The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by CHATWATCHARA, 2022-12-15 02:12:31

หลักสูตร ม_2

หลักสูตร ม_2

คำนำ

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เม่อื วันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551ในปงี บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธกิ ารไดก้ าหนด
แผนยทุ ธศาสตรใ์ นการขับเคล่อื นนโยบายทางการศกึ ษา เพ่อื เพ่ิมศักยภาพและขดี ความสามารถในการแข่งขัน
ใหป้ ระชาชนไดม้ ีอาชีพท่ีสามารถสรา้ งรายไดท้ ี่มัง่ ค่ังและมั่นคง เป็นบุคลากรท่ีมีวนิ ัยเปีย่ มไปดว้ ยคุณธรรมและ
จริยธรรมและมจี ติ สานกึ รบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื สานกั งาน กศน.จงึ ได้ปรบั ปรุงหลักสูตรการศึกษานอก
ระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ขนึ้ ใหม่เพื่อใหส้ อดคลอ้ งตอบสนองนโยบาย
กระทรวงศึกษาธกิ าร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
อาเภอเมืองอา่ งทอง จงึ ได้จดั ทาหลักสตู รสถานศกึ ษา ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั
พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2555) เป็นกรอบและทศิ ทางในการจดั การเรียนการ
สอนของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองอา่ งทอง ไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ก่ี าหนดในหลักสตู ร

ปจั จบุ นั สงั คมและสภาพบา้ นเมอื งมีการเปลีย่ นแปลงเป็นอย่างมาก มผี ลทาให้ต้องมีการ
ปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
พุทธศักราช 2551 ให้เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาปัจจบุ นั สภาพปัญหาในชุมชน สงั คมภมู ปิ ัญญา
ทอ้ งถน่ิ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งอา่ งทอง จงึ ได้ดาเนินการพฒั นา
หลกั สตู รสถานศึกษาขึ้นเพ่อื ให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษานาไปใชเ้ พ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กป่ ระชาชนใน
ชมุ ชนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ในการน้ี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองอ่างทอง
ไดด้ าเนินการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา โดยอาศยั แนวทางตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) และขอขอบคณุ ในความ
รว่ มมอื อยา่ งดียิ่งจากคณะครู กรรมการสถานศึกษา ผ้นู าชมุ ชน ในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ สร็จ
สนิ้ สมบรู ณ์มาในโอกาสน้ี

(นางปุณนภา เชิดเพชรรตั น์)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองอา่ งทอง

(นายกิตติ ต้องประสงค)์
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

สำรบญั 1
4
เรอ่ื ง หน้ำ 4
คานา 4
สารบญั 4
บรบิ ทพน้ื ฐาน 5
ประวัติความเปน็ มาของจงั หวัดอา่ งทอง 5
5
นโยบายพฒั นาของจงั หวดั อ่างทอง 6
วสิ ัยทศั น์ 6
พนั ธกจิ 6
ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวัด 6
7
ขอ้ มูลอาเภอเมืองอ่างทอง 7
สภาพภมู ศิ าสตร์ 7
8
ประวตั คิ วามเปน็ มาของอาเภอ 8
ตาแหน่งทีต่ ้ัง 8
อาณาเขต 9
แผนท่อี าเภอ 9
ลกั ษณะภูมิอากาศ 10
การปกครอง 10
ลกั ษณะประชากร 11
สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชพี 11
ขอ้ มูลสถานศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองอ่างทอง 11
ชอ่ื สถานศกึ ษา 11
ประวัติความเปน็ มาของสถานศึกษา
สงั กัด
บคุ ลากร
คณะกรรมการสถานศึกษา
กศน.ตาบล
แหลง่ เรียนรู้ทีส่ าคญั ในชมุ ชน
เป้าหมายการจดั การศกึ ษา
ปรัชญา
วสิ ยั ทศั น์

สำรบัญ(ตอ่ ) หน้ำ
12
เรือ่ ง 12
พนั ธกจิ 12
หลกั การ 13
จดุ หมายของหลกั สูตร 13
กลุ่มเปา้ หมาย 13
13
กรอบโครงสรา้ ง 13
ระดบั การศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น 14
สาระการเรยี นรู้ 14
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต 14
มาตรฐานการเรียนรู้ 14
เวลาเรยี น 15
หนว่ ยกติ 20
โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น 21
23
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 27
สาระทักษะการเรียนรู้ 35
36
ผงั มโนทัศน์ 38
มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั 39
คาอธบิ ายรายวชิ าบังคับและรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวชิ าบังคับ 42
48
สาระความรูพ้ ้นื ฐาน 49
ภาษาไทย 50
ผังมโนทัศน์ 52
58
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวงั 59
คาอธิบายรายวิชาบังคับและรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาบงั คบั 60
คณติ ศาสตร์ 62
ผงั มโนทัศน์
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง
คาอธิบายรายวิชาบังคบั และรายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชาบงั คับ
ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ผงั มโนทศั น์
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง
คาอธบิ ายรายวิชาบงั คบั และรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาบังคบั

สำรบญั (ต่อ)

เรื่อง หน้ำ
วิทยาศาสตร์ 76
77
ผังมโนทศั น์ 78
มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวงั 80
คาอธบิ ายรายวชิ าบังคบั และรายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ าบังคับ 92
คาอธบิ ายรายวชิ าเลอื กบงั คับและรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาเลอื กบังคบั 101
102
สาระการประกอบอาชีพ 104
ผงั มโนทศั น์ 107
119
มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง 120
คาอธิบายรายวชิ าบังคับและรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชาบังคับ 122
สาระทกั ษะการดาเนินชีวติ 125
ผงั มโนทัศน์ 137
มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั 138
คาอธบิ ายรายวิชาบงั คับและรายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชาบงั คบั 139
สาระการพัฒนาสังคม 143
ผงั มโนทัศน์ 157
มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวัง 171
คาอธิบายรายวชิ าบังคบั และรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชาบังคบั 172
คาอธิบายรายวชิ าเลือกบังคบั และรายละเอียดคาอธิบายรายวิชาเลือกบังคับ 172
แผนการลงทะเบียนเรยี น 187
วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ 174
การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 175
ส่ือการเรียนรู้ 175
การเทียบโอน 176
การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
การจบหลักสูตร
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
บรรณานกุ รม
คณะผจู้ ัดทา

1

ประวัตคิ วามเป็นมาของจังหวัดอ่างทอง
จงั หวดั อ่างทองในอดีตน้นั มีผู้คนอาศยั อยมู่ านานหลายรอ้ ยปี เพราะทอ้ งท่ขี องอา่ งทองเปน็ ท่รี าบล่มุ

ลกั ษณะคล้ายอ่าง ไม่มีภูเขา ปุา หรือแร่ธาตุ ไดร้ บั การหล่อเลี้ยงจากแมน่ ้า 2 สาย คือ แม่น้าเจ้าพระยาและแมน่ า้
นอ้ ย ซง่ึ ประชาชนส่วนใหญไ่ ด้อาศยั ทา้ การเพาะปลกู อุปโภคบริโภค และคมนาคมตลอดมา เมืองอา่ งทอง ได้
ชอ่ื นีม้ าจากไหน มกี ารสนั นษิ ฐานเปน็ 3 นัย

นัยแรกเช่อื ว่า คา้ ว่า "อ่างทอง" นา่ จะมาจากลกั ษณะทางกายภาพของพ้ืนทีน่ ้ี คอื เป็นทีร่ าบลุ่มเปน็
แอง่ คล้ายอา่ ง ซ่งึ เต็มไปดว้ ยทงุ่ นาทอี่ อกรวงเหลอื งอร่ามเหมือนทอง จึงเป็นท่ีมาของชอ่ื จังหวดั อ่างทอง
และ ดวงตราของจงั หวดั เป็นรปู รวงขา้ วสีทองอยใู่ นอา่ งน้า ซ่งึ มคี วามหมายถงึ ความอดุ มสมบูรณด์ ว้ ยพืชพนั ธ์ุ
ธัญญาหารและเปน็ อู่ข้าวอนู่ ้า

นัยทสี่ อง เช่อื วา่ "อ่างทอง " นา่ จะมาจากชื่อของหมูบ่ ้านเดมิ ท่ีเรยี กวา่ "บางคา้ ทอง " ตามคา้
สนั นิษฐานของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) สมหุ เทศาภิบาล มณฑลอยธุ ยา เมอื่ คร้งั ทกี่ ราบทูลพระ
บาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ในคราวเสด็จประพาสล้าแมน่ ้านอ้ ยและล้าแมน่ า้ ใหญใ่ น พ.ศ. 2459 วา่ ช่อื
ของเมืองอ่างทองก็จะมาจากชอ่ื บางค้าทอง ซ่ึงแต่งตง้ั คร้งั กรุงเก่า วา่ ด้วยตามเสด็จพระราชด้าเนนิ เมือง
นครสวรรคข์ องสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากกรงุ เกา่ "ลุถงึ บางน้าช่ือ คา้ ทอง น้าปวุ นเป็นฟอง คว่างคว้าง" และ
บางกระแสก็วา่ อาจเพย้ี นมาจากช่อื ของแม่น้าลา้ คลองในย่านนั้น ท่ีเคยมชี อื่ ว่า "ปากนา้ ประค้าทอง " ซง่ึ เป็นทาง
แยกแม่น้าหลังศาลากลางจังหวัด และส่วนในเขา้ ไปเรยี กวา่ "แมน่ า้ สายทอง" ซง่ึ ปัจจุบนั ตื้นเขินใชไ้ มไ่ ด้แล้ว

นยั ท่สี ามเชอื่ วา่ ชือ่ อ่างทองนา่ จะมาจากชอ่ื บ้านอา่ งทอง ซงึ่ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา
ดา้ รงราชานุภาพ ทรงกล่าวไวใ้ นหนังสอื ชมุ นมุ พระนิพนธเ์ รือ่ งสรา้ งเมืองไวต้ อนหน่งึ ว่า “เมอื งอ่างทองดเู หมือนจะ
ตัง้ เม่ือครั้งสมเดจ็ พระนเรศวร เดิมช่ือเมืองว่า วิเศษชยั ชาญ ต้ังอยู่รมิ แมน่ ้านอ้ ย ที่ลงมาจากนครสวรรค์ อยู่มา
แม่น้านอ้ ยต้ืนเขนิ ฤดแู ลง้ ใช้เรือไมส่ ะดวก ยา้ ยเมืองออกมาต้งั ริมแม่นา้ เจา้ พระยาทบี่ ้านอ่างทองจงึ เปล่ียนช่ือเปน็
เมอื ง "อ่างทอง"

ถึงแมว้ า่ ชอ่ื ของจังหวัดอ่างทอง จะไดม้ าตามนยั ใดกต็ าม ชอ่ื อา่ งทองนเ้ี ป็นชอ่ื ทเ่ี ร่ิมมาในสมยั กรงุ
ธนบุรีหรอื สมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น คอื เม่ือประมาณ 200 ปที ผี่ า่ นมา ย้อนกลบั ไปในอดตี สมัยกรงุ ศรอี ยุธยาเปน็
ราชธานีนน้ั อา่ งทองเป็นท่ีรู้จกั ในนามของเมืองวเิ ศษชยั ชาญ ดงั นนั้ การศึกษาความเปน็ มาทางประวัติศาสตรข์ อง
เมืองอ่างทองน้นั หมายถึงการศกึ ษาความเปน็ มาของดินแดนแถบน้ียอ้ นกลับไปกว่า 1 พนั ปี เป็นสมัยทีช่ ื่อเสียง
ของเมอื งอ่างทองยังไมป่ รากฏ แต่มหี ลกั ฐานแน่ชัดวา่ มีดินแดนแถบนี้มานานแลว้ และอาจจะสรปุ ไดว้ ่าดินแดนน้ี
มลี กั ษณะเดน่ ชดั อย่างน้อย 2 ประการ คอื ความอุดมสมบูรณท์ ่ีเหมาะแก่การทา้ เกษตรกรรม ทา้ ให้มีมนษุ ย์ตง้ั
หลกั ฐานอย่กู ันมานานนับพัน ๆ ปี และเป็นดินแดนทม่ี ีความส้าคัญในแงก่ ารเปน็ ยทุ ธศาสตร์โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ใน
สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา
จังหวดั อา่ งทองในสมยั ทวารวดีได้ มีผคู้ นเข้ามาต้ังถิ่นฐานเป็นเมืองแล้ว แต่เปน็ เมืองไมใ่ หญโ่ ตนัก
หลักฐานท่ยี ังเหลืออยู่ในปัจจุบันก็คือ คูเมืองทบ่ี า้ นคเู มือง ต้าบลหว้ ยไผ่ อา้ เภอแสวงหา ซึ่งนายบาเซอเลยี

2

นกั โบราณคดชี าวฝรั่งเศส และเจ้าหนา้ ทก่ี รมศลิ ปากรไดส้ ้ารวจพบ สนั นิษฐานวา่ เปน็ เมืองโบราณสมัยทวาราวดี

ปจั จบุ ันน้ีบ้านคูเมอื งอยหู่ ่างจากทวี่ า่ การอา้ เภอแสวงหาไปทางทิศเหนอื 4 กโิ ลเมตร ในสมัยสโุ ขทยั ก็เขา้ ใจวา่ มี

ผ้เู ข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่อาศยั เช่นกัน และดนิ แดนอา่ งทองไดร้ บั อิทธพิ ลจากสโุ ขทัยดว้ ย โดยการสังเกตจากลกั ษณะ

ของพระพุทธรูปส้าคญั ในทอ้ งถ่ินท่ีอ่างทองมีลกั ษณะเป็นแบบสโุ ขทัยหลายองค์ เช่น พระพทุ ธไสยาสน์ วัดขนุ อินท

ประมลู อ้าเภอโพธทิ์ อง และพระพุทธไสยาสนว์ ดั ปุาโมกวรวิหาร อ้าเภอปาุ โมก เปน็ ต้น

ต่อมาในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยาระยะต้น ๆ สนั นิษฐานว่าอ่างทองคงเป็นชานเมอื งของกรุงศรีอยธุ ยา เพง่ิ จะ

ยกฐานะเปน็ เมอื งมีชื่อว่า "แขวงเมอื งวเิ ศษชัยชาญ " เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 2127 โดยในพระราชพงศาวดารได้

