The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นงลักษณ์ ใจกล้า, 2019-07-27 00:10:48

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

คู่มือการใช้สมุนไพรไทย-จีน

Page 151

คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จนี 141

สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:
ผวิ สม รสปรา หอม ปรงุ ยาหอม แกล มวิงเวียน หนามืดตาลาย แกลมจกุ เสยี ด แนน เฟอ 5

ขนาดทใี่ ชแ ละวิธใี ช:
การแพทยแ ผนจีน ใช 3-9 กรมั ตมเอานาํ้ ดมื่ 1

ขอ มลู วชิ าการท่เี ก่ียวขอ ง:
1. มีรายงานวาน้ํามันหอมระเหยจากผวิ สม จีนมีฤทธิข์ บั เสมหะ สารสกดั น้าํ และสารสกดั แอลกอฮอล

มีฤทธ์ิขยายหลอดลมในกระตา ย และสาร nobiletin มฤี ทธ์ิแกหอบในหนูตะเภาและแมว6
2. สารสกัดน้าํ มฤี ทธ์ิยบั ยัง้ การหดตัวของกลามเนื้อเรยี บของลาํ ไสหนูตะเภา กระตา ย และสนุ ัข

ตา นอนมุ ูลอสิ ระในหนขู าว น้ํามนั หอมระเหยใหค วามอบอนุ และกระตุน การทํางานของระบบกระเพาะอาหาร

และลําไสใ นกระตา ย เม่ือฉีดสาร hesperidin ท่แี ยกไดจ ากผิวสม จนี เขา ใตผ ิวหนงั ของสัตวท ดลองใน
ขนาด 100 หรอื 500 มิลลิกรมั /กิโลกรมั /วนั ติดตอกนั นาน 6 วัน พบวา สารดังกลาวแสดงฤทธบ์ิ รรเทา

อาการแผลในกระเพาะอาหารไดผ ลดี และสารดงั กลา วในขนาดเดยี วกนั มฤี ทธข์ิ บั นาํ้ ดีและละลายน่วิ ใน

6,7

ถงุ นํ้าดใี นหนูขาวและสนุ ัข
3. การทดลองทางคลนิ กิ พบวา ผวิ สมจีนมสี รรพคุณรกั ษาอาการชอ็ คอันเนือ่ งจากการตดิ เชื้อ

และสารสกัดมีสรรพคณุ รักษาแผลกลากเกลื้อน บรรเทาอาการแพ และแกอ จุ จาระมเี ลอื ดปน นา้ํ มนั หอม

ระเหยมสี รรพคณุ รกั ษาน่ิวในถงุ นาํ้ ดี7

4. เมื่อฉีดนํ้ามันหอมระเหยเขาชองทองหนูถีบจักร พบวาขนาดของนา้ํ มันหอมระเหยทท่ี ําให

หนถู ีบจักรตายรอ ยละ 50 (LD50) มีคาเทากบั 1 7

มิลลิลติ ร/กโิ ลกรัม

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวคี ุณ (คณะบรรณาธิการ). ช่อื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน
ฉบบั แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สํานักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พครั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ประชาชน จาํ กัด, 2544.

3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. ยอเภสชั กรรมไทยและสรรพคณุ สมุนไพร. พมิ พค ร้งั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจุภัณฑแ ละ

การพิมพ จํากัด, 2548.
6. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed.

Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984.
7. Li W. Pericarpium Citri Reticulatae: chen pi. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern

study of pharmacology in traditional medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 152

142 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

พทุ ราจนี : Dazao (大枣)

พทุ ราจนี หรือ ตา เจา คอื ผลสุกที่ทาํ ใหแ หงของพชื ท่ีมีชอื่ วทิ ยาศาสตรว า Ziziphus jujuba
Mill. วงศ Rhamnaceae1

2 เซนติเมตร

พทุ ราจนี (Fructus Jujubae)

ชอ่ื ไทย: พุทราจนี (ภาคกลาง)2
ช่อื จีน: ตา เจา (จีนกลาง), ตั่วจอ (จนี แตจ ิว๋ )1
ชื่ออังกฤษ: Chinese Date1
ชื่อเคร่อื งยา: Fructus Jujubae1
การเกบ็ เก่ยี วและการปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกี่ยว:

เก็บเก่ียวผลสกุ ในฤดูใบไมรวง ตากแดดใหแหง เก็บรกั ษาไวใ นท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการ
ระบายอากาศดี1
การเตรยี มตวั ยาพรอ มใช:

นาํ วตั ถุดิบสมนุ ไพรมาลา งนํ้าใหส ะอาด ตากใหแหง กอนใชใ หเ อาเมด็ ออก1
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตวั ยาทมี่ ีคณุ ภาพดี ผลตองมีขนาดใหญ สมบูรณ สแี ดงอมมว ง เมลด็ เลก็ และมรี สหวาน3
สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแผนจีน:

พุทราจนี รสหวาน อุน มีฤทธ์ิเสริมช่ี บํารงุ มา มและกระเพาะอาหาร แกอาการมามพรอง (เบื่อ

Page 153

คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 143

อาหาร ถา ยเหลว ออ นเพลีย ไมมแี รง) และมฤี ทธิส์ งบประสาท บาํ รงุ เลอื ด แกอาการเลอื ดพรอ ง (ซดี
เซียว สตรที ่ีมอี าการของระบบประสาท กระวนกระวาย บํารุงเลือด) รวมทั้งมีฤทธป์ิ รบั ฤทธิ์ของยาใน

ตํารับยาทีม่ ฤี ทธ์ิรุนแรง สามารถใชพุทราจนี ปรับฤทธยิ์ าและลดอาการไมพึงประสงค ชว ยใหรางกายดดู ซึม
ยาไดด ขี ึ้น รักษาชีท่ ดี่ ไี วได1
ขนาดท่ีใชแ ละวิธใี ช:

การแพทยแผนจีน ใชข นาด 6-15 กรมั ตมเอานํา้ ดม่ื 1
ขอ หามใช ขอควรระวงั และอาการขางเคียง:

พทุ ราจีนแหงมีน้ําตาลสงู ผูทเี่ ปนโรคเบาหวานควรรบั ประทานแตนอย และนา้ํ ตาลอาจทําใหฟน
ผุได นอกจากนี้ผทู ี่มีอาการของโรคลําไสแ ละฟน ผคุ วรหลีกเล่ยี ง4
ขอ มลู วชิ าการทเี่ กี่ยวขอ ง:

1. สารสกัดน้าํ มีฤทธ์ิปกปองตับจากสารพิษและเพ่ิมความแข็งแรงใหตับในหนูถีบจักรและ
กระตาย ระงับไอ ขับเสมหะในหนูถบี จกั ร4,5

2. มีรายงานวาเม่ือใหหนูขาวท่เี ปนมะเร็งกระเพาะอาหารรับประทานเนื้อพุทราจีนแหงวันละ 1
กรัม โดยกลุมท่ี 1 ใหรับประทานติดตอกันนาน 8 เดือน และกลุมท่ี 2 ใหรับประทานติดตอกันนาน 10
เดอื น พบวา สามารถยบั ยัง้ เซลลม ะเร็งกระเพาะอาหารไดท้งั สองกลุม โดยใหผ ลแตกตางกันอยางชดั เจน5

3. สารเพกทิน (pectin) ในพทุ ราจนี ชว ยจับโลหะหนักทต่ี กคางในรางกายและลดคอเลสเตอรอล6
4. มีรายงานการทดลองทางคลนิ กิ พบวา สารสกดั นาํ้ มีสรรพคณุ บรรเทาอาการเลอื ดคงั่ และแก

โรคตบั อักเสบชนดิ เฉยี บพลัน โดยทั่วไปพุทราจีนมักไมใชเด่ยี ว สวนใหญจะเปน สวนประกอบในตํารบั ยา
ตาง ๆ4,5

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ช่ือพรรณไมแหงประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน
ฉบับแกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สาํ นักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ประชาชน จาํ กดั , 2544.

3. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
4. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed.

Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984.
5. Zhou ZC. Fructus Jujubae: da zao. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study

of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.
6. บรษิ ทั หลักทรัพยจ ัดการกองทนุ กสกิ รไทย จํากัด. มหศั จรรยสมนุ ไพรจีน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซเี อ็ดยูเคช่ัน จํากดั (มหาชน),

2550.

Page 154

144 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

ฟา ทะลายโจร : Chuanxinlian (穿心莲)

ฟาทะลายโจร หรือ ชวนซินเหลียน คือ สวนเหนือดินแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา
Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall.ex Nees วงศ Acanthaceae1

(Herba 2 เซนติเมตร

ฟาทะลายโจร Andrographis)

ช่ือไทย: ฟาทะลายโจร, ฟาทะลาย (กรุงเทพฯ); หญากันงู (สงขลา)2
ช่ือจีน: ชวนซินเหลียน (จีนกลาง), ชวงซิมโนย (จีนแตจ๋ิว)1
ช่ืออังกฤษ: Common Andrographis Herb1
ช่ือเครื่องยา: Herba Andrographis1
การเกบ็ เกีย่ วและการปฏบิ ตั หิ ลังการเก็บเก่ียว:

เก็บเก่ยี วสวนเหนอื ดนิ เม่อื พืชเจรญิ เติบโตเต็มที่และเริม่ ออกดอกจนถงึ ออกดอก แยกสิ่งอนื่ ที่
ปะปนมาทง้ิ ตากแดดใหแ หง เก็บรกั ษาไวใ นท่ีมีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1

การเตรียมตัวยาพรอมใช:
นาํ วตั ถดุ ิบสมนุ ไพรมาลางนาํ้ ใหส ะอาด ห่นั เปน ทอ น ๆ ขนาดพอเหมาะ และนาํ ไปทําใหแ หง1,3

คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก:
ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี ตองมีปริมาณใบมาก สีเขียว4

สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน:

ฟาทะลายโจร รสขม เย็น มีสรรพคุณรักษาอาการไขหวัด เจ็บคอ แผลในปากและล้ิน ไอ
เฉียบพลันและไอเรื้อรัง แกทองเสีย ติดเชื้อทางเดินปสสาวะ ปสสาวะขัด1

Page 155

คมู อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 145

สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย:
5
ฟาทะลายโจร มีสรรพคุณแกไขเจ็บคอ แกทองเสีย

ขนาดท่ีใชและวิธีใช:
การแพทยแผนจีน ใชขนาด 6-9 กรัม ตมเอาน้ําด่ืม1
การแพทยแ ผนไทย บญั ชยี าหลักแหง ชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดขนาดใชของฟา ทะลายโจร5 ดงั นี้
- รักษาอาการเจบ็ คอ วันละ 3-6 กรัม วันละ 4 คร้ัง หลงั อาหารและกอ นนอน
- รกั ษาอาการทอ งเสียไมต ิดเชอ้ื คร้ังละ 0.5-2 กรมั วันละ 4 คร้ัง หลังอาหารและกอนนอน
องคก ารอนามัยโลก กาํ หนดขนาดใชของฟา ทะลายโจร4 ดังน้ี

- แกไ ข ตมยาฟา ทะลายโจรแหง 3 กรมั รับประทานวันละ 2 คร้งั
- แกหวดั ผงยาฟาทะลายโจร 1.5-3 กรัม วันละ 3 ครง้ั หลังอาหารและกอนนอน
- แกทอ งเสยี 3-9 กรมั รบั ประทานครง้ั เดียวเมือ่ มีอาการหรอื รับประทานแคปซูลหรือยา

เม็ด 500 มลิ ลิกรัม ครง้ั ละ 2 เมด็ วนั ละ 4 คร้งั กอ นอาหารและกอ นนอน
ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง:

1. หามใชในผูมีอาการแพฟาทะลายโจร5
2. ประสทิ ธิผลในการบรรเทาอาการไขเจ็บคอของฟา ทะลายโจร นาจะเกิดจากฤทธ์ิลดไข และ

ฤทธิต์ านการอกั เสบมากกวา ฤทธต์ิ านเช้ือแบคทเี รยี ดังนน้ั เพือ่ ปองกนั ไมใ หผูป วยไดรบั อันตรายทเ่ี กิดจาก
การติดเชื้อแบคทเี รยี Streptococcus group A ซง่ึ อาจทําใหเ กดิ ภาวะแทรกซอ นท่รี นุ แรงตามมา เชน ไข

รหู มาตคิ โรคหัวใจรูหม าตกิ และไตอักเสบ จงึ มีขอหา มใชฟ า ทะลายโจรสาํ หรบั แกเจ็บคอในกรณตี า ง ๆ

ดงั ตอไปน้ี ในผปู ว ยทม่ี ีอาการเจบ็ คอเน่ืองจากตดิ เชือ้ Streptococcus group A
- ในผปู วยท่ีมีประวตั เิ ปน โรคไตอกั เสบเน่ืองจากเคยติดเช้อื นี้
- ในผปู ว ยที่มีประวตั เิ ปน โรคหัวใจรูหม าติก
- ในผูปว ยท่ีมอี าการเจ็บคอเนือ่ งจากมกี ารตดิ เชอื้ แบคทีเรีย และมอี าการรุนแรง เชน เปน
-

ตุมหนองในคอ มไี ขส งู หนาวสน่ั
3. ฟา ทะลายโจรอาจทาํ ใหเ กิดอาการแพไ ดต ง้ั แตอาการผน่ื คนั ลมพษิ จนถงึ อาการแพขั้นรนุ แรง
ถา ใหโ ดยการฉดี หรอื ในขนาดสงู 5
4. ในผปู ว ยบางราย ฟาทะลายโจรอาจทําใหเกิดอาการปวดทอง ทอ งเดนิ ปวดเอว หรือวงิ เวยี น
ศีรษะ ใจส่นั หากมีอาการดังกลา วควรหยุดใชยาฟา ทะลายโจรและเปล่ยี นไปใชย าอื่นแทน5
5. หากใชติดตอ กนั เปน เวลานาน อาจทาํ ใหแขนขามอี าการชาหรอื ออนแรง5

Page 156

146 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

6. หากใชฟาทะลายโจรติดตอกนั 3 วนั แลวไมห าย หรอื มอี าการรนุ แรงขึ้นระหวางใชย า ควร
5

หยุดใชและไปพบแพทย
7. เน่ืองจากมีรายงานวาฟาทะลายโจรทาํ ใหเ กิดการแทง ได ดงั นั้นทางองคก ารอนามัยโลกจงึ

แนะนาํ วาสตรมี คี รรภไมควรใชฟ า ทะลายโจร5
ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ:

1. สารสกดั แอลกอฮอลแ ละสารสาํ คัญกลุม diterpene lactone ของฟา ทะลายโจรสามารถลดการ
บบี ตัวของลาํ ไสเล็กและกลา มเน้อื กระเพาะอาหารของหนูทดลองได6 ,7 สารสกดั บิวทานอล andrographolide
และ neoandrographolide สามารถตานฤทธิ์ของ E. coli enterotoxin ทท่ี าํ ใหท อ งเสยี ได เพราะชว ยทาํ
ใหก ารสูญเสยี นาํ้ ทางลําไสล ดลง นอกจากนส้ี ารสกดั 85% แอลกอฮอลย งั ปอ งกนั การเกิดอาการทองเสีย
ในหนูถบี จกั รที่ไดร บั นาํ้ มนั ละหุงหรอื magnesium sulfate ได แสดงฤทธลิ์ ดไขใ นกระตาย และสามารถ

ตานการอักเสบในหนูขาวไดเ มือ่ ศกึ ษาฤทธิ์ในการลดบวมขององุ เทาหลงั ของหนู หลงั ไดรบั สารคาราจีแนน
(carrageenan-induced hind paw edema)5,8

2. มีบางรายงานกลาววา สารสกัดฟา ทะลายโจรมฤี ทธติ์ า นเชือ้ แบคทีเรยี บางชนิดได แตรายงาน

การวจิ ยั หลายช้ินในประเทศไทยบงช้วี า ฟา ทะลายโจรหรอื สารสกดั ฟาทะลายโจรไมมีฤทธิ์ตา นเชื้อแบคทีเรีย

ท่ที าํ ใหทอ งเสยี หรือทาํ ใหเ กิดโรคตดิ เชอื้ ของทางเดนิ หายใจสว นบน หรอื ถา พบฤทธย์ิ บั ย้งั เชอ้ื ก็จะเปน

ฤทธ์ทิ อ่ี อ นตอ งใชค วามเขมขนของสารสกัดสูงเกินกวา ที่จะมคี วามสัมพนั ธกับระดับยาในเลือดหรือในทางเดนิ
อาหารหลังรับประทานฟา ทะลายโจร นอกจากน้ีสารสกดั ฟาทะลายโจรยังแสดงฤทธต์ิ า นเชื้อ Porphyromonas
gingivalis ซึ่งทาํ ใหเ กดิ โรคปรทิ ันตไ ด และสารสกดั หยาบของฟา ทะลายโจรสามารถยับยงั้ การจับตัวของ
แบคทเี รยี Streptococcus mutans (แบคทเี รียในชอ งปากทเี่ ปลย่ี นนํา้ ตาลบนเคลอื บฟนใหเ ปน กรด อนั
เปนสาเหตขุ องฟน ผ)ุ บนผิวแกวหรือบน hydroxyapatite ท่ีเคลอื บนํ้าลาย โดยมีคา IC50 เทากบั 0.5%
โดยนํ้าหนัก/ปรมิ าตร5

3. สารสกดั แอลกอฮอลจากฟาทะลายโจรและสาร andrographolide สามารถกระตุนระบบ

ภูมคิ มุ กันของหนูถีบจกั รท้ังแบบจาํ เพาะและแบบไมจําเพาะ โดยสารสกดั แอลกอฮอลม ฤี ทธิก์ ระตนุ ภูมคิ ุมกัน
ท่ีแรงกวา andrographolide นอกจากนี้สารสกดั แอลกอฮอลย งั แสดงฤทธล์ิ ดนาํ้ ตาลในเลือดในหนูขาวที่
ถกู ทําใหเปน เบาหวานจากการไดรับสาร streptozotocin (STZ) ได สว นการศกึ ษาในกระตา ยปกตพิ บวา
สารสกดั นาํ้ ในขนาด 10 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรมั ปอ งกนั การเพ่ิมของระดบั น้ําตาลในเลอื ดเนื่องจากไดรบั
กลโู คสทางปากในขนาด 2 มลิ ลิกรัม/กโิ ลกรัม แตไ มสามารถลดนํ้าตาลจากการกระตนุ ดวย adrenaline
ได และเมือ่ ใหส ารสกดั นาน 6 สปั ดาหไมส ามารถลดระดับนํ้าตาลในเลอื ดได เมอ่ื ใหส ารสกดั นาํ้ ขนาด 50
มลิ ลกิ รัม/กโิ ลกรมั แกห นทู เ่ี ปน เบาหวานจากการไดรับ STZ พบวาสามารถลดระดบั นํา้ ตาลในเลือดได

