(Concept) แนวคิดในการออกแบบตราสัญลักษณ์ ตราสัญลักษณ์ประกอบด้วยรูปทรงจั่วปลายยอดแหลมผสมลายกระจังอ้อยซ้อนกัน ๔ ชั้น สื่อถึงอัตลักษณ์ ด้านสถาปัตยกรรมของชาติและมุ่งเป้าสู่การอนุรักษ์เผยแพร่ส่งเสริมและเชิดชูศิลปวัฒนธรรมไทยส่วนกลางของตราสัญลักษณ์ มีลายดอกประจำยามที่มีกลีบดอกกระจายออกไปทั้ง ๔ ทิศสื่อถึงความเจริญงดงามของสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏแห่งประเทศไทยที่แผ่ไพศาลไปทุกทิศ ภาพรวมของตราสัญลักษณ์มีสัณฐานรูปทรงหยดนํ้าสื่อถึงการรวมนํ้าใจ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทยที่มุ่งมั่นในการส่งเสริม อนุรักษ์ เผยแพร่ เชิดชูและธำ รงศิลปวัฒนธรรมไทย และเหมือนฝนทิพย์แห่งงานศิลปวัฒนธรรมที่พร้อมใจกันโปรยปรายให้มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกิดความชุ่มฉํ่าทั้งประเทศ ลายเส้นทั้ง ๔ เส้น แทนความหมายดังนี้ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย เชิดชูศิลปวัฒนธรรมไทย สีส้ม หมายถึง แสงสว่างความเจริญรุ่งเรือง สีทอง หมายถึง ความเลิศลํ้าคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมไทย สีดำ หมายถึง ความหนักแน่นความเป็นปึกแผ่นทางศิลปวัฒนธรรมไทย การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 1
สารจากประธาน สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย สภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทยดำ เนินการจัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างภาคี เครือข่ายสำนัก/สถาบัน/ศูนย์/กลุ่มงานด้านศิลปและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ ๓๘ แห่ง โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริม อนุรักษ์ เผยแพร่บูรณาการศาสตร์ทางด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการวิจัยและการบริการวิชาการแก่ชุมชนสามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน การประชุมสามัญประจำ ปีสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๓ ประจำ ปี ๒๕๖๗ จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๐ – ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๗ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยมีกิจกรรม ดังนี้ ๑). การลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) ความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรม ระหว่างกรมส่งเสริมวัฒนธรรมกับสภาศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ๒). พิธีมอบรางวัล“ราชภัฏคุณากร”และ พิธีมอบรางวัล“ภูมิราชภัฏ” ๓). เสวนาวิชาการ เรื่อง “ยกระดับSoftPowerอาหารพื้นบ้านเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและเศรษฐกิจสร้างสรรค์” ในนามสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ที่ให้เกียรติเป็นเจ้าภาพในการจัดงานครั้งนี้ขอขอบคุณที่ปรึกษาและคณะกรรมการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏแห่งประเทศไทยที่ได้ร่วมกันขับเคลื่อนและจัดการประชุมสามัญประจำปี๒๕๖๗ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยตลอดจน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกจงดลบันดาลให้ทุกท่านและการจัดงานครั้งนี้ประสบผลสำ เร็จมีความสุขความเจริญตลอดไป (ดร.ทวิพัฒน์ วิจิตรปัญญารักษ์) ประธานสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย 2 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
สมาชิกและเครือข่าย การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 3
คณะกรรมการที่ปรึกษาสภา 4 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
คณะกรรมการบริหารสภา การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 5
ทำ เนียบประธานสภา 6 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ยุทธศาสตร์สภาศิลปะฯ ๕ ปี (๒๕๖๕-๒๕๖๙) ปรัชญา ศิลปวัฒนธรรมคือมรดกของชาติเป็นรากฐานพัฒนาชีวิตและสังคมอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำ และศูนย์กลางเครือข่ายในการขับเคลื่อนงานด้านศิลปวัฒนธรรมสู่การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ เสริมสร้างค่านิยมความเป็นไทย ๑. เสริมสร้างค่านิยมความเป็นไทยในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. เสริมสร้างค่านิยมหลักและคุณลักษณะที่ดีของคนไทยสู่การสร้างภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก ๓. สืบสานรักษาและต่อยอดในงานด้านศิลปวัฒนธรรมไทย ๔. สร้างความร่วมมือทางศิลปวัฒนธรรมกับภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาการวิจัยและบริการด้านศิลปวัฒนธรรม ๑. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและนานาชาติ ๒. บูรณาการงานศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนการวิจยและ/หรือการบริการวิชาการ ๓. เพิ่มศักยภาพและความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่นจากการบูรณาการงานวิจัยและบริการวิชาการ ๔. สร้างและพัฒนาผลงานวิจัยหรือบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล ๕. พัฒนาองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมในรูปของนวัตกรรมนำ ไปสู่การจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา ยุทธศาสตร์ที่ ๓ วัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์สู่การสร้างคุณค่าและมูลค่าเศรษฐกิจรากฐาน ๑. พัฒนาต้นแบบมรดกภูมิปัญญา (Model) ของ แผนที่วัฒนธรรม(Culture Mapping) การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม(Culture Tourism) หมู่บ้านศิลปะและหัตถกรรม(Arts andCraftVillage) ตลาดศิลปะและหัตถกรรม(Arts andCraft Market) ให้เป็นวัฒนธรรมที่จับต้องได้(TangibleCulture) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ๒. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ เชื่อมโยงและขับเคลื่อนนโยบายสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เพื่อยกระดับแบรนด์ไทย สู่แบรนด์โลก การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 7
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยกระดับแหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม ๑. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือวิทยสถาน(TASSHA) เพื่อยกระดับแหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์ทางศิลปวัฒนธรรม สู่สากล ๒. บูรณาการแหล่งเรียนรู้และพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม ร่วมกับเครือข่าย ๓. ยกย่องเชิดชูปราชญ์และภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรมทุกระดับ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การบริหารจัดการสู่การพัฒนา อย่างยั่งยืน ๑. สร้างเครือข่ายและสื่อสารสังคมเพื่อจัดหา พัฒนาและแลกเปลี่ยนทรัพยากรทางด้านศิลปวัฒนธรรม ๒. บูรณาการงานด้านศิลปวัฒนธรรมทุกมิติกับศาสตร์ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเผยแพร่และสืบค้นที่ทันสมัย ๓. พัฒนาระบบคลังข้อมูลร่วม(Data Mining)ด้านศิลปวัฒนธรรมที่ทันสมัย ๔. ส่งเสริมคนทุกช่วงวัยในการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์และนวัตกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมตลอดจนการบูรณาการศาสตร์ สู่วัฒนธรรมร่วมสมัย ๕. ปรับปรุง พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการดำ เนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติ และนานาชาติ 8 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม รับเสด็จ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์เสด็จพระราขดำ เนินทรงเป็นประธานเปิด นิทรรศการและประธานรางวัลแก่ผู้มีคุณูปการต่องานด้านศิลปวัฒนธรรมในการประชุม วิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทยประจำปี๒๕๖๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 9
ภาพกิจกรรม รับเสด็จ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์เสด็จพระราขดำ เนินทรงเป็นประธานเปิด นิทรรศการและประธานรางวัลแก่ผู้มีคุณูปการต่องานด้านศิลปวัฒนธรรมในการประชุม วิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทยประจำปี๒๕๖๖ 10 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม รับเสด็จ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์เสด็จพระราขดำ เนินทรงเป็นประธานเปิด นิทรรศการและประธานรางวัลแก่ผู้มีคุณูปการต่องานด้านศิลปวัฒนธรรมในการประชุม วิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทยประจำปี๒๕๖๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 11
ภาพกิจกรรม ประชุม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปี๒๕๖๖ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 12 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม ประชุม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปี๒๕๖๖ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 13
ภาพกิจกรรม ประชุม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปี๒๕๖๖ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 14 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม ประชุม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยรายภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปี๒๕๖๖ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 15
ภาพกิจกรรม นิทรรศการ นิทรรศการ “ผ้ายก พัสตราภรณ์ลํ้าค่าภูษาสองแผ่นดิน” “Brocade Textile : Treasures of Two Nations” 16 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม นิทรรศการ นิทรรศการ “ผ้ายก พัสตราภรณ์ลํ้าค่าภูษาสองแผ่นดิน” “Brocade Textile : Treasures of Two Nations” การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 17
การแสดงพิธีเปิด ภาพกิจกรรม การแสดงเดินแบบผ้าไทย“สิริพัสตราสุราษฎร์ธานี” วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ 18 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม เดินแบบ การแสดงเดินแบบผ้าไทย“สิริพัสตราสุราษฎร์ธานี” วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 19
ภาพกิจกรรม เดินแบบ การแสดงเดินแบบผ้าไทย“สิริพัสตราสุราษฎร์ธานี” วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ 20 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม เดินแบบ การแสดงเดินแบบผ้าไทย“สิริพัสตราสุราษฎร์ธานี” วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 21