กล่าวถงึ ชอ่ื เมอื งวิเศษชยั ชาญเป็นครงั้ แรกว่า สมเด็จพระนเรศวรเม่อื ครง้ั ยังทรงเป็นมหาอปุ ราชและสมเด็จ พระ

เอกาทศรถ ได้เสดจ็ ยกกองทบั ไปรบกับพระยาพะสิมทีเ่ มอื งสพุ รรณบรุ ี พระองคไ์ ดท้ รงเสด็จโดยทางเรอื จากกรุงศรี

อยธุ ยา ไปทา้ พธิ ีเหยียบชิงชยั ภูมติ ดั ไมข้ ม่ นาม ท่ีตา้ บลลมุ พลี พระองค์ไดท้ รงเสด็จไปประทับทแ่ี ขวงเมอื งวเิ ศษชัย

ชาญอันเป็นท่ชี ุมพล จงึ สนั นิษฐานว่า เมอื งวิเศษชัยชาญไดต้ ้ังเมืองในแผ่นดนิ พระมหาธรรมราชา ตวั เมอื งวิเศษชัย

ชาญสมยั นั้นต้ังอยูท่ างลา้ แมน่ ้านอ้ ย ฝงั่ ตะวนั ออก หมูบ่ ้านตรงน้นั ปัจจบุ นั ยงั เรยี กว่า "บา้ นจวน" แสดงวา่ เป็นทต่ี งั้

จวนเจา้ เมืองเดมิ ต่อมา สภาพพื้นทแ่ี ละกระแสนา้ ในแควน้าน้อยเปลยี่ นแปลงไป การคมนาคมไปมาระหวา่ งแม่น้า

น้อยกับแม่น้าใหญ่ (คือแมน่ า้ เจ้าพระยา) เดนิ ทางตดิ ตอ่ ไมส่ ะดวก จึงยา้ ยที่ตงั้ เมอื งไปอยู่ที่ตา้ บลบ้านแห ตรงวดั

ไชยสงคราม (วัดกระเจา) ฝั่งขวาหรอื ฝ่งั ตะวนั ตกของแม่น้าเจ้าพระยา พร้อมกับขนานนามให้เป็นสิริมงคลแก่

เมืองใหมว่ ่า "เมอื งอา่ งทอง" ส่วนเมอื งวเิ ศษชัยชาญยังคงเป็นเมืองอยู่ตลอดมาจนถงึ พ.ศ. 2439 จงึ ลดลงเป็น

อา้ เภอ เรยี กวา่ อ้าเภอไผ่จา้ ศลี ภายหลงั จึงเปลย่ี นชอ่ื เปน็ อ้าเภอวิเศษชัยชาญ จนถึงปัจจบุ ัน

กาลล่วงมาถงึ พ.ศ. 2356 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัยได้ โปรดเกลา้ ฯ ให้พระยาภธู รส

มุหนายกไปเปน็ แมก่ องท้าการเปดิ ทา้ นบกน้ั น้าทีห่ น้าเมอื งอา่ งทอง เพือ่ ให้น้าไหลไปทางคลองบางแกว้ แตไ่ มส่ า้ เร็จ

จึงยา้ ยเมืองอ่างทองไปตง้ั ทป่ี ากคลองบางแก้ว ต้าบลบางแก้ว ทอ้ งทอ่ี า้ เภอเมืองอ่างทองฝ่ังซ้ายของแม่น้าพระยา

จนถงึ ปจั จบุ นั น้ี

เมอื งอา่ งทองมที ้องทต่ี ่อเนอื่ งกับกรุงศรีอยุธยา เสมอื นเปน็ เมอื งทีต่ ง้ั อยูช่ านเมอื งหลวง จึงมี

ประวัตศิ าสตร์ เก่ยี วเน่อื งกันหลายตอน เฉพาะท่สี า้ คัญ ๆ มีดังน้ี ราว พ.ศ. 2122 ญาณพเิ ชียรมาซอ่ มสุมคนใน

ต้าบลย่ลี ้น ขุนศรีมงคลแขวง สง่ ข่าวกบฎนน้ั มาถวายสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาโปรดให้พระยาจกั รยี กก้าลังไป

ปราบปราม ตง้ั ทพั ในตา้ บลมหาดไทย ญาณพเิ ชยี รและพรรคพวกกเ็ ข้าสรู้ บกับพระยาจกั รี เจ้าพระยาจักรเี สยี ชวี ติ

ในการสูร้ บ พวกชาวบา้ นกเ็ ขา้ เปน็ พวกญาณพเิ ชยี ร ญาณพเิ ชยี รตดิ เอาเมอื งลพบรุ ี กย็ กก้าลงั ไปปล้นเมอื งลพบุรี

จงึ เกิดรบกับพระยาสีหราชเดโช ญาณพเิ ชยี รถูกยิงตาย พรรคพวกกบฏก็หนกี ระจดั กระจายไป กบฏญาณพิเชยี ร

นับวา่ เป็นเหตกุ ารณ์สา้ คญั มากเหตุการณ์หนง่ึ ทชี่ าวบา้ นยีล่ ้นและชาวบา้ นมหาดไทย แขวงเมอื งวเิ ศษชยั ชาญเข้า

ไปเก่ียวขอ้ งด้วย พ.ศ. 2128 พระเจา้ เชียงใหม่ยกกองทพั มาตง้ั ท่ีบ้านสระเกศ ท้องทีต่ า้ บลไชยภูมิ อา้ เภอไชโย

สมเดจ็ พระนเรศวรกับพระเอกาทศรถยกกองทัพไปถึงตา้ บลปาุ โมก กพ็ บทหารพมา่ ซึ่งลงมาเทีย่ วรังแกราษฎรทาง

เมอื งวเิ ศษชัยชาญ จึงไดเ้ ข้าโจมตที หารพม่าล่าถอยไป พระเจา้ เชียงใหม่จงึ ได้จดั กองทพั ยกลงมา สมเด็จพระ

3

นเรศวรจึงด้ารสั ส่ังให้พระราชมนูคุมกองทพั ข้นึ ตระเวนดูกอ่ น กองทัพพระราชมนไู ปปะทะกับกองทพั พมา่ ท่ีบ้าน
บางแกว้ สมเดจ็ พระนเรศวรเสด็จข้นึ ไปถึงบา้ นแห จึงมดี ้ารสั ให้ขา้ หลวงขึน้ ไปส่ังพระราชมนใู ห้ท้าเป็นถอยทพั
กลับมา แล้วพระองคก์ ็โอบล้อมรุกไลต่ ีทัพพมา่ แตกทงั้ ทัพหนา้ และทพั หลวง จนถึงท่ีตัง้ ทัพพระเจ้าเชียงใหมท่ บ่ี า้ น
สระเกศ กองทัพของพระเจา้ เชยี งใหมจ่ งึ แตกพา่ ยกลับไป พ.ศ. 2130 พระเจ้ากรุงหงสาวดยี กทัพมาล้อมกรุงศรี
อยุธยา ทหารไทยไดเ้ อาปนื ลงเรือสา้ เภาข้ึนไประดมยิงค่ายหลวงพระเจา้ หงสาวดี จนพระเจ้าหงสาวดที นไมไ่ หว
ต้องถอยทัพหลวงกลับขึ้นไปต้ังปุาโมก สมเด็จพระนเรศวรเสดจ็ โดยขบวนทพั เรอื ตามตกี องทัพหลวงของพระเจา้
หงสาวดไี ปจนถึงปาุ โมก จนพมา่ แตกพา่ ยถอยทัพกลับไป พ.ศ. 2135 สมเด็จพระนเรศวรกบั พระเอกาทศรถยก
ทัพจากกรุงศรีอยธุ ยาไปตั้งที่ท่งุ ปาุ โมก แล้วยกทัพหลวงไปเมืองสุพรรณบุรีทางบา้ นสามโก้ และทรงกระทา้ ยทุ ธ
หัตถกี บั พระมหาอุปราชาทตี่ า้ บลตระพังตรุ หนองสาหรา่ ย อ้าเภอดอนเจดยี ์ เมอื งสุพรรณบรุ ี จนมีชยั ชนะยุทธ
หัตถีในคร้ังนนั้ พ.ศ. 2147 สมเด็จพระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถยกกองทัพไปตีกรุงองั วะ เสด็จเข้าพกั
พลท่ตี ้าบลปุาโมก แล้วเสด็จไปทางชลมารค ขึน้ เหยียบชยั ภมู ิตา้ บลเอกราช อ้าเภอปุาโมก ตดั ไม้ขม่ นามตามพระ
ราชพธิ ีของพราหมณ์แลว้ ยกทพั ไป แต่สวรรคตเสียที่เมอื งหางหรอื เมอื งหา้ งหลวง สมเด็จพระเอกาทศรถน้าพระ
บรมศพกลับกรงุ พรอ้ มดว้ ยพระเกียรติและในสมยั แผ่นดินสมเดจ็ พระศรีสรรเพชญ์ท่ี 8 (พระเจา้ เสือ) พระองคไ์ ด้
ปลอมพระองค์เป็นสามัญชนไปในงานฉลองพระอาราม ได้ทรงชกมวยไดช้ ยั ชนะถงึ 2 ครั้ง สถานทที่ รงเสดจ็ ไปก็
คอื บา้ นพระจันตชนบท แขวงเมืองวเิ ศษชัยชาญ เชอื่ กันว่างานฉลองวัดท่ีเสดจ็ ไปนัน้ อาจเป็นวดั โพธ์ถิ นนหรอื วดั
ถนน ซึ่งเปน็ วัดรา้ งอยใู่ นตา้ บลตลาดกรวด (อา้ เภอเมืองอา่ งทอง) นัน่ เอง ซึ่งเหตกุ ารณ์ดังกล่าวช้ีใหเ้ หน็ วา่ ดินแดน
ของอ่างทองยังคงความสา้ คญั ตอ่ เมอื งหลวง คอื กรุงศรอี ยุธยา เมื่อมีงานนักขัตฤกษข์ องสามัญชนทเี่ ล่อื งลือ เข้า
ไปถงึ พระราชวังในเมืองหลวง แม้แตพ่ ระมหากษัตริยก์ ท็ รงสนพระทัยทีจ่ ะทอดพระเนตรและทรงเข้ารว่ มดว้ ยกนั
อย่างสามัญพ.ศ. 2269 ในสมยั แผ่นดนิ สมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวท้ายสระ พระองคไ์ ด้เสด็จไปควบคมุ ชลอพระพุทธ
ไสยาสนว์ ัดปาุ โมก เพราะปรากฏวา่ แมน่ ้าเจา้ พระยาตรงหนา้ วัดปาุ โมก น้าเซาะกดั ตลง่ิ จนทา้ ให้พระวหิ ารพระพุทธ
ไสยาสน์อาจพงั ลงได้ จึงทรงรับสั่งให้ทา้ การชลอพระพุทธไสยาสน์เขา้ ไปประดิษฐานห่างฝ่งั ออกไป 150 เมตร กนิ
เวลาทั้งหมดกว่า 5 เดือน
เนือ่ งจากเมืองอา่ งทองเคยเป็นยุทธภูมิระหวา่ งทหารไทยกบั ทหารพม่าหลายครงั้ จึงมบี รรพบรุ ุษของ
เมืองอา่ งทองได้สร้างวีรกรรมอนั กล้าหาญในการรบกับพมา่ หลายท่าน เชน่ นายแท่น นายโชติ นายอิน และนาย
เมอื ง ทง้ั สีท่ ่านเป็นชาวบ้านสีบัวทอง (ต้าบลสบี ัวทอง อ้าเภอแสวงหาในปจั จบุ นั ) และมีนายดอก ชาวบา้ นกรับ
และนายทองแก้ว ชาวบา้ นโพธ์ทิ ะเล ทัง้ สองทา่ นเปน็ ชาวเมืองวเิ ศษชัยชาญ ไดร้ ว่ มกบั ชาวบา้ นของเมอื งวเิ ศษชยั
ชาญสรู้ บกับพมา่ อย่ทู ี่คา่ ยบางระจนั ซ่ึงสมยั นัน้ อยู่ในแขวงเมอื งวเิ ศษชัยชาญ และสนามรบสว่ นใหญ่อยใู่ นทอ้ งที่
อ้าเภอแสวงหา วีรกรรมอันกลา้ หาญชาญชัยของนักรบไทยคา่ ยบางระจันสมัยนั้น เปน็ ท่ภี าคภมู ใิ จและประทบั อยู่
ในความทรงจา้ ของคนไทยทุกคนตลอดมา ประชาชนชาวเมอื งอ่างทองจึงพรอ้ มใจกันสรา้ งอนสุ าวรยี ์ เพอื่ เป็น
อนุสรณ์แก่นายดอกและนายทองแกว้ ไว้ทบ่ี ริเวณวดั วเิ ศษชัยชาญ อา้ เภอวิเศษชัยชาญ โดยทส่ี มเด็จพระบรม
โอรสาธิราชสยามมกุฎราชกมุ ารเสด็จพระราชดา้ เนินมาทรงกระท้าพิธเี ปดิ อนสุ าวรยี เ์ มอ่ื วนั ที่ 25 มนี าคม พ.ศ.