Page 157

คูมือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 147

52.90% และประสทิ ธผิ ลจะสงู ข้ึนเมือ่ ใชส ารสกดั ที่เตรียมแบบทาํ ใหแหง โดยวธิ ไี มใ ชความรอ น โดยพบวา
ขนาด 6.25 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรัม สามารถลดนํา้ ตาลไดถ งึ 61.81% นอกจากนส้ี ารสกดั นํา้ และสารสกัด

5

แอลกอฮอลข องใบฟาทะลายโจรสามารถปอ งกนั ตบั จากสารพษิ ตา ง ๆ
4. การศึกษาประสทิ ธผิ ลในการรกั ษาโรคอุจจาระรวงและบิดแบคทีเรยี โดยใชผ งฟา ทะลายโจร

(เตรยี มจากสว นเหนอื ดิน) เทียบกบั ยาเตตราซัยคลนิ ในการรกั ษาอุจจาระรวงและบดิ แบคทีเรีย โดยใหยา
2 ขนาด คือ 500 มิลลิกรมั ทุก 6 ช่ัวโมง และ 1 กรัม ทกุ 12 ชว่ั โมง พบวาฟา ทะลายโจรทง้ั สองขนาด
สามารถลดจํานวนอจุ จาระรว ง (ท้ังความถ่แี ละปรมิ าณ) และจาํ นวนนาํ้ เกลือทีใ่ หท ดแทนไดอ ยา งนาพอใจ

แมว า จะไมแตกตา งกันอยางมีนัยสําคญั ทางสถติ ิ ฟา ทะลายโจรสามารถทําลายเชื้อทีก่ อ ใหเกดิ โรคบิดแบคทีเรีย
ไดด กี วาเตตราซยั คลนิ แตทาํ ลายเช้อื อหิวาตกโรคไดไ มดเี ทา tetracycline อยางไรก็ตามฟาทะลายโจร
ชวยใหผ ปู วยอหวิ าตกโรคถา ยนอ ยกวากลมุ ทไ่ี ดร ับ tetracycline อยา งมนี ัยสําคญั 5

5. เม่ือใหผูปวยท่มี ีอาการไขเจบ็ คอรบั ประทานฟาทะลายโจรแคปซูลในขนาด 3 กรัม/วนั หรอื
6 กรมั /วัน แบงใหว นั ละ 4 ครงั้ ตดิ ตอ กัน 7 วัน เปรียบเทยี บกับกลมุ ท่ีไดรบั พาราเซตามอลขนาด 3
กรมั /วัน พบวาในวนั ที่ 3 หลงั การรักษา ผูปว ยท่ีไดรับยาพาราเซตามอลหรือฟาทะลายโจรขนาด 6 กรัม/
วนั หายจากไขแ ละอาการเจ็บคอไดมากกวากลมุ ทไี่ ดรับฟาทะลายโจรขนาด 3 กรัม/วนั อยางมนี ยั สําคญั
แตผลการรักษาไมมคี วามแตกตางกนั ในวันที่ 75

6. รายงานผลการวจิ ัยทางคลินกิ ในตา งประเทศ โดยทดลองใหสารสกดั ฟา ทะลายโจรในขนาด
1,200 มิลลิกรมั /วนั แกผ ูปวยโรคหวดั จาํ นวน 28 คน แลววดั ผลในวนั ที่ 4 หลังไดรับยา พบวาสารสกดั

ฟา ทะลายโจรสามารถลดอาการเจ็บคอ เหน่อื ย ออนเพลีย ปวดเมอ่ื ยกลา มเน้อื ได เมื่อเทียบกับกลมุ
ควบคุมทไี่ ดรบั ยาหลอก 33 ราย โดยไมมีรายงานอาการขา งเคยี งจากการใชย า ตอมามกี ารทดลองใหยา
เม็ดฟา ทะลายโจรซงึ่ มีสารสกัด 100 มิลลิกรมั /เม็ด จํานวนครั้งละ 4 เมด็ วนั ละ 3 เวลา ในผูป ว ยท่เี ปน
ไขห วัด 102 คน เทยี บกบั กลมุ ทไ่ี ดรับยาหลอก 106 คน โดยใหผ ูป วยระบุความรุนแรงของแตละอาการ
เม่ือเริ่มใหยาและหลังไดรับยา 2 วัน และ 4 วันตามลําดับ โดยทาํ เครื่องหมายลงบนเสนตรงยาว 10
เซนติเมตร ที่แบงจาก 0-10 (0 หมายถึงไมมีอาการ และ 10 หมายถึงอาการรุนแรงที่สุด) พบวาวันท่ี
2 หลังไดรับยา ความรุนแรงของอาการออนเพลีย นอนไมหลับ เจ็บคอ นํ้ามูกไหล ในกลุมที่ไดรับยา
ฟาทะลายโจรนอยกวา กลุมควบคุมอยางมนี ัยสําคญั และในวนั ท่ี 4 หลังไดรับยา ความรุนแรงของทกุ
อาการ ไดแก อาการไอ (ทงั้ ความแรงและความถ่)ี เสมหะ นํา้ มูกไหล ปวดศรี ษะ ออ นเพลีย ปวดหู นอน

ไมห ลับ เจบ็ คอ ในกลมุ ทไี่ ดรับยาฟาทะลายโจรนอยกวากลุมควบคุมอยางมนี ยั สําคญั ขอ มลู งานวิจยั

ทางคลินิกของฟา ทะลายโจรในโรคตดิ เชือ้ ของระบบทางเดินหายใจสว นตน สรปุ ไดวา ฟาทะลายโจรนาจะมี
ประสทิ ธิผลในการนาํ มาใชบ รรเทาอาการของโรคติดเช้ือทางเดินหายใจสว นตน ท่ีไมมีภาวะแทรกซอ น5

Page 158

148 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

7. ฟาทะลายโจรมฤี ทธ์ิยบั ยง้ั เชอื้ Porphyromonas gingvalis จึงมกี ารพัฒนายาเจลฟา ทะลายโจร
เพ่อื ทดสอบประสิทธิผลในการรกั ษาโรคปริทนตอ กั เสบ โดยศึกษาเปรยี บเทียบผลทางคลนิ ิกและทางจลุ
ชีววิทยาของเจลฟา ทะลายโจรและขผี้ งึ้ ยามโิ นไซคลนิ ท่ีใชใ สใ ตเหงอื ก เพอื่ เสริมการรกั ษาผปู ว ยโรคปรทิ นต
อักเสบเรม่ิ เร็วในระยะเวลา 4 เดอื น โดยผปู วยตองมีรากฟน เดยี วอยา งนอ ย 2 ซที่ มี่ รี อ งลกึ ปริทนตเ มอ่ื
เริม่ ตนมากกวา หรือเทา กับ 5 มลิ ลิเมตร พบวา เมื่อใชเจลฟาทะลายโจรรวมกบั การเกลารากฟน จะไดผ ล
ใกลเ คียงกบั การใช minocycline gel เมื่อใชร ว มกบั การเกลารากฟน5

8. สารสกดั 50% แอลกอฮอลข องฟาทะลายโจร ไมทําใหเกิดอาการพิษเฉยี บพลันในหนถู บี จกั ร
และมขี นาดของ LD50 เมื่อใหทางปากและใตผิวหนงั มากกวา 15 กรัม/กิโลกรมั และเทากบั 14.98 กรมั /
กิโลกรมั เมอื่ ใหท างชอ งทอง สว นผลการศกึ ษาพษิ ระยะยาวของผงฟา ทะลายโจรในหนพู ันธวุ สิ ตาร เมอื่
ใหท างปากในขนาด 0.12, 1.2 และ 2.4 กรมั /กโิ ลกรัม/วัน ติดตอกนั นาน 6 เดือน พบวา ไมก อ ใหเ กดิ พษิ
ในหนูขาว5

9. การศึกษาความเปนพิษของสารสกัด 70% แอลกอฮอลของฟาทะลายโจรตอระบบสบื พนั ธุ
ของหนเู พศผู โดยใหสารสกดั ทางปากนาน 60 วัน พบวา ไมก อ ใหเ กิดพษิ ตออณั ฑะ และไมท ําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงของรปู รา งหรอื หนาทข่ี อง Leydig cells ในเพศเมียพบวา เม่อื เอาผงฟา ทะลายโจรมาผสมกับ
อาหารแลว ใหหนูถีบจกั รเพศเมียกินในขนาด 2 กรัม/กิโลกรัม/วัน นาน 6 สปั ดาห พบวา ไมม ีหนตู ัวใดต้งั
ทอ งเม่ือผสมกบั หนเู พศผทู ่ีไมไ ดรับยา ขณะทหี่ นกู ลมุ ควบคมุ ตั้งทอง 95.2% มรี ายงานการศกึ ษาวาเมอื่ ฉดี
น้าํ ตม ฟาทะลายโจรเขม ขน 50% ทางชอ งทองแกห นถู ีบจักร มผี ลทําใหห นูแทง ได และถาฉดี progesterone
รวมกับฮอรโ มน LH-RH พรอ มกบั ฟา ทะลายโจร จะปองกันการแทงในชว งระยะแรกของการตง้ั ครรภได
จงึ คดิ วาฟาทะลายโจรอาจมผี ลตา นฤทธ์ขิ อง progesteroneจงึ ทําใหเกิดการแทงได5

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลีนา ผูพ ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอื่ พรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน
3. ฉMบeับiแXกHไ ข.เพSมิ่hเiตyิมonพg.ศZ.h2o5n4g4y)a.oสPําaนoกั zวhชิ iาZกhารinปaา nไม. . 1sกt รeมd.ปาHไมu.beพi:มิ Hพuคbรeั้งiทSี่ 2c.ieกnรcงุ eเท&พมTหeาcนhคnรol:oบgรyษิ Pทั uปblรiะsชhาiชnนg Hจาํ oกuดั s,e2, 524040.5.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. อญั ชลี จูฑะพุทธิ (บรรณาธกิ าร). สมุนไพรไทยกาวไกลสูสากล. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ ร.ส.พ., 2548.
6. กลั ยา อนลุ ักขณาปกรณ และอุไรวรรณ เพม่ิ พพิ ัฒน. ฤทธขิ์ องฟา ทะลายโจรในการลดการบีบตวั ของลาํ ไสเลก็ และปองกนั การเกดิ

ทอ งเสยี ในสัตวท ดลอง. วารสารกรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย 2540; 39(1): 23-33.
7. วนิดา แสงอลังการ และคณะ. ผลของ andrographolide, neoandrographolide และ 14-deoxy-11,12 didehydroandrographolide

ตอ การหดเกรง็ ของกลา มเน้ือกระเพาะอาหารหนขู าวนอกรา งกาย. ไทยเภสชั สาร. 2533; 15(1): 5-16.
8. กองวจิ ยั และพฒั นาสมนุ ไพร กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย. คูม ือสมนุ ไพรเพ่ือการสาธารณสุขมลู ฐาน. กรุงเทพมหานคร : Text and

Journal Cooperation, 2533.

Page 159

คูมอื การใชส มุนไพรไทย-จนี 149

เมล็ดบัว: Lianzi (莲子)

เมล็ดบัว หรือ เหลียนจื่อ คือ เมล็ดสุกที่ทําใหแหงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Nelumbo
nucifera Gaertn. วงศ Nymphaeaceae1

1 เซนติเมตร

เมล็ดบัว (Semen Nelumbinis)

ช่ือไทย: เมล็ดบัวหลวง เมล็ดบัว (ทวั่ ไป); เมล็ดสัตตบงกช, เมลด็ สัตตบษุ ย (ภาคกลาง)2
ช่ือจีน: เหลียนจ่ือ (จีนกลาง), โหนยจ้ี (จีนแตจิ๋ว)1
ช่ืออังกฤษ: Lotus Seed1
ชื่อเคร่ืองยา: Semen Nelumbinis1
การเกบ็ เก่ยี วและการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว:

เก็บเก่ียวฝกแก (สังเกตไดจากฝกบัวมีลูกบัวเปนสีเทาหรือสีดาํ ) นํามารวมบนลานดิน แลว
ใชไมทุบใหลูกบัวแกรวงหลุดจากฝก นาํ ลูกบัวไปตากแดดใหแหงประมาณ 3 วัน เม่ือแหงดีแลวจะใช

ตะแกรงหาง ๆ รอนหรือฝดเอาลูกลีบหรือเสียท้ิง กะเทาะเอาเปลือกออก ตากแดดใหแหง เก็บรักษา
ไวใ นที่มอี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1,3
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรียมตวั ยาพรอมใชมี 2 วธิ ี ดงั น้ี
วิธที ี่ 1 เมล็ดบัว เตรยี มโดยนําวตั ถุดิบสมนุ ไพรทป่ี ราศจากสงิ่ ปนปลอม มาแชดว ยนาํ้ รอ น
จนกระทั่งออนนุม แยกเอาดีบัวออก และนําไปตากแหง1,4
วิธีที่ 2 เมล็ดบัวผัด เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 ใสกระทะ นาํ ไปผัดโดยใชไฟระดับ

ปานกลาง ผัดจนกระท่งั ผิวดา นนอกมสี ีเขมขึน้ และเน้ือดา นในมสี ีเหลืองออ น ๆ มกี ลน่ิ หอมกรุน นําออก

Page 160

150 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

จากเตา ต้ังทง้ิ ไวใ หเ ยน็ 4
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตวั ยาท่มี ีคณุ ภาพดี เมล็ดตองมีขนาดใหญ และมเี น้อื มาก5
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนจีน:

เมล็ดบวั รสอมหวานฝาด สขุ มุ มีฤทธบ์ิ าํ รุงไต ควบคุมและกระชบั การหล่ังนาํ้ อสุจิ แกอาการ
ฝนเปย ก และปสสาวะไหลโดยไมร ตู ัว (ระหวา งหลับ) มฤี ทธิบ์ ํารุงมา ม หยุดถาย แกอ าการทอ งรวงชนิด
ท่ีไมไ ดเกดิ จากการตดิ เช้อื และมฤี ทธบ์ิ ํารงุ หวั ใจ ใชบ ํารงุ หัวใจและชว ยใหนอนหลับ3

เมลด็ บวั ผดั รสอมหวาน มกี ลน่ิ หอม ใชรักษาอาการทอ งรวงชนดิ ทไี่ มไดเกดิ จากการติดเชื้อ
หรอื อาการฝน เปยกและปส สาวะไหลโดยไมร ูตัว3,4
สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย:

เมล็ดบัว รสหวานมนั สรรพคุณ บํารงุ กําลงั บาํ รงุ ไขขอ ทําใหก ระชุมกระชวย แกร อนในกระหาย
นํ้า แกเสมหะ แกพ พุ อง แกด พี กิ าร แกอ าเจยี น แกอ อ นเพลยี 6
ขนาดที่ใชแ ละวิธใี ช:

การแพทยแ ผนจีน ใช 6-15 กรัม ตม เอาน้ําด่ืม หรือบดเปนผงรบั ประทาน1
ขอ หา มใช ขอ ควรระวัง และอาการขางเคยี ง:

การแพทยแ ผนจีน หามใชเมลด็ บัวในผปู วยทม่ี อี าการทองผกู ทองเฟอ อาหารไมย อย3,7
ขอ มลู วชิ าการท่ีเก่ียวขอ ง:

เม่อื ใหส ารสกดั ปโตรเลียมอีเทอรจากเมล็ดแหง ในหนขู าวโดยการปอนในขนาด 3 มิลลิกรมั /
กโิ ลกรัม พบวามผี ลขดั ขวาง estrous cycle8

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ชอ่ื พรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมติ ินนั ทน
ฉบับแกไ ขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากดั , 2544.

3. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรไทย-จีน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพก ารศาสนา, 2547.
4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
6. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. คัมภรี เภสชั รตั นโกสนิ ทร. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑและการพิมพ จํากดั , 2547.
7. บรษิ ัท หลกั ทรัพยจัดการกองทุน กสิกรไทย จาํ กัด. มหัศจรรยสมนุ ไพรจีน. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ซีเอด็ ยเู คช่นั จาํ กดั มหาชน,

2550.
8. บพิตร กลางกัลยา, นงลักษณ สุขวาณิชยศ ิลป. รายงานผลการศึกษาโครงการการประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา

จากสมนุ ไพร. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท เอส อาร พริ้นต้งิ แมสโปรดกั ส จาํ กัด, 2544.

