146
รายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า สค21002 ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมือง
จานวน 2 หนว่ ยกิต
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณีของประเทศในทวปี เอเชีย
2. มคี วามรู้ ความเข้าใจดา้ เนนิ ชวี ติ ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย กฎระเบียบของประเทศเพอื่ นบ้าน
ท่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เน้อื หา จานวน
(ชว่ั โมง)
1. ศาสนา 1.มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความเปน็ มาของ 1.ความเป็นมาของศาสนาใน 20
วฒั นธรรม ศาสนาต่างๆ ในประเทศไทย และประเทศในทวปี ประเทศไทย
ประเพณี เอเชยี - พทุ ธ
- ครสิ ต์
- อิสลาม
- ฮินดู
2.น้าหลักธรรมส้าคัญๆ ในศาสนาของตน มา 2.ความเป็นมาของศาสนาใน
ประพฤติปฏิบัตใิ ห้สามารถอยรู่ ว่ มกนั กับศาสนาอน่ื ได้ ทวีปเอเชีย
อย่างสนั ติสุข - พทุ ธ
- คริสต์
- อสิ ลาม
- ฮนิ ดู
3.เหน็ ประโยชนใ์ นการนา้ หลักธรรมค้าสอนในศาสนา 3.หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่
ทต่ี นนับถอื มาประพฤติปฏบิ ัติตน เพอื่ ให้เป็นคนดีใน ท้าใหอ้ ยู่รว่ มกบั ศาสนาอนื่ ได้
สงั คม อย่างมีความสุข
- ศาสนาพุทธ คือ
พรหมวหิ าร4
ฆราวาสธรรม ฯลฯ
- ศาสนาคริสต์
- ศาสนาอิสลาม
- ศาสนาฮนิ ดู
147
ที่ หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ัด เนือ้ หา จานวน
(ชว่ั โมง)
4.น้าขอ้ ปฏิบตั ิของบคุ คลตวั อย่างท่ใี ชห้ ลักธรรมทาง 4. หลักธรรมในแตล่ ะศาสนาท่ี
ศาสนามาปฏิบตั ใิ นชวี ติ ประจา้ วนั มาใชใ้ ห้เหมาะสม ท้าให้ผู้นา้ มาประพฤติปฏิบตั ิ
กบั วิถชี ีวติ ของตนเอง เป็นคนดใี นศาสนาพทุ ธคอื
เบญจศีล เบญจธรรม พรหม
วหิ ารธรรมท่ีท้าใหง้ าม
ศาสนาครสิ ต์
ศาสนาอสิ ลาม
ศาสนาฮนิ ดู
4.1 กรณีตัวอย่างบุคคลตัวอย่าง
ในแต่ละศาสนา
5.มคี วามรู้ ความเข้าใจในวัฒนธรรมประเพณขี อง 5.วฒั นธรรมประเพณีใน 20
ประเทศไทยและประเทศในเอเชยี ประเทศไทยและประเทศใน
เอเชีย
- ภาษา
- การแต่งกาย
- อาหาร
- ประเพณี
ฯลฯ
6.ตระหนักถึงความส้าคญั ในวฒั นธรรมประเพณีของ 6.การอนุรักษ์ และสืบสาน
ประเทศไทยและประเทศในเอเชยี วฒั นธรรมประเพณี ของ
ประเทศไทย และประเทศใน
เอเชีย(กรณีตวั อย่าง)
7.มีส่วนร่วมในการปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมประเพณี 7.การประพฤตปิ ฏิบัตติ น เพอ่ื
ของสังคมไทย การอนรุ กั ษ์ และสบื สาน
วัฒนธรรมประเพณขี องประเทศ
8.ประพฤตติ นตามค่านิยมจริยธรรมท่พี ึงประสงค์ของ ไทยและประเทศในเอเชีย
สงั คมไทย 8.ค่านยิ มทีพ่ งึ ประสงคข์ อง
ประเทศไทยและประเทศตา่ งๆ
ในเอเชีย
148
ที่ หัวเร่ือง ตัวช้ีวัด เนือ้ หา จานวน
1.รู้และเข้าใจความส้าคัญของรฐั ธรรมนูญแหง่ (ช่ัวโมง)
2 หนา้ ที่ ราชอาณาจักรไทย
พลเมือง 1.1 ความเป็นมา หลกั การ 20
2.รแู้ ละเขา้ ใจหลกั คณุ ธรรมจริยธรรมของการอยู่
ร่วมกนั เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
3.มสี ว่ นร่วมทางการเมืองการปกครองตามระบอบ 1.2 โครงสรา้ ง และสาระสา้ คัญ
ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ
ของรัฐธรรมนูญ
4.รแู้ ละเข้าใจหลักสทิ ธิมนุษยชน
5.การมสี ่วนร่วมในการ คุ้มครองปกปอู งตนเอง และ 1. 3 การปฏิรปู การเมือง และ
ผ้อู ่นื ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน
จุดเดน่ ของรัฐธรรมนูญท่ี
6.ตระหนักถึงประโยชน์ของการมสี ว่ นรว่ มในการ
คุ้มครองปกปูองตนเอง และผู้อ่ืนตามหลักสิทธิ เก่ยี วกบั สทิ ธิเสรภี าพหน้าท่ขี อง
มนษุ ยชน
7. วเิ คราะห์การแกป้ ญั หาการทจุ รติ และการมสี ว่ น ประชาชน
ร่วมในการปูองกันและปราบปรามการทุจรติ
8. ตระหนกั ในการมจี ิตสา้ นกึ ในการมสี ว่ นรว่ มที่จะ 2. หลักการอยูร่ ่วมกันตาม
ปูองกนั และปราบปรามการทจุ รติ
วถิ ีทางประชาธปิ ไตยบนพ้ืนฐาน
ของคุณธรรมจรยิ ธรรม
3.สถานการณ์ และการมีส่วน
รว่ มทางการเมืองการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ์เป็นประมขุ
4.หลักสิทธิมนุษยชน 20
5.การมสี ่วนรว่ มในการคมุ้ ครอง
ตนเอง และผอู้ ่นื ตามหลกั สิทธิ
มนุษยชน
6.ประโยชนข์ องการมีสว่ นร่วม
ในการคมุ้ ครองฯ (ยกตวั อย่าง)
7. การมีส่วนรว่ มท่จี ะปูองกนั
และปราบปรามการทจุ ริต
149
คาอธิบายรายวชิ า สค21003 การพฒั นาตนเองชมุ ชน สงั คม
จานวน 1 หน่วยกิต
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดบั
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลกั การพัฒนาชมุ ชน สงั คม สามารถวิเคราะห์ ข้อมลู และก้าหนดแนวทางการพัฒนา
ตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม ให้สอดคลอ้ งกับสภาพการเปล่ยี นแปลงของเหตกุ ารณ์ปจั จุบัน
ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกย่ี วกบั เร่อื งดังตอ่ ไปนี้
1. ความหมาย ความสา้ คัญ ของขอ้ มูล ประโยชน์ของขอ้ มูลตนเอง ชมุ ชน สังคม
2. เทคนิคและวิธกี ารจัดเกบ็ ข้อมูล เชน่ การจดั เวทปี ระชาคม การส้ารวจข้อมูลการ ประชาพิจารณ์ โดยใช้
แบบสอบถาม การสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ ตา่ งๆ ฯลฯ
3. การวิเคราะหข์ อ้ มูลเพอ่ื การจัดท้าแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
4. การจัดท้าแผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คมและการน้าไปใช้ในชีวิตประจ้าวนั
การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้
จดั ให้ผเู้ รยี นฝกึ ทักษะจากการปฏบิ ตั จิ ริงการเก็บข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมลู การจดั ทา้ แผนพัฒนาตนเอง
ชุมชน สงั คม โดยการเขา้ รว่ มสังเกตการณ์ สร้างสถานการณจ์ ้าลอง จดั ท้าเวทีประชาคม และการศึกษาดงู าน
เปรยี บเทยี บการจดั ท้าแผนพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ระหวา่ งกลมุ่ ระหวา่ งชุมชน
การวดั และประเมินผล
จากผลงาน และการมีสว่ นรว่ มในการจดั ทา้ แผนพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
150
รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา สค21003 การพฒั นาตนเอง ชุมชน สังคม
จานวน 1 หน่วยกิต
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ ความเข้าใจ หลกั การพฒั นาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะห์ ขอ้ มลู และกา้ หนดแนวทางการพฒั นา
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกบั สภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณป์ จั จุบนั
ท่ี หวั เรื่อง ตัวช้วี ดั เนอ้ื หา จานวน
1. พัฒนาชมุ ชน สังคม (ชั่วโมง)
1.มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1.หลกั การพัฒนาตนเอง ชุมชน
หลักการพัฒนา ชมุ ชน สงั คม สังคม 20
2.มีความรู้ ความเข้าใจ และ 2.ความหมาย ความส้าคัญ
เห็นความสา้ คญั ของขอ้ มลู ประโยชน์ ของขอ้ มลู ด้าน 20
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน
สงั คม - ภมู ิศาสตร์
- ประวตั ศิ าสตร์
3.วิเคราะหแ์ ละอธิบายข้อมูล - เศรษฐศาสตร์
