ น : ซังไปผี (Cortex Mori) 5, 125
28. โปงรากสน : ฝูหลิง (Poria) 6, 128
29. ผลพดุ ซอ น : จือจื่อ (Fructus Gardeniae) 6, 130
30. ผลเล่ยี น : ชวนเลี่ยนจื่อ (Fructus Toosendan) 6, 133
31. ผักคาวทอง : ยหฺ วีซิงเฉา (Herba Houttuyniae) 6, 136
32. ผวิ สม จีน : เฉินผี (Pericarpium Citri Reticulatae) 6, 139
33. พทุ ราจนี : ตาเจา (Fructus Jujubae) 6, 142
34. ฟาทะลายโจร : ชวนซินเหลียน (Herba Andrographitis) 7, 144
35. เมล็ดบัว : เหลียนจ่ือ (Semen Nelumbinis) 7, 149
36. เมลด็ ฝอยทอง : ทซู อื จ่ือ (Semen Cuscutae) 7, 151
37. ราชดัด : ยาตา นจอ่ื (Fructus Bruceae) 7, 154
38. เรว ดง : ซาเหริน (Fructus Amomi) 7, 157
39. ลูกจันทนเ ทศ : โรว โตว โคว (Semen Myristicae) 7, 160
40. ลกู เดอื ย : อ้ีอ่ีเหริน (Semen Coicis) 8, 164
41. เล็บมือนาง : สื่อจฺวินจ่ือ (Fructus Quisqualis) 8, 167
42. วา นพรา ว : เซยี นเหมา (Rhizoma Curculiginis) 8, 170
43. วานนาํ้ : จั้งชางผู (Rhizoma Acori Calami) 8, 173
44. สายนาํ้ ผึง้ : จินอ๋ินฮวา (Flos Lonicerae) 8, 176
45. สีเสียด : เออฉา (Catechu) 8, 179
46. หญา คา : ไปเหมาเกิน (Rhizoma Imperatae) 9, 182
47. หญา แหว หมู : เซียงฟู (Rhizoma Cyperi) 9, 185
48. หมาก : ปงหลาง (Semen Arecae) 9, 189
49. โหราเดือยไก : ฟูจ่ือ (Radix Aconiti Lateralis Preparata) 9, 192
50. อบเชยจีน : โรวกุย (Cortex Cinnamomi) 9, 196
คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี Page 11
ภาพสมุนไพรไทย-จีน 1
2 เซนติเมตร 1 เซนติเมตร
กระวาน (Fructus Amomi Rotundus) กะเม็ง (Herba Ecliptae)
2 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร
กงิ่ อบเชยจีน (Ramulus Cinnamomi) กิ่งหมอน (Ramulus Mori)
2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร
กานพลู (Flos Caryophylli) เกสรบัวหลวง (Stamen Nelumbinis)
Page 12
2 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
(Radix 2 เซนติเมตร โกฐเขมา (Rhizoma Atractylod2isเ)ซนติเมตร
โกฐขี้แมว Rehmanniae)
5 เซนติเมตร
ตังกุยเซนิ (Radix Angelicae Sinensis) 2 เซนตเิ มตร
โกฐเชยี ง หรือ ตงั กุยเหวย (Radix Angelicae Sinensis)
2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร
ตงั กุยโถว (Radix Angelicae Sinensis) โกฐจุฬาลําพา (Herba Artemisiae Annuae)
คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน Page 13
3
2 เซนตเิ มตร โกฐสอ (Radix Angelicae Dahuric2aเeซ)นติเมตร
โกฐน้าํ เตา (Radix et Rhizoma Rhei)
3 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร
โกฐหวั บัว (Rhizoma Chuanxiong) ขิงแหง (Rhizoma Zingiberis)
0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนติเมตร
คนทีสอ (Fructus Viticis) เฉากวย (Fructus Tsaoko)
Page 14
4 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร
ชะเอมเทศ (Radix Glycyrrhizae) ชะเอมเทศผัดนา้ํ ผง้ึ (Radix Glycyrrhizae Preparata)
0.5 เซนตเิ มตร 0.5 เซนติเมตร
ดอกคําฝอย (Flos Carthami) ดีบัว (Plumula Nelumbinis)
1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร
ดีปลี (Fructus Piperis Longi) ตน พิมเสน (Herba Pogostemonis)
คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี Page 15
5
2 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร
ตนสะระแหน (Herba Menthae) บว ยดาํ (Fructus Mume)
2 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร
ใบมะขามแขก (Folium Sennae) ใบหมอน (Folium Mori)
2 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร
เปลือกรากโบต๋ัน (Cortex Moutan) เปลือกรากหมอน (Cortex Mori)
Page 16
6 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
3 เซนตเิ มตร 2 เซนติเมตร
โปงรากสน (Poria) ผลพุดซอน (Fructus Gardeniae)
2 เซนตเิ มตร 3 เซนตเิ มตร
ผลเลี่ยน (Fructus Toosendan) ผักคาวทอง (Herba Houttuyniae)
2 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร
ผวิ สมจีน (Pericarpium Citri Reticulatae) พุทราจีน (Fructus Jujubae)
คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน Page 17
7
2 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร
ฟาทะลายโจร (Herba Andrographis) เมล็ดบัว (Semen Nelumbinis)
0.3 เซนติเมตร 0.5 เซนตเิ มตร
เมล็ดฝอยทอง (Semen Cuscutae) ราชดัด (Fructus Bruceae)
0.5 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร
เรวดง (Fructus Amomi) ลูกจนั ทนเ ทศ (Semen Myristicae)
Page 18
8 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
0.5 เซนติเมตร 0.5 เซนติเมตร
ลูกเดือย (Semen Coicis) เล็บมือนาง (Fructus Quisqualis)
1 เซนตเิ มตร 2 เซนตเิ มตร
วานพราว (Rhizoma Curculiginis) วานน้ํา (Rhizoma Acori Calami)
0.5 เซนตเิ มตร 1 เซนตเิ มตร
สายนาํ้ ผ้ึง (Flos Lonicerae) สีเสียด (Catechu)
คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี Page 19
9
(Rhizoma 1 เซนติเมตร 1 เซนตเิ มตร
หญา คา Imperatae) หญาแหวหมู (Rhizoma Cyperi)
1 เซนติเมตร 2 เซนตเิ มตร
เมล็ดหมาก (Semen Arecae) โหราเดอื ยไก (Radix Aconiti Lateralis Preparata)
5 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร
อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi) อบเชยจีน (Cortex Cinnamomi)
Page 20
10 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
Page 21
คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จนี 11
บทนาํ
จากการศกึ ษาดูงานดานการแพทยและสมนุ ไพรจีนในสาธารณรัฐประชาชนจีนของนักวชิ าการไทย
พบวา การวจิ ยั และพัฒนายาจากสมุนไพรจีนมีความกาวหนามาก และสาธารณรัฐประชาชนจีนมีทรพั ยากร
ดา นสมุนไพรและตาํ ราเกยี่ วกบั สมุนไพรมากมาย การนาํ สมุนไพรมาใชเปน ยารักษาโรคในการแพทยแผน
จีนนั้น ไดมกี ารพฒั นาสบื ตอกนั มานานนบั พันป ท้ังในชว งทสี่ าธารณรัฐประชาชนจีนปดประเทศระหวาง
ป ค.ศ. 1949-1990 รวมเวลา 41 ปนั้น การพัฒนาสมุนไพรไดดาํ เนินการมาโดยตลอด และไดเพิ่มการ
วิจัยและพัฒนาสมุนไพรในทุก ๆ ดาน ตามนโยบายการเรงรัดการผลิตยาจากสมุนไพรมาทดแทนยาท่ี
ขาดแคลนซง่ึ ตองนําเขาจากตางประเทศ ทําใหส าธารณรัฐประชาชนจนี มกี ารใชส มนุ ไพรและยาจากสมนุ ไพร
ในงานสาธารณสขุ ของประเทศอยางกวา งขวาง ขอมลู การใชและการพัฒนาสมุนไพรในดานตา ง ๆ ไดม ีการ
บนั ทึกอยา งตอ เนือ่ ง โดยใชค วามรูทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยสี มยั ใหมมาศึกษาวจิ ยั เพือ่ หาขอ มูลมา
สนบั สนุนการใชต ามภมู ปิ ญญาดั้งเดิม
ในป พ.ศ. 2534-2535 กรมวิทยาศาสตรก ารแพทยไดร ับงบประมาณสนบั สนนุ จากองคก าร
อนามยั โลกในการจดั ทําโครงการ “Expert Committee, for Transferring Technology and Integration
of Knowledge in Chinese and Thai Herbal Medicine” โดยไดดาํ เนินการในรปู แบบของคณะกรรมการ
และไดจ ดั ตั้งคณะกรรมการผเู ชี่ยวชาญการถายทอดเทคโนโลยีและประสมประสานประโยชนดานการใช
สมนุ ไพร เพือ่ แปลและรวบรวมขอ มูลท่ีเปน ประโยชนตอ การใช การวิจัย รวมทั้งการควบคมุ คุณภาพของ
สมนุ ไพร ซ่ึงขอ มูลตาง ๆ เหลาน้นั ไดรวบรวมจากตาํ ราสมุนไพรจนี ทีน่ าเช่ือถอื และเปนทย่ี อมรับของแพทย
แผนจีนจาํ นวน 19 เลม เปนงานทีย่ ังไมม กี ารแปลเปน ภาษาไทยหรอื ภาษาองั กฤษในขณะนน้ั โดยใช
ขอ มลู จากรายงานการศกึ ษาวจิ ยั ทง้ั ในและตางประเทศ นํามาประกอบเพือ่ ใหส มบรู ณยิง่ ขึ้น สมุนไพรทีไ่ ด
คัดเลือกเปนสมุนไพรทม่ี กี ารใชและมีความสําคัญดา นสาธารณสุข ไดแก เรว หมอ น บวั หลวง และพลคู าว
แตเนอ่ื งจากมขี อจํากดั ดานงบประมาณจึงไมสามารถดําเนินการตอ เนือ่ งได และนา เสียดายทป่ี รมาจารย
หลายทา นในคณะกรรมการดังกลา วไดลว งลบั ไปแลว อาทิ ศาสตราจารย ดร.วิเชยี ร จรี วงศ ดร.มานะ
รักวทิ ยาศาสตร นายเจนกิจ เวชพงศา นายวิทติ วณั นาวบิ ูล ทา นเหลา น้ันลว นเปนผมู คี วามรภู าษาจีน
ดา นการแพทยแ ละเภสชั กรรมเปน อยา งดีและไดอ ทุ ิศเวลาในการศึกษา พจิ ารณา แปล และเรียบเรียง
เปนภาษาไทย สามารถถา ยทอดองคความรูทถี่ กู ตอ งใหผูสนใจนําไปใชประโยชน ผูเ ขยี นโชคดที ่ไี ดมีโอกาส
Page 22
12 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
เปนกรรมการในชดุ นั้น และผเู ขียนตระหนกั ดวี าภาษาจนี มศี ัพทเ ทคนิคเฉพาะดาน โดยเฉพาะอยางยงิ่
ทางดานการแพทยและเภสัชกรรม มีศัพทเฉพาะวิชา ไมสามารถสื่อความหมายใหเขาใจไดโดยบุคคล
ธรรมดา และไดเห็นประโยชนของการนาํ องคความรูดังกลาวมาประยุกตใชใหเหมาะสม จึงมีความคิด
ที่จะสานตอเจตนารมณของปรมาจารยเหลา นั้น
กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก โดยสถาบนั การแพทยไทย-จนี เอเชยี
ตะวันออกเฉียงใต ในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนาและถายทอดองคความรูดานศาสตร
การแพทยแ ผนจีนทถี่ ูกตอ ง และผสมผสานการแพทยแ ผนจีนทเ่ี หมาะสมเขาสูระบบสุขภาพ จงึ ไดจดั ทาํ
หนังสือ “คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี ” น้ีข้ึน โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื จัดการความรูดานการใชส มุนไพร
ไทย-จนี เผยแพรความรูดา นการใชป ระโยชนจากสมุนไพรไทย-จีน และสนับสนนุ การผลักดนั วิทยาการ
ดานสมุนไพรใหก า วหนาตอ ไป เพื่อใหเกิดประโยชนสงู สุดแกค นไทย
ในการจดั ทาํ หนงั สอื “คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี ” นี้ตองใชความพยายามอยา งสงู ในการสบื คน
ขอมูลจากเอกสารและตาํ ราหลายสิบเลม ท้ังภาษาไทยและภาษาจีน โดยขอ มลู เกีย่ วกบั สมุนไพรไทยไดจ าก
เอกสารท่ีสะทอ นภูมปิ ญญาไทยจากหลายแหลง ท้งั จากตําราแพทยแผนไทยและผลงานวจิ ัยตา ง ๆ สว น
ขอ มลู สมนุ ไพรจีนไดจ ากเภสชั ตาํ รับของสาธารณรัฐประชาชนจนี (Pharmacopoeia of the People’s
Republic of China) ตาํ รายาจนี (Chinese Materia Medica) ตาํ ราการแปรรปู สมุนไพรจนี (Processing
of Traditional Chinese Medicine) และตําราวชิ าการศาสตรการแพทยแ ผนจนี ซงึ่ ตาํ ราเหลา น้ีสว น
ใหญต ีพมิ พเปนภาษาจีน มีศัพทเทคนิคเฉพาะมากมาย ทําใหยากลาํ บากในการแปล และเม่ือแปลเปน
ภาษาไทยแลว ตอ งมาเรยี บเรยี งใหมใ หเ ปนภาษาทีเ่ ขาใจงา ยสาํ หรบั ผูอานทัว่ ไป รวมทงั้ ไดจ ดั ทําภาพประกอบ
ตวั ยาแตล ะชนดิ ซึง่ กวา จะเปนรปู เลม เผยแพรไ ดต อ งใชเ วลาและความพยายามมาก
หนังสอื “คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน” เลมนป้ี ระกอบดว ยเนอื้ หาที่สาํ คัญ 2 สวน สว นแรก
เปน เรื่องของความรทู ัว่ ไปท่ีควรทราบ เพอ่ื ใหผอู า นไดท ราบความรทู ั่วไปเกยี่ วกบั สมนุ ไพร การใชย าสมุนไพร
รสของยาไทยและยาจีน และการเตรียมตัวยาพรอมใช สว นทีส่ องเปน เรอ่ื งของการใชส มุนไพรรายชนิด
จาํ นวน 50 ชนิด ซงึ่ แตล ะชนดิ ประกอบดวยรายละเอยี ดของหวั ขอ ดงั นี้ นยิ าม ชือ่ ตัวยา (ไทย จนี
อังกฤษ และละติน) การเกบ็ เก่ียวและการปฏบิ ัตหิ ลังการเก็บเก่ียว การเตรยี มตัวยาพรอมใช คุณภาพของ
ตัวยาจากลกั ษณะภายนอก สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทยและการแพทยแผนจนี ขนาดทีใ่ ชและ
วิธีใช ขอ หามใช ขอควรระวงั และอาการขางเคียง รวมทั้งขอ มูลวชิ าการที่เกยี่ วขอ งและภาพประกอบของ
ตัวยา ซึ่งหวั ขอ ตา ง ๆ ดังกลา วมคี วามหมายและความสําคญั ตอ การนําสมุนไพรมาใชประโยชน
Page 23
คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 13
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสมนุ ไพร
ประเทศไทยอยูในเขตรอนช้ืนท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมากประเทศหน่ึงของโลก มี
รายงานวา ประเทศไทยมพี ืชประมาณ 15,000 ชนิด มสี มนุ ไพรที่ใชเ ปนยาในทอ งถน่ิ ประมาณ 800 ชนิด
และหากมีการสาํ รวจอยา งตอ เนอื่ งเพม่ิ เติมจะตองพบชนดิ พนั ธุใหม ๆ อกี มาก คนไทยรจู ักนาํ สมนุ ไพร
มาใชประโยชนกวา 2,000 ป ท้ังเปนยารกั ษาโรคและเปนอาหาร นอกจากนีส้ มนุ ไพรยังสามารถนํามาใช
ประโยชนท างดา นอื่น ๆ เชน นาํ มาบริโภคเปนเคร่อื งดืม่ สีผสมอาหาร สยี อ ม และเคร่อื งสาํ อางอกี ดวย
คาํ นิยาม
คาํ วา “สมุนไพร” ไดม ีการใหคํานิยามไวหลากหลาย ดังตอไปนี้
1. “สมนุ ไพร” ตามพจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 พิมพครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2546
หนา 1,132 น. ผลติ ผลธรรมชาติ ไดจ ากพืช สัตว และแรธ าตุ ทีใ่ ชเปนยา หรือผสมกบั สารอนื่ ตามตาํ รับ
ยา เพอ่ื บาํ บัดโรค บาํ รงุ รางกาย หรอื ใชเ ปนยาพิษ เชน กระเทียม นา้ํ ผึง้ รากดนิ (ไสเดือน) เขากวางออน
กํามะถนั ยางนอง โลตน๊ิ 1
2. “ยาสมุนไพร” ตามพระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ. 2510 ในมาตรา 4 หมายความวา ยาที่ได
จากพฤกษชาติ สัตว หรอื แรธาตุ ซ่ึงมไิ ดผสม ปรุง หรอื แปรสภาพ2
3. “สมุนไพร” ตามพระราชบญั ญตั ิคมุ ครองและสง เสรมิ ภมู ิปญญาการแพทยแผนไทย พ.ศ.