Page 161

คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน 151

เมลด็ ฝอยทอง: Tusizi (兔丝子)

เมล็ดฝอยทอง หรอื ทซู ือจ่อื คอื เมล็ดสุกท่ีทําใหแหงของพืชที่มชี ื่อวิทยาศาสตรว า Cuscuta
chinensis Lam. วงศ Convolvulaceae1

0.5 เซนติเมตร 0.3 เซนติเมตร

เมล็ดฝอยทอง (Semen Cuscutae)

ชื่อไทย: เมล็ดฝอยทอง (ภาคกลาง); เมล็ดผักไหม (อุดรธานี); เมล็ดฝอยไหม (นครราชสีมา)2
ชื่อจีน: ทูซือจ่ือ (จีนกลาง), โทวซีจ้ี (จีนแตจิ๋ว)1
ช่ืออังกฤษ: Dodder Seed1
ช่ือเครื่องยา: Semen Cuscutae1
การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัตหิ ลังการเก็บเก่ียว:

เกบ็ เกีย่ วผลสกุ ในฤดใู บไมร วง ตากแดดใหแหง เคาะเมล็ดรวง เก็บสง่ิ อน่ื ที่ปะปนออก เมล็ดที่
ไดนําไปตากแหง เกบ็ รักษาไวใ นทมี่ อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1

การเตรียมตัวยาพรอมใช:
การเตรียมตัวยาพรอมใชม ี 4 วธิ ี ดงั น้ี
วิธีท่ี 1 เมลด็ ฝอยทอง เตรยี มโดยนาํ วตั ถดุ ิบสมนุ ไพรมาแยกสงิ่ อ่ืนท่ีปะปนออก ลางนาํ้ ใหสะอาด

ตากใหแ หง3

วิธีท่ี 2 เมล็ดฝอยทองผัดนา้ํ เกลือ เตรยี มโดยนาํ ตัวยาทไ่ี ดจ ากวธิ ีท่ี 1 มาใสในภาชนะท่เี หมาะสม

เติมนาํ้ เกลอื คลกุ เคลา ใหเขา กนั ตง้ั ท้งิ ไวจ นกระท่งั น้าํ เกลือแทรกซมึ เขา ไปในเนื้อตัวยา จากนัน้ นําไปใส

กระทะ ผดั โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระทง่ั เมล็ดพองตัวและมเี สียงเปลอื กเมลด็ ปริออกเล็กนอ ย

Page 162

152 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

มีกลน่ิ หอมกรุน นําออกจากเตา ตัง้ ทง้ิ ไวใ หเ ยน็ (ใชเ กลอื บริสทุ ธิ์ 2 กโิ ลกรมั ตอ ตัวยา 100 กโิ ลกรมั )3
วิธีท่ี 3 เมลด็ ฝอยทองผสมเหลา อดั เปนแผน เตรียมโดยนาํ ตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธีที่ 1 มาใสใ นภาชนะ

ที่เหมาะสม ตมนํ้าจนกระทัง่ เปลอื กเมลด็ แตกออก คนตลอดเวลาจนกระท่ังนํา้ แทรกซมึ เขาไปในเน้ือตัวยา

และตวั ยาทงั้ หมดมลี กั ษณะเหมือนโจก เติมเหลา เหลืองและแปง หม่ขี าวลงไปผสมใหเขา กัน นาํ ออกจาก
เตา อัดเปนแผน แลวหัน่ เปน ช้ินสเี่ หลยี่ มเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร ตากใหแหง (ใชเหลา เหลือง
15 กิโลกรัมและแปง หมขี่ าว 15 กิโลกรัม ตอ ตวั ยา 100 กิโลกรมั )3

วิธีท่ี 4 เมลด็ ฝอยทองผดั เตรียมโดยนําตัวยาที่ไดจากวิธีที่ 1 ใสกระทะ นาํ ไปผัดโดยใชไฟ
ระดับปานกลาง ผัดจนกระท่งั ผิวดา นนอกเปนสีเหลืองออ น ๆ และมเี สียงปรอิ อกของเปลือกเมลด็ นําออก
จากเตา ต้งั ทิ้งไวใหเ ยน็ 3
คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาท่ีมีคุณภาพดี เมล็ดมีสีเหลืองเทา เมล็ดอวบอ่ิม4
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน:

เมล็ดฝอยทอง รสอมหวาน อุน มีฤทธ์บิ าํ รงุ ไต ควบคมุ การหล่งั ของนํา้ อสุจิ รกั ษากลุมอาการ
ของระบบไตพรอ ง (ปวดเอว อวยั วะเพศไมแ ขง็ ตัว ฝน เปยก ปสสาวะบอย ตกขาว) มีฤทธ์บิ าํ รุงตบั ทํา
ใหต าสวาง รักษากลุมอาการของระบบตับและไตออนแอ (ตามัว หนามืด ตาลา เบลอ) ชว ยใหหยุดถา ย
(เนอ่ื งจากระบบมา มและไตพรอ ง ทําใหถา ยทอง) นอกจากนยี้ งั มฤี ทธิ์บํารุงมดลูก ปองกนั การแทงลูก
(เน่อื งจากระบบตบั และไตออนแอ ทาํ ใหแทงงา ย)1,5

เมล็ดฝอยทองผัดนาํ้ เกลือ เนื่องจากเมล็ดฝอยทองมีคุณสมบัติคอนขางอุน และมีฤทธ์ิบาํ รุง
หยางมากกวาบาํ รงุ ยนิ เมือ่ นํามาผัดน้าํ เกลอื จะชว ยใหฤทธ์บิ ํารุงยนิ และหยางเสมอกนั และชว ยนําตวั ยา
เขาสรู ะบบไต ชว ยเพม่ิ ฤทธ์ิบํารงุ ไตและบํารงุ ครรภ เหมาะสําหรับผูปว ยท่ีมีอาการอวยั วะเพศไมแ ขง็ ตวั
ฝน เปย ก ปส สาวะบอ ย ตกขาว3

เมล็ดฝอยทองผสมเหลา อดั เปน แผน จะเพมิ่ ฤทธใิ์ หค วามอบอนุ และบาํ รงุ ไต และชว ยใหตวั
ยาสามารถละลายออกมาไดดเี วลาตม ยา และสามารถบดเปนผงไดงา ย จงึ เปนวธิ ที ี่นิยมใช เหมาะสําหรับ
ผปู ว ยที่มีอาการปวดเมอ่ื ยเอวและเขา หอู ้ือตามวั กระหายนาํ้ 3

เมลด็ ฝอยทองผัด มสี รรพคณุ และวธิ ใี ชเหมือนเมล็ดฝอยทอง แตเมลด็ ฝอยทองผดั จะชว ยให
ตวั ยาสามารถละลายออกมาไดดีเวลาตม ยาและสามารถบดเปน ผงไดงาย สะดวกในการเตรยี มยาตาํ รบั นิยม
ใชใ นการเตรียมยาลกู กลอนและยาผง เหมาะสําหรบั ผูปวยท่มี อี าการปวดเอวเนอ่ื งจากไตพรอ ง หลงั ปส สาวะ
แลว ยังมหี ยดปสสาวะเหลอื อย3ู

Page 163

คมู อื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 153

สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:

เมล็ดฝอยทอง รสฝาดเฝอน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงตับไต แกปวดเม่ือย ทําใหตาสวาง
แกกระหายนาํ้ แกนํา้ กามเคล่ือนเวลาหลับ6

ขนาดที่ใชและวิธีใช
การแพทยแ ผนจีน ใชขนาด 6-12 กรมั ตม เอานา้ํ ดม่ื หรอื ทําเปนยาเมด็ หรอื ยาผงรับประทาน

ใชภายนอก บดเปนผงผสมทา1,5

ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง

1,5

สตรีมีครรภ และผูป วยท่มี อี าการทองผูก ไมควรรับประทาน

พชื นี้ถา ข้ึนเกาะบนตนไมท เี่ ปน พิษ เชน ตน ยโ่ี ถ ลําโพง ถอบแถบนํา้ และยาสบู เปน ตน ไมควร
เก็บมาใช5
ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ:

1. สารสกัดโดยวธิ แี ชส กัดเมลด็ ดว ยแอลกอฮอล นํา้ หรอื ทําในรปู ยาทงิ เจอร จะมีฤทธทิ์ ําให

หวั ใจคางคกท่ีแยกตวั บีบตวั แรงขึ้น สารสกดั แชดว ยแอลกอฮอลมีฤทธิ์ทาํ ใหจ งั หวะการเตนของหัวใจ

เพมิ่ ขน้ึ แตส ารสกัดแชดวยนํ้าและทท่ี าํ ในรปู ยาทิงเจอร ทําใหจังหวะการเตน ของหวั ใจลดลง ผลตอ สุนขั

ทดลองทท่ี าํ ใหสลบมีผลทําใหค วามดนั โลหิตลดลง มามหดตัวเลก็ ลง ลดการบีบตวั ของลาํ ไส ผลตอ
มดลกู ท่ีแยกตัวมีผลกระตนุ การบบี ตัวของมดลกู เพ่ิมขน้ึ 5

2. เม่อื ฉีดสารสกัดโดยวธิ แี ชส กดั เมลด็ ดว ยแอลกอฮอลแ ละน้าํ เขาใตผ วิ หนงั ของหนูขาวในขนาด
2.465 กรัม/กิโลกรัม จะทาํ ใหห นูตายจาํ นวนครง่ึ หนึง่ เม่ือใหทางปากในขนาด 30-40 กรัม/กิโลกรมั ไม

ปรากฏอาการพษิ เมอ่ื ใหห นทู ดลองกินสารแชส กัดดว ยแอลกอฮอลแ ละนาํ้ และทีท่ ําในรูปทงิ เจอรติดตอ กนั
เปน เวลา 70 วนั ไมม ีผลตอการเจริญเติบโตของสัตวท ดลอง และไมพ บอาการเปลี่ยนแปลงผิดปกตใิ ด ๆ5

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.1.
English Edition. Beijing: Chemical Industry Press, 2000.

2. ลีนา ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ช่อื พรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน
ฉบบั แกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สํานักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากดั , 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. ชยั โย ชัยชาญทิพยุทธ, วชิรา แดนตะวัน, สถาพร ลิ้มมณี, ชะนะ ครองรกั ษา, ทิพวลั ย ทรัพยเจริญ. สมุนไพร อันดับท่ี 03: การ

รวบรวมขอ มูลเบ้ืองตนสําหรับงานวิจยั ของโครงการศึกษาวจิ ัยสมุนไพร. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2527.
6. วุฒิ วฒุ ธิ รรมเวช. คัมภีรเ ภสัชรัตนโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ศิลปสยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จํากัด, 2547.

Page 164

154 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

ราชดัด : Yadanzi (鸭胆子)

ราชดัด หรือ ยาตา นจ่ือ คือ ผลสกุ ทท่ี าํ ใหแหง ของพชื ทีม่ ีชื่อวทิ ยาศาสตรว า Brucea javanica
(L.) Merr. วงศ Simaroubaceae1

(Fructus 0.5 เซนติเมตร

ราชดัด Bruceae)

ช่ือไทย: ราชดัด, ดีคน (ภาคกลาง); กาจับหลัก, เทายายมอมนอย, มะขี้เหา, มะดีควาย, ยาแกฮ าก
ขม (เชียงใหม); พญาดาบหัก (ตราด); เพียะฟาน (นครราชสีมา); มะลาคา (ปตตานี)2
ช่ือจีน: ยาตานจื่อ (จีนกลาง), อะตาจ้ี (จีนแตจ๋ิว)1
ชื่ออังกฤษ: Java Brucea Fruit1
ชื่อเคร่ืองยา: Fructus Bruceae1
การเกบ็ เก่ยี วและการปฏบิ ตั หิ ลังการเกบ็ เก่ียว:

เก็บเกยี่ วผลสกุ ในฤดใู บไมร วง แยกเอาส่ิงปะปนออก ตากแดดใหแหง เกบ็ รกั ษาไวในท่มี อี ากาศ
เย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1
การเตรยี มตวั ยาพรอมใช:

นาํ สมุนไพรที่ปราศจากสง่ิ ปนปลอมมากะเทาะเอาเปลือกผลออก ใชเฉพาะสว นเนื้อ รอ นเอาเศษ

เลก็ ๆ ออก ทุบใหแตกกอ นใช1,3

คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:
ตวั ยาทม่ี คี ุณภาพดี ผลมขี นาดใหญ อวบมาก เน้อื ในเมล็ดมสี ีขาว มนี ํา้ มันมาก4

Page 165

คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จนี 155

สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแผนจีน:
ผล รสขม เยน็ มีฤทธิข์ บั พษิ รอ น แกม าลาเรยี และแกโ รคบิด1

สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนไทย:

ผล รสขม สรรพคณุ แกไข แกก ระษัย บํารงุ น้ําดี บาํ รงุ น้ําเหลือง แกท องอดื เฟอ แกล มวงิ วยี น

แกห าวเรอ แกเ จบ็ อก แกอาเจยี นเปน เลอื ด เปนยาบํารุงธาตุ ยาขบั พยาธิ และแกบิด5,6

ใชรักษาโรคผวิ หนังจาํ พวกเกลอ้ื น ใชเมล็ดแหงตําพอแหลก แลวเอาน้าํ ทาบริเวณทีเ่ ปน7

ขนาดทใี่ ชแ ละวธิ ีใช:

การแพทยแผนจนี ใช 0.5-2 กรมั 1

ตมเอานา้ํ ดื่ม

ขอหามใช ขอควรระวงั และอาการขางเคียง:

ราชดดั มพี ิษเลก็ นอ ย หามใชใ นเด็กและสตรมี คี รรภ8,9

ขอมลู วิชาการทเ่ี กย่ี วขอ ง:

1. มีรายงานวา สารพษิ ท่ีพบในเมลด็ คือ bruceantin, bruceine A-E, yadanziolide A, F, I

ซง่ึ มีฤทธย์ิ บั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชื้อมาลาเรยี ชนดิ ฟลซพิ ารมั และเชอื้ บดิ ในหลอดทดลอง แตพ บความ

เปน พิษสงู 9 และเนอื้ ในเมล็ดหรอื สารสกัดนํา้ จากเลบ็ มือนางมีฤทธิย์ บั ย้ังเช้อื มาลาเรียในไกไ ดผลดี และ

จากการทดลองทางคลนิ ิกในเบอ้ื งตนพบวา สามารถรักษาโรคมาลาเรียได นอกจากน้ยี งั พบสารพษิ brahmine
และ kerpestine10,11

2. กองวจิ ยั ทางแพทย กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย พบวา สวนสกดั ดวยนํ้าไมม ีพษิ เมอื่ ให
ทางปากในขนาดทท่ี าํ ใหห นตู ายรอยละ 50 โดยฉีดเขาใตผิวหนัง เทา กบั 5.17 กรัม/กิโลกรมั และเม่ือฉีด
เขา ทางชอ งทอ ง เทา กบั 6.37 กรมั /กิโลกรมั 10

3. มีรายงานการศกึ ษาทางเภสัชวิทยาและทางคลนิ ิก พบวาสารสกดั จากผลราชดัดมีฤทธ์ิฆาเชื้อ
บิด แตฤ ทธอ์ิ อ นกวายา emetine8,11

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วฒั น บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอ่ื พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน
ฉบบั แกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รงั้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544.

3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xian: World Library Publishing House, 2002.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. พเยาว เหมอื นวงษญาต.ิ สมนุ ไพรกา วใหม. พมิ พค รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ท.ี พ.ี พริ้น จาํ กดั , 2537.

Page 166

156 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

6. ชยันต วเิ ชียรสุนทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงศ. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พิมพคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร :
สาํ นกั พิมพอมรนิ ทร, 2548.

7. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมนุ ไพรพื้นบานฉบับรวม. พิมพครง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
Text and Journal Corperation Co., Ltd., 2533.

8. พรอมจิต ศรลมั ภ, วงศส ถิตย ฉ่ัวกุล, สมภพ ประธานธุรารักษ (คณะบรรณาธิการ). สมุนไพรสวนสริ รี ุกขชาติ สารานุกรมสมุนไพร
เลม 1. พิมพค ร้ังท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั อมรินทรพริ้นติง้ แอนดพบั ลิชชง่ิ จาํ กัด (มหาชน), 2543.

9. World Health Organization. WHO monographs on selected medicinal plants. Volume 1. Geneva: World Health
Organization, 1999.

10. สถาบนั วิจัยสมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . คูมือฐานขอ มูลพืชพิษ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
กรมการศาสนา, 2545.

11. Institute of Materia Medica, Chinese Academy of Medicinal Sciences. Chinese Materia Medica. Vol. III. 2nd ed.
Beijing: Renmin Weisheng Publishing House, 1984.