4

2520 ดังนนั้ ในวนั ที่ 25 มีนาคมของทกุ ปี ชาวเมืองอ่างทองจงึ ไดก้ ระท้าพธิ ีวางพวงมาลาสักการะอนสุ าวรียน์ าย
ดอก นายทองแกว้ เพื่อเป็นการระลึกถงึ คณุ ความดีในวรี กรรมความกล้าหาญของท่านเปน็ ประจ้าทกุ ปี
อกี ครง้ั ของวีรกรรมของนบั รบแขวงเมอื งวิเศษชยั ชาญ คอื ขุนรองปลัดชูกบั กองอาทมาต คือเมือ่ ปี
พ.ศ. 2302 ตรงกับรชั กาลของสมเดจ็ พระที่นั่งสรุ ยิ าศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ขนึ้ ครองราชสมบตั กิ รงุ เทพ
ทวารวดศี รีอยุธยา ในครงั้ นั้น พระเจ้าอลองพญาครองราชสมบตั กิ รุงอังวะรัตนสิงห์ ปกครองพม่ารามัญทัง้ ปวง
พระองค์ให้เกณฑไ์ พร่พล 8000 ให้มงั ฆอ้ งนรธาเป็นนายทัพยกมาตเี มอื งทวาย มะรดิ และตะนาวศรี พระเจ้าเอกทศั
ทรงเกณฑ์พล 5000 แบง่ เปน็ สองทัพ โดยให้พระราชรองเมอื งว่าทอ่ี อกญายมราชคุมทัพใหญพ่ ล 3000 และให้
ออกญารตั นาธเิ บศรค์ มุ ทพั หนุนพล 2000 ในคร้ังน้ันมคี รูฝึกเพลงอาวุธอยู่ในเมืองวิเศษไชยชาญอยูผ่ ้หู นึ่ง ช่อื ครู
ดาบชู ซึง่ ได้รับแตง่ ตงั้ จากสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวบรมโกศใหเ้ ปน็ ปลัดเมืองกรมการเมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้าน
จงึ เรียนว่า ขุนรองปลัดชู น้ากองอาทมาต 400 มาอาสาศึก และไดต้ ดิ ตามไปกบั กองทพั ออกญารตั นาธิเบศร์ เมือ่
เดินทางข้ามพน้ เขาบรรทดั ก็ได้ทราบวา่ เมืองมะรดิ และตะนาวศรีเสียแกข่ ้าศกึ แล้ว จงึ ต้ังทัพรออยูเ่ ฉย ๆ โดยทพั
พระราชรองเมอื งตัง้ อย่ทู ่ีแกง่ ตมุ่ ตอนปลายแม่น้าตะนาวศรี สว่ นออกญารัตนาธเิ บศร์ตงั้ ทพั อยู่ทีเ่ มืองกยุ บรุ ี แตใ่ ห้
กองอาทมาตมาขดั ตาทัพรอทีอ่ ่าวหว้าขาว จากนัน้ สามวันทัพพม่าเขา้ ตที ัพไทยท่แี ก่งต่มุ แตกพา่ ย และยกมาเพื่อ
เข้าตที พั หนนุ กองอาทมาตของ ขุนรองปลดั ชู ไดร้ ับค้าสั่งใหต้ งั้ รับพม่าท่ตี า้ บลหว้าขาวริมทะเล ครัน้ พอเพลาเช้า
ทัพพมา่ 8000 ก็ปะทะกบั กองอาทมาต 400 นาย ทัพทัง้ สองปะทะกันดเุ ดือดจนถึงเท่ียง มิแพช้ นะ แตท่ ัพไทยพล
น้อยกว่าก็เรมิ่ อ่อนแรง ขนุ รองปลัดชูรบจนสิ้นกา้ ลังถูกทหารพมา่ รมุ จับตวั ไป จากนน้ั พมา่ ให้ชา้ งศกึ เข้าเหยยี บย้่า
ทัพไทยล้มตายเปน็ อันมาก กองอาทมาต 400 คนตายแทบจะส้นิ ทั้งทพั เพ่อื ระลึกถึงวีรกรรมของกองอาสาวิเศษ
ไชยชาญในครงั้ น้นั จึงไดม้ กี ารสรา้ งวัดขึ้นเปน็ ทีร่ ะลึกแกน่ กั รบกล้าท้ัง 400 คนโดยเรยี กกนั ว่า "วัดส่ีรอ้ ย"

นโยบายพัฒนาของจงั หวัดอ่างทอง
วสิ ยั ทศั น์

อา่ งทองเมอื งน่าอยู่นา่ เท่ยี วแหลง่ ผลติ อาหารปลอดภัย
พนั ธกจิ
1.พัฒนาจังหวดั อา่ งทองใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่
2.ส่งเสรมิ การผลติ และจาหนา่ ยสนิ คา้ เกษตรและอาหารปลอดภัย
3.พฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องชมุ ชนสู่สากล

4. ยกระดับการท่องเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม
ยุทธศาสตรจ์ งั หวัดอ่างทอง

1. พฒั นาเมอื งนา่ อยสู่ สู่ งั คมม่ันคงและเป็นสขุ
2. พฒั นาผลิตภัณฑ์สูร่ ะดบั มาตรฐานสากล
3. สง่ เสริมการทอ่ งเทีย่ วเชิงวฒั นธรรม

5

ความเช่อื มโยงของตาแหน่งยทุ ธศาสตร์จงั หวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์

หัวข้อวิสยั ทศั น์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์
อ่างทอง ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่๑ 1. พัฒนาเศรษฐกิจคุณภาพชวี ติ ที่ดีของ
เมอื งนา่ อยู่ พฒั นาเมืองน่าอยู่สูส่ ังคมมั่นคงและเป็นสุข ประชาชนสสู่ ังคมม่ันคงและเปน็ สขุ
2. รักษาความสมดลุ ของธรรมชาตสิ ิง่ แวดลอ้ ม
น่าเทย่ี ว ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 และพลังงานเพื่อการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื
สง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม 1. พัฒนาปัจจยั พน้ื ฐานด้านการทอ่ งเที่ยวใหม้ ี
แหล่งผลิตอาหาร คณุ ภาพและมาตรฐาน
ปลอดภยั ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 2. พฒั นาภาพลกั ษณข์ องการทอ่ งเท่ียวจาก
พฒั นาผลติ ภณั ฑส์ ู่ระดับมาตรฐานสากล กิจกรรมการทอ่ งเท่ยี วเชิงรกุ
3. จา้ นวนนกั ทอ่ งเที่ยวท่เี พม่ิ ข้ึน
1. พฒั นาระบบการผลิตจาหนา่ ยสินคา้ เกษตร
อาหารปลอดภยั ใหไ้ ดม้ าตรฐาน
2. พฒั นาผลิตภัณฑช์ มุ ชนใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล
3. เพม่ิ รายไดแ้ ละขยายโอกาสใหแ้ กป่ ระชาชน

ข้อมูลอาเภอเมอื งอา่ งทอง

สภาพทางภมู ศิ าสตร์
อ้าเภอเมอื งอ่างทอง เป็นอ้าเภอหนงึ่ ของจงั หวดั อา่ งทองต้งั อยรู่ มิ ฝ่งั แมน่ า้ เจา้ พระยา ด้านทิศ

ตะวันตก ในเขตเทศบาลเมอื งอ่างทอง สภาพพน้ื ที่ เปน็ ทร่ี าบลมุ่ ไมม่ ภี ูเขา แม่น้าท่สี า้ คัญไหลผ่าน 1 สาย คือ
แมน่ ้าเจา้ พระยา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท้านา ท้าไร่ ท้าสวน และคา้ ขาย นอกจากน้ียังมีการ
ประกอบอาชพี อ่นื ๆ อกี เชน่ การจกั สานผกั ตบชวา การแปรรปู ผลติ ภัณฑเ์ กษตร เป็นต้น

ประวตั คิ วามเป็นมาของอาเภอ
อา้ เภอเมอื งอา่ งทองเดมิ เรยี กวา่ อาเภอเมือง ต้ังอยู่รมิ ฝ่ังตะวันตกของแม่นา้ เจ้าพระยาตรงวัดไชย

สงคราม (วดั กะเขา) ต้าบลบา้ นแห ตอ่ มาในพป.ี ศ. 2356 ทางราชการไดย้ ้ายเมอื งอ่างทองไปตั้งท่บี รเิ วณใต้ปากคลองบาง
แกว้ ต้าบลบางแกว้ ทางฝงั่ ตะวันออกของแมน่ ้าเจ้าพระยา อ้าเภอเมืองจงึ ยา้ ยตามไปด้วย ในพป.ศี . 2460 ได้เปลยี่ นชื่อ
เป็น อาเภอบางแกว้ ตามต้าบลที่ตงั้ และเปลีย่ นชื่อเปน็อาเภอเมืองอ่างทองเมือ่ ปี พ.ศ.2481

6

ตาแหน่งท่ีต้ัง
อ้าเภอเมอื งอ่างทองเป็นอา้ เภอหนงึ่ ของจงั หวดั อา่ งทอง ตง้ั อยู่รมิ ฝั่งตะวันตกของแมน่ ้า

เจา้ พระยาอา้ เภอเมอื งอ่างทองหา่ งจากจังหวดั ประมาณ 1 กโิ ลเมตร และหา่ งจากกรุงเทพมหานครประมาณ 110
กโิ ลเมตร
อาณาเขต

อ้าเภอเมอื งอา่ งทองมเี นอ้ื ทท่ี ัง้ สน้ิ 104.161 ตารางกิโลเมตรโดยมีอาณาเขตตดิ ต่อดังนี้
ทิศเหนือ ติดตอ่ อา้ เภอไชโย จงั หวัดอา่ งทอง
ทิศใต้ ตดิ ต่อ อ้าเภอปุาโมก จังหวดั อา่ งทอง
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อ อ้าเภอมหาราช จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
ทิศตะวนั ตก ติดต่อ อา้ เภอวเิ ศษชัยชาญ จงั หวดั อ่างทอง
แผนทอ่ี าเภอเมอื งอ่างทอง

ลักษณะภูมิอากาศ

อ้าเภอเมืองอ่างทอง อยู่ภายใต้อทิ ธิพลของมรสุม 2 ชนดิ คือมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื ซ่งึ พดั จาก

ทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ปกคลมุ ในชว่ งฤดูหนาวท้าให้อา้ เภอเมืองอา่ งทองประสบกับสภาวะหนาวเย็นและแหง้ กบั

มรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ซ่งึ พัดปกคลุมในชว่ งฤดูฝนทา้ ให้มฝี นและอากาศชมุ่ ชน้ื

7

การปกครอง
อ้าเภอเมอื งอา่ งทองแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 ส่วนคือ

1. การปกครองส่วนภูมิภาคมีการแบง่ เขตการปกครองเปน็ 14 ต้าบล 81 หมู่บา้ น คอื
1. ตา้ บลบา้ นรี แบ่งออกเป็น 4 หมบู่ า้ น 2. ต้าบลตลาดกรวด แบง่ ออกเป็น 6 หม่บู ้าน
3. ต้าบลบา้ นอิฐ แบ่งออกเป็น 11 หม่บู ้าน 4. ตา้ บลหัวไผ่ แบง่ ออกเป็น 9 หมู่บา้ น
5. ตา้ บลโพสะ แบ่งออกเป็น 8 หมู่บา้ น 6. ต้าบลย่านซอ่ื แบง่ ออกเปน็ 5 หมู่บา้ น
7. ตา้ บลบา้ นแห แบ่งออกเปน็ 6 หมู่บา้ น 8. ตา้ บลศาลาแดง แบ่งออกเปน็ 7 หม่บู า้ น
9. ตา้ บลจ้าปาหลอ่ แบง่ ออกเป็น 7 หม่บู ้าน 10. ต้าบลปาุ งิว้ แบ่งออกเป็น 7 หมู่บ้าน
11. ตา้ บลคลองวัว แบ่งออกเปน็ 5 หมู่บา้ น 12. ตา้ บลมหาดไทย แบง่ ออกเปน็ 6 หมบู่ า้ น
13. ตา้ บลตลาดหลวง (ต้าบลในเขตเทศบาล) 14. ตา้ บลบางแกว้ (ต้าบลในเขตเทศบาล)

2. การปกครองสว่ นท้องถนิ่ ประกอบดว้ ยองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ 11 แหง่ ได้แก่
1. เทศบาลเมอื งอ่างทอง ครอบคลมุ พื้นทีต่ ้าบลตลาดหลวงและต้าบลบางแกว้ ทัง้ ต้าบล รวมทง้ั บางสว่ น

ของต้าบลศาลาแดง ตา้ บลบ้านแห ต้าบลบา้ นอิฐ ตา้ บลโพสะ และต้าบลยา่ นซ่ือ
2. เทศบาลตาบลศาลาแดง ครอบคลุมพืน้ ทีต่ ้าบลศาลาแดง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมอื งอ่างทอง)

3. เทศบาลตาบลโพสะ ครอบคลุมพื้นที่ต้าบลโพสะ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมืองอา่ งทอง)
4. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลป่างิ้ว ครอบคลมุ พ้นื ทตี่ ้าบลปาุ งว้ิ และต้าบลมหาดไทยทงั้ ต้าบล
5. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลบ้านแห ครอบคลมุ พน้ื ท่ตี า้ บลบา้ นแห (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมอื งอา่ งทอง)

6. องค์การบริหารส่วนตาบลตลาดกรวด ครอบคลมุ พืน้ ท่ตี า้ บลตลาดกรวดทง้ั ต้าบล
7. องค์การบริหารส่วนตาบลบา้ นอิฐ ครอบคลมุ พืน้ ท่ตี า้ บลบา้ นอฐิ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมือง

อา่ งทอง) และต้าบลบ้านรที ั้งต้าบล
8. องค์การบริหารส่วนตาบลหัวไผ่ ครอบคลมุ พืน้ ท่ตี ้าบลหวั ไผท่ ้ังตา้ บล
9. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลจาปาหล่อ ครอบคลมุ พื้นทตี่ ้าบลจ้าปาหล่อท้งั ต้าบล
10. องค์การบริหารสว่ นตาบลคลองวัว ครอบคลุมพ้ืนท่ตี ้าบลคลองวัวทั้งต้าบล
11. องค์การบรหิ ารส่วนตาบลยา่ นซ่อื ครอบคลมุ พนื้ ที่ตา้ บลย่านซ่ือ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมอื ง

อา่ งทอง)
ลกั ษณะประชากร
อ้าเภอเมอื งอา่ งทอง มปี ระชากรรวมท้ังส้ิน 56,543 คน แยกเป็นชาย 27,001 คน หญิง

29,542 คน (ขอ้ มูล ณ ธันวาคม 2561)
สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชพี

อาชีพหลกั การเกษตร ผลผลติ ทางการเกษตรที่สา้ คัญ ไดแ้ ก่ ขา้ ว ไม้ผล
อาชีพเสริม การปศสุ ตั วเ์ ลีย้ งนกกระทา ไกพ่ ืน้ เมือง

8

ธนาคาร มี 11 แหง่ ได้แก่
1. ธนาคารออมสนิ
2. ธนาคารกสกิ รไทย
3. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
4. ธนาคารกรงุ เทพ
5. ธนาคารทหารไทย
6. ธนาคารธนชาต
7. ธนาคารกรงุ ศรอี ยุธยา
8. ธนาคารไทยพาณชิ ย์
9. ธนาคารกรุงไทย
10. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
11. ธนาคารพัฒนาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแหง่ ประเทศไทย (SMEs)

