The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panudda.it.dplan, 2022-10-20 05:22:33

รายงานประจำปี2553

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี

www.spo.moph.go.th

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบุรี หน้า 1

คาํ นาํ

รายงานประจาปี 2553 สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี จัดทาข้นึ เพ่ือใช้เป็น
ข้อมูลอ้างอิงในการติดตาม กากับและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานต่างๆภายใต้กากับ
ของสานกั งานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี โดยเนอื้ หาแบง่ เป็น 3 สว่ น ดงั นี้

สว่ นที่ 1 : ข้อมูลทัว่ ไป
ส่วนที่ 2 : ผลการดาเนินงานจาแนกตามกลุ่มงาน/งาน ในสานักงานสาธารณสุข
จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
ส่วนที่ 3 : ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดสาคัญ ได้แก่ ตัวชี้วัดตามแนวทางการตรวจ
ราชการ กระทรวงสาธารณสุข (E-inspection) และตัวช้ีวัดงานส่งเสริมสุขภาพปูองกันโรค (PP-
composites)
สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ข้อมูลในรายงานนี้จะ
เป็นประโยชน์ต่อบคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ต่อไป

งานพฒั นายทุ ธศาสตรส์ าธารณสุข
พฤษภคม 2554

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 2ก

สารบัญ หนา้

คานา ข
สารบัญ 1
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป 2
3
ค่านยิ มองคก์ ร 4
ยุทธศาสตร์สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี 5
โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสํานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี 6
แผนท่ีจังหวัดสุพรรณบุรี 7
เขตการปกครอง 9
ประชากรจงั หวดั สพุ รรณบุรี 11
ข้อมลู ทรพั ยากรสาธารณสุข 17
การบรกิ ารสุขภาพ 34
สถานะสขุ ภาพ 35
สว่ นท่ี 2 ผลการดาเนนิ งาน 47
งานพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล 53
งานประกนั สขุ ภาพ 63
งานพฒั นาคณุ ภาพบริการ 82
งานส่งเสรมิ สุขภาพ
งานควบคุมโรคติดตอ่ 108
งานควบคมุ โรคเอดส์และกามโรค 125
งานควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และสุขภาพจติ 157
งานทนั ตสาธารณสุข 180
งานอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและอาชีวอนามยั 190
งานคมุ้ ครองผู้บริโภค 206
งานพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 220
งานสุขภาพภาคประชาชน 226
งานสขุ ศกึ ษาและประชาสัมพันธ์ 230
งานนิติการ 237
งบประมาณ

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 3ข

สารบญั (ต่อ) หนา้
239
ส่วนที่ 3 ผลการดาเนนิ งานตามตัวชว้ี ัดสาคญั 240
ผลการดาํ เนนิ งานตามตวั ชี้วัดในการตรวจราชการและนเิ ทศงานกระทรวง
กระทรวงสาธารณสขุ (E-inspection) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553 251
ผลการดาํ เนินงานตามตวั ชวี้ ัดงานสง่ เสรมิ สขุ ภาพปอู งกนั โรค (PP-composites)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 4ค

ข้อมูลทว่ั ไป

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 51

ค่านยิ มองค์กร

1. ทางานเป็นทีม
2. บริการอยา่ งมคี ุณภาพ
3. เพียบพรอ้ มคณุ ธรรม
4. ผรู้ ับบริการเป็นศูนยก์ ลาง
5. ผลงานเกดิ จากเครือขา่ ย

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี หน้า 62

วสิ ยั ท

เป็นองคก์ รชน้ั นาในการดูแลสขุ ภาพของประชาชนม่งุ เนน้ การพฒั น

พนั ธ

1.พฒั นาองคก์ รใหเ้ป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ 2.พฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพทง้ั การบรหิ ารจดั การ วชิ ากา

ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้ าประสงค์ 1.ระดบั ความสาเรจ็ ในการพฒั

1.สรา้ งองคก์ รแห่งการเรยี นรูด้ า้ น 1.ทกุ หนว่ ยบรกิ ารเป็นองคก์ รแห่งการ ดา้ นสุขภาพ
2.ระดบั ความสาเรจ็ ขององคก์ ร
สุขภาพ เรียนรูด้ า้ นสุขภาพ 3.ระดบั ความสาเรจ็ ในการจดั ก
2.พฒั นาระบบการบริหารจดั การ 2.การจดั การองคค์ วามรูด้ า้ นสุขภาพท่ี
ระบบสุขภาพ
วชิ าการ บริการใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มปี ระสทิ ธิภาพ 4.ระดบั ความสาเรจ็ ของการแก
3.สนบั สนุนการเสริมสรา้ งการมสี ว่ น 3.การจดั การสารสนเทศมคี ุณภาพเอ้อื 5.ระดบั ความสาเรจ็ ของการดา
6.ระดบั ความสาเรจ็ ของรอ้ ยละ
ร่วมกบั ประชาชนภาคี เครอื ข่ายดา้ น ต่อการปฏบิ ตั งิ าน
4.ระบบบริการสุขภาพมปี ระสทิ ธิภาพ ระยะเวลาใหบ้ ริการ
สุขภาพและหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง 5.มรี ะบบการบริหารจดั การตามหลกั 7.รอ้ ยละของหน่วยงานมผี ลกา
good governance
6.มคี วามพงึ พอใจทง้ั ผูใ้ หบ้ ริการและ จรยิ ธรรม ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด
8.รอ้ ยละของระดบั ความพงึ พอ
ผูร้ บั บริการ 9.ระดบั ความสาเรจ็ ในการมสี ่ว
7.ประชาชนมสี ุขภาพดมี พี ฤติกรรม 10. ระดบั ความสาเรจ็ ของการด

สุขภาพท่ถี ูกตอ้ ง พฤติกรรมเสย่ี ง

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี

ทศั น์

นาระบบสุขภาพ เสรมิ สรา้ งการมีส่วนรว่ มเพ่ือสขุ ภาวะของประชาชนท่ยี งั่ ยืน

ธกจิ

าร ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ 3.สง่ เสรมิ ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมใหม้ ีสว่ นร่วมในการดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม

ตวั ช้ีวดั กลยุทธ์

ฒนาใหม้ ลี กั ษณะเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นรู ้ 1.ส่งเสริมกระบวนการพฒั นาใหม้ ลี กั ษณะเป็นองคก์ รแหง่ การเรียนรู้
2. สนบั สนุนการจดั การความรูด้ า้ นสุขภาพ
รมกี ารจดั การความรูด้ า้ นสุขภาพ 3. สนบั สนุนการจดั การสารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการดาเนนิ งานดา้ น
การสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการพฒั นา
สุขภาพ 2
กป้ ญั หาดา้ นสุขภาพ 4. เสริมสรา้ งการแกไ้ ขปญั หาดา้ นสุขภาพแบบบูรณาการ
าเนินการพฒั นาสถานบรกิ ารสาธารณสุข
ะเฉล่ยี ถ่วงนา้ หนกั ในการรกั ษามาตรฐาน 5. พฒั นากระบวนการบริการเชงิ รุกทม่ี คี ณุ ภาพ

ารดาเนินงานพฒั นาดา้ นคุณธรรม 6. เพ่มิ ศกั ยภาพสถานบริการสาธารณสุขในการดาเนินงานตามมาตรฐาน

อใจของผูร้ บั บริการและผูใ้ หบ้ รกิ าร 7. สง่ เสริมใหม้ กี ารบริหารจดั การ good governance ทกุ ระดบั
วนร่วมดูแลสุขภาพของภาคเี ครอื ข่าย
ดาเนินงานป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา 8. เสริมสรา้ งกระบวนการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล

9. ส่งเสริมและพฒั นาศกั ยภาพอาสาสมคั รและภาคเี ครอื ข่ายในการ

ดาเนินงานดา้ นสุขภาพ
10. สนบั สนุนและประสานความร่วมมอื ในการดูแลสุขภาพของประชาชน

และภาคีเครอื ข่าย

หน้า 73

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานสานกั งา

นายแพทย์สาธาร

นายแพทย์เช่ียวชาญ นกั วชิ าการสาธารณสุข
ด้านเวชกรรมปองกัน เชีย่ วชาญ

1. กลุม่ งานคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค 1. งานทันตสาธารณสุข 1. กลมุ่ งานบ
2. งานควบคมุ โรคติดตอ่ 2. งานควบคุมโรคเอดส์และ 2. กลุ่มงานป
3. งานพัฒนายทุ ธศาสตร์
กามโรค สุขภาพ
สาธารณสขุ 3. งานพฒั นาคณุ ภาพบรกิ าร 3. กลุ่มงานน
4. งานพฒั นาทรพั ยากร

บุคคล

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี

านสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

รณสขุ จงั หวดั

นักวิชาการสาธารณสขุ เชยี่ วชาญ นกั วชิ าการสาธารณสุข
ด้านสง่ เสรมิ พฒั นา ชานาญการพ2ิเศษ

บริหารทั่วไป 1. งานสง่ เสริมสขุ ภาพ 1. กลุ่มงานอนามัยส่งิ แวดล้อม
ประกัน และรักษาพยาบาล และอาชีวอนามยั

นิตกิ าร 2. งานโรคไม่ติดตอ่ และ 2. งานสุขภาพภาคประชาชน
สุขภาพจติ 3. งานพัฒนาการแพทยแ์ ผน

3. งานสุขศกึ ษาและ ไทยและการแพทยท์ างเลือก
ประชาสัมพนั ธ์

หน้า 84

แผนที่จงั หวัดสุพรรณบรุ ี

อาณาเขต

ทศิ เหนอื ติดจงั หวดั อทุ ัยธานี และจังหวัดชัยนาท
ทิศตะวนั ออก ตดิ จงั หวดั สงิ หบ์ รุ ี จังหวดั อา่ งทอง และจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
ทศิ ใต้ ติดจงั หวดั นครปฐม และจงั หวัดกาญจนบรุ ี
ทิศตะวนั ตก ติดจังหวดั กาญจนบรุ ี

แผนทจี่ ังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 5

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

เขตการปกครอง

การบรหิ ารราชการส่วนภมู ภิ าคของจงั หวดั สพุ รรณบุริ แบง่ เขตการปกครองออกเป็น

10 อาํ เภอ 110 ตาํ บล 28 ชุมชน และ 1,007 หมู่บ้าน โดยมีอาํ เภอดงั น้ี

1. อําเภอเมอื งสุพรรณบรุ ี 2. อาํ เภอเดิมบางนางบวช

3. อาํ เภอดา่ นชา้ ง 4. อาํ เภอบางปลาม้า

5. อําเภอศรปี ระจนั ต์ 6. อําเภอดอนเจดยี ์

7. อําเภอสองพ่ีน้อง 8. อําเภอสามชุก

9. อําเภออูท่ อง 10. อําเภอหนองหญ้าไซ

การบรหิ ารราชการสว่ นท้องถิ่น ประกอบด้วย องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมอื ง

2 แห่ง เทศบาลตําบล 33 แห่ง และองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บล 91 แห่ง (ตารางท่ี 1)

ตารางที่ 1 เขตการปกครอง จงั หวดั สุพรรณบุรี จาํ แนกรายอําเภอ สําหรบั ใช้กําหนด

เปูาหมายในปีงบประมาณ 2553

เทศบาล จาํ นวนชมุ ชน/หมู่บ้านตาม

อําเภอ ตําบล เมอื ง ตําบล อบต. เขตการปกครอง(มหาดไทย)

ชุมชน หมู่บ้าน

เมอื งสพุ รรณบรุ ี 20 15 16 16 124

เดิมบางนางบวช 14 -6 10 - 121

ดา่ นช้าง 7 -1 7 - 93

บางปลาม้า 14 -6 12 - 127

ศรปี ระจันต์ 9 -3 7 - 64

ดอนเจดยี ์ 5 -2 5 - 50

สองพ่ีนอ้ ง 15 12 14 12 140

สามชกุ 7 -1 6 - 68

อทู่ อง 13 - 7 8 - 154

หนองหญ้าไซ 6 -1 6 - 66

รวม 110 2 33 91 28 1,007

ที่มา : ท่ีทําการปกครองจงั หวัดสพุ รรณบุรี (ธนั วาคม 2552)
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ จงั หวดั สุพรรณบุรี (ธนั วาคม 2552)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 6

ประชากรจังหวดั สุพรรณบรุ ี

จาํ นวนประชากรจังหวัดสพุ รรณบุรี สาํ หรับใช้กําหนดเปูาหมายในปงี บประมาณ 2553 มจี ํานวน
ทัง้ สน้ิ 850,920 คน เป็นชาย 412,744 คน คิดเป็นร้อยละ 48.51 และหญงิ 438,176 คน คิดเป็นร้อยละ
51.49 อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญงิ เทา่ กับ 1 :1.06 อาํ เภอที่มีสดั ส่วนประชากรมากท่สี ุด 3 ลาํ ดบั
แรก คือ อาํ เภอเมอื งสุพรรณบุรี รองลงมาคือ อําเภอสองพี่น้อง และอําเภออู่ทอง ความหนาแนน่ ของ
ประชากรในภาพรวมทัง้ จงั หวดั เทา่ กับ 157 คนต่อตารางกิโลเมตร มีจาํ นวนหลงั คาเรอื นรวมท้ังสิ้น
250,318 หลงั คาเรือน (ตารางท่ี 2)

ตารางท่ี 2 จาํ นวนประชากรและหลงั คาเรอื น จาํ แนกตามเพศและรายอําเภอ สําหรับใชก้ าํ หนด
เปูาหมายในปีงบประมาณ 2553 จงั หวดั สุพรรณบรุ ี

อาเภอ ชาย หญิง รวม ร้อยละ อตั ราส่วน หลงั คาเรือน

เมอื ง 80,232 87,041 ชาย:หญงิ
เดิมบางนางบวช 35,818 38,483
ดา่ นช้าง 32,543 32,652 167,273 19.66 1:1.08 51,662
บางปลาม้า 39,163 41,313
ศรปี ระจันต์ 30,213 33,182 74,301 8.73 1:1.07 23,052
ดอนเจดยี ์ 22,334 23,546
สองพนี่ ้อง 62,957 66,068 65,195 7.66 1:1.00 21,379
สามชกุ 26,352 28,618
อ่ทู อง 59,501 62,687 80,476 9.46 1:1.05 22,728
หนองหญ้าไซ 23,631 24,586
63,395 7.45 1:1.10 19,032
รวม 412,744 438,176
45,880 5.34 1:1.05 13,462