2542 หมายความวา พืช สตั ว จลุ ชีพ ธาตุวตั ถุ สารสกัดดง้ั เดิมจากพชื หรือสตั ว ท่ีใช หรือ แปรสภาพ
หรอื ปรงุ เปนยา หรืออาหารเพอ่ื การตรวจวินจิ ฉยั บําบดั รักษา หรือปองกนั หรือสง เสรมิ สขุ ภาพรา งกาย
มนษุ ย หรือสตั ว และใหห มายความรวมถงึ ถิน่ กําเนิด หรือถน่ิ ที่อยขู องส่งิ ดังกลาว3
การเกบ็ เกยี่ วสมนุ ไพร
สมนุ ไพรสว นใหญไ ดมาจากพชื พชื แตล ะชนดิ มแี หลง กระจายพนั ธุและถน่ิ ท่ีอยแู ตกตางกัน สง ผล
ใหสมุนไพรแตล ะชนดิ มีลักษณะเฉพาะตัว มอี งคป ระกอบทางเคมี และสรรพคณุ ทางยาแตกตางกันดวย
การเกบ็ เกย่ี ววัตถุดิบสมนุ ไพรตอ งคาํ นงึ ถึง การเกบ็ เกยี่ วใหถกู ชนิดของพืช การเกบ็ เกี่ยวใหถ กู สว นทใี่ ช
ทาํ ยา และการเก็บเก่ยี วในอายขุ องพชื ชว งเวลาของวัน และฤดกู าลเกบ็ ทเ่ี หมาะสม จะไดยาทม่ี ีคณุ ภาพดี
หรอื ไดส รรพคุณทางยาตามตองการ สวนของพชื สมุนไพรทีใ่ ชเปนยามี 5 สวน จะเก็บในระยะทม่ี ีปริมาณ
4
ตวั ยาในพชื สงู สดุ ดังนี้
Page 24
14 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
1. รากและหวั (เหงา ลําตนใตดิน) จะเกบ็ ในระยะท่ีพชื หยุดการเจริญเติบโตแลว สวนใหญเปน
พืชลมลกุ มกั จะเก็บตอนตน ฤดูหนาว ซึง่ เปนชว งท่ผี ลัดใบ พชื จะเกบ็ สะสมอาหารไวท ี่รากและหัว
2. ใบหรือทั้งตน จะเก็บในระยะท่ีพชื เจริญเติบโตมากทส่ี ุด แตบางชนิดก็จะกําหนดวาตองเก็บ
อยางไร
3. เปลือกตน และเปลอื กราก จะเก็บในระยะตน ฤดฝู น เพราะเปน ชว งที่มตี วั ยาสงู และลอกเปลือก
งายกวา ชวงอ่นื ๆ
4. ดอก จะเก็บในระยะดอกเรม่ิ บาน ยกเวนบางชนิดตองเก็บขณะยังตมู อยู
5. ผลและเมล็ด จะเกบ็ ในระยะแกเตม็ ท่ี
วธิ กี ารเก็บสมุนไพรที่ถูกตอ งน้ัน โดยทั่วไปไมมีอะไรสลบั ซบั ซอ น ประเภทใบและดอก ใชว ิธีเด็ด
แบบธรรมดา สวนประเภทราก หัว หรือเกบ็ ทงั้ ตน ใชว ธิ ีขดุ อยางระมัดระวัง เพอื่ ใหไดสวนทเ่ี ปน ยามาก
ทีส่ ดุ สาํ หรับเปลือกตนหรอื เปลือกราก เนื่องจากเกี่ยวของกับการดาํ รงชวี ติ ของตน พชื ดังนั้นจึงควรสนใจ
วิธกี ารเก็บดังทไี่ ดก ลาวมาแลว ขา งตน 3
เครื่องมอื สําหรับเกบ็ สมนุ ไพร เชน มดี ขนาดใหญ กรรไกร เล่อื ย และเครอื่ งมือจกั รกลอน่ื ๆ
ควรเก็บรักษาใหสะอาด และบาํ รุงรักษาใหอยูในสภาพที่เหมาะสม สวนของเคร่ืองมือท่ีสัมผัสโดยตรง
กับวัตถดุ บิ สมนุ ไพรทเี่ ก็บควรจะตองปราศจากน้าํ มันหลอ ลื่นและสิ่งปนเปอ นอ่นื ๆ5
การปฏิบัติหลงั การเกบ็ เกยี่ ว
ยาสมนุ ไพรโดยท่วั ไปมที ้ังการใชส ดและการใชแ หง การใชส ดนน้ั มีขอดตี รงสะดวก ใชง า ย แต
วา ฤทธ์ิการรกั ษาของยาสมนุ ไพรไมค งท่ี ยาทใี่ ชส ดมหี ลายอยา ง เชน วานหางจระเข รากหญาคา เปนตน
แตการใชยาสมุนไพรสวนมากนิยมใชแหง เพราะจะไดคุณภาพของยาคงท่ี โดยเลือกเก็บยาสมุนไพรท่ี
ตอ งการตามฤดูกาลเกบ็ พชื แลว นํามาแปรสภาพโดยผา นกระบวนการท่ีเหมาะสมเพอ่ื เกบ็ ยาไวไ ดเ ปนเวลา
นาน5 การปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เก่ยี วหากดาํ เนนิ การไมถกู ตอ ง อาจทาํ ใหส ารสาํ คญั ในสมุนไพรสลายตวั และ
วัตถุดิบมีคณุ ภาพตา่ํ ลง โดยทว่ั ไปการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวมี 2 ขนั้ ตอน6 คือ
1. การทาํ ความสะอาดและการเตรียมสมุนไพรกอ นทาํ ใหแหง หลังจากเกบ็ เกยี่ วสมนุ ไพรมาแลว
แยกสงิ่ อ่นื ทปี่ ะปนออก ลา งสมนุ ไพรดว ยนา้ํ สะอาด และตัด หั่น หรอื ฝานใหไดข นาดตามความเหมาะสม
สมุนไพรบางชนดิ อาจจาํ เปน ตองอบ น่ึง หรือตม ดวย
Page 25
คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 15
2. การทําใหแหง สมุนไพรท่ีมคี วามช้ืนมากเกนิ ไป นอกจากจะทําใหแบคทีเรียและเชื้อราเจริญ
ไดงา ยแลว ยงั จะเรง ใหเ กิดการสญู เสยี สารสาํ คัญไดอีกดว ย จงึ จาํ เปนตองทําใหสมุนไพรแหง โดยกรรมวิธที ่ี
เหมาะสม ดงั นี้
- การตาก อาจจะตากในรมหรอื ตากแดด แลวแตช นิดของสมนุ ไพร
- การอบ ควรใชต ูอบทมี่ ีพัดลมระบายอากาศดวย ควรเลอื กอุณหภมู ใิ หเหมาะกับสว นของ
พืช โดยท่ัวไปความรอ นท่ีเหมาะสมตอ สว นของดอก ใบ และตนพชื ลมลกุ ประมาณ 35-45 องศาเซลเซยี ส
เปลือกตน เนื้อไม ราก ผลขนาดใหญ ประมาณ 40-60 องศาเซลเซียส
การเกบ็ รกั ษาสมุนไพร
การเกบ็ รกั ษายาสมนุ ไพรไวเ ปนเวลานานมกั จะเกดิ การขึ้นรา มหี นอน เปลี่ยนลกั ษณะ สี กลนิ่
ทาํ ใหยาสมนุ ไพรนนั้ เสือ่ มคณุ ภาพลง ทําใหม ผี ลไมด ตี อฤทธก์ิ ารรักษาหรือสญู เสยี ฤทธ์กิ ารรกั ษาไปเลย
ดงั น้นั จงึ ควรจะมกี ารจดั การเกบ็ รกั ษาที่ดี เพือ่ จะประกนั คณุ ภาพและฤทธก์ิ ารรักษาของยาสมนุ ไพรน้ัน
การเก็บรกั ษาควรปฏิบตั 3ิ ดังนี้
1. ยาที่จะเก็บรักษาไวจ ะตองทําใหแหง เพอื่ ปองกนั การข้นึ ราและการเปล่ยี นลกั ษณะเกิดภาวะ
ออกซไิ ดซ ยาทขี่ นึ้ รางายตองหมั่นเอาออกตากแดดเปนประจาํ
2. สถานทเี่ กบ็ รักษาจะตอ งแหง เย็น การถา ยเทของอากาศดี
3. ควรเกบ็ แบงเปน สัดสว น ยาท่ีมพี ิษ ยาท่ีมีกลิน่ หอม ควรเกบ็ แยกไวใ นทีม่ ดิ ชดิ ปองกันการ
สบั สนปะปนกัน
4. ดูแลปอ งกนั ไฟ หนอน หนู และแมลงตา ง ๆ
สารสาํ คญั ที่พบในสมนุ ไพร
สารสําคัญในพืชมหี ลายชนดิ แตกตางกนั ไปตามสว นตา ง ๆ ของพืช การทราบองคประกอบเคมี
ที่สาํ คัญจะชว ยใหสามารถนําสมนุ ไพรมาพฒั นาเปน ยาไดอ ยา งเหมาะสม กลุมสารเคมสี ําคัญทีพ่ บในพืช7
มดี ังนี้
1. คารโบไฮเดรต (carbohydrates) ในพชื มักจะถกู สรา งขึน้ จากการสงั เคราะหแสงและถูกเกบ็
เปน อาหารสะสมของพืช จะถกู นาํ มาใชเปนอาหารของคนและสตั ว แบงเปน 2 ชนดิ ใหญ ๆ คือ พวกที่
เปนน้ําตาล และพวกท่ไี มใชนํา้ ตาล
- พวกท่ีเปนนา้ํ ตาล แบงเปน 2 ชนิด คือ นา้ํ ตาลเชิงเดยี่ ว (monosaccharides) และ
น้ําตาลเชงิ ซอ น (oligosaccharides)
Page 26
16 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
- พวกที่ไมใ ชน าํ้ ตาล จะไมมรี สหวานและไมล ะลายน้าํ แบงเปน 2 ชนิด คือ
(ก) polysaccharides เชน แปง ไดแก แปงขา วโพด แปง ขาวสาลี แปงมนั ฝรงั่ แปง
สาคู มปี ระโยชนค อื ใชเ ปนตวั ทาํ เจือจาง (diluent), สารทาํ ใหนุมและชมุ ช้ืน (emollient) และสารชวย
แตกตัว (disintegrating agents) ในยาเม็ด และยาผง สว นเซลลโู ลส ไดแก สาํ ลี ใชส ําหรบั ทําแผล และ
เมทิลเซลลูโลส ใชเ ปน ยาระบายเพ่ิมกาก (bulk laxative) และสารชวยแขวนลอย (suspending agent)
(ข) polyuronides เชน กมั ใชเ ปน สารทาํ อิมัลชัน (emulsifying agent), สารชวย
แขวนลอย สารยดึ ติด (adhesive) และสารยดึ (binder) และสารประกอบพวกเปกตนิ ใชเปน สารชว ย
แขวนลอย และใชเ ปนสวนประกอบในยาแกทอ งเสยี เน่ืองจากมีคุณสมบตั ิของการดูดซึมสารคอลลอยด
(colloidal absorption) สามารถดูดซมึ สารที่เปนพิษได
2. โปรตีน (proteins) เปน สารอนิ ทรียท่มี ีไนโตรเจนอยใู นโมเลกุล เกดิ จากกรดอะมิโนมาจบั
กันเปน โมเลกลุ ใหญ แบง ออกเปน 3 กลุม คอื
- simple proteins เม่อื ถกู ยอ ยจะไดก รดอะมโิ น
- conjugated proteins ประกอบดว ยโปรตนี จบั กับสว นทไี่ มใ ชโปรตีน
- derived proteins เปนสารทีไ่ ดจากการสลายตัวของโปรตีน
3. ไขมนั (lipids) เปนเอสเทอรทเี่ กดิ จากกรดไขมันชนดิ โมเลกลุ ยาวจับกับแอลกอฮอล แบง เปน
3 ชนิด คอื
- ไขมัน และน้าํ มนั ไมร ะเหย สวนใหญไดม าจากสวนเมล็ด มักนํามาใชเ ปนอาหารและใช
ประโยชนทางดานเภสชั กรรม ไขมันและน้ํามนั ไมร ะเหยจะแตกตา งกนั ทจี่ ุดหลอมเหลว โดยน้ํามนั ไมระเหย
จะมจี ุดหลอมเหลวตาํ่ มีสภาพเปนของเหลวทอี่ ณุ หภมู ิปกติ สวนไขมันจะมสี ภาพเปนก่งึ ของแข็งก่งึ ของเหลว
หรือเปนของแขง็
- ไข เปน สารท่ใี ชใ นการเตรยี มยาขี้ผง้ึ ครมี เพ่อื ชวยใหย าข้ีผึ้งและครีมดงั กลาวแขง็ ตวั
4. น้ํามันหอมระเหย (volatile oils) เปน ของเหลวที่มีกลนิ่ เฉพาะตวั สว นมากจะมกี ล่ินหอม
ระเหยไดท่อี ุณหภมู หิ อง น้ํามันหอมระเหยประกอบดว ยสารเคมีท่สี ําคัญประเภท monoterpenes, sesqui-
terpenes และ oxygenated derivatives เชน นํ้ามันกานพลู ใชเ ปน ยาขบั ลม ฆา เชื้อ และเปนยาชา
เฉพาะที่ ระงับอาการปวดฟน นา้ํ มนั ยคู าลปิ ตัส ใชเ ปนยาขบั เสมหะ และฆา เช้ือจลุ นิ ทรีย เปน ตน
5. ยางไม (gum) เปนของเหนยี วที่ไดจากพืช เกดิ ขน้ึ เม่ือกรดี หรือทาํ ใหพชื นน้ั เปนแผล บาง
ชนิดนาํ มาใชป ระโยชนทางยา เชน กัมอาคาเซยี และกมั ตาคาคาน ใชใ นการเตรยี มยาพวกอมี ลั ชนั
Page 27
คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จีน 17
6. เรซนิ และบาลซ่มั (resins and balsams)
- เรซิน เปนสารประกอบท่ีมีรปู รางไมแ นนอน สวนมากมักเปราะ แตกงา ย บางชนิดอาจจะ
นิ่ม เมอ่ื เผาไฟจะหลอมเหลวไดส ารท่ีใส ขน และเหนียว เรซนิ เกิดจากสารเคมหี ลายชนิด เชน resin
acid, resin alcohol, resene และ ester มีเรซินหลายชนิดนํามาใชในทางเภสชั กรรม เชน ชนั สน (rosin
หรือ colophony) เปนสารทท่ี ําใหยาขผ้ี ้งึ แข็งตัว jalap ใชเปน ยาถา ยอยางแรง เปน ตน
- บาลซ่มั เปน resinous mixture ซึ่งประกอบดวยกรดซนิ นามกิ (cinnamic acid) หรอื
กรดเบ็นโซอิค (benzoic acid) หรือเอสเทอรของกรดทั้งสองชนิดนี้ บาลซ่ัมท่ีนํามาใชประโยชนทาง
เภสชั กรรม ไดแ ก Tolu balsam, storax, กํายาน (benzoin) กํายานทใี่ ชในตาํ รบั ยาสวนใหญค อื กํายาน