ภาพกิจกรรม เดินแบบ การแสดงเดินแบบผ้าไทย“สิริพัสตราสุราษฎร์ธานี” วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ 22 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม ทำนองเสนาะ การประกวดแข่งขันการอ่านทำ นองเสนาะ สดับถ้อยร้อยกรองไทย ครั้งที่ ๒ “เทิดไท้ทศมหาราชามหาจักรีวงศ์” เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม พิฆเนศวรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 23
ภาพกิจกรรม ทำนองเสนาะ การประกวดแข่งขันการอ่านทำ นองเสนาะ สดับถ้อยร้อยกรองไทย ครั้งที่ ๒ “เทิดไท้ทศมหาราชามหาจักรีวงศ์” เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม พิฆเนศวรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 24 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม ทำนองเสนาะ การประกวดแข่งขันการอ่านทำ นองเสนาะ สดับถ้อยร้อยกรองไทย ครั้งที่ ๒ “เทิดไท้ทศมหาราชามหาจักรีวงศ์” เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม พิฆเนศวรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 25
ภาพกิจกรรม ทำนองเสนาะ การประกวดแข่งขันการอ่านทำ นองเสนาะ สดับถ้อยร้อยกรองไทย ครั้งที่ ๒ “เทิดไท้ทศมหาราชามหาจักรีวงศ์” เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม พิฆเนศวรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 26 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ภาพกิจกรรม ทำนองเสนาะ การประกวดแข่งขันการอ่านทำ นองเสนาะ สดับถ้อยร้อยกรองไทย ครั้งที่ ๒ “เทิดไท้ทศมหาราชามหาจักรีวงศ์” เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๖ ณ หอประชุม พิฆเนศวรมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 27
ภูมิราชภัฏ และ ราชภัฏคุณากร 28 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
เกิดเมื่อวันที่ : ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๐๒ สถานที่เกิด : จังหวัดชัยนาท ปัจจุบันอายุ : ๖๒ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฟ้อน เปรมพันธุ์ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี สาขา :ด้านส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๕๒/๑๓ หมู่๑ ตำบลลาดหญ้าอำ เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี๗๑๑๙๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๘๗๐ ๙๖๕๕ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับประถมศึกษา พ.ศ. ๒๕๑๓ จากสถานศึกษาโรงเรียนวัดเทพรักษ์ อำ เภอสรรคบุรีจังหวัดชัยนาท ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ชั้นปีที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๑ จากสถานศึกษาโรงเรียนบาลีสาธิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำ เภอพระนคร จังหวัดกรุงเทพมหานคร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นปีที่ ๖) หรือปวช. พ.ศ. ๒๕๒๓ จากสถานศึกษาโรงเรียนบาลีเตรียมอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อำ เภอพระนครจังหวัดกรุงเทพมหานคร . ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๒๗ หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทย จากสถานศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร ระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๓๕ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา (การสอนภาษาไทย) จากสถานศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 29
ผลงานสร้างสรรค์ : ผลงานเอกสารทางวิชาการหนังสือ “กาญจนบุรีศึกษา” เพื่อการ เผยแพร่ต่อสาธารณชน ดังนี้ พ.ศ. ๒๕๕๗ รอยทางเจริญธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ มหาชาติเมืองกาญจน์ พ.ศ. ๒๕๕๙ ภูมิปัญญากะเหรี่ยง พ.ศ. ๒๕๕๙ ทุ่งนาคราชสถานประวัติศาสตร์ การท่องเที่ยวยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. ๒๕๖๐ “นพมณีกาญจน์” ในรอยพระบาทยาตรา กาญจนบุรี พ.ศ. ๒๕๖๐ เขื่อนนํ้าโจนปฐมบทการต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อม ของชาวกาญจนบุรี พ.ศ. ๒๕๖๑ “กฐินพระราชทาน” วัดเทวสังฆาราม พระอารามหลวง จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. ๒๕๖๑ เสน่ห์ลูกทุ่งนั้นมีมนต์ขลังเหลียวหน้าแลหลัง เพลงลูกทุ่งไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ เสรีไทยสายกาญจนบุรี พ.ศ. ๒๕๖๒ พรานทุ่ง พ.ศ. ๒๕๖๒ มณีกาญจน์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘ ทศวรรษเนาวรัตน์พงษ์ไพบูลย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ อยากหยุดเวลาเวลาไว้ที่ทวาย พ.ศ. ๒๕๖๒ เชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางศิลปะ และวัฒนธรรม รางวัลมณีกาญจน์ปี๒๕๖๒ พ.ศ. ๒๕๖๓ ภูมิเมืองกาญจน์ตำนานเหมืองปิล๊อก พ.ศ. ๒๕๖๓ ภูมิเมืองกาญจน์ย่านเก่าตลาดท่าม่วง พลวัตทางประวัติศาสตร์สังคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางศิลปะ และวัฒนธรรมรางวัลมณีกาญจน์ปี๒๕๖๓ พ.ศ. ๒๕๖๔ ภูมิประวัติศาสตร์ในมุมมองหมอพยงค์ พ.ศ. ๒๕๖๔ เชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางศิลปะ และวัฒนธรรม รางวัลมณีกาญจน์ปี๒๕๖๔ พ.