129,025 15.16 1:1.05 34,082

54,970 6.46 1:1.09 18,393

122,188 14.36 1:1.05 32,268

48,217 5.67 1:1.04 14,260

850,920 100.0 1:1.06 250,318

ทมี่ า : 1. ฐานขอ้ มูลจาํ นวนประชากรหลกั ประกันสุขภาพ สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
ขอ้ มูล ณ ธันวาคม 2552

2. สาํ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ ปี2552 (ftp ://healthdata.moph.go.th)
3. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ธนั วาคม 2552 (http ://www.dopa.go.th)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบุรี หน้า 7

โครงสร้างประชากรตามกลมุ่ อายุและเพศ

รปู ที่ 1 ปิรามดิ ประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2535 รูปที่ 2 ปิรามดิ ประชากร จ

ทมี่ า สาํ นักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ ทีม่ า สาํ นกั นโยบายและยุทธศาส
http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1 http://bps.ops.moph.go.th/

เมือ่ พจิ ารณาโครงสรา้ งประชากรตามกลุ่มอายุและเพศของประชากรจังหวัดส
ทางโครงสร้างกลุ่มอายุที่ชัดเจนมาก กลา่ วคือสดั สว่ นของประชากรวัยเด็ก (0-14 ปี) ลด

การเปลย่ี นแปลงโครงสร้างทางประชากรดังกลา่ ว ทําให้ดัชนีผสู้ ูงอายุ คอื จํานว
ชดั เจนจากท่ีพบวา่ ในปี 2543 คา่ ดัชนผี ู้สงู อายเุ ทา่ กบั 53.13 ซึ่งหมายถงึ มปี ระชากรผ้สู
ค่าดชั นีผู้สงู อายเุ ท่ากบั 90.97 ซึง่ เกือบเท่ากบั ประชากรวัยเด็ก และสูงกว่าดชั นีผู้สูงอา
อันแสดงใหเ้ ห็นว่า ประชากรผ้สู งู อายุในจังหวัดสุพรรณบรุ ีเริ่มมีจานวนใกลเ้ คียงกบั ป
ของสพุ รรณบุรจี ะมากกวา่ จานวนประชากรวัยเดก็ นนั่ หมายถงึ วา่ จังหวัดสพุ รรณบ

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี

จ.สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2545 2

สตร์ กระทรวงสาธารณสขุ รูปที่ 3 ปิรามดิ ประชากร จ.สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2553
/index.php?mod=bps&doc=5_1
ทมี่ า สาํ นกั นโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5_1

สพุ รรณบรุ ีในรอบ 19 ปที ่ผี า่ นมา (ปี พ.ศ.2535 – 2553) พบว่ามีการเปลี่ยนแปลง
ดลง ในขณะเดยี วกันสัดสว่ นประชากรกล่มุ ผู้สงู อายุ (60 ปขี ึน้ ไป)เพมิ่ มากขึน้ (รูปท่ี 1-3)
วนผูส้ งู อายตุ อ่ จาํ นวนเด็ก 100 คน ของจังหวัดสุพรรณบุรมี กี ารเปลี่ยนแปลงอย่าง
สงู อายุประมาณครง่ึ หนึ่งของประชากรวัยเดก็ แต่เม่อื 10 ปผี ่านไปพบว่า ในปี 2553
ายุระดบั ประเทศอย่างมากเมือ่ เปรียบเทยี บในช่วงเวลาเดยี วกัน (ตารางที่ 3, รปู ท่ี 4)
ประชากรวยั เดก็ มากขน้ึ และในอนาคตอนั ใกล้ก็คาดว่าจานวนประชากรผ้สู ูงอายุ
บุรจี ะก้าวเขา้ สสู่ งั คมผ้สู งู อายอุ ย่างเต็มรูปแบบ

หน้า 8

ตารางท่ี 3 ดัชนีผู้สงู อายุจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ.2543-2553 และดัชนีผู้สูงประเทศไทย

ปี พ.ศ.2543-2553

ปี พ.ศ. ประชากร จ.สพุ รรณบรุ ี ดัชนีผสู้ ูงอายุ

ท้งั หมด ผสู้ งู อายุ วยั เดก็ จ.สพุ รรณบรุ ี ประเทศไทย

2543 873,969 109,093 205,333 53.13 38.24

2544 877,939 111,491 202,269 55.12 39.36

2545 880,319 113,798 197,559 57.60 40.62

2546 881,239 116,066 191,427 60.63 42.06

2547 880,997 118,382 184,287 64.24 43.71

2548 880,160 120,790 176,799 68.32 45.50

2549 881,655 122,558 170,478 71.89 47.16

2550 884,385 124,967 164,930 75.77 49.21

2551 887,964 128,100 159,831 80.15 51.72

2552 892,231 132,064 155,063 85.17 54.67

2553 897,066 136,946 150,546 90.97 58.04

ทม่ี า : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2573, สาํ นักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

(http://www.nesdb.go.th/)

ร้อยละ

180 163.9
160
140 155.7 จ.สพุ รรณบุรี
120 ประเทศไทย
100 148.0
140.5 พ.ศ.
80 133.1
60
40 125.6
20
117.6

109.9
102.7
96.4
91.0
85.2
68.3 71.9 75.8 80.1 54.7 91.9 105.3
45.5 47.2 49.2 51.7 98.4

55.1 57.6 60.6 64.2 80.8 86.0
39.4 40.6 42.1 43.7
53.1 71.9 76.3
38.2
61.1 64.4 68.0

58.0

0

รูปที่ 4 ดัชนีผ้สู ูงอายุ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และประเทศไทย ปี พ.ศ.2543-2563

ทีม่ า : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2573, สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ (http://www.nesdb.go.th/)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี หน้า 9

ร้อยละ

35 33.2 จ.สพุ รรณบุรี
31.6 ประเทศไทย
30.1
28.7 พ.ศ.
30 27.5
25 20.0 20.2 20.5 20.7 20.8 21.0 21.3 21.8 22.5 23.0 23.7 24.5 25.4 26.4 22.1 25.3 26.6
20 14.7 14.9 15.2 15.5 15.8 16.1 16.5 17.0 17.6 18.1 18.7 19.5 20.3 21.2
15 19.5 19.8 23.1 24.2
14.3 14.5
10

5

0

รูปท่ี 5 อัตราสว่ นพงึ่ พงิ วยั ชรา(Old-age dependency ratio) จงั หวัดสพุ รรณบุรี
และประเทศไทย ปี พ.ศ.2543-2563

ทม่ี า : การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2543-2563, สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และ
สงั คมแหง่ ชาติ (http://www.nesdb.go.th/)

ขอ้ มูลทรัพยากรสาธารณสขุ จาํ นวน 1 แห่ง
จาํ นวน 1 แห่ง
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของรัฐ จํานวน 8 แห่ง
จํานวน 174 แห่ง
จงั หวดั สุพรรณบุรี มีสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐบาล ดงั น้ี จํานวน 3 แหง่
โรงพยาบาลศนู ย์

 โรงพยาบาลทั่วไป
 โรงพยาบาลชุมชน
 รพ.สต. (สถานีอนามัย หรือศนู ยส์ ขุ ภาพชุมชน (PCU))
 ศูนย์บรกิ ารสาธารณสุขของเทศบาล



รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี หน้า 10

ตารางท่ี 4 จาํ นวนสถานบรกิ ารสาธารณสุขของรัฐบาล จําแนกรายอาํ เภอ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

โรงพยาบาล สถานอี นามยั ศูนยบ์ รกิ าร

อาเภอ ประเภท/แหง่ จานวนเตียง จานวนเตยี ง (รพ.สต.) สาธารณสขุ

จริง ตามกรอบ (แห่ง)

เมอื งฯ รพศ. 1 แหง่ 602 666 29 2

เดิมบางฯ รพช. 1 แห่ง 112 120 20 -

ด่านชา้ ง รพช. 1 แห่ง 88 90 16 -

บางปลาม้า รพช. 1 แห่ง 60 60 17 -

ศรปี ระจันต์ รพช. 1 แหง่ 63 60 14 -

ดอนเจดีย์ รพช. 1 แห่ง 60 60 9-

สองพี่นอ้ ง รพท. 1 แหง่ 210 210 25 1

สามชุก รพช. 1 แห่ง 60 60 13 -

อูท่ อง รพช. 1 แห่ง 120 150 22 -

หนองหญ้าไซ รพช. 1 แห่ง 60 60 9-

รวม 10 1,435 1,506 174 3

ทีม่ า : งานพฒั นายทุ ธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.สพุ รรณบรุ ี ข้อมูล ณ เดอื น มกราคม 2554

สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของเอกชน

 สถานพยาบาลประเภททีร่ บั ผู้ป่วยไว้คา้ งคนื จานวน 5 แห่ง

o โรงพยาบาล จํานวน 5 แหง่

 สถานพยาบาลประเภททไ่ี ม่รบั ผ้ปู ว่ ยไว้ค้างคนื จานวน 203 แหง่

o คลินิกเวชกรรม/เวชกรรมเฉพาะทาง (คลนิ กิ แพทย์) จํานวน 91 แหง่

o คลินิกทันตกรรม จาํ นวน 23 แหง่

o คลนิ กิ การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ จํานวน 67 แหง่

o คลินิกเทคนคิ การแพทย์ จาํ นวน 6 แหง่

o คลินิกการแพทยแ์ ผนไทย จํานวน 9 แหง่

o สหคลินกิ จํานวน 4 แหง่

o คลนิ ิกกายภาพบาํ บัด จาํ นวน 3 แหง่

 สถานประกอบการร้านขายยาและผลติ ยาแผนโบราณ จานวน 268 แห่ง

o รา้ นขายยาแผนปัจจบุ นั จาํ นวน 106 แหง่

o ร้านขายยาแผนปจั จุบนั บรรจุเสร็จ จาํ นวน 83 แห่ง

o รา้ นขายยาแผนโบราณ จํานวน 49 แห่ง

o สถานที่ผลิตยาแผนโบราณ จํานวน 18 แห่ง

o สถานที่นาํ เขา้ หรอื ส่ังยาแผนโบราณเข้ามาในราชอาณาจักรฯ จาํ นวน 1 แห่ง

o ร้านขายยาแผนปจั จบุ นั บรรจเุ สรจ็ สาํ หรบั สตั ว์ จํานวน 11 แหง่

ท่ีมา : งานคุม้ ครองผ้บู ริโภค สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ณ วันท่ี 20 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี หน้า 11

จานวนอาสาสมัครสาธารณสุข

อาสาสมัครสาธารณสขุ ทั้งหมดมี จํานวน 13,975 คน อตั ราส่วนอาสาสมัครตอ่ ประชากรใน
ภาพรวมทัง้ จังหวัด เทา่ กบั 1: 61 และอัตราสว่ นอาสาสมคั รตอ่ หลงั คาเรือน ในภาพรวม เท่ากับ 1:18
สําหรับอาํ เภอที่มีอตั ราสว่ นอาสาสมัครต่อหลงั คาเรือน มากกวา่ 1 : 15 ได้แก่ อําเภอสองพี่นอ้ ง, อําเภอ
เมอื งสุพรรณบรุ ี, อาํ เภอด่านชา้ ง,อาํ เภอสามชกุ อาํ เภอดอนเจดีย์ อาํ เภอบางปลาม้า และอาํ เภออู่ทอง
รายละเอียดตามตารางที่ 5

ตารางที่ 5 จาํ นวนอาสาสมัครสาธารณสุข จาํ แนกรายอําเภอ จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี ปีงบประมาณ 2553

อาเภอ จานวน อสม. (คน) อัตราสว่ น อสม./ประชากร อตั ราส่วน อสม./หลังคาเรือน

เมืองสุพรรณบรุ ี 2,165 1:78 1:24

เดิมบางนางบวช 1,572 1:47 1:15

ดา่ นช้าง 1,124 1:59 1:20

บางปลาม้า 1,435 1:56 1:16

ศรีประจันต์ 1,253 1:50 1:15

ดอนเจดีย์ 809 1:56 1:17

สองพ่ีน้อง 1,375 1:94 1:26

สามชุก 1,058 1:52 1:18

อู่ทอง 2,112 1:58 1:16

หนองหญ้าไซ 1,072 1:45 1:14

รวม 13,975 1:61 1:18

ทม่ี า : งานสุขภาพภาคประชาชน สํานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบุรี ณ เดือนสิงหาคม 2553

การบรกิ ารสขุ ภาพ

การใหบ้ รกิ ารสุขภาพในระดบั โรงพยาบาล

1. ผู้ป่วยนอก
การใหบ้ รกิ ารผู้ปุวยนอกในระดับโรงพยาบาล จากข้อมลู รายงานสรุปกิจกรรมบริการและ

ค่าใช้จา่ ยของหน่วยบรกิ าร (รายงาน 0110 รง.5) ในภาพรวมของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี พบวา่ ใน
ปงี บประมาณ 2553 จํานวนผมู้ ารบั บรกิ ารผปู้ วุ ยนอกในโรงพยาบาลเพ่ิมขน้ึ จากปงี บประมาณ 2552 โดย
ท้งั จํานวนคนและจํานวนครง้ั ท่มี ารับบรกิ าร เมอื่ พจิ ารณาอตั ราส่วนของการมารับบริการ (ครั้งตอ่ คน) ตาม
ประเภทสิทธิ จะเหน็ วา่ กลุ่มสทิ ธิข้าราชการ/รฐั วิสาหกิจ/เบกิ ต้นสงั กดั มาใช้บรกิ ารเฉลย่ี จาํ นวนครง้ั ต่อคน
มากกวา่ กล่มุ สิทธอิ ืน่ ๆ คอื 6.36 ครั้ง/คน กลุม่ สิทธิ UC และกลุ่มสิทธิประกนั สังคม มีอัตราสว่ นของการ
มารบั บริการใกล้เคียงกัน คือ 4.22-4.41 คร้ัง/คน กลมุ่ สทิ ธิแรงงานตา่ งด้าวมีอัตราสว่ นของการมารับ
บรกิ ารต่อคนนอ้ ยทส่ี ดุ คือ 2.13 ครั้ง/คน โดยค่าเฉลย่ี ของการมารบั บริการผูป้ วุ ยนอกในโรงพยาบาลใน
ภาพรวมของประชากรทัง้ จงั หวดั เทา่ กับ 2.17 ครัง้ /คน/ปี (ตารางที่ 6) และเม่ือพจิ ารณาตามจาํ นวนคน
และคร้ังท่เี พิ่มขนึ้ จากปีงบประมาณ 2552 พบว่า จํานวนคนเพมิ่ มากที่สดุ ในกลุ่มกลมุ่ สทิ ธิแรงงานต่าง

