แผนปฏิบตั ิการในการป้องกนั
และบรรเทาสาธารณภยั
ของ
องคก์ ารบริหารส่วนตาบลโคกสลงุ
พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๗๐
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโคกสลุง
อาเภอพฒั นานคิ ม จงั หวดั ลพบุรี
โทร ๐๓๖-๔๘๓๒๔-๒ ต่อ ๑
E-BOOK PDF
แผนปฏิบตั ิการในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย
ของ
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลุง
พ.ศ. 2564 - 2570
องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโคกสลงุ อาเภอพัฒนานคิ ม จงั หวดั ลพบรุ ี
คานา
สถานการณ์และแนวโนมสาธารณภัยของโลกและประเทศกาลังเผชิญกับปัญหาที่มีลักษณะ
เชื่อมโยงซบั ซอ น สงผลกระทบตอชวี ิตและทรัพย์สินในวงกวาง และมีแนวโนมเพิ่มข้ึน เชน การเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศที่ทาใหเกิดภาวะลมฟูาอากาศแปรปรวน ระดับน้าทะเลของโลกสูงขึ้น เกิดภาวะแลงจัด พายุหมุน การ
กัดเซาะชายฝ่ังทะเล อุทกภัยขนาดใหญ ดินโคลนถลม น้าปุาไหลหลาก โรคระบาด รวมท้ังการเกิดสาธารณภัย
ขนาดใหญ เป็นตน นอกจากน้ี ยังมีภัยที่ไมอาจคาดการณ์ได อาทิ แผนดินไหว สึนามิ ไฟปุาและหมอกควัน ซ่ึง
ลวนเป็นสาธารณภัยที่จะตองเผชิญ ในปัจจุบันและมีแนวโนมมากขึ้นในอนาคต อันสงผลกระทบท้ังดานเศรษฐกิจ
สังคม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม องค์กรปกครองสวนทองถนิ่ เปน็ หนว ยงานที่มีความใกลชิดกับประชาชน
และมีบทบาทภารกิจ ในการใหความชวยเหลือและบรรเทาภัยในลาดับแรกกอนที่หนวยงานภายนอกจะเขาไปให
ความชวยเหลือ ประกอบกับพระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 20 กาหนดให
องค์กรปกครอง สวนทอ งถน่ิ แหงพื้นที่มีหนาท่ีปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตทองถิ่นของตน โดยมีผูบริหาร
ทองถ่ินขององค์กรปกครองสวนทองถิ่นแหงพื้นท่ีนั้นเป็นผูรับผิดชอบในฐานะผูอานวยการทองถ่ิน และแผนการ
ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ. 2564-2570 ไดกาหนดใหกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสา
ธารณภัยแหงพ้ืนท่ีองค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงทาหนาท่ีอานวยการ ควบคุม ปฏิบัติการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัย รวมทั้งจัดต้ังศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินทองถ่ินและเผชิญเหตุเม่ือเกิดสาธารณภัยขึ้น โดยมีผูอานวยการ
ทองถ่ิน เป็นผูควบคุมและสั่งการเพื่อทาหนาท่ีจัดการสาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนจนกวาสถานการณ์จะกลับเขาสูภาวะ
ปกติ พรอมท้ังจัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองสวนทองถิ่น จึงถือ
เปน็ ภารกิจสาคญั ขององค์กรปกครองสวนทอ งถ่นิ ทีจ่ ะตอ งเตรียมความพรอ มในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย
รวมถึงการพัฒนาขีดความสามารถในการเผชิญเหตุและใหความชวยเหลือผูประสบภัย ภายหลังจากสถานการณ์
ส้นิ สุดลง
ดังนั้น องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงจึงไดจัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยขึ้น เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการเตรียมความพรอม การแจงเตือนภัย และการดาเนินการชวยเหลือ
ใหแกหนวยงาน ในระดับทองถ่ินรวมกับหนวยงานตางๆ ในพื้นท่ีรับผิดชอบและพื้นท่ีขางเคียง ตั้งแตกอนเกิดภัย
ขณะเกิดภัย และภายหลังเกิดภัย ถูกตองตามกฎระเบียบท่ีเก่ียวของ รวมทั้งมีความเชื่อมโยงกับแผนการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภยั อาเภอ พ.ศ. 2564-2570 แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด พ.ศ. 2564-
2570 และสอดคลอ งกบั แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ. 2564-2570 และแผนตางๆ ที่
เกี่ยวขอ ง เพอื่ ปูองกันและลดความสูญเสียตอชวี ิต และทรัพย์สิน รวมถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศอยาง
มปี ระสิทธิภาพตอ ไป
(นางสทุ ิน ขันธะสุโข)
ผูอ านวยการกองคลงั รกั ษาราชการแทน
ปลัดองค์การบริหารสวนตาบล ปฏบิ ัตหิ นา ที่
นายกองคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลโคกสลุง
/ผูอานวยการศูนย์ อปพร.อบต.โคกสลุง
วันที่.....๑..๓.......เดอื น....ธ..ัน...ว..า...ค..ม.......... พ.ศ. 2564
สารบญั หนา้
1-18
เรอ่ื ง 19-28
29-38
บทที่ ๑. ขอ มูลทว่ั ไป 39-54
บทที่ 2. นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั 55-78
บทที่ 3. หลกั การจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั 79-86
บทท่ี 4. การปฏิบัติกอนเกดิ ภัย 87-88
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การมงุ เนนการลดความเส่ยี งจากสาธารณภัย
89-94
บทที่ 5. การปฏบิ ัตขิ ณะเกิดภยั
ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การจดั การในภาวะฉกุ เฉินแบบบรู ณาการ 95-101
บทท่ี 6. การปฏิบตั ิหลงั เกดิ ภัย
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การเพ่ิมประสิทธิภาพการฟนื้ ฟูอยา งยงั่ ยนื
บทที่ 7. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การสง เสรมิ การเปน็ หนุ สวนระหวา งประเทศในการ
จดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั
บทที่ 8. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบบริหารจดั การ
และประยุกต์ใชนวตั กรรมดา นสาธารณภยั
บทท่ี 9. การขับเคลื่อนแผนปฏบิ ัตกิ ารในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั
ขององค์การบรหิ ารสวนตาบลโคกสลุงไปสูการปฏิบตั ิ
สารบัญภาคผนวก
เรอื่ ง ภาคผนวก หนา
ภาคผนวก ก : คายอ 1-3
ภาคผนวก ข : ตัวอยา งลักษณะภยั 4-6
ภาคผนวก ค : นิยามศัพท์ 7-12
ภาคผนวก ง : พืน้ ท่เี ส่ียงภยั ตางๆ 13-14
ภาคผนวก จ : สถานทีส่ าคัญที่ตองดูแลเปน็ พิเศษ (พระตาหนกั แหลงพลงั งาน โรงพยาบาล 15
สาธารณปู โภค ทส่ี าคัญ ทา เรือ ทาอากาศยาน ฯลฯ) 15
ภาคผนวก ฉ : บัญชหี นวยงานประสานการปฏบิ ัติงานในตาบล 15
ภาคผนวก ฉ-1 : บัญชรี ายช่อื บคุ ลากรหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน
ภาคผนวก ฉ-2 : บญั ชีรายชื่อองค์การสาธารณกุศล หนวยงานเครือขา ย 15
16
การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัย 17-22
ภาคผนวก ฉ-3 : บญั ชรี ายช่ือผเู ช่ียวชาญดา นสาธารณภัย 23
ภาคผนวก ฉ-4 : บญั ชีฐานขอมูลอาสาสมัคร (OTOS) 23
ภาคผนวก ฉ-5 : บญั ชีฐานขอ มูล อปพร.
ภาคผนวก ช : ขอมูลสถานีเตือนภัย หอเตือนภัย ปูายเตือนภยั สญั ญาณเตือนภยั และหอกระจายขาว 24
ภาคผนวก ซ : บัญชีเคร่อื งจักรกล ยานพาหนะ เคร่อื งมอื อุปกรณ์ 25
25
ในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย 25
ภาคผนวก ฌ : บัญชขี อ มูลศักยภาพพนื้ ฐานทางดา นสาธารณสุข 25
ภาคผนวก ญ : บญั ชียานพาหนะเพ่ือเตรียมการอพยพประชาชน
ภาคผนวก ฎ : บัญชกี ลมุ เปราะบาง 26
ภาคผนวก ฏ : บัญชีรายชอ่ื บุคคลที่ตองอพยพเป็นลาดับแรก 26
ภาคผนวก ฐ : บัญชีศนู ย์พักพิงชวั่ คราวหลกั /สารอง
ภาคผนวก ฑ : แผนผงั การตดิ ตอ สอ่ื สารและขา ยวิทยุสื่อสาร/หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน 27-29
ภาคผนวก ฑ-1 : เครือขายวิทยสุ ่ือสาร 30
ภาคผนวก ฑ-2 : หมายเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉนิ
ภาคผนวก ฒ : แบบคาสัง่ ตางๆ 31-33
34-38
- คาสง่ั กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย อบต.โคกสลุง
- คาสงั่ แตง ต้ังคณะกรรมการจัดทาแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต. 39-48
ภาคผนวก ณ : แผนงานโครงการในการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั
ภาคผนวก ด : แบบประเมนิ ภยั พิบตั ิขั้นตน ดานความตองการชว ยเหลอื ผูประสบภัยจากภยั พบิ ัติ
ระยะที่ 1
ภาคผนวก ต : แบบประเมินความเสยี หายและความตองการ ระยะที่ 2
และแบบกรอกรายละเอยี ดศนู ย์พกั พิง
บทท่ี 1
ข้อมลู ทั่วไป
1.1 สภาพทั่วไปของ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลโคกสลุง
1.1.1 ทตี่ ั้งและอาณาเขต
ตาบลโคกสลุง อาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ไดรับยกฐานเป็นองค์การบริหารสวนตาบล
เม่ือวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2538 เป็นองค์การบริหารสวนตาบลขนาดใหญ แบงเขตปกครองท้ังหมด 11
หมบู า น
ท่ตี ั้ง
ตาบลโคกสลุง ต้ังอยูในเขตอาเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี อยูทางทิศทางเหนือของอาเภอ
พฒั นานิคม ระยะทาง 18 กโิ ลเมตร หา งจากจงั หวัดลพบุรี 60 กโิ ลเมตร มอี าณาเขต ดังนี้
ทิศเหนอื ติดตอ กับ ตาบลมว งคอม อาเภอชยั บาดาล
ทศิ ใต ติดตอกบั ตาบลพฒั นานิคม ตาบลมะนาวหวาน อาเภอพฒั นานิคม
ทศิ ตะวันออก ติดตอกบั พนื้ ท่ีเกบเ น้าเข่อื นปาุ สกั ชลสทิ ธติ
ทศิ ตะวันตก ติดตอกับ ตาบลดลี ัง อาเภอพัฒนานคิ ม และตาบลวงั เพลิง อาเภอโคกสาโรง
เน้อื ที่
ตาบลโคกสลุงมีเนอ้ื ที่ ท้งั หมด 113,875 ไร หรอื ประมาณ 182.20 ตารางกิโลเมตร
เป็นพ้ืนทน่ี ้า ประมาณรอ ยละ 20 ของพน้ื ทท่ี ้ังหมด
เปน็ ภเู ขา ประมาณรอยละ 5 ของพนื้ ทท่ี ั้งหมด
ท่ีราบ / ท่ลี ุม / เป็นพ้นื ทร่ี าบสูง ประมาณรอยละ 75 ของพน้ื ที่ทง้ั หมด
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา 1
1.1.2 เขตการปกครอง
ตาบลโคกสลงุ แบง เขตพืน้ ทปี่ กครองเป็น 11 หมูบ าน มี 3,987 ครวั เรอื น
ขอ มลู เกยี่ วกับจานวนครวั เรือนและประชากร
หมู่ที่ ชื่อหมบู่ า้ น จานวนครวั เรอื น ชาย หญิง รวม
1 บานโคกสลุง 368 561 622 11183
2 บา นโคกสลงุ 533 705 697 11402
3 บานโคกสลงุ 342 417 446 863
4 บานโคกสลงุ 312 492 494 986
5 บานโคกสลงุ 340 504 489 993
6 บานโคกสลงุ 352 518 556 11074
7 บา นโคกสลุง 606 815 839 11654
8 บานเขาขวาง 392 607 557 11164
9 บา นคันนาหนิ 301 395 406 801
10 บานหวยยาง 183 234 263 497
11 บานกุดตาฉิม 258 334 341 675
รวม 31987 51582 51710 111292
ขอมูล ณ วันที่ 31 เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2564 (ท่มี า : ขอ มลู ทะเบียนราษฎร์ของ
องคก์ ารบริหารสว นตาบลโคกสลุง ในระบบสถติ ิทางการทะเบยี น กรมการปกครอง)
1.1.3 ประชากร ศาสนา
องคก์ ารบรหิ ารสว นตาบลโคกสลุง มจี านวนประชากรทั้งสิ้น......11,292.....คน
จาแนกเปน็ เพศชาย.......5,582......คน เพศหญงิ .......5,710......คน
จานวนเดเก (อายุ 0-14 ป)ี เดกเ ชาย......925......คน เดเกหญงิ ......833.......คน
จานวนผูสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) เพศชาย...958...คน เพศหญิง...1,211...คน
จานวนผพู กิ าร เพศชาย.....178....คน เพศหญงิ .....143....คน
จานวนสตรีมคี รรภ์ ..........7.........คน
จานวนผูปวุ ยติดเตียง.......24......คน
จานวนครวั เรือน.........3,987........ ครวั เรอื น
จานวนประชากรแฝง ประมาณ.........-......คน
สว นใหญน บั ถือศาสนา......พุทธ...... รอยละ.....100.....