- การเมืองการปกครอง
- ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
- หน้าทพ่ี ลเมือง
- ทรพั ยากร สง่ิ แวดล้อม
- สาธารณสุข
- การศึกษา
3.วธิ กี ารจัดเกบ็ วเิ คราะหข์ อ้ มูล
ดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย และ
เผยแพรข่ ้อมูล
4.เกดิ ความตระหนัก และมี 4.การมีส่วนร่วมในการวางแผน
สว่ นร่วมในการจัดท้า พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน
แผนพัฒนาชมุ ชน สงั คม สงั คม
5. สามารถก้าหนดแนว 5.1 เทคนคิ การมีสว่ นรว่ มในการ
ทางการพัฒนาตนเอง จัดท้าแผน เช่น
ครอบครวั ชุมชน สงั คม
- การจดั ทา้ เวทปี ระชาคม
ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชว้ี ดั เน้อื หา 151
- การประชุมกล่มุ ย่อย จานวน
- การสัมมนา (ชวั่ โมง)
- การส้ารวจประชามติ
- การประชาพิจารณ์
ฯลฯ
5.2 การจัดทา้ แผน
-ทิศทาง นโยบาย
- โครงการ
- ผรู้ ับผิดชอบ
- จดั ล้าดบั ความสา้ คญั
ฯลฯ
5.3 การเผยแพร่สกู่ ารปฏบิ ัติ
- การเขยี นรายงาน
- การเขียนโครงงาน
ฯลฯ
รายวิชาเลอื กบังคับ 152
สาระการพฒั นาสังคม
หนว่ ยกิต
มาตรฐานท่ี รหัสรายวิชา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น 3
สค22016 รายวชิ า 3
5.4 สค22019 3
5.1 สค22020 การเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 3
5.2 การเรยี นรูส้ ู้ภัยธรรมชาติ 2
ประวัติศาสตรช์ าติไทย
รวม
153
คาอธบิ ายรายวชิ า สค22019 การเรียนรู้สูภ้ ยั ธรรมชาติ 2
จานวน 3 หนว่ ยกิต
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
มาตรฐานการเรียนรู้
5.1 มีความรูค้ วามเขา้ ใจและตระหนักเกยี่ วกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ
ปกครองในโลก และนา้ มาปรับใช้ในการด้าเนินชวี ติ เพือ่ ความมั่นคงของชาติ
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั
มีความรู้ความเขา้ ใจและตระหนกั เก่ียวกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง
ในทวีปเอเชยี และนา้ มาปรับใชใ้ นการดา้ เนินชีวิต เพ่อื ความมัน่ คงของชาติ
ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง
1. อธิบายความหมายของภัยแล้ง วาตภยั อทุ กภัย ดนิ โคลนถลม่ ไฟปาุ หมอกควัน แผ่นดินไหว และสนึ ามิ
2. บอกประเภทของวาตภยั และไฟปุา
3. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกิดภยั แลง้ วาตภัย อุทกภยั ดินโคลนถลม่ ไฟปุา หมอกควัน แผ่นดนิ ไหวและสึ
นามิ
4. บอกผลกระทบท่เี กิดจากภัยแลง้ วาตภัย อทุ กภัย ดนิ โคลนถล่ม ไฟปาุ หมอกควัน แผน่ ดินไหว และสึนามิ
5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบท่เี กิดจากภัยแลง้ วาตภยั อุทกภยั ดนิ โคลนถล่ม ไฟปุา หมอกควนั
แผ่นดินไหว และสึนามิ
6. บอกหว้ งเวลาการเกดิ ภยั แล้งในประเทศไทย
7. บอกฤดูกาลการเกิดไฟปาุ ในแตล่ ะพ้นื ทีข่ องประเทศไทย
8. บอกพ้นื ทเ่ี สย่ี งภัยตอ่ การเกดิ ภัยแลง้ วาตภัย อุทกภยั ดินโคลนถลม่ แผน่ ดนิ ไหว และสึนามใิ น
ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชีย
9. บอกสญั ญาณบอกเหตุก่อนเกดิ อุทกภัย ดนิ โคลนถลม่ และสึนามิ
10.บอกสถานการณภ์ ัยแล้ง วาตภัย อทุ กภัย ดินโคลนถล่มไฟปาุ หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว และสึนามิ ใน
ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชีย
11.นา้ เสนอผลการเปรยี บเทยี บสถิติการเกดิ ภยั แลง้ วาตภัย อทุ กภัย ดนิ โคลนถลม่ ไฟปาุ หมอกควัน
แผ่นดนิ ไหว และสนึ ามิของประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี
12.บอกวิธีการเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกดิ ภัยแล้ง วาตภยั อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปุา
หมอกควัน แผน่ ดินไหว และสึนามิ
13.บอกวธิ ีการปฏิบัตขิ ณะเกิดภัยแลง้ วาตภยั อุทกภัย ดินโคลนถล่ม ไฟปุา หมอกควัน แผ่นดินไหว
และสึนามิ
154
14.บอกวิธกี ารปฏบิ ตั หิ ลงั เกิดภยั แลง้ วาตภยั อุทกภัย ดิน ไฟโคลนถลม่ ปาุ หมอกควนั แผน่ ดินไหว
และสึนามิในประเทศไทย
15.ระบบุ ุคลากรที่เกยี่ วขอ้ งกบั การให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาตติ า่ ง ๆ
16.ระบหุ น่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องกับการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ธรรมชาตติ ่าง ๆ
ศกึ ษาและฝกึ ทักษะมีดังนี้
1.สถานการณ์การเกิดภยั แล้ง วาตภยั อุทกภยั ดนิ โคลนถล่ม ไฟปุา หมอกควนั แผน่ ดินไหว และสนึ ามิ
ประเทศไทย
2. การตรียมความพรอ้ มรบั มอื กับภยั แลง้ วาตภยั อุทกภัย ดนิ โคลนถล่ม ไฟปุา หมอกควัน แผน่ ดินไหว
และสึนามิ
3. สญั ญาณบอกเหตุก่อนเกิดอทุ กภัย และดนิ โคลนถล่ม และสึนามิ
4. ผลกระทบจากการเกิดภยั แล้ง วาตภัย อทุ กภยั ดินโคลนถล่ม ไฟปาุ หมอกควนั แผ่นดนิ ไหว และสึนามิ
5. บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภยั ธรรมชาติตา่ ง ๆ
การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้
1. ศึกษาจากชุดวิชาการเรยี นรู้สูภ้ ัยธรรมชาติ 2 และจากสอ่ื การเรียนรูอ้ ื่น ๆ เช่น เอกสาร สื่อ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แหล่งเรยี นรู้ในระบบออนไลน์ ฯลฯ
2. ศกึ ษาจากสภาพจริงและแหล่งเรียนรู้
3. ศึกษาจากผู้รู้ การเล่าประสบการณ์ การแลกเปลยี่ นเรียนรูจ้ ากผู้ประสบภยั สรปุ ผลการเรยี นรู้ และ
น้าเสนอในรูปแบบทห่ี ลากหลาย
การวดั และการประเมนิ
ประเมนิ จากแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบกอ่ นเรียน การสงั เกต การมีส่วนรว่ ม การทา้
กจิ กรรมการตรวจผลงาน
155
รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า สค22019 การเรียนรูส้ ูภ้ ัยธรรมชาติ 2
จานวน 3 หนว่ ยกติ
ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนต้น
ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชี้วดั เนื้อหา จานวน
1. ภยั แลง้ (ช่วั โมง)
1. อธบิ ายความหมายของภัยแลง้ 1.1 ความหมายของภัยแลง้
15
2. อธิบายความหมายของฝนแลง้ 1.1.1 ความหมายของภยั แลง้
ฝนทิ้งช่วง 1.1.2 ความหมายของฝนแลง้ ฝน
3. บอกสาเหตุ และปจั จยั การเกิด ทง้ิ ชว่ ง
ภยั แลง้ 1.2 ลกั ษณะการเกิดภัยแลง้
4. บอกผลกระทบทเ่ี กดิ จากภัยแล้ง 1.2.1 สาเหตุและปัจจยั การเกิดภัย
5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบ แล้ง
ทเ่ี กดิ จากภัยแล้ง 1.2.2 ผลกระทบทีเ่ กดิ จากภัยแลง้
6. บอกหว้ งเวลาการเกิดภยั แล้ง 1.2.3 ห้วงเวลาการเกดิ ภัยแล้ง และ
และพ้นื ทเี่ สี่ยงภยั ต่อการเกดิ ภัย พนื้ ทเ่ี สยี่ งภัยต่อการเกิดภัยแลง้ ใน
แลง้ ในประเทศไทยและ ประเทศไทยและประเทศตา่ งๆ ใน
ประเทศต่างๆในทวปี เอเชยี ทวีปเอเชีย
7. บอกสถานการณภ์ ัยแลง้ ใน 6.3 สถานการณภ์ ัยแล้ง
ประเทศไทย และประเทศใน 6.3.1 สถานการณภ์ ยั แลง้ ในประเทศ
ทวปี เอเชีย ไทยและประเทศในทวปี เอเชยี
8. น้าเสนอผลการเปรียบเทียบ 6.3.2 สถติ กิ ารเกดิ ภยั แลง้ ของ
สถิตกิ ารเกดิ ภยั แล้งของ ประเทศในทวปี เอเชยี
ประเทศในทวีปเอเชยี 1.4 แนวทางการปูองกนั และการแก้ไข