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 12

ดา้ ว ในขณะทจ่ี าํ นวนครงั้ ท่ีมารรบั บริการเพิ่มมากทส่ี ุดในกลุ่ม UC คือรอ้ ยละ 54.23 รองลงมาคือกลุ่ม
ประกันสังคม (ร้อยละ23.62) กล่มุ สทิ ธิแรงงานตา่ งด้าว (ร้อยละ 21.31) และกลมุ่ สิทธขิ ้าราชการ/
รฐั วสิ าหกจิ (ร้อยละ 12.91) ตามลําดับ รายละเอียดตามตารางที่ 7

ตารางที่ 6 จาํ นวนคน/คร้งั ของผ้รู ับบรกิ ารประเภทผู้ปุวยนอกในระดับโรงพยาบาล จ.สพุ รรณบรุ ี

จําแนกตามประเภทสิทธิ ปงี บประมาณ 2552-2553

ประเภทสิทธิ ปี 2552 ปี 2553

(ผู้ป่วยนอก) คน คร้งั ครั้ง:คน คน คร้ัง ครง้ั :คน

1.ข้าราชการ/รัฐวิสาหกจิ /เบกิ ตน้ สงั กัด 62,479 372,032 5.95 60,715 386,252 6.36

2.ประกนั สังคม 17,000 67,712 3.98 22,202 93,733 4.22

3.UC บตั รทองไมม่ ี ท/มี ท 263,813 1,115,830 4.38 266,410 1,175,577 4.41

4.แรงงานตา่ งดา้ ว 67,893 146,090 2.15 79,728 169,566 2.13

รวมผูม้ ารับบริการ (1-4) 411,185 1,741,664 4.24 429,055 1,825,128 4.25

ประมาณการอตั ราสว่ นการใช้บรกิ าร 2.07 ครั้ง/คน/ปี 2.17 คร้ัง/คน/ปี
ผู้ปว่ ยนอก 1 ปี ตอ่ ประชากรท้ังหมด

ท่ีมา : รายงาน 0110 รง 5 ปงี บประมาณ 2552-2553 (http://phdb.moph.go.th/)

ตารางท่ี 7 จาํ นวนคน และคร้ัง ทีเ่ พิ่มขึน้ ของผูร้ ับบรกิ ารประเภทผู้ปวุ ยนอกในระดบั โรงพยาบาล

จ.สพุ รรณบรุ ี จําแนกตามประเภทสิทธิ จากปีงบประมาณ 2551-2553

ประเภทสทิ ธิ ปี 2552 ปี 2553
(ผ้ปู ่วยนอก)
จานวนเพ่ิมขึ้น (เพ่ิมจากปี 2551) จานวนเพิ่มขึ้น (เพิ่มจากปี 2552)

คน ครงั้ ร้อยละของ คน ครั้ง ร้อยละของจานวน

จานวนครัง้ คร้งั

1.ข้าราชการ/รัฐวิสาหกจิ 3,741 24,507 46.22 -1,764 14,220 12.91

2.ประกันสังคม 121 3,348 6.31 5,202 26,021 23.62

3.UC บตั รทองไมม่ ี ท/มี ท - 9,767 4,183 7.89 2,597 59,747 54.23

4.แรงงานตา่ งด้าว 8,376 20,988 39.58 11,835 23,476 21.31

รวมผูม้ ารบั บริการ (1-4) 2,471 53,028 100.00 33,683 87,650 100.00

ที่มา : รายงาน 0110 รง 5 ปงี บประมาณ 2551-2553 (http://phdb.moph.go.th/)

เมื่อจําแนกจาํ นวนผมู้ ารับบริการผู้ปุวยนอกในโรงพยาบาลของรฐั จ.สุพรรณบุรี ในปงี บประมาณ
2553 เป็นรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจา้ พระยายมราช มีจํานวนผู้ปุวยนอกเฉลยี่ ต่อเดือนมากท่ีสุด
รองลงมาคือ รพช.อู่ทอง, รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ รพช.เดิมบางนางบวช รพช.ด่านชา้ ง รพช.บาง
ปลามา้ รพช.ดอนเจดยี ์ รพช.สามชุก รพช.ศรีประจันต์ และรพช.หนองหญ้าไซ ตามลาํ ดบั แต่ในทาง
ตรงกนั ขา้ มกลบั พบวา่ รพช.หนองหญา้ ไซ มีอัตราส่วนของการมารับบริการผูป้ ุวยนอกจาํ นวนครัง้ ต่อคน
ต่อปีสงู กว่าโรงพยาบาลอื่นๆ คือเฉลย่ี เท่ากับ 5.28 ครั้ง/คน/ปี โดยคา่ เฉลี่ยทั้งจงั หวดั เท่ากับ 4.25 ครัง้ /
คน/ปี (ตารางที่ 8)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 13

ตารางท่ี 8 จาํ นวนคนและครงั้ ของผูร้ บั บริการประเภทผปู้ วุ ยนอก จําแนกตามรายโรงพยาบาล

(รพ.ของรัฐฯ) จ.สุพรรณบรุ ี ปงี บประมาณ 2552-2553

โรงพยาบาล ปี 2552 ปี 2553

คน คร้ัง คร้ัง:คน ครั้ง:เดอื น คน ครัง้ ครัง้ :คน คร้ัง:เดือน

รพศ.เจ้าพระยายมราช 115,639 401,159 3.47 33,430 110,374 435,363 3.94 36,280
รพท.สมเด็จพระสงั ฆราชฯ 51,622 184,356 3.57 15,363 52,095 196,066 3.76 16,339
รพช.เดิมบางนางบวช 32,397 175,492 5.42 14,624 39,142 187,077 4.78 15,590
รพช.ด่านช้าง 33,162 137,914 4.16 11,493 33,602 146,802 4.37 12,234
รพช.บางปลามา้ 35,179 148,553 4.22 12,379 32,278 142,357 4.41 11,863
รพช.ศรีประจนั ต์ 31,128 126,324 4.06 10,527 29,153 106,363 3.65 8,864
รพช.ดอนเจดีย์ 22,690 109,073 4.81 9,089 29,956 132,547 4.42 11,046
รพช.สามชกุ 25,876 116,486 4.50 9,707 33,531 131,852 3.93 10,988
รพช.อทู่ อง 41,400 244,159 5.90 20,347 50,726 250,698 4.94 20,892
รพช.หนองหญ้าไซ 22,092 98,148 4.44 8,179 18,198 96,003 5.28 8,000

รวม 411,185 1,741,664 4.24 145,139 429,055 1,825,128 4.25 152,094

ที่มา : รายงาน 0110 รง 5 ปีงบประมาณ 2552-2553 (http://phdb.moph.go.th/)

2. ผปู้ ว่ ยใน
การให้บริการผปู้ ุวยในของโรงพยาบาลของรฐั ในจังหวัดสุพรรณบุรี จากขอ้ มูลรายงานสรปุ

กจิ กรรมบรกิ ารของหน่วยบริการ (สปสช. 0110 รง.5) ในภาพรวมของจงั หวดั พบว่า ในปงี บประมาณ
2553 จํานวนผปู้ ุวยลดลงจากปงี บประมาณ 2552 เกือบทุกประเภทสิทธิ ยกเวน้ กลุ่มสิทธิ
ประกันสังคมทเ่ี พมิ่ ขนึ้ แต่เม่ือพิจารณาตามจํานวนวนั นอนกลับพบว่าจํานวนวันนอนรวมเพิม่ ขน้ึ จากปี
2552 โดยในปี 2553 ผู้ปวุ ยใน 1 ราย มวี นั นอนเฉลีย่ 4.3 วนั ในขณะที่ ปี 2552 มวี ันนอนเฉลี่ย
4.1 วัน/ราย จํานวนวนั นอนเฉลี่ยในปี 2553 เมื่อแยกตามประเภทสิทธิ พบว่าผู้ปวุ ยสิทธิข้าราชการ
มีวันนอนเฉลี่ยสูงกวา่ ผปู้ วุ ยสทิ ธิอ่นื ๆ คอื มีวันนอนเฉลี่ย 5.6 วันตอ่ ผู้ปุวยใน 1 ราย ผู้ปุวยสิทธิ UC
และแรงงงานต่างด้าวมีวนั นอนเฉลย่ี ใกล้เคยี งกัน คอื 4.1 และ 4.3 วันต่อผ้ปู ุวยใน 1 ราย ผปู้ วุ ย
ประกนั สงั คมวันนอนเฉล่ยี ตอ่ คนน้อยท่ีสดุ คอื 3.6 วัน รายละเอียดตามตารางท่ี 9

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 14

ตารางที่ 9 จาํ นวนผู้รับบรกิ าร จํานวนวนั นอน และจํานวนวันนอนเฉล่ียของผปู้ วุ ยใน

จําแนกตามประเภทสิทธิ จ.สพุ รรณบุรี ปีงบประมาณ 2552-2553

ประเภทสิทธิ ปีงบประมาณ 2552 ปีงบประมาณ 2553

จาํ นวน(ราย) รวมวันนอน วนั นอน จาํ นวน(ราย) รวมวนั นอน วันนอน

1.ข้าราชการ/รัฐวสิ าหกจิ เฉล่ีย/ราย เฉลีย่ /ราย
12,518 62,805 5.0 12,142 67,590 5.6

2.ประกนั สงั คม 3,376 12,106 3.6 4,090 14,661 3.6

3.UC บตั รทองมี/ไม่มี 76,033 306,010 4.0 75,519 311,538 4.1

4.แรงงานต่างดา้ ว 11,155 45,528 4.1 9,466 40,467 4.3

รวมผู้มารบั บรกิ าร 103,082 426,449 4.1 101,217 434,256 4.3

ทมี่ า : รายงาน 0110 รง 5 ปงี บประมาณ 2552-2553 (http://phdb.moph.go.th/)

เมือ่ จาํ แนกวันนอนเฉลย่ี ผู้ปุวยในตามรายโรงพยาบาล พบว่า รพศ.เจ้าพระยายมราช มีวัน
นอนเฉลี่ยผู้ปุวยในสูงสุด คือ 5.13 วัน/ราย รองลงมาคือ รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ มีวันนอนเฉล่ีย
ผู้ปุวยใน 4.60 วัน/ราย ในระดบั โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทมี่ ีจํานวนวนั นอนเฉล่ยี ผู้ปุวยในสูงสดคือ
รพช.อู่ทอง (3.86 วัน/ราย) รองลงมาคือ รพช.ดอนเจดีย์ (3.77 วัน/ราย), รพช.เดิมบางนางบวช (3.53
วัน/ราย), รพช.หนองหญา้ ไซ (3.50 วัน/ราย), รพช.ศรีประจันต์ (3.45 วัน/ราย), รพช.ด่านช้าง (3.38
วัน/ราย), รพช.บางปลาม้า (3.04 วนั /ราย) และ รพช.สามชกุ (2.98 วัน/ราย) ตามลาํ ดบั (ตารางท่ี 10)

เมือ่ เปรียบเทยี บวันนอนเฉลยี่ ของผู้ป่วยในกบั ค่าเฉลยี่ ของประเทศในชว่ งเวลาเดียวกัน
คือในปี 2553 จําแนกตามประเภทของโรงพยาบาล จะเห็นว่าวันนอนเฉล่ียของผู้ปุวยในท้ังระดับ
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลท่ัวไป และโรงพยาบาลชุมชน มีค่าเฉล่ียสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ
(ตารางที่ 10)

สาํ หรบั อตั ราการครองเตียง (อัตราวันนอนผู้ใน 1 ปี) ในภาพรวมของจังหวัดสุพรรณบุรี คิด
เป็นร้อยละ 82.91 ซง่ึ ถือวา่ มีการใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ป่วยในอย่างเหมาะสม แต่เม่ือพิจารณาตาม
ประเภทโรงพยาบาล พบว่า อตั ราการครองเตียงของโรงพยาบาลทั่วไปสูงมากกว่าโรงพยาบาลศูนย์ (ร้อย
ละ 99.48 เทียบกบั ร้อยละ 90.86) กลุม่ ของโรงพยาบาลชุมชนจะน้อยที่สุดคือร้อยละ 69.64 ซึ่งถือว่า
กลุ่มโรงพยาบาลชุมชนมีการใช้เตียงไม่คุ้มค่า เพราะโรงพยาบาลชุมชนทั้งหมดอัตราการครองเตียง
นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 และต่ากวา่ คา่ เฉล่ียของประเทศคอ่ นข้างมาก โดยค่าเฉลี่ยอัตราการครองเตียงของ
ประเทศไทยในกลุ่มโรงพยาบาลชุมชนขนาดมากว่า 30 เตียง เท่ากบั 85.32 (ตารางที่ 10)

อัตราการใช้เตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate) พบว่าในระดับโรงพยาบาลศูนย์มีอัตราการ
ใช้เตียง 1 ปี เท่ากับ 64.66 ซึ่งต่ากว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ทั่วประเทศในปีเดียวกัน
(ค่าเฉล่ียของประเทศเท่ากับ 81.12 ซึ่งอาจหมายถึง รพศ.เจ้าพระยายมราช มีการใช้เตียงน้อย
หรอื การหมุนเวียนเตียงน้อย หรือโรคมีความรุนแรงมาก หรือเป็นโรคเร้ือรัง หรือมีคุณภาพในการให้
การรกั ษานอ้ ย ทาํ ใหว้ ันนอนมากกวา่ เกณฑเ์ ฉลี่ย (ตารางที่ 10)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 15

โรงพยาบาลทั่วไปมอี ตั ราการใชเ้ ตียง 1 ปี เท่ากับ 78.87 ซ่ึงสูงกวา่ คา่ เฉลีย่ ของกลมุ่
โรงพยาบาลทัว่ ไปของประเทศในปเี ดยี วกัน (ค่าเฉลย่ี ของประเทศเท่ากบั 55.56) ซ่งึ อาจ
หมายถึง รพท.สมเด็จพระสงั ฆราชฯ มีการใช้เตียงมากหรอื การหมุนเวยี นเตยี งเรว็ โรคมคี วามรุนแรง
นอ้ ย หรือมคี ณุ ภาพในการรกั ษา ทาํ ใหว้ นั นอนน้อยกวา่ เกณฑ์เฉลยี่ (ตารางที่ 10)