ขอ มลู ณ วันที่ 31 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 (ท่มี า : ขอมลู ทะเบียนราษฎร์ของ
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลงุ ในระบบสถติ ิทางการทะเบยี น กรมการปกครอง)
1.1.4 การประกอบอาชพี
ประชากรสวนใหญของ องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง ประมาณรอยละ 37.88
ประกอบอาชีพ รับจางท่ัวไป รองลงมาไดแก ดานเกษตร (ทานา) ประมาณรอยละ 19.79 และดานพนักงาน
บริษัท ประมาณรอยละ 4.48 ดานเกษตร (ทาไร) รอยละ 4.81 ตามลาดับ และมีประชากรกาลังศึกษา รอย
ละ 20.95
แผนปฏิบัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 2
เน่ืองจากสภาพสังคมสวนใหญประชาชนกระจุกตัวรวมกันในเขตชุมชน ทาให
ประชาชนมีอาชีพที่หลากหลาย ทางดา นอาชีพเกษตรกรรมสภาพภูมิศาสตร์เหมาะสมกับ เชน การทานา ทาไร
เฉลีย่ รายไดประชากรตอ หวั /ตอ ปี ประมาณ 83,802 บาท
ท่ีมา : (โปรแกรมรายงานขอมูลความจาเป็นขั้นพ้ืนฐาน สานักงานพัฒนาชุมชน
อาเภอพัฒนานคิ ม จงั หวดั ลพบรุ ี)
1.1.5 เส้นทางคมนาคม (การขนส่งทางบก)
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง มีเสนทางคมนาคมที่สาคัญสามารถเดินทาง
ติดตอกันระหวางตาบลและอาเภอตางๆ ไดอยางรวดเรเวโดยสามารถเดินทางไดทางรถยนต์ รายละเอียดสาคัญ
ดังน้ี
เสน ทางรถยนต์
1) เสนทางหลวงแผนดิน หมายเลข 21 สามารถใชเดินทางเขาสูอาเภอพัฒนานิคม
จังหวัดลพบุรี และอาเภอชยั บาดาล จงั หวัดลพบุรี
2) เสนทางหลวงชนบท ลบ 2007 สามารถใชเดินทางจากตาบลโคกสลุงเขาสู
เสนทางหลวงแผนดิน หมายเลข 21 และจากตาบลโคกสลุงไปตาบลพัฒนานิคม และตาบลมะนาวหวาน
อาเภอพฒั นานิคม จงั หวดั ลพบรุ ี
3) เสนทางหลวงชนบท ลบ 5130 สามารถใชสัญจรเดินทางจากตาบลโคกสลุงไป
ตาบลมว งคอม อาเภอชยั บาดาล จังหวัดลพบุรี และจากตาบลโคกสลุงไปตาบลมะนาวหวาน อาเภอพัฒนานิคม
จงั หวดั ลพบุรี โดยเปน็ เสนทางรอบแนวเขอ่ื นปุาสกั ชลสทิ ธิตในเขตตาบล
เสน ทางรถไฟ
มีเสนทางรถไฟโดยการรถไฟแหงประเทศไทย ชุมทางโคกสลุง มีขบวนรถเช่ือมตอ
อาเภอชัยบาดาลจังหวัดลพบรุ ี และอาเภอแกง คอย จงั หวดั สระบรุ ี
1.1.6 แหล่งแมน่ ้าลาคลอง
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง มีลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นพ้ืนราบ ท่ีลุม
หรือที่ราบสูง สลบั กัน มคี ลอง / ลาน้า สาคัญท่ีไหลผานหลายสาย ไดแ ก
1) คลองหวยชา งเผือก ไหลผา นพ้ืนทหี่ มูบาน หมทู ี่ 3 หมทู ี่ 4 และ หมทู ่ี 9
2) คลองวังทอง ไหลผานพืน้ ทีห่ มบู า น หมทู ่ี 11
3) คลองหวยกรบุ กริบ ไหลผา นพืน้ ที่หมบู า น หมทู ี่ 11
4) คลองหวยบง ไหลผานพนื้ ทหี่ มบู า น หมทู ี่ 10
5) คลองหว ยยาง ไหลผา นพ้นื ท่ีหมบู า น หมทู ี่ 3 หมทู ่ี 9 และ หมทู ี่ 10
6) คลองหวยขี้หน/ู คลองหว ยใหญ ไหลผา นพ้นื ทห่ี มบู าน หมูท่ี 4 และ หมูท ี่ 9
7) คลองหวยปลู ไหลผานพ้นื ทห่ี มูบ าน หมทู ่ี 11
8) คลองหว ยใหญ ไหลผานพนื้ ท่หี มูบา น หมทู ี่ 3 และ หมูท่ี 4
9) คลองซอยโจ฿ะร-ี สะพานครอู าจ ไหลผานพื้นทหี่ มูบาน หมทู ี่ 8
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 3
1.1.7 สถานทีส่ าคญั
พ้ืนที่ สถานท่ีสาคญั พกิ ัดทางภูมิศาสตร์
หมทู ่ี 1
หมทู ่ี 2 สถานท่ีราชการ..............................-..............แหง -
สถานบรกิ ารสาธารณสุข................-..............แหง -
หมทู ี่ 3 สถาบนั การศกึ ษา...........................-..............แหง -
สถานทต่ี ง้ั ทางศาสนา.....................-..............แหง -
หมูท่ี 4 พ้ืนทีท่ ิง้ ขยะ.....................................-...............แหง -
อนื่ ๆ ...แหลงเรยี นรูชมุ ชน.............1…….……..แหง
14.968700, 101.008646
-สวนผักปลอดสารพิษผูใหญเ อก
สถานท่ีราชการ.............................2..............แหง 14.985693, 101.011509
14.982107, 101.008297
1) ทีท่ าการ อบต.โคกสลุง -
2) ทพี่ กั สายตรวจหนองแจง
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ - 14.983175, 101.012798
สถาบันการศกึ ษา.........................1..............แหง -
- โรงเรียนโคกสลุงวทิ ยา -
สถานท่ีตงั้ ทางศาสนา.....................-..............แหง -
พืน้ ที่ทิ้งขยะ..................................-..............แหง -
สถานที่ราชการ -
สถานบริการสาธารณสขุ - 14.985830, 101.018432
สถาบันการศึกษา.........................1..............แหง
- โรงเรยี นวัดโคกสลุง 14.983878, 101.018158
สถานที่ตง้ั ทางศาสนา...................1..............แหง -
- วัดโคกสาราญ -
พน้ื ทีท่ ิง้ ขยะ - 14.987850, 101.018539
อน่ื ๆ ...แหลงเรยี นรูช ุมชน.............1…………..แหง -
-พพิ ธิ ภณั ฑ์พ้นื บา นไทยเบง้ิ -
สถานที่ราชการ.............................-..............แหง -
สถานบรกิ ารสาธารณสุข................-..............แหง -
สถาบนั การศึกษา..........................-..............แหง -
สถานที่ต้งั ทางศาสนา....................-..............แหง
พ้ืนที่ทงิ้ ขยะ....................................-...............แหง
แผนปฏิบตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 4
1.1.7 สถานทีส่ าคญั (ตอ่ )
พน้ื ที่ สถานที่สาคญั พกิ ดั ทางภูมิศาสตร์
หมทู ่ี 5 สถานท่ีราชการ.............................2..............แหง 14.987979, 101.023924
1) สถานตี ารวจภูธรโคกสลุง 14.987136, 101.022910
หมทู ี่ 6 2) สถานีรถไฟโคกสลุง
หมูท ี่ 7 14.987224, 101.024064
หมูท่ี 8 สถานบริการสาธารณสขุ ...............1..............แหง -
- สถานีอนามัยเฉลิมพระเกยี รติ -
-
สถาบนั การศกึ ษา - -
สถานทตี่ ัง้ ทางศาสนา - -
พนื้ ทีท่ งิ้ ขยะ - -
-
สถานที่ราชการ.............................-..............แหง -
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ................-..............แหง -
สถาบันการศกึ ษา..........................-..............แหง -
สถานทต่ี ้ังทางศาสนา....................-..............แหง
พน้ื ท่ที ิ้งขยะ....................................-...............แหง 14.976813, 101.017971
-
สถานท่รี าชการ - 14.977735, 101.022847
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ - -
สถาบนั การศกึ ษา.........................1..............แหง
14.98799, 100.93053
- โรงเรยี นวดั หนองตาม่ิง -
สถานที่ตัง้ ทางศาสนา....................1..............แหง
14.98481, 100.93308
- วัดศรมี ่งิ มงคลวราราม -
พน้ื ทที่ ิ้งขยะ - 14.98468, 100.92261
14.97999, 100.95061
สถานที่ราชการ.............................1..............แหง -
- ทพี่ กั สายตรวจบอ ชอน
สถานบริการสาธารณสุข -
สถาบนั การศกึ ษา..........................1..............แหง
- โรงเรียนบานเขาขวาง
สถานท่ตี งั้ ทางศาสนา....................2..............แหง
1) วดั ประชาสามคั คีธรรม
2) วัดพรหมประสทิ ธติมณธี รรม
พน้ื ท่ีทง้ิ ขยะ -
แผนปฏบิ ตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 5
1.1.7 สถานทส่ี าคัญ (ต่อ)
พืน้ ที่ สถานทส่ี าคญั พกิ ัดทางภูมิศาสตร์
หมูท ่ี 9 สถานท่รี าชการ - -
สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ...............1..............แหง
หมทู ี่ 10 15.01843, 100.94677
หมทู ี่ 11 - รพ.สต.บานคนั นาหนิ
สถาบนั การศึกษา..........................1..............แหง 15.01903, 100.94826
รวม
- โรงเรียนไทยรฐั วทิ ยา 100 (บา นคันนาหิน) 15.01888, 100.95721
สถานทต่ี ั้งทางศาสนา....................2..............แหง 15.01801, 100.94656
1) วดั คันนาหนิ -
2) วัดวิราศประชาคณุ าธาร -
พน้ื ทีท่ ง้ิ ขยะ - -
สถานทร่ี าชการ - 15.01042, 100.95942
สถานบริการสาธารณสุข -
สถาบันการศึกษา - 15.01326, 100.98025
สถานท่ีต้ังทางศาสนา....................1..............แหง -
-
- วดั หว ยยาง -
พื้นที่ท้งิ ขยะ..................................1..............แหง -
-
- บอ กาจัดขยะ อบต.โคกสลุง
สถานท่รี าชการ..............................-..............แหง
สถานบรกิ ารสาธารณสุข................-..............แหง
สถาบันการศึกษา...........................-..............แหง
สถานทีต่ ั้งทางศาสนา.....................-..............แหง
พ้นื ทีท่ งิ้ ขยะ...................................-..............แหง
สถานที่ราชการ.............................5.............แหง
สถานบริการสาธารณสขุ ...............2.............แหง
สถาบันการศึกษา..........................5.............แหง
สถานที่ต้ังทางศาสนา....................7.............แหง
พน้ื ทที่ ิ้งขยะ..................................1.............แหง
อื่น ๆ.............................................2.............แหง
แผนปฏบิ ัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 6
1.1.8 สาธารณปู โภค พิกัดทางภูมศิ าสตร์
พน้ื ท่ี สาธารณปู โภค
หมูท ่ี 1 ไฟฟาู จานวน 31 จุด (ไฟฟูาสองสวา งสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จดุ
ถนน จานวน 5 เสนทาง
รถโดยสาร -
การสื่อสารและโทรคมนาคม -
หมูที่ 2 ไฟฟูา จานวน 33 จดุ (ไฟฟาู สองสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 5 จดุ
ถนน จานวน 18 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การส่อื สารและโทรคมนาคม 1 (เสาโทรศพั ท)์
หมทู ่ี 3 ไฟฟาู จานวน 34 จุด (ไฟฟาู สองสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จดุ
ถนน จานวน 2 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การส่อื สารและโทรคมนาคม 1 (เสาโทรศพั ท์)
หมูท่ี 4 ไฟฟาู จานวน 26 จุด (ไฟฟูาสอ งสวา งสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จดุ
ถนน จานวน 8 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การสื่อสารและโทรคมนาคม -
หมูท่ี 5 ไฟฟูา จานวน 26 จุด (ไฟฟาู สอ งสวา งสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จุด
ถนน จานวน 11 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การสอ่ื สารและโทรคมนาคม -
หมูที่ 6 ไฟฟูา จานวน 33 จดุ (ไฟฟูาสอ งสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 4 จดุ
ถนน จานวน 12 เสนทาง
รถโดยสาร -
การส่ือสารและโทรคมนาคม -
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 7
1.1.8 สาธารณปู โภค (ตอ่ ) พกิ ดั ทางภมู ศิ าสตร์
พ้นื ที่ สาธารณปู โภค
หมทู ่ี 7 ไฟฟาู จานวน 33 จุด (ไฟฟูาสอ งสวา งสาธารณะ)
หมทู ่ี 8 ประปา จานวน 3 จดุ
หมูท ่ี 9 ถนน จานวน 9 เสนทาง
หมทู ี่ 10 รถโดยสาร -
หมูท่ี 11 การสอ่ื สารและโทรคมนาคม -
รวม
ไฟฟาู จานวน 29 จดุ (ไฟฟาู สองสวา งสาธารณะ)
ประปา จานวน 9 จุด
ถนน จานวน 3 เสนทาง
รถโดยสาร -
การสื่อสารและโทรคมนาคม 3 (เสาโทรศพั ท)์
ไฟฟูา จานวน 20 จดุ (ไฟฟาู สอ งสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 4 จุด
ถนน จานวน 6 เสนทาง
รถโดยสาร -
การสือ่ สารและโทรคมนาคม 3 (เสาโทรศัพท์)
ไฟฟาู จานวน 35 จดุ (ไฟฟูาสองสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จดุ
ถนน จานวน 3 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การส่ือสารและโทรคมนาคม 1 (เสาโทรศัพท)์
ไฟฟูา จานวน 20 จดุ (ไฟฟาู สองสวา งสาธารณะ)
ประปา จานวน 2 จดุ
ถนน จานวน 4 เสนทาง
รถโดยสาร -
การสื่อสารและโทรคมนาคม -
ไฟฟาู จานวน 320 จุด (ไฟฟูาสองสวางสาธารณะ)
ประปา จานวน 37 จุด
ถนน จานวน 81 เสน ทาง
รถโดยสาร -
การสอ่ื สารและโทรคมนาคม 9 (เสาโทรศพั ท์)
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 8
1.1.9 แผนทพี่ น้ื ท่ีเส่ียงภยั ของอปท. โซนท่ี 1
โซนที่ 2
โซนที่ 1
โซนท่ี 2
/ การวิเคราะห์ความเส่ยี งภัยเชิงพน้ื ท่ี...
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 9
การวิเคราะหค์ วามเสย่ี งภัยเชิงพน้ื ที่
1. พื้นท่ีโซนท่ี 1 ประกอบดวยพื้นท่ีในหมูที่ 1 2 3 4 5 6 7 และ 11 ปัญหาพ้ืนที่โซนท่ี 1
สว นหน่ึงเป็นพ้ืนท่ีท่ีอยูอาศัย และพ้ืนท่ีทางการเกษตร พ้ืนท่ีราบ ท่ีสาธารณะบางสวน สวนใหญประสบปัญหา
วาตภยั รองลงมาเปน็ ภัยแลง สาหรับอัคคีภัย อุทกภัย หรือภัยอ่ืนๆ มีปรากฏนอย โซนท่ีทากรอบลอมรอบคือ
พื้นท่ีเสี่ยงตอภัยมากที่สุด สาเหตุเน่ืองจากเป็นพื้นที่ใกลเขื่อนปุาสักชลสิทธิต ลมพัดผานไดงายและรุนแรง
ประกอบมีชองทางท่ีลมพดั ผานระหวางชอ งเนนิ เขาธรรมชาติท่ใี กลกับตาบลอนื่ หลายชอ ง
2. พ้นื ที่โซนท่ี 2 ประกอบดวยพ้ืนทีใ่ นหมทู ่ี 8 9 และ 10 ปญั หาพื้นทโี่ ซนที่ 2 สว นหนึ่งเป็น
พ้ืนท่ีทางการเกษตร สลับกลับพื้นท่ีท่ีอยูอาศัย ภูเขา และพื้นท่ีปุาสาธารณะ สวนใหญประสบปัญหาวาตภัย
รองลงมาอัคคีภัย สวนปัญหาอุทกภัย หรือภัยอื่นๆ มีปรากฏนอย โซนที่ทากรอบลอมรอบคือพ้ืนที่เส่ียงตอภัย
มากท่ีสุด สาเหตุเน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีชองทางระหวางชองเนินเขาธรรมชาติท่ีพัดผานรุนแรง และนอกจากน้ีเป็น
พ้ืนที่ประสบตอปัญหาอัคคีภัยโดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรท่ียังมีประชาชนแอบเผา รวมถึงพ้ืนที่ปุาสาธารณะที่
งา ยตอ การไหมไฟ
3. ในปี 2564 พ้ืนที่โซนท่ี 1 และ 2 หลายหมูบาน ประสบปัญหาโรคระบาดจากสัตว์ในโค
(วัว) โรคลมั ปิสกนิ เนือ่ งจากการเคล่อื นยา ยสัตว์จากถิน่ อ่ืนเขา มาในพนื้ ที่ตาบลโคกสลุง พ้ืนที่การระบาดมากสุด
ในหมูที่ 2, 4, 6, 8, 9 และ 10 โดยองค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงไดใหการชวยเหลือในภาพรวมใน
เบอ้ื งตนไดจดั หานา้ ยาพนเคมใี นการพน บรเิ วณคอกสัตว์และตวั สัตว์ท่ีเปน็ โรค
4. ในปี 2563 และ ปี 2564 ตาบลโคกสลงุ ประสบปญั หามีประชากรปวุ ยเป็นโรคตดิ เชือ้
ไวรัสโคโรนา (โควิด -19) จากสถานการณ์แพรระบาดทั่วประเทศ
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 10
1.2 สถานการณ์และแนวโน้มการเกดิ สาธารณภยั
1.2.1 สถานการณ์สาธารณภัย
สถานการณ์สาธารณภัยท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีองค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง สวนใหญเกิดภัย
จากวาตภัย อัคคีภัย ภัยแลง ภัยจากโรคระบาดสัตว์ หรือภัยจากการคมนาคม โดยมีปัจจัยเสี่ยงมาจากเหตุ
ธรรมชาติ ความเหนเ แกต วั ของมนษุ ย์ และสภาพพ้ืนที่ทีง่ า ยตอ การเกิดภยั
วาตภัย
สถานการณว์ าตภัยท่ีเกดิ ขึน้ ในพ้ืนที่ตาบลโคกสลุง จากการวิเคราะห์ขอมูลพบวา เหตุวาตภัย
ถือเป็นความเส่ียงท่ีมีนัยสาคัญสูงสุด เกิดข้ึนกับทุกหมูบาน ปี 2562 มีครัวเรือนท่ีประสบภัย จานวน 192