ขอ้ มูลสถานศึกษา
ชื่อสถานศึกษา

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อา้ เภอเมอื งอา่ งทองตัง้ อยเู่ ลขที่ 16 หมู่ 6
ตา้ บลศาลาแดง อา้ เภอเมอื งอา่ งทอง จงั หวดั อ่างทอง รหัสไปรษณยี ์ 14000
โทรศพั ท์ 035-610477 โทรสาร 035-610477
E-mail : [email protected]
Facebook : กศน.อา้ เภอเมืองอา่ งทอง
ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา
ศนู ยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี นอา้ เภอเมืองอ่างทอง เป็นสถานศึกษาในราชการบริหาร
ส่วนกลาง สังกดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวดั ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ืองการจัดตง้ั
ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรยี นอ้าเภอ/กงิ่ อ้าเภอ เมอื่ วนั ที่ 27 สิงหาคม 2537 จนถงึ วนั ท่ี 4 มนี าคม
2551 พระราชบญั ญัติสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประกาศใช้ มีผลใหศ้ ูนย์
การศึกษานอกโรงเรียนจงั หวัดอา่ งทอง เปลย่ี นสถานภาพเปน็ สา้ นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดอ่างทอง เรยี กโดยย่อว่า สา้ นักงาน กศน.จังหวดั อ่างทอง และตอ่ มาเมื่อวนั ที่ 10
มนี าคม พ.ศ. 2551 กระทรวงศึกษาธิการประกาศใหส้ ถานศกึ ษาทมี่ คี วามพรอ้ มในการปฏบิ ตั ิภารกจิ ของ
สถานศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหศ้ นู ย์บรกิ ารการศกึ ษา
นอกโรงเรียนอา้ เภอ เปล่ยี นช่ือเปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอา้ เภอ เรียกโดยย่อวา่
“กศน.อ้าเภอ ” สังกัดส้านกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั สา้ นักงาน
สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สา้ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร

9

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร คร้งั แรกตง้ั อยูท่ ี่อาคารเดิมของสหกรณ์ออมทรัพย์ครอู า่ งทอง บริเวณหนา้ ศาลากลางจังหวัด
อา่ งทอง ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2537 – 2540 หลงั จากนนั้ ไดย้ า้ ยไปอยใู่ นอาคารพระปรยิ ัติธรรมศรีเมืองทอง ใน
บริเวณวดั ต้นสน เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เกดิ อุทกภยั ทว่ มอาคาร จงึ ไดย้ ้ายไปเช่าอาคารโรงเรียนพระปรยิ ตั ิ
ธรรมวดั อ่างทองจนถงึ เดือนกันยายน 2550 ไดย้ า้ ยมาอยู่ทอ่ี าคารแสดงสินค้า otop ของเทศบาลเมืองอา่ งทอง
เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 เทศบาลเมอื งอ่างทองมคี วามจ้าเป็นตอ้ งใชอ้ าคารแสดงสนิ คา้ otop กศน.อ้าเภอ
เมืองอา่ งทองจงึ ไดย้ า้ ยมาเชา่ ท่ีอาคารมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา ศูนยอ์ ่างทอง เลขท่ี 16 หมู่ 6 ตา้ บล
ศาลาแดง อ.เมืองอา่ งทอง และได้ย้ายกลับมาอย่ทู ่อี าคารแสดงสินคา้ otop ของเทศบาลเมืองอา่ งทองอีกครัง้
เม่อื เดอื นเมษายน 2563 จนถงึ ปัจจุบนั

สังกัด
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อา้ เภอเมืองอ่างทอง สงั กดั ส้านกั งาน
สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั อ่างทอง ส้านกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยส้านกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

บคุ ลากร จานวน

ประเภท/ตาแหนง่ ตา่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก รวมจานวน
1
ผู้อา้ นวยการสถานศึกษา 1 2
ขา้ ราชการครู 1
บคุ ลากรทางการศกึ ษา -2 - -
ลูกจ้างประจา้ 17
พนกั งานราชการ - 1- - -
ครศู นู ย์การเรยี นชมุ ชน 4
อตั ราจา้ ง - -- - 25

รวมจานวน - 10 7 -

- -- -

4- -

17 8 -

10

คณะกรรมการสถานศกึ ษา

คณะกรรมการสถานศกึ ษาของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อา้ เภอเมอื ง

อา่ งทอง มดี ังตอ่ ไปนี้

1.นายกิตติ ตอ้ งประสงค์ ประธานกรรมการ

2.นายณัฐชัย ตะวนั นา กรรมการ

3.นางสาวจินตนา ช่ืนกมล กรรมการ

4.นายศวิ กร นิรันดร กรรมการ

5.นายวิรุฬห์ กระจายแสง กรรมการ

6.นางสาวนัทธมน เกศางาม กรรมการ

7.นายธวัชชัย สัญญะวริ ี กรรมการ

8.นายสนุ ทร ผดงุ ศลิ ป์ กรรมการ

9.ผอู้ ้านวยการ กศน.อ้าเภอเมอื งอา่ งทอง กรรมการและเลขานุการ

10.นางวลิ าสนิ ี ถรี ะแก้ว ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร

กศน.ตาบล ทตี่ ้ัง ผรู้ ับผดิ ชอบ
กศน.ตา้ บลศาลาแดง หมู่ 4 นายศกั ด์ชิ ยั บุญเปย่ี ม
ช่ือกศน.ตาบล อาคาร อบต.บา้ นอฐิ หมู่ 5 ต.บ้านอฐิ นายมานะ ภัยนริ าศ
กศน.ตา้ บลศาลาแดง อาคารวดั รุ้ง หมู่ 2 ต.บา้ นรี นางสาริณี สุขสเุ มฆ
กศน.ต้าบลบ้านอฐิ อาคารศูนย์ ICT เทศบาลตา้ บลโพสะ นายธติ ิ พ่ึงเพยี ร
กศน.ต้าบลบา้ นรี อาคาร โรงเรยี นวดั โคศุภราช ต.คลองวัว น.ส.สทุ ศิ า บุญอ้น
กศน.ต้าบลโพสะ โรงเรียนวัดไทรย์ หมทู่ ี่ 2 ต.ปาุ ง้ิว นางวิลาสนิ ี ถรี ะแกว้
กศน.ตา้ บลคลองวัว อาคาร อบต.ย่านซอ่ื หมู่ 3 ต.ยา่ นซ่ือ นายวิศรุต แตง่ งาม
กศน.ต้าบลปุาง้วิ
กศน.ต้าบลยา่ นซอื่ ทต่ี ั้ง ผู้รับผิดชอบ
อาคารศูนย์ผู้สงู อายุ หมู่ 2 ต.บ้านแห น.ส.ณตั ิฐญิ า พรหมทอง
ชื่อกศน.ตาบล อาคารแสดงสนิ คา้ OTOP เทศบาลเมอื ง น.ส.ธนภรณ์ ไพรสุวรรณ
กศน.ตา้ บลบ้านแห อวดั่างสทวุ อรรงณเสวริยาราม หมู่ 3 นางนนั ทน์ ภสั ศรีโสภา
กศน.ตา้ บลตลาดหลวง หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดอ่างทอง นางสาวภิรมย์ เฉลาภกั ด์ิ
กศน.ตา้ บลตลาดกรวด ศนู ย์แม่บ้าน ต.จา้ ปาหลอ่ หมู่ 5 น.ส.อรพมิ ล พุดซ้อน
กศน.ตา้ บลบางแกว้ โรงเรยี นวัดเซิงหวาย หมู่ 5 ต.หัวไผ่ ว่าที่ ร.ต.ถาวร กลู วงษ์สวสั ด์ิ
กศน.ต้าบลจ้าปาหล่อ สภา อบต.มหาดไทย หมู่ 3 ต.มหาดไทย นายจิรภทั ร บญุ แคลว้
กศน.ต้าบลหัวไผ่ 14 แห่ง 14 คน
กศน.ต้าบลมหาดไทย

รวมจานวน

11

แหล่งเรียนรทู้ สี่ าคัญในชุมชน

แหล่งเรยี นรูอ้ ืน่ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทต่ี ั้ง
1. ศูนย์การเรยี นรู้หมทู่ ี่ ๑ บ้านบางตาแผ่น กล่มุ อาชีพหัตถกรรม(จกั สานผักตบชวา) ต.คลองวัว
2. ศูนย์สาธติ เศรษฐกิจพอเพยี งมูลนธิ ิเพอื่ นพ่ึง(ภาฯ) แหล่งเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอพยี ง ต.บา้ นรี
ยามยากตามแนวทางพระราชด้ารเิ ศรษฐกิจพอเพียง
3. โครงการพระราชด้าริหนองระหารจีน กลมุ่ อาชีพเกษตรกรรม ต.บ้านอฐิ
4. หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัดอ่างทอง แหลง่ ค้นควา้ /ส่ือตา่ งๆ ต.บางแก้ว
5. ศูนย์เรียนรตู้ น้ แบบเพอื่ นพึ่ง(ภาฯ) ยามยาก ต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ต.บา้ นแห
6. กลมุ่ แมบ่ ้านท้าการบูรแฟนซี กลุ่มอาชีพหตั ถกรรม ต.ศาลาแดง
7. วดั ชา้ ง (วดั ช้างให้) แหลง่ ศึกษาธรรมะ/ปฏิบตั ิธรรม ต.บ้านอิฐ
8. วดั รงุ้ ศาสนสถาน ต.บา้ นรี
9. กลมุ่ แม่บา้ นบา้ นรพี ัฒนา กลุม่ อาชพี หตั ถกรรม ต.บ้านรี
10. วัดเซงิ หวาย โบราณสถาน ต.หวั ไผ่
11. ไรน่ าสวนผสม นางสมจิตร เริงโพธ์ิ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม ต.คลองววั

รวมจานวน 20 แหง่

เป้าหมายการจัดการศึกษา
1. ใหผ้ ้เู รยี นมศี ักยภาพ ด้านการคดิ วเิ คราะหแ์ ละบูรณาการใหส้ อดคลอ้ งกบั ชีวติ ชมุ ชนและสังคมได้

2. ให้ผู้เรยี นมศี ักยภาพเพยี งพอต่อการศกึ ษาต่อ
3. เพ่อื พัฒนาผเู้ รียนใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการผลิตดา้ นการเกษตร ให้มคี วามปลอดภยั ตอ่
ผบู้ รโิ ภค และอนุรกั ษท์ รพั ยากรสิ่งแวดลอ้ ม
4. พัฒนาใหผ้ เู้ รียนมที ักษะการด้าเนินชวี ิตทดี่ ี และสามารถจัดการกบั ชวี ติ ชมุ ชน สังคมไดอ้ ยา่ งมี
ความสุข ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งโดยอนุรักษแ์ ละสบื สานความเป็นไทยของท้องถิ่นให้คงไว้

ปรชั ญา
จัดการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพือ่ การพึง่ พาตนเอง

วสิ ัยทัศน์

ประชาชนอา้ เภอเมืองอา่ งทองได้รับโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ อย่างมคี ณุ ภาพ
สามารถดา้ รงชวี ติ ท่ีเหมาะสมกับชว่ งวัยสอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทกั ษะทจี่ ้าเปน็ ใน
โลกศตวรรษท่ี 21

12

พนั ธกจิ
1. จดั และสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีมคี ุณภาพเพ่ือยกระดับการศกึ ษา

พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลมุ่ เปาู หมายให้เหมาะสมทุกชว่ งวัย พรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลงบรบิ ท
ทางสงั คม และสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ

2. ส่งเสริม สนับสนนุ และประสานภาคีเครือขา่ ย ในการมสี ่วนร่วมจดั การศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต รวมทง้ั การดา้ เนินกิจกรรมของศูนยก์ ารเรียนและแหลง่ การ
เรียนรใู้ นรปู แบบตา่ งๆ

3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการน้าเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ใหเ้ กดิ
ประสทิ ธภิ าพในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหก้ บั ประชาชนอย่างท่ัวถึง

4. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวดั และประเมนิ ผล
ในทุกรูปแบบให้สอดคลอ้ งกับบริบทในปจั จบุ ัน

5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มีประสิทธภิ าพ เพอ่ื มุ่งจัดการศกึ ษา และการ
เรยี นรูท้ มี่ คี ณุ ภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

หลกั การ
หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กา้ หนดหลกั การไว้ดังนี้
1. เปน็ หลกั สตู รทีม่ ีโครงสร้างยดื หยุน่ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรียน และการจดั การเรยี นรโู้ ดยเนน้

การบรู ณาการเน้ือหาใหส้ อดคลอ้ งกับวถิ ชี วี ิต ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล และชุมชน สังคม
2. สง่ เสรมิ ใหม้ ีการเทียบโอนผลการเรยี นจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม

อธั ยาศัย
3. สง่ เสริมให้ผเู้ รยี น ได้พฒั นาและเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ โดยตระหนักวา่ ผเู้ รยี นมคี วามสา้ คัญ

สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ
4. สง่ เสริมให้ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา

จดุ หมายของหลักสูตร
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มุ่งพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมี

คุณธรรม จรยิ ธรรม มสี ติปัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชีพและการเรียนร้อู ย่างตอ่ เนอื่ ง
ซงึ่ เป็นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ท่ตี ้องการ จึงกา้ หนดจดุ หมายดังตอ่ ไปน้ี

1. มีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมที่ดีงามและสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอยา่ งสันตสิ ขุ
2.มีความร้พู ้ืนฐานส้าหรบั การด้ารงชวี ิต และการเรียนรู้ต่อเนือ่ ง

3.มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนดั และตามทันความ
เปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื ง

13

4. มที กั ษะการด้าเนนิ ชีวิตทด่ี ี และสามารถจัดการกบั ชวี ติ ชุมชน สังคมไดอ้ ย่างมีความสุขตามปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

5. มคี วามเข้าใจประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย ภูมใิ จในความเป็นไทย โดยเฉพาะภาษา ศิลปะ วฒั นธรรม
ประเพณี กีฬา ภมู ปิ ญั ญาไทย ความเปน็ พลเมืองดี ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนา ยดึ มั่นในวิถชี ีวติ และการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข

6. มจี ติ สา้ นกึ ในการอนรุ กั ษ์ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
7. เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถงึ แหล่งเรียนรแู้ ละบูรณาการ