กลมุ่ โรงพยาบาลชมุ ชนในภาพรวมมีอตั ราการใชเ้ ตยี ง 1 ปี เท่ากับ 73.40 ซง่ึ ต่ากวา่
ค่าเฉลีย่ ของกลุ่มโรงพยาบาลชุมชนทว่ั ประเทศในปเี ดียวกัน (คา่ เฉลยี่ ของประเทศเท่ากบั 94.57) อาจ
มกี ารใช้เตยี งน้อยหรือการหมุนเวียนเตยี งนอ้ ย โรคมคี วามรุนแรงมาก เปน็ โรคเรื้อรัง หรือคุณภาพใน
การให้การรกั ษาน้อย ทําใหว้ นั นอนมากกวา่ ในเกณฑเ์ ฉลี่ย ยกเวน้ โรงพยาบาลบางปลามา้ ที่มอี ตั รา
การใชเ้ ตียงเท่ากบั ค่าเฉล่ียของกล่มุ (ตารางที่ 10)

ตารางท่ี 10 จํานวนผู้รับบริการผูป้ ุวยใน จาํ นวนวันนอน จาํ นวนเตยี ง อตั ราการครองเตยี ง อัตราการ

ใชเ้ ตยี ง 1 ปี ของผ้ปู ุวยใน จ.สพุ รรณบุรี ปงี บประมาณ 2553

โรงพยาบาล ผู้ปว่ ยในท่ี รวมวันนอน วันนอน จานวนเตยี ง อัตราการครองเตยี ง อัตราการใช้
จาหนา่ ย เฉล่ยี ผ้ปู ่วย เตยี ง 1 ปี 2
ทง้ั หมด (ตามจริง) (อัตราวันนอนผ้ปู ว่ ย
ใน ใน 1 ปี)1

รพศ.เจ้าพระยายมราช 38,926 199,655 5.13 602 90.86 64.66

รพท.สมเด็จพระสังฆราชฯ 16,562 76,254 4.60 210 99.48 78.87

รพช.เดมิ บางนางบวช 8,640 30,489 3.53 112 74.58 77.14

รพช.ด่านชา้ ง 6,771 22,912 3.38 88 71.33 76.94

รพช.บางปลามา้ 5,656 17,192 3.04 60 78.50 94.27

รพช.ศรปี ระจันต์ 4,686 16,168 3.45 63 70.31 74.38

รพช.ดอนเจดยี ์ 4,330 16,312 3.77 60 74.48 72.17

รพช.สามชุก 4,495 13,406 2.98 60 61.21 74.92

รพช.อู่ทอง 7,816 30,205 3.86 120 68.96 65.13

รพช.หนองหญา้ ไซ 3,335 11,663 3.50 60 53.26 55.58

รวม 101,217 434,256 4.29 1,435 82.91 70.53

สรปุ ตามประเภทโรงพยาบาลจ.สุพรรณบุรี ปี 2553

รพศ. (1 แหง่ ) 38,926 199,655 5.13 602 90.86 64.66

รพท. (1 แห่ง) 16,562 76,254 4.60 210 99.48 78.87

รพช. (8 แหง่ ) 45,729 158,347 3.46 623 69.64 73.40

คา่ เฉล่ยี ของประเทศไทย ปี 2553

ทัง้ ประเทศ 3.87 85.91 81.12

รพศ 4.89 94.83 70.76

รพท>300 4.57 89.02 71.08

รพท≤300 4.42 67.33 55.56

รพช>30 3.29 85.32 94.57

รพช≤30 2.95 78.73 97.30

ท่ีมา : รายงาน 0110 รง 5 ปีงบประมาณ 2553 (http://203.157.3.249/hssd1/umd/HSS_DRG/home/index.php)

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี หน้า 16

สูตรการคานวณและการแปลผล

1 อัตราการครองเตยี ง (อัตราวันนอนผปู้ ว่ ยใน 1 ปี) = จํานวนวันนอนผปู้ ุวยใน X 100
จาํ นวนเตยี ง x 365 วนั a

a เปน็ ค่าประมาณการใหเ้ ปน็ 1 ปี

การแปลผล เปน็ การประเมนิ ประสิทธิภาพของการใช้ทรพั ยากรในการบรกิ ารผ้ปู วุ ยในสถานบริการ
สขุ ภาพ การใช้ประโยชน์จากเตียงผู้ปุวยในสถานบริการสุขภาพเปน็ ตัวบง่ ช้ีถึงการใช้ทรัพยากรอ่ืนๆ ใน
สถานบรกิ ารสุขภาพวา่ มคี วามค้มุ คา่ กบั การลงทุนไปในภาพรวมอยา่ งคร่าวๆ ได้

คา่ > 120 หมายถึง ผู้ปวุ ยมีเตียงไม่เพียงพอ แออดั
คา่ 80 – 100 เหมาะสม
คา่ < 80 หมายถึง ใชเ้ ตยี งไม่คุม้ ค่า ตอ้ งปรบั ระบบการให้บริการ

2 อัตราการใชเ้ ตียง 1 ปี (Bed Turnover Rate)
= จาํ นวนผปู้ วุ ยในท่จี ําหนา่ ยในช่วงเวลาทกี่ ําหนด ( 1 ปี)
จาํ นวนเตียง

การแปลผล เพอื่ ประเมนิ ประสิทธภิ าพการใช้ประโยชน์เตียงซึ่งหมายถึงความสอดคลอ้ งของจาํ นวน
เตียงกบั ปรมิ าณผู้ปวุ ยใน ในภาพรวมอยา่ งคร่าวๆได้ โดยคิดเปรียบเทียบกบั ค่าเฉลยี่ ตามกลุ่ม
โรงพยาบาล ถ้า.......

 สูงกวา่ ค่าเฉล่ยี ของกลุ่ม อาจหมายถึง มกี ารใช้เตียงมากหรอื การหมุนเวยี น
เตยี งเร็ว โรคมีความรนุ แรงนอ้ ย หรอื มีคุณภาพในการรักษา ทําใหว้ นั นอน
น้อยกวา่ เกณฑ์เฉล่ยี

 ตา่ กวา่ ค่าเฉลยี่ ของกลุม่ อาจหมายถงึ มกี ารใชเ้ ตยี งนอ้ ยหรอื การหมุนเวียน
เตยี งนอ้ ย โรคมคี วามรุนแรงมาก เปน็ โรคเร้อื รงั หรอื มคี ุณภาพในการให้การ

รักษานอ้ ย ทาํ ใหว้ นั นอนมากกว่าในเกณฑ์เฉล่ีย

ทีม่ า : คู่มือการวิเคราะห์ ดัชนชี ว้ี ัดผลการดําเนินงานตามแบบรายงาน 0110 รง 5
โดย กลุ่มสารสนเทศ สํานกั พฒั นาระบบบรกิ ารสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ ปี 2552

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 17

สถานะสุขภาพ

อายคุ าดเฉล่ีย

อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด ตารางที่ 11 อายุคาดเฉล่ยี ของประชากร จ.สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ.2553

(ความยืนยาวของชีวิตต้ังแต่แรกเกิดจน กลุม่ อายุ อายุคาดเฉลยี่ (Life Expectancy)
ตาย) ของประชากรสุพรรณบุรี ในปี (ปี )
2553 อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดแยก 0-1 ชาย หญงิ รวม
ตามเพศ พบว่า เพศหญิงมีอายุยืนยาว 1-4
กว่าเพศชาย กล่าวคือ เพศหญิงมีอายุ 5-9 70.51 76.94 73.75
คาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด 76.94 ปี เพศชาย
มีอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดสั้นกว่า คือ 10-14 69.86 76.32 73.12
70.51 ในภาพรวมทั้ง 2 เพศมีอายุคาด 15-19
เฉลี่ยเมอ่ื แรกเกิดเทา่ กบั 73.75 ปี 20-24 66.07 72.57 69.35
25-29
อายุคาดเฉล่ียเมอื่ อายุ 60 ปี 30-34 61.20 67.76 64.51
(อายทุ ี่คาดวา่ จะยืนยาวต่อไปหลงั จาก 35-39
40-44 56.39 62.83 59.64
45-49
50-54 51.89 58.08 55.03
55-59
60-64 47.51 53.32 50.47
65-69
70-74 43.08 48.59 45.90

38.87 43.91 41.48

34.55 39.34 37.04

30.46 34.80 32.73

26.59 30.31 28.57

22.67 25.93 24.42

18.96 21.68 20.44

15.47 17.80 16.75

12.45 14.09 13.38

อายุ 60 ปี) พบว่า เพศหญิงจะมอี ายยุ นื 75-79 9.68 10.73 10.30
ยาวต่อไปอีกประมาณ 21.68 ปี ขณะที่ 80-84 7.31 8.01 7.73
ผ้ชู ายจะมีอายุยืนยาวหลังอายุ 60 ปี 85-89 5.59 5.68 5.64
ตอ่ ไปอีก 18.96 ปี (ตารางที่ 11) 90-94 4.76 4.41 4.52
95-99 4.13 3.40 3.63
100+ 2.50 2.50 2.50

เมอ่ื พิจารณาอายุคาดเฉลี่ยเม่ือ ที่มา งานพัฒนายทุ ธศาสตร์สาธารณสุข สสจ.สพุ รรณบรุ ี

แรกเกิดของประชากรจงั หวดั สพุ รรณบุรีเมอ่ื เทียบกับระดับประเทศในชว่ งเวลาท่ีใกลเ้ คยี งกัน พบวา่ อายุ

คาดเฉลยี่ เมื่อแรกเกิดของประชากรจงั หวัดสุพรรณบรุ ี สงู กวา่ อายคุ าดเฉลีย่ ของระดบั ประเทศท้ัง

เพศชายและเพศหญิง ดังรูปท่ี 6

อายุ (ปี) 76.94 76.30 จ.สุพรรณบุรี
ประเทศไทย
80 70.51 69.50

70

60

50 หญิง

ชาย

รปู ท่ี 6 อายุคาดเฉลย่ี เมอื่ แรกเกดิ ของประชากรเพศชาย จ.สพุ รรณบรุ ี พ.ศ. 2553
และ ประเทศไทย พ.ศ.2554 (คาดประมาณ)

ท่ีมา งานพฒั นายุทธศาสตร์ฯ สสจ.สุพรรณบุรี และสารประชากร มหาวทิ ยาลัยมหิดล ปที ่ี 20 มกราคม 2554

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบรุ ี หน้า 18

สถิตชิ ีพ

จังหวดั สพุ รรณบรุ ี พบการตายของมารดา (การตายเนอื่ งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภ์และระยะ
อยไู่ ฟ ( ภายใน 6 สัปดาห์หลังคลอด) ในระหว่างปี 2546-2549 ปีละ 1 ราย แต่ในปี 2551-2553 พบมารดา
ตาย ปลี ะ 2-3 ราย ทาํ ให้อัตราตายของมารดาเพ่มิ เป็น 22.99 ต่อการเกิดมีชพี 100,000 คน เกนิ เกณฑท์ ่ี
กระทรวงสาธารณสขุ กาํ หนดไว้ คอื อตั ราตายของมารดาไม่เกิน 18 คนตอ่ การเกิดมีชีพ 100,000 คนอัตรา
ทารกตาย มแี นวโนม้ ลดลงเล็กน้อย จาก 7.98 ต่อการเกดิ มีชพี 1,000 คน ในปี 2546 ลดลงเป็น 6.09 ต่อ
การเกดิ มชี ีพ 1,000 คน ในปี 2553 (ตารางท่ี 12) และเม่อื เปรียบเทยี บสถิตชิ ีพของจังหวัดสุพรรณบรุ ีกับ
ประเทศไทยในชว่ งเวลาใกลเ้ คียงกัน (คาดประมาณ ปี พ.ศ. 2554) พบวา่ อตั ราเกิดตาย อัตราตาย อัตรา
มารดาตาย สูงกวา่ คา่ คาดประมาณของระดบั ประเทศ (ปี 2554) สําหรับอตั ราทารกตาย อัตราเพิ่ม
ตามธรรมชาติ อายุคาดเฉลย่ี เม่ือแรกเกิด และอายุคาดเฉลี่ยทีอ่ ายุ 60 ปี จะตํ่ากวา่ ค่าคาดประมาณของ
ระดับประเทศ (ปี 2554) (ตารางท่ี 12)

ตารางที่ 12 จํานวนและอตั รา ของการเกดิ การตาย ทารกตาย มารดาตาย และดัชนีชพี
จังหวดั สุพรรณบรุ ี พ.ศ. 2546 - 2553

ทมี่ า : a กรมการปกครอง (http://203.113.86.149/xstat/tran/birth51_3.html

หมายเหตุ:
1. มารดาตาย คือการตายเน่อื งจากการคลอดและภาวะแทรกในการมคี รรภแ์ ละระยะอยู่ไฟ( ภายใน 6 สปั ดาห์
หลงั คลอด)
2. อตั ราเกิดมีชพี และตายตอ่ ประชากร 1,000 คน
3. อตั ราทารกตายตอ่ เกิดมีชพี 1,000 คน และมารดาตายตอ่ เกดิ มชี พี 100,000 คน
4. อตั ราเพ่มิ ตามธรรมชาติ (รอ้ ยละ) : จาํ นวนเกดิ ลบด้วย จาํ นวนตาย หารด้วยจํานวนประชากรกลางปี
คณู ดว้ ย 100
5. ดัชนชี พี หรือ อัตราส่วนเกิดตาย เปน็ จํานวนเกดิ มชี ีพตอ่ ตาย 100 คน

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 19

ตารางที่ 13 สถิติชพี จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2553 และ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554

สถติ ชิ ีพ จ.สุพรรณบุรี 1 ประเทศไทย2

ปี พ.ศ. 2553 (คาดประมาณ ปี 2554)

1. อัตราเกิด (ตอ่ ประชากรพนั คน) 10.51 12.4
2. อัตราตาย (ตอ่ ประชากรพนั คน) 8.30 6.9
3. อัตราเพิม่ ตามธรรมชาติ (ร้อยละ) 0.22 0.6
4. อัตราทารกตาย (ต่อการเกิดมีชพี พันราย) 6.09 12.3
5. อัตรามารดาตาย (ต่อการเกิดมีชพี 100,000 คน) 22.29 10.8
6. อายคุ าดเฉลีย่ เม่อื แรกเกดิ ( จาํ นวนปีเฉลย่ี ทีค่ าดว่า
69.5
บุคคลทเ่ี กิดมาแลว้ จะมีชีวติ อยู่ตอ่ ไปอีกกีป่ ี) 76.3

ชาย 70.51 19.4
21.9
หญิง 76.94

7. อายคุ าดเฉลีย่ ทอี่ ายุ 60 ปี (จํานวนปีเฉลย่ี ท่ีคาดว่า
ผู้ทมี่ ีอายุ 60 ปี จะมีชีวติ อยู่ต่อไปอกี กปี่ ี)