ครัวเรือน และปี 2563 จานวน 21 ครัวเรือน และปี 2564 ชวงคร่ึงปีแรกไดเกิดเหตุวาตภัยและสรางความ
เสียหายใหกับประชาชนในตาบลโคกสลุงแลว จานวน 66 ครัวเรือน นับวาเป็นภัยท่ีองค์กรใหความสาคัญใน
การปูองกนั และระงบั ภยั เป็นลาดบั แรก
อคั คภี ัย
สถานการณ์ภยั แลงทีเ่ กดิ ขึ้นในพนื้ ท่ตี าบลโคกสลุงดานอัคคีภัยมีอยูบาง เนื่องจากเป็นตาบลที่
มีพื้นที่กวางใหญ ประชาชนบางสวนทาอาชีพเกษตรกรรม บางพ้ืนท่ียังประสบปัญหาอัคคีภัยโดยเฉพาะพ้ืนท่ี
การเกษตรทีย่ ังมปี ระชาชนแอบเผาวชั พืช รวมถงึ พน้ื ท่ปี าุ สาธารณะท่ีงา ยตอ การไฟไหม
ภัยแลง
สถานการณ์ภัยแลงที่เกิดข้ึนในพ้ืนท่ีตาบลโคกสลุง ในปี 2563 ไมพบสถานการณ์ภัยแลง
อยางรุนแรง เนื่องจากอยูใกลแหลงน้าตนทุน และมีปริมาณน้าฝนตามฤดูกาลชวย แตมีบางพ้ืนท่ี เชน หมูท่ี 8
9 10 หมู 4 บางสวน ซ่ึงเป็นหมูที่หางไกลจากแหลงน้าตนทุนยังขาดแคลนน้าเพ่ือการเกษตรอยู ทาใหมี
เพียงพอเฉพาะการอุปโภคบริโภคเทาน้ัน ซึ่งเกิดจากปัญหาเชิงเทคนิคหรือการบริหารจัดการ เชน ระบบการ
กระจายน้าประปาอาจมีปัญหาบางเน่ืองจากใชงานมานานทอประปารั่ว ทอประปาตัน จากการใชงานมานาน
หรือการขัดของของเคร่ืองสูบน้าประปาบาดาล เป็นตน ทาใหตองนารถบรรทุกน้าออกชวยเหลือประชาชนอีก
ทางหนึ่ง แตสาหรับเขตพ้ืนท่ีภัยแลงจากการขาดแคลนน้าจริงๆจนเป็นเหตุถึงข้ันสาธารณภัยยังไมมีปรากฏ
รายงาน
ภยั จากโรคระบาด
ปี 2563 พบปญั หาการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 โควิด -19 (ตอเน่ืองถึง
ปี 2564)
ภัยจากโรคระบาดสัตว์
ชวงตนปีในปี 2564 เกิดปัญหาโรคระบาดจากสัตว์ในโค (วัว) โรคลัมปิสกิน เน่ืองจากการ
เคลื่อนยายสัตว์จากถิ่นอื่นเขามาในพ้ืนท่ีตาบลโคกสลุง พ้ืนท่ีการระบาดมากสุดในหมูท่ี 2, 4, 6, 8, 9 และ
หมทู ่ี 10 โดยองคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลโคกสลงุ ไดใ หก ารชว ยเหลอื ในภาพรวมในเบ้ืองตนไดจัดหาน้ายาพนเคมี
ในการพน บริเวณคอกสตั ว์และตวั สตั ว์ท่เี ป็นโรค
ภยั จากการคมนาคม
สวนใหญเกิดจากความเหเนแกตัวของผูใชรถใชถนน การขาดระเบียบวินัยจราจร การใชสวม
หมวกกนั นอ฿ คหรือคาดเขเมขัดนิรภยั
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 11
1.2.2 สถิตภิ ัย
สถานการณ์สาธารณภัยขององค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงท่ีเกิดขึ้น 5 ปี ท่ีผานมา
(พ.ศ.2559-2563) มดี งั น้ี
(1) วาตภัย (Storm)
ตารางท่ี 1-1 : สถิตกิ ารเกดิ วาตภยั ของ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลงุ
พ.ศ. จานวนครง้ั พืน้ ทปี่ ระสบภยั ผลกระทบความเสียหาย มลู ค่า
ท่เี กิดภยั (ครง้ั ) (หมูท่ ่ี/ชุมชน) ความเสยี หาย
จานวนบ้านเรือน จานวนบ้านเรือน (ลา้ นบาท)
ทีเ่ สียหายท้งั หลัง ท่เี สยี หายบางส่วน
(หลัง) (หลัง)
2559 - - - --
2560 - - - --
2561 - - - --
2562 1 หมทู ี่ 1, 2, 3, 4, - 192 300,000.00
5, 6, 7 และ 11
2563 2 หมทู ี่ 4, 9 - 21 59,201.50
รวม 3 - - 213 359,201.50
(ที่มา : องคก์ ารบรหิ ารสว นตาบลโคกสลงุ ขอมลู ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563)
(2) อัคคีภัย (Fire)
ตารางที่ 1-2 : สถติ ิการเกดิ อัคคีภยั ของ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโคกสลุง
ผลกระทบความเสียหาย มูลค่า
จานวนครัง้ พ้นื ทป่ี ระสบภยั จานวนบา้ นเรือน จานวนบ้านเรือน ความเสียหาย
พ.ศ. ทเ่ี กิดภัย (ครงั้ ) (หมทู่ ่ี/ชุมชน) ทเ่ี สียหายทงั้ หลงั ทเ่ี สียหายบางสว่ น (ลา้ นบาท)
(หลัง) (หลงั ) -
-
2563 - - - -
รวม - - - -
(3) ภยั แล้ง (Drought)
ตารางท่ี 1-3 : สถิตกิ ารเกดิ ภยั แล้ง องค์การบริหารส่วนตาบลโคกสลงุ
ผลกระทบความเสียหาย
พ.ศ. จานวนคร้งั ทเ่ี กดิ เหตุ สถานท่เี กดิ เหตุ จานวน จานวน มูลคา่ ความเสยี หาย
(คร้งั ) ผเู้ สียชวี ิต ผบู้ าดเจ็บ (ล้านบาท)
(คน) (คน) -
-
2563 - ---
รวม - ---
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 12
(4) โรคระบาด (Pandemic)
ตารางที่ 1-4 : สถิติการเกดิ โรคระบาด องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลงุ
ผลกระทบความเสียหาย
พ.ศ. จานวนครง้ั ท่ีเกดิ เหตุ สถานทีเ่ กิดเหตุ จานวน จานวน มูลค่าความเสียหาย
(ครัง้ ) ผเู้ สยี ชวี ติ ผ้บู าดเจบ็ (ลา้ นบาท)
(คน) (คน) -
-
2563 - ---
รวม - ---
(5) โรคระบาดสัตว์ (Zoonoses)
ตารางที่ 1-5 : สถติ กิ ารเกดิ โรคระบาดสัตว์ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลโคกสลุง
ผลกระทบความเสียหาย
พ.ศ. จานวนครั้งท่เี กิดเหตุ สถานทีเ่ กดิ เหตุ จานวน จานวน มูลค่าความเสยี หาย
(ครั้ง) ผู้เสียชวี ิต ผู้บาดเจ็บ (ล้านบาท)
(คน) (คน) -
-
2563 - ---
รวม - ---
(6) ภยั จากการคมนาคม (Transportation)
ตารางท่ี 1-6 : สถติ กิ ารเกิดภัยจากการคมนาคม องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลงุ
ผลกระทบความเสียหาย
พ.ศ. จานวนคร้งั ทเ่ี กิดเหตุ สถานท่เี กิดเหตุ จานวน จานวน มูลค่าความเสยี หาย
(ครัง้ ) ผเู้ สยี ชวี ิต ผบู้ าดเจบ็ (ลา้ นบาท)
(คน) (คน)
2559
2560
2561
2562
2563
รวม
(ทม่ี า : องค์การบริหารสว นตาบลโคกสลุง ขอ มลู ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2563)
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 13
1.3 สถานการณ/์ ความเส่ียงจากสาธารณภยั ท่ีเกดิ ขึน้ ในพ้นื ท่ีองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลโคกสลุง
สาเหตุปัจจัยที่กอใหเกิดสาธารณภัย ความลอแหลม ความเปราะบางท่ีกอใหเกิดสาธารณภัย
หรือคาดวาจะเกิดสาธารณภัยประเภทตางๆ ในพื้นท่ี โดยสามารถวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากสาธารณภัยใน
พืน้ ทอี่ งคก์ ารบริหารสวนตาบลโคกสลงุ สรุปไดด งั นี้
ตารางแสดงการวิเคราะห์ปจั จยั /สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กดิ ความเสย่ี งจากสาธารณภัย
ระดับความเสี่ยงภยั ปัจจัย/สาเหตุ ที่ทาใหเ้ กดิ ความเสย่ี งจาก
สาธารณภัย
ประเภทของภัย เสย่ี งสงู เสย่ี ง เสีย่ งตา่
ความล่อแหลม
ปานกลาง 1. เป็นภยั ที่เกิดขน้ึ ไดตลอดเวลา
2. ขาดการควบคุมจากหนวยงานปศุ
วาตภัย ทุกหมบู าน - -
สัตว์
(หมูท ่ี 1-11) ความเปราะบาง
อัคคีภัย ทกุ หมบู า น - - 1. พืน้ ทกี่ วา งใหญย ากตอการควบคุม
(หมูท่ี 1-11) 2. บางพนื้ ทีเ่ ป็นพนื้ ท่เี ป็นรองลมพดั
ผาน
ศกั ยภาพ
1. อบต. มีเจาหนาที่ในการดาเนินการ
ปอู งกนั โรค
2. มีการจดั หาวัสดุอุปกรณ์ในการ
ปูองกนั โรค
3. มงี บประมาณเพื่อการชว ยเหลอื
ผปู ระสบภัย (ตามระเบยี บที่กาหนด)
ความล่อแหลม
1. ประชาชนบางคนขาดจิตสานึก
2. มโี อกาสเกดิ ขึ้นกบั ทุกหมูบาน
ความเปราะบาง
- พ้นื ทกี่ วางใหญย ากตอ การควบคุม
ศักยภาพ
1. อบต. มีเจาหนาท่ีในการดาเนินการ
ปูองกันและระงบั เหตุ
2. มกี ารรถบรรทุกน้าในการระงับเหตุ
และเฝาู ระวัง
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 14
ระดบั ความเสี่ยงภยั ปจั จัย/สาเหตุ ท่ีทาใหเ้ กิดความเส่ียงจาก
สาธารณภยั
ประเภทของภัย เส่ยี งสูง เส่ยี ง เสย่ี งต่า
ความล่อแหลม
ปานกลาง 1. ฝนไมต กตอ งตามฤดกู าล
2. มโี อกาสเกดิ ขน้ึ กับทุกหมบู า น
ภยั แลง ทกุ หมูบาน - -
ความเปราะบาง
(หมทู ี่ 1-11) - พื้นที่กวางใหญ บางหมูบานไมมี
โรคระบาด(คน) ทกุ หมบู า น - - เสนทางนา้ ไหลผา น
(โควิด -19) ศกั ยภาพ
โรคระบาดสตั ว์ หมูท่ี 4, 7, หมทู ี่ 2, 3, หมทู ่ี 1, 5 1. อบต. มีเจาหนาท่ีในการดาเนินการ
(ลัมปิสกิน) 8, 9, 10, 6 ชว ยเหลือ
11
2. มกี ารรถบรรทกุ นา้ ในการแจกจายนา้
ความล่อแหลม
1. ผลกระทบจากภายนอกตาบลเขามา
สูตาบล
2. ประชาชนมคี วามหวาดหว่ัน
ความเปราะบาง
- เป็นโรคระบาดวงกวางยากตอการ
ปอู งกัน
ศักยภาพ
1. มหี ลายหนวยงานใหค วามชว ยเหลอื
2. มีการจัดหาวสั ดุอปุ กรณ์ในการ
ปูองกันโรค
3. มงี บประมาณเพ่ือการชว ยเหลอื
ผปู ระสบภัย (ตามระเบียบทีก่ าหนด)
ความลอ่ แหลม
1. คนขาดความรับผิดชอบนาสัตว์เลี้ยง
(โค) เขามาในพ้นื ทีไ่ มยอมแจงปศสุ ัตว์
2. ขาดการควบคุมจากหนวยงานปศุ
สัตว์
ความเปราะบาง
- พน้ื ที่กวา งใหญย ากตอ การควบคมุ
ศักยภาพ
1. อบต. มีเจาหนาท่ีในการดาเนินการ
ปอู งกันโรค
2. มีการจัดหาวัสดอุ ปุ กรณ์ในการ
ปอู งกันโรค
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 15
ระดบั ความเสี่ยงภัย ปัจจัย/สาเหตุ ที่ทาใหเ้ กดิ ความเสยี่ งจาก
สาธารณภยั
ประเภทของภยั เสย่ี งสงู เสยี่ ง เส่ียงตา่
ความลอ่ แหลม
ปานกลาง 1. คนขาดวินัยการจราจร
2. การบังคับใชกฎจราจรอยา ง
ภยั จากการ หมูที่ 4, 8, หมูท ่ี 1, 2, -
เครง ครดั
คมนาคม 9, 10 3, 5, 6, 7, ความเปราะบาง
11 1. มถี นนเสน ทางหลกั ตดั ผาน
2. มจี ุดเสี่ยงตอการเกิดอบุ ตั ิเหตุ
ศกั ยภาพ
1. มคี วามพรอ มดานงบประมาณในการ
พัฒนาเสนทางคมนาคม
2. มกี ารจัดหาวัสดุอปุ กรณ์ในการ
พฒั นาเสน ทางคมนาคมอยางตอ เนอื่ ง
3. มีคณะกรรมการ ศปถ.อบต. ทา
หนา ทก่ี าหนดนโยบายปูองกนั ภัยจราจร
จากการวเิ คราะหส์ ถานการณ์สาธารณภัยและการประเมินความเส่ียงจากสาธารณภัย ภายใต
ฐานขอมูลสถานการณ์สาธารณภัย สถิติการเกิดภัย ความถ่ีการเกิดภัย และปัจจัยที่ทาใหเกิดความเส่ียงจาก
สาธารณภัย สามารถจดั ลาดบั ความเสย่ี งจากมากไปหานอยตามลาดบั ได ดงั นี้
ตารางแสดงลาดับความเสยี่ งภยั ขององค์การบริหารส่วนตาบลโคกสลงุ
ภัยท่เี กดิ จากธรรมชาติ ภัยทีเ่ กิดจากการกระทาของมนุษย์
1. ภยั จากการคมนาคม
1. วาตภยั
2. อัคคีภยั
3. ภัยแลง
4. โรคระบาด (คน)
5. โรคระบาดสตั ว์
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 16
1.4 ปฏิทนิ สาธารณภยั ประจาปี
ในชวงระยะเวลาที่ผานมา มีการเกิดสาธารณภัยข้ึนบอยครั้งและเกิดข้ึนเป็นประจาในชวง
ระยะเวลาหน่ึง จึงทาใหองค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง สามารถคาดการณ์การเกิดภัยไดมากขึ้น ไดแก
วาตภัย อัคคีภัย ภัยแลง โรคระบาด นอกจากน้ีภัยจากการคมนาคม (อุบัติเหตุทางถนน) กเยังเป็นสาธารณภัยที่
เกดิ บอ ยคร้ังมากข้ึน ซึ่งการคาดการณ์วางแผนปูองกันทาไดยากเพราะเป็นพฤติกรรมของมนุษย์ เวนแตในบาง
ชวงระยะเวลาหากมีการใชถนนมาก เชน เทศกาลตา งๆ กเมีแนวโนม จะเกดิ มากขึ้น
ตารางท่ีปฏทิ นิ สาธารณภัยของ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลุง เพื่อเป็นแนวทางในการเตรียมการป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยไว้ล่วงหน้าองค์การบริหารส่วนตาบลโคกสลุง จึงทาปฏิทินสาธารณภัยที่เกิดข้ึนใน
พ้ืนที่ ดงั น้ี
ภัย / เดอื น ม.ค. ก.พ. ระยะเวลาที่เกิดภยั ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
วาตภัย
อคั คภี ยั ปีใหม ตรุษจีน ปใี หม
ภัยแล้ง ฤดแู ล้ง ฝนทง้ิ ชว่ ง
อบุ ัติเหตุ สงกรานต์ ปีใหม
ทางถนน ปีใหม
โรคตดิ ตอ่
(คน / สตั ว์)
(ปี 2564)
หมายเหตุ : ……………… เฝูาระวังตลอดทั้งปี
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 17
1.5 หนว่ ยงานทร่ี ่วมให้ความช่วยเหลอื สาธารณภัย
มีหลายหนวยงานใหค วามชวยเหลอื ตามแตสถานการณ์และประเภทของสาธารณภัยที่เกิดขึ้น
ในชวงเวลานนั้ ๆ ยกตวั อยาง เชน การใหความชวยเหลือวาตภัย มีหนวยงาน เชน กองอานวยการปูองกันและ
บรรเทาสาธารณภัยอาเภอพัฒนานิคม / หนวยทหารพัฒนา (ศูนย์บรรเทาสาธารณภัย หนวยบัญชาการ
สงครามพเิ ศษ คายเอราวณั ) / ชมรมกานัน ผูใ หญบานโคกสลงุ / จติ อาสาพระราชทาน ฯ ฯลฯ
(ภาพจากแฟูมขา่ วกจิ กรรมหนงั สือพิมพ์สยามรัฐ)
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 18
บทท่ี ๒
นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภัย
การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง มีเปูาหมายสูงสุดภายใต
แนวความคิด “การรูรับ-ปรับตัว-ฟ้ืนเรเวทั่ว-อยางย่ังยืน” (Resilience) โดยนากรอบนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ
กรอบแนวคิดการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ประกอบกับแนวโนมสถานการณ์ภัยที่เพิ่มมากขึ้น พรอมทั้ง
บทเรียนการจัดการสาธารณภัยที่ผานมา นามาทบทวน ปรับปรุง และจัดทาแผนฉบับน้ีใหเป็นไปตามขอเทเจจริง
เกีย่ วกบั การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เพอื่ ใหทกุ หนวยงานใชเ ป็น แนวทางในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณ
ภยั ขององคก์ รปกครองสว นทองถิ่น โดยมสี าระสาคัญ ดงั รายละเอียดตอ ไปนี้
2.1 นโยบายการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลโคกสลุง
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงกาหนดนโยบายการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยของ
องคก์ ารบรหิ ารสว นตาบลโคกสลงุ ตามนโยบายการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง ชาติ ดังนี้
2.1.1 มงุ เนน การลดความเส่ียงจากสาธารณภัยดวยการสรางความตระหนักรูใหทุกภาคสวน
ของสังคมไทยเขาใจความเสี่ยงจากสาธารณภัยใหครอบคลุมทุกมิติ เพ่ือนาไปสูการประเมินความเส่ียงและการใช
ขอมูลความเสี่ยงประกอบการวางแผน การลงทุน และการตัดสินใจอยางรูเทาทันภัย
2.1.2 เสริมสรางความเขมแขเงการบูรณาการความรวมมือกับทุกภาคสวนใหยกระดับ
มาตรฐานระบบการจัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินของประเทศใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ
จัดการทุกระดบั พรอ มทั้งการบรรเทาทกุ ข์และชวยเหลือสงเคราะห์ผูประสบภัยไดอยางรวดเรเว ทั่วถึง และทัน
ตอ เหตกุ ารณ์
2.1.3 สรางระบบการฟน้ื ฟูอยา งยั่งยืนโดยจัดใหมีการซอมสรางและฟื้นฟูใหกลับคืนสูสภาวะ
ปกตโิ ดยเรเวหรือดีกวา เดมิ และปลอดภยั กวา เดมิ เพอ่ื ลดความเสี่ยงเดมิ และปูองกนั ความเส่ยี งใหม
2.1.4 สรางการเป็นหุนสวนในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยรวมกับหนวยงาน
เครือขายท้ังภายในประเทศและระหวางประเทศ ใหครอบคลมุ ทุกมติ ิ
2.1.5 เสริมสรางการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี และภูมิปัญญา โดยการ
ยกระดับศักยภาพการจดั การความเสี่ยงจากสาธารณภัยขององคก์ ารบริหารสวนตาบล
2.2 วัตถปุ ระสงคข์ องแผนปฏบิ ัตกิ ารในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ องค์การบริหารส่วนตาบล
โคกสลุง
2.2.1 เพื่อบูรณาการแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การ
บรหิ ารสว นตาบลโคกสลุงใหมีการสอดคลองกบั แผนการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ จังหวัดลพบุรี
และอาเภอพฒั นานคิ ม
2.2.2 เพื่อใหแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหารสวน
ตาบลโคกสลงุ มีความสอดคลอ งกบั สภาพปัญหา และสถานการณ์ดานสาธารณภยั
2.2.3 เพื่อความสะดวกในการนาแผน ฯ ไปสกู ารปฏิบัติ
2.2.4 เพ่ือเปน็ แนวทางในการกาหนดนโยบายบริหารจดั การงบประมาณดา ยงานปูองกันและ