ความรู้มาใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ

กลุ่มเปา้ หมาย
ประชาชนทัว่ ไปทไ่ี ม่อยใู่ นระบบโรงเรียน

กรอบโครงสรา้ ง

1. ระดบั การศึกษา

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

2. สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้ประกอบดว้ ย 5 สาระ ดังนี้

1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ เปน็ สาระเก่ียวกบั การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การ

จัดการความรู้ การคิดเปน็ และการวจิ ัยอย่างงา่ ย

2. สาระความรพู้ น้ื ฐาน เปน็ สาระเกยี่ วกับภาษาและการส่อื สาร คณติ ศาสตร์

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

3. สาระการประกอบอาชพี เปน็ สาระเก่ียวกบั การมองเหน็ ช่องทาง และการตดั สินใจประ

กออาชีพ ทักษะในอาชพี การจดั การอาชพี อยา่ งมีคณุ ธรรม และการพฒั นาอาชพี ให้มน่ั คง

4. สาระทักษะการดาเนนิ ชวี ติ เป็นสาระเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สขุ ภาพอนามัย

และความปลอดภยั ในการดา้ เนินชวี ิต ศลิ ปะและสนุ ทรียภาพ

5. สาระการพัฒนาสงั คม เป็นสาระที่เกยี่ วกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

การเมือง การปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง และการพฒั นาตนเอง ครอบครัว

ชมุ ชน สังคม

3. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวติ

กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเปน็ กจิ กรรมที่จดั ขึ้นเพือ่ ให้ผ้เู รียนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม

14

4. มาตรฐานการเรยี นรู้

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กา้ หนด

มาตรฐานการเรยี นรู้ ตามสาระการเรยี นรูท้ งั้ 5 สาระ ทเี่ ป็นขอ้ กา้ หนดคณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดังน้ี

1. มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน เป็นมาตรฐานการ

เรียนรู้ในแต่ละสาระการเรยี นรู้ เมื่อผเู้ รียนเรียนจบหลกั สูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

พุทธศกั ราช 2551

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ เป็นมาตรฐานการเรียนร้ใู นแต่ละสาระการเรยี นรู้ เมอื่ ผู้เรยี น

เรยี นจบในแต่ละระดบั ตามหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

5. เวลาเรียน

ในแตล่ ะระดับใชเ้ วลาเรยี น 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณที ่มี กี ารเทยี บโอนผลการเรยี น ผเู้ รยี น

ต้องลงทะเบยี นเรยี นในสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ภาคเรยี น

6. หนว่ ยกิต

ใชเ้ วลาเรยี น 40 ชัว่ โมง มีค่าเทา่ กับ 1 หน่วยกิต

7. โครงสรา้ งหลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

จ้านวนหน่วยกติ

ที่ สาระการเรยี นรู้ มัธยมศกึ ษาตอนต้น

วชิ าบังคับ วชิ าเลือก

1 ทกั ษะการเรียนรู้ 5

2 ความรู้พน้ื ฐาน 16

3 การประกอบอาชพี 8

4 ทกั ษะการด้าเนนิ ชวี ิต 5

5 การพฒั นาสงั คม 6

รวม 40 16
56 หน่วยกติ

กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต 200 ช่วั โมง

หมายเหตุ วิชาเลอื กในแต่ละระดับ สถานศกึ ษาต้องจัดใหผ้ ูเ้ รียนเรียนรูจ้ ากการท้าโครงงาน

จ้านวนอย่างน้อย 3 หนว่ ยกติ

15

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551

ประกอบดว้ ยสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ดงั นี้

1. สาระทกั ษะการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5 มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

มาตรฐานท่ี 1.2 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคติท่ดี ีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้

มาตรฐานที่ 1.3 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีต่อการจัดการความรู้

มาตรฐานที่ 1.4 มคี วามรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทีด่ ีต่อการคิดเปน็

มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ การวจิ ัยอย่างง่าย

2.สาระความร้พู ้นื ฐาน ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี

มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะพนื้ ฐานเกีย่ วกบั ภาษาและการสอ่ื สาร

มาตรฐานที่ 2.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะพ้ืนฐานเก่ยี วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ

เทคโนโลยี

3. สาระการประกอบอาชีพ ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดงั น้ี

มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ่ีดีในงานอาชพี มองเห็นช่องทางและตัดสนิ ใจ

ประกอบอาชพี ไดต้ ามความตอ้ งการ และศกั ยภาพของตนเอง

มาตรฐานท่ี 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะในอาชพี ทตี่ ัดสินใจเลือก

มาตรฐานท่ี 3.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมีคณุ ธรรม

มาตรฐานท่ี 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพฒั นาอาชีพให้มีความมน่ั คง

4. สาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดงั น้ี

มาตรฐานท่ี 4.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติที่ดเี กย่ี วกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถ

ประยกุ ตใ์ ช้ในการดา้ เนินชีวติ ได้อยา่ งเหมาะสม

มาตรฐานที่ 4.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคติทีด่ เี กีย่ วกับการดแู ล สง่ เสรมิ สุขภาพ

อนามัย และความปลอดภัยในการด้าเนินชีวิต

มาตรฐานที่ 4.3 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติท่ดี เี กย่ี วกับศลิ ปะและสุนทรียภาพ

5. สาระการพฒั นาสงั คม ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน ดังนี้

มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถงึ ความส้าคัญเกย่ี วกบั ภมู ิศาสตร์

ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถน้ามาปรบั ใชใ้ นการด้ารงชวี ติ

มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่า และสืบทอดศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เพื่อ

การอยู่รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข

16

มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดตี ามวิถปี ระชาธิปไตย มีจติ สาธารณะเพื่อความสงบสุข
ของสงั คม
มาตรฐานที่ 5.4 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความส้าคญั ของหลักการพัฒนา และสามารถพัฒนา

ตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สงั คม
หมายเหตุ สาระการเรียนรูค้ วามรูพ้ ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทกั ษะพนื้ ฐานเกีย่ วกับ
ภาษาและการสอ่ื สาร ซ่ึงภาษาในมาตรฐานน้หี มายถึง ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ

17

สาระทักษะการเรยี นรู้

ผงั มโนทศั น์ 18

19

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั บังคับ
มาตรฐานท่ี 1.1 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติทด่ี ีต่อการเรียนรดู้ ้วยตนเอง

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ทีค่ าดหวัง
สามารถวิเคราะหเ์ ห็นความสา้ คัญ และปฏิบัตกิ าร 1. มคี วามสามารถวิเคราะหค์ วามรู้จาก การอ่าน การฟัง
แสวงหาความรูจ้ ากการอา่ น ฟงั และสรุปได้ถูกตอ้ งตาม การสงั เกต และสรุปได้ถูกตอ้ ง
หลกั วชิ าการ 2. สามารถจดั ระบบการแสวงหาความรู้ให้กบั ตนเองได้
3. ปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนในการแสวงหาความรู้เก่ียวกบั
ทกั ษะการอ่าน ทักษะการฟัง และทักษะการจดบนั ทึก
4. สามารถนา้ ความรู้ ความเขา้ ใจในเรอื ง ศักยภาพของ
พืน้ ที่ และ หลกั การพ้ืนฐานตาม ยุทธศาสตร์ 2555
กระทรวงศกึ ษาธิการไป เพมิ่ ขดี ความสามารถ การ
ประกอบอาชีพโดย เนน้ ทีกล่มุ อาชีพใหม่ ให้ แข่งขันได้ใน
ระดบั ทอ้ งถ่นิ

มาตรฐานที่ 1.2 มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ การใชแ้ หล่งเรียนรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวัง
สามารถจา้ แนก จัดล้าดับความสา้ คัญ และเลือกใช้แหล่ง 1. จ้าแนกความแตกตา่ งของแหล่งเรยี นรู้ และตดั สินใจ
เรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลอื กใชแ้ หลง่ เรียนรู้
2. เรยี งล้าดบั ความส้าคัญของแหล่งเรียนรู้ และจดั ท้า
ระบบในการใชเ้ รยี นรขู้ องตนเอง
3. สามารถปฏิบตั ิการใชแ้ หลง่ เรียนรตู้ ามขัน้ ตอนได้อยา่ ง
ถกู ตอ้ ง
4. สามารถเลือกใช้ แหลง่ เรียนรู้ ด้าน เกษตรกรรม
อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม ความคดิ สรา้ งสรรค์การ
บริหารจัดการและ การบริการเกยี่ วกบั อาชีพ ของพื้นที่ท่ี
ตนเองอาศยั อยูไ่ ด้ตามความต้องการ

20

มาตรฐานท่ี 1.3 มีความรู้ความเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีต่อการจัดการความรู้

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
สามารถจ้าแนกผลท่ีเกิดขนึ้ จากขอบเขตความรู้ ตัดสิน 1. วเิ คราะหผ์ ลที่เกิดขน้ึ ของขอบเขตความรู้ ตดั สนิ
คุณคา่ กา้ หนดแนวทางพฒั นา คณุ คา่ ก้าหนดแนวทางพฒั นา
2. เห็นความสมั พนั ธข์ องกระบวนการจัดการความรู้ กบั
การนา้ ไปใชใ้ นการพฒั นาชมุ ชน
3. ปฏบิ ัติตามกระบวนการการจดั การความรไู้ ดอ้ ย่างเปน็
ระบบ
4. สามารถนา้ กระบวนการจัดการ ความรู้ ของชุมชน
จา้ แนก อาชพี ในดา้ นต่าง ๆ ของ ชุมชน คอื
เกษตรกรรมอตุ สาหกรรม พณิ ชยกรรม ความคิด
สร้างสรรค์ การบริหารจดั การ ได้อยา่ งถูกต้อง

มาตรฐานท่ี 1.4 มคี วามรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะ และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การคิดเป็น

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั
ความสามารถในการศกึ ษา เลอื กสรร จัดเกบ็ และการ 1. อธบิ ายหรือทบทวนปรัชญาคดิ เป็นและลักษณะของ
วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ ้อมูลท้ังสามประการ และการใช้ ข้อมูลด้านวชิ าการ ตนเอง สังคม ส่งิ แวดล้อม ทีจ่ ะนา้ มา
เทคนคิ ในการฝกึ ทกั ษะ การคดิ เปน็ เพื่อใชป้ ระกอบการ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์เพ่ือประกอบการคิด การ
ตดั สินใจแกป้ ญั หา ตัดสินใจแกป้ ัญหา
2. จา้ แนก เปรยี บเทยี บ ตรวจสอบข้อมลู ด้านวชิ าการ
ตนเอง สังคมสงิ่ แวดลอ้ มท่ีจดั เกบ็ และทักษะในการ
วิเคราะห์ สังเคราะหข์ อ้ มูลทง้ั สามด้าน เพื่อประกอบการ
ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหา
3. ปฏบิ ัตติ ามเทคนคิ กระบวนการคดิ เปน็ ประกอบการ
ตดั สนิ ใจไดอ้ ย่างเป็นระบบ
4. สามารถน้าความรู้ ความเข้าใจในเรอื ง ศกั ยภาพของ
พื้นที และ หลักการพ้ืนฐานตาม ยทุ ธศาสตรต์ าม
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไปเพมิ่ ขีดความสามารถการ
ประกอบอาชีพโดยเน้นท่ี กลมุ่ อาชีพใหม่ ให้ แขง่ ขันได้ใน
ระดบั ชาติ

21

มาตรฐานท่ี 1.5 มีความรู้ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และเจตคติที่ดีตอ่ การวิจัยอย่างง่าย

มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
สามารถวเิ คราะหป์ ัญหา ความจา้ เป็น เห็นความสมั พนั ธ์ 1. ระบุปัญหา ความจ้าเปน็ วัตถปุ ระสงค์ และประโยชน์
ของกระบวนการวิจยั กบั การนา้ ไปใชใ้ นชวี ติ และ ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั จากการวจิ ยั และสืบคน้ ขอ้ มลู เพอื่ ทา้
ด้าเนนิ การวจิ ัยทดลองตามข้ันตอน ความกระจ่างในปัญหาการวิจัย รวมท้ังก้าหนดวธิ ีการหา
ความรคู้ วามจริง
2. เห็นความสมั พนั ธ์ของกระบวนการวจิ ัยกับการน้าไปใช้
ในชวี ติ
3. ปฏิบัติการศกึ ษา ทดลอง รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูล
และสรปุ ความรู้ความจรงิ ตามข้ันตอนไดอ้ ย่างถกู ต้อง
ชดั เจน

มาตรฐานท่ี รหสั วิชา รายวิชาบงั คบั 22
ทร 21001
1.1 สาระทกั ษะการเรยี นรู้ หนว่ ยกิต
1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 5
1.3
1.4 รายวชิ า
1.5
ทกั ษะการเรียนรู้

23

คาอธบิ ายรายวชิ า ทร 21001 ทักษะการเรียนรู้ จานวน 5 หน่วยกิต
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ
1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสา้ คญั และปฏบิ ตั กิ ารแสวงหาความรู้จากการอา่ น ฟัง และสรปุ ได้

ถกู ต้องตามหลักวิชาการ
2. สามารถจา้ แนก จัดล้าดับความส้าคัญ และเลอื กใช้แหล่งเรียนรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม
3. สามารถจ้าแนกผลทีเ่ กดิ ข้นึ จากขอบเขตความรู้ ตัดสนิ คณุ ค่า กา้ หนดแนวทางพฒั นา
4. ความสามารถในการศกึ ษา เลือกสรร จัดเก็บ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทัง้ สามประการ

และการใช้เทคนคิ ในการฝึกทกั ษะ การคดิ เป็น เพอ่ื ใช้ประกอบการตดั สนิ ใจแก้ปัญหา
5. สามารถวิเคราะหป์ ญั หา ความจา้ เป็น เห็นความสัมพันธข์ องกระบวนการวิจยั กับการน้าไปใช้ใน

ชวี ิต และด้าเนนิ การวิจยั ทดลองตามข้นั ตอน
6. สามารถจ้าแนก และวเิ คราะห์ ทกั ษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพ้ืนทีใ่ นการเพมิ่ ขดี

ความสามารถของการประกอบอาชพี ใน กลุ่มอาชีพใหม่

ศกึ ษาและฝึกทกั ษะเก่ียวกับเร่ืองดังต่อไปน้ี

1. การเรียนรดู้ ้วยตนเอง

ทบทวน ความหมาย ความส้าคญั และกระบวนการของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

ทบทวนทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ญั หาและเทคนคิ ในการเรียนรดู้ ้วย

ตนเอง ด้านการอา่ น การฟัง การสงั เกต การจา้ และการจดบนั ทกึ

ฝกึ ทกั ษะการวางแผนการเรยี นรู้ และการประเมินผลการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ทักษะพนื้ ฐานและ

เทคนิคในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองในเรอ่ื งการวางแผน การประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การวเิ คราะห์วิจารณ์

เจตคติ/ปจั จัย ท่ที า้ ใหก้ ารเรียนรู้ดว้ ยตนเองประสบความสา้ เรจ็ การเปดิ รับโอกาสการเรยี นรู้ การ

คดิ รเิ รม่ิ และเรยี นรดู้ ้วยตนเอง การสร้างแรงจูงใจ การสรา้ งวินยั ในตนเอง การใฝุรู้ ใฝเุ รยี น และความรับผดิ ชอบ

2. การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้

ทบทวนความหมาย ความส้าคญั ของการใช้แหล่งเรียนรูป้ ระเภทตา่ ง ๆ ศึกษาแหลง่ เรียนรู้

หอสมุดแห่งชาติ หอสมดุ วิทยาลยั /มหาวิทยาลัย หอ้ งสมดุ เฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน พพิ ธิ ภณั ฑ์ อุทยาน

แห่งชาติ แหล่งเรยี นรู้ส้าคัญอ่ืน ๆ ในประเทศ ศกึ ษาเรยี นรู้ การใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ การเขา้ ถึงข้อมลู สารสนเทศท่ี

ตอ้ งการและสนใจ

3. การจดั การความรู้

ศึกษาความหมาย ความส้าคญั หลักการของการจดั การความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ การ

รวมกลุม่ เพอื่ ต่อยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่ายความรขู้ องกลุ่ม การจดั ทา้ สารสนเทศเผยแพร่ความรู้

24

ฝึกทกั ษะกระบวนการจดั การความรดู้ ว้ ยตนเองและดว้ ยการรวมกล่มุ ปฏิบตั กิ าร โดยการกา้ หนด
เปาู หมายการเรยี นรู้ ระบคุ วามร้ทู ี่ตอ้ งใช้ การแสวงหาความรู้สรุปองคค์ วามรูป้ ระยุกต์ใชค้ วามรแู้ ลกเปล่ียนความรู้การ
รวมกลมุ่ ปฏิบัตกิ ารเพอื่ ตอ่ ยอดความรู้ การพฒั นาขอบข่ายความรู้ของกล่มุ สรุปองค์ความร้ขู องกลุ่ม จัดท้าสารสนเทศ
องค์ความร้ใู นการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน

4. การคิดเป็น
ทบทวนศกึ ษาความหมาย ความส้าคญั ของการคิดเปน็ จนเกิดการตัดสินใจคดิ ไดด้ ที ่สี ุดจากในอนั ท่ี
จะส่งเสริมน้าไปส่คู วามส้าเรจ็ ในการแก้ การรวบรวมสภาพปญั หา ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน และคิดวิเคราะห์
โดยใชข้ ้อมลู ด้านตนเอง ด้านวชิ าการ และด้านสงั คมสงิ่ แวดล้อม มาก้าหนดแนวทางทางเลือกท่หี ลากหลายในการ
แก้ปญั หาอย่างมเี หตผุ ล มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีความสขุ ในอันท่ีจะส่งเสรมิ น้าไปสู่ความสา้ เรจ็ ในการแกป้ ัญหา
งานอาชีพหรอื ปัญหางานอ่ืน ๆ
ศกึ ษาความหมาย ความสา้ คัญ ข้อมูลการประกอบอาชีพอสิ ระและอาชพี แรงงานในสถาน
ประกอบการ ต้ังแต่ในอดีต ปจั จบุ ันและแนวโน้มในอนาคต ถึงจุดแขง็ จดุ อ่อน อปุ สรรคและโอกาส ความมัน่ คง
ของอาชพี แรงงานในสถานประกอบการ การขยายอาชีพของตนเองและคู่แข่ง ด้านทุน ดา้ นทา้ เล ด้าน
แรงงาน และดา้ นการจัดการตลาด
5. การวจิ ัยอยา่ งง่าย
ทบทวนความหมาย ความส้าคญั การวิจัยอยา่ งง่าย กระบวนการและข้นั ตอนของการด้าเนินงาน
ศกึ ษา ฝึกทกั ษะ สถิติงา่ ย ๆ เพอ่ื การวิจยั เครือ่ งมอื การวจิ ัย และการเขยี นโครงการวจิ ัยอยา่ งงา่ ย ๆ
6. ทักษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพนื้ ทใี นการพฒั นาอาชพี ศึกษา วเิ คราะห์ และจา้ แนกใช้
ทกั ษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ีในการเพ่มิ ขดี ความสามารถของการประกอบอาชพี ใน กลุ่มอาชพี ใหม่
คอื กลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบรหิ ารจดั การและการบรกิ าร
โดยค้านงึ ถึงศกั ยภาพหลักของพืน้ ท่ี คอื ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ ในแต่ละพนื้ ที่ ศกั ยภาพของพ้นื ทต่ี าม
ลกั ษณะภูมอิ ากาศ ศักยภาพของ ภูมปิ ระเทศ และทา้ เลทีต่ ้งั ของแตล่ ะพื้นท่ี ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี
และวถิ ีชีวิตของแตล่ ะ พน้ื ที่ และศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ในแต่ละพ้นื ที่
การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้
1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง
ควรจัดในลกั ษณะของการบูรณาการทักษะต่างๆ ไปพรอ้ มกบั การสรา้ งสถานการณใ์ นการเรยี นร้ทู ่ี
หลากหลาย ซบั ซ้อน อยา่ งสร้างสรรค์ เพอื่ 1) ฝึกใหผ้ เู้ รยี นไดก้ า้ หนดเปูาหมาย และวางแผนการเรยี นรู้ 2) เพม่ิ พูน
ใหม้ ีทกั ษะพนื้ ฐานในการการวางแผน การประเมนิ ผลการเรียนรดู้ ้วยตนเอง การวิเคราะห์วจิ ารณ์ 3) มีเจตคติทีด่ ีต่อ
การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองทท่ี ้าใหก้ ารเรยี นร้ดู ้วยตนเองประสบผลส้าเร็จ และนา้ ความรู้ไปใชใ้ นวถิ ีชีวติ ใหเ้ หมาะสมกบั
ตนเอง และชมุ ชน/สงั คม

25

2. การใช้แหลง่ เรยี นรู้
ให้ผ้เู รยี นศกึ ษาสารสนเทศ จากระดบั ชุมชนสรู่ ะดบั จังหวัด ประเทศ และโลก การเรยี นรูก้ ารใช้
อนิ เตอร์เนต็ และแหลง่ เรยี นรไู้ ดส้ อดคล้องกบั ความต้องการ ความจา้ เปน็ ในการน้าไปใช้ในการแสวงหาข้อมูลเพอื่ การ
เรยี นร้ขู องตนเอง
3. การจดั การความรู้
ให้ผ้เู รยี นศกึ ษาคน้ คว้าหลักการ และกระบวนการของการจดั การความรู้ การฝึกปฏบิ ัตจิ ริงโดยการ
รวมกล่มุ ปฏิบตั ิการ/ชุมชนปฏบิ ัตกิ าร (Community of practice = Cops) สรปุ องค์ความรขู้ องกลุม่ แลกเปลย่ี น
เรยี นรู้ระหว่างกลุ่ม ยกระดับความรู้ และจดั ทา้ สารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้
4. การคิดเป็น
ควรจัดใหผ้ ูเ้ รยี นได้ฝกึ การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการแกป้ ัญหาอยา่ งมี
เหตุผล และหลักการท่ซี ับซอ้ นจากสภาพจรงิ หรือเรือ่ งเกยี่ วกบั ชีวติ จริงของตนเอง หรอื สถานการณ์จริง หรือ
กรณศี กึ ษา ที่ใชแ้ ก้ปัญหาและตดั สนิ ใจ อยา่ งมเี หตผุ ล มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามสขุ
5. การวจิ ยั อยา่ งงา่ ย
จดั ใหผ้ ูเ้ รยี นไดศ้ ึกษา คน้ คว้า เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง ฝกึ ทกั ษะการสังเกตและค้นหาปญั หาท่พี บใน
ชีวิตประจ้าวนั /ในสาระทเ่ี รียน การตงั้ คา้ ถาม การแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ับเพอื่ น/ผ้รู ู้ การคาดเดาคา้ ตอบอยา่ งมี
เหตุผล/การต้งั สมมติฐาน การฝึกปฏบิ ตั กิ ารเขียนโครงการวจิ ยั ทมี่ คี วามซับซอ้ นข้ึน การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การสรา้ ง
เคร่ืองมือ การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชส้ ถติ พิ ้ืนฐาน การน้าเสนอขอ้ มูล การสรปุ ข้อมลู และเขยี นรายงานผล การ
เผยแพรข่ อ้ ค้นพบ
6. ทกั ษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพ้นื ท่ใี นการพัฒนาอาชีพ จัดให้ ผู้เรียนทง้ั รายบคุ คล/กลมุ่
ได้ศกึ ษา วิเคราะห์ จา้ แนกทักษะการเรยี นรู้ โดยคา้ นงึ ถงึ ศกั ยภาพหลักของแตล่ ะพื้นท่ี ทีม่ คี วามแตกต่าง และมคี วาม
ตอ้ งการของทอ้ งถิ่นทไี มเ่ หมือนกนั เพ่อื เพิ่มขีด ความสามารถของการประกอบอาชพี ใน กลมุ่ อาชีพใหม่ คือ ก ลุ่มอาชีพ
ดา้ นเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบรหิ ารจดั การและการบริการ เพื่อสรา้ งอาชพี
และรายได้ อยา่ งมันคง และยงั ยนื อยา่ งต่อเนือง
การวดั และประเมนิ ผล
1. การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
ใช้การประเมินจากผลงานของผเู้ รียนท่ีแสดงออกเกย่ี วกับ การกา้ หนดเปาู หมาย และวางแผนการ
เรยี นร้รู วมทักษะพน้ื ฐานและเทคนคิ ในการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ตลอดจนปจั จัยท่ีท้าให้การเรยี นรปู้ ระสบความส้าเรจ็
2. การใช้แหล่งเรียนรู้
จากการสงั เกต ความสนใจ การมีส่วนรว่ มและ ผลงานท่ไี ดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากแหลง่ เรียนรู้

26

3. การจดั การความรู้
จากการสงั เกต ความสนใจ การแสดงความคดิ เหน็ การมสี ว่ นร่วม การให้ความรว่ มมอื ในกลุม่
ปฏบิ ัตกิ ารผลงาน/ชนิ้ งานจากการรวมกล่มุ ปฏบิ ตั ิการใชว้ ิธีการประเมินแบบมสี ว่ นรว่ มระหว่างครูผเู้ รยี นและ
ผู้เก่ียวขอ้ งรว่ มกนั ประเมนิ ตคี ่าความสามารถความส้าเรจ็ กบั เปูาหมายท่วี างไว้ และระบขุ อ้ บกพร่องที่ต้องแกไ้ ข ส่วนที่
ท้าไดด้ ีแลว้ กพ็ ฒั นาใหด้ ีย่งิ ขึ้นตอ่ ไป
4. การคิดเปน็
วัดจากการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การคิดวเิ คราะห์ การตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาจากข้อมลู ตามขอ้ เท็จจริง
5. การวจิ ยั อย่างงา่ ย
จากการสังเกต ความสนใจ การมีสว่ นรว่ ม ความรว่ มมอื จากผลงาน / ชน้ิ งานที่มอบหมายใหฝ้ กึ
ปฏบิ ตั ิ ในระหว่างเรียน และการสอบปลายภาคเรียน
6. ทักษะการเรยี นรู้ และศักยภาพหลกั ของพน้ื ทีใ่ นการพัฒนาอาชพี จากการสงั เกต ความสนใจ
การมีส่วนรว่ ม ความรว่ มมอื จากผลงาน / ชน้ิ งานท่มี อบหมายใหฝ้ กึ ปฏิบัติ และการประเมนิ แบบมีสว่ นร่วม

27

รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า
ทร 21001 ทักษะการเรยี นรู้ จานวน 5 หนว่ ยกิต

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ

1. สามารถวเิ คราะห์ เห็นความสา้ คัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรูจ้ ากการอ่าน ฟงั และสรุปได้
ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ

2. สามารถจา้ แนก จัดล้าดับความสา้ คัญ และเลือกใชแ้ หล่งเรยี นรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม
3. สามารถจ้าแนกผลที่เกิดขน้ึ จากขอบเขตความรู้ ตดั สินคณุ ค่า กา้ หนดแนวทางพัฒนา
4. ความสามารถในการศกึ ษา เลอื กสรร จดั เกบ็ และการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้งสามประการ
และการใชเ้ ทคนิคในการฝกึ ทักษะ การคดิ เป็น เพือ่ ใช้ประกอบการตัดสนิ ใจแก้ปญั หา
5. สามารถวเิ คราะห์ปญั หา ความจา้ เป็น เห็นความสมั พนั ธ์ของกระบวนการวิจัยกับการน้าไปใช้ใน
ชีวิต และด้าเนนิ การวิจัยทดลองตามข้ันตอน
6. สามารถจา้ แนก และวเิ คราะห์ ทกั ษะการเรียนรู้ และศกั ยภาพหลักของพนื้ ที่ในการเพม่ิ ขดี
ความสามารถของการประกอบอาชพี กล่มุ อาชีพใหม่

หวั เร่อื ง ตวั ช้ีวดั เนือ้ หา จานวน
(ชัว่ โมง)
1. การเรยี นรู้ 1.1 บอกความหมาย ตระหนักและเห็น 1. ความหมาย ความสา้ คัญ ของ
ดว้ ยตนเอง ความส้าคัญของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การเรียนรู้ด้วยตนเอง 3
2. การกา้ หนดเปาู หมายและการวาง 3
1.2 มีทักษะพ้ืนฐานทางการศึกษาหา แผนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง 3
ความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา และเทคนิค 3. ทกั ษะพนื้ ฐานทางการศกึ ษาหาความรู้
ในการเรียนรูด้ ้วยตนเอง ทักษะการแก้ปญั หา และเทคนิคในการ 3
1.3 อธบิ ายปัจจยั ท่ที ้าใหก้ ารเรยี นรู้ดว้ ย เรียนร้ดู ว้ ยตนเอง 8
ตนเองประสบความสา้ เร็จ 4. ปจั จัยทีท่ ้าใหก้ ารเรยี นรู้ด้วยตนเอง 20
1.4 สามารถวางแผนการเรียนรแู้ ละการ ประสบความส้าเร็จ
ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 5. การวางแผนการเรยี นรู้ และ การ
ประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง
6. การฝึกทักษะวางแผนการเรียนรแู้ ละ
การประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้วยตนเอง การ
วิจารณ์