ชาย 18.96

หญิง 21.68

ทมี่ า 1 งานพัฒนายุทธศาสตร์ฯ สสจ.สุพรรณบุรี
2 สารประชากร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ปที ่ี 20 มกราคม 2554

สาเหตุการปว่ ย

จากการเก็บขอ้ มลู กลมุ่ ผู้ปุวยนอก (ระบบรายงาน รง.504) ในรอบ 3 ปที ี่ผ่านมา พบวา่ 5 ลําดบั แรก
ของกลมุ่ โรคที่เปน็ สาเหตกุ ารเจ็บปุวยที่สาํ คญั ของประชาชนจังหวัดสพุ รรณบรุ ี คือ กล่มุ โรคระบบทางเดนิ หายใจ โรค
ระบบไหลเวยี นเลือด โรคเกย่ี วกับต่อมไร้ทอ่ โภชนาการและเมตะบอลิสึม โรคระบบกล้ามเน้อื รวมโครงร่างและเนื้อ
ยึดเสริม และโรคระบบยอ่ ยอาหารรวมโรคในชอ่ งปาก (ตารางท่ี 14)

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี หน้า 20

ตารางที่ 14 จาํ นวนและอตั ราปุวยต่อประชากร 1,000 คน ของผปู้ วุ ยนอก จําแนกตามกลุ่มสาเหตุการปุวย

จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ปี 2551-2553

กล่มุ สาเหตุ 2551 2552 2553
โรค จํานวน อตั รา จํานวน อตั รา
84064 99.6 83,167 97.7 จาํ นวน อัตรา
1 โรคตดิ เช้ือและปรสิต 14627 17.3 18,752 22.0
2 เนือ้ งอก (รวมมะเรง็ ) 96,262 113.1

20,638 24.3

3 โรคเลือดและอวัยวะสร้างเลอื ด และ 9277 11.0 12,892 15.2 17,111 20.1
ความผดิ ปกตเิ กี่ยวกบั ภูมิคมุ้ กัน
272424 322.9 336,873 395.9 399,705 469.7
4 โรคเกี่ยวกับต่อมไรท้ อ่ โภชนาการ
และเมตะบอลสิ ึม 36349 43.1 40,745 47.9 46,871 55.1
45335 53.7 48,944 57.5 65,014 76.4
5 ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม
6 โรคระบบประสาท

7 โรคตารวมส่วนประกอบของตา 59811 70.9 66,634 78.3 66,779 78.5
21.0 17,718 20.8
8 โรคหูและปุมกกหู 16196 19.2 17,869 466.8 442,226 519.7
437.0 443,867 521.6
9 โรคระบบไหลเวียนเลอื ด 369427 437.8 397,250 282.6 292,773 344.1

10 โรคระบบหายใจ 352843 418.2 371,826 103.9 123,232 144.8
322.0 340,771 400.5
11 โรคระบบย่อยอาหาร รวมโรคในชอ่ ง 212624 252.0 240,475
77.6 76,214 89.6
ปาก

12 โรคผวิ หนงั และเน้อื เยือ้ ใต้ผิวหนัง 68524 81.2 88,452

13 โรคระบบกล้ามเนื้อ รวมโครงร่าง และ 242717 287.7 273,962

เนอื้ ยึดเสริม

14 โรคระบบสืบพนั ธุ์ รวมทางเดินปสั สาวะ 62245 73.8 66,054

15 ภาวะแทรกในการตั้งครรภ์ การคลอด 9868 11.7 10,561 12.4 11,341 13.3
2.3 2,177 2.6
และระยะหลงั คลอด
4.5 1,921 2.3
16 ภาวะผดิ ปกตขิ องทารกทเี่ กดิ ข้นึ ใน 1271 1.5 1,953 359.2 409,289 481.0

ระยะปริกําเนิด (อายคุ รรภ์ 22 1.3 1,060 1.2
15.9 14,100 16.6
สัปดาหข์ ้ึนไปจนถงึ 7วันหลงั คลอด) 57.1 63,095 74.1

17 รูปร่างผดิ ปกตแิ ตก่ ําเนิด การพิการจน 1479 1.8 3,856

ผดิ รปู แต่กําเนิดและโครโมโซม ผดิ ปกติ

18 อาการ, อาการแสดงและสงิ่ ผดิ ปกตทิ ่ี 242367 287.2 305,636

พบไดจ้ ากการตรวจทางคลนิ กิ และทาง

หอ้ งปฏิบัติการฯ

19 การเปน็ พษิ และผลที่ตามมา 1528 1.8 1,083

20 อบุ ัติเหตุจากการขนสง่ และผลทต่ี ามมา 12994 15.4 13,528

21 สาเหตุจากภายนอกอน่ื ๆ ทท่ี ําใหป้ ุวยหรือ 47333 56.1 48,617

ตาย

ท่ีมา : รายงานผปู้ วุ ยนอก รง.504 จ.สพุ รรณบุรี ปี 2551-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี หน้า 21

สําหรบั กลมุ่ ผปู้ วุ ยใน กลุ่มสาเหคุการเจ็บปุวยที่สาํ คัญ 10 ลําดับแรกในรอบ 3 ปีท่ีผา่ นมา ไดแ้ ก่
กล่มุ โรคความผิดปกติของตอ่ มไร้ท่อโภชนาการและเมตะบอลซิ มึ , โรคความดันโลหิตสงู , โรคเบาหวาน,
โรคอน่ื ๆของระบบย่อยอาหาร, โรคติดเช้อื อนื่ ๆของลาํ ไส้, โรคเลือดและอวัยวะสรา้ งเลือด, โรคตดิ เชอ้ื
และปรสติ อ่นื ๆ, โรคอืน่ ๆของระบบหายใจ, โรคตาและส่วนผนวก, โรคหัวใจและโรคของการไหลเวียน
ผา่ นปอดอ่ืนๆ และกลมุ่ เหตุการณภ์ ายนอกอ่ืนๆของการบาดเจบ็ โดยอุบัติเหตุ เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้ม
การเจบ็ ปวุ ยของประชาชนพบวา่ สาเหตุการเจบ็ ปุวยที่สําคญั และมีแนวโน้มเพิม่ ข้นึ คอื โรคความดันโลหติ
สูงและโรคเบาหวาน (ตารางที่ 15, รูปท่ี 6)

ตาราง 15 ลาํ ดับของกลุ่มสาเหตุการปุวย 10 ลาํ ดับแรก ของกลุ่มผู้ปวุ ยในตอ่ ประชากร

100,000 คน จ.สุพรรณบรุ ี พ.ศ.2551-2553

กลุ่ม สาเหตุปุวย 2551 2552 2553

โรค ลําดบั อตั รา ลําดบั อตั รา ลาดบั อัตรา

19 ความผดิ ปกตขิ องตอ่ มไรท้ ่อ 1 1956.3 1 1956.3 1 3,159.4

โภชนาการและเมตะบอลิซึม

32 โรคความดันโลหติ สูง 2 1442.7 2 1442.7 2 1,775.7

15 โรคเลอื ดและอวยั วะสรา้ ง 6 843.1 6 843.1 3 1,237.8

เลอื ด

18 โรคเบาหวาน 3 1030.8 3 1030.8 4 1,187.7

50 โรคอ่นื ๆของระบบย่อย 4 883.7 4 883.7 5 1,034.5

อาหาร

2 โรคติดเชื้ออ่นื ๆของลาํ ไส้ 5 882.6 5 882.6 6 1,025.0

42 โรคอนื่ ๆของระบบหายใจ 8 663.5 8 663.5 7 721.2

10 โรคติดเช้ือและปรสติ อนื่ ๆ 7 702.5 7 702.5 8 690.4

65 ความผิดปกติอื่นๆทเ่ี กดิ ขนึ้ ใน 11 552.2 11 552.1 9 652.5

ระยะปริกําเนดิ

34 โรคหวั ใจและโรคของการ 10 576.8 10 576.8 10 616.7

ไหลเวยี นผ่านปอดอื่นๆ

28 โรคตาและสว่ นผนวก 9 597.7 9 597.7 16 522.6

หมายเหตุ ไมน่ ํากลุม่ โรคท่ี 62, 63 และ 67 มาจัดลําดบั ใน 10 ลาํ ดับแรก
กลมุ่ โรคที่ 62 คือการคลอดเดีย่ ว (คลอดปกติ)
กลุม่ โรคท่ี 63 คือกลุ่มโรคแทรกซ้อนในการต้ังครรภ์ การเจ็บครรภ์ การคลอด ระยะหลังคลอดและภาวะ
อื่นๆทางสูตกิ รรม
กลุม่ โรคท่ี 67 คือกลมุ่ อาการอาการแสดงและสิ่งผิดปกตทิ ่พี บได้จากการตรวจทางคลนิ กิ และห้องปฏบิ ตั ิการ

ทีม่ า : รายงานผ้ปู วุ ยใน รง.505 จ.สุพรรณบุรี ปี 2551-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 22

โรคตาและสว่ นผนวก 522.6 3,159.40
โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยี นผ่านปอดอน่ื ๆ 616.7 3,000.00 4,000.00
652.5
ความผดิ ปกตอิ น่ื ๆทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระยะปรกิ าํ เนดิ 690.4
โรคตดิ เชอ้ื และปรสติ อืน่ ๆ 721.2
โรคอืน่ ๆของระบบหายใจ 1,025.00
โรคตดิ เชอ้ื อน่ื ๆของลาํ ไส้ 1,034.50
1,187.70
โรคอน่ื ๆของระบบย่อยอาหาร 1,237.80
โรคเบาหวาน 1,775.70

โรคเลอื ดและอวยั วะสรา้ งเลอื ด 1,000.00 2,000.00
โรคความดนั โลหติ สงู

ความผดิ ปกตขิ องตอ่ มไรท้ อ่ โภชนาการและเมตะบอลิซมึ

0.00

รูปที่ 8 ลําดับอัตราผู้ปุวยในต่อประชากร 100,000 คน 10 ลาํ ดับแรก จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.2553

ภาวะการเจบ็ ป่วยจากกลุ่มโรคไม่ตดิ ต่อ ไดแ้ ก่ โรคความดนั โลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาด
เลือด โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ และไตวายเร้ือรัง กําลงั เปน็ ปัญหาทส่ี ําคัญของประชาชนในจงั หวดั
สพุ รรณบรุ ี เนื่องจากกลุม่ โรคดงั กล่าวมแี นวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่างตอ่ เนอ่ื ง (รปู ท่ี 9)

อัตราตอ่ แสน ความดนั โลหติ สงู
2000 เบาหวาน
1500 หัวใจขาดเลอื ด
1000 หลอดเลอื ดสมองใหญ่
500 ไตวายเรอื้ รงั

0 พ.ศ.

รูปที่ 9 อัตราปวุ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผปู้ ุวยในด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
โรคหวั ใจขาดเลือด โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ และไตวายเรอ้ื รงั จ.สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2542-2553

ทม่ี า : รายงานผู้ปวุ ยใน รง.505 จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2542-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 23

และเม่อื เปรียบเทยี บแน้วโน้มการปุวยด้วยกลุ่มโรคความดนั โลหิตสงู โรคเบาหวาน โรคหวั ใจขาดเลือด
โรคหลอดเลอื ดสมองใหญ่ และไตวายเร้อื รงั ของจังหวดั สพุ รรณบุรกี บั ประเทศไทย ทาํ ใหพ้ บว่า
แนวโน้มของการปวุ ยด้วยกล่มุ โรคดงั กลา่ วทั้งของจังหวดั สพุ รรณบรุ ีกบั ประเทศมีลกั ษณะเดียวกนั คอื มี
แนวโนม้ เพ่มิ ขนึ้ อย่างต่อเนอื่ งตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นตน้ มา และท่ีสาคญั คอื แนวโนม้ การปว่ ยของ
จงั หวัดสุพรรณบุรีทงั้ 5 กลุ่มโรค สูงกวา่ ภาพรวมในระดบั ประเทศเป็นอย่างมาก (รปู ท่ี 10-14)

ที่มา รายงานผปู้ วุ ยในรายโรค (รง.505) สาํ นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ทมี่ า รายงานผู้ปวุ ยในรายโรค (รง.505) สํานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์
(http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5) (http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5)

ทม่ี า รายงานผปู้ ุวยในรายโรค (รง.505) สํานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ ที่มา รายงานผู้ปุวยในรายโรค (รง.505) สาํ นกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์
(http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5) (http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5)

อัตราต่อแสน สุพรรณบรุ ี
400
300

200

100

0
2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552

รูปท1ี่ 4 อตั ราปว่ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปว่ ยในดว้ ยโรคไตวายเร้อื รงั
จ.สพุ รรณบุรี และประเทศไทย ปี พ.ศ. 2542-2552

ทมี่ า รายงานผปู้ วุ ยในรายโรค (รง.505) สาํ นักนโยบายและยุทธศาสตร์ (http://bps.ops.moph.go.th/index.php?mod=bps&doc=5)

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี หน้า 24

และเมอื่ พิจารณาการปวุ ยด้วยกลุม่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ในกลมุ่ โรคธาลสั ซเี มยี กลุม่ โรคท่เี กิดจากความ
ผดิ ปกติของต่อมไทรอยด์ และโรคตับจากแอลกอฮอล์ ของจังหวัดสพุ รรณบรุ ี พบวา่ ทั้ง 3 กลุ่มโรค มี
แนวโน้มเพม่ิ ขึน้ อยา่ งต่อเน่อื งต้งั แต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา (รูปที่ 14.1)

อตั ราต่อแสน ธาลสั ซเี มยี
ความผิดปกตขิ องตอ่ มไทรอยด์
100 โรคตบั จากแอลกอฮอล์

80 พ.ศ.