Page 167

คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 157

เรวดง : Sharen (砂仁)

เรวดง หรือ ซาเหริน คือ ผลสุกท่ีทาํ ใหแหงของพืชที่มีชื่อวทิ ยาศาสตรว า Amomum villosum
Lour. หรอื A. villosum Lour. var. xanthioides T.L.Wu et Senjen หรือ A. longiligulare T.L.
Wu วงศ Zingiberaceae1

0.5 เซนติเมตร

เรวดง (Fructus Amomi)

ช่ือไทย: เรวดง (ตราด)2
ชื่อจีน: ซาเหริน (จีนกลาง), ซาย้ิง (จีนแตจิ๋ว)1
ช่ืออังกฤษ: Villous Amomum Fruit1
ชื่อเครื่องยา: Fructus Amomi1
การเก็บเกีย่ วและการปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกี่ยว:

เก็บเกยี่ วผลสกุ ในชวงฤดรู อนถงึ ฤดใู บไมร ว ง ตากแดดใหแหง ในทันที หรอื ทําใหแ หงทอี่ ณุ หภมู ิ

ต่ํา ในการปองกันการเสื่อมสภาพของเมล็ดและการระเหยของนํ้ามันอยางรวดเร็ว ไมควรแกะเมล็ด

กอนเมล็ดแหง เก็บรักษาเมล็ดแหงในกระสอบปานหรือถุงพลาสติก เก็บไวในท่ีมีอากาศเย็นและแหง
มีการระบายอากาศดี1,3
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรียมตวั ยาพรอมใชม ี 2 วธิ ี ดังนี้
วิธที ่ี 1 เรวดง เตรียมโดยนําวตั ถุดบิ สมุนไพรมาแยกสงิ่ อ่นื ท่ปี ะปนออก ทบุ ใหแ ตกกอนใช4

Page 168

158 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

วธิ ีท่ี 2 เรว ดงผดั นาํ้ เกลอื เตรยี มโดยนําตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธที ี่ 1 มาใสใ นภาชนะที่เหมาะสม เตมิ
น้ําเกลือ คลกุ เคลา ใหเขา กนั ตง้ั ท้ิงไวจนกระท่งั นํ้าเกลือแทรกซมึ เขาไปในเนอื้ ตวั ยา จากน้นั นําไปใสก ระทะ
ผดั โดยใชไ ฟระดับปานกลาง ผดั จนกระทง่ั ตวั ยาแหง นําออกจากเตา ตัง้ ทง้ิ ไวใ หเยน็ (ใชเกลือบริสทุ ธ์ิ 2
กโิ ลกรมั ตอ ตวั ยา 100 กโิ ลกรัม)4
คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก:

ตวั ยาท่มี ีคุณภาพดี ตอ งมีขนาดผลใหญ แขง็ และมีเน้อื มาก เนื้อในเมลด็ สนี ้ําตาลแดง กลน่ิ
หอมฉุนมาก รสเผ็ดและเยน็ มาก5
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนจีน:

เรวดง รสเผ็ด อนุ มฤี ทธ์ิสลายความชนื้ ทําใหชห่ี มนุ เวยี น ใชร กั ษาอาการชตี่ ดิ ขัด ทําใหจุกเสียด

แนนทอง มีฤทธ์ิใหความอบอุนแกกระเพาะอาหาร ระงับอาเจียน ทองเสีย ใชแกกระเพาะอาหารและ

ลําไสเย็นเกินไป ทําใหทองเสีย อาเจียน และมีฤทธ์ิบํารุงครรภ แกอาการแพทอง เชน คลื่นไสอาเจียน
เบ่ืออาหารในสตรีมีครรภ1,6

เรวดงผัดน้ําเกลือ รสเผ็ดจะลดลง มีฤทธิ์ชวยนําตัวยาลงสสู ว นลา งของรางกาย เพิม่ ฤทธิใ์ หความ
อบอนุ กบั ไตและบาํ รุงครรภ4
สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย:

ผล รสรอนเผ็ดปรา แกริดสีดวง แกหืดไอ แกระดูขาว แกไขสันนิบาต7

เมล็ด รสรอนเผ็ดปรา ขับลมในลาํ ไส แกทองขึ้นอืดเฟอ แกปวดทอง แกคล่ืนเหียนอาเจียน
แกริดสีดวง หืดไอ กัดเสมหะ แกไขสันนิบาต ขับน้ํานม บาํ รุงธาตุ7
ขนาดที่ใชและวิธีใช:

การแพทยแผนจีน ใช 3-6 กรัม หรือมากกวานี้ตามอาการของโรค ตมเอานํ้าด่ืม (ถาตมกับ
ยาอื่นควรใสทีหลัง)1,6 โดยมีรายละเอียดการใชทางคลินิก ดังนี้

1. แกอาการแพทอง อาเจียน รับประทานอาหารไมได ใหใชเมล็ดบดเปนผงชงกับนา้ํ ขิงตม
รับประทานวันละหลาย ๆ ครั้ง6

2. แกอาการเปนพิษ ใหใชเมล็ดบดเปนผง รับประทานกับนํ้าอุน6
3. บาํ รุงธาตุ แกอาการทองอืด ทองเฟอและปวดทอง โดยใชเมล็ดเรวดง หัวแหวหมู ราก
ชะเอมเทศ และขิงแหงรวมกัน6
4. แกประจําเดือนมามากกวาปกติ ใหใชผลเรวแหงรางไฟจนแหงกรอบ แลวบดเปนผงชง
นาํ้ รับประทานบอย ๆ6

Page 169

คูมือการใชสมุนไพรไทย-จนี 159

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ชือ่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เต็ม สมติ ินันทน
ฉบบั แกไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค ร้งั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จํากดั , 2544.

3. สถาบนั วจิ ัยวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. PROSEA: ทรัพยากรพืชในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต 12(1) พืช
สมนุ ไพรและพืชพิษ เลม 1. นนทบุรี : สหมิตรพร้ินติง้ , 2546.

4. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
6. กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . สมนุ ไพรไทย-จีน. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพก ารศาสนา, 2547.
7. วฒุ ิ วุฒธิ รรมเวช. ยอเภสชั กรรมไทยและสรรพคุณสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ศิลปส ยามบรรจุภัณฑและการพิมพ, 2546.

Page 170

160 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

ลกู จนั ทนเทศ : Roudoukou (肉豆蔻)

ลูกจันทนเทศ หรือ โรวโตวโคว คือ เนื้อในเมล็ดที่ทําใหแหงของพืชที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา
Myristica fragrans Houtt. วงศ Myristicaceae1

2 เซนติเมตร

ลกู จนั ทนเ ทศ (Semen Myristicae)

ชื่อไทย: ลูกจันทนเทศ (ภาคกลาง); ลูกจันทนบาน (ภาคเหนือ)2
ชื่อจีน: โรว โตวโคว (จีนกลาง), เหน็กเตาโขว (จีนแตจ ๋ิว)1
ช่ืออังกฤษ: Nutmeg1
ชื่อเครื่องยา: Semen Myristicae1
การเกบ็ เกีย่ วและการปฏิบัตหิ ลังการเกบ็ เก่ียว:

เกบ็ เกีย่ วผลแกจ ัดในฤดใู บไมผลแิ ละฤดใู บไมร ว ง แยกเอาเปลือกผลและเปลือกหุมเมล็ดเทยี ม
ท้งิ กะเทาะเอาเปลอื กแขง็ ทหี่ มุ เมล็ดออก เอาเฉพาะเนอื้ ในเมล็ดมาแชน าํ้ ปนู ใสทิ้งไวข ามคนื แลวนํามาปง
โดยใชร ะดบั ไฟปานกลาง ปงจนแหง เกบ็ รกั ษาไวใ นทม่ี ีอากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศดี3
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรยี มตัวยาพรอมใชม ี 4 วธิ ี ดงั นี้
วธิ ีที่ 1 ลูกจนั ทนเทศ เตรยี มโดยนาํ วตั ถดุ บิ สมนุ ไพรทป่ี ราศจากสง่ิ ปนปลอม มาลา งนา้ํ ใหส ะอาด
ตากแดดใหแหง ทุบใหแตกกอนใช4
วิธีท่ี 2 ลูกจันทนเทศค่ัวราํ ขาวสาลี เตรียมโดยนํารําขาวสาลีและตัวยาท่ีไดจากวิธีท่ี 1 ใสลง
ในกระทะ นาํ ไปผัดโดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง พรอ มคนอยา งสมํา่ เสมอ จนกระทัง่ รําขาวสาลีเปนสเี หลือง

Page 171

คูม ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 161

เกรียม และตัวยามีสีน้ําตาลเขม นําออกจากเตา แลวรอนเอารําขาวสาลีออก ต้งั ทงิ้ ไวใหเ ยน็ ทบุ ใหแตก
กอ นใช (ใชร ําขา วสาลี 40 กโิ ลกรัม ตอตัวยา 100 กิโลกรมั )3

วิธีท่ี 3 ลูกจันทนเทศค่ัวผงหินลื่น เตรียมโดยนาํ ผงหนิ ลื่นใสในภาชนะที่เหมาะสม แลวให
ความรอ นทอี่ ณุ หภูมสิ งู ใสตวั ยาท่ไี ดจ ากวธิ ที ่ี 1 ลงไป คนอยางสมํ่าเสมอจนกระทัง่ ผวิ ดานนอกของตัวยา

มสี นี าํ้ ตาลเขม และมกี ล่นิ หอมกรนุ นําออกจากเตา แลว รอ นเอาผงหินลืน่ ออก ต้ังทง้ิ ไวใ หเย็น ทุบใหแ ตก
กอนใช (ใชผ งหนิ ลน่ื 50 กิโลกรมั ตอตวั ยา 100 กโิ ลกรมั )3

วธิ ที ี่ 4 ลกู จันทนเทศหอ แปง หม่ีค่ัว เตรียมโดยนาํ แปง หม่ีผสมนํา้ ในปริมาณที่เหมาะสม ปนให
เปนแผน แลวนํามาอัดใหเปนแผนบาง ๆ จากนั้นนําแผนแปงหมี่ที่เตรียมไดมาหอตัวยาที่ไดจ ากวธิ ที ่ี 1
พรมนํ้าที่ผวิ ดานนอกเพอ่ื ใหช มุ ชน้ื แลว นําไปหอกบั แผน แปง หมอี่ ีก หอประมาณ 3-4 ช้ัน ใหทาํ เชนเดียวกัน
นําไปตากแดดใหแ หง ประมาณ 50% จากน้นั นําไปใสล งในภาชนะทบี่ รรจุผงหนิ ลืน่ ที่ผัดใหรอ นแลว คน

อยางสมาํ่ เสมอ จนกระท่งั ผวิ ดานนอกมีสีเหลอื งเกรียม นําออกจากเตา แลว รอนเอาผงหนิ ล่ืนออก ต้งั ทง้ิ
ไวใ หเ ยน็ ใหเ อาแผน แปง หมี่ทีห่ อ ไวท ง้ิ เอาเฉพาะตวั ยา ทุบใหแตกกอ นใช (ใชแ ปง หม่ี 50 กโิ ลกรัม ตอ
ตัวยา 100 กิโลกรมั )3
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาทม่ี คี ุณภาพดี เน้อื ในเมลด็ ตองมีคณุ สมบัตแิ ข็งและเหนียว มีลายเสน คลา ยเน้ือในเมลด็
หมาก มีนา้ํ มนั มาก และมีกล่นิ หอม5
สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแผนจีน:

ลกู จนั ทนเทศ รสเผด็ อุน มฤี ทธ์สิ มานลําไส ระงบั ถา ยทองรวง แกท องรว งเรอื้ รัง (เนื่องจากมาม
และไตพรองและเย็นเกนิ ไป) และมีฤทธใ์ิ หความอบอุนแกก ระเพาะอาหาร ทําใหชี่หมนุ เวยี นดี แกปวด
กระเพาะอาหาร เบอ่ื อาหาร อาเจยี น จุกเสยี ดแนนทอง1

ลูกจันทนเทศมนี ้าํ มนั ในปรมิ าณสูง ทาํ ใหมขี อ เสยี คือ มีฤทธหิ์ ลอล่ืนและกระตนุ ลําไสมากเกนิ ไป

โดยทัว่ ไปจึงตองนาํ มาแปรรูปโดยใชวธิ ีเฉพาะกอ นใช การควั่ จะขจดั น้ํามันบางสวนออกไป ทาํ ใหฤ ทธห์ิ ลอ ล่ืน

และกระตนุ ลาํ ไสล ดนอ ยลง แตมฤี ทธ์แิ รงขน้ึ ในการชว ยใหลาํ ไสแ ขง็ แรงและระงบั อาการทอ งเสยี เหมาะ
สําหรบั ผปู วยทมี่ ีอาการปวดทอ ง จุกเสียดแนน ทอง ทอ งรว ง อาเจียน อาหารไมย อ ย3
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย:

ลูกจันทนเ ทศ มกี ลิ่นหอม รสเปรยี้ วฝาด รอน มสี รรพคุณบาํ รงุ กําลงั บํารงุ ธาตุ แกธาตุพกิ าร
ขบั ลม แกจ กุ เสยี ด แกก ําเดา แกทอ งรวง แกรอ นในกระหายนํา้ แกปวดมดลูก บาํ รุงเลอื ด6-8

Page 172

162 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

ขนาดที่ใชแ ละวิธีใช:
การแพทยแ ผนจนี ใชข นาด 3-9 กรัม ตมเอานํ้าดมื่ หรือใชภ ายนอกโดยบดเปน ผงผสมกับนํา้ มนั

หรือน้าํ สมสายชผู สมทา1
การแพทยแ ผนไทย ใชเ นอื้ ในเมลด็ 0.5 กรมั หรือประมาณ 1-2 เมล็ด บดใหเ ปนผงละเอียด

ชงนา้ํ ครงั้ เดียว รบั ประทานวนั ละ 2 ครงั้ 2-3 วนั 6,9
ขอหา มใช ขอ ควรระวัง และอาการขา งเคยี ง:

หามใชใ นผปู ว ยทมี่ อี าการรอ นแกรง บิดทองรว งเพราะมีความรอน (การแพทยแ ผนจีน)1
หา มใชล กู จันทนเทศในปริมาณสูง เพราะทําใหเกดิ อาการขา งเคียงอันไมพ ึงประสงค (การแพทย
แผนไทย)6
มีรายงานวาเม่อื รบั ประทานลูกจนั ทนเ ทศขนาดนอยกวา 1 ชอ นโตะ ก็ทําใหเกิดอาการขางเคยี ง

ได อาการขางเคียงในขนาดสูง ทําใหเ กิดอาการคลื่นไส อาเจยี น ปากแหง หัวใจเตน เรว็ กระตนุ ระบบ

ประสาทสวนกลางทาํ ใหม านตาขยาย นอนไมหลบั มึนงง สบั สน เกิดอาการประสาทหลอน และอาจทาํ ให
ชักได นอกจากนย้ี ังทําใหเ กดิ อาการแพ เชน allergic contact dermatitis และ occupational asthma6
ขอ มูลวชิ าการท่เี กยี่ วของ:

1. สารสกดั Nutmeg oil จากลูกจันทนเทศสามารถยับยง้ั การจับตัวของเกลด็ เลอื ดได โดยมี
eugenol และ isoeugenol เปนสารออกฤทธ6์ิ

2. สารสกัดแอลกอฮอลม ีฤทธ์ิตา นเชอื้ จลุ ินทรีย น้ํามันลูกจนั ทนเทศสามารถยับย้งั การจับตัว

10

ของเกลด็ เลือดได สารสกดั ของเปลอื กเมล็ดแสดงฤทธิ์ตา นอักเสบในสัตวทดลอง
3. ลูกจนั ทนเทศมสี รรพคุณแกท องเสียชนดิ เร้ือรัง แกปวดทอ ง อาหารไมยอ ย อาเจียน มี

รายงานวาเมื่อรบั ประทานผงลกู จันทนขนาด 7.5 กรัม อาจทําใหเ กดิ อาการวงิ เวยี นศรี ษะ คลื่นไส อาเจยี น
ปากแหง นอนไมห ลับ หากรับประทานในขนาดสูงมากอาจทาํ ใหตายได1 0

4. เมอ่ื ใหสารสกดั อีเทอรทางปากแมว พบวา ขนาดของสารสกดั ท่ีทาํ ใหแ มวตายมีคา เทากับ 0.5-
1 มิลลิลิตร/กิโลกรัม และเม่ือใหผงยาทางปากแมวในขนาด 1.8 กรัม/กิโลกรัม อาจทําใหเกิดอาการ
ประสาทหลอน และถงึ ตายไดภ ายใน 24 ช่ัวโมง10

5. จากการศึกษาพิษเฉียบพลันในหนถู ีบจักรของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจ ากลกู จนั ทนเทศ
พบวา คา LD50 มคี ามากกวา 10 กรัม/กิโลกรมั เม่อื ใหโดยการปอ นหรอื ฉดี เขา ใตผ ิวหนงั 11

Page 173

คูม อื การใชส มุนไพรไทย-จีน 163

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลีนา ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ชอื่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เต็ม สมติ ินนั ทน
ฉบบั แกไ ขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท ประชาชน จํากดั , 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
5. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
6. กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . เอกสารวชิ าการสมนุ ไพร. นนทบุรี : สถาบันวิจยั สมนุ ไพร, 2543.
7. วุฒิ วฒุ ธิ รรมเวช. คัมภีรเภสัชรัตนโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ศลิ ปสยามบรรจุภัณฑแ ละการพิมพ จํากดั , 2547.
8. ชยนั ต วเิ ชยี รสนุ ทร, แมนมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงศ. คาํ อธบิ ายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร :

สํานักพิมพอมรนิ ทร, 2548.
9. สุนทรี สิงหบุตรา. สรรพคณุ สมุนไพร 200 ชนิด. พิมพครง้ั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พรนิ้ ติ้งเฮา ส, 2536.
10. Tao C, Lin ZB. Semen Myristicae: rou dou kou. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.).

Modern study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press,
1999.
11. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวสั ดีมงคล, ประยทุ ธ สาตราวาหะ. การศกึ ษาพษิ ของสมุนไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธํารง, ทรงพล
ชีวะพัฒน, เอมมนสั อตั ตวชิ ญ (คณะบรรณาธิการ). ประมวลผลงานวจิ ัยดานพษิ วิทยาของสถาบันวิจยั สมนุ ไพร เลม 1. พิมพคร้ังท่ี 1.
กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสขุ . กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พการศาสนา, 2546.