9. บอกวิธกี ารเตรียมความพร้อม ปัญหาผลกระทบทเี่ กดิ จากภยั แล้ง
รบั สถานการณ์การเกดิ ภยั แล้ง 1.4.1 การเตรยี มความพรอ้ มรับ
10. บอกวธิ ีการปฏิบัตขิ ณะเกิด สถานการณ์การเกิดภยั แล้ง
ภยั แล้ง 1.4.2 การปฏบิ ัติขณะเกิดภยั แลง้
11. บอกวธิ ีการปฏบิ ตั ิตนหลังเกิด 1.4.3 การปฏิบตั ติ นหลังเกดิ ภัยแลง้
ภัยแล้ง
156
ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชีว้ ัด เนื้อหา จานวน
2 วาตภัย (ช่วั โมง)
1. บอกความหมายของวาตภยั 2.1 ความหมายของวาตภยั
15
2. บอกประเภทของวาตภยั 2.1.1 ความหมายของวาตภัย
3. บอกสาเหตุ และปัจจัยการเกดิ 2.1.2 ประเภทของวาตภยั
วาตภัย 2.2 ลกั ษณะการเกิดวาตภัย
4. บอกผลกระทบทเี่ กดิ จากวาตภัย 2.2.1 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกดิ
5. ตระหนักถึงภยั และผลกระทบ วาตภยั
ทีเ่ กิดจากวาตภัย 2.2.2 ผลกระทบท่ีเกิดจากวาตภัย
6. บอกพื้นที่เสีย่ งภัยตอ่ การเกิด 2.2.3 พนื้ ท่เี ส่ียงภัยตอ่ การเกดิ
วาตภยั วาตภัยในประเทศไทยและประเทศ
ในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย
ในทวีปเอเชีย 2.3 สถานการณว์ าตภยั
7. บอกสถานการณ์วาตภัยใน 2.3.1 สถานการณว์ าตภยั ในประเทศ
ประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ ไทยและประเทศในทวีปเอเชยี
ในทวปี เอเชยี 2.3.2 สถติ ิการเกดิ วาตภยั ในประเทศ
8. น้าเสนอผลการเปรยี บเทยี บ ไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวปี
สถติ กิ ารเกดิ วาตภัยของประเทศ เอเชีย
ตา่ ง ๆในทวปี เอเชีย 2.4 แนวทางการปูองกนั และการแกไ้ ข
9. บอกวธิ ีการเตรียมความพรอ้ ม ปัญหาผลกระทบทีเ่ กิดจากวาตภัย
รบั สถานการณ์การเกดิ วาตภยั 2.4.1 การเตรยี มความพร้อมรับสถาน
10. บอกวิธีการปฏิบตั ขิ ณะเกดิ การณ์การเกิดวาตภยั
วาตภัย 2.4.2 การปฏิบตั ิขณะเกดิ วาตภยั
11. บอกวิธีการปฏิบตั ติ นหลังเกิด 2.4.3 การปฏิบัตติ นหลงั เกดิ วาตภยั
วาตภัย
157
ที่ หวั เรือ่ ง ตัวชว้ี ดั เนอ้ื หา จานวน
(ช่วั โมง)
3 อุทกภัยดนิ 1. อธิบายความหมายของอทุ กภยั 3.1 ความหมายของอทุ กภัย และดิน
โคลนถล่ม และดินโคลนถล่ม โคลนถล่ม 25
2. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกดิ - ความหมายของอุทกภยั และดนิ โคลนถล่
อุทกภยั และดนิ โคลนถล่ม ม
3. บอกผลกระทบที่เกิดจาก 3.2 ลกั ษณะการเกิดอุทกภยั และดิน
อทุ กภยั และดนิ โคลนถลม่ โคลนถล่ม
4. ตระหนกั ถงึ ภัยและผลกระทบท่ี
เกิดจากอทุ กภยั และดินโคลนถล่ม 3.2.1 สาเหตแุ ละปัจจัยการเกิด
5. บอกสัญญาณบอกเหตุกอ่ นเกิด อุทกภยั และดนิ โคลนถล่ม
อทุ กภยั และดนิ โคลนถลม่ 3.2.2 ผลกระทบที่เกดิ จากอทุ กภัย
6. บอกพน้ื ทเ่ี ส่ียงภยั และดินโคลนถลม่
ตอ่ การเกิดอุทกภัย และดนิ โคลน 3.2.3 สัญญาณบอกเหตุก่อนเกดิ
ถลม่ ในประเทศไทยและประเทศ อทุ กภยั และดนิ โคลนถลม่
ตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี 3.2.4 พ้นื ทีเ่ สยี่ งภัยต่อการเกิด
7. บอกสถานการณ์อุทกภัย และ อุทกภัย และดินโคลนถล่มในประเทศ
ดนิ โคลนถลม่ ในประเทศไทยและ ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในทวปี เอเชีย
ประเทศตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี 3.3 สถานการณ์อทุ กภัย และดินโคลนถล่
8. นา้ เสนอผลการเปรียบเทียบ ม
สถติ กิ ารเกดิ อุทกภยั และดินโคลน 3.3.1 สถานการณ์อทุ กภยั และดนิ
ถล่มในประเทศไทยและประเทศ โคลนถลม่ ในประเทศไทย และ
ตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี ประเทศ ตา่ ง ๆในทวปี เอเชีย
9. บอกวิธกี ารเตรียมความพร้อม 3.3.2 สถิติการเกดิ อุทกภยั และดนิ
รบั สถานการณก์ ารเกิดอุทกภยั โคลนถลม่ ในประเทศไทย และ
และดินโคลนถลม่ ประเทศตา่ ง ๆในทวีปเอเชยี
10. บอกวิธีการปฏบิ ัตขิ ณะเกดิ 3.4 แนวทางการปอู งกนั และการแก้ไข
อุทกภัยและดินโคลนถลม่ ปญั หาผลกระทบที่เกดิ จากอทุ กภัย และ
11. บอกวธิ ีการปฏิบตั ิตนหลงั เกิด ดินโคลนถล่ม
อุทกภัย และดนิ โคลนถล่ม 3.4.1 การเตรียมความพร้อมรับสถา
ณการณ์การเกิดอทุ กภัยและดนิ โคลน
ถลม่
158
ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชีว้ ัด เนอื้ หา จานวน
4 ไฟป่า (ช่วั โมง)
1. บอกความหมายของไฟปุา 3.4.2 การปฏิบัตขิ ณะเกิดอุทกภัย
5 หมอกควนั 2. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกดิ และดนิ โคลนถลม่ 15
ไฟปาุ 3.4.3 การปฏิบตั ติ นหลงั เกิดอทุ กภยั 15
3. บอกชนดิ ของไฟปาุ และดินโคลนถล่ม
4. บอกผลกระทบท่ีเกิดจากไฟปาุ 4.1 ความหมายของไฟปาุ
5. ตระหนกั ถึงภยั และผลกระทบที่
- ความหมายของไฟปุา
เกิดจากไฟปาุ 4.2 ลักษณะการเกดิ ไฟปาุ
6. บอกฤดกู าลการเกดิ ไฟปาุ ในแต่
4.2.1 สาเหตแุ ละปจั จัยการเกิดไฟปุา
ละพน้ื ที่ของประเทศไทยและ 4.2.2 ชนดิ ของไฟปาุ
ประเทศ ตา่ งๆ ในทวีปเอเชยี 4.2.3 ผลกระทบที่เกิดจากไฟปาุ
7. อธบิ ายสถานการณไ์ ฟปุาใน 4.2.4 ฤดูกาลการเกดิ ไฟปาุ ในแต่ละ
ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ พื้นที่ของประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ
ในทวปี เอเชีย ในทวปี เอเชยี
8. นา้ เสนอผลการเปรยี บเทียบ 4.3 สถานการณ์ไฟปุา
สถิตกิ ารเกิดไฟปุาของประเทศ 4.3.1 สถานการณ์ไฟปุาในประเทศ
ไทยและประเทศต่าง ๆ ในทวีป ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชีย
เอเชีย 4.3.2 สถิติการเกิดไฟปาุ ของประเทศ
9. บอกวิธีการเตรยี มความพร้อม ตา่ ง ๆในทวีปเอเชยี
รับสถานการณ์การเกดิ ไฟปาุ 4.4 แนวทางการปูองกันและการแก้ไข
10. บอกวิธกี ารปฏิบตั ิขณะเกดิ ปญั หาผลกระทบทีเ่ กดิ จากไฟปาุ
ไฟปุา 4.4.1 การเตรียมความพรอ้ มรับสถาน
11. บอกวิธกี ารปฏบิ ัติตนหลังเกดิ การณก์ ารเกดิ ไฟปาุ
ไฟปุา 4.4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ ไฟปุา
1. บอกความหมายของหมอกควนั 4.4.3 การปฏบิ ตั ติ นหลังเกดิ ไฟปุา
2. บอกสาเหตุ และปจั จัยการเกิด
5.1 ความหมายของหมอกควัน
- ความหมายของหมอกควัน
159
ที่ หวั เรื่อง ตัวชี้วดั เนอ้ื หา จานวน
(ช่วั โมง)
หมอกควัน 5.2 ลกั ษณะการเกิดหมอกควัน
3. บอกผลกระทบทเี่ กดิ จากหมอก 5.2.1 สาเหตแุ ละปัจจัยการเกดิ หมอก
ควนั ควัน
4. ตระหนักถึงภัยและผลกระทบท่ี 5.2.2 ผลกระทบที่เกิดจากหมอกควนั
เกิดจากหมอกควนั 5.2.3 พน้ื ท่ที ่ไี ด้รับผลกระทบจาก
5. บอกพื้นทีพ่ นื้ ที่ทีไ่ ด้รับ หมอกควนั ในประเทศไทยและประเทศ
ผลกระทบจากหมอกควนั ใน ตา่ งๆ ในทวปี เอเชีย
ประเทศไทยและประเทศตา่ งๆ 5.3 สถานการณ์หมอกควนั
ในทวีปเอเชีย 5.3.1 สถานการณแ์ ผ่นดินไหวใน
6. บอกสถานการณ์หมอกควันใน ประเทศไทย และประเทศในทวีป
ประเทศไทย และประเทศในทวีป เอเชีย
เอเชีย 5.3.2 สถิตกิ ารเกดิ หมอกควันใน
7. นา้ เสนอผลการเปรยี บเทียบ ประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ใน
สถติ กิ ารเกิดหมอกควนั ในประเทศ ทวีปเอเชยี
ไทยและประเทศตา่ งๆ ในทวีป 5.4 แนวทางการปอู งกนั และการแกไ้ ข
เอเชยี ปัญหาผลกระทบทีเ่ กดิ จากหมอกควัน
8. บอกวิธีการเตรียมความพร้อม 5.4.1 การเตรียมความพรอ้ มรับสถาน