บรรเทาสาธารณภัย
แผนปฏิบตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 19
2.3 วสิ ัยทัศน์
เป็นหนวยงานในการขับเคลื่อนและรวมบูรณาการจัดการสาธารณภัยทุกรูปแบบ เพ่ือความ
ผาสกุ ของประชาชนในตาบล
2.4 พนั ธกิจ
2.4.1 พฒั นาแผนปฏิบัติการในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั ใหไดมาตรฐานตามที่กรม
ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยกาหนด
2.4.2 ขบั เคลือ่ นและรวมบรู ณากบั หนวยงานที่เกยี่ วขอ งในการจดั การสาธารณภยั
2.4.3 จัดสรรงบประมาณ และพัฒนาบุคลากร (อปพร./เจาหนาที่) ใหมีความพรอมในการ
จดั การสาธารณภยั
2.4.4 จดั หา/ซอ มบารงุ เครื่องมอื เคร่ืองจักรเพ่ือการจัดการปญั หาสาธารณภัย
2.4.5 จดั หาวัสดุเพอื่ การปูองกัน แกไข จดั การสาธารณภยั ทุกรปู แบบ
2.4.6 ดูแลผูประสบภัยตามหลักเกณฑท์ ่กี าหนดในแบบบรู ณาการรว ม
2.4.7 เผยแพร ประชาสมั พันธ์งานดา นสาธารณภยั ใหป ระชาชนทราบอยา งตอ เนอ่ื ง/ท่วั ถงึ
2.4.8 พัฒนากลไกชว ยเหลือผูประสบสาธารณภยั ดว ยกระบวนการคณะกรรมการ
2.5 เปูาหมาย
2.5.1 มแี ผนปฏิบัติการในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั ทไ่ี ดมาตรฐาน
2.5.2 เกิดความรวมมือทุกภาคสวนในตาบล/อาเภอ ในการจัดการปัญหาสาธารณภัยทุก
รูปแบบ
2.5.3 มงี บประมาณและบุคลากร ที่พรอ มเผชิญสาธารณภยั
2.5.4 มเี ครอื่ งมอื เครื่องจกั รพรอ มใชง าน
2.5.5 มวี สั ดุ/อปุ กรณ์พรอ มใชง าน
2.5.6 ผปู ระสบภยั ไดร ับการดแู ลอยางทว่ั ถึง/เปน็ ธรรมตามหลกั เกณฑ์ท่กี าหนด
2.5.7 ประชาชนทราบไดร ับทราบขอมลู ขา วสารสาธารณภัยอยา งตอ เน่ือง
2.5.8 มีการประชุมวางแผนเพื่อพรอมเผชิญเหตุสาธารณภัย ตั้งแตขั้นตอนเตรียมความ
พรอ ม ดาเนินการปูองกัน/แกไข ฟื้นฟเู ยยี วยาผูประสบภยั อยา งเป็นระบบ
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 20
2.6 ตัวช้ีวัดความสาเร็จในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยของประเทศ แบ่งออกเป็น 2 ตัวช้ีวัด
ได้แก่
ตวั ชี้วดั เปูาหมาย
2.6.1 การลดความ
สญู เสียและความ (๑) อตั ราการเสยี ชีวติ จากสาธารณภัยตอประชากร 100,000 คน
เสียหาย (๒) จานวนผไู ดรับผลกระทบจากสาธารณภัยตอ ประชากร 100,000 คน
(๓) ความสูญเสยี ทางเศรษฐกิจท่เี กดิ จากสาธารณภยั โดยตรงตอ ผลิตภณั ฑ์มวลรวม
2.6.2 การเพ่ิม ของประเทศ
ศกั ยภาพในการ (๔) ความเสียหายจากสาธารณภัยท่ีมีตอโครงสรา งพื้นฐานทีส่ าคัญ และการหยดุ ชะงัก
จดั การความเสย่ี ง ของบรกิ ารสาธารณะขนั้ พื้นฐาน ในจานวนนน้ั รวมถงึ สถานพยาบาลและสถานศึกษา
จากสาธารณภยั ดว ยการพฒั นาโครงสรา งและบริการพืน้ ฐานใหม คี วามพรอ มรบั มอื และสามารถฟนื้ กลบั
ไดเ รเวเม่อื เกดิ สาธารณภัย
(๑) จานวนแผนการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ที่มีการบรรจอุ งคป์ ระกอบ
ประเดเนการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย
(๒) ความรวมมือระหวางหนวยงานและระหวา งประเทศดานการจัดการความเสย่ี งจาก
สาธารณภัยอยางย่งั ยืน
(๓) ขดี ความสามารถระบบเตือนภยั โดยการจดั หาเทคโนโลยี เคร่อื งมือ อุปกรณ์
และประชาชนสามารถเขาถงึ การแจง เตือนภยั และขอมลู ความเส่ยี งสาธารณภัย
2.7 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั
ยุทธศาสตร์ของแผนฉบับน้ี เป็นการตอบสนองตอวัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเปูาหมายของ
แผนใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ตลอดจนยกระดับการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยไปสูมาตรฐานตาม
หลกั สากล เพือ่ สรา งการรูเทาทนั ภยั และภมู ิคุม กนั ใหกับทุกภาคสวน ประกอบดวย 5 ยทุ ธศาสตร์ ไดแ ก
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การมงุ เนนการลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจดั การในภาวะฉุกเฉนิ แบบบรู ณาการ
ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การเพ่ิมประสิทธภิ าพการฟ้นื ฟอู ยา งย่ังยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสงเสรมิ การเปน็ หุนสว นระหวางประเทศในการจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภัย
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การเพ่ิมประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการและประยุกต์ใชนวัตกรรมดานสาธารณภัย
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การมุ่งเน้นการลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั
(๑) เปาู ประสงค์
(1.1) เพ่ือจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึน โดยการลดความเปราะบาง และความลอแหลม
พรอมท้งั การเพิ่มขดี ความสามารถในการเตรียมพรอมรับกบั สาธารณภัยท่ีเกิดขน้ึ
(๑.๒) เพ่ือใหทุกภาคสวนดาเนินการลดความเสี่ยงที่มีอยูเดิมและปูองกันไมใหเกิดความเส่ียง
ใหม
(๒) กลยุทธ์
(๒.๑) พฒั นาและสง เสริมใหมคี วามเขาใจความเส่ยี งจากสาธารณภยั ในทกุ ภาคสวน
(๒.๒) พัฒนามาตรการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย
(๒.๓) สงเสริมใหทุกภาคสวนและทุกระดับเสริมสรางความเป็นหุนสวนในการลดความเสี่ยงจาก
สาธารณภยั
แผนปฏบิ ัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 21
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การจดั การในภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ
(๑) เปาู ประสงค์
(๑.๑) เพื่อยกระดับมาตรฐานระบบการจัดการสาธารณภัยในภาวะฉุกเฉินเป็นไปอยางมี
มาตรฐาน เอกภาพ และยืดหยุน โดยการบูรณาการความรวมมือจากทุกภาคสวนใหเกิดประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธิผล
(๑.๒) เพ่ือใหผ ปู ระสบภยั ไดรับความชวยเหลือบรรเทาทุกข์อยางรวดเรเว ทัว่ ถึง และทนั ตอเหตกุ ารณ์
(๑.๓) เพ่ือลดความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากสาธารณภัยใหนอย
ที่สดุ
(๒) กลยุทธ์
(๒.๑) พัฒนามาตรฐานการจดั การในภาวะฉุกเฉินอยางมเี อกภาพ
(๒.๒) พัฒนาระบบและเคร่ืองมือสนบั สนนุ การเผชญิ เหตุ
(๒.๓) เพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบและแนวปฏบิ ตั ใิ นการบรรเทาทกุ ข์
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการฟื้นฟอู ย่างย่ังยืน
(๑) เปาู ประสงค์
(๑.๑) เพ่ือฟ้ืนฟูใหผูประสบภัยไดรับการสงเคราะห์ชวยเหลืออยางรวดเรเว ท่ัวถึง ตอเน่ือง
เปน็ ธรรมสอดรับกบั ความจาเป็นในการใหความชว ยเหลือ และสามารถกลบั ไปดารงชีวติ ไดต ามปกติ
(๑.๒) เพื่อฟื้นฟูพ้ืนท่ีประสบภัยใหมีการซอมสรางและฟ้ืนสภาพใหกลับคืนสูสภาวะปกติ
โดยเรเวหรือใหดกี วา และปลอดภัยกวา เดิม
(๒) กลยุทธ์
(๒.๑) พัฒนาระบบการประเมินความตองการหลังเกิดสาธารณภัย (Post - Disaster Need
Assessment : PDNA)
(๒.๒) พัฒนาแนวทางบริหารจัดการดา นการฟื้นฟู
(๒.๓) เสรมิ สรางแนวทางการฟืน้ ฟใู หดีกวา และปลอดภยั กวาเดิม (Build Back Better and Safer)
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสง่ เสริมการเปน็ หุ้นส่วนระหว่างประเทศในการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย
(๑) เปูาประสงค์
- เพอื่ ยกระดบั การประสานความชว ยเหลือดา นมนุษยธรรมอยา งมีเอกภาพ
(๒) กลยุทธ์
- พัฒนาระบบการประสานความชวยเหลอื ดานมนษุ ยธรรมทม่ี เี อกภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเพิม่ ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการและประยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรมดา้ นสาธารณภยั
(๑) เปูาประสงค์
(๑.๑) เพ่ือเสริมสรางระบบบริหารจัดการ การวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และภูมิปัญญา ใหการจัดการ
ความเสย่ี งจากสาธารณภัยโดยระบบอัจฉริยะอยา งมีประสทิ ธิภาพ
(๑.๒) เพื่อสรางภูมิคุมกันดวยการรูเทาทันภัยใหกับประชาชนทุกชวงวัยอยางเสมอภาค และ
การมีสว นรว มของผมู สี วนไดเสีย (Stakeholder) จากทุกภาคสว น
(๒) กลยุทธ์
(๒.๑) พัฒนาระบบสารสนเทศดา นสาธารณภัย
(๒.๒) พัฒนาการจัดการองคค์ วามรดู า นการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย
(๒.๓) พฒั นาการสอื่ สารความเส่ยี งจากสาธารณภัยทมี่ ีประสิทธภิ าพ
(๒.๔) สง เสรมิ การลงทนุ ดานการจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภัยแบบมีสวนรวมจากภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชา
(๒.๕) เสริมสรา งการมสี ว นรวมของทกุ ภาคสว น ในการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภัย
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 22
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตรท์ ี่ 4
_________________________________________________ _________________________________________________ _________________________________________________ _________________________________________________
การมุงเนนการลด การจัดการในภาวะ การเพมิ่ ประสิทธภิ าพ การสงเสรมิ การเป็น
ความเสยี่ ง ฉกุ เฉินแบบบูรณาการ การฟน้ื ฟูอยางยั่งยืน หนุ สวนระหวางประเทศ
ในการจดั การความเสี่ยง
จากสาธารณภยั
จากสาธารณภัย
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5
___________________________________________________
การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจดั การและประยกุ ตใ์ ชน วัตกรรมดานสาธารณภยั
แผนภาพที่ 2-1 ความเชอ่ื มโยงของยุทธศาสตร์
แผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ น ก า ร ปู อ งกั น แล ะบ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย อง ค์ กา ร บ ริ ห า ร ส ว น ต า บ ล โ ค กส ลุ ง
พ.ศ.2564-2570 ฉบับน้ีมุงตอบสนองตอยุทธศาสตร์การจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยเพื่อสรางความ
เชื่อม่ันและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและของรัฐ โดยชุมชนมีบทบาทสาคัญเป็นอยาง
มากในการเตรียมความพรอมและลดความเสี่ยงจากสาธารณภัย หากไดรับการพัฒนาศักยภาพรวมท้ังมีภูมิ
ปัญญาทองถิ่นกเจะสามารถทาใหชุมชนของตนมีความปลอดภัยจากสาธารณภัย โดยการมีสวนรวมของคน
หลากหลายกลมุ ในชมุ ชน
2.8 แหล่งที่มาและวิธีการงบประมาณในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การ
บริหารส่วนตาบลโคกสลุง
2.8.1 งบประมาณรายจา่ ยประจาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แหง่ พื้นท่ี
งบประมาณ สาระสาคญั
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (๑) ใหองค์กรปกครองสวนทองถ่ินตั้งงบประมาณรายจายประจาปีในการปูองกันและบรรเทาสา
แหง่ พน้ื ที่ ธารณภัยในเขตพื้นท่ีของตน เพ่ือใชดาเนินการต้ังแตระยะกอนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิด
สาธารณภัย โดยเฉพาะงบประมาณเพอ่ื ใหความชวยเหลอื และบรรเทาความเดือดรอนท่ีเกดิ ขึ้น
เฉพาะหนาและระยะยาว เชน การอพยพ การจัดการศูนย์พักพิงช่ัวคราว การสงเคราะห์
ชวยเหลือผูประสบภัย การสาธารณสุข การสื่อสาร การรักษาความสงบเรียบรอย และการ
สาธารณปู โภค เป็นตน
(๒) ใหองค์กรปกครองสวนทองถิ่นสนับสนุนงบประมาณเพื่อการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยในพ้ืนที่ของตนใหเป็นไปตามแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
ซ่ึงกาหนดใหมีแผนและขั้นตอนขององค์กรปกครองสวนทองถ่ินในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือเคร่ืองใช และยานพาหนะ พรอมท้ังจัดใหมีเคร่ืองหมายสัญญาณหรือส่ิงอ่ืนใดในการแจง
ใหประชาชนไดท ราบถึงการเกิดหรอื คาดวา จะเกดิ สาธารณภัย
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 23
งบประมาณ สาระสาคัญ
(๓) ใหม ีการตงั้ งบประมาณในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ในเขตทองถิ่นของตนตาม
กรอบแนวทางตามกฎหมายท่เี กีย่ วของ ไดแก
1) พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารสวนตาบล พ .ศ.2537 และท่ีแกไข
เพิ่มเติม มาตรา 67 ภายใตบ งั คับแหง กฎหมาย องค์การบรหิ ารสว นตาบลมหี นาที่ตองทาในเขต
องค์การบริหารสว นตาบล )4ธารณภัยปอู งกันและบรรเทาสา (
2) พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ .ศ.2496 และทแี่ กไ ขเพ่มิ เตมิ
มาตรา 50 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลตาบลมีหนาที่ตองทาในเขต
เทศบาล (๑) รกั ษาความสงบเรียบรอยของประชาชน
มาตรา 53 ภายใตบ งั คับแหงกฎหมาย เทศบาลเมอื งมหี นาทตี่ องทาในเขตเทศบาล
(๑) กจิ การตามทร่ี ะบไุ วใ นมาตรา 50
มาตรา 56 ภายใตบ ังคบั แหงกฎหมาย เทศบาลนครมีหนา ทต่ี องทาในเขตเทศบาล
(๑) กจิ การที่ระบไุ วใ นมาตรา 53
3) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมอื งพัทยา พ .ศ.2542
4) พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจใหแกองค์กรปกครอง
สว นทอ งถนิ่ พ.ศ. 2542
มาตรา 16 ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารสวนตาบลมีอานาจ
และหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในทองถิ่น
ของตนเอง (29) การปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย
มาตรา 17 ภายใตบังคับมาตรา 16 ใหองค์การบริหารสวนจังหวัดมีอานาจหนาที่ใน
การจัดระบบบริการสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในทองถิ่นของตน (22) การปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัย
- ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจใหแกองค์กรปกครองสวนทองถ่ิน
เรอ่ื ง กาหนดอานาจและหนา ทีใ่ นการจัดระบบบริการสาธารณะขององค์การบรหิ ารสวนจังหวัด
- ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจใหแกองค์กรปกครองสวนทองถ่ิน
เร่อื ง หลกั เกณฑ์การสนับสนนุ ขององค์การบริหารสวนจงั หวดั เทศบาล และองค์การบรหิ ารสวนตาบล
ในการใหบริการสาธารณะ
๕) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การ
เกเบรักษาเงนิ และการตรวจเงินขององค์กรปกครองสว นทองถิ่น พ.ศ. 2547 และท่เี พ่ิมเตมิ
- ขอ ๘๙ องค์กรปกครองสวนทองถ่ินอาจจายขาดเงินสะสมไดไมเกินรอยละสี่สิบ
ของงบประมาณรายจายเพ่ือการลงทุนของปีนั้น โดยไดรับอนุมัติจากสภาทองถ่ิน ภายใต
เง่อื นไข...
- ขอ ๙๑ ภายใตบังคับขอ ๘๙ ในกรณีฉุกเฉินท่ีมีสาธารณะภัยเกิดข้ึน ใหผูบริหาร
ทองถ่ินอนุมัติใหจายขาดเงินสะสมไดตามความจาเป็นในขณะน้ัน โดยคานึงถึงฐานะการเงิน การ
คลังขององค์กรปกครองสวนทองถิน่ นั้น
6) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดว ยเงินอุดหนุนขององคก์ รปกครองสว นทองถิ่น พ.ศ.2559
- ขอ 4 องค์กรปกครองสวนทองถ่ินอาจตั้งงบประมาณใหเงินอุดหนุนหนวยงานที่
ขอรับเงินอดุ หนุนได. ..