Page 174

164 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

ลกู เดือย : Yiyiren (意苡仁)

ลูกเดือย หรือ อ้ีอ่ีเหริน คือ เนื้อในเมล็ดของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Coix lacryma-jobi
L. var. mayuen (Rorman.) Stapf วงศ Gramineae1

0.5 เซนติเมตร

ลูกเดือย (Semen Coicis)

ชื่อไทย: ลูกเดือย (ทั่วไป)2
ช่ือจีน: อี้อี่เหริน (จีนกลาง), อี้อี๋ย้ิง (จีนแตจิ๋ว)1
ช่ืออังกฤษ: Coix Seed1
ช่ือเคร่ืองยา: Semen Coicis1
การเก็บเกี่ยวและการปฏิบตั หิ ลงั การเกบ็ เกี่ยว:

เก็บเก่ียวผลสุกในฤดูใบไมรวง ตากแดดใหแหง แยกเอาเนื้อในเมล็ดออกจากเปลือกนอกซึ่ง
มีสนี ํา้ ตาลเหลือง แยกเอาสงิ่ ที่ปะปนทิง้ เกบ็ รักษาไวในทมี่ อี ากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศดี1
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชมี 3 วธิ ี ดังนี้
วธิ ีที่ 1 ลกู เดอื ย เตรียมโดยนําวัตถุดบิ สมนุ ไพรที่ปราศจากสิ่งปนปลอมมารอนเอาเศษเลก็ ๆ
ออก1,3
วิธีที่ 2 ลูกเดือยผัด เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจากวิธีที่ 1 ใสกระทะ นําไปผัดโดยใชไฟระดับ
ปานกลาง ผดั จนกระท่งั ผวิ ดา นนอกเปน สีเหลือง พองออกเลก็ นอ ย นาํ ออกจากเตา ตงั้ ทิ้งไวใหเ ย็น3

Page 175

คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จีน 165

วิธีที่ 3 ลูกเดือยผัดราํ ขาวสาลี เตรียมโดยนาํ รําขาวสาลีใสในภาชนะท่ีเหมาะสม แลวใหความ
รอ นจนกระทัง่ มีควนั ออกมา ใสต วั ยาท่ไี ดจ ากวิธที ่ี 1 ลงไป คนอยา งรวดเรว็ จนกระทัง่ ผวิ ดานนอกมีสี
เหลอื ง พองออกเลก็ นอย นําออกจากเตา แลว รอ นเอารําขา วสาลอี อก (ใชราํ ขา วสาลี 15 กโิ ลกรัม ตอ ตวั ยา
100 กิโลกรมั )1,3
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาท่มี ีคุณภาพดี เนอื้ ในเมล็ดมขี นาดใหญ มีเนอื้ มาก และมสี ีขาว4
สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนจีน:

ลูกเดือย รสจืดอมหวาน เยน็ เล็กนอย มีฤทธส์ิ ลายความช้ืน ขบั ปส สาวะ ใชเ ปน ยาขบั ปสสาวะ

แกบวมน้ํา ขาบวม มีฤทธ์เิ สริมบํารุงมาม แกอาการมามพรอ ง ถา ยกระปดกระปรอย บวมน้ํา ทอ งมาน มี

ฤทธ์ิบรรเทาอาการปวดขอ ปวดเม่อื ยกลามเน้ือ แกปวดขอ กลา มเนอื้ บวมตึง เปนตะคริว คลายเสนเอ็น
และมีฤทธ์ริ ะบายความรอน ขับหนอง นํ้าเหลืองเสีย ใชแ กโ รคปอดอกั เสบ ลําไสอกั เสบ ขับหนอง แผลฝ1

ลูกเดือยผัด และลูกเดือยผัดราํ ขาวสาลี จะชว ยใหค ุณสมบตั ิเยน็ หรอื เยน็ มากของลกู เดอื ยเกิด

ความสมดลุ เพมิ่ ฤทธบ์ิ าํ รงุ มามและระงับทองเสยี ใชรกั ษาอาการทองเสียทเ่ี กดิ จากภาวะมามพรอง แก
ทอ งมาน3
สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:

ลูกเดอื ย รสมันเยน็ สรรพคุณ แกหลอดลมอกั เสบ แกปอดอกั เสบ ขับปสสาวะ แกน ้าํ คัง่ ใน
ปอด ใชเ ปนอาหารบํารุงกาํ ลังสาํ หรบั คนฟน ไข5
ขนาดทีใ่ ชแ ละวิธีใช:

การแพทยแ ผนจีน ใช 9-30 กรัม ตม เอาน้าํ ด่ืม1
ขอ หามใช ขอควรระวงั และอาการขา งเคยี ง:

ลกู เดอื ยไมเหมาะกบั ผมู ีปญหาทองผูกบอย ปส สาวะบอย หรือมปี ญ หาเก่ยี วกับระบบสืบพันธ6ุ
ขอมลู วิชาการที่เกยี่ วขอ ง:

1. มรี ายงานวา สาร coixol ในลูกเดอื ย มฤี ทธค์ิ ลายอาการเกรง็ ตวั ของกลามเน้ือและปองกนั
การชัก ลดความดนั โลหิตไดช ่วั ขณะ ลดนํา้ ตาลในเลอื ดและลดไข และสาร coixenolide มีฤทธ์ติ า นการ
เจรญิ เตบิ โตของเน้ืองอก7,8

2. น้าํ มันจากลกู เดือย มีประมาณ 5.9-9.8% ซ่งึ ประกอบดว ยสารสาํ คัญคอื coix acid, palmitic
acid นํา้ มันลกู เดอื ยมีฤทธ์ิกระตุนศนู ยการหายใจในสตั วทดลอง (หากใหป รมิ าณสูง ๆ อาจทําใหส ตั วทดลอง

Page 176

166 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

ตายได) ลดความเปลี้ยของรา งกาย ลดความดันโลหิต และขับปส สาวะ7,8
3. จากการศึกษาพิษเฉยี บพลันในหนถู ีบจักร พบวา เม่ือฉีดน้ํามนั จากลูกเดือยเขาทางชอ งทอง

ในขนาด 90 มิลลกิ รัม/ตัว ไมพ บสตั วทดลองตัวใดตายภายใน 24 ชัว่ โมง แตเ มอ่ื ฉีดนํ้ามันดังกลา วเขา
ทางใตผ ิวหนัง พบวาขนาดท่ีทาํ ใหหนูถบี จักรตายคือ 5-10 มิลลกิ รัม/กรมั และขนาดทท่ี าํ ใหก ระตายตาย
เมอ่ื ฉดี เขาทางหลอดเลอื ดดําคอื 1-1.5 กรมั /กิโลกรัม เมอื่ ฉดี สาร coixol เขา ทางชองทองหนถู บี จักรใน
ขนาด 500 มิลลิกรัม/กโิ ลกรมั พบวา แสดงฤทธร์ิ ะงบั ปวดไดชัว่ ขณะ และไมพบสัตวทดลองตวั ใดตาย
และเมอ่ื ใหโดยวิธรี บั ประทานวนั ละ 20, 100, 500 มิลลกิ รมั /กโิ ลกรมั ตดิ ตอ กันนาน 30 วัน ไมพ บ

8

อาการผดิ ปกตใิ ด ๆ และไมมสี ัตวทดลองตัวใดตาย

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผูพฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธิการ). ช่ือพรรณไมแ หงประเทศไทย (เตม็ สมิตินนั ทน
ฉบบั แกไ ขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กดั , 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. วฒุ ิ วฒุ ธิ รรมเวช. คัมภีรเภสชั รัตนโกสินทร. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั ศลิ ปสยามบรรจุภัณฑแ ละการพิมพ จํากดั , 2547.
6. บรษิ ัท หลกั ทรัพยจ ัดการกองทนุ กสกิ รไทย จํากัด. มหศั จรรยสมุนไพรจีน. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ซีเอ็ดยเู คชั่น จาํ กดั มหาชน,

2550.
7. ลดั ดาวลั ย บุญรตั นกรกจิ . สมนุ ไพรนาใช. พมิ พค ร้งั ที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ แทน ทองปร้ินติ้งเซอรวิส, 2535.
8. Han XZ, Li DH. Semen Coicis: yi yi ren. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern

study of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 177

คูมอื การใชส มนุ ไพรไทย-จนี 167

เลบ็ มือนาง: Shijunzi (使君子)

เล็บมือนาง หรือ ส่ือจฺวินจื่อ คือ ผลสุกท่ีทาํ ใหแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Quisqualis
indica L. วงศ Combretaceae1

0.5 เซนติเมตร

เล็บมือนาง (Fructus Quisqualis)

ชื่อไทย: เลบ็ มือนาง (ภาคกลาง); จะม่ัง, จา ม่งั , มะจีมั่ง (ภาคเหนือ); ไทห มอ ง (แมฮ อ งสอน); อะดอนง่ิ
(ยะลา)2
ชื่อจีน: สื่อจฺวินจื่อ (จีนกลาง), ไซกุงจ้ือ (จีนแตจ๋ิว)1
ชื่ออังกฤษ: Rangooncreeper Fruit1
ชื่อเคร่ืองยา: Fructus Quisqualis1
การเก็บเก่ียวและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเก็บเกี่ยว:

เกบ็ เก่ยี วผลสุกในฤดใู บไมร ว งเมอ่ื เมลด็ สกุ และเน้ือผลมสี ีมว งดาํ แยกเอาสง่ิ ที่ปะปนมาทิ้ง ตาก
แดดหรอื ทาํ ใหแ หงที่อุณหภมู ติ าํ่ เก็บรกั ษาไวในทม่ี อี ากาศเยน็ และแหง มกี ารระบายอากาศด1ี
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชม ี 3 วธิ ี ดังนี้
วิธีที่ 1 เล็บมือนาง เตรียมโดยนําวัตถดุ บิ สมุนไพรมาคัดเอาส่ิงปนปลอมและกา นผลออก ทบุ ให
แตกกอนใช1 ,3

Page 178

168 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

วธิ ที ี่ 2 เนอ้ื ผลเลบ็ มือนาง เตรียมโดยนาํ ตัวยาท่ไี ดจากวิธีที่ 1 มากะเทาะเอาเปลือกออก ใช
1,3

เฉพาะสวนเนื้อผล ทุบใหแตกกอนใช
วิธที ี่ 3 เนื้อผลเล็บมอื นางผัด เตรียมโดยนาํ ตวั ยาท่ีไดจ ากวิธที ่ี 2 ใสก ระทะ ผดั โดยใชไฟระดับ

ปานกลาง ผัดจนกระทั่งผวิ นอกมสี เี หลอื งและมีจุดดาํ เกรยี ม มีกลน่ิ หอม นาํ ออกจากเตา ตง้ั ทิง้ ไวใ หเ ย็น
ทุบใหแตกกอนใช1,3
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาที่มคี ณุ ภาพดี ผลตอ งมีขนาดใหญ ผิวนอกสนี ้าํ ตาลมวง เนอื้ ผลอวบอิ่ม4
สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน:

เล็บมือนาง รสหวานเลก็ นอ ย มฤี ทธิ์ฆา พยาธิและชว ยใหก ารยอยอาหารดขี ้ึน ใชถ า ยพยาธไิ สเ ดือน
และพยาธเิ สน ดาย1

เน้อื ผลเล็บมือนาง มีสรรพคุณและการใชเหมือนเล็บมือนาง โดยทวั่ ไปเลบ็ มือนางจะใชใ น
รปู แบบของยาตม หากเตรียมเปนยาผงหรอื ยาเมด็ จะใชเน้อื ผลเลบ็ มอื นาง3

เนอื้ ผลเล็บมอื นางผดั จะชว ยลดอาการขา งเคยี งทเ่ี กดิ จากการหดเกรง็ ของกลามเนื้อกระบงั ลม

มีฤทธ์ชิ ว ยใหม ามแข็งแรง การยอ ยอาหารดีขึน้ และฆาพยาธิ สว นใหญใชรกั ษาอาการปวดทอ งเนื่องจาก
พยาธไิ สเดือนและพยาธเิ สน ดายในเด็ก3
สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนไทย:

เล็บมือนาง รสเอยี น เบอื่ เลก็ นอ ย ใชข ับพยาธแิ ละตานซาง5
ขนาดทีใ่ ชแ ละวธิ ใี ช:

การแพทยแ ผนจนี ใช 9-12 กรัม ตม เอาน้ําดม่ื หรือเนือ้ ในผล 6-9 กรัม ทาํ เปน ยาลูกกลอน
หรอื เปนยาผงรับประทานครัง้ เดยี ว หรือแบง รบั ประทานเปน 2 ครัง้ 1

การแพทยแผนไทย ใชถา ยพยาธิไสเ ดือนและพยาธเิ สนดาย สาํ หรับเด็กใช 2-3 เมล็ด (หนกั 4-
6 กรมั ) ผใู หญใ ช 5-7 เมล็ด (หนัก 10-15 กรัม) ทบุ พอแตก ตมเอาน้ําด่ืมหรือห่ันทอดกับไขร ับประทาน5
เมล็ดใชตําเปนผงละเอียด ใชร กั ษาโรคผวิ หนังโดยผสมกบั นํ้ามันพชื 6
ขอหา มใช ขอ ควรระวงั และอาการขา งเคียง:

การแพทยแ ผนจีน หามใชเลบ็ มอื นางรวมกบั นํา้ ชาเขมขน เนอ่ื งจากจะลบลา งฤทธกิ์ ัน1

การแพทยแผนไทย ควรระมัดระวงั ในการใชเ ลบ็ มือนาง เพราะอาจทาํ ใหเ กดิ อาการขา งเคียง คือ
สะอกึ เวยี นศีรษะ คลื่นไส อาเจียน เปนตน 5

Page 179

คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 169

ขอมูลวิชาการที่เกีย่ วของ:
1. เมลด็ เล็บมือนางประกอบดว ยน้าํ มันและสาร quisqualic acid (กรดอะมิโน) และ D-manitol

พบวาสารสําคัญซงึ่ ออกฤทธขิ์ ับพยาธิคอื quisqualic acid และยังมีรายงานฤทธขิ์ บั ถา ยอยา งแรงของนํา้ มัน
ในเมลด็ เล็บมือนางดวย5

2. การศึกษาความเปนพิษของเมล็ดเลบ็ มอื นางพบวา เมื่อใหสารสกดั นํา้ จากเมลด็ เล็บมือนาง

แกหนถู บี จกั รทางปากไมท าํ ใหเกดิ พิษเฉียบพลัน และขนาดเมล็ดเลบ็ มือนางที่ทาํ ใหสตั วท ดลองตายรอย
ละ 50 (LD50) มคี ามากกวา 20 กรมั /กิโลกรัม จากการทดสอบพิษกึ่งเฉียบพลนั ในหนูแรทพันธุวิสตาร
โดยใหส ารสกดั เทียบเทาเมล็ดเลบ็ มอื นางขนาด 0.2, 2.0, 6.0, 10.0 และ 20.0 กรมั /กโิ ลกรมั /วัน ทาง
ปากติดตอ กนั เปนเวลา 60 วนั เปรยี บเทียบกับกลุม ควบคมุ ท่ีไดร ับนํ้าพบวา เมอื่ ไดร บั สารสกดั เทยี บเทา
เมล็ดเล็บมือนางขนาด 6.0, 10.0 และ 20.0 กรมั /กโิ ลกรมั /วนั เปน เวลา 2 วัน สตั วท ดลองแสดงอาการ

ท่ีเกิดจากความเปน พษิ ตอ ระบบประสาท โดยมีอาการท่ีสาํ คญั คือ ชักกระตกุ รวมกบั ชักเกรง็ ตอมาหยุด
หายใจและตาย หนูเพศผูตายจากอาการพิษ คิดเปนรอยละ 26, 53 และ 80 ในเพศเมียคิดเปนรอยละ
0, 6 และ 80.0 ตามลาํ ดบั ขนาดยา และตอมากลุม ท่ีไดรบั สารสกดั ขนาดสูงสดุ คอื 20.0 กรมั /กโิ ลกรัม/
วนั นาน 3 วันตายหมด หนทู ี่ไดร บั สารสกัดเมล็ดเล็บมอื นางครบ 60 วนั มีการเจริญเตบิ โตและการกิน

อาหารไมตา งจากกลุมควบคุม การเปล่ียนแปลงคาทางโลหิตวทิ ยาและคาทางชวี เคมีของซรี ั่มตรวจพบได

ในหนทู ี่ไดร บั สารสกัดบางกลมุ อยา งไมสมั พันธกบั ขนาดของสารสกดั จงึ ไมส ามารถกลาวไดว า เกดิ จาก

สารสกดั โดยตรง ผลการตรวจเน้ือเยือ่ อวยั วะภายในทางจุลพยาธวิ ทิ ยา ไมพ บการเปล่ยี นแปลงท่ีสรุปได

7

วา เกิดจากความเปนพิษของสารสกดั จากเมลด็ เลบ็ มอื นาง

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บญุ ทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอ่ื พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินนั ทน
ฉบับแกไขเพิม่ เตมิ พ.ศ. 2544). สํานกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค ร้งั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กดั , 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. กนั ทิมา สทิ ธธิ ัญกิจ, พรทิพย เติมวเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมอื ประชาชนในการดูแลสุขภาพดว ยการแพทยแผนไทย. พิมพครั้งที่ 2

กรงุ เทพมหานคร : สํานักงานกิจการโรงพมิ พอ งคก ารทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547.
6. พเยาว เหมอื นวงษญาต.ิ สมุนไพรกาวใหม. พมิ พค รั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ที.พ.ี พริน้ จํากดั , 2537.
7. ทรงพล ชีวพฒั น, ปราณี ชวลิตธาํ รง, ปราณี จนั ทเพ็ชร. ความเปนพิษของเมล็ดเล็บมือนาง ในประมวลผลงานวจิ ยั ดา นพิษวิทยาของ

สถาบันวจิ ัยสมนุ ไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสขุ ., 2550.