สุมาตรา ใชข บั เสมหะ
7. แอลคาลอยด (alkaloids) เปนสารที่มีรสขม มีไนโตรเจนเปนองคประกอบ มีคุณสมบัติ
เปนดา ง และมักมฤี ทธิ์ทางเภสชั วิทยา เชน ควนิ ิน มอรฟ น คาเฟอีน เปนตน
8. กลยั โคไซด (glycosides) เปน สารประกอบทม่ี ี 2 สว น คอื สวนท่ีเปน นาํ้ ตาล (glycone)
และสว นทีไ่ มเปนน้ําตาล (aglycone) กลัยโคไซดห ลายชนิดมีประโยชนท างยา เชน ดจิ ทิ อ็ กซนิ ซึ่งมีผล
ตอระบบหมนุ เวียนของโลหิตและการทํางานของหวั ใจ
9. แทนนนิ (tannins) เปน สารประกอบพวกโพลฟี นอลซงึ่ เม่อื ทําปฏกิ ิริยากับโปรตีนในหนัง
สตั ว ทาํ ใหห นงั สตั วไ มเ นา เปอ ยไปตามธรรมชาติ แทนนนิ มรี สฝาด มฤี ทธเิ์ ปน ยาฝาดสมาน บรรเทา
อาการทองรว ง
10. ฟลาโวนอยด (flavonoids) เปน สารประกอบพวกโพลฟี น อล มักจะมสี ี เชน แดง มวง
เหลอื ง หรือน้าํ เงนิ มักจะพบในรปู กลยั โคไซด เชน รูติน หรอื เคอรซ ติ ิน มฤี ทธใ์ิ นการลดอาการเสน
โลหิตเปราะ
11. สเตียรอยด (steroids) เปนสารท่มี สี ูตรโครงสรางเชนเดยี วกับฮอรโ มน และยาตา นอกั เสบ
เชน เบตา ซโิ ทสเตอรอล ซึ่งพบบอ ยในพชื มฤี ทธเ์ิ ปน anticholesteremic
12. ซาโพนิน (saponins) เปนสารประกอบจําพวกกลยั โคไซดท่ีมสี ว น aglycone (sapogenin)
เปน สารจาํ พวกสเตยี รอยด หรอื ไตรเทอรพีนอยด สว นนีจ้ ะจบั กับสวนนํา้ ตาล นํ้าตาลทพ่ี บสว นใหญเ ปน
oligosaccharides 1-5 หนวย ซาโพนนิ มคี ณุ สมบตั บิ างอยา งคลา ยสบู เชน สามารถเกดิ ฟองเมอ่ื เขยากบั
นํา้ เปนสารลดแรงตงึ ผวิ ท่ดี ี และทาํ ใหเม็ดเลือดแดงแตกได เชน ไดออสซนิ กลีเซอไรซนิ เปน ตน
Page 28
18 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
13. แอนทราควโิ นนส (anthraquinones) เปนสารประกอบจาํ พวกควิโนนทพี่ บมากท่สี ดุ และ
มีความสาํ คญั ที่สดุ พบท้ังในรูปอิสระ และรูปกลยั โคไซด มสี ูตรโครงสรา งพนื้ ฐานประกอบดวย 3-ring
system เปนสารทมี่ ีสีแดง-สม สว น aglycone ของแอนทราควิโนนสละลายไดด ใี นดา ง ใหสชี มพู-แดง
เชน อิโมดนิ อะโลอนิ เปน ตน
คุณภาพของสมุนไพร
ในสมยั โบราณ แพทยหรือหมอพ้ืนบานจะปลกู พืชสมุนไพรบางชนิดไวใ ชเอง แตอีกสว นหนึง่ จะ
เก็บจากธรรมชาติ โดยไดรับการถายทอดความรจู ากครแู พทยซง่ึ เปน ผมู ีประสบการณอ ันยาวนาน สอน
ใหรจู ักลกั ษณะของพชื สมุนไพรแตล ะชนิด สว นทใี่ ช วธิ ีเก็บ และวธิ เี ตรยี มตาง ๆ แตป จ จบุ ันบางคร้ังเรา
ไมส ามารถหาสมุนไพรสดมาเตรยี มใหแ หงไดเอง จาํ เปน ตอ งซ้อื จากทองตลาดหรอื รานขายยาแผนโบราณ
เกอื บทง้ั หมด ซึ่งสมนุ ไพรแหง บางชนิดอาจดไู ดยาก การไมร จู กั รปู รางลักษณะของสมนุ ไพรแหง อาจจะ
ซือ้ สมุนไพรผิดชนดิ ได เพราะสมุนไพรไทยมชี อื่ พองมาก และบางคร้งั สมุนไพรบางชนดิ ราคาแพง ผขู าย
บางคนขาดจรยิ ธรรมก็จะใชส มุนไพรชนิดอืน่ ท่มี ีลกั ษณะใกลเคียงกันมาปนปลอม (adulteration) หรือ
ทดแทนทัง้ หมด (substitution) สงผลใหยาทไี่ ดมคี ุณภาพลดลงหรือไมมคี ุณภาพเลยหรือเกิดผลอ่ืนอนั
ไมพงึ ประสงค จึงมีความจาํ เปนตองตรวจสอบสมุนไพรเพื่อใหแ นใจในความถูกตอ ง4
เนื่องจากประสทิ ธผิ ลของยามีความสมั พันธโดยตรงกบั คณุ ภาพยา ดงั น้นั การควบคมุ คุณภาพ
จงึ เปน เรือ่ งสาํ คญั โดยเฉพาะยาจากสมุนไพร องคประกอบท่ที ําใหสมุนไพรมีคุณภาพแตกตางกนั มีดังน้ี
1. ความแตกตา งของสารประกอบเคมีในพืช (biochemical variation) ซงึ่ อาจเกิดจากพนั ธุ
ระยะเวลาในการเกบ็ เกย่ี ว ฯลฯ
2. การเส่อื มสภาพของสมุนไพร (deterioration) เชน การเนาเสีย ก็จะทาํ ใหคุณภาพของ
สมุนไพรต่าํ ลงดว ย
3. การใชสมนุ ไพรอนื่ มาปนปลอม (adulteration) หรือทดแทนทั้งหมด (substitution)
ในทางการแพทยแผนโบราณมักจะตรวจสอบคุณภาพของสมุนไพรโดยดจู ากลกั ษณะภายนอก
ดมกลิน่ ชิมรส หรอื โดยวิธกี ารอื่น ๆ ตามประสบการณของภมู ิปญ ญาพ้นื บาน สวนการควบคุมคณุ ภาพ
ของสมนุ ไพรในทางวิทยาศาสตรจะทําโดยการจดั ทาํ ขอกําหนดมาตรฐานของสมุนไพร หากสมุนไพรชนดิ
ใดมขี อกาํ หนด (specification) ในเภสัชตาํ รบั ของประเทศตา ง ๆ หรอื ในตาํ รามาตรฐานยาสมุนไพรไทย
(Thai Herbal Pharmacopoeia) ก็สามารถดาํ เนนิ การตามทีก่ ําหนดไวไ ด แตห ากสมนุ ไพรชนดิ ใดยังไม
มกี ารจัดทําขอ กาํ หนดมาตรฐานไว จําเปนอยา งยงิ่ ท่จี ะตองศึกษาวจิ ัยเพอื่ จดั ทาํ ขอ กําหนดคุณภาพ (quality
Page 29
คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 19
specification) ของสมุนไพรชนดิ นน้ั ๆ ไว เพือ่ ใชเ ปน แนวทางในการควบคมุ คุณภาพของวัตถดุ ิบและ
ผลติ ภัณฑยาจากสมุนไพร การอา งองิ ถึงประวตั ิการใชอนั ยาวนานจากบรรพบุรษุ และไมพรอมที่จะมีการ
ทดลองทางวิทยาศาสตรน้ันคงทําไมได เนื่องจากสมุนไพรในปจจุบันอยูในสภาพแวดลอมท่ีแตกตางไป
จากเดมิ มาก มีสารพิษ โลหะหนกั ยาฆา แมลง ยาฆาวัชพชื ทตี่ กคางในดินมากมาย ทําใหม คี วามจําเปน
ที่จะตองทดลองใหไดผลแนนอนอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ือสรางความมั่นใจใหแกผูบริโภคในดานประสทิ ธผิ ล
และความปลอดภัย4
วัตถุดิบสมุนไพรจะมีคุณภาพดีมากหรือนอยข้ึนอยูกับกระบวนการในการผลิตสมุนไพร ซึ่ง
เกี่ยวของกับบุคลากรหลายสาขาวชิ าชพี ไดแ ก นกั วิชาการเกษตร เกษตรกร ผูเกบ็ สมุนไพรจากแหลง
ธรรมชาติ และผคู า วัตถุดบิ สําหรบั การนาํ สมุนไพรมาใชเปน ยาใหม ปี ระสิทธิผลในการรกั ษาที่ดี มีความ
ปลอดภัยในการใช และมีประโยชนเชิงพาณิชย ตามหลักสากลควรตองทราบรายละเอียดเกี่ยวกับ
4,7 ดังน้ี
สมุนไพร
1. ความรทู ว่ั ไปเกีย่ วกบั พชื สมุนไพร (general description of the plant): ช่อื ทองถิน่ ชอ่ื
อังกฤษ ชอื่ วิทยาศาสตร ชอื่ พอ ง ลกั ษณะท่วั ไปของพชื สมนุ ไพร แหลง กระจายพันธุ ถ่นิ ทอี่ ยู สวนท่ีใช
เปนยา และการเตรยี มวตั ถุดบิ สมนุ ไพร
2. ขอ กําหนดคณุ ภาพ (quality specification): บทนยิ าม การตรวจสอบคณุ ลกั ษณะ การ
ตรวจสอบเอกลกั ษณทางเคมี การตรวจสอบความบริสุทธิ์ การวเิ คราะหป ริมาณสารสําคัญ การปนเปอ น
ดวยสารหนูและโลหะหนกั การปนเปอนดว ยจลุ ินทรยี การปนเปอ นดว ยสารพิษตกคาง และการเก็บรกั ษา
3. ขอบง ใช (indication)
4. ความเปน พษิ (toxicity)
5. ขอ หา มใช (contraindication)
6. ขอ ควรระวงั (warning)
7. รปู แบบและขนาดท่ีใช (preparation and dose)
สมุนไพรแตละชนิดทจ่ี ะนาํ มาใชเปนยา ผบู รโิ ภคและผผู ลิตควรใหค วามสนใจในเรอ่ื ง ขอบงใช
ความเปน พิษ ขอหามใช ขอ ควรระวงั รูปแบบและขนาดท่ใี ช เพ่ือจะไดร ับประโยชนท่แี ทจ ริงจากสมนุ ไพร
การพัฒนาสมุนไพรจาํ เปน ตอ งใชอ งคค วามรูห ลัก 2 สว น คือ สว นทเ่ี ปนความรูเ ก่ยี วกบั สมนุ ไพร
และการใชต ามภมู ปิ ญญา (ethnobotanist) และสว นทเ่ี ปน ความรทู างวทิ ยาศาสตร ซึ่งท้งั 2 สว น ลว นมี
ความสาํ คญั ในสว นของความรทู างวทิ ยาศาสตรนนั้ การตรวจสอบสมุนไพรนบั วา มคี วามสําคัญยิง่ และ
Page 30
20 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
เปนรากฐานของการพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื กทยี่ ่ังยืน ชวยยกระดบั มาตรฐาน
คุณภาพของสมุนไพรใหเปนทย่ี อมรบั ในประสิทธิผลการรักษาทสี่ ม่ําเสมอและมีความปลอดภยั เพือ่ สราง
ความมัน่ ใจใหกบั ผบู รโิ ภคและเพ่มิ ความยอมรบั จากบุคลากรทางการแพทย
เอกสารอางอิง
1. ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พมิ พครงั้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร : ศิรวิ ัฒนาอนิ เตอรพรนิ้ ท,
2546
2. วุฒิ วฒุ ธิ รรมเวช. คัมภรี เภสัชรัตนโกสนิ ทร. พิมพค รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ณั ฑแ ละการพมิ พ จาํ กดั ,
2547.
3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกจิ , พรทิพย เตมิ วเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คมู อื ประชาชนในการดแู ลสขุ ภาพดว ยการแพทยแ ผนไทย. พิมพครงั้ ท่ี 2.
กรงุ เทพมหานคร : สาํ นกั งานกิจการโรงพมิ พองคก ารทหารผานศกึ ในพระบรมราชูปถมั ภ, 2547.
4. วิชยั โชคววิ ฒั น. คุณภาพสมุนไพร. วารสารการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก. 2547; 2(2): 84-91.
5. สถาบันการแพทยแ ผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก. หลักเกณฑขององคการอนามยั โลกเก่ียวกบั เกษตร
และการเก็บเก่ยี วทดี่ เี หมาะสมสาํ หรบั พืชสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พอ งคการรบั สง สินคาและพัสดภุ ัณฑ (ร.ส.พ.), 2548.
6. สถาบนั วจิ ัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย. ขม้ินชัน : มาตรฐานสมุนไพรไทย เลม ท่ี 2. พิมพครั้งท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพิมพองคการรบั สงสินคา และพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2544.
7. เย็นจิตร เตชะดาํ รงสิน. การตรวจสอบคุณภาพทางเคมีของสมุนไพร. เอกสารประกอบการบรรยายหลกั สูตร “การจัดการอุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑจ ากสมนุ ไพร” จัดโดยสถาบนั วิจัยสมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย วนั ที่ 28 กันยายน 2543.