ศ. ๒๕๖๔ จิตรกรรมวัดเทวสังฆาราม พ.ศ. ๒๕๖๕ เชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางศิลปะ และวัฒนธรรมรางวัลมณีกาญจน์ปี๒๕๖๕ 30 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน :มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม :ด้านส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ : ๑๒๐/๒๔ หมู่๔ ตำบลหนองบัวอำ เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี๗๑๑๙๐ หมายเลขโทรศัพท์ : ๐๘๙-๖๐๙-๓๕๕๔ ประวัติด้านการศึกษา : การศึกษาสูงสุด ปริญญาเอกปร.ด.คอมพิวเตอร์ศึกษา สถาบันศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี . พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผลงานสร้างสรรค์ : เป็นผู้สนับสนุนการจัดกิจกรรมอนุรักษ์ส่งเสริมสืบสานศิลป วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นและชาติพันธุ์อย่างต่อเนื่อง ผลงานดีเด่น ๑) จัดกิจกรรมรณรงค์การแต่งกายผ้าไทย “ภูมิผ้าไทย ภูมิมรดก ภูมิปัญญาท้องถิ่น” โดยให้ผู้บริหารอาจารย์และเจ้าหน้าที่พร้อมใจกัน แต่งกายด้วยผ้าไทยสัปดาห์ละ ๓ วันในวันอังคารวันพุธและวันศุกร์ เพื่อร่วมทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม การแต่งกายด้วยผ้าไทย และรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ความเป็นไทย ให้คงอยู่สืบไป(พ.ศ. ๒๕๖๔ -ปัจจุบัน) ๒) จัดทำ สื่อ VDO ออนไลน์และโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์รณรงค์ การแต่งกายผ้าไทย “ภูมิผ้าไทย ภูมิมรดก ภูมิปัญญาท้องถิ่น” https://www.facebook.com/culturekru/videos/ ๓๘๖๔๕๒๒๓๐๓๖๔๑๒๒๕ (พ.ศ. ๒๕๖๔ -ปัจจุบัน) ๓) จัดกิจกรรมรณรงค์การแต่งกายด้วยชุดผ้าไทย“สืบสานอนุรักษ์ ศิลป์ผ้าถิ่นไทยดำ รงไว้ในแผ่นดิน”โดยผู้บริหารอาจารย์และเจ้าหน้าที่ พร้อมรวมใจกันสวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อยสัปดาห์ละ๒วันเพื่อเป็นการ ส่งเสริมการทอผ้าในชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ สร้างเศรษฐกิจ ฐานรากเข้มแข็งก่อเกิดรายได้และเพื่อส่งเสริมสืบทอดความเป็น เอกลักษณ์ของผ้าไทย และเชิดชูความเป็นไทย สู่ความเป็นสากล” (พ.ศ. ๒๕๖๖) เกิดเมื่อวันที่ : ๒๔ มกราคม ๒๕๐๘ สถานที่เกิด : จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันอายุ : ๕๗ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนีย์ สุขชาวนา การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 31
๔) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ชวนสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในถิ่นกาญจน์ “ผ้าไทย แต่งให้สนุก” ในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี(พ.ศ.๒๕๖๖) จัดกิจกรรมรณรงค์การแต่งกายผ้าไทย“ภูมิผ้าไทย ภูมิมรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น” โดยให้ผู้บริหารอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ พร้อมใจกันแต่งกายด้วยผ้าไทย สัปดาห์ละ ๓ วัน ในวันอังคาร วันพุธ และวันศุกร์ เพื่อร่วมทานุบํ ารุงศิลปวัฒนธรรม ํ อนุรักษ์และสืบสาน วัฒนธรรมการแต่งกายด้วยผ้าไทย และรักษาไว้ ซึ่งเอกลักษณ์ความเป็นไทยให้คงอยู่สืบไป(พ.ศ.๒๕๖๔- ปัจจุบัน) จัดทำสื่อVDO ออนไลน์ และโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ รณรงค์การแต่งกายผ้าไทย “ภูมิผ้าไทย ภูมิมรดก ภูมิปัญญาท้องถิ่น”http://www.facebook.com/ culturekru/videos/๓๘๖๔๕๒๒๓๐๓๖๔๑๒๒๕ (พ.ศ. ๒๕๖๔ -ปัจจุบัน) จัดกิจกรรมรณรงค์การแต่งกายด้วยชุดผ้าไทย “สืบสานอนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทยดำ รงไว้ในแผ่นดิน” โดยผู้บริหารอาจารย์และ เจ้าหน้าที่พร้อมรวมใจกัน สวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อยสัปดาห์ละ๒วันเพื่อเป็นการ ส่งเสริมการทอผ้าในชุมชน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างเศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็งก่อเกิดรายได้และเพื่อ ส่งเสริม สืบทอดความเป็นเอกลักษณ์ของผ้าไทย และเชิดชูความเป็นไทยสู่ความเป็นสากล(พ.ศ.๒๕๖๖) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ชวนสืบสานอนุรักษ์ศิลป์ ผ้าถิ่นไทยดำ รงไว้ในถิ่นกาญจน์“ผ้าไทยแต่งให้สนุก” ในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (พ.ศ. ๒๕๖๖) ๕) จัดทำ เอกสารเผยแพร่องค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา ท้องถิ่นและชาติพันธุ์จังหวัดกาญจนบุรี“หนังสือกาญจนบุรี ศึกษา” ซึ่งได้มีการศึกษา รวบรวม และสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อ สร้างองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญา ท้องถิ่น และชาติพันธุ์ ให้เป็นองค์ความรู้และพัฒนาเป็น ฐานข้อมูลและแหล่งเรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมที่ทันสมัย เอื้ออำนวยประโยชน์แก่ผู้รับบริการ โดยมีการจัดทำ เอกสาร เผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และชาติพันธุ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี“กาญจนบุรีศึกษา” ได้แก่ ๕.๑ จิตรกรรม วัดเทวสังฆาราม( พ.