รบั สถานการณก์ ารเกดิ หมอกควัน การณก์ ารเกดิ หมอกควนั
9. บอกวธิ กี ารปฏิบัตขิ ณะเกิด 5.4.2 การปฏิบตั ขิ ณะเกดิ หมอกควัน
หมอกควนั 5.4.3 การปฏบิ ัตติ นหลงั เกดิ หมอก
10. บอกวิธีการปฏบิ ตั ติ นหลงั เกิด ควัน
หมอกควัน
6 แผ่นดนิ ไหว 1. อธิบายความหมายของแผน่ ดิน 6.1 ความหมายของแผน่ ดนิ ไหว 15
ไหว - ความหมายของแผ่นดนิ ไหว
2. บอกสาเหตุ และปจั จัยการเกดิ 6.2 ลกั ษณะการเกิดแผ่นดนิ ไหว
แผ่นดินไหว 6.2.1 สาเหตุและปจั จยั การเกิดแผน
3. บอกผลกระทบที่เกดิ จาก ดนิ ไหว
แผน่ ดินไหว 6.2.2 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากแผ่นดิน
160
ที่ หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ัด เนอ้ื หา จานวน
(ช่วั โมง)
4. ตระหนกั ถึงภัยและผลกระทบท่ี ไหว
เกิดจากแผ่นดินไหว 6.2.3 พืน้ ท่ีเสย่ี งภัยต่อการเกิดแผ่นดนิ
5. บอกพ้ืนทเ่ี สยี่ งภัยต่อการเกดิ ไหวในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ
แผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทยและ ในทวปี
ประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชยี 6.3 สถานการณ์แผ่นดนิ ไหว
6. บอกสถานการณแ์ ผ่นดินไหว 6.3.1 สถานการณแ์ ผ่นดนิ ไหวใน
ในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ใน
ในทวปี เอเชีย ทวีปเอเชยี
7. น้าเสนอผลการเปรียบเทยี บ 6.3.2 สถติ กิ ารเกิดแผน่ ดนิ ไหวของ
สถิตกิ ารเกดิ แผ่นดนิ ไหวของ ประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ใน
ประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ใน ทวีปเอเชยี
ทวปี เอเชยี 6.4 แนวทางการปูองกันและการแกไ้ ข
8. บอกวิธีการเตรียมความพร้อม ปญั หาผลกระทบทเ่ี กิดจากแผ่นดินไหว
รับสถานการณก์ ารเกิดแผ่นดินไหว 6.4.1 การเตรยี มความพร้อมรบั
9. บอกวธิ ีการปฏิบตั ขิ ณะเกดิ สถานการณ์การเกิดแผ่นดนิ ไหว
แผน่ ดนิ ไหว 6.4.2 การปฏบิ ัตขิ ณะเกิดแผ่นดนิ ไหว
10. บอกวธิ กี ารปฏิบัติตนหลงั เกดิ 6.4.3 การปฏบิ ตั ติ นหลงั เกดิ แผ่นดนิ
แผ่นดนิ ไหว ไหว
7 สึนามิ 1. บอกความหมายของสึนามิ 7.1 ความหมายของสึนามิ 15
2. บอกสาเหตุ และปัจจยั การเกิด - ความหมายของสึนามิ
สึนามิ
3. บอกสญั ญาณบอกเหตุกอ่ นเกิด 7.2 ลกั ษณะการเกดิ สนึ ามิ
สึนามิ 7.2.1 สาเหตุและปัจจัยการเกิดสึนามิ
4. บอกผลกระทบทีเ่ กดิ จากสนึ ามิ 7.2.2 สญั ญาณบอกเหตกุ อ่ นเกดิ สึนามิ
5. ตระหนักถงึ ภัยและผลกระทบ 7.2.3 ผลกระทบท่เี กดิ จากสึนามิ
ท่ีเกิดจากสนึ ามิ 7.2.4 พนื้ ทเ่ี ส่ยี งภัยตอ่ การเกิดสนึ ามิ
6. บอกพ้ืนทีเ่ ส่ียงภัย ในประเทศไทยและประเทศตา่ ง ๆ ใน
ตอ่ การเกดิ สึนามิในประเทศไทย ทวปี เอเชีย
7.3 สถานการณส์ นึ ามิ
161
ที่ หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวัด เน้อื หา จานวน
(ชว่ั โมง)
8 บคุ ลากรและ และประเทศต่างๆ ในทวปี เอเชีย 7.3.1 สถานการณส์ นึ ามิในประเทศ
หนว่ ยงานที่ 3
เกีย่ วข้องกบั 7. บอกสถานการณส์ นึ ามิใน ไทย
การให้ความ
ชว่ ยเหลือการ ประเทศไทย และประเทศในทวปี และประเทศต่าง ๆ ในทวปี เอเชีย
ประสบภัย
ธรรมชาติ เอเชีย 7.3.2 สถติ ิการเกิดสึนามิของประเทศ
8. น้าเสนอผลการเปรียบเทยี บ ไทยและประเทศตา่ ง ๆ ในทวีปเอเชยี
สถิติการเกิดสนึ ามขิ องประเทศไทย 7.4 แนวทางการปอู งกันและการแก้ไข
และประเทศในทวปี เอเชยี ปญั หาผลกระทบท่เี กดิ จากสนึ ามิ
9. บอกวธิ ีการเตรยี มความพรอ้ ม 7.4.1 การเตรยี มความพร้อมรบั สถาน
รบั สถานการณก์ ารเกิดสนึ ามิ การณเ์ กดิ สึนามิ
10. บอกวธิ ีการปฏบิ ตั ิขณะเกิด 7.4.2 การปฏิบัติขณะเกดิ สึนามิ
สนึ ามิ 7.4.3 การปฏิบตั ติ นหลงั เกิดสนึ ามิ
11. บอกวธิ กี ารปฏบิ ัติตนหลงั เกิด
สนึ ามิ
12. ระบุบคุ ลากรทีเ่ กยี่ วข้องกบั 8.1 บคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการใหค้ วาม
การให้ความช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยธรรมชาติต่าง ๆ
ธรรมชาติต่างๆ 8.2 หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องกับการใหค้ วาม
13. ระบหุ น่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ ชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาตติ า่ งๆ
การใหค้ วามช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย
ธรรมชาตติ ่างๆ
162
คาอธิบายรายวิชา สค22020 ประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย
จานวน 3 หน่วยกติ
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ
มคี วามรู้ความเข้าใจ ตระหนัก เก่ียวกบั ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตรเ์ ศรษฐศาสตร์การเมือง
การปกครอง ในทวปี เอเชีย และนา้ มาปรบั ใช้ในการดา้ เนนิ ชวี ิต เพ่อื ความม่ันคงของชาติ
การศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกบั เรือ่ งต่อไปนี้
ความภมู ิใจในความเปน็ ไทย มรดกไทยสมัยกรุงศรีอยธุ ยาและกรุงธนบุรีบทเรยี นจาก
เหตกุ ารณท์ างประวัติศาสตรใ์ นสมยั กรงุ ศรีอยุธยาและกรงุ ธนบรุ ีและความสมั พันธ์ กับ ต่างประเทศในสมัย
กรงุ ศรอี ยธุ ยาและกรุงธนบุรี
การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้
เนน้ ให้ผูเ้ รียนแลกเปลยี่ นเรยี นรจู้ ากการอภปิ ลายกลุ่ม ศกึ ษาจากใบความรู้เอกสา รประกอบการ
เรยี นการสอน และเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง ศกึ ษาจากอนิ เทอร์เนต็ ผู้เชย่ี วชาญ สื่อวีดีทัศน์
การทา้ ใบงาน การทา้ แบบทดสอบ เรยี นรดู้ ้วยตนเองการรายงาน การศกึ ษาแหลง่ เรียนร้ปู ระสบการณ์ตรง
โดยใชส้ ถานการณ์จริงและฝึกปฏบิ ัติที่เก่ยี วกบั ประวัตศิ าสตรช์ าติไทย
การวัดและประเมนิ ผล
จากสภาพจรงิ จากการสงั เกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ผลการปฏบิ ัตงิ าน การมีส่วนรว่ ม
ในกิจกรรมการเรียนรคู้ วามสนใจในกระบวนการเรียนรู้ ความรบั ผิดชอบในการปฏบิ ัตงิ าน แบบทดสอบ
163
รายละเอยี ดคา้ อธิบายรายวิชา สค22020 ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย
จ้านวน 3 หนว่ ยกิต
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ
มคี วามร้คู วามเข้าใจ ตระหนักกบั เก่ียวกบั ภมู ศิ าสตร์ประวตั ิศาสตร์เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ
ปกครอง ในทวีปเอเชียและนา้ มาปรับใช้ในการด้าเนนิ ชวี ิต เพอ่ื ความมนั่ คงของชาติ
ที่ หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ดั เนือ้ หา จานวน
(ชว่ั โมง)
1 ความภมู ิใจใน 1. อธิบายความหมายของชาติ 1. สถาบันหลกั ของชาติ 60
ความเป็นไทย 2. อธิบายความเป็นมาของ 1.1 สถาบนั ชาติ
ชนชาติไทย 1.1.1ความหมายของชาติ
3. บอกพระปรีชาสามารถของ 1.1.2 ความเป็นมาของชนชาตไิ ทย
พระมหากษตั รยิ ์ไทยกับการรวมชาติ 1.1.3 การรวมชาตไิ ทยเป็นปกึ แผ่น
4. อธิบายประวัติความเปน็ มาของ 1.1.4 บทบาทของพระมหากษตั ริย์
ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ และอิสลาม ไทยในการรวมชาติ
5. อธบิ ายความสา้ คญั ของสถาบัน 1.2 สถาบนั ศาสนา