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 24
งบประมาณ สาระสาคัญ
7) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดว ยคา ใชจ า ยเพอื่ ชวยเหลือประชาชนตามอานาจหนาทีข่ อง
องคก์ รปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ.2560 แกไ ขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2561
- ขอ 6 กรณเี กิดสาธารณภยั ในพื้นท่ีขององคก์ รปกครองสวนทอ งถ่ิน ไมว าจะมี
การประกาศเขตใหค วามชวยเหลอื ผปู ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉินหรอื ไมกเตาม องค์กรปกครอง
สวนทองถิน่ สามารถดาเนนิ การชว ยเหลือประชาชนในเบอื้ งตน โดยฉบั พลันทันที เพ่ือการดารง
ชีพ หรือบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะหนา หรือระงบั สาธารณภัย หรือเพ่อื คมุ ครองชีวิต และ
ทรัพยส์ นิ หรอื ปูองกันภยันตรายท่จี ะเกดิ แกประชาชนไดต ามความจาเป็น ภายใตขอบอานาจ
หนาท่ตี ามกฎหมาย โดยไมตองเสนอคณะกรรมการพจิ ารณา
ในกรณีการชวยเหลอื ประชาชน เพื่อเยยี วยาและฟ้นื ฟูหลงั เกดิ สาธารณภัย หรือ
การสง เสริมและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต หรอื การปูองกันและระงบั โรคตดิ ตอ หรอื การชวยเหลือ
เกษตรกรผมู รี ายไดนอ ยใหเสนอคณะกรรมการใหค วามเหเนชอบกอ น
- ขอ 7 กรณีจาเป็นตอ งใหความชว ยเหลอื ประชาชนเพ่ือเยียวยาหรือฟน้ื ฟหู ลัง
เกิดสาธารณภัย ใหอ งคก์ รปกครองสว นทอ งถิน่ ดาเนนิ การ ดงั นี้
(๑) กรณมี ีการประกาศเขตการใหค วามชว ยเหลอื ผูป ระสบภยั พิบตั ิกรณี
ฉกุ เฉินในพ้นื ท่ีเกดิ ภัย ใหร ายงานนายอาเภอ หรอื จงั หวดั หรือหนว ยงานท่ีเก่ยี วของเพอ่ื
พิจารณานาเงนิ ทดรองราชการเพอื่ การชว ยเหลือผูประสบภัยพบิ ัติ ใหความชวยเหลอื
ผูป ระสบภยั
(2) กรณมี ไิ ดประกาศเขตการใหความชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั พบิ ตั ิกรณี
ฉุกเฉนิ ในพ้ืนท่ีเกิดภยั ในการชว ยเหลอื ประชาชน ใหองคก์ รปกครองสว นทองถน่ิ เสนอ
คณะกรรมการใหค วามชวยเหลือ
- ขอ 11 การใหความชวยเหลือประชาชนผปู ระสบสาธารณภยั หรอื ภยั พิบตั ิ
ฉกุ เฉิน มีลกั ษณะเปน็ การชวยเหลอื ทจี่ าเปน็ ทต่ี อ งแกไ ขโดยฉบั พลนั ในการดารงชพี และความเปน็ อยู
ของประชาชน หรอื เปน็ การซอ มแซมใหคนื สสู ภาพเดมิ อนั เป็นการบรรเทาความเดือดรอ น
เฉพาะหนา องค์กรปกครองสว นทองถนิ่ สามารถใหค วามชวยเหลือไดท นั ที ภายใตขอบอานาจ
หนา ท่ีตามกฎหมาย
กรณสี ่งิ สาธารณประโยชน์ทอ่ี ยูในความรับผดิ ชอบขององค์กรปกครองสว น
ทอ งถน่ิ ไดรบั ความเสียหาย หากองค์กรปกครองสว นทอ งถน่ิ เหนเ วา การซอ มแซมใหค นื สสู ภาพ
เดิมจะไมค ุมคาและการกอ สรา งใหมจะเกดิ ประโยชนต์ อทางราชการมากกวา ใหเสนอ
คณะกรรมการเป็นผพู ิจารณาใหค วามเหเนชอบกอนการใชจายงบประมาณ โดยใหค านึงถึง
สถานะทางการเงินการคลัง
- ขอ 16 (๑) การชวยเหลือผปู ระสบสาธารณภยั หรอื ภยั พิบัติฉกุ เฉนิ ใหอ งค์กร
ปกครองสวนทองถน่ิ พิจารณาใชจ า ยงบประมาณชวยเหลือประชาชนตามหลกั เกณฑ์ของ
กระทรวงการคลงั โดยอนโุ ลม
- ขอ 18 กรณเี กดิ สาธารณภยั ฉกุ เฉนิ จาเป็นเรง ดว น ใหองค์กรปกครองสว น
ทองถิน่ เบิกจายจากงบกลาง ประเภทเงินสารองจาย ในขอบัญญตั ิหรือเทศบัญญตั งิ บประมาณ
รายจายประจาปี โดยโครงการ ไมจ าเปน็ ตอ งอยใู นแผนพฒั นาทอ งถ่นิ
๘) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วา ดวยการเบกิ คา ใชจายใหแกอาสาสมัครปูองกันภัย
ฝุายพลเรือนขององค์กรปกครองสวนทองถน่ิ พ.ศ. 2560
- ขอ 5 ในกรณที ี่องคก์ รปกครองสวนทอ งถ่นิ มีความจาเป็นตองเบกิ จา ย
คาใชจ ายใหแ กอาสาสมัคร เพื่อเปน็ คาปุวยการชดเชยการงานหรือเวลาท่ีเสยี ไป เพ่ือสนบั สนนุ
การปฏบิ ัตหิ นา ที่ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยตามกฎหมายวา ดวยการปูองกันและ
บรรเทาสาธารณภยั ใหองคก์ รปกครองสวนทองถิน่ มีสิทธเิ บกิ จา ยได
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 25
งบประมาณ สาระสาคญั
๙) ระเบียบคณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ วาดวยคาใชจาย
ของอาสาสมัครในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2560
-ขอ 4 อาสาสมัครที่ไดรบั คาสั่งจากผอู านวยการ ผูบญั ชาการ นายกรัฐมนตรี
หรือรองนายกรัฐมนตรซี ึ่งนายกรฐั มนตรีมอบหมาย แลวแตกรณี เพื่อการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตพน้ื ที่หรือนอกเขตพ้ืนที่ไดร บั คา ใชจายในอัตราตอ คนตอ วนั
-ขอ 5 องค์กรปกครองสวนทองถิ่นแหงพ้ืนท่ีสามารถจายคาใชจายใหแก
อาสาสมัครในสังกัดของตนตามขอ 4 ท้ังนี้ ใหคานึงถึงฐานะทางการเงินการคลังขององค์กร
ปกครองสว นทองถน่ิ ดวย...
-ขอ 6 กรณีมีการสั่งใชอาสาสมัครซึ่งมิไดสังกัดองค์กรปกครองสวนทองถ่ิน
แหงพื้นท่ี ใหตนสงั กดั เบิกจายจากเงินงบประมาณของสว นราชการ
2.8.2 งบกลาง
งบประมาณ สาระสาคัญ
1. เงินทดรองราชการ เมื่อคาดหมายวาจะเกิดภัยพิบัติข้ึนในเวลาอันใกล หรือเกิดภัยพิบัติข้ึนในพื้นท่ีใด ใหจังหวัด/
ตามระเบียบกระทรวงการคลัง กรงุ เทพมหานคร หรือสว นราชการที่มีเงนิ ทดรองราชการใชวงเงินทดรองราชการในระหวางท่ี
ว่าด้วยเงินทดรองราชการ ยงั ไมไดร ับการจดั สรรงบประมาณรายจาย มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ดาเนนิ การชวยเหลือโดยเรงดวน
เพ่อื ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภยั ตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยมุงหมายที่จะบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะหนาของ
พิบตั ิกรณฉี ุกเฉนิ ผปู ระสบภยั พบิ ัติ แตมไิ ดมุง หมายท่จี ะชดใชความเสียหายใหแ กผูใ ด การใชจายเงินตองเป็นคาใชจาย
ท่ีจาเป็นในการดารงชีพและความเป็นอยูของประชาชนหรือเป็นการซอมแซมใหคืนสูสภาพเดิม อัน
เป็นการบรรเทาความเดือดรอนเฉพาะหนา โดยไมสามารถใชจายเงินทดรองราชการเพื่อสราง
ส่ิงกอ สรา งใหมได ซึ่งการเบิกจายเงินใหถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราการชวยเหลือท่ี
กระทรวงการคลังกาหนด โดยมีแนวทางการใชจายเงินทดรองราชการตามระเบียบ
กระทรวงการคลงั วา ดว ยเงนิ ทดรองราชการ เพือ่ ชวยเหลอื ผูประสบภัยพิบตั ิกรณฉี ุกเฉนิ ดังน้ี
(1)วงเงินในเชิงปอู งกันหรอื ยบั ยั้ง เม่ือคาดหมายวาจะเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินข้ึน
ในเวลาอนั ใกล และจาเปน็ ตอ งรีบดาเนินการโดยฉบั พลนั ใหจ งั หวดั /กรุงเทพมหานคร ใชเงิน
ในเชิงปูองกันหรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินนั้นได โดยไมตองประกาศเขตการใหความ
ชว ยเหลอื ผูประสบภัยพิบตั ิกรณีฉกุ เฉนิ ภายในวงเงินไมเกิน 1010001000 บาท
(1.1) ในกรณีกรงุ เทพมหานคร ใหเ ป็นอานาจหนาท่ีของกรมปูองกันและบรรเทาสา
ธารณภัย โดยอธบิ ดกี รมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นผูมีอานาจอนมุ ัติจา ยเงนิ
(1.2) ในกรณีจังหวัดอ่ืน ใหเป็นอานาจของสานักงานปูองกันและบรรเทาสา
ธารณภยั จงั หวดั โดยผวู าราชการจงั หวดั เป็นผมู ีอานาจอนุมตั ิจา ยเงนิ
โดยการใชจายเงินใหเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กรมปูองกันและ
บรรเทาสาธารณภยั กาหนด โดยความเหนเ ชอบของกระทรวงการคลัง
(2)วงเงนิ ในการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ เมื่อภัยพิบัติฉุกเฉินเกิดขึ้นในทองที่ ใหผู
มีอานาจดาเนินการประกาศใหทองท่ีน้ันเป็นเขตการใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณี
ฉกุ เฉิน ตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ ไปน้ี
(๒.๑) กรณีเกิดในกรุงเทพมหานคร ใหเป็นอานาจของอธิบดีกรมปูองกัน และ
บรรเทาสาธารณภัย
(๒.๒) กรณีเกิดในจังหวัดอื่น ใหเป็นอานาจของผูวาราชการจังหวัดรวมกับ
คณะกรรมการใหค วามชวยเหลอื ผูประสบภัยพบิ ตั ิจังหวดั (ก.ช.ภ.จ.)
แผนปฏิบัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 26
งบประมาณ สาระสาคัญ
เม่ือไดรับการประกาศใหทองท่ีน้ันเป็นเขตการใหความชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติ
กรณฉี ุกเฉนิ แลว ใหส ว นราชการหรอื หนวยงานท่ีเก่ยี วของดาเนินการชว ยเหลือผูประสบภยั ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยเงินทดรองราชการเพ่ือ
ชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั พิบัตกิ รณีฉุกเฉนิ
2. เงินสารองจ่าย เพ่อื กรณี กรณีสว นราชการหรือรัฐวสิ าหกิจใดมีความจาเป็นตองใชจายงบประมาณ นอกเหนือจาก
ฉุกเฉนิ หรือจาเปน็ เรง่ ด่วนท่ีต้อง ที่ไดรับการจัดสรรหรือไดรับการจัดสรรงบประมาณแลวไมเพียงพอและมีความจาเป็นเรงดวนที่
ดาเนินการ โครงการตาม จะตองรีบดาเนินการ เพื่อมิใหเกิดความเสียหายแกทางราชการ ใหสวนราชการขอรับจัดสรร
นโยบายรฐั บาล
งบประมาณรายจายงบกลาง รายการเงินสารองจายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น ใหกระทาได
ในกรณที ี่เป็นรายจาย ดงั น้ี
(๑) เป็นรายจายเพ่ือการปูองกันหรือแกไขสถานการณ์อันมีผลกระทบตอความสงบ
เรยี บรอยของประชาชน หรอื ความมั่นคงของรัฐ
(๒) เปน็ รายจายที่จาเปน็ ตอ งจายเพ่ือเยียวยาหรือบรรเทาความเสียหายจากภัยพิบัติ
สาธารณะรา ยแรง
(๓) เป็นรายจายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณไวแลวแตมีจานวนไมพอ และมีความ
จาเปน็ เรงดว นของรัฐตอ งใชจายหรือกอ หนี้ผูกพันงบประมาณโดยเรวเ
(๔) เป็นรายจายท่ีไมไดรับจัดสรรงบประมาณแตมีภารกิจจาเป็นเรงดวนท่ีจะตอง
ดาเนนิ การและตอ งใชจายหรอื กอ หนี้ผกู พนั งบประมาณโดยเรวเ
ทั้งนี้ ใหดาเนินการตามระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณรายจายงบกลาง
รายการเงนิ สารองจาย เพื่อกรณีฉุกเฉนิ หรอื จาเปน็ พ.ศ.2562
2.8.3 เงินนอกงบประมาณ เป็นบรรดาเงินท้ังปวงที่หนวยงานของรัฐจัดเกเบหรือไดรับไว
เปน็ กรรมสิทธิตตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุ หรือกรณีอ่ืนใด ท่ีตองนาสงคลัง
แตม กี ฎหมายอนุญาตใหส ามารถเกบเ ไวใชจา ยได โดยไมต อ งนาสงคลงั
งบประมาณ สาระสาคญั
งบประมาณสนับสนุนจาก เพื่อสนบั สนุนการดาเนนิ กิจการท่ีเกยี่ วขอ งกับการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยกรมปูองกัน
องค์กร/หน่วยงานต่างๆ และบรรเทาสาธารณภัย เป็นหนวยงานกลางในการประสานและผลักดันการดาเนินงาน
ภาคเอกชน ท้ังในประเทศ ใหเ ปน็ ไปตามหลักการ ขอกาหนดและเงื่อนไขขององค์กรผูใหการสนับสนุน และไมขัดแยงกับ
และต่างประเทศ แนวทางการดาเนินงานในแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ พ.ศ.…. โดย
แบงเป็นเงนิ บริจาค กองทนุ และอื่นๆ ดงั น้ี
(๑) เงินบริจาค คือ เงินหรือทรัพย์สินท่ีมีผูบริจาค รวมทั้งดอกผลท่ีเกิดจากเงินหรือทรัพย์สิน
ดังกลาว โดยการใชเงินบริจาคใหเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการรับเงิน
หรือทรัพย์สินที่มีผูบริจาคใหทางราชการ พ.ศ.2526 และระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
การรับบริจาคและการใหความชวยเหลือผูประสบสาธารณภัย พ.ศ. 2542 รวมถึงระเบียบ
กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ ง
(๒) กองทุน คือ เงินหรือทรัพย์สินที่มีผูบริจาคใหกองทุน รวมท้ังดอกผลที่เกิดจากเงินหรือ
ทรพั ย์สนิ ดังกลา ว ซึ่งการใชก องทุนในการชวยเหลอื ผูประสบภยั ใหเ ป็นไปตามระเบียบกฎหมาย
ทีเ่ กย่ี วของ เชน ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี าดว ยการรบั บริจาคและการใหความชวยเหลือผูประสบ
สาธารณภัย พ.ศ. 2542 เปน็ ตน
(๓) อ่นื ๆ คือ เงนิ สนับสนนุ ในการชวยเหลือผปู ระสบภัยที่นอกเหนือจากเงนิ บรจิ าคและกองทุน
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 27
งบประมาณขององค์การ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
บริหารส่วนตาบลโคกสลงุ งบกลาง
งบนอกงบประมาณ
แผนภาพท่ี 2-1 : แหล่งงบประมาณในการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภยั ของ องคก์ ารบริหารสว่ น
ตาบลโคกสลงุ
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 28
บทที่ 3
หลกั การจดั การความเสยี่ งจากสาธารณภัย
3.1 วงจรการจดั การความเส่ียงจากสาธารณภัย
วงจรการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย เป็นแนวทางการจัดการสาธารณภัยท่ีอธิบายใหเหเนถึง
ลักษณะวงจร เพ่ือรับมือกับภัยซึ่งมีลักษณะการเกิดที่ยากแกการคาดการณ์ผลที่เกิดข้ึน ซึ่งอาจมีรูปแบบการเกิด
ไมซ ้าเดมิ และไมจาเป็นตอ งเป็นลาดับกอ นหลงั เสมอไป (Non Linear) จึงตองมีการดาเนินการในลักษณะเป็นวงรอบ
(Closed Loop) อยางตอเน่ือง ไมสามารถแยกสวนเฉพาะในแตละกระบวนการ ดังน้ัน การจัดการความเส่ียง
จากสาธารณภัยจึงเป็นการจัดการสาธารณภัยแบบองค์รวม (Holistic Approach) เพ่ือความปลอดภัยอยางยั่งยืน
ตงั้ แตการปูองกนั และลดผลกระทบ การเตรียมความพรอ ม การเผชิญเหตุ และบรรเทาทุกข์ ตลอดจนการฟ้ืนฟู
ซึง่ การดาเนินการในแตละหวงเวลาการเกิดสาธารณภัยอาจมีความคาบเกี่ยวกัน (Over lap) รวมทั้งระยะเวลา
ในการดาเนินการข้นึ อยูกบั ความรนุ แรงของภัยเปน็ สาคัญ ดังแผนภาพท่ี 3-1
ปรบั จากท่มี า : TorqAid. (2016). TorqAid disaster risk management framework: seven key diagrams.
https://www.preventionweb.net. (2019, November :25)
แผนภาพที่ 3-1 วงจรการจดั การความเสย่ี งจากสาธารณภยั (Disaster Risk Management : DRM)
เพื่อความปลอดภยั อยางย่งั ยนื (Resilience)
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 29
3.2 กลไกการจดั การความเส่ยี งจากสาธารณภัย
ในการดาเนนิ การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย และการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัย
ใน องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง จะมีองค์กรท่ีเกี่ยวของในการอานวยการ ควบคุม สั่งการ และประสาน
การปฏิบัติต้ังแตระดับประเทศ ซ่ึงกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารสวนตาบล
โคกสลุง ตองมีการเช่ือมโยงและรับนโยบายแผนงานแนวทางมาดาเนินการ รวมทั้งการประสานกับหนวยงาน
บริหารจดั การสาธารณภยั ในระดบั อาเภอ และระดับจงั หวดั ดวย
3.2.1 ระดบั นโยบาย
(1) คณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช.)