ศ. ๒๕๖๔) จัดทำ หนังสือกาญจนบุรีศึกษา ๒๕๖๔ เรื่อง จิตรกรรม วัดเทวสังฆารามซึ่งเป็นการบันทึกเรื่องราวประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับภาพ จิตกรรมฝาผนังที่วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ) ตำ บลปากแพรก อำ เภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรีเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลทางศิลปวัฒนธรรม ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ๕.๒ มณีกาญจน์ (๒๕๖๔)จัดทำหนังสือกาญจบุรีศึกษา ๒๕๖๔ เรื่อง “รางวัลมณีกาญจน์ครั้งที่ ๓” เพื่อ มอบเป็นของที่ระลึกในพิธีมอบรางวัลมณีกาญจน์ ครั้งที่ ๓ ประจำปี๒๕๖๔ เนื้อหาเป็นการรวบรวม ชีวประวัติผลงานของผู้ได้รับรางวัล เพื่อประกาศ ยกย่องบุคคลผู้มีผลงานดีเด่นด้านศิลปะและวัฒนธรรม ในภาคกลางตอนล่าง ๑ ประกอบด้วย กาญจนบุรี สุพรรณบุรีและราชบุรี ๕.๓ มณีกาญจน์(๒๕๖๕)จัดทำหนังสือกาญจบุรีศึกษา ๒๕๖๕ เรื่อง“รางวัลมณีกาญจน์ครั้งที่๔”เพื่อมอบ เป็นของที่ระลึกในพิธีมอบรางวัลมณีกาญจน์ครั้งที่๔ ประจำปี๒๕๖๕ เนื้อหาเป็นการรวบรวมชีวประวัติ ผลงานของผู้ได้รับรางวัลเพื่อประกาศยกย่องบุคคล ผู้มีผลงานดีเด่นด้านศิลปะและวัฒนธรรมในภาคกลาง ตอนล่าง ๑ ประกอบด้วย กาญจนบุรีสุพรรณบุรี และราชบุรี ๕.๔ มณีกาญจน์(๒๕๖๖)จัดทำหนังสือกาญจบุรีศึกษา ๒๕๖๖ เรื่อง“รางวัลมณีกาญจน์ครั้งที่๕”เพื่อมอบ เป็นของที่ระลึกในพิธีมอบรางวัลมณีกาญจน์ครั้งที่๕ ประจำปี๒๕๖๖เนื้อหาเป็นการรวบรวมชีวประวัติผลงาน ของผู้ได้รับรางวัล เพื่อประกาศยกย่องบุคคลผู้มีผลงาน ดีเด่นด้านศิลปะและวัฒนธรรมในภาคกลางตอนล่าง ๑ ประกอบด้วยกาญจนบุรีสุพรรณบุรีและราชบุรี ๕.๕ ระหว่างหมอนรถไฟ ลมหายใจเส้นทางสายมรณะ (๒๕๖๖) จัดทำหนังสือกาญจนบุรีศึกษา ๒๕๖๖ เรื่องระหว่างหมอนรถไฟลมหายใจเส้นทางสายมรณะ ซึ่งเป็นการบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ สงครามโลกครั้งที่๒ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลทางศิลป วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 32 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
๖) จัดกิจกรรมงานยกย่องเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นทางศิลปะ และวัฒนธรรม“รางวัลมณีกาญจน์” ในทุกปีเพื่อพิจารณา ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่บุคคลผู้ทำ งานอันเป็นคุณประโยชน์ แก่ประเทศชาติด้านศิลปะและวัฒนธรรม โดยการพิจารณา สรรหาและคัดเลือกบุคคล ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านศิลปะและ วัฒนธรรมในเขตภาคกลางตอนล่าง ๑ ประกอบด้วยกาญจนบุรี สุพรรณบุรีและราชบุรีและจัดพิธีมอบรางวัล“มณีกาญจน์” มอบให้แก่บุคคลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม อย่างต่อเนื่องในทุกปี(พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖) ๗) สร้างสรรค์ผลงานชุดการแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อเผยแพร่ สู่เวทีในระดับท้องถิ่นระดับชาติและนานาชาติ ๗.๑ ชื่อชุดการแสดงนาฏยภูษาสร้างสรรค์ชุด“มาลาตาจัก” (พ.ศ. ๒๕๖๕)นำ ไปเผยแพร่สู่สาธารณชนในระดับ ท้องถิ่นจังหวัดและระดับชาติ/นานาชาติในนามของ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีเพื่อเป็นการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่เอกลักษณ์ของผ้าไทยท้องถิ่น “ผ้าขาวม้าลายตาจักลายผ้าประจำจังหวัดกาญจนบุรี” และยกระดับผ้าไทยท้องถิ่นให้มีความโดดเด่นและมีชื่อเสียง สู่สาธารณชนได้รู้จักอย่างกว้างขวางส่งเสริมการสร้างอาชีพ สร้างรายได้และนำ ไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น ๗.๒ (พ.ศ.๒๕๖๖)ชื่อชุดการแสดง“หม้อสามขาอัตลักษณ์ บรรพชน”นำ ไปเผยแพร่สู่สาธารณชนในระดับท้องถิ่น จังหวัดและระดับชาติ/นานาชาติในนามของมหาวิทยาลัย ราชภัฏกาญจนบุรีซึ่งเป็นการแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับ เครื่องปั้นดินเผาที่ค้นพบบริเวณบ้านเก่าจังหวัดกาญจนบุรี ได้แก่ “หม้อสามขา” อันเป็นภาชนะที่ปรากฏรูปทรง และลวดลายที่น่าสนใจแสดงให้เห็นว่ามีงานหัตถกรรม ประเภทเครื่องปั้นดินเผาเกิดขึ้นแล้วในยุคนั้นและเพื่อ เป็นการเผยแพร่ประวัติศาสตร์ของจังหวัดกาญจนบุรี จึงได้นำ องค์ความรู้มาประดิษฐ์สร้างสรรค์ท่ารำ ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่มีการสร้างสรรค์ถ่ายทอด รูปแบบการจัดแสดงขึ้นใหม่ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ และเป็นผลงานสร้างสรรค์การแสดงนาฏศิลป์ร่วมสมัย ชื่อชุดการแสดง“หม้อสามขาอัตลักษณ์บรรพชน” รางวัลที่เคยได้รับ - ข้าราชการพลเรือนดีเด่น พ.ศ.๒๕๕๙ - รางวัลเชิดชูเกียรติครูดีศรีเมืองกาญจน์เนื่องในงานวันครูพ.ศ. ๒๕๖๒ - คนดีศรีกาญจน์ศึกษาในฐานะผู้ปฏิบัติตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานที่รับผิดชอบเป็นแบบอย่างการประพฤติตนที่ ดีตามศาสตร์พระราชา พ.ศ.๒๕๖๓ - รางวัลแม่ดีเด่นแห่งชาติราชภัฏพระนครครั้งที่๗ พ.ศ.๒๕๖๖ - รางวัลเกียรติคุณ รางวัลไทย รางวัล “นักบริหารดีเด่นแห่งปี” สาขาการบริหารและพัฒนาองค์กร พ.ศ.๒๕๖๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 33