ศาสนา 1.2.1 ศาสนาพุทธ
6. ระบบุ ทบาท และความสา้ คัญ 1.2.2 ศาสนาคริสต์
ของสถาบันพระมหากษตั ริย์ 1.2.3 ศาสนาอสิ ลาม
7. อธิบายบุญคุณของ 1.3 สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยในอดตี 1.3.1 บทบาทและความสา้ คญั ของ
8. บอกพระปรชี าสามารถ คณุ งาม สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์
ความดี และวีรกรรม ของ 1.3.2 พระปรีชาสามารถของ
สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 1 พระมหากษตั ริย์ไทย
(สมเดจ็ พระเจา้ อูท่ อง) 1.3.3 สถาบนั พระมหากษตั ริย์คอื
สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ศนู ยร์ วมใจของคนในชาติ
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช
สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช
164
ที่ หัวเรอื่ ง ตัวชวี้ ัด เนอื้ หา จานวน
(ชว่ั โมง)
9. บอกคุณงามความดขี องสมเด็จ 2. บุญคณุ ของแผ่นดนิ
พระสรุ ิโยทัยพระสพุ รรณกัลยา 2.1 บุญคุณของพระมหากษัตรยิ ์
ขุนรองปลัดชชู าวบา้ นบางระจัน ไทยตัง้ แต่สมัยกรุงสโุ ขทัยกรุงศรี
และพระยาพิชยั ดาบหกั อยุธยา กรุงธนบุรี และกรุง
รัตนโกสินทร์
2.2 พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยในสมยั กรุง
ศรีอยธุ ยาและกรุงธนบรุ ี
2.2.1รายนามพระมหากษัตรยิ ์
ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยา
2.2.2รายนามพระมหากษตั รยิ ์
ในสมัยกรุงธนบรุ ี
2.3 วรี กษัตรยิ ์ไทยสมยั กรงุ ศรี
อยุธยา
2.3.1 สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 1
(สมเดจ็ พระเจ้าอทู่ อง)
2.3.2 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
2.3.3 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
2.3.4 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
2.4 วีรกษัตริย์ไทยสมยั กรุงธนบุรี
2.4.1 สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ
มหาราช
2.5 วรี บรุ ุษและวีรสตรีไทยในสมัย
กรุงศรีอยุธยาและกรงุ ธนบรุ ี
2.5.1 สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา
1) สมเดจ็ พระสุริโยทยั
2) พระสพุ รรณกัลยา
3) ขุนรองปลัดชู
4) ชาวบ้านบางระจนั
2.5.2 สมัยกรุงธนบรุ ี
165
ที่ หวั เร่ือง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จานวน
(ชั่วโมง)
2 มรดกไทยสมัย 1. อธิบายความหมาย/นยิ าม 1) พระยาพิชัยดาบหัก
กรงุ ศรีอยุธยา “มรดกไทย” 1. ความหมาย/นยิ าม “มรดกไทย” 20
และกรุงธนบุรี 2. อธิบายถงึ คุณค่าของประเพณี 2. ประเพณีไทย
ไทย 2.1 พระราชพิธพี ยหุ ยาตราทาง
3. บอกเล่าวัฒนธรรมไทยสมัย ชลมารค
กรุงศรีอยธุ ยา และกรงุ ธนบรุ ี 2.2 พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั
การแต่งกายการใชภ้ าษา แรกนาขวัญ
อาหารไทยและการละเล่น 2.3 ประเพณีสงกรานต์
เป็นตน้ 2.4 ประเพณลี งแขกทา้ นา
4. ยกตวั อยา่ ง วรรณกรรมในสมัย 2.5 ประเพณเี ดอื น 11การแข่งเรอื
กรุงศรอี ยุธยา และกรงุ ธนบรุ ี 2.6 ประเพณีเดือน 12 พิธี
5. ระบลุ ักษณะเดน่ ของ จองเปรยี งตามประทปี (ชักโคม)
สถาปัตยกรรม ประติมากรรม 3. วัฒนธรรมไทย
ไทยในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา และ 3.1 วัฒนธรรมการแต่งกาย
กรงุ ธนบรุ ี ในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา
6. อธบิ ายความภาคภูมิใจ 3.2 ภาษาในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา
ในมรดกไทย 3.3 อาหารไทยสมยั กรงุ ศรีอยุธยา
7.ยกตวั อยา่ ง พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถึง 3.4 การละเลน่ สมัยกรงุ ศรีอยุธยา
ความภาคภมู ิใจในมรดกไทย และกรุงธนบุรี
อยา่ งนอ้ ย 3 อย่าง 4. ศิลปะไทย
4.1 วรรณกรรมสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา
4.1.1 ลลิ ติ โองการแช่งน้า หรือ
ประกาศแชง่ น้า โคลงหา
4.1.2 มหาชาติค้าหลวง
4.1.3 ลลิ ติ ยวนพาย
4.1.4 ลลิ ิตพระลอ
4.1.5 กาพย์มหาชาติ
4.1.6 หนงั สือจินดามณี
4.2 สถาปัตยกรรม
166
ที่ หวั เรือ่ ง ตวั ชีว้ ัด เนื้อหา จานวน
(ชว่ั โมง)
3 บทเรียนจาก 1. เลา่ เหตกุ ารณ์ทส่ี า้ คญั ทาง 4.2.1 สถาปัตยกรรมสมัย
เหตกุ ารณท์ าง ประวัตศิ าสตรใ์ นสมัย กรุงศรีอยุธยา 30
ประวัติศาสตร์ กรงุ ศรอี ยธุ ยา และกรุงธนบรุ ี 4.2.2 สถาปัตยกรรมสมัยกรุงธนบุรี
ในสมัยกรงุ ศรี 2. เลือกแนวทางในการน้าบทเรยี น 4.3 ประติมากรรม
อยธุ ยาและ จากเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์ 4.3.1 ประติมากรรมสมัย
กรงุ ธนบรุ ี ทไี่ ดม้ าปรบั ใชใ้ นการด้าเนินชวี ิต กรุงศรีอยธุ ยา
5. การอนุรักษ์มรดกไทย
4 ความสัมพนั ธ์ 1. สงครามชา้ งเผอื ก
กับ ตา่ งประเทศ 2. การเสียกรงุ ศรีอยุธยา ครง้ั ที่ 1
ในสมยั กรุงศรี 3. สงครามยุทธหตั ถขี องสมเดจ็ พระ
อยุธยาและ นเรศวรมหาราช
กรุงธนบุรี 4. การเสียกรงุ ศรีอยธุ ยา ครงั้ ท่ี 2
5. การกอบกู้เอกราชของสมเด็จ
พระเจา้ ตากสนิ มหาราช
1.อธบิ ายความสัมพันธ์กบั 1. ความสมั พนั ธ์กับ ตา่ งประเทศ 10
ต่างประเทศในสมัยกรงุ ศรี ในสมยั กรงุ ศรีอยุธยา
อยุธยา และสมัยกรุงธนบรุ ี 1.1 ความสัมพนั ธ์กับรัฐเพื่อนบ้าน
2. วิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ 1.2 ความสัมพนั ธ์กับประเทศ
กับ ต่างประเทศ ในทวปี เอเชียและ ในทวปี เอเชีย
ทวีปยุโรปที่สง่ ผลต่อความมั่น คง 1.3 ความสมั พันธ์กับประเทศ
ของประเทศ ในทวปี ยโุ รป (ชนชาติตะวนั ตก)
1) ด้านเศรษฐกิจการค้า 2. ความสัมพนั ธ์กับตา่ งประเทศ
2) ดา้ นการเมอื งการปกครอง ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี
3) ด้านการทตู 2.1 ความสัมพันธ์รัฐเพอ่ื นบ้าน
4) ด้านศาสนา และวฒั นธรรม 2.2 ความสัมพนั ธก์ ับประเทศ
5) ด้านการศกึ ษา ในทวปี ยุโรป
แผนการลงทะเบยี นเรยี น กศน.อาเภอเมอื งอา่ งทอง หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ
ท่ี สารการเรยี นรู้ ภาคเรียนที่ 1/2565 ภาคเรียนที่ 2/2565
รายวชิ า
วชิ าบังคบั (40) รหสั นก รหสั รายวิชา
1. ทกั ษะการเรยี นรู้ ทักษะการเรียนรู้
2. ความรู้พืน้ ฐาน ทร21001 ภาษาไทย 5- -
3. การประกอบอาชพี พ21001 4 พค21001 คณติ ศาสตร์
4. ทักษะการด้าเนินชีวิต เศรษฐกจิ พอเพียง
5. การพัฒนาสงั คม ทช21001 - อช21002 ทกั ษะการพฒั นาอาชพี
- 1 ทช21002 สุขศึกษา พลศกึ ษา
-- -
วิชาเลือกบงั คับ (9)
1. ทักษะการเรยี นรู้
2. ความรู้พน้ื ฐาน พว22002 การใช้พลังงานไฟฟาู ใน 3 พว22003 วัสดศุ าสตร์ 2
ชวี ิตประจ้าวนั 2
3. การประกอบอาชีพ
4. ทักษะการด้าเนนิ ชีวิต
5. การพัฒนาสังคม สค22019 การเรยี นร้สู ภู้ ัยธรรมชาติ
วิชาเลอื กเสรี (7)
1. ทักษะการเรียนรู้
2. ความรพู้ น้ื ฐาน
3. การประกอบอาชีพ
4. ทกั ษะการด้าเนนิ ชีวิต
5. การพฒั นาสงั คม สค22022 การปอู งกันการทจุ รติ 2
สค0200036 รู้ทันข่าวและ Fake News 2
รวม 17
รวม 56
หมายเหตุ * 1. วิชาบังคบั 4 0 หนว่ ยกติ 2.วิชาเลอื กบังคับ/เลอื กเสร
**
รายวิชาเลอื กเสรี ปรบั เปลย่ี นตาม นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นโยบา
บระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 167
นก รหสั ภาคเรยี นท่ี 1/2566 นก รหัส ภาคเรียนท่ี 2/2564 นก
รายวชิ า รายวชิ า
-- - -- - -
4 พว21001 วิทยาศาสตร์ 4
4 พต21001 ภาษาอังกฤษในชวี ิตประจา้ วนั 2 อช21001 ช่องทางการพัฒนาอาชพี 2
2 -- -
4 อช21003 การพฒั นาอาชีพให้มคี วามเขม้ แข็ง 2 สค21001 สังคมศึกษา 3
1
2 ทช21003 ศลิ ปศึกษา สค21003 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สงั คม
- สค21002 ศาสนาและหน้าที่พลเมอื ง
3
2 3 สค22020 ประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย 3 สค22016 การเงนิ เพอื่ ชีวติ 2 3
16 13 13
หนว่ ยกติ
รี 16 หน่วยกิ ต รวม 56 หนว่ ยกิต
ายสานักงาน กศน. และ นโยบายสานักงาน กศน.จังหวัดอ่างทอง
168
วธิ ีการจดั การเรียนรู้
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีวธิ กี ารจัดการเรียนรู้
ที่หลากหลาย ได้แก่
1.การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เป็นวธิ ีการจัดการเรยี นรูท้ ี่ผู้เรียนก้าหนดแผนการเรยี นรูข้ องตนเองตามรายวิชาที่
ลงทะเบยี นเรยี น โดยมีครูเปน็ ท่ปี รึกษาและใหค้ ้าแนะน้าในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากภูมิปญั ญา ผู้รู้ และ
สื่อต่าง ๆ
2. การเรยี นรแู้ บบพบกล่มุ เปน็ วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ทก่ี ้าหนดใหผ้ ้เู รียนมาพบกันโดยมีครเู ปน็ ผดู้ า้ เนนิ การให้
เกดิ กระบวนการกล่มุ เพือ่ ใหม้ กี ารอภิปรายแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละหาข้อสรุปร่วมกัน
3. การเรียนรแู้ บบทางไกลเป็นวธิ กี ารจัดการเรียนร้จู ากสอ่ื ต่าง ๆ โดยที่ผเู้ รยี นและครจู ะสอื่ สารกนั ทางสื่อ
อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ ป็นสว่ นใหญ่ หรือถา้ มีความจา้ เป็นอาจพบกนั เปน็ ครง้ั คราว
4. การเรยี นร้แู บบช้ันเรียนเปน็ วิธีการจดั การเรียนรทู้ ่ีสถานศกึ ษาก้าหนดรายวิชา เวลาเรียน และสถานท่ี ที่
ชดั จน ซึ่งวิธกี ารจดั การเรยี นร้นู เี้ หมาะสา้ หรับผเู้ รียนที่มีเวลามาเข้าช้ันเรียน
5. การเรยี นร้ตู ามอัธยาศยั เป็นวธิ ีการจดั การเรียนรูท้ ี่ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ตามความต้องการ และความ
สนใจ จากสอ่ื เอกสาร สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรอื จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิตามแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ แล้วนา้ ความรแู้ ละ
ประสบการณ์มาเทยี บโอนเข้าส่หู ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
6. การเรียนรู้จากการท้าโครงงานเปน็ วิธกี ารจดั การเรียนรู้ท่ผี ้เู รียนก้าหนดเรือ่ งโดยสมัครใจตามความสนใจ
ความตอ้ งการ หรือสภาพปัญหา ที่จะน้าไปสูก่ ารศึกษาคน้ คว้า ทดลอง ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง และมกี ารสรปุ ผลการ
ด้าเนนิ งานตามโครงงาน โดยมคี รูเป็นผ้ใู หค้ ้าปรกึ ษา แนะนา้ อา้ นวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตุน้
เสริมแรงใหเ้ กิดการเรียนรู้
7. การเรยี นรรู้ ปู แบบอื่น ๆ สถานศกึ ษาสามารถออกแบบวธิ กี ารจดั การเรียนรใู้ นรปู แบบอื่น ๆ ได้ตามความ
ต้องการของผูเ้ รียน
วิธีการจัดการเรยี นรู้ดงั กลา่ วข้างตน้ สถานศกึ ษาและผเู้ รียนรว่ มกันก้าหนดวธิ ีเรยี น โดยเลือกเรียน
วิธใี ดวธิ ีหนง่ึ หรอื หลายวธิ ีก็ไดข้ นึ้ อยู่กบั ความยากง่ายของเนื้อหา และสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวติ และการท้างานของ
ผ้เู รียน โดยขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจดั ให้มีการสอนเสรมิ ไดท้ กุ วิธีเรยี น เพ่ือเตมิ เต็มความรใู้ ห้บรรลุ
มาตรฐานการเรยี นรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 มุ่งพัฒนาใหผ้ ูเ้ รยี นสู่ความเป็นคน “คิดเปน็ ” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้
ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้างองค์กรความรู้ส้าหรับตนเอง และชมุ ชน สงั คม ซึ่งก้าหนดการจดั กระบวนการเรยี นรู้
169
กศน. หรอื ONIE MODEL ซงึ่ เปน็ กระบวนการเรียนรทู้ จ่ี ดั ขนึ้ อยา่ งเปน็ ระบบตามปรัชญา “คิดเปน็ ” ประกอบด้วย 4
ขั้นตอน ดงั นี้
1. ขั้นกา้ หนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ ( O: Orientation)
2. ข้นั แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรยี นรู้ ( N: New ways of learning)
3. ข้นั ปฏบิ ัตแิ ละนา้ ไปประยุกตใ์ ช้ ( I: Implementation)
4. ขน้ั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ( E:Evaluation)
ขัน้ ที่ 1 กาหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O: Orientation)
เปน็ การเรียนรจู้ ากสภาพ ปัญหา หรือความตอ้ งการของผเู้ รยี น และชุมชน สังคม โดยใหเ้ ชอ่ื มโยงกับ
ประสบการณ์เดิม และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ของหลกั สตู ร
ขนั้ ตอนการเรียนรู้
1. ครูและผู้เรียนร่วมกนั กา้ หนดสภาพ ปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ ซ่งึ อาจจะได้มาจากสถานการณ์
ในขณะน้นั หรอื เปน็ เรอ่ื งทีเ่ กดิ ข้ึนในชีวิตจรงิ หรือเปน็ ประเดน็ ทก่ี ้าลังขัดแย้ง และกา้ ลังอยู่ในความสนใจของชุมชน
ซึ่งจะชว่ ยกระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนกระตือรือร้นท่ีคดิ จะหาทางออกของปัญหา หรอื ความต้องการน้ัน ๆ
2. ทา้ ความเขา้ ใจกบั สภาพ ปัญหา ความต้องการในสง่ิ ที่ต้องการเรียนรู้ โดยดงึ ความรู้และประสบการณเ์ ดิม
ของผู้เรียน เนน้ การมสี ว่ นร่วม มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรูส้ ะท้อนความคดิ และอภปิ รายโดยใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั ความรู้ใหม่
3. วางแผนการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสม โดยกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ก้าหนดสามารถมองเห็นแนวทางใน การ
คน้ พบความรหู้ รือคา้ ตอบไดด้ ว้ ยตนเอง
ขัน้ ท่ี 2 ข้นั แสวงหาขอ้ มลู และจัดการเรียนรู้ (N: New ways of learning)
การแสวงหาข้อมูล และจดั การเรยี นรู้ โดยศึกษา คน้ ควา้ หาความรู้ และรวบรวมข้อมูลของตนเอง ข้อมลู ของ
ชุมชน สังคม และขอ้ มูลทางวชิ าการ จากส่อื และแหลง่ เรยี นรทู้ หี่ ลากหลายมี การระดมความคดิ เหน็ วเิ คราะห์
สังเคราะหข์ อ้ มูล และสรปุ เป็นความรู้
ขัน้ ตอนการเรียนรู้
1. ผ้เู รียนแสวงหาความรู้ตามแผนการเรยี นรู้ทีก่ า้ หนดไว้ โดยเน้นการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การเรียนรูผ้ า่ น
ประสบการณ์ กระบวนการกลมุ่ ศึกษาจากผู้รู้ / ภูมิปัญญา และวธิ อี ่นื ๆ ท่เี หมาะสม
2. ครูและผู้เรียนร่วมกันแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และสรุปความร้เู บอ้ื งต้น โดยใชค้ ้าถามปลายเปิดในการชวนคิด
ชวนคุย เปน็ เครื่องมือ ดว้ ยกระบวนการการระดมสมอง สะท้อนความคิด และอภิปราย