28

หัวเรื่อง ตวั ช้ีวัด เนือ้ หา จานวน
2. การใช้ (ชวั่ โมง)
แหลง่ เรียนรู้ 2.1อธบิ ายความหมาย ความสา้ คัญ ของ 1. ความหมาย ความสา้ คญั ของการใช้
การใชห้ อ้ งสมุดอ้าเภอ ห้องสมดุ อา้ เภอ 3
3. การ 2.2 อธิบายการเขา้ ถึงสารสนเทศของ 2. การเขา้ ถงึ สารสนเทศของห้องสมุด 14
จัดการ ห้องสมุดประชาชน ประชาชน
ความรู้ 2.3 อธิบายแหล่งเรยี นรู้ หอสมุด 3. แหล่งเรียนรู้ หอสมดุ แห่งชาติ หอสมุด 20
แหง่ ชาติ หอสมดุ วทิ ยาลยั /มหาวทิ ยาลัย วทิ ยาลัย/มหาวิทยาลัย ห้องสมดุ เฉพาะ
4. การคดิ ห้องสมดุ เฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน หอ้ งสมุดโรงเรยี น พิพิธภัณฑ์ อทุ ยาน 8
เปน็ พิพธิ ภณั ฑ์ อุทยานแหง่ ชาติ แหล่งเรยี นรู้ แหง่ ชาติ แหล่งเรียนรู้สา้ คัญอนื่ ๆ ใน
สา้ คญั อน่ื ๆ ในประเทศ ประเทศ 20
2.4 อธิบายและปฏบิ ตั ิการใช้ 4. การใช้อนิ เทอร์เน็ต การเข้าถึงข้อมูล
อินเทอร์เนต็ และการเขา้ ถงึ ข้อมลู สารสนเทศทตี่ อ้ งการและสนใจ 12
สารสนเทศท่ีต้องการและสนใจ 10
3.1 อธิบายความหมาย ความส้าคญั 1. ความหมาย ความสา้ คญั หลักการ
หลักการ กระบวนการจดั การความรู้ กระบวนการจดั การความรู้
การรวมกลมุ่ เพ่ือต่อยอดความรู้ การ การรวมกลุ่มเพ่อื ต่อยอดความรู้
พฒั นาขอบขา่ ยความรู้ของกลุ่ม และการ การพัฒนาขอบขา่ ยความรู้ของกลุม่ และ
จดั ท้าสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ การจดั ท้าสารสนเทศเผยแพรค่ วามรู้
3.2 ปฏิบัตกิ ารจัดการความรใู้ นเนอ้ื หาที่ 2. การฝกึ ทักษะกระบวนการจัดการ
สอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชน ความร้ดู ว้ ยตนเอง และ กระบวนการ
3.3 จัดทา้ สารสนเทศและเผยแพรค่ วามรู้ จดั การความรู้ด้วยการรวมกล่มุ ปฏิบัตกิ าร
3. สรุปองคค์ วามร้ขู องกล่มุ จัดทา้
1. อธิบาย ความหมาย ความสา้ คญั ของ สารสนเทศองคค์ วามรใู้ นการพัฒนาตนเอง
การคดิ เปน็ และปฏิบัติการรวบรวม ครอบครวั
สภาพปญั หา ของตนเอง ครอบครัว 1. ความหมาย ความส้าคญั ของ
ชุมชน และการคดิ วเิ คราะห์ โดยใช้ การคดิ เป็น และการรวบรวมสภาพปญั หา
ขอ้ มลู ด้านตนเอง ดา้ นวชิ าการ และดา้ น ของตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และการคดิ
สังคมส่งิ แวดลอ้ ม รวมทั้งการก้าหนด วเิ คราะห์ โดยใช้ขอ้ มลู ดา้ นตนเอง ดา้ น
วิชาการ และด้านสงั คมส่งิ แวดล้อม
รวมทัง้ การก้าหนดแนวทางทางเลอื กที่

29

หวั เร่ือง ตวั ชี้วดั เนือ้ หา จานวน
(ชว่ั โมง)
5. การวิจัย
อยา่ งงา่ ย แนวทางทางเลือกที่หลากหลายในการ หลากหลายในการแกป้ ญั หาอยา่ งมีเหตผุ ล 10

แกป้ ญั หา มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ มคี วามสขุ

2. อธิบายความหมาย ความส้าคญั ของ 2. ความหมาย ความส้าคญั ของข้อมลู การ

ข้อมลู การประกอบอาชพี อิสระและ ประกอบอาชพี อสิ ระและอาชีพแรงงานใน

อาชีพ สถานประกอบการ ต้งั แตใ่ นอดตี ปจั จุบัน

แรงงานในสถานประกอบการ และแนวโน้มในอนาคต 20

3. ปฏบิ ตั ิการวเิ คราะห์ SWOT และ 3. การวเิ คราะห์ SWOT (จดุ แข็ง จุดออ่ น

การขยายอาชีพ อุปสรรคและโอกาส ความมน่ั คงของอาชีพ

แรงงานใน

สถานประกอบการ การขยายอาชพี ของ

ตนเอง และคู่แข่ง

5.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญการ 1. ความหมาย ความสา้ คัญการวิจัยอยา่ ง 10

วจิ ัยอย่างงา่ ย กระบวนการและขนั้ ตอน ง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการ

ของการดา้ เนนิ งานได้ ดา้ เนนิ งาน

5.2 มที ักษะในการใชส้ ถติ ิงา่ ย ๆ เพ่อื การ 2.. ฝึกทกั ษะ สถติ ิง่าย ๆ เพอ่ื การวจิ ัย 30

วจิ ยั และจดั ท้าเคร่อื งมือในการเก็บ เคร่ืองมือการวิจยั

รวบรวมขอ้ มูล 3. ฝกึ ทักษะในการเขยี นโครงการวิจยั อยา่ ง

5.3 มที ักษะในการเขียนโครงการวจิ ัย งา่ ย ๆ

อย่างง่าย ๆ

30

หวั เรือ่ ง ตัวช้ีวดั เน้ือหา จานวน
(ช่ัวโมง)

6.ทกั ษะการ 1. บอกความหมาย ตระหนักและ 1. ความหมาย ความส้าคัญ ของทักษะการ
เรยี นรู้และ เห็นความสา้ คัญ ของทักษะการ
ศกั ยภาพ เรียนรู้ และศักยภาพหลกั ของพ้นื ที่ เรียนรแู้ ละศกั ยภาพหลักของพ้นื ท่ี
หลักของ 2. มที กั ษะการเรียนร้พู น้ื ฐาน และ
พืน้ ท่ใี นการ เทคนคิ วธิ ีในการแสวงหาความรู้ 2. ทักษะการเรียนรู้พืน้ ฐาน และเทคนิค
พัฒนา อาชพี 3. สามารถบอกอาชีพในกลมุ่ อาชีพใหม่
วิธที างศกึ ษาหาความรู้
ไดแ้ ก่ กล่มุ อาชีพด้านเกษตรกรรม
อตุ สาหกรรมพาณชิ ยกรรม ความคดิ 3. การเขา้ ถงึ และการเลือกใช้ศกั ยภาพหลัก
สร้างสรรค์ การบริหารจดั การและการ
บรกิ าร ของพ้นื ที่
4. สามารถบอกและยกตัวอย่างทักษะ
การเรยี นร้เู พื่อพฒั นาศกั ยภาพ กลมุ่ 4. ตัวอยา่ งอาชีพในกลมุ่ อาชพี ดา้ น
อาชีพใหม่
4.1 การเกษตรกรรม

4.2 อุตสาหกรรม

4.3 พาณชิ ยกรรม

4.4 ความคิด สรา้ งสรรค์

4.5 บรหิ ารจดั การ และการบริการ

ทส่ี อดคลอ้ งกบั ศักยภาพหลักของพนื้

31

สาระความรู้พ้ืนฐาน

32

33

รายวิชาภาษาไทย

34

35

วิชาภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง

มาตรฐานท่ี 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะพน้ื ฐานเกยี่ วกับภาษาและการสือ่ สาร

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั

การฟงั การดู

1. สามารถสรุปความ จบั ประเดน็ ส้าคัญของเรอ่ื งทฟี่ งั 1. สรปุ ความ จับประเดน็ ส้าคญั ของเร่ืองที่ฟแงั ละดู

และดู 2. วเิ คราะหค์ วามนา่ เช่ือถอื จากการฟงั และดสู ือ่ โฆษณาและขา่ วสาร

2. วิเคราะห์ แยกแยะข้อเท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็ และ ประจ้าวันอย่างมเี หตุผล

จดุ ประสงคข์ อง เรื่องที่ฟงั และดู 3. วิจารณก์ ารใชน้ ้าเสียง กิริยาทา่ ทาง ถอ้ ยคา้ ของ ผู้พดู อย่างมี

3. สามารถแสดงทรรศนะและ ความคดิ เหน็ ต่อผพู้ ูด เหตผุ ล

อยา่ งมีเหตุผล 4. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผมู้ ีมารยาทในการฟัง และดู

4. มมี ารยาทในการฟัง และดู

การพูด

1. สามารถพูดน้าเสนอความรู้ แสดงความคดิ เหน็ 1. พดู น้าเสนอความรู้ ความคิดเหน็ สร้างความเข้าใจ โนม้

สร้างความเขา้ ใจ โน้มน้าวใจ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รอง นา้ วใจ ปฏิเสธ เจรจาตอ่ รอง ดว้ ยภาษากริ ิยาท่าทาง

ด้วยภาษากิริยาท่าทางที่สภุ าพ ในโอกาสต่างๆ ได้ ทสี่ ภุ าพ

อย่างเหมาะสม

2. มมี ารยาทในการพูด 2. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาทในการพูด

การอา่ น

1. สามารถอา่ นไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1. อ่านในใจไดค้ ลอ่ ง และเร็ว

2. จบั ใจความส้าคัญ แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็น 2. อ่านออกเสยี งและอ่านทา้ นองเสนาะได้อย่าง ถกู ตอ้ งตาม

จากเรื่อง ท่ีอา่ น ลกั ษณะค้าประพันธ์

3. สามารถอา่ นหนังสอื และสอื่ สารสนเทศได้อยา่ ง 3. วเิ คราะห์ แยกแยะข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเหน็ และจดุ มุ่งหมาย

กวา้ งขวาง เพื่อพัฒนาตนเอง ของเรอื่ งทีอ่ ่าน

4. มมี ารยาทในการอา่ นและนิสัยรักการอา่ น 4. เลอื กอ่านหนังสอื และสือ่ สารสนเทศ เพ่ือพฒั นาตนเอง

5. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผูม้ ีมารยาทในการอา่ นและมีนสิ ัยรกั การอ่าน

36

มาตรฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวงั

การเขยี น

1. สามารถเลือกใชภ้ าษาในการน้าเสนอตามรูปแบบ 1. เลือกใช้ภาษาในการนา้ เสนอตามรูปแบบของงานเขียน

ของงานเขยี นประเภทตา่ งๆ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ประเภทร้อยแกว้ และรอ้ ยกรองไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์

2. สามารถใชแ้ ผนภาพความคดิ จัดลา้ ดบั ความคดิ 2. ใชแ้ ผนภาพความคิด จัดลา้ ดบั ความคดิ ก่อนการเขียน

เพอ่ื พัฒนา งานเขียน 3. แตง่ บทร้อยกรอง ประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ

3. สามารถแต่งบทรอ้ ยกรองตามความสนใจได้ 4. เขียนบทร้อยแกว้ ประเภทประวัติตนเอง อธิบายความ

ถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณแ์ ละลักษณะค้าประพนั ธ์ ยอ่ ความขา่ ว

4. สามารถเขียนส่ือสารเรื่องราวต่างๆ ได้ 5. เขยี นรายงานการคน้ ควา้ สามารถอ้างอิงแหล่งความรู้

5. มีมารยาทในการเขยี นและนิสยั รกั การเขียน ได้ถูกต้อง

6. กรอกแบบรายการตา่ งๆ

7. ปฏิบัตติ นเปน็ ผ้มู มี ารยาทในการเขยี น และมีการจดบนั ทกึ

อย่างสม่้าเสมอ

หลกั การใชภ้ าษา

1. รู้และเขา้ ใจชนิด และหน้าทข่ี องคา้ พยางค์ วลี 1. อธบิ ายความแตกตา่ งของคา้ พยางค์ วลี ประโยค

ประโยค และสามารถอ่าน เขยี นไดถ้ ูกตอ้ งตาม ได้ถกู ต้อง

หลักเกณฑข์ องภาษา 2. ใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน อกั ษรย่อ ค้าราชาศัพท์

2. สามารถใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน อักษรย่อ ค้า ไดถ้ กู ตอ้ ง

ราชาศัพท์ 3. อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ งภาษาพดู และภาษาเขียนได้

3. สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งภาษาพดู 4. อธิบายความแตกตา่ งความหมายของส้านวน สภุ าษติ

และภาษาเขียน ค้าพงั เพย และนา้ ไป ใช้ในชีวิตประจา้ วัน ไดถ้ ูกตอ้ ง

4. รแู้ ละเขา้ ใจส้านวน สุภาษิต ค้าพังเพยในการพดู

และเขียน

วรรณคดี วรรณกรรม

1. รแู้ ละเข้าใจความแตกตา่ งของวรรณคดี 1. อธิบายความแตกตา่ งและคณุ ค่าของวรรณคดี วรรณกรรม

วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมท้องถ่นิ ตลอดจน ปัจจุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน

เห็นคุณค่า

1. ภาษาไทยกบั การ ประกอบอาชพี . ใชค้ วามร้ดู ้าน 1. ใชค้ วามรกู้ ารพดู ภาษาไทยเป็น ชอ่ งทางในการ ประกอบ