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน :สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม : ผลงานด้านทำนุบำ รุงศิลปะและ วัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ :๒๒๔/๑ หมู่ที่๕ ตำบลดีลังอำ เภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี๑๕๒๒๐ หมายเลขโทรศัพท์๐๙๗ ๑๔๒ ๖๑๙๒ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโท กศม.(ศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานสร้างสรรค์: ผลงานด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ เกิดเมื่อวันที่ : ๒๑ มีนาคม ๒๕๑๘ สถานที่เกิด : จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันอายุ : ๔๘ ปี อาจารย์ณฤทธิ์ ประจงแต่ง 34 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
เกิดเมื่อวันที่: ๑๘ กันยายน ๒๕๒๖ สถานที่เกิด: จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันอายุ: ๔๐ ปี นายกมนพรรธน์ บ่อแก้ว ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม สาขา :ด้านภูมิปัญญาผ้าทอ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:๕๖หมู่๑ตำบลโพรงมะเดื่ออำ เภอเมืองจังหวัดนครปฐม หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๐๑๔ ๐๔๒๔ ประวัติด้านการศึกษา: ประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง แผนกวิชาอาหารและโภชนาการ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม ปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิตสาขาอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปัจจุบันเป็นวิทยากรเเละเป็นผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรม วัดโพรงมะเดื่อ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 35
ผลงานสร้างสรรค์: กลุ่มผ้าทอศรีอุทุมพรได้รับเลือกจากจังหวัดนครปฐมให้เป็นผู้ผลิต ผ้าต้นแบบจำนวน ๕ ชิ้นด้วยการออกแบบของอาจารย์มหาวิทยาลัย ราชภัฎนครปฐมและได้นำลวดลายมาปรับให้มีความเหมาะสมกับผ้า ที่จะทำ โดยทางจังหวัดเห็นถึงศักยภาพ และความชำนาญในการการ มัดหมี่และการย้อมสีธรรมชาติของกลุ่มฯจึงได้ทำ ผ้าต้นแบบให้กับ กระทรวงวัฒนธรรมเพื่อนำถวายสมเด็จพระราชินีฯ เกียรติบัตรหรือรางวัลที่เคยได้รับ เครื่องหมายรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมประเภทThaiSilk เป็นตราเครื่องหมายนกยูงสีนํ้าเงินจากกรมหม่อนไหม เครื่องหมายรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ผ้าไหมประเภทThaiSilk เป็นตราเครื่องหมายนกยูงสีเขียวจากกรมหม่อนไหม เกียรติบัตรเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านงานทอผ้าในโครงการ อนุรักษ์ฟื้นฟูสืบสานและพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือสีธรรมชาติ เพิ่มมูลค่าสาหรับการท่องเที่ยวกลุ่มชาติพันธุ์ลาวครั่งในจังหวัด ํ นครปฐมประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๓ จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม รางวัล“วัฒนคุณาธร”ทาคุณประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม ํ ประเภทบุคคลประจาปีงบประมาณ ํ พ.ศ.๒๕๖๕ จากกระทรวง วัฒนธรรม 36 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านการทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๐๕/๑ หมู่ที่ ๘ ตำ บลหนองปากโลง อำ เภอเมืองนครปฐมจังหวัดนครปฐม ๗๓๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙-๖๖๑-๙๘๒๒ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโทรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารทรัพยากร มนุษย์)ปีพ.ศ. ๒๕๔๗ จากมหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต(การจัดการทั่วไป)ปีพ.ศ.๒๕๓๓ จากวิทยาลัยครูเพชรบุรี ปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต(นิติศาสตร์)ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผลงานสร้างสรรค์ ความภาคภูมิใจ หรือเกียรติประวัติที่เคยได้รับ ๑. ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ทวีติยาภรณ์ช้างเผือกท.ช. ๒. ได้รับพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา ร.จ.พ. ๓. ได้รับพระราชทานเข็มที่ระลึกจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ๔. ได้รับคัดเลือกเป็นกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการประเภท คณาจารย์ประจำ และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม๒สมัย ๕. ได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิรา เทพยวดีกรมหลวงราชสาริณีสิริพัชรมหาวัชรราชธิดาประธาน ในพิธีเปิดงานวันแม่แห่งชาติเพื่อรับพระราชทานโล่เกียรติคุณ ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่เมื่อวันที่๑๒สิงหาคม๒๕๖๕ ๖. ดำ รงตำ แหน่งหัวหน้างานการเจ้าหน้าที่ทำหน้าที่เลขานุการด้าน งานขอผลงานทางวิชาการ ๗. เป็นวิทยากรบรรยายเรื่องการทำ ผลงานทางวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ ๘. การแสดงละครการกุศลเรื่อง ผู้ชนะสิบทิศร่วมกับศิลปินแห่งชาติ และดารานักแสดงไทย ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่๒๐ มิถุนายน ๒๕๐๗ สถานที่เกิด บ้านหน้าตลาดสถานีควนหินมุ้ย ตำบลนาขา อำ เภอหลังสวน จังหวัดชุมพร ปัจจุบันอายุ: ๕๙ ปี นางจรรยา ร่มเพชร การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 37