3. ผเู้ รียนนา้ ความรูท้ ี่ได้ไปตรวจสอบความถกู ต้อง เพื่อประเมนิ ความเป็นไปได้โดย วิธีตา่ ง ๆ เช่น การ
ทดลอง การทดสอบ การตรวจสอบกบั ผูร้ ู้
170
ขนั้ ท่ี 3 การปฏิบตั ิและนาไปประยุกตใ์ ช้ ( I: Implementation)
นา้ ความรู้ทไ่ี ด้ไปปฏบิ ตั ิ และประยกุ ต์ใช้ใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ เหมาะสมกับวฒั นธรรมและสงั คม
ข้นั ตอนการเรียนรู้
ผู้เรยี นปฏบิ ตั ิตามขั้นตอน โดยสังเกตปรากฏการณ์ จดบันทกึ และสรุปผล เก็บรวบรวมไวใ้ นแฟมู สะสมงาน
ระหว่างด้าเนนิ การตอ้ งมีการตรวจสอบหาขอ้ บกพรอ่ ง และรวบรวมไว้ในแฟูมสะสมงาน
ข้ันที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (E:Evaluation)
ประเมิน ทบทวน แก้ไขข้อบกพรอ่ ง ผลจากการนา้ ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชแ้ ล้วสรปุ เป็นความรใู้ หม่ พร้อมกับ
เผยแพร่ผลงาน
ขน้ั ตอนการเรียนรู้
1. ครู และผู้เรยี นนา้ แฟมู สะสมงาน และผลงานท่ไี ดจ้ ากกการปฏบิ ตั มิ าใช้เป็นสารสนเทศใน การ
ประเมินคุณภาพการเรยี นรู้
2. ครู และผเู้ รยี นร่วมกันสรา้ งเกณฑ์การประเมินคุณภาพการเรยี นรู้
3. ครู ผเู้ รียนและผู้เกีย่ วข้องรว่ มกันประเมนิ พัฒนาการเรยี นร้ใู ห้เปน็ ไปตามเกณฑ์คุณภาพการเรียนรู้
ท้งั 4 ขนั้ ตอนเป็นวงจรของกระบวนการเรยี นรู้ ตามปรชั ญาคิดเปน็ ซ่งึ สถานศึกษาสามารถปรับใช้
ขน้ั ตอนการเรยี นร้ไู ด้อยา่ งเหมาะสมตามสภาพของรายวชิ า หรอื เงือ่ นไขอื่น ๆ ตามความตอ้ งการของผูเ้ รยี น
สือ่ การเรียนรู้
ในการจดั การเรียนรูเ้ นน้ ให้ผู้เรยี นแสวงหาความรไู้ ด้ด้วยตนเอง โดยการใชส้ ื่อการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย ได้แก่
สอ่ื สิง่ พมิ พ์ สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ สอ่ื บุคคล ภูมิปัญญา แหลง่ เรียนร้ทู ่มี ีอยู่ในท้องถน่ิ ชุมชน และ แหล่งเรยี นร้อู ่นื ๆ
ผเู้ รยี น ครู สามารถพัฒนาการเรยี นรู้ขน้ึ เอง หรอื นา้ สื่อตา่ งๆท่มี อี ยู่ใกล้ตัว และข้อมูลสารสนเทศท่เี ก่ยี วขอ้ งมาใชใ้ น
การเรียนรู้ โดยใช้วจิ ารณญาณในการเลอื กใช้ส่อื ต่างๆ ซ่ึงจะช่วยส่งเสรมิ ใหก้ ารเรยี นร้เู ปน็ ไปอยา่ งมคี ณุ ค่า นา่ สนใจ
ชวนคิด ชวนติดตาม เขา้ ใจง่าย เป็นการกระตุน้ ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั แสวงหาความรู้ เกดิ การเรยี นรอู้ ยา่ งกว้างขวาง ลกึ ซง้ึ
และตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลา
การเทียบโอน
สถานศกึ ษาต้องจดั ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนหรือเทียบโอนความรูป้ ระสบการณ์ของผเู้ รยี น ใหเ้ ปน็
สว่ นหน่ึงของผลการเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 โดย
สถานศึกษาตอ้ งจัดท้าระเบียบหรอื แนวปฏบิ ตั กิ ารเทียบโอนให้สอดคลอ้ งกบั แนวทางการเทยี บโอนทส่ี ้านกั งาน
กศน. ก้าหนด
171
การวัดผลและประเมินผลการเรยี น
การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี น เปน็ กระบวนการทใี่ หไ้ ด้มาซ่ึงข้อมลู สารสนเทศท่ีแสดงถึงการพฒั นา
ความกา้ วหนา้ คาวามส้าเร็จ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรยี น และขอ้ มูลทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การสง่ เสริมให้
ผเู้ รยี นเกิดการพัฒนา และเรยี นรไู้ ด้เต็มศกั ยภาพ เกิดทักษะกระบวนการและคา่ นยิ มทีพ่ ึงประสงค์ ซ่ึงสถานศึกษาใน
ฐานะเปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบการจดั การศึกษา จะตอ้ งจัดท้าระเบยี บ และแนวทางปฏิบัติในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น
ของสถานศกึ ษา เพือ่ ใหบ้ คุ ลากรที่เกีย่ วข้องทุกฝุายถือปฏบิ ตั ริ ว่ มกนั และเปน็ ไปในมาตรฐานเดยี วกัน
1. การวัดและประเมนิ ผลรายวิชา เปน็ การประเมินผลการเรยี นรายวชิ า สถานศกึ ษาต้องดา้ เนินการควบคไู่ ป
กับการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นเพือ่ ใหท้ ราบวา่ ผเู้ รียนมคี วามกา้ วหนา้ ทง้ั ดา้ นความรู้ ทักษะ กระบวนการ
คุณธรรม และคา่ นยิ มอนั พงึ ประสงค์ อันเป็นผลเนือ่ งมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ พยี งใดและต้องมกี าร
ประเมนิ ผลรวมเพ่อื ทราบว่าผูเ้ รียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนบรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรหู้ รอื ไมอ่ ย่างไร ดังนน้ั การ
วัดและประเมนิ ผลจงึ ต้องใช้เครื่องมือและวธิ ีการทห่ี ลากหลายให้สอดคลอ้ งกบั สาระและมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผล
การเรียนร้ทู คี่ าดหวัง
2. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เปน็ การประเมินสิ่งท่ีผู้เรียนปฏบิ ตั ิเพ่ือการพฒั นาตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม โดยพิจารณาท้งั เวลาการเข้ารว่ มกิจกรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรม
ของผู้เรยี น ตามเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากา้ หนด
3. การประเมนิ คุณธรรม เป็นการประเมินสงิ่ ท่ตี ้องการปลูกฝังในตวั ผ้เู รยี นโดยประเมนิ จากกจิ กรรมการ
เรยี นรทู้ ้ังดา้ นการพัฒนาตน การพัฒนางาน การอยู่ร่วมกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ
การเขา้ รว่ มกิจกรรม การเรยี นร้ใู นรายวิชาตา่ ง ๆ และกิจกรรมในลักษณะอนื่ ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาจัดขึ้นเพอื่ เสริมสรา้ ง
คุณธรรมใหเ้ กดิ ข้นึ กบั ผู้เรยี น
4. การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ สถานศกึ ษาตอ้ งจดั ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ รับการประเมิน
คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับชาติ ในภาคเรียนสดุ ทา้ ยของทุกระดบั การศกึ ษาในสาระการเรยี นรู้ ทส่ี า้ นกั งาน
กศน. ก้าหนดการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ทราบผล การเรียนของผ้เู รียน
ส้าหรับนา้ ไปใชใ้ นการวางแผนปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบตอ่ ไป การประเมนิ ดงั กล่าว ไม่มผี ลตอ่
การไดห้ รอื ตกของผูเ้ รียน
การจบหลักสูตร
ผู้จบการศึกษาตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในแต่ละ
ระดบั การศึกษา ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร ดังน้ี
1. ผ่านการประเมนิ และได้รบั การตดั สนิ ผลการเรียนตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากา้ หนดทั้ง 5 สาระ การเรยี นรู้
และได้ตามจ้านวนหนว่ ยกติ ทีก่ ้าหนดตามโครงสร้างหลักสูตร คือ รายวิชาบังคับจ้านวน 40หนว่ ยกิต และรายวชิ า
เลอื ก จา้ นวน 16 หน่วยกติ รวม 56 หน่วยกติ
172
2. ผา่ นกระบวนการประเมินกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไมน่ ้อยกว่า 200 ชว่ั โมง
3. ผ่านกระบวนการประเมนิ คณุ ธรรม ระดบั พอใชข้ ้ึนไป
4. เขา้ รบั การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ
เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามท่ีกระทรวงศึกษาธกิ ารกา้ หนด สถานศกึ ษาทกุ แหง่ ต้องใช้เอกสาร
หลกั ฐานการศึกษาเหมือนกัน เพื่อประโยชน์ในการส่ือความเข้าใจทตี่ รงกนั และ การสง่ ต่อไดแ้ ก่
1. ระเบียนแสดงผลการเรยี น
2. หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศกึ ษา (ประกาศนยี บัตร)
3. แบบรายงานผู้ส้าเรจ็ การศึกษา
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาอืน่ ๆ สถานศึกษาต้องพิจารณาจัดทา้ เพ่อื ใชป้ ระกอบการจัดการศึกษาตาม
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตามท่เี หน็ สมควร เชน่ แบบประเมินผล
กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต
173
บรรณานุกรม
กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น, ส้านกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย. 2552.
แนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. 2552. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร
แห่งประเทศไทย จา้ กัด.
กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น, สา้ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . 2552.
แนวทางการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา. ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา
ขน้ั พื้นฐานพุทธศักราช 255ก1รุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทยจ้ากดั .
กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน, สา้ นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. 2552.
แนวทางการการวดั ผลประเมนิ ผลการเรียน. ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 25.5ก1รุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ้ากัด.
กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน, สา้ นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั . 2552.
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรียนรู้ การประกอบอาชพี . กรงุ เทพฯ : หา้ งหุน้ สว่ นจ้ากัด โรงพิมพอ์ กั ษรไทย
(น.ส.พ. ฟูาเมอื งไทย).
กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น, สา้ นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั . 2552.
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรียนรู้ การพัฒนาสังคม . กรงุ เทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นจ้ากัด โรงพมิ พอ์ กั ษรไทย
(น.ส.พ. ฟาู เมืองไทย).
กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน, สา้ นักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. 2552.
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรยี นรูค้ วามรูพ้ น้ื ฐาน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นุม สหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จา้ กดั .
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น, สา้ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. 2552.
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรียนรู้ความรู้พ้ืนฐาน ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชุมนมุ สหกรณ์
การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จา้ กดั .
กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น, สา้ นักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . 2552.
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรยี นรู้ ทกั ษะการดาเนินชวี ิต . กรุงเทพฯ : ร้านประเสริฐพาณิชย์.
174
กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น, สา้ นกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั . 2552.
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาระและ มาตรฐาน
การเรียนรู้ ทักษะการเรยี นรู้ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จ้ากัด.
สา้ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. 2552. หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : มปท.
ส้านกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . มปป. หลักสูตรรายวิชาเลือกสาระ
การประกอบอาชพี หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 .
สา้ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . มปป. หลักสูตรรายวิชาเลือก
สาระการพัฒนาสังคม หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . มปป. หลกั สูตรรายวชิ าเลอื ก
สาระความรู้พ้ืนฐาน (คณิตศาสตร์) หลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551.
สา้ นกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. มปป. หลกั สตู รรายวิชาเลือก
สาระความร้พู นื้ ฐาน (ภาษาต่างประเทศ) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551.
ส้านกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย. มปป. หลกั สตู รรายวิชาเลอื ก
สาระความรู้พ้นื ฐาน (ภาษาไทย) หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
พุทธศักราช 2551.
ส้านกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . มปป. หลักสตู รรายวชิ าเลอื ก
สาระทักษะการดาเนินชวี ติ หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช
2551.
สา้ นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. มปป. หลกั สูตรรายวิชาเลอื ก
สาระทักษะการเรยี นรู้ หลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
สา้ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย. 2555. คูม่ ือการดาเนนิ งานหลักสตู ร การศกึ ษา
นอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พุทธศักราช 2555) .
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อ้าเภอเมืองอ่างทอง. 2551. รายงานการประเมนิ ตนเอง .
อ่างทอง : อดั สา้ เนา.
175
คณะผจู้ ัดทา
ที่ปรกึ ษา
พันจ่าเอกพัฒน์ ผดุงญาติ ผอู้ ้านวยการสา้ นกั งาน กศน. จังหวดั อา่ งทอง
นายกิตติ ต้องประสงค์ ประธานกรรมคณะกรรมการสถานศกึ ษา
นางปุณนภา เชดิ เพชรรตั น์ ผอู้ ้านวยการ กศน. อ้าเภอเมอื งอ่างทอง
ผจู้ ัดทา
นางดุษฎี จันทรเ์ ศรษฐี ครูช้านาญการพิเศษ
นายเจรญิ นาทองค้า ครู ผ้ชู ว่ ย
นางสาวภริ มย์ เฉลาภักด์ิ ครูอาสาสมัครฯ
นายพีรพฒั น์ ปานพิพฒั น์ ครูอาสาสมัครฯ
นางพรทพิ ย์ อว่ มทร ครอู าสาสมัครฯ
นายศักด์ชิ ยั บุญเป่ยี ม ครู กศน.ตา้ บล
นายมานะ ภยั นิราศ ครู กศน.ตา้ บล
นางณชิ าภา สขุ สุเมฆ ครู กศน.ตา้ บล
นายธติ ิ พึง่ เพียร ครู กศน.ตา้ บล
นางวลิ าสินี ถีระแกว้ ครู กศน.ตา้ บล
นางสาวสุทิศา บุญอ้น ครู กศน.ตา้ บล
นางสาวบษุ บง เทียนสวัสดิ์ ครู กศน.ตา้ บล
นางสาว อรพมิ ล พุดซอ้ น ครู กศน.ตา้ บล
นายจิรภัทร บุญแคลว้ ครู กศน.ตา้ บล
นางสาวธนภรณ์ ไพรสวุ รรณ ครู กศน.ตา้ บล
นางนนั ทน์ ภสั ศรีโสภา ครู กศน.ตา้ บล
วา่ ท่ี ร.ต.ถาวร กลู วงษ์สวสั ดิ์ ครู กศน.ตา้ บล
นายวศิ รตุ แต่งงาม ครู กศน.ตา้ บล
นายศรขเรศ คา้ คติ ครผู สู้ อนคนพิการ