มีหนาที่กาหนดนโยบายการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ บูรณาการพัฒนาระบบ
การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย ระหวางหนวยงานของรัฐและหนวยงานภาคเอกชนใหมีประสิทธิภาพ
โดยมีองค์ประกอบ และอานาจหนาท่ีตามที่ระบุในมาตรา 6 และมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550
(2) คณะกรรมการปูองกันอุบัติภยั แหง่ ชาติ (กปอ.)
มีหนาที่เสนอนโยบายเกี่ยวกับการปูองกันอุบัติภัยของประเทศและเสนอแนะแนวทางปฏิบัติ
และประสานงานระหวางหนวยงานของรัฐ โดยมีองค์ประกอบ และอานาจหนาที่ตามระเบียบสานัก
นายกรฐั มนตรวี า ดวยการปูองกนั อบุ ตั ภิ ัยแหง ชาติ พ.ศ. 2564
(3) คณะกรรมการบรหิ ารระบบการเตอื นภัยพิบัตแิ หง่ ชาติ (กภช.)
มหี นาท่ีเสนอ และจัดทามาตรการ แนวทาง นโยบาย แผนการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติ
แหงชาติ แผนงาน และโครงการในการบรหิ ารระบบการเตือนภัยพบิ ตั ิแหงชาติ เพือ่ เปน็ กรอบในการดาเนินงาน
ของหนวยราชการที่เก่ียวของ โดยมีองค์ประกอบ และอานาจหนาที่ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
การบรหิ ารระบบการเตอื นภยั พบิ ตั แิ หง ชาติ พ.ศ. 2552 และท่ีแกไ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562
3.2.2 ระดบั ปฏบิ ัติ
กลไกการจัดการความเส่ียงจากสาธารณภัยระดับปฏิบัติเป็นศูนย์กลางในการอานวยการและการ
ประสานการปฏบิ ตั ิของหนวยงานและภาคสว นตาง ๆ ที่เก่ียวของกับการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยภายใต
แนวคดิ “ศนู ยป์ ฏิบัติการฉุกเฉิน (Emergency Operation Center : EOC) )” โดยเรียกช่ือวา กองบัญชาการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ/กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแตละระดับ มีหนาท่ี
ในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยดวยการบังคับบัญชา อานวยการ ควบคุม กากับ และประสานการ
ปฏิบัติ ระหวางภาคสวนตั้งแตภาวะปกติจนถึงเมื่อคาดวาจะเกิดหรือเกิดสาธารณภัย โดยจะตองมีการกาหนด
โครงสราง อานาจหนาที่ และมอบหมายเจาหนาที่ปฏิบัติงานในภารกิจหนาที่ตาง ๆ และตองมีการจัดทา
แนวปฏิบัติหรือคูมือการปฏิบัติงานตามข้ันตอนในแตละระดับการปฏิบัติการ (Level of Activation) รวมท้ัง
ตองจัดใหมีสถานที่ และส่ิงอานวยความสะดวก (Facilities) สาหรับการปฏิบัติงาน โดยเมื่อเกิดหรือคาดวาจะ
เกดิ สาธารณภยั ข้ึนกลไกดงั กลา วจะปรบั เขาสูกระบวนการปฏิบตั ิในภาวะฉุกเฉินโดยการจัดตั้ง “ศูนย์บัญชาการ
เหตุการณ”์ ข้ึน ซ่งึ แนวทางปฏบิ ัตใิ นการจดั ตั้งองคก์ รปฏบิ ัติการจัดการในภาวะฉุกเฉินจะกลาวตอ ไปในบทท่ี 5
(1) กองบญั ชาการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ (บกปภ.ช.)
ทาหนาท่ีบังคับบัญชา อานวยการ ควบคุม กากับ ดูแลและประสานการปฏิบัติการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัยของกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแตละระดับ โดยมีรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงมหาดไทยเป็นผูบัญชาการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ และปลัดกระทรวงมหาดไทย
เป็นรองผูบัญชาการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ ในกรณีการจัดการสาธารณภัยขนาดใหญ (ระดับ 3)
แผนปฏบิ ตั ิการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 30
มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย และกรณีการจัดการสาธารณภัยรายแรงอยางย่ิง (ระดับ 4)
มนี ายกรัฐมนตรีหรอื รองนายกรฐั มนตรีทีไ่ ดร ับมอบหมาย เป็นผูควบคมุ ส่งั การ และบญั ชาการ
(2) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั กลาง (กอปภ.ก.)
ทาหนาท่ีประสานงาน บูรณาการขอมูล และการปฏิบัติการของหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งใน
สวนของสรรพกาลัง เคร่ืองมืออุปกรณ์ แผนปฏิบัติการเพื่อเตรียมความพรอมในการปูองกันและแกไขปัญหา
สาธารณภัยทัง้ ระบบในภาวะปกติ และในภาวะใกลเ กดิ ภัย ทาหนาท่ีเตรยี มการเผชญิ เหตุ ติดตาม และเฝูาระวัง
สถานการณ์ รวมถึงวิเคราะห์ขอมูลที่เกี่ยวของ ประเมินสถานการณ์ และแจงเตือนภัยพรอมท้ังรายงาน
และเสนอความเหเนตอผูบัญชาการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติหรือนายกรัฐม นตรีตามแตระดับ
การจัดการสาธารณภัยเพ่ือตัดสินใจในการรับมือ โดยมีอธิบดีกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
เปน็ ผอู านวยการกลาง
(3) กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั (กอปภ.จ.)
ทาหนาที่อานวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบัติการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยในพื้นท่ีจังหวัดท่ีรับผิดชอบ โดยมีผูวาราชการจังหวัด/ผูอานวยการจังหวัด เป็นผูอานวยการ
รองผูวาราชการจังหวัดท่ีผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย และนายกองค์การบริหารสวนจังหวัด เป็นรอง
ผูอานวยการ ท้ังน้ี ใหมกี ารจัดประชุมกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั อยางนอยปลี ะ 2 คร้ัง
(4) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยกรงุ เทพมหานคร (กอปภ.กทม.)
ทาหนาท่ีอานวยการ ควบคุม สนับสนุน ประสานการปฏิบัติในการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภัยในเขตกรุงเทพมหานคร และจัดทาแผนปฏิบัติการหรือแผนเผชิญเหตุตามประเภทความเส่ียงภัย
ใหสอดคลองกับแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร รวมท้ังดาเนินการสนับสนุน
การปฏบิ ัตกิ ารปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย และเป็นหนวยเผชิญเหตุเมื่อเกิดสาธารณภัยในพ้ืนที่รับผิดชอบ
โดยมีผูวาราชการกรุงเทพมหานครในฐานะผูอานวยการเป็นผูรับผิดชอบ มีอานาจหนาท่ีและแนวทางปฏิบัติ
ตามหมวด 3 แหงพระราชบญั ญัตปิ ูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ท้ังนี้ องค์ประกอบและอานาจหนาท่ี
ใหเป็นไปตามทีผ่ ูวา ราชการกรงุ เทพมหานครกาหนด
(5) กองอานวยการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยสานักงานเขต (กอปภ.สนข.)
ทาหนาที่รับผิดชอบและปฏิบัติหนาที่ในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตของตน
และมีหนาที่ชวยเหลือผูอานวยการกรุงเทพมหานครตามท่ีไดรับมอบหมาย โดยใหสวนราชการและหนวยงาน
ของกรงุ เทพมหานคร รวมท้ังภาคเอกชนท่ีอยูในเขตพื้นท่ีรวมปฏิบัติงานในกองอานวยการปูองกันและบรรเทา
สาธารณภยั สานักงานเขต
(6) กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ (กอปภ.อ.)
ทาหนาท่ีอานวยการ ควบคุม สนับสนุน และประสานการปฏิบัติกับองค์กรปกครองสวนทองถ่ิน
ในเขตพน้ื ที่รบั ผิดชอบในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย และปฏิบัติงานตามท่ีผูวาราชการจังหวัดหรือกองอานวยการ
ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดมอบหมาย โดยมีนายอาเภอ/ผูอานวยการอาเภอ เป็นผูอานวยการ
ทงั้ นี้ ใหม ีการจัดประชมุ กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยอาเภอ อยางนอ ยปีละ 2 ครง้ั
(7) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เมืองพทั ยา (กอปภ.เมืองพัทยา)
ทาหนาทีอ่ านวยการ ควบคุม ปฏิบัตกิ ารปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั เผชิญเหตุและแจงเตือนภัย
เมื่อเกิดสาธารณภัยข้ึน พรอมทั้งจัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยของเมืองพัทยา
ใหสอดคลองกับแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดและแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
อาเภอ รวมถึงมีหนาที่ชวยเหลือผูอานวยการจังหวัดและผูอานวยการอาเภอตามที่ไดรับมอบหมาย พรอมท้ัง
สนับสนุนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหองค์กรปกครองสวนทองถ่ินซึ่งมีพ้ืนท่ีติดตอหรือใกลเคียง
แผนปฏบิ ัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 31
หรือเขตพื้นที่อ่ืนเมื่อไดรับการรองขอ โดยมีนายกเมืองพัทยาผูอานวยก/ารเมืองพัทยา เป็นผูอานวยการ ทั้งน้ี ใหมีการ
จดั ประชุมกองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยเมืองพทั ยา อยางนอ ยปลี ะ 2 คร้งั
(8) กองอานวยการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.)
ทาหนาทอ่ี านวยการ ควบคมุ ปฏิบัติการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชญิ เหตุและแจงเตือนภัย
เม่ือเกิดสาธารณภัยข้ึน พรอมทั้งจัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาล
ใหสอดคลองกับแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
อาเภอ รวมถึงมีหนาที่ชวยเหลือผูอานวยการจังหวัดและผูอานวยการอาเภอตามที่ไดรับมอบหมาย พรอมทั้ง
สนับสนุนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหองค์กรปกครองสวนทองถิ่นซึ่งมีพ้ืนที่ติดตอหรือใกลเคียง
หรือเขตพ้ืนที่อ่ืนเม่ือไดรับการรองขอ โดยมีนายกเทศมนตรี/ผูอานวยการเทศบาล เป็นผูอานวยการ ทั้งนี้ ใหมีการจัด
ประชมุ กองอานวยการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล อยา งนอยปีละ 2 ครงั้
(9) กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลุง
ทาหนาที่อานวยการ ควบคุม ปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เผชิญเหตุและแจงเตือนภัย
เมื่อเกิดสาธารณภัยข้ึน พรอมท้ังจัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การบริหาร
สว นตาบลใหสอดคลองกับแผนการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด และแผนการปูองกันและบรรเทาสา
ธารณภัยอาเภอ รวมถึงมีหนาที่ชวยเหลือผูอานวยการจังหวัดและผูอานวยการอาเภอตามที่ไดรับมอบหมาย
พรอมท้ังสนับสนุนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหองค์กรปกครองสวนทองถ่ินซึ่งมีพ้ืนท่ีติดตอหรือใกลเคียง
หรือเขตพ้ืนที่อื่นเมื่อไดรับการรองขอ โดยมีนายกองค์การบริหารสวนตาบล/ผูอานวยการองค์การบริหาร
สวนตาบลเป็นผูอานวยการ ท้ังนี้ ใหมีการจัดประชุมกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การ
บรหิ ารสว นตาบล อยา งนอ ยปีละ 2 ครงั้ และมอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้
กองอานวยการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโคกสลงุ
ประกอบดว้ ย
1. นายกองคก์ ารบรหิ ารสว นตาบลโคกสลุง ผอู านวยการทองถ่ิน
2. รองนายกองค์การบริหารสว นตาบลโคกสลุง ทีน่ ายก ฯ มอบหมาย รองผูอานวยการ ฯ
3. ปลัดองคก์ ารบรหิ ารสว นตาบลโคกสลงุ ผูชว ยผอู านวยการ ฯ
4. ผอู านวยการกองคลัง กรรมการ
5. ผูอ านวยการกองชาง กรรมการ
6. ผูอานวยการกองการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม กรรมการ
7. หัวหนาฝาุ ยบริหารงานทวั่ ไป กรรมการ
8. กานัน ผใู หญบ าน และผูนาชมุ ชน กรรมการ
9. ผูแทนหนวยงานของรฐั ทนี่ ายอาเภอพัฒนานคิ มมอบหมาย กรรมการ
10. ผูแทนโรงเรียน/สถานศกึ ษาทกุ แหง กรรมการ
11. ผูแทนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาบลทกุ แหง กรรมการ
12. ตวั แทน อปพร.อบต.โคกสลงุ กรรมการ
13. หวั หนาสานกั ปลดั กรรมการและเลขานกุ าร
14. เจาพนกั งานปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั หรอื ผทู ไ่ี ดรับมอบหมาย ผชู ว ยเลขานกุ าร
หมายเหตุ อาจปรับเปลี่ยนและเปล่ียนแปลงกรรมการไดตามที่นายอาเภอพฒั นานคิ มเสนอแนะ และ
สถานการณ์ความพรอมของหนว ยงานทเี่ กย่ี วของในพน้ื ที่
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 32
อานาจหนา้ ที่
1. จัดทาแผนปฏิบัติการในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองสวนทองถ่ิน และแผน
ท่ีเก่ียวของเพ่ืออานวยการ ประสานงาน และสนับสนุนการปฏิบัติในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
ขององค์กรปกครองสว นทอ งถิ่น
2. กาหนดแนวทางปฏบิ ตั ิเพือ่ ลดความเส่ียงจากสาธารณภัย การเตรียมพรอมรับมือกับสาธารณภัย เชน จัดใหมี
การฝกึ การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ตน
3. จัดต้ังทีมเฝูาระวัง ติดตาม ประเมินและวิเคราะห์สถานการณ์สาธารณภัย และแจงเตือนภัยเมื่อเกิด
หรือคาดวาจะเกิดสาธารณภัยข้ึนในเขตพื้นท่ี และใหจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉนทองถ่ิน เพื่อควบคุม
และบญั ชาการ การเผชญิ เหตสุ าธารณภัยในพื้นท่ี
4. รวบรวม จัดทาคลงั ขอมูลทรพั ยากรในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย และฐานขอมูลความเสี่ยงภัย
ในพืน้ ที่ อปท.
5. ชว ยเหลือผอู านวยการจังหวัดและผอู านวยการอาเภอตามทีไ่ ดรบั มอบหมาย
6. สนับสนุนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยใหแกองค์กรปกครองสวนทองถ่ินแหงพ้ืนท่ีหรือพ้ืนที่
ใกลเ คียงเม่ือไดรบั การรอ งขอ
แผนภาพที่ 3-2 กลไกการจัดการความเสยี่ งจากสาธารณภยั
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 33
3.3 บทบาท หนา้ ท่ี และแนวทางปฏบิ ตั ริ ว่ มกับหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งระดบั อปท.