Page 31
คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 21
การใชย าสมนุ ไพร
การใชย าสมุนไพรดวยตนเอง เปนการดูแลสุขภาพเบ้อื งตน ในอาการของโรคทีเ่ ปนอยูโ ดยทั่วไป
และไมเปน โรคทร่ี ายแรง ดวยสมุนไพรทมี่ ผี ลขางเคยี งนอย ใชส ะดวก ประหยดั และปลอดภยั การใชย า
สมนุ ไพรควรใชเ ม่อื มอี าการไมส บายและเมื่อเห็นผลชดั เจนควรหยดุ ใช ไมควรใชเร่อื ย ๆ ไปตลอดเวลา
ถา อาการยงั ไมดีข้ึนหลงั จากใชย าแลวประมาณ 2-3 วนั ควรไปพบแพทย
อาการของโรคท่สี ามารถใชส มนุ ไพรเด่ยี วรักษาอาการไดด ว ยตนเอง1 มีดงั นี้
1. ทอ งผกู 2. ทองอดื เฟอ แนนจุกเสยี ด
3. ทองเดนิ 4. พยาธิในลาํ ไส
5. บิด (ปวดเบง มมี ูก อาจมเี ลือดปน) 6. คล่ืนไสอาเจยี น (ไมพุงหรือมเี ลือดออกมาดว ย)
7. ไอและมเี สมหะ 8. ไข
9. ขดั เบา (ปส สาวะขดั ๆ คลอ ง ๆ) 10. กลาก เกลอ้ื น
11. ปวดฟน 12. นอนไมหลบั
13. เบ่ืออาหาร 14. ฝ แผลพุพอง
15. เคล็ด ขัด ยอก 16. ผ่นื คนั แพ อกั เสบ แมลงสตั วก ัดตอ ย
17. ไฟไหม น้ํารอนลวก 18. เหา
19. ชันนะตุ 20. โรคกระเพาะอาหาร
21. เจบ็ คอ 22. แผลถลอก ฟกชาํ้
23. ไลย งุ และแมลง 24. ผื่นคนั
อาการของโรคทไ่ี มควรใชย ารักษาดว ยตนเอง2-4
1. ไขส ูง (ตวั รอ นจัด) ตาแดง ปวดเม่ือยมาก ซมึ บางทพี ดู เพอ (อาจเปนไขห วัดใหญห รอื ไขป า
ชนดิ ขึ้นสมอง)
2. ไขส ูงและดีซาน (ตัวเหลือง ฯลฯ) ออ นเพลยี มาก อาจเจ็บในทองแถวชายโครง (อาจเปนโรค
ตบั อกั เสบ ถุงนํ้าดอี ักเสบ ฯลฯ)
3. ปวดทองแถวสะดอื เวลาเอามอื กดเจ็บมากขน้ึ หนา ทอ งแขง็ อาจทอ งผกู และมไี ขเลก็ นอยหรอื
มาก (อาจเปน โรคไสตงิ่ อักเสบเฉยี บพลันหรอื ลาํ ไสส ว นอืน่ อักเสบ)
Page 32
22 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
4. เจ็บแปลบในทอ งคลา ยมอี ะไรฉีกขาด ปวดทอ งรนุ แรงมาก อาจมตี ัวรอนและคลืน่ ไสอาเจยี น
ดว ย บางทีมปี ระวตั ิปวดทอ งบอ ย ๆ มากอน (อาจมีการทะลขุ องกระเพาะอาหารหรือลําไส)
5. อาเจยี นเปนเลอื ดหรือไอเปนเลอื ด (อาจเปนโรครายแรงของกระเพาะอาหารหรือปอด) ตอ ง
ใหคนไขพกั นงิ่ ๆ กอน ถา แพทยอ ยใู กลค วรเชญิ มาตรวจท่บี าน ถาจาํ เปนตอ งพาไปหาแพทย ควรรอให
เลอื ดหยุดเสยี กอน และควรพาไปโดยมกี ารกระเทือนกระแทกนอ ยทีส่ ดุ
6. ทองเดนิ อยา งแรง อจุ จาระเปน นาํ้ บางทีมลี กั ษณะคลา ยน้าํ ซาวขา ว บางทถี ายพุง ถา ยติดตอ กัน
อยางรวดเรว็ คนไขอ อ นเพลียมาก ตาลกึ หนังแหง (อาจเปนอหวิ าตกโรค) ตองพาไปหาแพทยโ ดยดว น
ถาไปไมไหวตอ งแจง แพทยหรืออนามัยทีใ่ กลทส่ี ุดโดยเรว็
7. ถายอจุ จาระเปนมกู และเลอื ด บางทีเกือบไมม ีเน้ืออจุ จาระเลย ถายบอ ยมาก อาจจะถึงสบิ
คร้งั ในหนง่ึ ช่ัวโมง คนไขเ พลยี มาก ๆ (อาจเปนโรคบิดอยา งแรง)
8. สาํ หรบั เดก็ โดยเฉพาะอายภุ ายใน 12 ป ไขสงู ไอมาก หายใจมีเสยี งผดิ ปกติ คลาย ๆ กับ
มีอะไรติดอยใู นคอ บางทีมีอาการหนาเขียวดว ย (อาจเปนโรคคอตบี ) ตองรีบพาไปหาแพทยโดยดว นทีส่ ดุ
9. อาการตกเลอื ดเปน เลือดสด ๆ จากทางไหนกต็ าม โดยเฉพาะทางชอ งคลอด ตอ งพาไปหา
แพทยโดยเร็วทสี่ ุด
10. การใชส มุนไพรแกอ าการขดั เบานั้น ควรใชใ นกรณีทปี่ ส สาวะนอย หรือไมสะดวกโดยไมมี
อาการบวม และเมอื่ ปสสาวะคลอ งดแี ลวใหห ยดุ ใช
11. โรครายแรงหรือโรคเรอื้ รงั บางชนดิ เชน งูพษิ กัด สุนัขบา กดั บาดทะยัก กระดกู หกั มะเร็ง
วัณโรค กามโรค ความดันโลหิตสงู เบาหวาน โรคเรอื้ น เปนตน ควรไปพบแพทยรกั ษา เพราะยาสมนุ ไพร
ท่ใี ชรกั ษาโรคเหลา น้ี ยงั ไมทราบผลแนชดั การรกั ษากับแพทยแ ผนปจจบุ นั ไดผ ลแนน อนและปลอดภยั กวา
อันตรายที่เกดิ จากการรกั ษาตัวเอง2,4
1. เมือ่ ใชย าตรงกบั โรคแลว แตใ ชขนาดมากเกนิ ควร เชน ควรจะใชเพยี ง 1 กํามอื ใชเขา ไปถึง
3 กาํ มือ หรือควรจะกินวนั ละ 2 มอื้ กนิ เสียวันละ 3 มื้อ
2. เมอ่ื ใชยาตรงกบั โรค แตใ ชน านเกินระยะกาํ หนด ถึงคราวจะหยดุ แลว ไมหยุด รางกายไดร ับ
ยามากเกินไป กรณีน้ีเปนเหตใุ หตายบอย ๆ
3. เม่ือใชยาไมต รงกับโรค เชน เอายาแกไขห วดั ไปรกั ษาไขป า (มาลาเรยี ) เอายาแกทอ งเฟอไป
รักษาโรคทองเดนิ
Page 33
คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 23
4. เมื่อใชยาไมตรงกบั คน โดยใชยาสาํ หรบั ผูใ หญ เอาไปใชกบั เด็ก หรือเอายาสําหรับผูชายไป
ใชก ับผูห ญิง (ยาบางอยาง เชน ฮอรโ มน)
อาการทเี่ กิดจากพิษของยา1,2
อาการที่เกิดจากพิษของยา ถา ปรากฏข้นึ ควรหยดุ ใชย าเสียกอ น ถาหยดุ แลว อาการหายไปอาจ
ลองใชย าอกี ครงั้ โดยระมดั ระวงั ถาอาการอยางเดมิ เกิดขึน้ อีก แสดงวา เปนพษิ ของยาแน ควรหยุดยาแลว
ไปปรกึ ษาแพทยโ ดยเรว็
พิษของยาอาจทําใหเกิดอาการตามขอ ใดขอหน่งึ หรือหลายขอ อาจเปนกับคนหน่งึ แตไมเปน กับ
คนอืน่ ๆ กไ็ ด อาการที่ชวนใหส งสยั วา เกดิ จากพิษของยา มดี ังตอไปน้ี
1. เบือ่ อาหาร คลน่ื ไส อาเจียน (หรืออยางใดอยา งหนง่ึ ) ถา มอี ยูกอนกินยา อาจเปน เพราะโรค
2. ตวั เหลือง ตาเหลือง ปสสาวะสเี หลอื ง เขยา เกดิ ฟองสีเหลอื ง (เปน อาการของดีซาน) อาการ
นี้แสดงถงึ อนั ตรายรา ยแรง ตอ งรบี ไปหาแพทย
3. ผนื่ ขึน้ ตามผิวหนงั อาจเปน ตุมเลก็ ๆ ตมุ โต ๆ เปนปน หรอื เปนเม็ดแบนคลายลมพิษ อาจ
บวมทตี่ า (ตาปด) หรือรมิ ฝป าก (ปากเจอ ) หรอื มเี พยี งดวงสแี ดงท่ีผิวหนัง
4. หอู ื้อ ตามัว ชาท่ลี ้ิน ชาทีผ่ วิ หนงั
5. ประสาทความรูสึกทํางานไวเกินปกติ เชน เพียงแตะผิวหนังก็รูสึกเจ็บ ลูบผมก็แสบหนัง
ศีรษะ ฯลฯ
6. ใจส่นั ใจเตน หรือรูสกึ วูบวาบคลา ยหวั ใจจะหยุด และเปน บอย ๆ
โรคผวิ หนงั จาํ พวกเรมิ และงสู วดั ถา เปนแผลเปด ไมควรใชส มนุ ไพรที่ตอ งใสเ หลา2,4
การเตรยี มยาสมนุ ไพร3,5
การเตรียมยาสมนุ ไพรใหมีรปู แบบที่เหมาะสมเปนรูปแบบทม่ี ีประสทิ ธภิ าพในการรักษาโรค ใชไ ด
สะดวก มีรสและกลิน่ ชวนรับประทาน รปู แบบยาสมนุ ไพรท่ีนยิ มใช มีดังน้ี
1. ยาตม เปนรูปแบบยาเตรยี มทีน่ ิยมใชแ ละสะดวกมากท่สี ดุ สามารถใชไดทงั้ ตัวยาสดและแหง
ในตัวยาที่สารสาํ คัญสามารถละลายไดในน้ํา
การแพทยแ ผนไทย เตรยี มโดยห่นั หรอื สับสมุนไพรเปนช้ินเล็กพอดี ใสลงในหมอ ดิน กระเบ้ือง
หรือภาชนะทีม่ ใิ ชโ ลหะและใสนํา้ ลงไปพอทว มยาเล็กนอย หากเปน สมุนไพรแหง ใหแชน ้ําทง้ิ ไวส กั ครู สมนุ ไพร
สดไมตอ งแชน า้ํ ใชไ ฟขนาดกลางตมใหเดือด หลังจากเดอื ดแลว ใหใ ชไ ฟออน ควรคนยาสม่ําเสมอมใิ หยา
Page 34
24 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก
ไหม (การตม ยาไทยมกั จะตมแบบ 3 เอา 1 คอื ใสน ํา้ 3 สว น ของปริมาณทีใ่ ชและตม ใหเหลอื 1 สวน)
ระยะเวลาในการตมขน้ึ อยูก บั สว นของพชื สมุนไพร หากเปนสวนของใบ ดอก หรอื ก่ิงขนาดเลก็ ใชเ วลา
ตม 3-4 นาที หากเปน สวนท่ีแขง็ เชน รากหรอื แกนของลาํ ตนใชเ วลาตม 10 นาที ยาตม ไมท ้ิงไวคางคืน
ตมและรบั ประทานใหหมดภายในวนั เดียว โดยท่ัวไปมกั แบงรับประทานเปน 3 คร้งั กอ นอาหาร และ
วันรงุ ขึ้นคอยเติมน้ําและตม ใหมอ ีกครงั้ หนึง่ ยาไทยสมยั กอ นนยิ มตมในหมอดิน และปากหมอ ยาใชใ บตอง
สด หรือผาขาวบางปดหมอยาประมาณครึง่ หนงึ่ เพอื่ ความสะดวกในการรนิ ยา และท่ีหมอ ยาจะมี “เฉลว”
ซงึ่ ทาํ ดว ยไมไ ผ จักเปนตอกสานเปนรูปคลายดาว เพอ่ื ปองกันของรา ยไมใหม ารบกวน บางทกี ม็ กี ารผูก
เหรียญสลึงไวที่ปากหมอ เมื่อคนไขหายแลวก็จะนําเงินนี้มาซ้ือของทาํ บุญเพ่ืออุทิศสวนกุศลใหเจาของ
ตาํ รานั้น
การแพทยแผนจีน ใหความสาํ คัญกับวิธีตมยาเปนอยางมาก เนื่องจากวิธีตมยาสมุนไพรมี
ความสมั พันธอยา งใกลช ดิ กับประสทิ ธผิ ลในการรกั ษาโรคของยาตํารับ ในการเตรียมยาท่ีมีคุณภาพและมี
ประสทิ ธผิ ลในการรกั ษานน้ั ควรปฏบิ ัติ ดงั นี้
1. ภาชนะทใี่ ชในการตมยา นยิ มใชภาชนะจาํ พวกเครอื่ งปนดินเผาที่มีฝาปด เพอื่ ปองกนั การทํา
ปฏิกิริยาขององคป ระกอบเคมใี นตัวยากบั ภาชนะท่ใี ชใ นระหวางการตมยา ทาํ ใหประสทิ ธิภาพหรือความแรง
ของตัวยาไมสูญเสียไป ไมควรใชภาชนะจาํ พวกเหล็กหรือทองแดง ทั้งนี้เพื่อปองกันการตกตะกอน และ
อาจทาํ ปฏิกิริยาทางเคมีกับตวั ยา ซึ่งจะทาํ ใหเ กดิ ผลขางเคยี งหรือความเปนพิษได
2. น้าํ ท่ีใชตมยา จะตอ งเปน น้าํ สะอาดและบรสิ ทุ ธิ์ เชน น้ําประปา นํ้าแร และนํ้ากลัน่ เปนตน
3. ระดับไฟท่ีใชตมยา ไฟท่ีใชตมยาแบงออกเปน 2 ระดับ คือ ไฟออน และไฟแรง โดยทวั่ ไป
การตม ยามักจะใชไฟแรงกอนแลวจงึ ใชไ ฟออน บางคร้งั อาจใชไฟออ นหรือไฟแรงเพียงอยา งเดยี วในการ
ตม ยา เชน ใชไฟออ นอยางเดยี วในการตมยาประเภทยาบํารงุ หรือใชไ ฟแรงอยางเดยี วในการตมยาประเภท
รกั ษาอาการภายนอก
4. วธิ ตี ม ยา การตม ยามี 2 วิธี คอื
(1) วธิ ีท่ัวไป เตรียมโดยนําตัวยาใสใ นภาชนะทีม่ ีฝาปด เติมนาํ้ ใหทว มตวั ยา ตง้ั ทิง้ ไวป ระมาณ
30-60 นาที เพื่อใหน ํ้าซมึ เขาตัวยาอยางเตม็ ที่ เวลาตมจะใชไฟแรงกอน เม่อื เดือดจะใชไ ฟออน ๆ ตม ตอ
เพือ่ ปองกันไมใหน้าํ ยาลนออกนอกภาชนะ หรือไมใ หน าํ้ ยาแหงงวดเรว็ เกินไป ในระหวางตมอยา เปด ฝาบอย ๆ
เพอ่ื ปอ งกนั ไมใ หสารที่ระเหยไดสญู เสียไป ในการตม ยาประเภทรกั ษาอาการภายนอกหรือยาลดไข ควรใช
ไฟแรงเพ่ือปองกันไมใหสารสําคัญระเหยไป สาํ หรับยาบาํ รงุ ควรตมโดยใชไฟออน ๆ เพ่อื สกดั สารสําคญั
Page 35
คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 25
ออกมาไดอยา งสมบูรณ ตัวยาทม่ี พี ิษบางชนดิ เชน โหราเดอื ยไก ควรใชไ ฟออ นตม นาน ๆ เพ่ือลดพษิ ของ
สมุนไพร เมื่อตมเสรจ็ ใหรินนํ้ายาเก็บไว เติมนา้ํ ลงในกากท่เี หลอื แลว ตมตอ โดยทั่วไปยาหนงึ่ หอจะตม
2-3 ครั้ง เม่อื ตมเสรจ็ ใหรวมนา้ํ ยาที่ตม ไดเ ขาดวยกันแลว แบง รบั ประทาน ควรรบั ประทานขณะยายงั อนุ ๆ
ยกเวน ยาทเี่ มือ่ รบั ประทานตอนอนุ แลว จะทาํ ใหค ล่ืนไสอาเจียน กใ็ หรบั ประทานเมอ่ื ยาเยน็ แลว
(2) วธิ ีเฉพาะ เปน วธิ ที ใี่ ชตม ตวั ยาทมี่ ีคณุ ลักษณะพิเศษบางชนิด ซึ่งจาํ เปนตอ งใชว ิธเี ฉพาะ และ
จะตอ งระบุไวในสตู รตํารบั ดว ย ดังนี้
1) ใสก อ น มีตวั ยา 3 ประเภท ซ่ึงตองตมกอนตวั ยาตัวอื่นในตาํ รับ ไดแก
- ตวั ยาทีม่ ีพษิ ใหตม กอนตัวยาอ่ืน 30-45 นาที
- แรธาตุและเปลือกหอย เชน เกลอื จดื เปนตวั ยาท่ีมีลกั ษณะแข็ง สารออกฤทธลิ์ ะลาย
ออกมาไดยาก จงึ ตอ งตมใหเ ดือดประมาณ 15 นาทีกอน แลว จงึ ใสตัวยาชนดิ อน่ื ๆ ในตํารบั ลงไปตม
พรอ มกนั
- ตัวยาท่ีมีนํา้ หนักเบาและใชในปริมาณมาก หากตมพรอมตัวยาอ่ืน ๆ จะทาํ ใหตัวยา
เต็มหมอจนตม ไมได จึงใหต มตวั ยาดังกลา ว 20 นาทกี อน แลวเอาเฉพาะนํ้าท่ีตมไดไปใชตมตัวยาตวั อ่นื
ในตํารบั ยา
2) ใสหลงั ตัวยาบางชนิดมนี ํ้ามันหอมระเหย ควรใสหลงั จากตมตวั ยาชนิดอื่น ๆ ในตํารบั
ใหเ ดือดแลว ประมาณ 5-10 นาที แลวจงึ ตม ตอ ประมาณ 5 นาที เพอ่ื ปองกันไมใหสารออกฤทธปิ์ ระเภท