60

40

20

0

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รูปที่ 14.1 อตั ราปวุ ยต่อประชากร 100,000 คน ของผู้ปุวยในด้วยโรคธาลสั ซเี มีย โรคจากความผิดปกติ
ของตอ่ มไทรอยด์ และโรคตับจากแอลกอฮอล์ จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2545-2553

ทม่ี า : รายงานผปู้ วุ ยใน รง.505 จ.สพุ รรณบุรี ปี 2545-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุพรรณบรุ ี หน้า 25

สถานการณก์ ารเจบ็ ป่วยด้วยกลมุ่ โรคมะเร็ง

เมือ่ จําแนกสาเหตกุ ารปวุ ยตามกลุ่มโรคมะเรง็ พบว่าประชาชนจงั หวดั สพุ รรณ

พบการอัตราการปวุ ยเทา่ กับ 320.98 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ.2553 สูงขึ้นเป็น

เต้านมมากท่ีสุด รองลงมาคือ มะเร็งลําไสใ้ หญ่/เร็คตมั /ทวารหนกั , มะเรง็ ท่ีหลอดคอ ห

ตามลาํ ดบั รายละเอียดในตารางที่ 16

ตารางที่ 16 จํานวนและอัตราปวุ ยต่อประชากร 100,000 คนด้วยกลมุ่ โรคมะเร็ง 10 ล

รหสั สาเหตุการปว่ ยดว้ ยโรคมะเรง็ ป
จานวน
ICD-10 Malignant neoplasm of breast ชญ
Malignant neoplasm of colon, rectum and anus 1 610
C50 262 244
C18-21 Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung 120 48
C33-34 Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts 94 43
C22 34 25
C16 Malignant neoplasm of stomach 25 22
C91-95 Leukaemia 63 23
C00-14 - 90
C53 Malignant neoplasm of lip, oral cavity and pharynx 39 15
C67 24 17
C25 Malignant neoplasm of cervix uteri 19 9
C82-85 Malignant neoplasm of bladder 42 -
C90 Malignant neoplasm of pancreas
C00-D48 Non-Hodgkin,s lymphoma 956 1755 27
Malignant neoplasm of prostate
Neoplasms

ท่มี า : Datacenter สํานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี (http://61.19.87.186/isam/report/show_report

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ี

ณบุรปี ุวยดว้ ยกล่มุ โรคเนื้องอก (Neoplasms : C00-D48) สูงข้นึ คอื ในปี พ.ศ.2552
น 449.03 ตอ่ ประชากรแสนคน และเม่อื จําแนกตามประเภทของมะเรง็ พบมะเร็ง
หลอดลมใหญ่ และปอด, มะเร็งที่ตบั และทอ่ นํ้าดีในตับ และมะเรง็ ทีก่ ระเพาะอาหาร

ลาํ ดบั แรก ของประชาชนจังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2552-2553

ปี พ.ศ. 2552 ปี พ.ศ. 2553

อัตรา/100,000 ลาดับ จานวน อตั รา/100,000 ลาดับ
ชญ
รวม 1 1 779 รวม
611 72.34 2 313 306
506 59.91 3 168 73 780 91.54 1
168 19.89 4 157 52 619 72.65 2
137 16.22 7 66 49 241 28.28 2 3
59 6.99 9 53 59
47 5.56 6 80 28 209 24.53 4
86 10.18 5 - 108
90 10.66 8 62 19 115 13.50 5
54 6.39 11 34 30
41 4.85 14 48 14 112 13.14 6
28 3.32 10 61 -
42 4.97 - 108 12.68 7
1,398 2,428
2711 320.98 108 12.68 8

81 9.51 9

64 7.51 10

62 7.28 11

61 7.16 12

3,826 449.03 -

t.php?rp=diagnosis1)

หน้า 26

สถานการณก์ ารเจ็บปว่ ยดว้ ยกลมุ่ โรคติดต่อ

การเจ็บปวุ ยด้วยกล่มุ โรคตดิ ตอ่ ของประชาชนจังหวัดสุพรรณบรุ ี พบว่า กลุม่ โรคตดิ ต่อที่มี
แนวโนม้ สงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนื่องตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2547 เป็นตน้ มา คอื กลมุ่ โรคติดเช้อื อื่นๆของลาํ ไส้, โรคติดเชอื้
และปรสิตอน่ื ๆ (รูปที่ 15), โรคปอดอักเสบ, โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนติดเช้ือเฉยี บพลนั ฯ และโรคเร้ือรัง
ของระบบหายใจส่วนลา่ ง (รูปท่ี 16

สาํ หรับกลุ่มโรควัณโรค และโรคเอดส์ (เอช ไอ วี) ท้งั 2 กล่มุ โรคมแี นวโนม้ อยู่ในทศิ ทางเดียวกัน
คือ ชะลอตวั ในระหว่างปี 2545-2551 และกาํ ลงั มีแนวโนม้ เพ่ิมขึ้นใน ปี 2552-2553 (รูปที่ 17) และเปน็ ท่ี
นา่ สงั เกตวา่ โรคตบั อกั เสบจากเชือ้ ไวรัส ก็มีแนวโนม้ เพ่ิมขึน้ อย่างต่อเน่อื ง สาํ หรบั โรคไข้หวัดใหญ่น้นั มแี นวโน้มเพ่ิมขน้ึ
อยา่ งมากในชว่ ง 2 ปีทผี่ ่านมา สําหรับโรคมาลาเรยี มีแนวโน้มลดลงอย่างตอ่ เน่ือง (รปู ท่ี 18)

รูปที่ 15 อตั ราปุวยต่อประชากร 100,000 คน ด้วยโรคตดิ เชื้ออน่ื ๆของ รปู ที่ 16 อัตราปุวยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยโรคปอดอักเสบ
ลําไส้ และโรคตดิ เชอ้ื และปรสิตอน่ื ๆ ในกลุ่มผู้ปวุ ยใน โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบนติดเชอ้ื เฉียบพลนั ฯ,
จ.สุพรรณบรุ ี ปี 2542-2553 โรคเร้อื รังของระบบหายใจสว่ นล่าง จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2542-2553

ท่ีมา : รายงาน 505 จ.สพุ รรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2542-2553 ท่มี า : รายงาน 505 จ.สุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2542-2553

รูปท่ี 17 อตั ราปุวยตอ่ ประชากร 100,000 คน ดว้ ยเอช ไอ วี และวัณโรค รปู ที่ 18 อัตราปุวยตอ่ ประชากร 100,000 คน ด้วยโรค
ในกล่มุ ผปู้ วุ ย จ.สพุ รรณบุรี ปี 2542-2553 ตับอกั เสบจากเชื้อไวรสั โรคมาลาเรยี และไข้หวัดใหญ่
ในกลุ่มผปู้ วุ ยใน จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2542-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี หน้า 27

สถานการณก์ ารเจบ็ ปว่ ยดว้ ยกลุ่มโรคทต่ี ้องเฝาระวังทางระบาดวทิ ยา
10 ลําดบั ของการเจ็บปุวยดว้ ยกลุม่ โรคที่ตอ้ งเฝูาระวงั ทางระบาดวทิ ยาของประชาชนจังหวดั

สพุ รรณบรุ ี ในปี พ.ศ. 2553 ได้แก่ Diarrhoea, Pyrexia, Pneumonia, H.conjunctivitis,
Influenza, Food Poisoning, D.H.F, S.T.D, Chickenpox และ Herpes zoster ตามลําดับ
(ตารางท่ี 17)

ตารางท่ี 17 จานวน และอตั ราปว่ ย ด้วยโรคที่ตอ้ งเฝาระวังทางระบาดวทิ ยา 10 ลาดบั แรก

ของ ปี พ.ศ. 2553 จ.สพุ รรณบรุ ี

ลาดบั โรคเฝาระวงั ทาง พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2551

ระบาดวิทยา จานวน อัตราปว่ ย/ ลาดับ จานวนป่วย อตั ราปว่ ย/ ลาดับ จานวนปว่ ย อัตราปว่ ย/
(ราย) แสน (ราย) แสน
ป่วย(ราย) แสน

1 Diarrhoea 20280 2383.3 1 16399 1946.27 1 17,262 2,054.69

2 Pyrexia 5804 682.09 2 4352 516.51 2 2,628 312.81

3 Pneumonia 1795 210.95 4 1329 157.73 3 1,707 203.18

4 H.conjunctivitis 1383 162.53 3 2510 297.89 6 643 76.54

5 Influenza 967 113.64 6 630 74.77 20 130 15.47

6 Food Poisoning 672 78.97 8 518 61.48 4 1,297 154.38

7 D.H.F,Total 616 72.39 10 576 68.36 5 742 88.32

8 S.T.D.,total 539 63.34 13 260 30.86 21 99 11.78

9 Chickenpox 530 62.29 5 811 96.25 8 565 67.25

10 Herpes zoster 491 57.7 12 280 33.23 22 54 6.43

ท่ีมา : รายงาน 506 งานควบคุมโรคติดตอ่ สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2551-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี หน้า 28

การตาย

การตายของประชากรจังหวัดสุพรรณบรุ ี มจี ํานวนประมาณ 6,400 กว่าคนตอ่ ปี เมอ่ื จาํ แนกตามเพศ
พบว่า จํานวนและอตั ราตายของเพศชายสงู กว่าเพศหญิงมาตลอด โดยสัดสว่ นเพศชายคดิ เป็นรอ้ ยละ 55 ของ
จํานวนการตายท้ังหมด (รปู ท่ี 19-20)

จานวน (คน)

4000 3449 3733 3629 3501 3543 3508 3747 ชาย
3500 3078 หญิง
3000
2500 2718 2572 3123 2965 2823 3060 2988 3275 พ.ศ.
2000

1500

1000

500

0

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รูปที่ 19 จํานวนการตายของประชากร จําแนกตามเพศ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2546-2553

อตั รา/100,000

1,000 911.94 885.60 863.72 855.90 912.72 ชาย
950 855.79 หญิง
900 781.88 769.13 830.17 รวม
850 815.15 813.66
800 754.27 พ.ศ.
750 781.37
700 750.55
650
600 709.93 720.80 704.59 752.32
550 672.58 682.98 687.33
500
651.23

610.01 595.40

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รปู ท่ี 20 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร จาํ แนกตามเพศ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2546-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สุพรรณบรุ ี หน้า 29

ตารางท่ี 17 จาํ นวน และอตั ราตายต่อประชากรแสนคน จาํ แนกตามกลุม่ สาเหตกุ าร

ICD-10 สาเหตุการตาย 2547 2548

R00-R99 Systems, signs and abnormal clinical and จานวน อตั รา จานวน อัต
laboratory finding,not elsewhere classified
V01-Y89 External causes of morbidity and mortality 2517 299.62 3006 356
C00-D48 Neoplasms
I00-I99 Diseases of the circulatory system 701 83.45 743 88.
521 62.02 674 79.
615 73.21 674 79.

A00-B99 Certain infectious and parasitic diseases 559 66.54 666 79.
J00-J98 Diseases of the respiratory system 264 31.43 398 47.
K00-K92 Diseases of the digestive system 148 17.62 192 22.
N00-N98 Diseases of the genitourinary system 108 12.86 149 17.
E00-E88 Endocrine, nutritional and metabolic diseases 116 13.81 129 15.
G00-G98 Diseases of the nervous system 40 4.76 135 16.
L00-L98 Diseases of the skin and subcutaneous tissue
P00-P96 Certain conditions orginating in the perinatal 7 0.83 7 0.
period 20 2.38 37 4.
Q00-Q99 Congenital malformations, deformations and
chromosomal abnormalities 12 1.43 26 3.
M00-M99 Diseases of the musculoskeletal system and
connective tissue 5 0.60 5 0.
F01-F99 Mental and behavioural disorders
D50-D89 9 1.07 10 1.
Diseases of the blood and blood-forming organs 8 0.95 4 0.
O00-O99 and certain disorders involving the immune
mechanism 1 0.1

Pregnancy, childbirth and the puerperium

5650 672.58 6856 813

ทีม่ า ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2547-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี

รตาย ของประชากรจงั หวัดสุพรรณบุรี ปี พ.ศ. 2547-2553 2553

2549 2550 2551 2552 จานวน อัตรา

ตรา จานวน อัตรา จานวน อตั รา จานวน อตั รา จานวน อัตรา 3000 354.67

6.75 3012 356.91 2883 342.16 3015 357.02 3002 355.44

.18 707 83.78 709 84.15 721 85.38 736 87.14 690 81.57

.99 664 78.68 614 72.87 682 80.76 697 82.53 753 89.02

.99 614 72.76 604 71.68 607 71.88 587 69.50 755 89.26

.04 601 71.22 495 58.75 542 64.18 519 61.45 630 74.48

.23 369 43.73 385 45.69 384 45.47 395 46.77 538 63.60

.79 164 19.43 185 21.96 201 23.80 175 20.72 212 25.06

.68 148 17.54 162 19.23 153 18.12 156 18.47 152 17.97

.31 117 13.86 112 13.29 110 13.03 81 9.59 110 13.00

.02 115 13.63 97 11.51 98 11.60 78 9.24 85 10.05

.83 11 1.30 9 1.07 14 1.66 19 2.25 17 2 2.01

.39 30 3.55 33 3.92 39 4.62 19 2.25 33 3.90

.09 27 3.20 20 2.37 24 2.84 15 1.78 11 1.30

.59 4 0.47 7 0.83 4 0.47 6 0.71 19 2.25

.19 5 0.59 4 0.47 6 0.71 5 0.59 6 0.71
.47 6 0.71 5 0.59 2 0.24 4 0.47 10 1.18

119 0 1 0.118 2 0.237 1 0.12
3.66 6594 781.37 6324 750.55 6603 781.88 6496 769.13 7022 830.17

หน้า 30

เมอ่ื พจิ ารณาสาเหตุการตายของประชาชนจังหวดั สุพรรณบรุ ี จะพบว่ากลุม่ โรคท่ีเปน็ สาเหตกุ าร
ตายทสี่ ําคัญโดยไมน่ ับการตายทร่ี ะบวุ า่ ชราภาพหรอื ไม่ทราบสาเหตุ ไดแ้ ก่ กลมุ่ การตายจากสาเหตุ
ภายนอก (External causes of morbidity and mortality) กลุ่มโรคมะเร็ง (Neoplasms) กลมุ่ โรคโรค
ระบบไหลเวียนโลหิต (Diseases of the circulatory system) กลุ่มโรคตดิ เชือ้ และปรสติ (Certain
infectious and parasitic diseases) และกลมุ่ โรคของระบบทางเดินหายใจ (Diseases of the
respiratory system) (ตารางท่ี 17, รูปที่ 21)

อตั รา/100,000 External causes of morbidity and mortality
Neoplasms
100 Diseases of the circulatory system
Certain infectious and parasitic diseases
Diseases of the respiratory system

90

80

70

60

50

40

30

20

10

0

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 พ.ศ.

รปู ที่ 21 อตั ราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยโรคกลมุ่ การตายจากสาเหตภุ ายนอก,
กลุ่มโรคมะเร็ง, กลุ่มโรคโรคระบบไหลเวยี นโลหติ , กลุ่มโรคตดิ เชอ้ื และปรสิต และกลุ่มโรคของ
ระบบทางเดนิ หายใจ จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2546-2553

ที่มา ข้อมลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

อัตรา/100,000 Cerebrovascular diseases Ischaemic heart diseases
Diabetes mellitus Hypertensive diseases
50

40

30

20

10

0

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 พ.ศ.