3.3.1 การปฏิบตั ริ ว่ มกบั อาเภอและจงั หวัด
(1) จัดเจาหนาที่ประสานอาเภอและจังหวัด ในชวงระยะขณะเกิดภัย พรอมทั้งรายงานสถานการณ์
สาธารณภยั ทเี่ กดิ ขนึ้ ตามขอเทเจจริงเปน็ ระยะๆ
(2) กรณีสถานการณ์สาธารณภัยมีความรุนแรงใหประสานขอกาลังสนับสนุนจากกองอานวยการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภยั อาเภอ/จังหวัด ตามลาดบั
3.3.2 การปฏบิ ัตริ ่วมกับองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ข้างเคียง
(1) เมื่อเกิดสาธารณภัยข้ึนในเขตพื้นที่ของ องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง และสาธารณภัยมีความ
รุนแรงขยายเปน็ วงกวาง ใหผ ูอ านวยการทอ งถิน่ องคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลโคกสลุง รายงานผอู านวยการอาเภอ
พรอมทั้งประสานกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเขาพญาเดินธง องค์การบริหารสวน
ตาบลมะนาวหวาน องคก์ ารบรหิ ารสวนตาบลมวงคอมใหสนับสนนุ การปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยทีเ่ กดิ ขึน้
(2) เม่ือเกิดสาธารณภัยขึ้นในเขตพ้ืนที่ของเทศบาลเขาพญาเดินธง องค์การบริหารสวนตาบลมะนาว
หวาน องค์การบริหารสวนตาบลมวงคอม ใหผูอานวยการศูนย์ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์การ
บริหารสว นตาบลโคกสลุงใหก ารสนับสนุนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยท่ีเกิดขึ้น เพ่ือเป็นการบูรณาการ
และการประสานการปฏิบัติงานรว มกนั
3.3.3 การปฏิบตั ริ ว่ มกับหนว่ ยทหารในพืน้ ท่ี
ในการปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยรวมระหวางพลเรือนกับทหารนั้น จะตองมีการ
ประสานงานกันอยางใกลชิด เพื่อเป็นการสนับสนุนการจัดการสาธารณภัยของกองอานวยการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัยองค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินทองถ่ิน องค์การบริหาร
สวนตาบลโคกสลุง กับ หนวยบัญชาการสงครามพิเศษ คายเอราวัณ / หนวยทหารจากสนามฝึกใชอาวุธทาง
อากาศชยั บาดาล จงั หวดั ลพบุรี (สงั กดั กองบิน 2) เปน็ ตน ท้ังน้ี ฝาุ ยทหารอาจพิจารณาจัดต้ังศูนย์ประสานงาน
หรือศูนย์ปฏิบัติงานรวมระหวางพลเรือนกับทหาร ขึ้นอยูกับระดับของหนวยและสถานการณ์สาธารณภัยนั้นๆ
โดยมีแนวทางปฏิบตั ิสอดคลองกับแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงกลาโหม แผนการปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2564 และขอตกลงวาดวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระหวางผูอานวยการจังหวัดกับหนวยงานทหารในพื้นท่ี ทั้งนี้รายละเอียดการแบงมอบพ้ืนท่ีในการชวยเหลือ
ผูประสบภัยพบิ ตั ิของหนว ยทหาร
3.3.4 การปฏบิ ัติรว่ มกบั ภาคประชาสงั คม เอกชน และองค์การสาธารณกุศล
กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง เป็นศูนย์กลาง
ในการประสานการปฏิบัติในเขตรับผิดชอบตลอด 24 ชั่วโมง เพ่ือใหสามารถติดตอประสานงาน สั่งการ
รายงานการปฏิบัติ และสถานการณ์ระหวางทุกหนวยงานที่เก่ียวของไดอยางตอเนื่อง รวดเรเว และเช่ือถือได โดยมี
แนวทางปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
(1) จัดเจาหนาท่ีประสานงานกับศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง (กรณี
เกิดสาธารณภัย) เพื่อรวมปฏิบัติการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย และการชวยเหลือสงเคราะห์ผูประสบภัยให
เปน็ ไปอยา งมเี อกภาพ
(2) จัดทาแผนประสานงานกับองค์การสาธารณกุศล และใหองค์การสาธารณกุศล ในจังหวัด
จดั เจา หนา ที่ประสานงานกับ องค์การบริหารสว นตาบลโคกสลงุ ตลอด 24 ชั่วโมง พรอมอุปกรณ์และบุคลากรที่สามารถ
ปฏิบัตภิ ารกิจได
(3) องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง และโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจาตาบล รวมกับ
องค์การสาธารณกุศลจัดทาแนวทางปฏิบัติในการสนับสนุนทรัพยากร เจาหนาท่ี อุปกรณ์ และเคร่ืองมือ เพ่ือ
การปฏิบตั ิงานขององค์กรปฏบิ ตั ิในการจดั การสาธารณภยั แตล ะระดับ
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 34
(4) กรณีท่ีเม่ือเกิดสาธารณภัยข้ึน ถาองค์การสาธารณกุศลไปถึงพ้ืนท่ีประสบภัยกอน เจาหนาที่
ผูรับผดิ ชอบ ใหก้นั เขตพ้นื ท่อี ันตรายและกันไมใ หผทู ีไ่ มเ กี่ยวขอ งเขา ไปยังพื้นท่ีอันตราย พรอมทั้งแจงหนวยงาน
หรือเจาหนาทผ่ี ูรับผดิ ชอบโดยทนั ที เพอ่ื ดาเนนิ การควบคุมสถานการณส์ าธารณภัย
(5) กรณีท่ีไดรับการประสานจาก องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง หรือหนวยงานที่รับผิดชอบ
เชน ตารวจ เทศบาล เปน็ ตน ใหอ งค์การสาธารณกศุ ลจัดชุดเคลื่อนท่ีเรเวออกไปยังที่เกิดเหตุ และใหรายงานตัว
ทศ่ี ูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉนิ องคก์ ารบริหารสว นตาบลโคกสลุง หรือผูอานวยการทองถ่ิน เพ่ือรับมอบหมายภารกิจ
ในการปฏบิ ัติการ
(6) กรณีหลังเกิดสาธารณภัย ใหองค์การสาธารณกุศล องค์กรเอกชน ชวยเหลือ เจาหนาท่ี
หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการรักษาความปลอดภัยในสถานท่ีเกิดเหตุ และพื้นที่รองรับการอพยพ ประสาน
หนวยแพทย์และพยาบาล อีกทั้งใหการรักษาพยาบาลเบื้องตนแกผูประสบสาธารณภัย พรอมทั้งลาเลียง
ผูไ ดรับบาดเจเบสง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจาตาบล โรงพยาบาลประจาอาเภอ รวมทั้งอพยพชวยเหลือ
ผูประสบสาธารณภัยไปยงั ทป่ี ลอดภัยหรอื พนื้ ที่รองรับการอพยพ
ตารางที่ 3-1 : รายนามภาคประชาสงั คม และองคก์ ารสาธารณกศุ ลในพืน้ ท่ีองคก์ ารบริหารส่วนตาบล
โคกสลงุ
ลาดบั ที่ รายนามภาคประชาสังคม โทรศัพท์/โทรสาร รายชื่อผู้ประสานงาน
และองค์การสาธารณกศุ ล
1. ชมชรมกานันผูใหญบาน ตาบล 08-1293-9982 นายตกิ เงนิ สลุง
โคกสลงุ (กานนั ตาบลโคกสลุง)
2. ชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติ 08-3535-3593 นายนฤพนธ์ เฉลิมกจิ
อบต. โคกสลงุ
3. มลู นธิ ิรวมกตัญญู อ.พฒั นานคิ ม 09-2404-1669 องค์กรภาคเอกชน
4. .....................................................
3.4 ขอบเขตสาธารณภยั
ขอบเขตสาธารณภัยตามแผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติฉบับน้ี ใหเป็นไปตามความหมาย
“สาธารณภยั ” ตามมาตรา 4 แหงพระราชบญั ญตั ิปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ดงั น้ี
“อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง โรคระบาดในมนุษย์ โรคระบาดสัตว์ โรคระบาดสัตว์น้า
การระบาดของศัตรูพืช ตลอดจนภัยอ่ืน ๆ อันมีผลกระทบตอส าธารณชน ไมวาเกิดจากธรรมชาติ
มีผูทาใหเกิดข้ึน อุบัติเหตุ หรือเหตุอ่ืนใด ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกชีวิต รางกายของประชาชน
หรือความเสียหายแกทรพั ย์สนิ ของประชาชน หรือของรัฐ และใหหมายความรวมถึงภัยทางอากาศ และการกอ
วนิ าศกรรมดว ย”
แผนปฏิบตั ิการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 35
3.5 ระดับการจดั การสาธารณภยั
ระดับการจัดการสาธารณภัยแบงเป็น 4 ระดับ ท้ังนี้ ข้ึนกับพ้ืนที่ ประชากร ความซับซอน หรือ
ความสามารถในการจัดการสาธารณภัย ตลอดจนศักยภาพดานทรัพยากร ท่ีผูมีอานาจตามกฎหมายใชดุลย
พนิ ิจในการตัดสินใจเกี่ยวกบั ความสามารถในการเขาควบคุมสถานการณเ์ ป็นหลัก ดังน้ี
ระดบั การจดั การ ผมู้ อี านาจตามกฎหมาย
1 สาธารณภยั ขนาดเลเก ผอู านวยการอาเภอ ผอู านวยการทอ งถน่ิ และ/หรือ
ผชู วยผอู านวยการกรุงเทพมหานคร ควบคุม และสั่งการ
2 สาธารณภยั ขนาดกลาง ผอู านวยการจงั หวัด หรือผูอ านวยการกรุงเทพมหานคร
ควบคมุ สง่ั การ และบญั ชาการ
3 สาธารณภยั ขนาดใหญ ผูบญั ชาการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ
ควบคมุ สง่ั การ และบญั ชาการ
4 สาธารณภัยรา ยแรงอยางยิ่ง นายกรฐั มนตรหี รอื รองนายกรฐั มนตรที ่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย
ควบคุม สั่งการ และบญั ชาการ
เมื่อเกิดหรือคาดวาจะเกิดสาธารณภัยข้ึนในพื้นที่องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุง นายกองค์การ
บริหารสวนตาบลโคกสลุง ในฐานะผูอานวยการทองถ่ินตามพระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2550 มาตรา 20 จะเขาดาเนินการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขตพื้นท่ีโดยเรเวเป็นลาดับแรก มี
อานาจส่ังการ ควบคมุ และกากบั ดูแลการปฏิบตั หิ นา ทขี่ องเจา พนกั งานและอาสาสมัคร รวมท้ังติดตามสถานการณ์ท่ี
เกิดขึ้น ประเมินโอกาสการขยายความรุนแรงของภัย เพ่ือรายงานนายอาเภอใหเสนอตอผูวาราชการจังหวัด
พจิ ารณาประกาศหรอื ยกระดับของภัยจากสาธารณภยั ขนาดเลกเ เปน็ สาธารณภัยขนาดกลางตอ ไป
3.6 กฎหมายและระเบียบทเี่ ก่ยี วข้องกบั การจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภัย
พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายหลักในการจัดการความ
เสี่ยงจากสาธารณภัยของประเทศ โดยมีกฎหมาย/ ระเบียบ/ ประกาศ/ คาสั่งอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของสนับสนุนการจัดการ
ความเส่ียงจากสาธารณภัย ดังนี้
3.6.1 กฎหมายหลัก
พระราชบัญญัติปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และอนุบัญญัติท่ีเก่ียวของ รวม 9 ฉบับ
ไดแก
(1) กฎกระทรวงกาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีการชดเชยความเสียหายแกผูเสียหายจากการบาบัดภยันตราย
จากสาธารณภยั พ.ศ. 2554
(2) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วา ดวยกจิ การอาสาสมคั รปูองกันภัยฝุายพลเรอื น พ.ศ. 2553
(3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหลักเกณฑ์การแตงต้ังและการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงาน
ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2553
(4) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยหลักเกณฑ์เก่ียวกับการออกหนังสือรับรองกรณีผูประสบภัย
หรอื เจาของหรอื ผูครอบครองทรัพยส์ ิน รอ งขอหลักฐานเพอ่ื รับการสงเคราะห์ หรอื บรกิ ารอื่นใด พ.ศ. 2552
(5) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยเครื่องแบบ เคร่ืองหมาย และบัตรประจาตัวเจาพนักงานปูองกัน
และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2554
(6) ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย วาดวยคาใชจายเพื่อชวยเหลือประชาชนตามอานาจหนาท่ีขององค์กร
ปกครองสว นทอ งถ่ิน พ.ศ. 2560 และทแี่ กไ ขเพ่ิมเตมิ
แผนปฏิบตั กิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 36
(7) ระเบียบคณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหงชาติ วาดวยคาใชจายของอาสาสมัคร
ในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2560
(8) ประกาศกรมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั เรื่องแบบหนงั สอื รับรองผปู ระสบภัย
(9) ประกาศกรมปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการใชจาย
เงินทดรองราชการในเชิงปูองกนั หรือยบั ยงั้ ภัยพิบตั ิกรณีฉุกเฉิน
3.6.2 กฎหมาย/ ระเบยี บ/ ประกาศ/ คาสั่ง ท่ีสาคัญเพ่อื การสนบั สนนุ การจัดการความเสย่ี งจากสาธารณภัย
(1) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
และระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีทเี่ กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่
(1.1) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการปูองกันอุบัติภัยแหงชาติ พ.ศ. 2538 และท่ีแกไข
เพม่ิ เติม
(1.2) ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี วาดว ยการประสานงานดานสาธารณูปโภค พ.ศ. 2540
(1.3) ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรับบริจาคและการใหความชวยเหลือผูประสบ
สาธารณภยั พ.ศ. 2542
(1.4) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการปูองกันและขจัดมลพิษทางน้าเน่ืองจากน้ามัน พ.ศ.
2547
(1.5) ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรี วาดวยการบริหารทรพั ยากรนา้ แหงชาติ พ.ศ. 2561
(1.6) ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรี วา ดว ยการบริหารระบบการเตือนภยั พิบตั ิแหง ชาติ พ.ศ. 2552
และทแี่ กไ ขเพิ่มเตมิ
(1.7) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการเร่ียไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2544 และที่แกไข
เพิ่มเติม
(1.8) ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี วาดวยคณะกรรมการบริหารสินเชื่อเกษตรแหงชาติ พ.ศ.
2541
(2) ระเบียบกระทรวงการคลงั ที่เกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่
(2.1) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินทดรองราชการเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยพิบัติกรณี
ฉุกเฉิน พ.ศ. 2562
- หลักเกณฑ์การใชจา ยเงนิ ทดรองราชการเพ่ือชว ยเหลือผปู ระสบภัยพิบัติกรณฉี ุกเฉิน พ.ศ. 2563
(2.2) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินทดรองราชการเพื่อชวยเหลือคนไท ยใน
ตา งประเทศ พ.ศ. 2562
(2.3) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดว ยเงนิ ทดรองราชการเพ่ือใชจายกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็น
ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ พ.ศ. 2562
(2.4) ระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยการจายเงินทดรองราชการเพ่ือการปูองกันและขจัด
ภาวะมลพิษทางทะเลเน่ืองจากนา้ มนั พ.ศ. 2527
(3) พระราชบญั ญตั ิ/ ระเบยี บ ประกาศ/ คาส่ังอ่นื ๆ
(3.1) พระราชบญั ญตั กิ องอาสารกั ษาดินแดน พ.ศ. 2497
(3.2) พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉิน พ.ศ. 2548
(3.3) พระราชบญั ญตั กิ ักพชื พ.ศ. 2507
(3.4) พระราชบญั ญตั กิ าชาด พ.ศ. 2499
(3.5) พระราชบัญญตั ลิ กั ษณะปกครองทองที่ พระพุทธศกั ราช 2457
(3.6) พระราชบัญญตั ิจดั รปู ท่ีดินเพอ่ื เกษตรกรรม พ.ศ. 2558
(3.7) พระราชบัญญัตสิ งเคราะหผ์ ูป ระสบภยั เน่ืองจากการชว ยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติ
หรอื การปฏบิ ัติตามหนาท่ีมนุษยธรรม พ.ศ. 2543
แผนปฏบิ ตั ิการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หน้า 37
(3.8) พระราชบญั ญัติทางหลวง พ.ศ. 2535
(3.9) พระราชบัญญัติทางหลวงสัมปทาน พ.ศ. 2542
(3.10) พระราชบัญญัติความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการงาน พ.ศ. 2554
(3.11) พระราชบัญญัติสงเคราะห์ขาราชการ ผูไดรับอันตรายหรือการปุวยเจเบเพราะเหตุ
ปฏบิ ตั ิราชการ พ.ศ. 2546
(3.12) พระราชบัญญตั จิ ดั ระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.2551
(3.13) พระราชบัญญัติการรกั ษาความม่นั คงภายในราชอาณาจกั ร พ.ศ. 2551
(3.14) พระราชบญั ญตั ิสง เสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ ม พ.ศ. 2535
(3.15) พระราชบัญญตั คิ วบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522
(3.16) พระราชบัญญัตโิ รคติดตอ พ.ศ. 2558
(3.17) พระราชบญั ญัตโิ รคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558
(3.18) พระราชบัญญตั ิโรคพษิ สุนัขบา พ.ศ. 2535
(3.19) พระราชบญั ญัติวตั ถุอนั ตราย พ.ศ. 2535
(3.20) พระราชบญั ญตั ิพลังงานนิวเคลยี ร์เพือ่ สนั ติ พ.ศ. 2559
(3.21) พระราชบญั ญัตคิ วบคมุ ยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530
(3.22) พระราชบัญญัติอาวุธปืน เคร่ืองกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และส่ิงเทียมอาวุธปืน
พ.ศ. 2490
(3.23) พระราชบญั ญัตวิ า ดว ยความผดิ บางประการตอการเดนิ อากาศ พ.ศ. 2558
(3.24) พระราชบญั ญตั ิองคก์ ารบรหิ ารสวนตาบล พ.ศ. 2537
(3.25) พระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ. 2496
(3.26) พระราชบัญญัตอิ งคก์ ารบริหารสว นจังหวัด พ.ศ. 2540
(3.27) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2528
(3.28) พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารเมืองพัทยา พ.ศ. 2542
(3.29) พระราชบญั ญตั ิการชลประทานหลวง พ.ศ. 2485
(3.30) พระราชบัญญตั ิทรัพยากรนา้ พ.ศ. 2561
(3.31) พระราชบัญญัติการรกั ษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล พ.ศ. 2562
(3.32) พระราชบัญญัตคิ วามรับผดิ ทางแพง ตอ ความเสยี หายจากมลพิษน้ามันอันเกิดจากเรอื พ.ศ.2560
(3.33) พระราชบัญญตั กิ ารชวยเหลือกูภัยทางทะเล พ.ศ. 2550
(3.34) พระราชบญั ญัตสิ าธารณสุข พ.ศ. 2535
(3.35) พระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535
(3.36) พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. 2522
(3.37) พระราชบัญญัตกิ ารขนสงทางบก พ.ศ.2522
(3.38) พระราชบัญญัตกิ ารนคิ มอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย พ.ศ. 2522
(3.39) พระราชบัญญตั ิโรงแรม พ.ศ.2535
(3.40) พระราชบญั ญตั ิสถานบรกิ าร พ.ศ.2509
(3.41) พระราชบญั ญตั ิการชลประทานหลวง พ.ศ.2485
(3.42) พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบรอยของบานเมือง พ.ศ.