น้ํามันหอมระเหยสลายไป ตัวอยางสมุนไพรเหลาน้ี เชน เรวดง สะระแหน เปนตน นอกจากน้ี ตัวยาบาง
ชนดิ ทม่ี ีสรรพคณุ เปน ยาระบายหรือยาถา ย กค็ วรใสท ีหลัง เชน โกฐนาํ้ เตา และใบมะขามแขก เปนตน
3) ใสหอ สมุนไพรบางชนิดมีลักษณะเปนผง หรือมีลักษณะเหนียว หรือเปน ยาง หรือ
มีลักษณะเปนขน ควรใสใ นถงุ ผาเพือ่ ปองกันไมใ หน ้ํายาขนุ หรอื เหนยี วติดภาชนะทีใ่ ชตม หรือทาํ ใหไ ม
ระคายคอ เชน เมล็ดผักกาดนํ้า เปนตน
4) แยกตม ตวั ยาบางชนดิ มีราคาแพง เชน โสมคน โสมอเมริกัน เปน ตน ควรแยกตม
ตางหาก หรือตุนดว ยหมอตุน 2 ชั้นนาน 2-3 ชว่ั โมง เพือ่ สกัดตวั ยาออกมาใหมากท่สี ดุ อาจแยก
รบั ประทาน หรือนํามาผสมกบั นํา้ ยาของตัวยาชนดิ อื่นทตี่ ม ได เพอ่ื ปอ งกันไมใ หส ูญเสียฤทธขิ์ องยา
5) ชงน้ํารับประทาน สมุนไพรบางชนิดไมควรนาํ มาตม แตค วรบดใหเปนผงละเอียดมาก ๆ
แลวชงนาํ้ อนุ ด่มื หรือนาํ ไปชงกบั นา้ํ ยาของสมนุ ไพรชนิดอน่ื ทีเ่ ตรยี มได ตัวอยา งสมุนไพรเหลา นี้ เชน
อําพัน เปนตน
Page 36
26 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
6) แชนํ้า ตวั ยาบางชนดิ มสี ารออกฤทธิ์หรอื มีองคประกอบของน้าํ มันหอมระเหยซง่ึ สามารถ
ละลายในนํา้ รอนไดง า ย ควรเตรียมยาโดยการนาํ มาแชในนาํ้ รอนหรือนํา้ ยาของตัวยาชนดิ อ่ืนที่รอ น เชน
อบเชยจนี เปนตน
2. ยาดอง เปนยาท่ใี ชสารละลายหลายชนิด แชสมนุ ไพรแบบเย็น เชน เหลา นาํ้ มะกรดู นํา้ สม
เปนตน ยาดองเหลา ในรูปแบบทีใ่ ชบ อย การปรงุ ยาทาํ ไดโดยนาํ สว นของสมุนไพรทีใ่ ชเ ปนยามาบดเปนผง
หยาบและหอดวยผาขาวบางหลวม ๆ เผ่ือยาพองตัวเวลาอมนาํ้ ถา หากเปนรากหรอื แกนของตน ไมใหฝ าน
เปนชนิ้ บาง ๆ เทา ๆ กนั เพ่อื ใหนา้ํ เหลา ซมึ เขาสูยาไดท วั่ ถงึ ภาชนะทใ่ี ชส ําหรบั เตรยี มยาดองเหลา ควร
ใชโ ถกระเบ้อื งหรือขวดโหลแกว ทีม่ ฝี าปด สนทิ เม่ือใสย าลงในภาชนะเรียบรอ ยแลว ใหเทนา้ํ เหลาใหทว ม
ยา ตั้งทิง้ ไว 1 สัปดาห และคนยาใหท ัว่ วนั ละ 1 คร้ัง ยาดองเหลาเปนยาที่คอนขางแรง ปรมิ าณทใ่ี ชม ัก
นอ ยกวายาตม และหา มใชกับผปู วยโรคความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ หญงิ มคี รรภ และผูทแ่ี พเหลา
3. ยาผง ปรุงจากสวนของพืชสมนุ ไพร บดละเอยี ดเปนผงชนิดเดียวหรือหลายชนิดผสมกัน ยา
แผนโบราณหลายตํารับปรงุ เปนยาผง เชน ยาหอม ยาเขยี ว เปน ตน เวลารบั ประทาน มักจะใชก บั น้ํา
กระสายยา ซง่ึ นํ้ากระสายยาอาจเปน น้ําสกุ นาํ้ ดอกมะลิ น้ําซาวขาว น้ํามะนาว นา้ํ มะกอก เปน ตน
4. ยาชง เปนรปู แบบทีม่ กี ารเตรียมคลา ยการชงชา โดยใชน าํ้ เดอื ดใสล งในสมนุ ไพร โดยทั่วไป
มกั ใชส มุนไพรตากแหงทาํ เปนยาชง สว นของสมนุ ไพรที่ใชเ ปนยาอาจเปนใบ กิ่ง ผล หรอื เมลด็ หั่นเปน
ช้นิ เลก็ ๆ บาง ๆ หรอื บดเปนผงหยาบ ผ่งึ แดดใหแ หง บางชนดิ มกี ารนําไปอบกลนิ่ หอมกอน ภาชนะทใี่ ช
ชงควรเปนกระเบอื้ ง แกว หรือภาชนะเคลือบ ไมใ ชภ าชนะโลหะ วธิ ีการชงทําไดโดยใชส มนุ ไพร 1 สว น
เติมนาํ้ เดอื ดประมาณ 10 สว น หรือตามปริมาณทร่ี ะบุไวใ นตํารับยา บางตาํ รับอาจเตมิ น้ําตาลหรอื น้ําผ้งึ
ในการปรุงรส ปดฝาทงิ้ ไว 5-10 นาที ยาชงเปนรูปแบบยาที่มกี ลนิ่ หอม ชวนดม่ื ดื่มงา ย ปจจบุ ันมีการ
พฒั นาผลิตภณั ฑยาชง โดยการบรรจุในถงุ กระดาษเหนียว ปดสนิท 1 ซองใช 1 ครงั้ พืชสมนุ ไพรที่ใชใ น
รูปแบบยาชงมกั เปน พชื ที่มีสรรพคณุ ไมร นุ แรง ใชด ืม่ ตลอดวนั แทนน้าํ ยาชงนยิ มปรงุ และดม่ื ทนั ที ไมท้งิ
ไวนาน สมุนไพรทีใ่ ชเปนยาชง เชน ยาชงชมุ เหด็ เทศ ยาชงหญาหนวดแมว เปนตน นอกจากนีเ้ ครอื่ งด่ืม
สมุนไพรหลายชนิด เชน ขิง มะตูม เกก ฮวย เปน ตน ก็ปรุงดวยการชงเชน เดยี วกัน ยาชงเปน วธิ กี ารงา ย
สะดวกและเปนทีน่ ิยมทวั่ ไป
5. ยาลูกกลอน การปรงุ ยาลกู กลอนทําไดโดยเอาสวนของสมนุ ไพร มาห่ันเปน แวน บาง ๆ ผ่ึง
แดดใหแ หง บดเปนผงละเอยี ด และนาํ ผงมาผสมกบั น้ําผ้งึ (น้าํ ผึ้งท่ีใชปน ลกู กลอนมักตมใหร อนเพ่อื ขจัด
สง่ิ สกปรกกอ น) อัตราสวนผสมระหวางผงสมุนไพรตอ นํ้าผง้ึ เทากับ 1-2 สว น : 1 สวน ทัง้ น้ขี ้นึ กับลักษณะ
Page 37
คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 27
ของผงสมนุ ไพร เคลา ผงยาใหก ลมกลนื ประมาณวาผงสมุนไพรทีผ่ สมน้ําผง้ึ แลวไมต ิดมอื เปนใชไ ด จากนัน้
ปน เปน กอ นกลมขนาดเทา ปลายนว้ิ กอ ย (เสน ผา ศนู ยก ลาง 0.8 เซนตเิ มตร) หรืออาจใชร างไมป นเปน
ลูกกลอนกไ็ ด จากน้นั จึงเอาไปอบแหงหรอื ตากแดดจัด 1-2 วัน และบรรจภุ าชนะทีป่ ดมิดชิดและสะอาด
นอกจากกรรมวธิ ีปรุงยาดังกลา วแลว ยาสมนุ ไพรยังปรงุ ไดอีกหลายวิธี เชน การรม การพอก
การเตรียมเปนยาประคบ การหงุ ดว ยน้ํามัน เปน ตน การเลือกกรรมวธิ ีปรงุ ยาไดเหมาะสมจะทาํ ใหสมุนไพร
ออกฤทธไิ์ ดเตม็ ที่ สง ผลตอ การรกั ษาความเจ็บปว ยไดอยางถกู ตอง
คําแนะนําในการใชยาสมนุ ไพร1-4
1. ใชใหถ กู ตน จะตองพิจารณาถึง รปู ลักษณะ สี กลิ่น รส ชื่อ ของตวั ยาที่จะนํามาใชท าํ ยาวา
ถูกตองตรงตามตาํ รับหรอื ขอบง ใชหรอื ไม
2. ใชใหถูกสวน จะตอ งพจิ ารณาวา ตวั ยาตามขอบงใชน้ัน กําหนดใหใ ชสว นใดของตนพืช เพราะ
แตละสว นของตน พชื ยอ มแตกตา งกนั ไป บางตนสรรพคณุ เหมือนกนั แตมฤี ทธ์ิท่ีออ นกวากนั บางตน มี
สรรพคุณไมเ หมอื นกนั
3. ใชใหถ ูกขนาด จะตองดูวา ขอบงใช ใหใ ชตวั ยาน้นั ๆ ในปริมาณหรือนา้ํ หนักเทา ใด กนิ ครั้ง
ละเทา ใด วันละกม่ี อ้ื
4. ใชใหถกู วธิ ี จะตอ งดวู า ขอ บงใช ใหบรหิ ารยาโดยวธิ ีใด เชน ตมหรอื ดอง กินหรือทา เปนตน
5. ใชใหถกู กบั โรค จะตอ งมีความเขา ใจในเรื่องอาการของโรค วา เปน โรคน้ัน ๆ จรงิ หรือไม
จะตอ งใชยาท่มี ีสรรพคณุ ตรงตอ โรค มิฉะนัน้ แลวก็อาจเกิดโทษ หรอื ไมสามารถบรรเทาอาการของโรคได
ขอหา มใช5
ในการใชย ารกั ษาโรคนั้น หากใชถ ูกกับโรคจะใหค ณุ หากใชผ ดิ จะใหโ ทษ ดงั นนั้ การใชยาบางชนดิ
จําเปนตอ งระมัดระวงั ในการใช เพือ่ ไมใหเกดิ โทษตอรางกาย ขอ หามใชมี 4 ประเภท ดังน้ี
1. ขอ หามใชใ นกลุมอาการบางอยาง ตวั ยาแตล ะชนดิ เหมาะกับโรคแตกตางกัน หมายถึงตัวยา
แตละชนิดจะใชภายใตเง่ือนไขท่ีกาํ หนดไวเทาน้ัน เชน หมาหวง มีสรรพคุณเปนยาขับเหงื่อ แกห อบ
เหมาะสําหรับโรคไขหวัดจากการกระทบลมเยน็ ไมม เี หงื่อ ไอหอบเนอ่ื งจากชป่ี อดไมก ระจาย จงึ หา มใช
กบั ผูปว ยทีม่ อี าการออนแอ เหงอื่ ออกมาก ไอหอบเน่อื งจากปอดพรอง เปนตน
2. ขอหามตามหลกั การจัดยารว มหรือยากลมุ ตัวยาบางชนดิ เมอื่ ใชร วมกันแลว จะทําใหเ กิดพิษ
หรอื เกิดอาการอันไมพ งึ ประสงค หรอื ทําใหเกดิ พษิ เพมิ่ ข้ึน หรอื ทําใหฤทธขิ์ องตัวยาหมดไป ยาเหลา นกี้ ไ็ ม
Page 38
28 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
ควรใชร ว มกัน เชน กานพลถู ูกขมดวยวานนางคํา ชะเอมเทศจะลบลา งสรรพคุณของสาหรายทะเล เปนตน
3. ขอหามในหญิงมีครรภ ตวั ยาบางชนดิ มผี ลตอ ทารกในครรภ ทําใหแทง ลูกได จึงหามใชใ น
หญิงมีครรภ ซึ่งตวั ยาสว นใหญใ นกลุมนมี้ กั มีพิษมาก เชน สลอด ตัวยาบางชนิดตอ งใชอ ยา งระมัดระวัง
ในหญิงมีครรภ เนอ่ื งจากเปน ตัวยาทมี่ ีฤทธ์ิกระจายช่แี ละเลอื ด ทําใหเ ลอื ดไหลเวยี น เชน เมล็ดทอ ดอก
คําฝอย มฤี ทธ์ิขับของเสยี ตกคา ง และขบั ถา ยพิษรอน โกฐนํา้ เตา ฤทธริ์ ะบาย ขบั พษิ รอน อบเชยจีนมี
ฤทธใ์ิ หความอบอนุ เสริมหยางระบบไต เปนตน ดงั นัน้ หากไมจ าํ เปนจริง ๆ ควรหลีกเลย่ี งการใชตัวยา
ดังกลาวในหญิงมคี รรภ
4. ขอ หา มในชวงเวลาทีร่ ับประทานยา นยิ มเรียกวา “ของแสลง” กลา วคือ ในชว งเวลาทรี่ ับประทาน
ยา ควรงดดม่ื นาํ้ เยน็ ของมนั ของคาว อาหารทีย่ อ ยยาก หรือท่มี รี สจดั เชน กรณผี ปู วยที่มไี ขสูง หา ม
รบั ประทานของมนั เปนตน
ขนาดยาท่ใี ช5
ขนาดยาทใ่ี ช หมายถึงปรมิ าณของยาที่ใชใ นผูใหญต อ วัน เนือ่ งจากยาสมนุ ไพรเปน ผลผลติ จาก
ธรรมชาติ ดงั นน้ั ปริมาณของตัวยาทีใ่ ชจ งึ ไมเขมงวดเหมอื นกับยาแผนปจ จุบนั ยกเวนตวั ยาบางชนิด
เทานน้ั ที่ตองใชขนาดยาดวยความระมัดระวัง เพือ่ ปอ งกนั ไมใหเ กดิ อนั ตราย โดยทว่ั ไปขนาดยาทีใ่ ชควร
คํานงึ ถงึ ปจ จัยดงั ตอ ไปนี้
1. คณุ ลกั ษณะของยา ตัวยาที่มฤี ทธแิ์ รงควรใชปริมาณนอย หรอื เริ่มใชปรมิ าณนอยแลว คอย ๆ
เพิ่มข้ึน เม่ือผูปวยมีอาการดีข้ึนใหคอย ๆ ลดขนาดยาลงจนหยุดใช สําหรับตัวยาท่ีมีฤทธ์ิออนมักใชใน
ปรมิ าณมาก โดยทว่ั ไปตวั ยาทีม่ ีความหนาแนน หรอื แข็งมาก เชน แรธ าตุ หรือ เปลอื กหอย เปนตน จะใช
ในปริมาณมาก สวนตวั ยาที่มีน้ําหนกั เบา เชน ดอก ใบ หรือตวั ยาทมี่ ีนํ้ามันหอมระเหย จะใชใ นปรมิ าณนอ ย
2. การใชยารวมและรูปแบบของยา โดยทัว่ ไปตัวยาเดย่ี วจะใชใ นปรมิ าณมากกวา ยาตํารบั และ
หากใชเปนยาตม ปรมิ าณทใ่ี ชจะมากกวายาลกู กลอนหรอื ยาผง และในยาแตล ะตาํ รับ ตัวยาหลกั จะใชใน
ปริมาณมากกวา ตัวยาอ่นื ๆ
3. อาการของโรค รูปราง และอายขุ องผปู ว ย โดยทัว่ ไปผูปวยหนัก ผูปวยโรคเฉียบพลัน หรือ
ผูปวยที่มีรางกายอวนใหญ จะใชยาในปริมาณมาก สวนผูสูงอายุมีรางกายออนแอ หญิงหลังคลอด
หรือเด็ก จะใชยาในปริมาณนอย สําหรับเด็กอายุ 6 ปข้ึนไป ใหใชย าขนาดครึง่ หน่งึ ของขนาดท่ีใชใน
ผใู หญ เดก็ ทีม่ ีอายตุ ่ํากวา 6 ป ใหใ ชย าขนาด 1 ใน 4 ของขนาดทใี่ ชใ นผใู หญ
Page 39
คูมือการใชส มุนไพรไทย-จีน 29
วธิ รี บั ประทานยา5
วิธีรบั ประทานยา รวมถงึ เวลาท่ีเหมาะสมในการรบั ประทานยา โดยท่วั ไปปฏิบตั ิ ดังน้ี
ยาตม ใหรับประทานวันละ 1 หอ หากอาการรุนแรงสามารถรับประทานวันละ 2 หอได ยาหอ
หนึ่ง ๆ ตมแบงรับประทาน 2-3 คร้ัง โดยกําหนดวาอาการปวยท่ัวไปใหรับประทานเชา-เย็น หาก
อาการปวยหนกั สามารถรับประทานไดทุก 4 ชั่วโมง ยาประเภทบาํ รุงควรรับประทานกอ นอาหาร แต
หากจะใหเหมาะสม ไมวาจะรับประทานกอนหรือหลังอาหาร ใหเวนระยะเวลาหางกันพอสมควร ยา
ประเภทฆาพยาธิหรือยาระบายใหรับประทานขณะทองวาง ยารักษาโรคมาลาเรียใหรับประทานยากอน
มาลาเรียกาํ เริบ ยาชวยใหจิตใจสงบหรือนอนหลับใหรับประทานกอนนอน โรคเรื้อรังควรกาํ หนดเวลา
รบั ประทานยาใหแ นนอน ยาประเภทชาชง ใหร บั ประทานตางน้ําชา จิบไดบ อ ย ๆ
ใหรับประทานยาตมขณะอุน ๆ แตถาปวยดวยโรคกลุมความรอน สามารถรับประทานยาใน
ขณะท่ียาเย็นแลว ถาปวยดวยโรคกลุมความเย็น ใหดื่มขณะรอน ๆ ในอาการท่ีปวยดวยโรคกลมุ อาการ
เย็นแทร อนเทยี ม ใหร บั ประทานขณะทยี่ าเย็นแลว ถาปว ยดว ยโรคกลมุ อาการรอ นแทเยน็ เทียม ให
รบั ประทานขณะท่ียายังรอนอยู
เอกสารอางองิ
1. วฒุ ิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภรี เ ภสชั รตั นโกสินทร. พมิ พค ร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพมิ พ จาํ กัด,
2547.
2. สํานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. คูม ือการใชสมุนไพร เลม 1. กรงุ เทพมหานคร : หจก. เอช-เอน การพิมพ, 2527.
3. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทพิ ย เติมวเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแผนไทย. พมิ พครัง้ ท่ี 2
กรุงเทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพมิ พอ งคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547.
4. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรพื้นบา นฉบับรวม. พิมพครงั้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
Text and Journal Corperation Co., Ltd., 2533.
5. วชิ ัย โชคววิ ัฒน, ชวลิต สนั ตกิ ิจรงุ เรอื ง, เยน็ จติ ร เตชะดํารงสิน (คณะบรรณาธกิ าร). ตํารบั ยาจนี ทใ่ี ชบอยในประเทศไทย เลม 1.
พิมพค ร้ังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : สํานักงานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2549.
Page 40
30 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
รสของยาไทยและยาจนี
รสของยาไทย
รสของตวั ยาจะบอกถงึ สรรพคุณของยา สรรพคณุ เภสชั ของไทยแบงรสยาออกเปน รสประธาน 3
รส และรสยา 9 รส ดงั นี้
ยารสประธาน 3 รส1 ไดแก
1. ยารสรอ น ไดแ ก ตวั ยาทม่ี รี สรอ น เชน ดอกดปี ลี เมลด็ พริกไทย รากชา พลู เถาสะคา น ราก
เจตมลู เพลิง หสั คณุ เปนตน เมอื่ นํามาปรงุ เปนยาแลว จะไดย ารสรอน
ยารสรอ นสําหรบั แกในทางวาโยธาตุ แกล มกองหยาบ ขบั ผายลม บํารุงธาตุ ขับเลอื ด เปนตน
ยารสรอนเปนรสยาประจําในฤดูฝน แสลงกบั ไขท มี่ พี ิษ
2. ยารสเยน็ ไดแ ก ตัวยาทม่ี ีรสเย็น เชน ใบไมทม่ี รี สเยน็ เกสรดอกไมท ไี่ มร อ น เขยี้ วสตั ว เขา
งา นอ เปน ตน เมอื่ นํามาปรุงยาแลวจะไดย ารสเยน็
ยารสเย็นสาํ หรบั แกใ นทางเตโชธาตุ แกไ ขพ ิษ ไขกาฬ ดับพิษรอ น เปน ตน
ยารสเย็นเปน รสยาประจาํ ในฤดรู อน แสลงกับโรคลม
3. ยารสสขุ มุ ไดแ ก ตวั ยาที่มรี สสขุ มุ เชน พวกโกฐตาง ๆ เทียนตา ง ๆ กฤษณา กระลําพัก
ชะลูด อบเชย ขอนดอก เปนตน เมื่อนาํ มาปรุงยาแลว จะไดยารสสขุ ุม
ยารสสขุ ุมสําหรบั แกในทางอาโปธาตุ เสมหะและโลหิต แกล มกองละเอียด
ยารสสขุ มุ เปนรสยาประจาํ ในฤดหู นาว แสลงกบั ไขท ม่ี ีพษิ รอนจดั
รสยา 9 รส1 นอกจากยารสประธานแลว สรรพคณุ เภสชั ของไทยยงั แบง รสยาออกไปอีกเปน 9 รส ดังน้ี
1. ยารสฝาด ชอบสมาน
สรรพคณุ สําหรับสมานทั้งภายนอกและภายใน แกบดิ ปด ธาตุ แกท องรวง กลอ มเสมหะ
สมานแผล ชะลา งบาดแผล
ยารสฝาดแสลงกับโรคทองผูก พรรดกึ เชน เปลอื กขอย ใบชา เบญจกานี เปลอื กลูกทับทมิ
เปลือกลกู มังคดุ สเี สยี ดไทย สเี สยี ดเทศ ลูกหมาก เปนตน
2. ยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนือ้
สรรพคณุ ซึมซาบไปตามเน้ือ ทําเนื้อใหชมุ ชื่น บํารุงกาํ ลงั แกออนเพลีย
ยารสหวานแสลงกับโรคเสมหะเฟอ งบาดแผล เบาหวาน ดีซา น เชน เน้อื ฝก คนู ดอกคําฝอย
Page 41
คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 31
ชะเอมเทศ ชะเอมไทย รากสามสบิ ออ ยแดง น้ําผึ้ง เปน ตน
3. ยารสเมาเบอ่ื แกพษิ
สรรพคณุ สาํ หรบั แกพิษ พษิ ดี พษิ โลหติ พษิ เสมหะ พิษไข พิษแมลงสตั วก ดั ตอย
ยารสเมาเบื่อแสลงกับโรคหวั ใจพกิ าร และนาํ้ ดพี กิ าร เชน ใบกระทอ ม เมล็ดกระเบา
ขนั ทองพยาบาท เปลือกขอย รากทบั ทิม ทองพันชง่ั ยาดาํ เลบ็ มือนาง กาํ แพงเจด็ ชั้น เปน ตน
4. ยารสขม แกทางดแี ละโลหิต
สรรพคณุ บํารงุ โลหติ และดี แกไ ขเพอ่ื ดี แกโ ลหิตพกิ าร เจรญิ อาหาร แกร อนในกระหายน้าํ
ยารสขมแสลงกบั โรคหัวใจพิการ เชน แกนขี้เหล็ก รากไครเ ครือ ชิงชาชาลี บอระเพด็ ใบ
มะกา มะระขนี้ ก รากราชดดั ใบเสนียด สะเดา หญา ลูกใตใบ เมล็ดมะนาว เปนตน
5. ยารสเผด็ รอ น แกล ม
สรรพคณุ แกล มจุกเสยี ด แนนเฟอ ขับผายลม บํารงุ ธาตุ แกธาตพุ กิ าร ขับระดู
ยารสเผด็ รอนแสลงกบั ไขทมี่ ีพิษรอ น เชน กระชาย กระเทียม กระเพรา ลกู กระวาน ดอก
กานพลู ใบแกว ขงิ ขา ลูกจันทนเ ทศ ดอกดปี ลี ลูกผกั ชลี า ลกู ยอ เปลือกตน มะรมุ ดอกจนั ทน
พริกไทย พลิ งั กาสา เปนตน
6. ยารสมัน แกเสนเอ็น
สรรพคณุ แกเ สนเอน็ พิการ บาํ รุงเสน เอ็น บาํ รุงรา งกาย บาํ รุงไขขอ ทําใหเ กิดความอบอุน
แกรางกาย
ยารสมนั แสลงกับโรคเสมหะพิการ โรคดีซา น เชน งา เมล็ดถว่ั ตา ง ๆ เมลด็ บวั ผกั กระเฉด
เมลด็ มะขาม รากบวั โกฐกระดกู แกน กรนั เกรา เน้ือฝก กระจบั เปน ตน
7. ยารสหอมเยน็ บํารงุ หัวใจ
สรรพคุณ ทําใหช ่ืนใจ บาํ รุงหวั ใจ บํารงุ ครรภ
ยารสหอมเยน็ แสลงกับโรคลม เชน กฤษณา ดอกกระดังงา ขอนดอก เตยหอม ชะมดเชด็
ชะมดเชยี ง หญาฝรัน่ นํา้ ดอกไมเทศ เกสรท้ังหา ใบบวั บก แฝกหอม ดอกลาํ ดวน พิมเสน เปนตน
8. ยารสเคม็ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง
สรรพคณุ ซมึ ซาบไปตามผวิ หนัง แกโรคผิวหนงั รักษาเนอ้ื ไมใ หเนา ขบั เมือกมันในลาํ ไส
ยารสเคม็ แสลงกบั โรคอจุ จาระธาตพุ กิ าร เชน โคกกระสนุ เหงือกปลาหมอ เปลือกตน
โกงกาง ผักชะคราม ดเี กลือไทย ดนิ ประสวิ รากลําพู ล้นิ ทะเล เปน ตน
Page 42
32 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก
9. ยารสเปรย้ี ว กดั เสมหะ
สรรพคณุ แกเสมหะ ฟอกเลอื ด ระบายอุจจาระธาตุ
ยารสเปรยี้ วแสลงกับโรคนาํ้ เหลอื งเสยี บาดแผล ทองรว ง เชน ดอกกระเจ๊ียบ ใบมะขาม
ใบมะขามแขก น้ําลกู มะกรูด ลกู มะขามปอ ม สมอไทย สมอเทศ สม ปอย ลูกมะดัน เปนตน
นอกจากรสยา 9 รสน้ีแลว แพทยแ ผนไทยยงั จดั ยารสจดื เพ่มิ อกี หนึ่งรส ใชส าํ หรบั แกใ นทาง
เตโชธาตุ แกทางเสมหะ ขบั ปส สาวะ ดบั พิษรอน แกไ ข แกร อ นในกระหายนา้ํ แกไ ตพกิ าร ถอนพษิ ผดิ
สาํ แดง เชน ตาํ ลึง ฝอยทอง ผกั บุง รางจืด ผกั กระเฉด ผกั กระโฉม หญา ถอดปลอ ง เปนตน
รสของยาจนี
คณุ สมบัตแิ ละรสของตัวยาจะบอกถงึ สรรพคุณของยา การแพทยแผนจีนไดแบงคุณสมบตั ิของ
ยาออกเปน 4 อยา ง ไดแก รอ น-อุน เยน็ -เย็นจัด ซ่ึงคุณสมบัติของยาจะขึ้นกบั การออกฤทธข์ิ องยา เมอ่ื ยา
เขาสูรางกายแลวจะมีกลไกการออกฤทธิ์และมปี ระสทิ ธผิ ลการรกั ษาแตกตางกนั ท้งั สองกลมุ มฤี ทธิต์ รงขาม
ตัวยาท่ีมีคุณสมบัติเย็นหรือเย็นจดั จะมีฤทธ์ิระบายความรอ น บรรเทาพิษไข ใหความชมุ ชน้ื ใช
รกั ษาโรคทเี่ กิดจากสภาพหยางมากเกินไป รางกายเกดิ การตอบสนองอยา งแรงตอโรคภยั ไขเจ็บ ทําใหเ กิด
อาการรอน เชน มีไข ปากแหง คอแหง กระหายนํา้ ทอ งผกู ปสสาวะขดั และมสี ีเขม สว นตัวยาท่ีมี
คุณสมบตั ิรอนหรืออนุ มฤี ทธใิ์ หค วามอบอุนแกรา งกาย ใชร กั ษาโรคท่ีเกิดจากสภาพยินมากเกนิ ไป รา งกาย
บางสวนออนแอลงกวา ปกติ ทําใหเ กดิ อาการเย็น เชน มือเทาเยน็ ตัวเย็น หนาวสั่น ไมกระหายนํ้า2
นอกจากนี้ ยังเพ่ิมคณุ สมบตั อิ ีกอยา ง คือ สุขุม (เปนกลาง) ตัวยาบางชนิดคุณสมบตั ิรอ น-เย็นไม
สามารถแบงไดช ัดเจน สามารถใชไดท ้งั โรครอ นและโรคเยน็ แมวา คุณสมบตั ขิ องตวั ยามี 5 อยา งกต็ าม
แต สุขมุ อาจแบงไดเ ปน สขุ ุมคอนขางเย็น และสขุ มุ คอ นขา งรอ น ซ่งึ แตกตางกนั ดงั นั้นโดยท่วั ไปจะแบง
คณุ สมบัตขิ องตัวยาออกเปน 4 2
อยางเทานั้น
รสยา หมายถงึ รสชาติของตวั ยา ตัวยาแตล ะชนิดจะมีรสชาตไิ มเ หมอื นกันเนื่องจากมีองคป ระกอบ
ทางเคมีแตกตางกัน ทาํ ใหฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยาและประสิทธผิ ลการรักษาแตกตา งกันดว ย ตวั ยาที่มรี สชาติ
เหมอื นกนั จะมีฤทธ์ิทางเภสชั วทิ ยาใกลเคียงกนั แมวาองคป ระกอบทางเคมบี างชนดิ ในตวั ยาเหมอื นกัน
แตก็ไมแนวาจะมรี สชาติเหมอื นกนั ทีเดียว ประสาทการรับรสของแตล ะคนอาจไมเหมอื นกนั แพทยแผน
จีนแบง รสยาออกเปน 5 2 ไดแก
รส
1. ยารสเผ็ด (ฉุนซา ) ชว ยใหกระจาย ทาํ ใหช่ีหมนุ เวยี น เพิ่มการไหลเวียนของเลอื ด
สรรพคณุ ใชร ักษากลมุ อาการของโรคภายนอก มักพบในระยะแรกของโรคท่ีเกดิ จากปจ จัย
Page 43
คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน 33
ภายนอก เชน ไขหวดั ที่เกดิ จากการกระทบลมรอนหรือลมเย็นในระยะแรกของโรค ช่ีตดิ ขดั ไมไ หลเวยี น
เปนตน
2. ยารสหวาน (ชุม) ชว ยบํารงุ ชว ยใหผอนคลาย เสรมิ ใหร างกายแขง็ แรง ปรับประสานตัวยา
สรรพคุณ ใชรักษากลมุ อาการของโรคที่มีอาการพรอ ง ระบบภมู ิตา นทานของรางกายออนแอ
ไอแหง ทองผกู อาการปวด เปน ตน
3. ยารสเปรย้ี ว ฝาดสมาน
สรรพคณุ แกโ รคเหงอ่ื ออกงา ย เหง่อื ออกมากขณะนอนหลบั ทองเสียเรอ้ื รงั ถายบิดเร้ือรัง
หลัง่ อสจุ ขิ ณะหลบั หรอื ปสสาวะรดทนี่ อนในขณะหลบั ประจําเดอื นมามากผดิ ปกตหิ รอื มาทลี ะนอยไมหมด
เปนตน
4. ยารสขม ชวยระบายความรอ นชวยใหเ ลือดเยน็ ระงบั ไอ ตานอาเจยี น ระบายทอง
สรรพคุณ แกพ ษิ ขับพิษ แกไ อ แกอ าเจียน แกท อ งผูก เปน ตน
5. ยารสเค็ม ชว ยละลายกอน ระบายการอดุ ตัน
สรรพคุณ แกทอ งผกู อยา งแรง ละลายน่วิ เปน ตน
นอกจากรสยา 5 รสนแี้ ลว แพทยแ ผนจนี ยังจดั ยารสจืด เขา ไวใ นยารสหวาน เนือ่ งจากทงั้ สอง
มักใชร ว มกนั ยารสจืดมีฤทธิ์ขับปสสาวะ ใชรักษาอาการบวมนํา้ ปส สาวะขัด เปนตน และจดั ยารสฝาด
เขาไวในยารสเปร้ียว เนือ่ งจากมฤี ทธ์ิเหมอื นกัน
เอกสารอางองิ
1. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส. พริน้ ตงิ้ เฮา ส, 2540.