รปู ท่ี 22 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน ด้วยกล่มุ โรค Cerebrovascular diseases,
Ischaemic heart diseases, Diseases of the liver, Diabetes mellitus
และ Hypertensive diseases จ.สพุ รรณบรุ ี ปี 2546-2553

ทีม่ า ข้อมลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสุพรรณบุรี หน้า 30

การตายด้วยกลุ่มโรคเนอื้ งอกและมะเรง็
เมื่อจําแนกสาเหตุการตายตามกลุ่มโรคเนือ้ งอกและมะเร็ง พบวา่ กลุ่มโรคท่ีกําลงั มีแนวโน้มเพม่ิ ข้ึน

ไดแ้ ก่ กลุ่มโรคเน้ืองอกรา้ ยที่ตบั และทอ่ นาํ้ ดใี นตับ (Malignant neoplasm of liver and intrahepatic
bile ducts) กลุม่ โรคเนอื้ งอกรา้ ยท่ีหลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด (Malignant neoplasm of
trachea, bronchus and lung) (รูปท่ี 23) Malignant neoplasm of colon, rectum and anus (รปู
ท่ี 24) Malignant neoplasm of stomach, Malignant neoplasm of esophagus (รปู ที่ 25) และ
Leukaemia (รูปที่ 26)

อัตรา/100,000 Diseases of the liver
Malignant neoplasm of liver and intrahepatic bile ducts
20 Malignant neoplasm of trachea, bronchus and lung

15

10

5

0 พ.ศ.

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รปู ท่ี 23 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยโรคกลมุ่ เนือ้ งอกรา้ ยที่ตบั และท่อน้าํ ดี
ในตบั และกลุม่ โรคเน้อื งอกรา้ ยที่หลอดคอ หลอดลมใหญ่ และปอด จังหวดั สุพรรณบรุ ี
ปี พ.ศ. 2546-2553

ทม่ี า ขอ้ มลู การตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

อัตรา/100,000 Malignant neoplasm of cervix uteri
Malignant neoplasm of breast
6 Malignant neoplasm of colon, rectum and anus
5

4

3

2

1

0 พ.ศ.

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รูปที่ 24 อัตราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยกลุ่มโรค โรค Malignant neoplasm of
cervix uteri, breast , colon, rectum and anus จงั หวดั สพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2546-2553

ทม่ี า ขอ้ มูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี หน้า 31

อัตรา/100,000 Malignant neoplasm of lip, oral cavity and pharynx
Malignant neoplasm of stomach
5 Malignant neoplasm of oesophagus
4

3

2

1

0 2549 2550 2551 2552 2553

2546 2547 2548

พ.ศ.

รปู ท่ี 25 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยกลุ่มโรค Malignant neoplasm of lip, oral
cavity and pharynx, Malignant neoplasm of stomach และ Malignant neoplasm of esophagus
จังหวัดสพุ รรณบุรี ปี พ.ศ. 2546-2553

ท่มี า ขอ้ มูลการตายจากมรณะบัตร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

อตั รา/100,000 Leukaemia
Malignant neoplasm of meninges, brain and other parts of central
5

4

3

2

1

0

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 พ.ศ.

รปู ที่ 26 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ย Leukaemia และ Malignant
neoplasm

of meninges, brain and other parts of central จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2546-2553

ทีม่ า ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 32

สาํ หรบั การตายจากสาเหตุภายนอก พบวา่ การตายจากอุบัติเหตุจราจร และ การทําร้ายตนเองยงั เปน็
สาเหตุการตายท่ีสําคัญจังหวัดสพุ รรณบุรี สว่ นการตายดว้ ยกลุ่มโรคติดต่อพบว่าการตายดว้ ยปอดอักเสบมี
แนวโนม้ เพิ่มขน้ึ สว่ นการด้วยโรคเอดส์และวัณโรคปอดมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง ยกเว้นในปี พ.ศ. 2553 ที่
ทง้ั 2 กลุ่มโรคมีอัตราตายสูงขนึ้ จากปี พ.ศ. 2552 (รปู ท่ี 27-28)

อัตรา/100,000

30

25

20
Transport accidents

15
Assault

10

5

0

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 พ.ศ.

รูปที่ 27 อตั ราตายต่อประชากร 100,000 คนของประชากร ดว้ ยอุบัตเิ หตุจราจร และ การทํารา้ ย
ตนเอง จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2546-2553

ท่ีมา ขอ้ มลู การตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553

อตั รา/100,000

40

35

30
Pneumonia

25 HIV disease
20 TB
15

10

5

0 พ.ศ.
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

รปู ท่ี 28 อัตราตายตอ่ ประชากร 100,000 คนของประชากร ด้วยโรคปอดอกั เสบ เอดส์ และวัณโรคปอด
จงั หวัดสุพรรณบรุ ี ปี พ.ศ. 2546-2553

ท่มี า ข้อมูลการตายจากมรณะบตั ร ของกรมการปกครอง ปี พ.ศ. 2546-2553 หน้า 33
รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบุรี

ผลการดาเนินงาน

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 34

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบรุ ี หน้า 35

งานพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล

1. สถานการดา้ นกาลงั คนดา้ นสาธารณสขุ

ปงี บประมาณ 2553 จังหวดั สุพรรณบุรี มบี คุ ลากรสาธารณสุขในสงั กดั จํานวน 4,313 คน เปน็

ข้าราชการจํานวน 2,366 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 54.86 ลกู จ้างช่วั คราว 1,511 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35.03

ลกู จา้ งประจาํ จาํ นวน 399 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.25 และพนักงานราชการจํานวน 37 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ

0.86ปฏบิ ัติงานอยู่ในโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช (โรงพยาบาลศนู ย์) จํานวน 1,309 คน คิดเป็นรอ้ ยละ

30.35 โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองคท์ ี่ 17 (โรงพยาบาลทัว่ ไป) จํานวน 559 คน คิดเป็นรอ้ ยละ

12.96 นอกจากนน้ั ปฏิบตั ิงานอยใู่ นโรงพยาบาลชมุ ชน 8 แห่ง สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวัด สาํ นักงาน

สาธารณสขุ อําเภอ 10 แห่ง และสถานอี นามยั 174 แห่งรวม 2,445 คน สาํ หรับระบบบริหารงานบุคคล

ของสาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี โรงพยาบาลศนู ย์ และโรงพยาบาลท่วั ไป สามารถดําเนินการได้

ดว้ ยตวั ของหน่วยงานเอง อาทเิ ชน่ การจา้ งบุคลากร การบรรจุ การโอน-ย้าย และการพฒั นาศักยภาพ

บุคลากร เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั ยังพบปญั หาการขาดแคลนแพทย์ ทนั ตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในบาง

พนื้ ที่ทยี่ ังกระจายไม่เป็นไปตามเกณฑ์ GIS แมใ้ นภาพรวมพบวา่ จงั หวัดสุพรรณบุรี มบี ุคลากรปฏบิ ตั งิ าน

จรงิ สายงานแพทยร์ อ้ ยละ 80.70 ทนั ตแพทย์ร้อยละ 54.95 เภสชั กรร้อยละ 87.50 และพยาบาลร้อยละ

90.25 ของเกณฑ์ GIS สาํ หรบั ในระดับบรกิ ารปฐมภูมิ(สถานีอนามัย) พบว่ามอี ัตรากาํ ลังเฉล่ยี ท่ี 2.84 คน

ตอ่ แหง่ อาํ เภอทม่ี ีอัตรากําลงั คนปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นสถานีอนามยั เฉลย่ี สงู ที่สุด คอื อําเภอเมืองฯ เทา่ กับ 3.79

คนตอ่ แหง่ รองลงมาคอื อําเภอดอนเจดยี ์ เท่ากบั 3.22 คนต่อแห่ง และ อาํ เภอทม่ี อี ัตรากําลังคน

ปฏบิ ัตงิ านอยใู่ นสถานอี นามยั เฉล่ียตาํ่ ท่ีสุด คือ อาํ เภอเดิมบางนางบวช เทา่ กบั 2.40 คนต่อแห่ง

สาํ หรับด้านการพัฒนาบุคลากร สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี ให้ความสาํ คัญกบั การ

พฒั นาบุคลากรท้ังในการส่งเสริมใหม้ กี ารศึกษาต่อเน่ืองและการฝกึ อบรม เพอ่ื ให้บคุ ลากรสาธารณสุขมี

สมรรถนะทเ่ี หมาะสมกับตําแหนง่ และหนา้ ท่รี บั ผิดชอบ ปัจจุบัน บคุ ลากรสาธารณสขุ ในสงั กัดสํานักงาน

สาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบรุ ี สําเร็จการศึกษาในระดับตํ่ากว่าปริญญาตรรี อ้ ยละ30.46 ระดบั ปริญญาตรี

ร้อยละ 61.61 ระดบั ปริญญาโทร้อยละ 7.80 และระดบั ปรญิ ญาเอกรอ้ ยละ0.12 บคุ ลากรได้รับการพฒั นา

ตอ่ เนอื่ งตามเกณฑข์ องสาํ นกั งาน กพร.(10 วนั /คน/ป)ี ในภาพรวมของจงั หวัดคิดเป็นร้อยละ 82.49 สาย

วิชาชพี ท่ไี ด้รบั การพัฒนาไดต้ ามเกณฑเ์ ปูาหมาย อันดบั แรก ได้แก่ เจ้าพนกั งานสาธารณสุขชุมชน และ

เจา้ พนักงานทันตสาธารณสุข คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 รองลงมาได้แก่ นกั วชิ าการสาธารณสุข คดิ เป็นร้อยละ

97.99 สายวชิ าชพี ท่ีไดร้ บั การพัฒนาตามเกณฑ์ได้นอ้ ยทส่ี ดุ ได้แก่ เจา้ พนกั งานเภสัชกรรม คดิ เป็นร้อยละ

65.85 จะเหน็ ว่า บคุ ลากรทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะอย่างตอ่ เนอ่ื งส่วนใหญ่จะอย่ใู นระดบั ตาํ บล ซึง่ เป็นผู้

ใหบ้ ริการตอ่ ประชาชนในพ้นื ทีโ่ ดยตรง จึงจําเปน็ ทจี่ ะต้องไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะให้เป็นผใู้ ห้บริการท่ี

สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนได้อย่างมมี าตรฐาน และถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการ

นอกจากน้ีจากการสาํ รวจความคดิ เหน็ ของผู้บริหารทุกระดบั ของสาํ นักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี ท่ี

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสขุ จังหวัดสุพรรณบุรี หน้า 36

มตี ่อ ผลการพฒั นาบคุ ลากรสาธารณสุขในสภาพปัจจบุ ัน ในเดอื นตุลาคม 2552 ผบู้ รหิ ารมีความเห็นวา่
สมรรถนะท่ีบุคลากรยังไดร้ ับการพฒั นานอ้ ยกวา่ ดา้ นอน่ื ๆ ได้แก่ สมรรถนะการมองภาพองค์รวม พฤตกิ รรม
ทตี่ อ้ งการคอื การคดิ นอกกรอบทจี่ ะนาํ ไปส่กู ารประดษิ ฐ์คิดคน้ การสรา้ งสรรค์ องคค์ วามรู้ใหม่ ๆ ที่เปน็
ประโยชนแ์ ก่ทางราชการโดยมีค่าคะแนนเฉลย่ี เทา่ กบั 2.93 (จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน) และยังเป็นช่องว่าง
(gap) ทีต่ อ้ งไดร้ บั การพฒั นามากที่สุด (คะแนนค่าเฉลีย่ gap = 1.14 ) และสมรรถนะทข่ี า้ ราชการในจังหวดั
สพุ รรณบุรี ได้รบั การพัฒนามากทส่ี ดุ ได้แก่ สมรรถนะด้านการยึดมั่นในความถกู ตอ้ งชอบธรรมและ
จรยิ ธรรมมคี ่าคะแนนเฉลีย่ เท่ากับ 3.68 ซงึ่ สาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี ไดน้ ําขอ้ มลู ดังกล่าว
มาใช้เปน็ สว่ นหนึง่ ในการวางแผนพฒั นาบุคลากรตอ่ ไป

ในดา้ นความผาสกุ ความพงึ พอใจ ในการทํางานของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสาธารณสขุ จังหวัด
สุพรรณบรุ ีนน้ั สํานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบรุ ีไดส้ าํ รวจความผาสุก ความพงึ พอใจและแรงจงู ใจของ
บคุ ลากรในการทํางานเม่ือเดอื นพฤษภาคม – มิถุนายน 2553 ขณะน้อี ยรู่ ะหว่างการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

2. การบริหารจดั การ

2.1 บทบาทของคณะกรรมการพฒั นากาลงั คนด้านสขุ ภาพจังหวัดสุพรรณบรุ ี

จากสภาพปญั หาดงั กลา่ วข้างต้น สํานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบรุ ี จึงกําหนดนโยบายท่ีจะ

ดําเนินการพัฒนากําลงั คนดา้ นสุขภาพของจังหวัดสุพรรณบรุ ี โดยให้หน่วยงานมกี ารจัดทาํ แผนกําลงั คน ท่ี

ระบุถงึ การกระจายอตั รากาํ ลงั การสรรหา การใช้ประโยชน์จากบคุ ลากร การรักษาไวใ้ นองค์กร การ

พฒั นาบุคลากร และการสร้างขวัญกาํ ลังใจท่ีดีใหก้ บั บุคลากร เพอื่ ใหก้ ารดําเนนิ การตามนโยบายดงั กลา่ ว

เป็นไปอย่างมสี ว่ นรว่ มจากหน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง และเปน็ การเสรมิ สร้างกระบวนการแลกเปล่ียนความรู้ต่าง

ๆ อันเกิดจากการปฏิบัตงิ าน สํานกั งานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี จึงไดแ้ ต่งตงั้ คณะอนุกรรมการพฒั นา

กาํ ลังคนด้านสขุ ภาพ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี โดยมบี ทบาทหน้าที่ที่สาํ คัญคอื (มีรายละเอยี ดดงั คําส่งั สํานักงาน

สาธารณสุขท่ี 30 /2553 ลงวนั ท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2553)

จากผลการจากการประชุมของคณะกรรมการ ฯ ครัง้ ท่ี 1 เม่ือวนั ที่ 9 มนี าคม 2553 พบว่า การ

ปฏบิ ตั งิ านบรหิ ารงานบคุ คล งานการเงิน และงานพสั ดุ ในระดับอําเภอ มักไม่มีอัตรากําลงั /การกําหนด