2535
แผนปฏิบัตกิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 38
บทที่ 4
การปฏบิ ตั กิ อ่ นเกดิ ภัย
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การมุง่ เน้นการลดความเสยี่ งจากสาธารณภัย
การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยเป็นแนวคิดและวิธีปฏิบัติในการลดโอกาสของความ
รุนแรงและผลกระทบท่ีเกิดจากสาธารณภัยไดดวยการประเมินความเส่ียง เพื่อนามากาหนดนโยบาย แผน และ
มาตรการเพ่ือแกไขตนเหตุของปัญหาในการลดความเสี่ยงที่เกิดแกชุมชนและสังคม โดยการมุงเนนการลดความเส่ียงที่มี
อยูเดมิ และปูองกันไมใหเกิดความเสี่ยงใหมดวยการลดความลอแหลม ลดปัจจัยที่ทาใหเกิดความเปราะบาง
และเพิ่มศักยภาพในการจัดการใหสังคมมีความพรอมในการเผชิญเหตุ และฟ้ืนฟูใหดีกวาและปลอดภัยกวาเดิม
อันนาไปสู การรูรับ – ปรับตวั – ฟื้นตัวเรวเ – อยา งย่งั ยืน (Resilience)
ความเส่ียงจากสาธารณภัย (Disaster Risk) หมายถึง โอกาสที่สาธารณภัยทาใหเกิดการ
สญู เสียตอชีวิต รางกาย ทรพั ยส์ ิน ความเป็นอยูแ ละภาคบริการตางๆในชุมชนใดชุมชนหนึ่ง ณ หวงเวลาใดเวลาหน่ึง
ในอนาคต ซ่ึงสามารถแทนดวยสมการแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยท่ีเก่ียวของกับความเส่ียง ไดแก ภัยความ
ลอ แหลม ความเปราะบางและศักยภาพ ดังนี้
ความเสย่ี ง (Risk) = ภัย (Hazard) x ความลอ่ แหลม (Exposure) x ความเปราะบาง (Vulnerability)
ศกั ยภาพ (Capacity)
การวิเคราะห์ความเสี่ยง, การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการกาหนด
ลักษณะ ขนาด หรือขอบเขตของความเส่ียงโดยการวิเคราะห์ภัยท่ีเกิดข้ึนและประเมินสภาวะการเปิดรับตอ
ความเสี่ยง (exposure) ความเปราะบาง (Vulnerability) และ ศักยภาพ (Capacity) ในการรับมือของชุมชน
ท่อี าจเป็นอนั ตรายตอชวี ิตและทรพั ยส์ นิ การดารงชีวติ และสิง่ แวดลอ ม เปน็ การวิเคราะห์ความนาจะเป็นในการ
เกิดผลกระทบจากภยั ในพ้ืนทีห่ นง่ึ ๆ มีประโยชนใ์ นการวางแผนเพอ่ื จัดการความเสีย่ งอยา งมีระบบ
ภัย (Hazard) หมายถงึ เหตุการณ์ที่เกิดจากธรรมชาติหรือการกระทาของมนุษย์ท่ีอาจนามา
ซ่ึงความสูญเสยี ตอ ชวี ติ ทรัพย์สนิ ตลอดจนทาใหเกิดผลกระทบทางเศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดลอม
ความล่อแหลม (Exposure) หมายถึง การท่ีผูคน อาคารบานเรือน ทรัพย์สิน ระบบตางๆ
หรอื องค์ประกอบใดๆ มีท่ตี ั้งอยใู นพื้นท่เี สี่ยงและอาจไดรบั ความเสียหาย
ความเปราะบาง (Vulnerability) หมายถึง ปัจจัยหรือสภาวะใดๆ ที่ทาใหชุมชนหรือสังคม
ขาดความสามารถในการปกปูองตนเอง ทาใหไมสามารถรับมือกับสาธารณภัย หรือไมสามารถฟ้ืนฟูไดอยาง
รวดเรวเ จากความเสยี หายอนั เกดิ จากสาธารณภัย ปัจจัยเหลานี้มีอยูในชุมชนหรือสังคมมานานกอนเกิดสาธารณภัย
และอาจเปน็ ปัจจัยทีท่ าใหผ ลกระทบของภยั มีความรุนแรงมากขึน้
ศักยภาพ (Capacity) หมายถึง ความสามารถที่จะกระทาการอยางใดอยางหน่ึง หรือความสามารถ
ทีอ่ าจจะพฒั นาตอ ไปใหเ ป็นประโยชนม์ ากขึ้น
แผนปฏบิ ตั กิ ารในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 39
4.1 แนวคดิ การลดความเสย่ี งจากสาธารณภยั
การลดความเสีย่ งจากสาธารณภัยในแตล ะประเทศไมส ามารถดาเนินการใหบรรลุเปูาหมายได
โดยบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง เนื่องจากสาธารณภัยเป็นเรื่องของคนทุกคน
จึงจาเป็นตองมีการกาหนดแนวทางใหดาเนนิ การลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยรวมกันทุกภาคสวนของประเทศ
ท้ังนี้ ระดับสากลและระดับภูมิภาคไดมีการจัดทากรอบการดาเนินงานเพื่อเป็นแนวทางในการลดความเสี่ยง
จากสาธารณภัยใหเ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล และไดมีการยอมรับแนวคิดในการปฏิบัติการเพ่ือลดความเสี่ยง
จากสาธารณภัย หรือ Disaster Risk Reduction: DRR ขึ้น เพื่อใหเขาใจความเส่ียงจากสาธารณภัย
เสรมิ สรางศกั ยภาพการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภยั ลงทนุ ดานการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยเพ่ือใหมี
ภูมิคุมกันในการพรอมรับมือและฟ้ืนคืนกลับไดอยางรวดเรเว รวมทั้งพัฒนาศักยภาพเพ่ือเตรียมพรอมในการ
เผชิญเหตุสาธารณภัยอยางมีประสิทธิภาพ และการฟ้ืนสภาพและซอมสรางใหดีกวาและปลอดภัยกวาเดิม
ในชวงการฟืน้ ฟู
4.2 เปูาประสงค์
4.2.1 เพ่ือจัดการความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึน โดยการลดความเปราะบาง และความลอแหลม
พรอมทั้งการเพิ่มขีดความสามารถในการเตรียมพรอมรับกับสาธารณภัยท่ีเกดิ ขึ้น
4.2.2 เพ่ือใหมีมาตรการ ใหทุกภาคสวนลดความเส่ียงท่ีมีอยูเดิมและปูองกันไมใหเกิดความ
เส่ียงใหม
4.3 กลยทุ ธ์การม่งุ เนน้ การลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั
กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาและส่งเสรมิ ให้มกี ารประเมินระดับความเส่ียงจากสาธารณภัยท้องถิ่น
(1) แนวทางปฏบิ ตั ิในการประเมินความเสีย่ งจากสาธารณภัยในพืน้ ท่ี
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงมีแนวทางการปฏิบัติในการประเมินความเส่ียงจากสาธารณภัย
ดังน้ี
(1.1) สงเสริมและสนบั สนุนใหม กี ระบวนการประเมินความเสีย่ ง ประกอบดว ย
(1) จัดทาฐานขอมูลเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการสาธารณภัย เชน ฐานขอมูลสถิติ
สาธารณภัย ฐานขอมูลผูประสบภัย ฐานขอมูลเจาหนาท่ีและอาสาสมัคร ฐานขอมูลผูเช่ียวชาญ และฐานขอมูลอ่ืนๆ
ท่ีจาเปน็ เพ่อื ใหพรอมเรยี กใชง านไดทันทเี ม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน และมีการเชื่อมโยงขอมูลทุกภาคสวนในทุกระดับ
โดยกาหนดใหมีขอตกลงระหวางหนวยงานในการขอใชขอมูลที่เป็นประโยชน์ในการประเมินความเสี่ยงจาก
สาธารณภัยรวมกัน เพ่ือใหไดแผนท่ีความเส่ียง (Risk Map) ทั้งน้ี ใหมีการปรับปรุงฐานขอมูลเชิงสถิติเพื่อการ
ประเมินความเสีย่ งจากสาธารณภยั อยางสม่าเสมอ
(1.2) วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยสรางฉากทัศน์/สถานการณ์สมมุติ (Scenario - base risk
assessment) เป็นการใชสถานการณ์หรือสถิติของภัยที่เคยเกิดข้ึนในอดีต เพื่อคนหาความเส่ียงท่ีอาจเกิดขึ้นใน
อนาคต (Future Risk Scenario) หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใหหนวยงานที่เกี่ยวของ และผูมี
ส ว น ได ส ว นเ สี ยใ น พ้ื นที่ น า คว า มรู แ ล ะแ น ว ทา ง ปฏิ บั ติ จากภูมิ ปั ญญาท องถ่ิ นมาปรั บใช ร วมกั บความรู เชิ ง
วทิ ยาศาสตร์ ผนวกกับปัจจยั ทเี่ ก่ยี วของกบั ความเสยี่ งในทุกมติ ิ (Inclusive DRR)
(2) แนวทางปฏบิ ตั ิในการใช้ผลการประเมนิ ความเสย่ี งเพื่อการวางแผน
องค์การบริหารสวนตาบลโคกสลุงวางแผนเพ่ือปูองกันความเสี่ยง แกไขปัญหาความเปราะบาง และ
ความลอแหลมการเตรียมความพรอมและเพิ่มศักยภาพในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยในทุกระดับ โดยนาผล
การประเมินความเสี่ยงมาเป็นแนวทางในการกาหนดแผนงาน/โครงการในการลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยจากทุก
หนวยงานมาใชในการลดความเส่ียงจากสาธารณภัยตามภัยประเภทตางๆ เพื่อจัดลาดับความสาคัญและจัดสรร
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หน้า 40
ทรัพยากร รวมถึงการสรางนวัตกรรมและใชเทคโนโลยีเพ่ือการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัยบรรจุใน
แผนปฏบิ ัตกิ ารในการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองสวนทองถ่ิน และแผนพัฒนาทองถ่ิน
ดงั นี้
ตารางที่ 4-1 : แผนงาน/โครงการในการลดความเสีย่ งจากสาธารณภยั
พน้ื ทแี่ ละระดับความเสย่ี ง แผนงาน/
ประเภทของภัย ระดบั สงู ระดับกลาง ระดบั ตา่ แนวทางการลดความ โครงการในการลด หน่วยงาน แหล่ง
เส่ียงจากสาธารณภยั ความเส่ยี งจาก รับผิดชอบ งบประมาณ
สาธารณภัย
วาตภัย หมูที่ - - 1. จดั ทาฐานขอมูล 1. ดาเนนิ การ 1. อบต. 1. งบประมาณ
1-11 สถติ ิ เพอ่ื นามา เตรียมความพรอม 2. อาเภอ รายจายประจา
วิเคราะหพ์ น้ื ที่เสี่ยงภยั ชดุ ปฏิบัติการ 3. จงั หวดั ปี / งบกลาง
2. วเิ คราะหป์ ัจจัย ชว ยเหลอื ภัยวาต 4.หนวยงาน 2.งบประมาณ
เสีย่ ง และสาเหตขุ อง ภัย ทเ่ี ก่ียวของ อ่นื
การเกิดภยั 2. เตรียมความ
พรอ มดาน
งบประมาณ /
แผนงานงบกลาง
3. เตรียมความ
พรอ มของศูนย์
ชว ยเหลือ
ประชาชน อบต.
อัคคีภยั หมทู ี่ - - 1. จัดทาฐานขอมลู 1. ดาเนินการ 1. อบต. 1. งบประมาณ
1-11 สถติ ิ เพ่อื นามา เตรยี มความพรอ ม 2. อาเภอ รายจา ยประจา
วิเคราะหพ์ ้ืนที่เสี่ยงภยั ชดุ ปฏิบตั กิ าร 3. จังหวัด ปี / งบกลาง
2. วเิ คราะหป์ ัจจัย ชว ยเหลือภัยวาต 4.หนวยงาน 2.งบประมาณ
เสี่ยง และสาเหตขุ อง ภยั ท่ีเก่ียวของ อน่ื
การเกดิ ภัย 2. เตรยี มความ
พรอมดา นเครื่องมือ
เพ่อื การชวยเหลือ
สาธารณภยั
3. เตรียมความ
พรอ มของศูนย์
ชว ยเหลือ
ประชาชน อบต.
แผนปฏบิ ัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.โคกสลุง พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 41
พน้ื ที่และระดับความเสี่ยง แผนงาน/
ประเภทของภัย ระดบั สงู ระดบั กลาง ระดับตา่ แนวทางการลดความ โครงการในการลด หนว่ ยงาน แหล่ง
เสย่ี งจากสาธารณภัย ความเสี่ยงจาก รบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
สาธารณภยั
ภัยแลง หมูที่ - - 1. จัดทาฐานขอมลู โครงสราง 1. อบต. 1. งบประมาณ
1-11 สถติ ิ เพอ่ื นามา 1. โครงการพัฒนา 2. อาเภอ รายจายประจา
วิเคราะห์พ้นื ท่เี สย่ี ง แหลง น้ารวมกับ 3. จังหวดั ปี / งบกลาง
ภยั หนวยงานอ่นื 4.หนว ยงาน 2.งบประมาณ
2. วเิ คราะหป์ จั จัย 2. การขดุ เจาะบอ ทีเ่ กย่ี วของ อืน่
เสีย่ ง และสาเหตขุ อง บาดาล
การเกิดภยั 3. โคงการขดุ ลอกคู
คลอง หวยสาธารณะ
4. โครงการขยาย
ระบบประปา
ไมใ ชโครงสราง
1. การแกไ ขปัญหา
เฉพาะหนา เชน
การชว ยเหลอื
ประชาชนดานน้า
อปุ โภคบรโิ ภค
2. ขอรบั การ
สนับสนุนจาก
หนวยงานอื่น เชน
อบจ.ลพบรุ ี
โรคระบาด (คน) หมูที่ - - 1. รวมบูรณาการกับ โครงสรา ง 1. อบต. 1. งบประมาณ
(โควดิ -19) 1-11 หนวยงานอ่นื กาหนด 1. แผนงาน 2. อาเภอ รายจา ยประจา
มาตรการปูองกัน เฝูา สาธารณสุข จดั หา 3. จงั หวดั ปี / งบกลาง
ระวงั วสั ดุ อปุ กรณ์ 4.หนวยงาน 2.งบประมาณ
2. สรา งความเขา ใจ 2. แผนงาน สปสช. ท่เี กยี่ วของ อ่ืน
กับประชาชน 3. แผนงานงบกลาง
ไมใชโ ครงสรา ง
1. รบั การสนบั สนุน
การดาเนินงานจาก
หนว ยงานอื่น
2. บรู ณาการ
รวมกับหนวยงาน
อ่ืนในการเฝูาระวัง
ปอู งกัน
แผนปฏิบัติการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 42
พื้นท่แี ละระดับความเสย่ี ง แผนงาน/
ประเภทของภัย ระดบั สงู ระดับกลาง ระดับตา่ แนวทางการลดความ โครงการในการลด หน่วยงาน แหล่ง
เส่ียงจากสาธารณภัย ความเสีย่ งจาก รบั ผิดชอบ งบประมาณ
สาธารณภยั
ภัยจากการ หมทู ่ี 4 หมทู ่ี 1, - 1. การกาหนดจุด ใชโ ครงสรา ง 1. อบต. 1. งบประมาณ
คมนาคมและ 8, 9 2, 3, 5,
ขนสง และ 6, 7, เสีย่ งของการเกดิ 1. โครงการรณรงค์ 2. อาเภอ รายจา ยประจา
อบุ ตั ิเหตทุ างถนน ปูองกันอบุ ัตเิ หตุทาง 3. จังหวดั ปี
10 และ 11 2. วเิ คราะห์ปัจจัยเส่ยี ง ถนนชว งเทศกาล 4.หนว ยงาน 2.งบประมาณ
และสาเหตุของการเกิด สาคัญ ทเ่ี กยี่ วของ อ่นื
ภยั 2. โครงการปรับปรุง
ถนน
3. โครงการกอสราง
ถนน คสล. /ลาดยาง
ไมใชโ ครงสราง
1.โครงการอบรมให
ความรู วินัยจราจร
แกป ระชาชน
กลมุ เปาู หมาย
2. รณรงค์การสวม
หมวกนิรภัย/คาด
เขเมขดั นิรภัย
3. สง เสริม
มาตราการตรวจจบั
กวดขันวินยั จราจร
4. กิจกรรมประชุม
หนวยงานทีเ่ ก่ียวขอ ง
เพือ่ รว มวเิ คราะหจ์ ดุ
เสีย่ ง
5. กิจกรรมประชมุ
หนวยงานท่ีเกยี่ วขอ ง
เพอื่ รวมวิเคราะห์
ปัจจยั เส่ยี ง และ
สาเหตุของการเกิดภัย
6.กจิ กรรมประชมุ
หนวยงานท่เี กีย่ วขอ ง
เพ่ือจัดทาแผนท่ีเสย่ี ง
ภยั ระบเุ สน ทางทเ่ี กดิ
อบุ ัติเหตซุ ้าซาก
ฯลฯ
แผนปฏบิ ัติการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ของ อบต.โคกสลงุ พ.ศ. 2564-2570 หนา้ 43