2. Zhang E. The Chinese Materia Medica. Shanghai: Publishing House of Shanghai University of Traditional Chinese
Medicine, 1988.
Page 44
34 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
การเตรยี มตัวยาพรอ มใช
การเตรยี มตวั ยาพรอมใช เปน วิธเี ตรยี มสมุนไพรใหอ ยใู นรปู แบบที่พรอ มใชในการเขาตาํ รบั ยา
หรือการปรงุ ยา โดยทั่วไปถา สว นทใี่ ชของสมนุ ไพรมีขนาดใหญ หรือหนา หรือมีเนื้อแข็ง ตองตัดใหเล็ก
หรือบางลง เพอ่ื ใหส มนุ ไพรแหง งา ยและสะดวกในการเกบ็ รักษา เชน รากหรอื ลาํ ตน ใตด ิน เปลือกไม
หรอื ผล ควรหั่นหรอื ฝานเปนชิ้นบาง ๆ กอนทาํ ใหแหง และการทําสมุนไพรใหแ หง อาจใชว ิธีตากแดด อบ
ในตูอ บ หรือผงึ่ ในทร่ี ม 1
วัตถุดบิ สมุนไพรบางชนิดตอ งการกระบวนการแปรรูปเฉพาะ ทัง้ นเี้ พอื่ ทําใหส ว นทนี่ าํ มาใชมคี วาม
บรสิ ทุ ธเิ์ พ่ิมขึน้ ลดระยะเวลาในการทําใหแหง ปอ งกันการทาํ ลายจากเช้อื รา เชอื้ จลุ นิ ทรียอื่นและแมลง
ลดความเปน พิษทีม่ ีอยูในสมนุ ไพรลง และทําใหส รรพคณุ ในการรักษาเพม่ิ ขนึ้ แนวปฏิบตั ใิ นการแปรรูป
เฉพาะทีใ่ ชกนั ทัว่ ไป ไดแ ก การคดั เลอื กเบอ้ื งตน การปอกเปลือกรากและเหงา การตมในน้าํ การนึง่ การ
แชน าํ้ การดอง การกล่ัน การรมควัน การยาง การหมัก ตามขบวนการธรรมชาติ การใสป ูน และการสับ
เปนชนิ้ กระบวนการแปรรูปทเ่ี ก่ียวของกบั การทําใหม ีรปู รางบางอยา ง การมัด และการทาํ ใหแ หง ดว ยวธิ ี
พิเศษอาจมผี ลตอ คุณภาพของวัตถุดิบสมนุ ไพร2
สําหรบั ตวั ยาที่มีคุณในการรักษาโรคในขณะเดียวกนั ก็มีสว นทเ่ี ปน โทษอยดู ว ย และตวั ยาบาง
ชนดิ มฤี ทธ์แิ รงหรอื มีพษิ ดังนั้นการนํามาใชทาํ ยาจะตอ งเขาใจถงึ วธิ ีพิเศษในการเตรยี ม เพ่อื ปองกนั ไมให
เกิดโทษหรือพิษอนั อาจมอี ันตรายถึงชวี ิตได จงึ ไดระบวุ ิธีฆาฤทธิ์ยาอยา งถูกตองไว นอกจากนต้ี ัวยาบาง
ชนิดมสี รรพคุณหลายอยา ง หากจะใชใ หไดผ ลตรงตามสรรพคุณท่ตี องการ จาํ เปน ตองเตรียมใหถ กู วิธี
เชน ชะเอมเทศมสี รรพคณุ ระบายความรอ น ขับพิษ แกไ อ ขบั เสมหะ โดยท่วั ไปมกั ใชเขาในตํารบั ยา
รักษาอาการไอมเี สมหะมาก พษิ จากฝแ ผล คอบวมอักเสบ หรือพษิ จากยาและอาหาร สว นชะเอมเทศผัด
นํ้าผึ้งมีสรรพคณุ บาํ รงุ มามและกระเพาะอาหาร เสริมช่ี ทาํ ใหการเตนของชพี จรมแี รงและกลับคืนสภาพ
ปกติ โดยทว่ั ไปมักใชเ ขา ตํารบั ยารกั ษาอาการมามและกระเพาะอาหารออ นเพลยี ไมม แี รง ชข่ี องหวั ใจ
พรอง ปวดทอง ชพี จรเตน ไมสมาํ่ เสมอ1
การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชตามศาสตรก ารแพทยแ ผนไทย
การเตรยี มตัวยาพรอ มใช โดยท่วั ไปนาํ สวนทีใ่ ชเ ปนยามาแลว ผา นการคดั เลือก การลาง การ
ตดั เปนชิ้นทเ่ี หมาะสมแลว ใชค วามรอนทาํ ใหแ หง เพ่ือสะดวกในการเก็บรักษา วธิ เี ตรยี มตัวยาพรอ มใชน ้ัน
Page 45
คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จีน 35
แตกตางกันไปตามชนิดของพชื สวนที่ใชเ ปนยาและความเคยชินของแตล ะทอ งที่ วธิ ีการที่ใชบ อยโดยแยก
กลา วตามสว นทใ่ี ชเ ปน ยา3 ดังน้ี
1. รากและสวนท่อี ยใู ตด ิน กอนอน่ื คดั ขนาดทีพ่ อ ๆ กนั เอาไวด วยกนั เพื่อจะไดสะดวกในการ
แปรสภาพตอ ไป จากนัน้ ลางดนิ และสง่ิ สกปรกท่ีตดิ อยใู หสะอาด เอารากฝอยออกใหห มด หากวา เปนพชื
ทมี่ ีเนื้อแขง็ แหง ไดยาก ตอ งหน่ั เปน ช้ินที่เหมาะสมกอ น หากเปนพืชท่ไี มแขง็ นํามาผานกระบวนการให
ความรอนตามแตชนิดของพืชนนั้ พชื ทใี่ ชห ัวและรากสว นมากประกอบดวยโปรตนี แปง เอนไซม หาก
ผา นการใหความรอ นแบบตม น่ึง จะทาํ ใหสะดวกในตอนทาํ แหง หลังจากผา นความรอน นํามาตัดเปน ช้ิน
แลวอบใหแหงในอณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสม
2. เปลือก หนั่ เปน ชน้ิ ขนาดพอดี ตากใหแหง
3. ใบและทง้ั ตน ในพชื บางชนดิ ท่มี นี าํ้ มนั หอมระเหย ควรผงึ่ ไวใ นท่รี ม ไมควรตากแดด และ
กอ นที่ยาจะแหง สนิท ควรมัดเปน กําปองกนั การหลดุ รว งงาย เชน กะเพราแดง สะระแหน เปนตน โดยทัว่ ไป
เก็บใบหรือลําตนมาลา งใหส ะอาด แลว นํามาตากแดดใหแ หงสนทิ จากนั้นจงึ เก็บใหมดิ ชดิ ระวังอยา ใหข นึ้
ราได
4. ดอก หลงั จากเกบ็ มาแลว ตากแหง หรอื อบใหแ หง แตค วรรักษารปู ดอกไวใหส มบรู ณไมใ ห
ตัวยาถูกทาํ ลายสูญเสียไป เชน ดอกกานพลู
5. ผล โดยทั่วไปเกบ็ แลว ก็ตากแดดใหแหงไดเลย มีเพยี งบางอยา งเทานั้นทตี่ องหัน่ เปน ชิ้นกอน
ตาก หรืออบดว ยความรอนกอ น
6. เมล็ด เก็บผลมาตากใหแหง แลว จึงเอาเปลอื กออก เอาเมล็ดออก เชน ชุมเห็ดไทย บางอยา ง
เกบ็ เปน ผลแหงเลยกม็ ี
การแพทยแผนไทยไดก าํ หนดกระบวนการแปรรูปเฉพาะของสมนุ ไพร4 ดังน้ี
1. การสะตุ คอื การทําใหต ัวยามีฤทธ์อิ อนลง หรอื ทําใหพิษของตัวยานอยลง หรือ ทําใหต วั ยา
น้ันสะอาดขน้ึ หรอื ทําใหตัวยานั้นสะอาดปราศจากเช้อื โรค หรือ ทําใหตวั ยานั้นสลายตัวลง เชน เกลอื
เมอื่ สะตุแลว จะละเอียด ผสมยางา ยขน้ึ และฤทธอิ์ อ นลง เปนตน
- การสะตุสารสม เอาสารสมมาบดใหล ะเอียด นํามาใสหมอดนิ เอาตง้ั ไฟจนสารสม ละลาย
ฟูขาวดีแลว ยกลงจากไฟนาํ มาใชเ ปนยาได
- การสะตุรงทอง เอารงทองมาบดใหละเอยี ดแลว หอดว ยใบบวั หรอื ใบขา 7 ชนั้ นําไปปง
ไฟจนสุกกรอบดี จงึ นําไปใชป รงุ ยาได
Page 46
36 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
- การสะตุมหาหิงค นํามหาหิงคมาใสภาชนะไว เอาใบกะเพราแดงใสนาํ้ ตม จนเดือด เทนํ้า
ใบกะเพราแดงตม รอ น ๆ เทลงละลายมหาหิงค แลว นาํ มากรองใหสะอาดจึงใชได
- การสะตุเปลอื กหอย นําเปลอื กหอยใสใ นหมอดนิ ตั้งไฟจนเปลอื กหอยนน้ั สกุ ดีแลว จงึ ยกลง
จากไฟ ท้ิงไวใ หเ ยน็ นํามาใชปรุงยาได
- การสะตยุ าดาํ นํายาดาํ ใสในหมอ ดนิ เตมิ นํา้ เลก็ นอ ย ยกข้ึนตงั้ ไฟจนยาดํานน้ั กรอบดแี ลว
จึงนําไปใชป รงุ ยา
2. การประสะ มีความหมายดงั นี้
2.1 การทาํ ใหพิษของตัวยาออนลง เชน การประสะยางสลัดได เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีจะ
ประสะใสลงในถว ย ใชน้ําตมเดือด ๆ เทลงไปในตวั ยาน้ัน กวนจนนาํ้ เย็น แลวเทนํ้าท้งิ ไปแลว เทนาํ้ เดอื ดลง
ไปอีก กวนจนนํ้าเยน็ ทําอยา งน้ีประมาณ 7 ครง้ั จนตวั ยาสุกดแี ลวจงึ นาํ ไปปรงุ ยาได
2.2 การทําความสะอาดตัวยา เชน ลา งเอาส่งิ สกปรกออก ลา งเอาดินออก
2.3 ตัวยานน้ั มีจํานวนเทา ยาทง้ั หลาย เชน ยาประสะกะเพรา ใสใ บกะเพราหนกั เทาตัวยาอน่ื ๆ
ท้ังหมดรวมกนั เปน ตน
2.4 ใชใ นชอ่ื ของยาทกี่ ระทาํ ใหบ รสิ ทุ ธ์ิ เชน ยาประสะนา้ํ นม เปนยาท่ีชว ยทําใหน าํ้ นมมารดา
บริสทุ ธิ์ ปราศจากโทษตอ ทารก
3. การฆา ฤทธย์ิ า คอื การทําใหพิษของตวั ยาท่มี ีพิษมากหมดไป หรอื เหลืออยูนอยจนไมเ ปน
อนั ตรายตอผใู ชย า เชน การฆาสารหนู ทําใหส ารหนทู ม่ี ีพษิ มากหมดพษิ ไป สามารถนําไปใชทํายาได เปนตน
- การฆาสารหนู เอาสารหนูมาบดใหล ะเอียด ใสในฝาละมีหรือหมอดิน บีบนา้ํ มะนาวหรือ
น้ํามะกรดู ลงไปใหท ว มยา ตง้ั ไฟจนแหง ทาํ ใหไ ด 7-8 ครง้ั จนสารหนกู รอบดแี ลวจงึ นํามาใชท ํายาได ให
นาํ ภาชนะทีใ่ ชแ ลว ทุบทาํ ลาย แลวฝง ดนิ ใหเ รยี บรอ ย (ปจจุบนั หามใชป รงุ ยาแผนโบราณ)
- การฆา ปรอท นําทองแดง ทองเหลือง หรอื เงิน ใสไวในปรอท ใหปรอทกินจนอมิ่ (ปรอท
แทรกตวั ไปในเนื้อโลหะนั้น ๆ เต็มท่ี) แลวจงึ นาํ ไปใชท ํายา นยิ มทํายาตม (เปนยาอันตราย)
- การฆา ลูกสลอด (บางตาํ ราเรยี กวาการประสะลกู สลอด ยาทมี่ ีฤทธ์แิ รง ควรใชคาํ วาฆา
ฤทธ์ิยา) มีหลายวธิ ี เชน
(ก) เอาลูกสลอดหอรวมกบั ขาวเปลอื ก ใสเ กลือพอควร นาํ ไปใสห มอ ดนิ ตม จนขาวเปลอื ก
แตกบานทัว่ กนั เอาลูกสลอดมาลา งใหส ะอาด ตากใหแหง จึงนําไปปรุงยาได
Page 47
คมู ือการใชสมนุ ไพรไทย-จนี 37
(ข) ปอกเปลอื กลกู สลอดออกใหห มด ลางใหสะอาด หอ ผา ใสในหมอหงุ ขา ว กวนจน
ขาวแหง ทาํ ใหไ ด 3 คร้งั แลว เอาลกู สลอดมาค่วั ดวยนา้ํ ปลาอยา งดีใหเ กรียม นาํ ไปหอผา ทับเอานํ้ามัน
ออก จงึ นาํ มาใชป รงุ ยาได
(ค) เอาลูกสลอดแชน้ําปลารา ปากไหไว 1 คนื แลว เอายดั ใสในผลมะกรูด ใสห มอ ดิน
ปด ฝา สุมดวยไฟแกลบ เม่อื สุกดีแลว จึงนาํ ไปใชปรุงยา พรอมทง้ั ผลมะกรูด
(ง) เอาลกู สลอดตมกับใบมะขาม 1 กํามอื ใบสม ปอย 1 กาํ มือ เม่ือสุกดแี ลวจึงเอา
เนอื้ ในลกู สลอดมาใชป รงุ ยา
- การฆาชะมดเชด็ โดยหั่นหัวหอม หรอื ผิวมะกรดู ใหเปนฝอยละเอยี ด ผสมกับชะมดเชด็
ใสลงบนใบพลู หรือชอนเงิน นําไปลนไฟเทยี น จนชะมดละลายนานพอสมควร หอมดีแลว จงึ กรองเอา
นาํ้ ชะมดเช็ดไปใชป รุงยา
4. การทาํ ยารสรอนแรงใหฤ ทธิ์ออ นลง ตัวยาที่มฤี ทธิ์รอนแรง เชน หสั คุณท้ัง 2 เปลาทงั้ 2
รากตองแตก ถา นาํ มาปรงุ ยาในปริมาณมาก อาจเปน อันตรายแกค นไขได ควรทําใหฤทธ์อิ อ นลงเสียกอน
โดยสบั ยาใหเปน ช้ินเล็ก ๆ คลกุ เคลาสุราใหช ุม ใสก ระทะตั้งไฟคัว่ ใหแ หง แลวจึงใชป รงุ ยา
การเตรียมตวั ยาพรอ มใชต ามศาสตรก ารแพทยแผนจนี
การเตรียมตัวยาพรอมใช เปน ศาสตรแขนงหนึง่ ในศาสตรก ารแพทยแผนจนี ซ่ึงสามารถอธบิ าย
และประเมินผลในเชิงวทิ ยาศาสตรเพ่อื ใหเกิดเปนระบบ มีความสมบูรณ สะดวกตอการศึกษาและสามารถ
ประยุกตใชไดจรงิ สมุนไพรทผี่ านประบวนการเตรียมโดยวธิ พี เิ ศษ จะเกิดการเปลีย่ นแปลงทง้ั ทางกายภาพ
และทางเคมี และผลของการเปลย่ี นแปลงดงั กลา วทาํ ใหเกิดผลการรกั ษาตามตองการได เชน การเตรยี ม
ตัวยาพรอ มใชจ ะชว ยลดพษิ ของยา ชว ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพของยา ชว ยใหฤทธขิ์ องยาสม่าํ เสมอและออกฤทธ์ิ