การพดู ภาษาไทยเพอ่ื การ ประกอบอาชพี อาชพี

2. ใช้ความรดู้ ้านการ เขียนภาษาไทยเพ่ือการ 2. ใช้ความร้กู ารเขียน ภาษาไทยเปน็ ช่อง ทางการประกอบ

ประกอบอาชพี อาชพี

37

รายวชิ าบงั คบั

สาระความร้พู ้ืนฐาน ภาษาไทย

มาตรฐานที่ รหัสรายวชิ า ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หน่วยกิต
2.1 พท21001 รายวชิ า 4
ภาษาไทย 4

รวม

38

คาอธิบายรายวิชา พท21001 ภาษาไทย จานวน 4 หน่วยกติ
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

มาตรฐานที่ 2.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะพนื้ ฐานเก่ยี วกบั ภาษาและการส่ือสาร
การฟัง การดู
1. สามารถสรปุ ความ จบั ประเด็นสา้ คัญของเร่ืองทฟ่ี งั และดู
2. วิเคราะห์ แยกแยะขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็นและจดุ ประสงคข์ อง เรอื่ งทีฟ่ งั และดู
3. สามารถแสดงทรรศนะและ ความคดิ เหน็ ต่อผู้พูด อยา่ งมเี หตุผล
4. มีมารยาทในการฟงั และดู
การพูด
1. สามารถพูดน้าเสนอความรู้ แสดงความคดิ เห็น สรา้ งความเขา้ ใจ โนม้ น้าวใจ ปฏเิ สธเจรจา

ตอ่ รองดว้ ยภาษากิรยิ าทา่ ทางทสี่ ุภาพ ในโอกาสต่างๆ ได้อยา่ งเหมาะสม
2. มมี ารยาทในการพูด
การอ่าน
1. สามารถอา่ นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. จับใจความสา้ คัญ แยกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นจากเรอ่ื ง ทอี่ า่ น
3. สามารถอา่ นหนงั สอื และส่อื สารสนเทศไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง เพื่อพัฒนาตนเอง
4. มมี ารยาทในการอา่ นและนสิ ยั รักการอ่าน
การเขยี น
1. สามารถเลือกใชภ้ าษาในการนา้ เสนอตามรูปแบบของงานเขยี นประเภทต่างๆ ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
2. สามารถใช้แผนภาพความคิด จัดลา้ ดบั ความคดิ เพ่อื พัฒนา งานเขียน
3. สามารถแต่งบทร้อยกรองตามความสนใจได้ถูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณแ์ ละลกั ษณะค้าประพันธ์
4. สามารถเขยี นสอ่ื สารเรอื่ งราวต่างๆ ได้
5. มีมารยาทในการเขียนและนิสัยรกั การเขียน
หลกั การใชภ้ าษา
1. รแู้ ละเขา้ ใจชนดิ และหน้าทขี่ องคา้ พยางค์ วลี ประโยค และสามารถอ่าน เขยี นได้ถูกตอ้ งตาม

หลักเกณฑข์ องภาษา
2. สามารถใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน อักษรย่อ คา้ ราชาศพั ท์
3. สามารถวิเคราะห์ความแตกตา่ งระหว่างภาษาพูดและภาษาเขยี น
4. ร้แู ละเขา้ ใจสา้ นวน สภุ าษติ ค้าพังเพยในการพูดและเขียน

39

วรรณคดี วรรณกรรม
1. รู้และเข้าใจความแตกต่างของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ตลอดจน

เหน็ คณุ ค่า

ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ
1. ใชค้ วามร้ดู ้านการพดู ภาษาไทยเพื่อการประกอบอาชีพ
2. ใชค้ วามรูด้ า้ นการเขยี นภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ

ศึกษาและฝึกทักษะเกย่ี วกบั เรอ่ื งดังตอ่ ไปนี้
การฟงั การดู

การสรุปความ จับประเดน็ ส้าคัญของเรอื่ งทฟ่ี งั ดู และมมี ารยาทในการฟังและดู
การพดู

การพดู น้าเสนอความรู้ ความคดิ เหน็ โนม้ นา้ วใจ ปฏิเสธเจรจาตอ่ รอง และมารยาทในการพูด
การอ่าน

การอ่านออกเสียงและอา่ นในใจทัง้ ร้อยแก้ว และร้อยกรอง การแยกแยะข้อเท็จจริง ข้อคดิ เหน็ และ
จุดมงุ่ หมายของเรอ่ื งท่ีอา่ น ตลอดจนมารยาทในการอา่ น

การเขียน
การใช้แผนภาพความคิด จัดลา้ ดับความคิดกอ่ นการเขยี น การแตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอน
สภุ าพ การเขียนสอ่ื สารเร่ืองราวต่างๆ และการเขยี นรายงาน การคน้ คว้า อา้ งองิ ตลอดจนมารยาท ในการเขียน

หลักการใช้ภาษา
ชนิดและหนา้ ท่ีของค้า พยางค์ วลี ประโยค การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน อกั ษรยอ่ พจนานกุ รม คา้ ราชา
ศพั ท์ ความแตกตา่ งและความหมายของส้านวน สุภาษิต ค้าพังเพย

วรรณคดีและวรรณกรรม
ความแตกตา่ งและคุณคา่ ของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น

ภาษาไทยกบั การประกอบอาชพี
การใช้ความรู้ด้านการพูด การเขียนภาษาไทยเป็นช่องทางในการประกอบอาชีพ

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
จัดประสบการณห์ รือสถานการณใ์ นชีวิตประจา้ วันให้ผู้เรยี นได้ศึกษา ค้นควา้ โดยการฝึกปฏิบัตจิ รงิ เปน็

รายบุคคลหรือกระบวนการกลุม่ เกี่ยวกบั ทักษะการฟงั การดู การพดู การอา่ น การเขียน และหลักการใชภ้ าษา

การวดั และประเมินผล
การสงั เกต การฝึกปฏบิ ตั ิ การทดสอบ (แบบทดสอบ) และการประเมนิ ชิน้ งานในแตล่ ะกจิ กรรม

40

รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา พท21001 ภาษาไทย จานวน 4 หนว่ ยกติ
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

มาตรฐานที่ 2.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะพ้นื ฐานเก่ียวกบั ภาษาและการส่ือสาร

ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ดั เนอื้ หา จานวน
1. การฟัง การดู (ชั่วโมง)

(10) 1. สรุปความ จบั ประเดน็ ส้าคญั ของ 1. สรุปความ จับประเดน็ ส้าคัญของ 2

2. การพดู เรือ่ งทฟ่ี งั และดู เรือ่ งท่ฟี ังและ ดู
(10)
2. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถอื จากการ2. หลกั การจบั ใจความสา้ คัญของ 2
3. การอา่ น (40)
ฟัง และดูส่อื โฆษณาและขา่ วสาร เรื่องที่ฟังและดู

ประจา้ วันอยา่ งมเี หตผุ ล 3. การวเิ คราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ 4

3. วจิ ารณก์ ารใชน้ า้ เสยี ง กิรยิ า ขอ้ คิดเห็นและสรุปความ

ทา่ ทาง ถ้อยคา้ ของ ผพู้ ูดอยา่ งมี 4. การมมี ารยาทในการฟงั และ 2

เหตผุ ล ดู

4. ปฏิบตั ติ นเป็นผ้มู มี ารยาท

ในการฟงั และดู

1. พดู นา้ เสนอความรู้ ความ 1. สรปุ ความ จบั ประเด็นส้าคัญของ 2

คดิ เห็น สรา้ งความเข้าใจ เรอื่ งท่ีพูดได้

โนม้ น้าวใจ ปฏิเสธ เจรจา 2. การพดู น้าเสนอความรู้ ความ 6

ตอ่ รอง ดว้ ยภาษากริ ยิ าทา่ ทาง คดิ เหน็ และ การพดู ในโอกาส

ที่สภุ าพ ต่างๆ เช่น

2. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผู้มมี ารยาท - พดู แนะนา้ ตนเอง

ในการพดู - พดู กล่าวต้อนรับ

- พดู กล่าวขอบคุณ

- พูดโนม้ นา้ วใจ

- พูดปฏเิ สธ

- พูดเจรจาต่อรอง

- พูดแสดงความคิดเห็น

3. การมมี ารยาทในการพูด 2

1. อ่านในใจได้คลอ่ งและเรว็ 1. หลกั การอา่ นในใจจากส่ือ 5

2. อ่านออกเสียงและอา่ นทา้ นอง ประเภทต่างๆ

41

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จานวน
4. การเขยี น (40) (ชวั่ โมง)

เสนาะไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ งตาม 2. หลักอา่ นออกเสียงทเี่ ปน็ ท้ัง 5

ลกั ษณะค้าประพนั ธ์ ร้อยแกว้ รอ้ ยกรองและค้าวัน

3. วิเคราะห์ แยกแยะข้อเทจ็ จรงิ เดอื น ปี ไทย

ขอ้ คดิ เห็น และจดุ มงุ่ หมายของ 3. หลักการเลือกอา่ นหนังสือและ 3

เร่ืองทีอ่ า่ น สื่อสารสนเทศ

4. เลอื กอา่ นหนงั สือและสื่อ 4. หลักการอ่านจบั ใจความสา้ คญั 10

สารสนเทศ เพือ่ พัฒนาตนเอง 5. หลกั การวเิ คราะห์ วิจารณ์

5. ปฏบิ ัตติ นเป็นผูม้ ีมารยาทใน 6. มารยาทในการอา่ นและนสิ ัยรกั 15

การอ่านและมีนสิ ัยรกั การอา่ น การอา่ น 2

1. เลือกใชภ้ าษาในการน้าเสนอ 1. หลกั การเขยี น การใชภ้ าษา 4

ตามรูปแบบของงานเขยี น ในการเขียน

ประเภทรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง 2. หลักการเขียนเพอื่ การสือ่ สาร 20

ได้อย่างสร้างสรรค์ ประเภทต่าง ๆ เช่น การเขียน

2. ใช้แผนภาพความคิด จดั ลา้ ดับ เรียงความ ยอ่ ความ เขียน

ความคิดกอ่ นการเขยี น ชแี้ จง เขยี นแสดงความ

3. แตง่ บทรอ้ ยกรอง ประเภท คดิ เห็น ค้าขวัญ คา้ คม ค้า

กลอนสี่ กลอนสุภาพ โฆษณา เขยี นรายงานการ

4. เขยี นบทร้อยแกว้ ประเภทประวตั ิ ค้นคว้า การกรอกแบบพิมพ์

ตนเอง อธิบายความ ย่อความ ขา่ ว และใบสมคั รงาน และเขยี นคา้

5. เขยี นรายงานการคน้ ควา้ วัน เดือน ปี ไทย

สามารถอา้ งอิงแหล่งความรู้ ได้ 3. หลกั การเขยี นแผนภาพ

ถกู ต้อง ความคดิ 14

6. กรอกแบบรายการตา่ งๆ 4. การปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้มมี ารยาท

7. ปฏิบัติตนเปน็ ผู้มมี ารยาทใน ในการเขยี น และมนี ิสยั รักการ 2

การเขียน และมกี ารจดบนั ทึก เขียน

อย่างสม้่าเสมอ

42

ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ช้วี ดั เนื้อหา จานวน
5. หลักการใชภ้ าษา (40) (ช่ัวโมง)
1. อธิบายความแตกตา่ งของคา้ 1. คา้ ราชาศพั ท์
พยางค์ วลี ประโยค ได้ถูกต้อง 2. หลักในการสะกดค้า 3
3. การใชเ้ คร่ืองหมายวรรคตอน 3
2. ใชเ้ ครอื่ งหมายวรรคตอน 4
อกั ษรย่อ ค้าราชาศพั ท์ได้ อักษรย่อและการใช้เลขไทย
ถูกต้อง 4. การใช้ค้าและการสรา้ งค้าใน 9

3. อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ ง ภาษาไทย 8
ภาษาพดู และภาษาเขยี นได้ - การสร้างคา้ ไทย 4
- ค้าประสม
4. อธบิ ายความแตกตา่ ง - คา้ ซอ้ น 5
ความหมายของส้านวน - คา้ ซ้า 4
สภุ าษติ ค้าพงั เพย และ - ค้าสมาส ค้าสนธิ
นา้ ไปใชใ้ นชีวิตประจ้าวัน - หลักการสังเกตค้าภาษาอน่ื ๆ
ไดถ้ ูกตอ้ ง ที่ใชใ้ นภาษาไทย
5. ชนิดของประโยค
6. การใช้ระดับภาษาท่เี ป็น
ทางการ และไม่เปน็ ทางการ
7. การใช้ส้านวน สุภาษิต ค้า
พงั เพย
8. หลักการแต่งค้าประพันธ์
ประเภทตา่ ง ๆ เชน่
- กาพยย์ านี 11
- กาพย์ฉบงั 16
- กลอน
- ฯลฯ

43

ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั เนอื้ หา จานวน
(ชั่วโมง)

6 วรรณคดี วรรณกรรม 1. อธบิ ายความแตกตา่ ง 1. หลักการพจิ ารณาวรรณคดี 5
(20) และคุณคา่ ของวรรณคดี
วรรณกรรมปจั จุบนั และ 2. หลกั การพินจิ วรรณกรรม 5
วรรณกรรมท้องถนิ่
3. ประวตั คิ วามเป็นมาลักษณะ

และคณุ ค่าของเพลงพื้นบ้าน 5

เพลงกลอ่ มเด็ก

4. หลกั การพนิ จิ วรรณคดี 5

ด้านวรรณศิลป์ และด้านสังคม

- สามกก๊

- ราชาธริ าช

- กลอนเสภาขนุ ชา้ ง ขนุ แผน

- กลอนบทละครเรอ่ื งรามเกียรติ์

7. ภาษาไทยกับการ 1. ใช้ความรกู้ ารพูดภาษาไทย 1. ภาษาไทยด้านการพูดกับ ช่อง 2
ประกอบอาชพี เปน็ ชอ่ งทางในการประกอบ
อาชีพ ทางการประกอบอาชีพ
. 2. ใชค้ วามรู้การเขียนภาษาไทย
2. ภาษาไทยดา้ นการเขยี นกบั
เป็นชอ่ งทางการประกอบ
อาชีพ ชอ่ งทางการประกอบอาชพี 2

44

รายวชิ า คณิตศาสตร์

45


Click to View FlipBook Version