๙. เป็นวิทยากรโครงการพัฒนาการอ่านและเรียนรู้ตามอัธยาศัย เพื่อจัดกิจกรรม“นิทานสานฝันสานรักครอบครัว”ให้ศูนย์ การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนครปฐมอำ เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ๑๐. เป็นนักจัดรายการวิทยุสมัครเล่นที่สร้างสรรค์ความสุขให้กับ ผู้ฟังเพลงลูกทุ่งไทยณสถานีวิทยุชุมชนสนามจันทร์อำ เภอ เมืองนครปฐมจังหวัดนครปฐม ๑๑. พากย์การแข่งขันเรือยาวสมัครเล่น “ขึ้นโขนชิงธงลุ่มนํ้า หลังสวน”อำ เภอหลังสวนจังหวัดชุมพร ผลงานสร้างสรรค์ การสนับสนุนทั้งแรงกายแรงใจและปัจจัยในกิจกรรมด้านศาสนา และร่วมส่งเสริมให้มีการบูรณาการงานด้านการทำนุบำ รุงศิลปะและ วัฒนธรรมกับการเรียนการสอน มีความมุ่งมั่นตั้งใจร่วมกันในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นเป็นมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของชาติมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความสุขความ บันเทิงมีผลงานเป็นที่ยอมรับแก่สาธารณชนได้แสวงหาปราชญ์ท้อง ถิ่นประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ผลงานให้เป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม หรือที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นชุมชนสังคมและประเทศชาติดังต่อ ไปนี้ ๑. โครงการพัฒนากลุ่มวิจัยสู่ความเป็นเลิศ เรื่อง “แนวทาง การพัฒนาบทบาทของวัดตามความคาดหวังของพุทธศาสนิกชน ในจังหวัดนครปฐม” The Developing Trends in the Role of Wats towards the Buddhists’Expectation in Nakhon Pathom ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมปีการศึกษา๒๕๕๒:มีนาคม๒๕๕๓ ๒. เขียนบทความปราชญ์ท้องถิ่นจำนวน ๕ เล่มจำนวน๗สาขา ๑๖ เรื่องดังนี้ ๒.๑ สาขาหัตกรรมได้แก่กระจาดหาบใส่ของบ้านตีเหล็ก บายศรีพรหมวัสดุกระดาษ จักสานไทยทรงดำ และ แกะกะลาตาเดียวลายพระราหูอมจันทร์ ๒.๒ สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และติดตามตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพนํ้าแม่นํ้าท่าจีน และคลองสาขาจังหวัดนครปฐม ๒.๓ สาขากองทุนและธุรกิจชุมชน(มะเขือเทศราชินีแปรรูป) ๒.๔ สาขาศิลปกรรม(ผู้รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น)และ กระบี่กระบอง ๒.๕ สาขาแพทย์แผนไทย : การนวดแผนไทย (หลักสูตร เชลยศักดิ์) และหมอพื้นบ้าน อนุรักษ์ภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย ๒.๖ สาขาภาษาและวรรณกรรม : นักร้อง นักแหล่ และ ครูภาษาไทย ๒.๗ สาขาศาสนาปรัชญาศาสนา :ปราชญ์ทางธรรม 38 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน :สถาบันอยุธยาศึกษา ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม : โครงการฟื้นฟูลายผ้าโบราณ ที่ มีการค้นคว้า วิจัย และศึกษาลวดลายจากต้นแบบผ้าลายอย่างที่ใช้ห่อ คัมภีร์ซึ่งถูกเก็บรักษาไว้ในตู้พระธรรมของวัดย่านอ่างทอง (จุฬาโลก) ตำบลบ้านใหญ่อำ เภอผักไห่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยนำมา ฟื้นฟู และยกระดับให้เป็นผ้าลายที่มีความร่วมสมัย ผ่าน กระบวนการวิจัยเชิง คุณภาพ และกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์โบราณคดีนำ ไปสู่การ ฟื้นฟูผ้าลายอย่างร่วมสมัยที่ยังคงเอกลักษณ์ของลายผ้าโบราณ ทั้ง ด้านลวดลายและโครงสร้าง นำมาประกอบให้เป็นผืนผ้าขนาดสมบูรณ์ ผสมผสานกับกระบวนการพิมพ์สมัยใหม่ ต่อยอดไปสู่ผลิตภัณฑ์ทาง วัฒนธรรมที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ทำ ให้เกิด เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์จากมรดก ภูมิปัญญาของชุมชนในกระแส ของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้อย่างยั่งยืน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๘/๒๖ หมู่ที่๗ ตำบลคลองสวนพลูอำ เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หมายเลขโทรศัพท์ : ๐๙๑ ๒๕๗ ๗๒๓๕ ประวัติด้านการศึกษา : พ.ศ. ๒๕๖๔ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวัฒนธรรม ศิลปกรรม และการออกแบบมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๙ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๑ ศึกษาศาสตรบัณฑิต(ศิลปกรรม)เกียรตินิยมอันดับ๑ ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี(คลองหก) พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสถาบันเทคโนโลยี ราชมงคล วิทยาลัยเพาะช่าง ผลงานสร้างสรรค ์: การฟื้นฟูอนุรักษ์และต่อยอดผ้าลายอย่างเอกลักษณ์อยุธยา “จุฬา พัสตร์”สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน เกิดเมื่อวันที่: ๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๘ สถานที่เกิด: จังหวัดกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอายุ: ๔๙ ปี อาจารย์ ดร.สุรินทร์ ศรีสังข์งาม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 39