ตามตอ งการ ชว ยใหส ะดวกใช และชวยในการเก็บรักษาตวั ยา รวมท้งั ชวยขจัดสง่ิ แปลกปลอมทไี่ มใ ชสวน
ที่ใชท าํ ยาและขจดั กล่นิ อนั ไมพงึ ประสงค การเตรียมตวั ยาพรอ มใชข องสมนุ ไพรแตละชนิดมวี ตั ถุประสงคที่
ชดั เจนโดยมที ฤษฎีการแพทยแผนจีนชวยชน้ี ํา และตอ งอาศัยศาสตรท ่ีเก่ียวของอนื่ ๆ มาสนับสนนุ ไดแ ก
เคมี เภสัชวทิ ยา ชีวโมเลกลุ พันธวุ ิศวกรรม ภูมคิ มุ กันวทิ ยา สถติ ิ ฯลฯ
เภสชั ตํารับของจนี (Pharmacopoeia of the People’s Republic of China) ไดก าํ หนดมาตรฐาน
การเตรยี มตัวยาพรอ มใช โดยกาํ หนดคาํ นิยามของวิธีการเตรยี มตา ง ๆ ทเี่ ปน มาตรฐานระดบั ชาติ ดังนี้
1. การทาํ ความสะอาด5
สมุนไพรท่ไี ดคดั แยกเอาสวนที่ไมตองการออก (เชน ตวั ยาบางชนิดใชเฉพาะเนือ้ ผล สวนผิว
Page 48
38 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
ไมใ ช บางชนดิ ใชเ ฉพาะราก ไมใชกาน) และนํามาทําความสะอาดแลว เรยี กวา วตั ถดุ บิ สมุนไพรทส่ี ะอาด
ซ่ึงจะนาํ ไปหน่ั แปรรูปโดยวิธพี เิ ศษ จาํ หนาย หรือใชป รงุ ยา
การทําความสะอาดสมนุ ไพรทําไดโดย การคดั เลอื ก การฝดหรอื รอน การลา ง การห่ัน การ
แช ปด ดวยแปรง การถู การบด ฯลฯ ตามมาตรฐานคุณภาพท่ีกาํ หนด
2. การห่นั 5-9
นอกจากกาํ หนดไวว า หัน่ สมุนไพรสดหรือแหงแลว โดยทัว่ ไปกอ นการห่ันสมนุ ไพร จะตองนํา
สมุนไพรไปแชน้าํ สกั ครู ลา งน้าํ ใหละอาด ใสภ าชนะปดฝาไวเพอ่ื ใหออ นนุมและทําใหห่นั ไดงา ย แตป ริมาณ
นํ้าและระยะเวลาทใ่ี ชใ นการแชมคี วามสําคัญมาก เพราะหากใชป รมิ าณนํ้ามากหรือแชนานเกนิ ไปจะทาํ ให
ตัวยาสูญเสยี ฤทธ์ิ และหากห่นั ชน้ิ ใหญห รอื หนาเกนิ ไปเวลาตม จะทาํ ใหตัวยาไมล ะลายออกมาหรอื ละลาย
ออกไมหมด สมนุ ไพรท่หี นั่ แลว ควรรบี ทําใหแหง
การห่นั สมนุ ไพรอาจหัน่ เปน แวน เปนทอน เปน ชน้ิ หรือซอยเปนช้นิ เล็ก ๆ โดยท่ัวไปเภสชั
ตาํ รับของจีนไดก าํ หนดขนาดและความหนาของวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรไวด ังน้ี
2.1 การหน่ั เปนแวน แวนบางมากจะมีความหนานอ ยกวา 0.5 มลิ ลิเมตร แวนบางจะมี
ความหนาประมาณ 1-2 มิลลเิ มตร และแวนหนาจะมีความหนาประมาณ 2-4 มลิ ลิเมตร
2.2 การห่นั เปน ทอน เปนขอ หรอื เปน ปลอง ความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร
2.3 การห่นั เปน ช้ิน รูปส่เี หลยี่ ม ตา ง ๆ ขนาดความยาวประมาณ 8-12 มิลลเิ มตร
2.4 การห่ันหรือซอยเปน ชน้ิ เลก็ ๆ สาํ หรบั สมุนไพรประเภทเปลือก ขนาดความกวา งประมาณ
2-3 มลิ ลิเมตร และสมุนไพรประเภทใบ ขนาดความกวางประมาณ 5-10 มิลลิเมตร
นอกเหนอื จากวิธีห่ันดังกลา วแลว สมนุ ไพรบางชนดิ อาจใชว ธิ ีบด หรอื ตํา หรือทุบ เปนตน
3. การทาํ ใหแ หง2,6-9
การเตรียมวตั ถดุ ิบสมุนไพรแหงนั้นควรรักษาปรมิ าณความชนื้ ของสมุนไพรใหต่าํ สุด เพอ่ื ลด
การทาํ ลายจากเชอ้ื รา และลดการเจริญของเชอ้ื จลุ ินทรียอ น่ื ๆ ขอมลู เกี่ยวกบั ปรมิ าณความชนื้ ที่เหมาะสม
ของวัตถดุ ิบสมุนไพรแตล ะชนดิ อาจหาไดจ ากเภสัชตาํ รบั หรอื จากมอโนกราฟทีเ่ ปนทางการอ่นื ๆ
พชื สมนุ ไพรสามารถทาํ ใหแ หงไดห ลายวิธี ไดแก การผึ่งในทร่ี ม ทีอ่ ากาศถา ยเทดี (มีรม เงาบัง
ไมใหไ ดร ับแสงอาทิตยโดยตรง) วางเปน ช้ันบาง ๆ บนแผงตากในหอ งหรอื ในอาคารทก่ี รมุ ุงลวด ตาก
แดดโดยตรงหากเหมาะสม ทาํ ใหแ หง ในเตาอบ หอ งอบ หรือโดยเครอื่ งอบแหง พลังแสงอาทิตย ใชค วาม
รอนจากไฟทางออ ม การอบ การทําใหแหง ดวยความเย็น ถา เปน ไปได ใหควบคมุ อณุ หภูมิและความชืน้
Page 49
คูมือการใชสมุนไพรไทย-จีน 39
เพื่อหลีกเล่ียงการสลายตัวของสารเคมีท่ีเปนสารออกฤทธิ์ วิธีการและอุณหภูมิท่ีใชในการทาํ แหงอาจมี
ผลกระทบอยางมากตอ คณุ ภาพของวัตถดุ ิบสมุนไพรได เชน การตากในทร่ี ม จะเปนวิธที ด่ี กี วา เพอ่ื รักษา
หรอื ลดการจางของสขี องใบและดอกใหน อยทีส่ ดุ และควรใชอ ณุ หภมู ิต่ําในกรณที วี่ ัตถดุ บิ สมุนไพรมีสาร
ที่ระเหยได ควรมีการบนั ทึกสภาวะท่ใี ชใ นการทาํ ใหแ หง ดว ย
ในกรณีของการผง่ึ ใหแ หง ไวใ นท่ีโลง ควรแผว ัตถดุ ิบสมุนไพรเปนชน้ั บาง ๆ บนแผงตาก
และหมั่นคนหรือกลบั บอ ย ๆ เพอ่ื ใหอ ากาศถา ยเททัว่ ถงึ แผงตากควรจะอยูห า งจากพน้ื มากพอ และควร
พยายามใหวัตถดุ ิบสมุนไพรแหงอยางสมํ่าเสมอเพอ่ื หลกี เลย่ี งการเกดิ เช้ือรา ไมควรตากวัตถดุ บิ สมนุ ไพร
บนพืน้ โดยตรง ถา เปน พืน้ ปูนซีเมนตหรอื คอนกรตี ควรวางวตั ถุดบิ สมุนไพรบนผืนผา ใบหรอื ผาชนดิ อื่นที่
เหมาะสม สถานทท่ี าํ ใหว ตั ถุดบิ แหง ตอ งไมใ หแ มลง หนู นก สตั วรังควานอ่นื ๆ หรอื สัตวเ ลี้ยงเขาถงึ ได
สําหรบั การทําใหแหงภายในอาคาร ควรกาํ หนดระยะเวลาการทําใหแหง อณุ หภูมิ ความชื้น และสภาวะ
อ่ืน ๆ โดยคํานึงถึงสวนของพืชทใ่ี ชเ ปน ยา (ราก ใบ ลาํ ตน เปลอื ก ดอก ฯลฯ) และสารธรรมชาติทร่ี ะเหย
งาย เชน น้าํ มันหอมระเหย เปนหลัก
4. 5-9
การแปรรปู โดยวธิ เี ฉพาะ
กระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมนุ ไพร โดยท่ัวไปจะใชไฟเขามาเกีย่ วขอ ง และเปนวิธีท่ใี ช
กันมาก ไมว าจะผัดหรอื สะตุ แมดูจะงาย แตหากระดับไฟ (ไฟออน ไฟแรง) ทีใ่ ชไ มเหมาะสม (ผัดใหมี
กลิน่ หอม หรอื ผัดใหเกรยี ม) จะสง ผลตอ การรกั ษาได เชน ขา ว (กหู ยา) ขาวบารเ ลย (มา ยหยา) หากจะ
กระตุน การทาํ งานของมา ม ชวยใหฤทธเิ์ จริญอาหารดขี น้ึ จะตองนาํ ไปผัดกอ นใช หรอื ไปจู หากใชด บิ จะ
มีสรรพคุณบาํ รุงช่ี เสริมมา ม แตฤ ทธิค์ อนขางแรง เม่อื รับประทานแลวจะทําใหทองอืดได จงึ ตองนํามาผดั
ใหเกรียมกอนใช นอกจากจะชว ยบํารุงชแี่ ละเสรมิ มา มแลว ยังไมทําใหเกดิ อาการทองอืดได สาํ หรับตัวยา
ประเภทเมลด็ หรือผลเลก็ ๆ ตอ งนํามาผดั กอนใช เพอื่ ใหมกี ลน่ิ หอมและเมือ่ นํามาตมจะทําใหสารสําคัญ
ออกมางาย ตวั ยาที่เปน ยาเย็นเมอ่ื นํามาผดั จะทําใหฤทธิ์ของยาไมแ รงเกินไป เปนตน
การแพทยแ ผนจนี ไดก ําหนดกระบวนการแปรรปู เฉพาะของสมุนไพร5-9 ดังน้ี
4.1 การผดั (stir-baking) แบง เปน 2 ประเภท คอื การผัดธรรมดา และการผดั โดยใชร ําขาวสาลี
(ก) การผดั ธรรมดา หมายถงึ การนาํ วัตถดุ บิ สมุนไพรท่ีสะอาดใสในภาชนะที่เหมาะสม ผดั โดย
ใชร ะดบั ไฟออน ๆ จนกระท่ังไดต รงตามขอ กาํ หนด นําออกจากเตา แลวตง้ั ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ หากตองการผัด
จนกระทัง่ ไหมเกรียมใหผดั โดยใชระดับไฟแรง ผัดจนกระทั่งผิวนอกเปนสีนํ้าตาลและรอยแตกเปนสเี ขม
นําออกจากเตา แลว ต้งั ทงิ้ ไวใ หเยน็ สําหรับสมนุ ไพรทตี่ ดิ ไฟในระหวา งการผดั อาจพรมนา้ํ เลก็ นอ ย แลว
Page 50
40 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก
ผดั จนกระทง่ั ตวั ยาแหง
(ข) การผัดโดยใชรําขาวสาลี หมายถงึ การนาํ รําขาวสาลใี สล งในภาชนะที่เหมาะสม แลวให
ความรอ นจนกระทัง่ มีควนั ออกมา เติมวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทสี่ ะอาดลงไป คนอยา งรวดเร็วจนกระท่ังผวิ ของ
ตัวยาเปนสเี หลอื งเขม นําออกจากเตา แลว รอนเอาราํ ขาวสาลีออก โดยท่วั ไปใชร าํ ขา วสาลี 10 กโิ ลกรมั ตอ
สมุนไพร 100 กโิ ลกรัม
4.2 การค่วั (scalding) หมายถงึ การนาํ ทรายท่ีสะอาดหรือเปลือกหอยท่ีบดเปนผงใสใ นภาชนะที่
เหมาะสม แลว ใหค วามรอ นท่อี ุณหภูมิสงู เติมวตั ถดุ ิบสมนุ ไพรทส่ี ะอาดลงไป คนอยางสมํ่าเสมอ จนกระทัง่
ตัวยากรอบ เอาออกจากเตา รอนเอาทรายออก ตั้งท้ิงไวใหเ ย็น
4.3 การสะตุ (calcining) แบง เปน 2 ประเภท คอื การสะตแุ บบเปด และการสะตแุ ลว จมุ ใน
ของเหลวทก่ี าํ หนด
(ก) การสะตุแบบเปด หมายถงึ การนําวัตถดุ บิ สมนุ ไพรทสี่ ะอาดมาทุบใหแตกเปนชน้ิ เลก็ ๆ
แลว นาํ ไปวางบนเปลวไฟท่ไี มมีควนั หรือใสใ นภาชนะที่เหมาะสม สะตุจนกระทงั่ ตัวยากรอบ เปราะ หรือ
รอ นแดง จากนน้ั นาํ ออกจากเตา ตงั้ ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ แลว บดเปน ผงละเอยี ด สําหรับตวั ยาประเภทเกลอื อนนิ ทรีย
ทม่ี นี ํา้ ผลกึ ไมจาํ เปน ตองสะตจุ นรอนแดง แตใ หน าํ้ ผลกึ ระเหยออกอยางสมบรู ณ
(ข) การสะตุแลว จมุ ในของเหลวทก่ี าํ หนด หมายถงึ การนาํ วตั ถดุ บิ สมนุ ไพรทีส่ ะอาดมาสะตุ
จนกระทั่งตัวยารอนแดง แลวนาํ ไปจุมลงไปในของเหลวที่กําหนดเพื่อลดอุณหภูมิจนกระท่ังตัวยากรอบ
เปราะ (ทาํ ซ้ําถา จาํ เปน ) นําตวั ยาไปทาํ ใหแ หง บดเปน ผงละเอียด
4.4 การเผาใหเ ปน ถาน (carbonizing) หมายถึงการเผาสมุนไพร (ระวังอยา ใหเปนขเี้ ถา) โดย
รักษาคุณภาพของตวั ยาไว หากเปนการเผาโดยวธิ ผี ดั ใหใสว ตั ถดุ ิบสมุนไพรที่สะอาดลงในภาชนะที่รอ น
แลว ผดั โดยใชระดบั ไฟแรง จนกระทง่ั ผวิ นอกของตวั ยามสี เี ขม และเนอ้ื ในเปลยี่ นเปนสเี หลอื งเขม พรมน้ํา
เลก็ นอย เอาออกจากเตา แลว นาํ ไปตากแหง หากเปน การเผาโดยวธิ ีสะตุ ใหใสว ตั ถดุ บิ สมุนไพรท่ีสะอาด
ลงในภาชนะสาํ หรบั สะตุที่มีฝาปดมดิ ชิด อบตัวยาใหท่ัว ตง้ั ทง้ิ ไวใ หเย็น แลว เอาตวั ยาออกมาใช
4.5 การนงึ่ (steaming) หมายถึงการนาํ วัตถดุ ิบสมนุ ไพรทสี่ ะอาดมาคลกุ เคลา กับสารปรุงแตง
ท่เี ปนของเหลวใหเขากัน นําไปใสในภาชนะนึ่งท่ีมีฝาปดมิดชิด น่ึงจนกระท่ังสารปรุงแตงท่ีเปนของเหลว
แทรกซมึ เขา ในเนอ้ื ตัวยา แลวนาํ ไปตากแหง
4.6 การตม (boiling) หมายถงึ การนําวัตถดุ ิบสมุนไพรทีส่ ะอาดมาตมกบั นํ้าหรือสารปรุงแตงท่ีเปน
ของเหลว จนกระทัง่ นาํ้ หรอื สารปรุงแตงแทรกซมึ เขาเนอื้ ในตัวยา แลวนาํ ไปตากแหง