Page 180

170 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

วา นพรา ว : Xianmao (仙茅)

วานพรา ว หรอื เซียนเหมา คอื เหงา แหงของพืชท่ีมีชือ่ วทิ ยาศาสตรว า Curculigo orchioides
Gaertn. วงศ Amaryllidaceae1

1 เซนตเิ มตร

วานพราว (Rhizoma Curculiginis)

ช่ือไทย: วานพราว (ภาคเหนือ)2
ชื่อจีน: เซียนเหมา (จีนกลาง), เซียงเมา (จีนแตจิ๋ว)1
ชื่ออังกฤษ: Common Curculigo Rhizome1
ชื่อเครื่องยา: Rhizoma Curculiginis1
การเก็บเกีย่ วและการปฏบิ ตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว:

เก็บเก่ียวเหงาในฤดูใบไมรวงหรือฤดูหนาวเม่ือสวนเหนือดินเหี่ยวแหงกอนแตกตา แยกเอา
สวนรากฝอยและใบและทิ้ง ลางน้ําใหสะอาด ตากแดดใหแหง เกบ็ รักษาไวใ นทม่ี ีอากาศเย็นและแหง มี
การระบายอากาศดี1
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรียมตัวยาพรอ มใชม ี 2 วธิ ี ดังน้ี
วธิ ีที่ 1 วา นพราว เตรยี มโดยนาํ วตั ถดุ ิบสมุนไพรมาลา งนาํ้ ใหสะอาด ใสภาชนะปดฝาไวเพื่อให
ออนนุม หั่นเปนทอ น และนาํ ไปตากแหง 1,3
วธิ ที ี่ 2 วา นพรา วผัดเหลา เตรยี มโดยนาํ ตวั ยาท่ไี ดจากวิธีท่ี 1 ใสใ นภาชนะทีเ่ หมาะสม เตมิ เหลา
เหลืองปริมาณพอเหมาะ แลวคลุกเคลา ใหเขา กัน จนกระทัง่ เหลาแทรกซึมเขาไปในเนื้อตวั ยา จากนัน้ นําไป

Page 181

คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จนี 171

ผดั โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนแหง นาํ ออกจากเตา ตากใหแหง ในทีร่ ม (ใชเ หลา เหลือง 10 กิโลกรมั
ตอ ตวั ยา 100 กโิ ลกรมั )3
คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตวั ยาทม่ี ีคุณภาพดี ผิวนอกสนี ํา้ ตาลเขม หรือสนี ้ําตาลดาํ คุณสมบตั แิ ขง็ แตเ ปราะ หักงายแต
ดา นหนา ตัดจะไมเ รยี บ มีกลิน่ หอมออ น ๆ รสเผ็ด4
สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน:

วานพรา ว รสเผด็ รอน มฤี ทธิใ์ หค วามอบอุนและเสรมิ หยางของระบบไต แกห ยางของไตไมพ อ
ธาตไุ ฟนอย (เชน อวัยวะเพศไมแขง็ ตวั นาํ้ อสจุ ิเย็น ปสสาวะรดท่ีนอน ปสสาวะบอย) มีฤทธบิ์ าํ รงุ เสน

เอน็ และกระดูก แกร ะบบไตออ นแอ เขาและเอวออนแรง ปวดเสนเอน็ และกระดูก การปวดและการชา

เรื้อรังจากความเย็นและความชื้น และมีฤทธิ์ขับความเย็นและความชื้น แกหยางของมามและไตพรอง
หนาทอ งและทอ งนอ ยเย็นและปวด ถา ยทอง1

วานพราวผัดเหลา จะชวยลดพิษของสมุนไพร เพิ่มฤทธ์ิในการบํารุงหยางของไต เสริมความ

แขง็ แรงของเสน เอ็นและกระดกู รวมทง้ั ขบั ความเย็นและความช้ืนไดด ี เหมาะสาํ หรบั ผูป วยทม่ี อี าการหยอ น

3

สมรรถภาพทางเพศ ปวดเสนเอ็นและกระดูก และปสสาวะบอ ย
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:

วานพราวมสี รรพคุณเปนยาชกั มดลูก เชน สตรคี ลอดบุตรใหม ๆ มดลูกลอยเพราะความอักเสบ

ชว ยใหม ดลกู เคลื่อนไหวกลับทเ่ี ดมิ ใหเปน ปกติ5

ขนาดที่ใชและวิธใี ช:

การแพทยแผนจีน ใช 3-9 กรมั 1

ตมเอาน้ําดื่ม

ขอหา มใช ขอ ควรระวงั และอาการขา งเคยี ง:

วา นพราวเปนสมุนไพรท่มี พี ษิ หา มใชใ นผูปว ยทีม่ อี าการรอ นใน1

ขอ มลู วิชาการท่เี ก่ียวของ:

1. สารสกดั แอลกอฮอลเมอ่ื ใหท างชอ งทอ งหนถู บี จกั รในขนาด 10 กรัม/กโิ ลกรมั พบวาสามารถ

เพม่ิ ฤทธขิ์ องยา pentobarbital sodium ใหนอนหลบั นานข้นึ และชว ยเพิ่มฤทธข์ิ องยา picrotoxin หรอื

cocculin ใหลดอาการตนื่ ตระหนกตกใจลง นอกจากนีส้ ารสกดั ดงั กลาวยังแสดงฤทธ์ติ านการอกั เสบที่

เกิดจากนํ้ามนั สลอดดว ย6

Page 182

172 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

2. สารสกัดแอลกอฮอลเ ม่ือใหท างปากหนูถีบจกั รในขนาด 10 และ 20 กรัม/กโิ ลกรมั วนั ละครง้ั
ติดตอกันนาน 8 วัน พบวาไมสามารถเพ่ิมเซลลเม็ดเลอื ดขาวชนิดลิมโฟชัยตในหนปู กติ แตส ามารถรกั ษา
ภาวะภูมิคุมกันบกพรอ งในหนทู ไ่ี ดร บั สารกดภมู คิ ุม กัน6

3. การศึกษาพิษเฉียบพลันโดยใหสารสกัดนาํ้ ทางปากหนูถีบจักรในขนาด 150 กรัม/กิโลกรัม
พบวาไมม ีสัตวท ดลองตัวใดตายภายใน 7 วัน แสดงวาวานพรา วมพี ิษตํ่ามาก6

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวคี ุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชือ่ พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินนั ทน
ฉบับแกไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พมิ พค รงั้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กัด, 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
5. เสงี่ยม พงษบ ุญรอด. ไมเ ทศ เมืองไทย. กรงุ เทพมหานคร : เกษมบรรณกจิ , 2514.
6. Di L. Rhizoma Curculigo: xian mao. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study

of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 183

คมู อื การใชสมุนไพรไทย-จีน 173

วา นน้ํา : Zangchangpu (藏菖蒲)

วานนํ้า หรือ จั้งชางผู คือ เหงาแหงของพืชท่ีมีชื่อวิทยาศาสตรวา Acorus calamus L. วงศ
Araceae1

2 เซนติเมตร

วานน้ํา (Rhizoma Acori Calami)

ชื่อไทย: วานนา้ํ , วานน้ําเล็ก, ฮางคาวผา (เชียงใหม); ทิสีปุคอ (แมฮองสอน); ตะไครนํ้า (แพร);
ไครนา้ํ (เพชรบูรณ); คาเจ้ียงจี้, ผมผา, สมชื่น, ฮางคาวนาํ้ , ฮางคาวบาน (ภาคเหนือ)2
ช่ือจีน: จั้งชางผู (จีนกลาง), เจี่ยงเชียงพู (จีนแตจ๋ิว)1
ชื่ออังกฤษ: Tibet Sweetflag Rhizome1
ชื่อเคร่ืองยา: Rhizoma Acori Calami1
การเกบ็ เก่ยี วและการปฏิบัตหิ ลังการเก็บเก่ียว:

เก็บเกี่ยวเหงาในฤดูใบไมรวงและฤดูหนาว แยกเอารากฝอยและดินท้ิง ตากใหแหง เกบ็
รักษาไวในทีม่ ีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

หลงั เกบ็ เกยี่ วสมนุ ไพรแลว แยกส่งิ อน่ื ทปี่ ะปนออก ลา งนาํ้ ใหส ะอาด จากนน้ั นาํ ไปใสใ นภาชนะ

ทีเ่ หมาะสม คลุมดวยผา ขาวบาง ต้งั ทิ้งไวจ นตัวยาออนนมุ ห่นั เปนแวนเฉียง ๆ หรือหนั่ ตามขวาง ทาํ ให
แหง ในท่ีรมหรือตากแดด1,3

Page 184

174 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก:
ตัวยาที่มีคุณภาพดี ดานหนาตัดตองมีสีออกขาว กล่ินหอมฉุน5

สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน:
วานนํ้า รสขมเผ็ด สุขุม มีฤทธิ์ขับลม ขับเสมหะ สงบประสาท ใชรักษาอาการไอ ต่ืนเตนลืม

งาย สลึมสลือ บิด ทองเสีย ทองอืด อาหารไมยอย ปวดขอ แผลฝหนอง และขับพยาธิ1,6
สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนไทย:

เหงา มีกลิ่นหอม รสรอน สรรพคุณเปนยาแกบิด แกปวดทอง แกทองอืดทองเฟอ แนนจุก

เสียด ขับลมในกระเพาะอาหารและลาํ ไส ขับเสมหะ แกไอ ระงับประสาท แกปวดตามขอ แกแผลฝ
หนอง ขับพยาธิ แกปวดฟน เลือดออกตามไรฟน7-8
ขนาดที่ใชและวิธีใช:

การแพทยแผนจีน ใช 3-6 กรัม ตมเอานํ้าด่ืม ใชภายนอก ตมเอาน้าํ ชะลางหรือบดเปนผง
ผสมทา1,5
ขอหามใช ขอควรระวัง และอาการขางเคียง:

การแพทยแผนจีน ควรระมัดระวังในการใชในผูปวยที่เหง่ือออกบอย ๆ หรือเหงื่อออกงาย5
การแพทยแ ผนไทย หา มกินมากกวา ครั้งละ 2 กรัม เพราะจะทําใหอาเจียน (อาจใชป ระโยชนใ น
กรณีผูปวยกนิ สารพิษ และตอ งการขับสารพิษออกจากทางเดินอาหารดว ยการทําใหอ าเจยี น)9
ขอมูลวิชาการท่ีเก่ียวของ:
1. นํ้ามนั หอมระเหย และสารสกัดนํา้ มีฤทธ์ลิ ดการเคลื่อนไหวของหนทู ีท่ ดลอง น้ํามันหอมระเหย
สามารถเพม่ิ ฤทธส์ิ งบประสาทและทําใหน อนหลับของโซเดยี มเพนโทบารบทิ าล ไลเซอจิกแอสิดไดเอทิลเอ

ไมด และไดเบนซลิ นี เสริมฤทธข์ิ องรีเซอปนในการลดพษิ ของแอมเฟทามีนในหนู รวมทง้ั มีฤทธิบ์ รรเทา

ปวด และปองกนั หนูชกั จากการทดลองชอ็ คดว ยไฟฟา สารสกัดแอลกอฮอลจากเหงา มีฤทธค์ิ ลา ยกนั สามารถ
เพ่ิมฤทธ์ิของยาชาเฉพาะที่ และสามารถลดพษิ ของแอมเฟทามีนในหนทู ี่ทดลองได5

2. นํ้ามนั หอมระเหย สารสกดั แอลกอฮอล และสารสกดั น้ําจากเหงาสามารถลดความดนั โลหิต
ของสตั วทดลองที่สลบได สารสกัดน้ํามีฤทธ์ิกดการเตน ของหัวใจ น้าํ มันหอมระเหยสามารถลดอัตราการ
เตน ของหัวใจสนุ ขั และกบ5

3. น้าํ มนั หอมระเหยจากเหงามีฤทธิ์ระงบั อาการไอที่เกดิ จากการกระตุนดวยซัลเฟอรไ ดออกไซด
ในหนทู ดลอง ฤทธ์ิระงับอาการไอนีเ้ ดนชดั มาก และจากการทดลองใชหลอด capillary ตอ หลอดลมเพอื่

Page 185

คมู ือการใชสมุนไพรไทย-จีน 175

วดั ปรมิ าตรของเมือกสารทขี่ บั ออกมาในหลอดลมของกระตาย พบวา นํา้ มนั หอมระเหยแสดงฤทธิข์ บั เสมหะ5
4. นํ้าคน้ั จากเหงา สดสามารถเพิ่มการหลงั่ กรดในกระเพาะอาหาร โดยเฉพาะในคนที่มกี รดใน

กระเพาะอาการนอย ยาเตรยี มจากเหงาวา นนาํ้ ใชเปนยาเจริญอาหาร ชว ยใหอยากอาหาร ทาํ ใหการยอ ย
อาหารดีขึน้ และน้ํามันระเหยงายในขนาดนอย ๆ จะมีฤทธ์ิขบั ลม5

5. นํา้ มนั หอมระเหย สารสกดั นํา้ และสารสกดั แอลกอฮอลม ีฤทธล์ิ ดอุณหภูมใิ นสตั วท ดลอง
นํ้ามันหอมระเหยในขนาด 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร สามารถยับยัง้ การเจริญของเชือ้ วัณโรคได สารสกัด
แอลกอฮอลส ามารถยบั ยัง้ การเจรญิ ของเช้อื ราได มีบางรายงานวาสามารถใชเ ปนยาขบั และฆา พยาธไิ ด5

6. จากการศึกษาพษิ เฉียบพลนั ในหนูถีบจกั รของสารสกัด 50% แอลกอฮอลจากเหงา วานนาํ้
พบวา คา LD50 มคี า มากกวา 10 กรมั /กโิ ลกรัม เมอ่ื ใหโดยการปอนหรอื ฉดี เขา ใตผ วิ หนงั 10

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอ่ื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินนั ทน
ฉบับแกไ ขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544). สํานกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ประชาชน จํากัด, 2544.

3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xian: World Library Publishing House, 2002.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. ชยั โย ชยั ชาญทพิ ยุทธ, วชิรา แดนตะวัน, สถาพร ล้มิ มณี, ชะนะ ครองรักษา, ทิพวลั ย ทรัพยเจริญ. สมนุ ไพร อันดับที่ 3: การ

รวบรวมขอ มูลเบ้อื งตนสาํ หรบั งานวิจยั ของโครงการศกึ ษาวิจัยสมนุ ไพร. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั , 2527.
6. สถาบนั วิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงประเทศไทย. PROSEA: ทรัพยากรพืชในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต 12(1) พชื

สมนุ ไพรและพืชพษิ เลม 1. นนทบุรี : สหมติ รพร้ินต้ิง, 2546.
7. พเยาว เหมือนวงษญาติ. สมุนไพรกา วใหม. พิมพค ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ท.ี พ.ี พริ้น จํากัด, 2537.
8. ชยนั ต วิเชยี รสุนทร, แมน มาส ชวลิต, วเิ ชียร จรี วงศ. คาํ อธบิ ายตาํ ราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พคร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร :

สาํ นักพมิ พอมรนิ ทร, 2548.
9. พรอ มจติ ศรลัมภ, วงศส ถติ ย ฉว่ั กุล, สมภพ ประธานธุรารักษ (คณะบรรณาธิการ). สมุนไพรสวนสิรรี ุกขชาติ สารานุกรมสมุนไพร

เลม 1. พิมพครง้ั ที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : บริษัท อมรินทรพริ้นตง้ิ แอนดพบั ลิชชิ่ง จํากดั (มหาชน), 2543.
10. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยุทธ สาตราวาหะ. การศึกษาพิษของสมนุ ไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, ทรงพล

ชวี ะพัฒน, เอมมนัส อตั ตวิชญ (คณะบรรณาธกิ าร). ประมวลผลงานวจิ ัยดานพิษวิทยาของสถาบันวิจัยสมนุ ไพร เลม 1. พิมพคร้ังท่ี 1.
กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา, 2546.

Page 186

176 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

สายน้าํ ผงึ้ : Jinyinhua (金银花)

สายนํ้าผง้ึ หรือ จนิ อ๋ินฮวา คือ ดอกตูมหรือดอกเริ่มบานทที่ ําใหแ หง ของพืชทม่ี ีช่อื วิทยาศาสตรวา
Lonicera japonica Thunb. หรือ L. hypoglauca Miq. หรือ L.confusa DC. หรือ L. dasystyla
Rehd. วงศ Caprifoliaceae1

0.5 เซนติเมตร

สายนํา้ ผึ้ง (Flos Lonicerae)

ช่ือไทย: สายน้ําผ้ึง (กรุงเทพฯ)2
ชื่อจีน: จินอ๋ินฮวา (จีนกลาง), กิมหงึ่งฮวย (จีนแตจิ๋ว)1
ช่ืออังกฤษ: Honeysuckle Flower1
ชื่อเคร่ืองยา: Flos Lonicerae1
การเก็บเก่ียวและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เก่ียว:

เกบ็ เก่ียวดอกตูมหรอื ดอกเร่ิมออกในตนฤดรู อ น ผง่ึ ในทีร่ มแลวนําไปตากแดดใหแหง เก็บรกั ษา
ไวในทม่ี อี ากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรียมตวั ยาพรอ มใชม ี 2 วธิ ี ดงั นี้
วธิ ีที่ 1 ดอกสายนาํ้ ผงึ้ เตรยี มโดยนําวตั ถดุ บิ สมุนไพรมาคัดแยกเอาสิ่งปนปลอมออก รอ นเอา

3

ฝนุ และเศษเลก็ ๆ ออก
วธิ ที ี่ 2 ดอกสายนาํ้ ผึง้ ถา น เตรยี มโดยนําตัวยาทีไ่ ดจ ากวิธีท่ี 1 ใสก ระทะ นําไปผดั โดยใชไ ฟ

ระดับปานกลาง ผดั จนกระทงั่ ผวิ นอกสีนาํ้ ตาลดํา พรมนาํ้ เลก็ นอย นําออกจากเตา ตงั้ ทงิ้ ไวใ หเย็น แลว นาํ ไป

Page 187

คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 177

ตากแหง ในท่รี ม3
คุณภาพของตัวยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาที่มีคุณภาพดี ตองมีปริมาณดอกมาก สีเหลืองอมขาว กลิ่นหอมจรุงใจ4
สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน:

ดอกสายนาํ้ ผ้ึง รสอมหวาน เย็น มีฤทธ์ิระบายความรอน แกหวัดจากการกระทบลมรอน
ระบายความรอ น ขบั พษิ มีฤทธข์ิ บั พิษ แกแ ผลฝ แผลเปอ ย บวม (มกั ใชภ ายนอก) และมฤี ทธิ์ผอนคลาย
และกระจายความรอน ใชแกบิด มีพิษรอน ถายบิดเปนมูกเลือด1

ดอกสายนาํ้ ผง้ึ ถา น มีสรรพคณุ แกถ า ยบิดเปนมูกเลือด สตรีทีม่ ีอาการตกเลอื ด อาเจยี นเปน
เลอื ด และเลือดกาํ เดาไหล3
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:

ดอกสายน้ําผึ้ง รสหวานเย็น สรรพคุณเจริญอาหาร เปนยาอายุวัฒนะ ขับปสสาวะ แกไข
แกปวดหลัง แกความดันโลหิตสูง5
ขนาดท่ีใชและวิธีใช:

การแพทยแผนจีน ใช 6-15 กรัม ตมเอาน้ําดื่ม1
การแพทยแผนไทย ค้ันหรือใชดอกแหงชงดื่มแทนน้ําชา5
ขอมูลวิชาการท่ีเกี่ยวของ:
1. มีรายงานวาดอกสายน้าํ ผึ้งมีฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรียและเช้ือไวรัสหลายชนิด ไดแก เชื้อ
Staphylococcus aureus, Hemolytic streptococcus, Pneumococcus, Typhoid bacillus, Influenza
virus, Herpes virus, C virus ECHO19 virus โดยสารสกัดนํ้าที่ไดโดยวิธีแชจะมีฤทธิ์แรงกวาสาร
สกัดนา้ํ ที่ไดโดยวิธีตม นอกจากน้ีดอกสายน้ําผึ้งมีฤทธิ์ตานเชื้อราโรคผิวหนังได6
2. ดอกสายน้าํ ผ้ึงมีฤทธล์ิ ดไข ตา นการอกั เสบ ตานอนมุ ูลอิสระ ลดไขมนั ในเลอื ด และหามเลือด6
3. การศึกษาทางคลินิกพบวา ดอกสายน้าํ ผ้ึงเมื่อใชเดี่ยว หรือใชเปนสวนประกอบของยา

ตาํ รับที่ใชรักษาโรคเก่ียวกับทางเดินหายใจในทารก การอักเสบที่เกิดขึ้นที่ทางเช่ือมระหวางปากและ
คอหอย การติดเช้ือท่ีเกิดจากเชื้อปรสิตตระกูล Treponemataceae การติดเช้ือท่ีเกิดจากการผาตัด
การอักเสบชนิดเฉียบพลัน โรคผิวหนังโดยเฉพาะที่เกิดจากหนังแท โรคซาร และลาํ ไสเล็กอักเสบ7

4. การศึกษาพษิ เฉยี บพลนั ของสารสกดั นํา้ เมอ่ื ฉดี เขา ใตผวิ หนงั ของหนถู บี จกั ร มคี า LD50เทากบั
53 กรมั /กิโลกรมั 6

Page 188

178 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผูพ ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวฒั น บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตินนั ทน
ฉบับแกไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สาํ นักวชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพค รงั้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2544.

3. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002.
4. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
5. วุฒิ วฒุ ิธรรมเวช. คัมภรี เ ภสัชรตั นโกสินทร. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ศิลปส ยามบรรจภุ ัณฑแ ละการพิมพ จาํ กัด, 2547.
6. Deng WL. Flos Lonicerae: jin yin hua. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study

of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.
7. Deng JG, Wei SJ. Genuine and well-reputed medicinal materials in Guangxi. 1st ed. Beijing: Zhongguo Zhongyi

Yao Publishing House, 2007.

Page 189

คมู ือการใชส มนุ ไพรไทย-จนี 179

สีเสียด : Ercha (儿茶)

สเี สยี ด หรอื เออ ฉา คือ สว นสกดั นาํ้ ท่ีเตรียมจากลําตนและกิง่ ทป่ี อกเปลือกออกแลว ของพืชท่ีมี
ชอ่ื วิทยาศาสตรวา Acacia catechu (L.f.) Willd. วงศ Leguminosae1

3 เซนติเมตร

สีเสียด (Catechu)

ช่ือไทย: สีเสียด, ขี้เสียด (ภาคเหนือ); สีเสียดแกน (ราชบุรี); สีเสียดเหนือ (ภาคกลาง); สีเสียด
เหลือง (เชียงใหม)2
ช่ือจีน: เออฉา (จีนกลาง), หย่แี ต (จนี แตจ๋วิ )1
ช่ืออังกฤษ: Cutch Black Catechu1
ชื่อเคร่ืองยา: Catechu1
การเกบ็ เกี่ยวและการปฏิบตั หิ ลังการเกบ็ เกี่ยว:

เกบ็ เก่ยี วกิ่งและลําตน ในฤดูหนาว ปอกเปลอื กออก หนั่ เปน ชิ้นใหญ ๆ ใสน ้ําใหทว ม เคย่ี ว 5-6

ชั่วโมง ยางจะถกู สกดั ออกมา เปน สนี ํา้ ตาลดํา ขน ๆ คลา ยนํา้ ตาลทเ่ี ค่ียวจนงวด เทลงพิมพตามตองการ

เมอื่ เยน็ จะแขง็ มีลักษณะเปนกอนสนี ้าํ ตาลดํา เกบ็ รักษาไวใ นทมี่ ีอากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศ
ด1ี ,3
การเตรยี มตัวยาพรอ มใช:

หลังเกบ็ เกีย่ วสมุนไพรแลว แยกสง่ิ อ่ืนทป่ี ะปนออก รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก ทบุ ใหแ ตกหรอื บด
ใหล ะเอียดกอ นใช1 ,4

Page 190

180 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาท่มี คี ณุ ภาพดี ดานนอกมีสีนํ้าตาลเขมถึงสนี ํ้าตาลดํา ผิวเรยี บเปน มัน แข็งและแตกหกั งา ย
ปราศจากส่งิ ปนปลอม5
สรรพคณุ ตามตําราการแพทยแ ผนจีน:

สเี สียด รสฝาด มฤี ทธิ์ชวยใหเนอ้ื เย่ือทเ่ี กิดใหมเจริญเตบิ โต ชว ยสมานแผล แกแ ผลในปาก แก
ทอ งเสีย1
สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย:

สเี สียดไทย รสฝาด สรรพคุณ ชว ยสมานแผล แกอ าการทองเดนิ (ท่ไี มใชบิดหรอื อหิวาตกโรค)
และแกบดิ (ปวดเบง และมมี กู หรืออาจมีเลอื ดดวย)3,6,7
ขนาดทีใ่ ชและวธิ ใี ช:

การแพทยแผนจนี ใช 1-3 กรัม หอใสถุงผา ตมเอานํ้าดืม่ หรือทําเปนยาลกู กลอน หรือยาผง1
การแพทยแ ผนไทย ใชผ ง ครง้ั ละ 0.3-1 กรัม ตม เอาน้ําด่ืม6 ใชภายนอก ใชผ งสเี สียดละลาย

นํ้าใสแ ผลสดหา มเลอื ด กอ นสีเสยี ดฝนกบั นํา้ ใหขน ๆ ทาแผลนาํ้ กัดเทา ผงสเี สยี ดผสมกับนาํ้ มนั พืช ทา
แผลนํ้ากดั เทา ใสป นู ทีใ่ ชร ับประทานกับหมากและพลู เพื่อปอ งกันปูนกดั ปาก3
ขอ หา มใช ขอ ควรระวงั และอาการขางเคียง:

ควรระมัดระวงั ในเรือ่ งขนาดทใี่ ช ถาใชม ากจะเกดิ อาการขา งเคยี งได6
ขอ มลู วชิ าการท่ีเกีย่ วขอ ง:

1. กอ นสีเสยี ดประกอบดว ย catechin 2-20%, catechu-tannic acid 25-35%, epicatechin,
dicatechin และสารอื่น ๆ เน่ืองจากมีแทนนินในปริมาณสูง จึงมีฤทธฝิ์ าดสมาน ฆาเชอื้ แบคทีเรยี 6

2. สารสกดั น้ําความเขมขน 20% สามารถยับยง้ั การเจริญของเซลลม ะเรง็ กระเพาะอาหารและฤทธ์ิ
ในการฆา เซลลม ะเรง็ คอนขางแรง แตไมมพี ษิ ตอ ตอ มนํา้ ลายและเซลลล กู อัณฑะ8

3. สาร d-catechin ในสีเสยี ดชว ยใหก ารทาํ งานของตบั ดขี น้ึ และชว ยปกปองตับจากสารพษิ

ดงั นั้นจึงสามารถใชไ ดผลดีในผปู วยโรคตับอกั เสบชนิดเฉยี บพลันและชนดิ เรอ้ื รังหรอื ผปู ว ยที่ตบั ถูกทําลาย
จากการไดร บั สารพิษ8

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

Page 191

คูมอื การใชส มุนไพรไทย-จนี 181

2. ลีนา ผพู ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บุญทวคี ณุ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่ือพรรณไมแ หงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน
ฉบบั แกไ ขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นกั วิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพครง้ั ที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จํากดั , 2544.

3. พเยาว เหมอื นวงษญ าต.ิ สมนุ ไพรกา วใหม. พมิ พค รั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ท.ี พ.ี พริ้น จาํ กัด, 2537.
4. Lei GL, Dun BS. Zhongyao Paozhi Jishu Zhinan. 1st ed. Xi-an: World Library Publishing House, 2002.
5. Mei XH. Shiyong Zhongyao Paozhi Zhinan. 1st ed. Hubei: Hubei Science & Technology Publishing House, 2005.
6. กนั ทิมา สิทธิธัญกิจ, พรทิพย เตมิ วเิ ศษ (คณะบรรณาธกิ าร). คูมือประชาชนในการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแ ผนไทย. พมิ พคร้งั ท่ี 2

กรุงเทพมหานคร : สํานกั งานกจิ การโรงพิมพองคก ารทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547.
7. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรพื้นบา นฉบับรวม. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพมหานคร :

Text and Journal Corperation Co., Ltd., 2533.
8. Wang DP, Guo ZK. Catechu: er cha. In: Wang BX, Ma JK, Zheng WL, Qu SY, Li R, Li YK (eds.). Modern study

of pharmacology in traditional Chinese medicine. 2nd ed. Tianjin: Tianjin Science & Technology Press, 1999.

Page 192

182 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

หญา คา: Baimaogen (白茅根)

หญาคา หรอื ไปเหมาเกนิ คือ เหงาแหงของพชื ที่มีช่ือวิทยาศาสตรวา Imperata cylindrica
Beauv. var. major (Nees) C.E. Hubb. วงศ Gramineae1

หญาคา (Rhizoma Imperatae) 1 เซนติเมตร

ชื่อไทย: หญาคา (ท่ัวไป); ลาลาง ลาแล (ยะลา); เกอ ฮี (แมฮอ งสอน)2
ช่อื จนี : ไปเ หมาเกนิ (จีนกลาง), แปะเหมากิง (จนี แตจิว๋ )1
ชอื่ องั กฤษ: Lalang Grass Rhizome1
ชื่อเครือ่ งยา: Rhizoma Imperatae1
การเกบ็ เกยี่ วและการปฏิบตั หิ ลงั การเก็บเก่ียว:

เกบ็ เก่ียวเหงาในฤดูใบไมผลถิ งึ ฤดใู บไมรวง ลางน้ําใหสะอาด ตากแดดใหแ หง แยกเอารากฝอย
และกาบใบทิ้ง เกบ็ รกั ษาไวใ นที่มีอากาศเย็นและแหง มีการระบายอากาศดี1
การเตรยี มตวั ยาพรอ มใช:

การเตรยี มตวั ยาพรอ มใชมี 2 วธิ ี ดงั นี้
วธิ ที ่ี 1 หญาคา เตรียมโดยนําวัตถดุ ิบสมุนไพรที่ปราศจากส่ิงปนปลอมมาลา งนํา้ ใหส ะอาด ใส
ภาชนะหมักไวสกั ครเู พ่อื ใหอ อนนุม หัน่ เปน ชน้ิ ขนาดพอเหมาะ และนําไปทําใหแ หง 1,3
วิธที ่ี 2 หญา คาถาน เตรยี มโดยนําตวั ยาทไ่ี ดจ ากวิธที ่ี 1 ใสกระทะ ผัดโดยใชไฟระดบั ปานกลาง
ผัดจนกระทงั่ ผวิ นอกของตวั ยามสี ีนาํ้ ตาลไหม เนือ้ ในเปน สีเหลืองไหม พรมนาํ้ เลก็ นอย นําออกจากเตา
ต้ังท้งิ ไวใหเ ย็น ตากใหแ หงในทร่ี ม 3

Page 193

คมู อื การใชสมนุ ไพรไทย-จีน 183

คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:
ตัวยาที่มคี ณุ ภาพดี ลาํ ตนตอ งหยาบ สขี าว และมรี สหวาน4

สรรพคุณตามตําราการแพทยแผนจีน:

หญาคา รสอมหวาน เยน็ มีฤทธ์ิหา มเลือด ทําใหเลอื ดเยน็ ใชร กั ษาอาการเลือดออกจากภาวะ

เลือดรอ น เชน เลือดกําเดา ไอ อาเจียน ปสสาวะเปนเลอื ด และมีฤทธ์ิระบายความรอน ขับปสสาวะ ใช
เปน ยาขับปสสาวะ แกอาการบวมน้ํา ปส สาวะรอนมีสีเขม1

หญา คาถาน รสฝาด เย็นเลก็ นอย ฤทธ์ริ ะบายความรอ นในระบบเลือดคอ นขางออน แตฤ ทธิ์

3

หามเลือดแรง โดยทว่ั ไปใชในกลมุ อาการของโรคทีม่ ีเลือดออก เปนยาฝาดสมานและยาหา มเลือด
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย:

ตาํ รายาไทยใชเปน ยาขบั ปสสาวะ แกรอ นในกระหายน้าํ แกอกั เสบในทางเดนิ ปสสาวะ บาํ รุงไต

แกน้าํ ดีซาน แกอ อ นเพลีย เบื่ออาหาร5

ขนาดที่ใชแ ละวธิ ีใช:

การแพทยแผนจนี ใช 9-30 กรมั 1

ตมเอาน้ําดื่ม

การแพทยแผนไทย ใช 1 กํามือ (สด 40-50 กรัม หรือแหง 10-15 กรมั ) หั่นเปน ชน้ิ เล็ก ๆ

ตมนา้ํ รับประทานวันละ 3 คร้ัง กอนอาหารคร้งั ละ 1 ถว ยชา (75 มลิ ลลิ ติ ร)6

ขอ มูลวชิ าการทเ่ี กีย่ วขอ ง:

1. สารสกดั น้าํ จากเหงามฤี ทธใิ์ นการลดจํานวนปสสาวะและทาํ ใหจ ํานวนคลอไรดในปสสาวะ

เพ่ิมข้นึ สารสกดั น้าํ รอนจากเหงาสามารถลดอาการของแผลในกระเพาะอาหารและสามารถยับย้งั การหลงั่

ฮีสตามนี ในหนูขาวท่ีถูกกระตนุ ดว ย สาร 48/80 ไมพบฤทธใ์ิ นการกอ กลายพันธ7ุ
2. สารสกัดดวยนํา้ จากเหงาแหง สารสกัดดวยแอลกอฮอลจากเหงาสดและเหงาแหง แสดง

ฤทธิ์ยับยงั้ เอนไซม HIV-1 protease โดยสารสกัดท่แี สดงฤทธแ์ิ รง คอื สารสกัดดวยแอลกอฮอลจ าก
เหงา สด สามารถยบั ยง้ั เอนไซมด ังกลาวไดร อยละ 98 ท่คี วามเขมขน ของตัวอยาง 66.67 ไมโครกรัม/
มิลลลิ ติ ร7

3. เมือ่ ใหก ระตายกินนํ้าตม จากหญาคาขนาด 25 กรัมตอ นํา้ หนักตวั 1 กโิ ลกรมั หลังจากนน้ั
16 ชั่วโมง กระตา ยเคลอ่ื นไหวชาลง การหายใจเรว็ ขนึ้ และคนื สปู กตใิ นเวลาไมน านนกั ถาฉีดเขาหลอด
เลือดดําขนาด 10-15 กรัมตอ นา้ํ หนักตัว 1 กโิ ลกรัม การหายใจจะเร็วขึน้ การเคลอ่ื นไหวชา ลง หลังจาก
นนั้ 1 ชั่วโมง จะกลับสปู กติ ถาฉดี ขนาด 25 กรมั ตอ น้าํ หนักตัว 1 กโิ ลกรมั หลงั จากฉีด 6 ช่วั โมง
กระตา ยก็ตาย8

Page 194

184 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

เอกสารอางองิ

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลีนา ผพู ัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธีรวัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ชอ่ื พรรณไมแ หง ประเทศไทย (เตม็ สมติ ินันทน
ฉบับแกไขเพมิ่ เติม พ.ศ. 2544). สํานกั วชิ าการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพคร้ังที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท ประชาชน จาํ กดั , 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.
5. เสงี่ยม พงษบ ุญรอด. ไมเ ทศ เมืองไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พประเสริฐศริ ิ, 2493.
6. ดรณุ เพ็ชรพลาย และคณะ. สมุนไพรพืน้ บา น (ฉบบั รวม). สถาบนั วิจัยสมนุ ไพร กรมวทิ ยาศาสตรการแพทย. กรุงเทพมหานคร :

หา งหนุ สวนจํากดั รุง เรืองสาสนก ารพมิ พ, 2541.
7. เยน็ จติ ร เตชะดํารงสิน, บษุ ราวรรณ ศรีวรรธนะ, จนั ทรเพ็ญ วิวัฒน, สธุ น วงษช รี ี, จารีย บนั สิทธ์ิ และประถม ทองศรรี กั ษ. หญา

คา. ใน: ปราณี ชวลติ ธาํ รง (บรรณาธิการ). รายงานการศกึ ษาวจิ ยั โครงการสมนุ ไพรตา นเอดส. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พอ งคการ
สงเคราะหท หารผา นศึก, 2546.
8. Jiangsu New Medical College. A Dictionary of Chinese Materia Medica. Vol.1. Hong Kong: Shangwa, 1979.