ผูร้ บั ผิดชอบที่ชดั เจน แนวทางการแกป้ ญั หา คอื กาํ หนดให้หนว่ ยงานระดับอาํ เภอแจ้งรายชอื่ ผู้รับผิดชอบ

งาน เพือ่ สาํ นักงานสาธารณสขุ จังหวดั ฯ ทําคําส่งั ปฎบิ ตั งิ านให้บุคคลดังกลา่ ว ขณะน้ีมกี ารดาํ เนินการแลว้

2.2 แผนการพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล

สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสพุ รรณบุรี ได้ดําเนินการประเมนิ สมรรถนะบคุ ลากรในสังกดั และให้

บคุ ลากรจัดทาํ แผนพฒั นารายบคุ คล (IDP) เพื่อพฒั นาสมรรถนะของตนเองให้สามารถปฏิบตั ิงานได้ดขี น้ึ

และทุกหนว่ ยงานจดั ทาํ แผนพัฒนาทรพั ยากรบุคคล โดยเน้นการพฒั นาบคุ ลากรให้มีความสามารถ

ปฏบิ ัตงิ านไดต้ อบสนองตอ่ แผนยทุ ธศาสตร์ของสํานักงานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบุรี และมีการจัดทาํ

แผนกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล รวมทงั้ การจัดกระบวนการจดั การความรู้ในปี 2553 มี

รายละเอียดกจิ กรรมดังน้ี

รายงานประจาปี 2553 : สานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสพุ รรณบรุ ี หน้า 37

1) กระบวนการจัดทาํ แผนกลยทุ ธ์การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
ใช้ HR Scorecard เปน็ เครือ่ งมอื ในการจัดทําแผน และใชก้ ลยทุ ธก์ ารมสี ่วนรว่ มของ

ผู้เก่ียวข้องทุกระดบั รว่ มกันจดั ทาํ แผนกลยทุ ธ์ โดยมีขน้ั ตอนดงั น้ี
1.1 สร้างองคค์ วามรู้ให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งในการจดั ทําแผนกลยุทธฯ์ และดาํ เนนิ การแล้วเมือ่ วนั ท่ี

18 มิถุนายน 2553
1.2 สรา้ งการมีส่วนร่วมของผ้เู กีย่ วข้อง โดยการกาํ หนดผ้รู ับผิดชอบและแนวทางการ

ดําเนนิ งานรว่ มกนั ซึง่ ดาํ เนนิ การแลว้ เมอื่ วันที่ 18 มถิ ุนายน 2553
1.3 แต่งต้งั คณะทาํ งานผูป้ ระสานแผนกลยทุ ธ์ฯ
1.4 รวบรวมขอ้ มลู ท่ีเกย่ี วข้องทั้งหมดในการจดั ทําแผนกลยทุ ธ์ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาจุดออ่ น

จุดแขง็ ในการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลในปัจจบุ ัน ความคาดหวังของผู้บรหิ ารทุกระดบั ผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นการ
บริหารทรพั ยากรบุคคลทกุ คน และปัจจยั ความผาสกุ ความพงึ พอใจในการทํางานของบคุ ลากรทกุ ระดับ ซึ่ง
อยรู่ ะหว่างดําเนินการ

1.5 คณะทํางานรว่ มกนั จดั ทาํ แผนกลยทุ ธ์การบริหารทรพั ยากรบุคคล ปี 2554 ในเดอื น
สิงหาคม 2553

1.6 นาํ เสนอแผนกลยทุ ธ์ฯ ต่อผู้บรหิ าร และนาํ สู่การปฏบิ ตั ิต่อไป ในปี 2554 – 2556
2) แผนงานพัฒนากระบวนการจดั การความรู้ ในปี 2553 มรี ายละเอียดของกจิ กรรม ดังนี้

แผนงานพฒั นากระบวนการจดั การความรู้ ในปี 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะ
บุคลากร มุง่ สกู่ ารเป็นองคก์ ารคุณภาพ
วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ

 เพอื่ เพิ่มสมรรถนะบคุ ลากรด้านการสรา้ งสัมพันธภาพที่ดกี ับลูกค้า

 เพ่อื ให้เกดิ พฒั นางานในสํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดฯ โดยใช้แนวคิด R2R เปน็ เครือ่ งมอื

 เพือ่ สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นความรู้ท้ังความรูจ้ ากการดาํ เนนิ งานปกติ /งานวจิ ัย
/R2Rและนวัตกรรมตา่ ง ๆ

กจิ กรรม ที่ 1 อบรมการดาํ เนินงาน “พฒั นางานประจาํ สู่ความเป็นมอื อาชพี (R2R) “
ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน
- จดั ตง้ั ชมรม “ พัฒนางานประจําสู่ความเปน็ ความเป็นมืออาชพี ” โดยเปดิ โอกาสให้ผู้สนใจ

สมคั รใจเปน็ สมาชิก
- เสริมความร้ดู า้ นการวจิ ยั ลกั ษณะ R2R ให้กบั สมาชิกฯ โดยเชิญวิทยากรมาบรรยายเสริม

ความรู้ โดยเนน้ การนาํ ขอ้ มลู งานประจามาทางานวจิ ยั และพัฒนา ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเปน็ งานวิจัย
ทีม่ โี ครงสรา้ งยงุ่ ยาก ซบั ซ้อน
- ดาํ เนินกิจกรรมตามข้ันตอน “ R2R ”
- สรุปผลการดําเนนิ งานและเผยแพร่ผลงาน

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสขุ จังหวดั สพุ รรณบุรี หน้า 38

เปาหมาย
- ทกุ กลุม่ งาน/งานในสํานักงานสาธารณสุขจงั หวัดสุพรรณบุรี
กจิ กรรม ท่ี 2 จัดการความรู้ “ การสร้างความสัมพันธ์ทด่ี ีกับผมู้ ารับบรกิ าร (CRM) “
ข้นั ตอนการดาํ เนินงาน
1.เน่อื งจากการดําเนินการแก้ปัญหาในเรอื่ งการสรา้ งสมั พันธภาพท่ดี ีกบั ผู้มารับบรกิ าร ควรมี
การศึกษาข้อมลู พื้นฐานความพงึ พอใจ /ความตอ้ งการบริการจากผ้มู ารับบรกิ ารเบ้ืองต้นก่อน (บุคลากรท่ี
ปฏบิ ตั ิงาน ในสสจ. สสอ. สอ. และ รพ.) นาํ ผลดังกล่าวมาแกไ้ ขส่วนขาด และเสริมบริการไดต้ รงตาม
ตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร
2. สํานักงานฯ มกี ารต้รู บั ความคิดเห็นจากผู้มาใช้บริการ จาํ นวน 1 ตู้ โดยต้ังไว้หน้าหอ้ ง
ประชาสัมพันธ์ เพอ่ื รับข้อเสนอแนะในการพฒั นางาน
3. จัดบรรยายพเิ ศษ 3 ชวั่ โมง ในหวั ข้อเรอื่ ง CRM รว่ มในมหกรรมสร้างสขุ ภาพ
เปาหมาย
- ทกุ กลมุ่ งาน/งานในสํานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
กจิ กรรม ท่ี 3 มหกรรมสรา้ งสุขภาพ จังหวดั สุพรรณบรุ ี
- จัดทําโครงการ “มหกรรมสุขภาพ” ร่วมกบั วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนสี พุ รรณบรุ ี

กิจกรรมประกอบด้วย
1. การประกวดผลงานวิชาการ(ด้านการพยาบาล และด้านการสาธารณสุข / นวัตกรรม (6 ชัว่ โมง)
2. การประกวดมมุ นาํ เสนองาน PCU แบง่ เป็น 2 หน่วยงานใหญ่ คอื 1 สสอ. / 2. รพ.
3. การนาํ เสนองานแพทย์แผนไทย (ภาพรวมอําเภอ)
4. การนําเสนอ โดยงานอนามยั สิ่งแวดลอ้ ม เร่อื ง รา้ นเสริมสวยมาตรฐาน
(ทกุ การประกวดมกี ารตดั สินเป็นรางวลั ท่ี 1 = 5,000.00 บาท รางวัลที่ 2 =4,000.00 บาท
และรางวลั ที่ 3 =3,000.00 บาท)
5.การประกาศเกยี รตคิ ณุ ข้าราชการดีเดน่ (21 หนว่ ยงาน คอื 1 สสจ.+10 รพ.+10 สสอ.)
6. การบรรยายพเิ ศษ 6 ชว่ั โมง
7. สรุปผลการดาํ เนนิ งานและเผยแพร่ให้ผเู้ กยี่ วข้องทราบ
3) การปฐมนิเทศงานบคุ ลากร

สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั สุพรรณบุรี ได้จัดการปฐมนเิ ทศบคุ ลากรทีเ่ ข้าทํางานใหม่ใน
สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจงั หวดั สพุ รรณบุรี เมือ่ วนั ที่ 20 – 23 เมษายน 2553 ณ โรงแรมสองพันบุรี โดย
ยดึ หลักสูตรของสาํ นกั งาน ก.พ. เป็นหลัก ผู้เข้ารับการปฐมนิเทศเป็นบุคลากรทีเ่ พิ่งสาํ เรจ็ การศึกษา และผู้ที่
เพ่ิงเขา้ รับราชการใหม่ในปี 2553 ซึง่ ประกอบดว้ ยบคุ ลากรหลากหลายสาขา เช่น แพทย์ ทันตแพทย์
เภสชั กร พยาบาลวิชาชพี นกั วิชาการสาธารณสขุ เป็นตน้ รวม 199 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 และจากการ
ประเมินผลการฝึกอบรม พบว่า ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรเู้ พม่ิ ข้นึ โดยพจิ ารณาจากค่าคะแนนเฉล่ียในการ
ทดสอบความร้ขู องผรู้ บั การปฐมนเิ ทศกอ่ นและหลังการฝกึ อบรม คะแนนเฉลย่ี กอ่ นการอบรม เทา่ กบั 17.89

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สุพรรณบุรี หน้า 39

คะแนน หลังการอบรมมรค่าคะแนนเฉลย่ี เท่ากบั 27.0 โดยทุกคน (รอ้ ยละ 100) มีคะแนนเพมิ่ ข้นึ หลงั การ

อบรม ในดา้ นความพึงพอใจในการเขา้ รับการปฐมนิเทศ พบวา่ ในภาพรวมของเนือ้ หาหลักสูตรผู้เขา้ รับการ

อบรมสว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจในระดบั มากคิดเป็นร้อยละ 80.4 ระยะเวลามีความเหมาะสมในระดับ

มาก คิดเป็นร้อยละ 78.2 และสามารถนาํ ความร้จู ากการปฐมนเิ ทศไปใช้ประโยชนไ์ ด้ในระดับมาก คิดเป็น

รอ้ ยละ 71.5

4) ส่งเสริมการลาศกึ ษาต่อเนื่อง

สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสพุ รรณบุรี มีนโยบายสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรทกุ คนมี

ความก้าวหนา้ ทางด้านการศึกษา และความเช่ียวชาญในอาชีพ ในปี 2553 พบว่า บุคลากรของสํานกั งาน

สาธารณสุขจงั หวดั สุพรรณบรุ ี มรี ะดบั การศึกษาสงู ขน้ึ คือสาํ เรจ็ การศึกษาระดบั ปริญญาตรีร้อยละ 70.47

ระดับปริญญาโทรอ้ ยละ 8.89 และระดับปริญญาเอกร้อยละ 0.09 คงเหลอื ระดับตํ่ากว่าปรญิ ญาตรรี ้อยละ

11.40 เท่านัน้

2.3 การวางแผนอตั รากาลัง

พจิ ารณาการกระจายบุคลากร ที่ปฏิบตั งิ านใน สถานอี นามยั ในปี 2553 โดยพจิ ารณาตามลาํ ดับ

ดังนี้

1) กรณสี ถานอี นามัยมผี ้ปู ฏบิ ัติงาน 1 คน ใหพ้ จิ ารณาจัดสรรบุคลากรให้เปน็ อนั ดับแรก

2) การส่งบคุ ลากรใหม่ไปทดแทนบุคลากรทส่ี ญู เสยี เช่น เกษยี ณอายรุ าชการ /ย้าย

3) ผลการเฉล่ียจาํ นวนบุคลากรต่อสถานีอนามัย

การพิจารณาบุคลากร โดยหวังผลให้เกิดการกระจายอยา่ งเป็นธรรม โดยนาํ หลกั การ

วเิ คราะห์ : จํานวนบคุ ลากรท่ีปฏบิ ัติงานใน สอ. ในทุกตําแหน่ง มาหาค่าเฉล่ียจํานวนบุคลากรต่อสถานี

อนามยั เปรยี บเทียบกนั ในแต่ละอําเภอ เมอื่ พจิ ารณาภาพรวมท้งั จังหวัด พบว่า ค่าเฉลี่ย = 2.71 อาํ เภอท่มี ี

คา่ เฉลย่ี สงู ท่ีสุดคืออําเภอเมือง (3.72) รองลงมาคืออาํ เภอดอนเจดยี ์ (3.00) นอ้ ยที่สุดคอื อําเภอสามชุก

(2.15) ส่วนต่างของอําเภอทีม่ ีค่าเฉล่ยี สงู สดุ กับน้อยท่ีสดุ =1.57 เมอ่ื มกี ารรับ/โยกยา้ ย บุคลากรในสายงาน

นักวชิ าการสาธารณสุข พยาบาล เจา้ พนักงานสาธารณสขุ ชมุ ชน เจ้าพนักงานทนั ตสาธารณสุขที่ปฏิบัตงิ าน

ใน สอ. ช่วงเดือนมนี าคม พบว่า มกี ารยา้ ยออกจาก สอ. 10 คน ยา้ ยเข้า 11 คน และเกษียณ 1 คน

(เดือนตลุ าคม 2553 )และมีบคุ ลากรท่ีเข้าปฏิบัติงานใหม่ 25 คน พบวา่ อตั ราเฉล่ียเพ่ิมขึ้นเปน็ 2.84

อาํ เภอทีม่ คี ่าเฉล่ียสงู ทีส่ ุดคืออาํ เภอเมอื ง (3.79) รองลงมาคอื อําเภอดอนเจดีย์ (3.22) น้อยท่ีสดุ คอื อาํ เภอ

ดา่ นช้าง (2.44) สว่ นตา่ งของอาํ เภอท่มี คี า่ เฉล่ียสงู สดุ กับนอ้ ยทส่ี ุด=1.37 (ลดลง) ดังตารางท่ี 1

รายงานประจาปี 2553 : สานกั งานสาธารณสุขจังหวดั สพุ รรณบรุ ี หน้า 40


Click to View FlipBook Version