Page 195

คูม ือการใชสมุนไพรไทย-จีน 185

หญาแหว หมู : Xiangfu (香附)

หญา แหว หมู หรอื เซยี งฟู คือ เหงา แหงของพชื ทีม่ ีช่ือวิทยาศาสตรว า Cyperus rotundus L.
วงศ Cyperaceae1

1 เซนติเมตร

หญาแหวหมู (Rhizoma Cyperi)

ชื่อไทย: หญาแหวหมู (ทั่วไป); หญาขนหมู (แมฮองสอน)2
ช่ือจีน: เซยี งฟู (จนี กลาง), เฮยี งหู (จีนแตจ ว๋ิ )1
ชื่ออังกฤษ: Nutgrass Galingale Rhizome1
ช่ือเครื่องยา: Rhizoma Cyperi1
การเก็บเกย่ี วและการปฏบิ ัตหิ ลงั การเก็บเก่ียว:

เกบ็ เกี่ยวเหงาในฤดใู บไมร วง แยกเอารากฝอยทิ้ง ตมนา้ํ สักครูหรอื น่งึ สักครู ตากใหแหง เกบ็
รักษาไวใ นท่ีมอี ากาศเย็นและแหง มกี ารระบายอากาศด1ี
การเตรียมตวั ยาพรอ มใช:

การเตรียมตวั ยาพรอมใชม ี 5 วธิ ี ดังนี้
วธิ ีท่ี 1 หญา แหวหมู เตรียมโดยนาํ วัตถุดิบสมุนไพรท่ีปราศจากสง่ิ ปนปลอม มาลางนํ้าใหสะอาด
ใสภาชนะปดฝาไวเ พือ่ ใหออนนมุ ห่ันเปนชิ้นหรือฝานเปนแผน บาง ๆ นาํ ไปทําใหแหงโดยใชอ ณุ หภมู ิต่ํา1,3
วิธที ่ี 2 หญาแหว หมผู ดั น้าํ สม เตรยี มโดยนําตัวยาท่ีไดจากวิธีท่ี 1 ใสในภาชนะที่เหมาะสม เติม
นา้ํ สม (ซง่ึ ไดมาจากการหมักกลน่ั ขา ว) ปริมาณพอเหมาะ แลว คลกุ เคลา ใหเ ขา กนั จนกระทง่ั นาํ้ สม แทรกซึม

เขาไปในเนื้อตัวยา จากน้ันนําไปผัดโดยใชไฟระดับปานกลาง ผัดจนกระทั่งตัวยาแหง นําออกจากเตา

Page 196

186 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก

ตากใหแหง ในทรี่ ม (น้ําสม 20 กิโลกรัม ตอตัวยา 100 กโิ ลกรมั )1,3
นอกจากหญา แหวหมูผดั นํา้ สม แลว ยงั อาจเตรยี มอกี วธิ ีหนงึ่ คือ หญา แหวหมูนงึ่ กับนาํ้ สม โดย

นาํ ตัวยาทไี่ ดจ ากวธิ ีท่ี 1 ใสใ นภาชนะท่เี หมาะสม เตมิ น้าํ สม (ซ่งึ ไดมาจากการหมักกล่ันขาว) ปรมิ าณพอเหมาะ
และเตมิ น้าํ สะอาดปรมิ าตรเทาน้ําสม นาํ ไปใสใ นภาชนะน่ึง น่ึงจนกระทัง่ นํา้ สมแทรกซึมเขา ไปในเน้ือตวั ยา
จากนั้นนงึ่ ตอ อกี 5 ช่วั โมง นําออกจากเตา ตง้ั ทิ้งไวใ หเ ยน็ ลงเลก็ นอ ย ฝานเปนแวนบาง ๆ นําไปตากแหง
(นํา้ สม 20 กิโลกรมั ตอตัวยา 100 กิโลกรมั )1,3

วธิ ที ี่ 3 หญาแหวหมผู ดั สารปรุงแตง 4 ชนิด เตรยี มโดยนาํ ตัวยาที่ไดจ ากวธิ ีที่ 1 ใสใ นภาชนะที่
เหมาะสม เติมนํ้าค้ันขงิ สด น้าํ สม (ซ่งึ ไดม าจากการหมกั กลัน่ ขา ว) เหลาเหลอื ง และนา้ํ เกลอื ปรมิ าณ
พอเหมาะ แลว คลุกเคลา ใหเ ขา กนั จนกระทง่ั สารปรงุ แตง แทรกซมึ เขา ไปในเน้อื ตวั ยา จากนัน้ นําไปผัด
โดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผัดจนกระท่งั ตัวยาแหง นําออกจากเตา ตากใหแ หง ในทร่ี ม (ใชขงิ สด 5 กโิ ลกรัม
คนั้ เอาแตน ้ํา ใชนํา้ สม และเหลาเหลอื งอยางละ 10 กโิ ลกรัม เกลอื บรสิ ทุ ธ์ิ 2 กิโลกรัมละลายในน้ํา รวม
สารปรุงแตง ทัง้ หมด ตอ ตัวยา 100 กิโลกรัม)3

วธิ ที ี่ 4 หญา แหวหมผู ัดเหลา เตรยี มโดยนาํ ตวั ยาที่ไดจ ากวิธที ี่ 1 ใสใ นภาชนะทเ่ี หมาะสม เติม
เหลา เหลืองปรมิ าณพอเหมาะ แลวคลกุ เคลา ใหเขากนั จนกระท่ังเหลาแทรกซึมเขาไปในเนื้อตวั ยา จากน้ัน
นาํ ไปผัดโดยใชไ ฟระดบั ปานกลาง ผดั จนกระทัง่ ตวั ยาแหง นําออกจากเตา ตากใหแหง ในที่รม (ใชเ หลา
เหลือง 20 กิโลกรัม ตอ ตัวยา 100 กิโลกรมั )3

วิธีที่ 5 หญาแหวหมูถาน เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจากวิธีที่ 1 ใสกระทะ ผัดโดยใชไฟระดับ
ปานกลาง ผดั จนกระท่งั ผวิ นอกของตวั ยามสี ีดาํ ไหม เนือ้ ในมีสนี ํ้าตาลไหม พรมน้ําเล็กนอย นําออกจาก
เตา ตากใหแ หง ในท่รี ม 3
คณุ ภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตวั ยาท่มี คี ุณภาพดี ขนาดของเหงา ตองสม่ําเสมอ ผิวเรียบเปน มัน ไมมขี น มีกล่ินหอม4
สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแผนจีน:

หญาแหวหมู รสเผด็ ขมเลก็ นอ ย อมหวานเลก็ นอย สขุ ุม มีฤทธผิ์ อ นคลายตับ ทาํ ใหชห่ี มนุ เวยี น

แกอ าการชต่ี ิดขดั ปวดทอ ง ปวดชายโครง และมฤี ทธ์ิปรบั ประจําเดือน แกป วด ใชบรรเทาอาการเครยี ด
ประจําเดอื นมาไมปกติ ปวดประจาํ เดอื น ปวดคัดเตานม1

หญาแหวหมผู ัดหรือนึ่งนา้ํ สม ตัวยาจะเขาสเู สน ลมปราณของตบั เพมิ่ ฤทธิ์ผอนคลายตบั ระงบั
ปวด และชว ยยอ ยอาหาร เหมาะสําหรับผูปวยทมี่ ีอาการปวดทอ ง อาหารไมย อย ธาตุพิการ3

Page 197

คมู ือการใชส มุนไพรไทย-จีน 187

หญาแหวหมูผดั สารปรุงแตง 4 ชนดิ จะชว ยใหชห่ี มนุ เวยี นไมต ิดขัด ปรับประจาํ เดอื นใหเ ปน
ปกติ เหมาะสําหรบั ผูปวยทีม่ ีอาการปวดประจาํ เดอื น ประจาํ เดือนมาไมป กติ3

หญาแหว หมผู ัดเหลา มฤี ทธ์ิชวยใหเ ลือดลมเดินสะดวก เหมาะสําหรับผปู ว ยท่ีมีอาการปวดทอ ง
เนอ่ื งจากไสเ ลื่อน3

หญา แหว หมูถา น รสขม ฝาด อุน โดยทวั่ ไปใชรักษาอาการประจําเดอื นมามากผดิ ปกต3ิ
สรรพคณุ ตามตาํ ราการแพทยแผนไทย:

หญา แหวหมู มีกลน่ิ หอม รสเผด็ ปรา ขมเล็กนอ ย สรรพคุณเปน ยาบํารงุ หัวใจ ขบั เหงอื่ ขับระดู

ขับปส สาวะ แกไ ข ขับลมในลําไส แกปวดทอ ง ทอ งอืด เปนยาบาํ รุงกําลงั บํารุงธาตุ บาํ รงุ ทารกในครรภ เปน

ยาฝาดสมาน สงบประสาท เปน ยาอายวุ ฒั นะ5-7

ขนาดทใ่ี ชแ ละวธิ ใี ช:

การแพทยแผนจีน ใช 6-9 กรมั ตมเอานํ้าดม่ื 1

การแพทยแ ผนไทย ใชค ร้ังละ 1 กาํ มอื (60-70 หัว หรือหนัก 15 กรมั ) ทุบใหแ ตก ตมเอานํ้า

ดืม่ หรอื สด ครั้งละ 5 หัว 5,6

โขลกใหล ะเอียดผสมนาํ้ ผ้ึงรบั ประทาน

ขอ มูลวชิ าการทีเ่ ก่ยี วของ:

1. การทดลองในสตั วทดลอง พบฤทธิ์ขบั ปส สาวะ ลดไข ลดความดันโลหิต และลดการอกั เสบ

ซึง่ เกดิ จาก α-cyperone นอกจากน้ียังพบฤทธิย์ ับยั้งการเจรญิ เตบิ โตของเช้ือมาลาเรยี ชนิดฟลซิพารัมใน

หลอดทดลองดวย8

2. หัวแหวหมมู นี ํา้ มันหอมระเหย และมรี ายงานวามฤี ทธิค์ ลายอาการเกร็งตัวของกลา มเนือ้ เรยี บ

ชว ยขบั ปสสาวะ กรมวิทยาศาสตรก ารแพทยรายงานวาไมมีพษิ เฉยี บพลนั 5

3. จากการศึกษาพษิ เฉียบพลันในหนถู บี จักรของสารสกดั 50% แอลกอฮอลจากหัวแหว หมู

พบวา คา LD50 มคี ามากกวา 10 กรมั /กโิ ลกรัม เม่ือใหโ ดยการปอนหรือฉีดเขาใตผวิ หนัง9

เอกสารอางอิง

1. The State Pharmacopoeia Commission of P.R. China. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China. Vol.I.
English Edition. Beijing: People’s Medical Publishing House, 2005.

2. ลนี า ผูพ ฒั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต, ธรี วัฒน บญุ ทวีคุณ (คณะบรรณาธกิ าร). ช่อื พรรณไมแหง ประเทศไทย (เต็ม สมิตินนั ทน
ฉบับแกไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2544). สาํ นักวิชาการปา ไม. กรมปา ไม. พิมพคร้ังท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ประชาชน จาํ กัด, 2544.

3. Gong QF. Zhongyao Paozhi Xue. 2nd ed. Beijing: National Chinese Traditional Medicine Publishing House, 2003.
4. Liu TS, Pan QP, Zhou YS, Wu ZY. XiuZhen Zhongyaoyinpian Caise Tuben. 1st ed. Hunan: Hunan Science &

Technology Publishing House, 2006.

Page 198

188 กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก

5. กนั ทิมา สิทธิธัญกิจ, พรทพิ ย เตมิ วิเศษ (คณะบรรณาธิการ). คูมือประชาชนในการดูแลสุขภาพดวยการแพทยแ ผนไทย. พมิ พครงั้ ที่ 2
กรุงเทพมหานคร : สาํ นกั งานกจิ การโรงพิมพองคการทหารผา นศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2547.

6. กองวจิ ยั และพฒั นาสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. สมุนไพรพ้ืนบานฉบับรวม. พิมพคร้ังที่ 1. กรุงเทพมหานคร :
Text and Journal Corporation Co., Ltd., 2533.

7. ชยนั ต วเิ ชียรสนุ ทร, แมน มาส ชวลิต, วิเชียร จรี วงศ. คาํ อธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. พมิ พครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร :
สาํ นกั พมิ พอมรินทร, 2548.

8. พรอมจติ ศรลมั ภ, วงศส ถติ ย ฉ่วั กลุ , สมภพ ประธานธรุ ารกั ษ (คณะบรรณาธิการ). สมนุ ไพรสวนสริ รี ุกขชาติ สารานกุ รมสมุนไพร
เลม 1. พิมพครง้ั ท่ี 3. กรุงเทพมหานคร : บริษทั อมรินทรพร้ินต้งิ แอนดพบั ลิชช่ิง จํากดั (มหาชน), 2543.

9. มงคล โมกขะสมิต, กมล สวัสดีมงคล, ประยทุ ธ สาตราวาหะ. การศึกษาพษิ ของสมนุ ไพรไทย. ใน: ปราณี ชวลิตธาํ รง, ทรงพล
ชวี ะพัฒน, เอมมนัส อตั ตวชิ ญ (คณะบรรณาธิการ). ประมวลผลงานวจิ ัยดา นพษิ วิทยาของสถาบันวจิ ัยสมนุ ไพร เลม 1. พิมพค รั้งที่ 1.
กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กระทรวงสาธารณสุข. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก ารศาสนา, 2546.

Page 199

คูมอื การใชสมนุ ไพรไทย-จนี 189

หมาก: Binglang (槟榔)

หมาก หรือ ปงหลาง คือ เมล็ดสุกท่ีทําใหแหงของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Areca catechu
L. วงศ Palmae1

เมล็ดหมาก (Semen Arecae) 1 เซนติเมตร

ชื่อไทย: หมาก, หมากเมีย (ท่ัวไป); หมากมู, แซ (แมฮองสอน); สีซะ (ภาคเหนือ); มะ (ตราด);
เซียด (นครราชสีมา)2
ชื่อจีน: ปงหลาง (จีนกลาง), ปงนอ (จีนแตจ๋ิว)1
ช่ืออังกฤษ: Areca Seed1
ช่ือเครื่องยา: Semen Arecae1
การเกบ็ เกี่ยวและการปฏบิ ัตหิ ลังการเกบ็ เกี่ยว:

เกบ็ เกี่ยวผลสุกในปลายฤดใู บไมผ ลถิ งึ ตน ฤดใู บไมร วง ตมนาํ้ ใหเดือด ตากแดดใหแ หง กรดี แยก
เปลอื กออก เอาเมลด็ ตากแดดใหแหง เก็บรกั ษาไวในทม่ี อี ากาศเยน็ และแหง มกี ารระบายอากาศด1ี ,3
การเตรียมตัวยาพรอมใช:

การเตรยี มตวั ยาพรอมใชมี 3 วธิ ี ดงั น้ี
วิธีท่ี 1 เมล็ดหมาก เตรยี มโดยนําวตั ถดุ ิบสมุนไพรที่ปราศจากสิ่งปนปลอม มาแชนํ้า 3-5 วัน

นําตัวยาออกมาใสในภาชนะท่ีเหมาะสม ราดดวยนาํ้ สะอาด หมักไวจนกระทัง่ น้ําซมึ เขาไปในเนื้อตัวยา ห่ัน
เปนแวนบาง ๆ ตากใหแหง ในทร่ี ม 1,4

วธิ ที ่ี 2 เมลด็ หมากผดั เตรยี มโดยนาํ ตัวยาท่ีไดจ ากวธิ ีท่ี 1 ใสกระทะ ผดั โดยใชไ ฟระดับปานกลาง

Page 200

190 กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

ผัดจนกระท่ังผวิ นอกมีสเี หลอื งออ น ๆ นาํ ออกจากเตา ตงั้ ทง้ิ ไวใ หเย็น แลว รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก4
วิธที ี่ 3 เมล็ดหมากผดั เกรยี ม เตรียมโดยนาํ ตัวยาที่ไดจ ากวิธีที่ 1 ใสกระทะ ผดั โดยใชไฟแรง

ปานกลาง ผัดจนกระทัง่ ผวิ นอกของตวั ยามสี ีเหลอื งเกรยี ม มกี ล่นิ หอม นาํ ออกจากเตา ตงั้ ทง้ิ ไวใ หเย็น
แลว รอ นเอาเศษเลก็ ๆ ออก4
คุณภาพของตวั ยาจากลักษณะภายนอก:

ตัวยาที่มคี ุณภาพดี ตองเปน แวน บาง ๆ หนา ตดั มีสขี าวอมนํ้าตาล ระหวา งกลางมลี ายเสนลกั ษณะ

คลายลายหิน ขอบรอบ ๆ มีสีน้ําตาลอมเหลอื งออนหรือนา้ํ ตาลอมแดงออน เนือ้ แข็งเปราะ แตกหักงา ย
มกี ลิ่นออน ๆ รสเฝอ น ขมเล็กนอย5
สรรพคุณตามตําราการแพทยแ ผนจีน:

หมาก รสขมเผ็ด อนุ มีฤทธ์ิถายพยาธิ ทองมานจากพยาธิ ใชเปนยาถา ยพยาธิในลําไส และมี

ฤทธิ์ทาํ ใหช ่ีหมุนเวียน ขับนํา้ แกอาการอาหารตกคาง ชไี่ มห มุนเวียน ถายทอง บิด ปวดถว ง แกอ าการ

1

บวมนํ้า ขาบวม ปวด และแกมาลาเรยี
เมล็ดหมากผัด และเมล็ดหมากผัดเกรยี ม จะชว ยใหฤทธขิ์ องยานมุ นวลขนึ้ และชว ยลดอาการ

ขางเคียงของตัวยา เชน คล่นื เหยี นอาเจยี น ปวดทอง มีสรรพคณุ และวิธใี ชเ หมอื นกัน โดยมฤี ทธิ์ชวยยอ ย
อาหาร แกท องเสีย ใชร ักษาอาการธาตุพิการ แกบิดข้ันรุนแรง เมล็ดหมากผัดจะมีฤทธ์ิแรงกวา เมล็ดหมาก
และเมลด็ หมากผดั เกรยี ม โดยทวั่ ไปคนท่ีมีรา งกายแขง็ แรงจะใชเ มลด็ หมากผดั สําหรับคนท่มี รี า งกายไม
แขง็ แรงจะใชเ มลด็ หมากผัดเกรยี ม4
สรรพคุณตามตาํ ราการแพทยแ ผนไทย:

เมล็ด รสขมฝาด ทําใหเจรญิ อาหาร กลอ มประสาท ขบั เสมหะ แกเ มาเหลา อาเจยี นอยา งแรง
ไอ สมานแผล3
ขนาดท่ใี ชและวธิ ใี ช:

การแพทยแ ผนจีน ใช 3-9 กรัม ตม เอาน้ําด่ืม1
การแพทยแ ผนไทย ใช 5-10 กรมั (ถา ใชข บั พยาธิ ใช 60-90 กรมั ) ตม กนิ หรือบดเปนผงทํา
เปน ยาเม็ดหรอื ยาผงกนิ ใชภ ายนอกตม ชะลา งหรอื บดเปนผงผสมทา3
ขอหามใช ขอควรระวงั และอาการขา งเคยี ง:
การแพทยแผนไทย หามใชในผปู วยที่มรี างกายออนแอ หรือหลงั จากทองเสียหรอื เปน มาลาเรยี 3
ขอ มูลวิชาการท่เี ก่ียวขอ ง:
1. สาร arecoline ในเมล็ดมฤี ทธิข์ บั พยาธิ ตอพยาธติ ัวตดื ในหมู ทําใหพยาธทิ งั้ ตวั เปน อัมพาต
ตอตืดววั ทาํ ใหสวนหัวและขอ ที่ยงั ไมแ กเปน อมั พาตตอ ปลอ งตรงกลางและทา ยท่เี ปนสวนผสมพันธุ มี


Click to View FlipBook Version