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรี สาขา :ทัศนศิลป์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๘ หมู่๘ ตำบลนาวุ้งอำ เภอเมืองจังหวัดเพชรบุรี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๓ ๒๗๐ ๘๖๐๘ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๒๕ ศษ.บ. (ศิลปกรรม:ประติมากรรม)วิทยาลัยเทคโนโลยี และอาชีวศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง พ.ศ.๒๕๔๕ (ทัศนศิลป์:ศิลปะสมัยใหม่)มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผลงานสร้างสรรค์: ทางด้านการสอนเป็นผู้มีประสบการณ์สอนในรายวิชาดังต่อไปนี้ ๑) การวิจัยทางศิลปะ ๒) ความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปศึกษา ๓) ศิลปะสำหรับเด็ก ๔) วาดเส้นเบื้องต้น ๕) วาดเส้นขั้นสูง ๖) การจัดนิทรรศการ ๗) ประติมากรรมประยุกต์ ทางด้านการวิจัย ๑) งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ เรื่อง “ประติมากรรม หมายเลข ๑ - ๕” โครงการวิจัยจิตรกรรมและประติมากรรมร่วมสมัยสู่ชุมชนอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒) งานสร้างสรรค์ เรื่อง “ทะเล” นิทรรศการอัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นใต้ ครั้งที่ ๑ ณ ซิเคด้ามาร์เก็ตอำ เภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๓) งานสร้างสรรค์ เรื่อง “ทะเล” นิทรรศการอัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นใต้ ครั้งที่ ๑ ณ ซิเคด้ามาร์เก็ตอำ เภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวันที่ ๓๐ พฤษภาคม– ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๔) งานสร้างสรรค์เรื่อง“ลูกแม่๑”นิทรรศการอัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นใต้ ครั้งที่๒ณศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามัน(หอศิลป์อันดามัน) จังหวัดกระบี่ระหว่างวันที่ ๒๔-๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ เกิดเมื่อวันที่: ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๐ สถานที่เกิด: เพชรบุรี ปัจจุบันอายุ: ๖๗ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พูลสวัสดิ์ มุมบ้านเซ่า 40 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
๕) งานสร้างสรรค์เรื่อง“ลูก”นิทรรศการอัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นใต้ ครั้งที่ ๓ ณ ศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรมอันดามัน (หอศิลป์ อันดามัน)จังหวัดกระบี่ระหว่างวันที่๔-๓๑พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๖๐ ๖) งานสร้างสรรค์ เรื่อง “ในหลวงรัชกาลที่ ๙” นิทรรศการ อัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นไทย ครั้งที่ ๔ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชียงรายจังหวัดเชียงรายในเดือนมิถุนายนพ.ศ.๒๕๖๑ ๗) งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์ เรื่อง “อันดามัน” นิทรรศการ อัตลักษณ์ศิลป์ถิ่นไทยครั้งที่๕ณศูนย์การเรียนรู้วัฒนธรรม อันดามัน (หอศิลป์อันดามัน) จังหวัดกระบี่ ระหว่างวันที่ ๒๑-๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๘) งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์เรื่อง“กาลเวลากับทะเล”ในนิทรรศการ ผลงานศิลปกรรมคณาจารย์ภายใต้ความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ในเครือมหาวิทยาลัยราชภัฏณหอศิลป์สำนักศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา วันที่ ๒๔ – ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ งานอาจารย์นิเทศและอาจารย์ที่ปรึกษา ๑) อาจารย์นิเทศหลักสูตรศิลปศึกษา ๒) อาจารย์ที่ปรึกษาในรายวิชาการวิจัยทางศิลปะ ทางด้านอื่นๆ ๑) เป็นผู้ได้รับรางวัลอาจารย์ผู้สอนดีเด่น จากมูลนิธิบุญถิ่น อัตถากรประจำปีพ.ศ.๒๕๕๖ ๒) เป็นคณะกรรมการดำ เนินการด้านศิลปวัฒนธรมร่วมกับสำนัก วัฒนธรรมจังหวัดเพชรบุรี ๓) เป็นผู้ดำ เนินการจัดทำ พวงมาลาในนามมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบุรีเนื่องในวันปิยมหาราชและได้รับรางวัลอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๔ จนถึงปัจจุบันดังนี้ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้รับรางวัลชนะเลิศ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับรางวัลชนะเลิศ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับรางวัลชมเชย พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้รับรางวัลชนะเลิศ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ๔) แสดงผลงานศิลปะในนิทรรศการต่างๆในระดับชาติอย่างต่อเนื่อง ๕) ที่ปรึกษางานวิจัยให้กับอาจารย์ในสาขาวิชา ความรู้ความสามารถพิเศษ ๑) จัดทำ โครงการประติมากรรมเกลือครั้งแรกในประเทศไทยและ จัดทำอย่างต่อเนื่องเป็นครั้งที่ ๕ เริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๕๖- ๒๕๖๐ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในท้องถิ่น ตำบลบางแก้ว อำ เภอบ้านแหลมจังหวัดเพชรบุรีโดยการสนับสนุนงบประมาณ จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงานจังหวัดเพชรบุรี และองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหลม ๒) จัดทำ โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนต่างๆ เช่น ชุมชน หนองจอกชุมชนคลองโคนเป็นต้น การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 41
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม: เป็นผู้ทำ คุณประโยชน์ด้านศิลปะ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นวิถีชีวิตและอาหารท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๘ หมู่๘ ตำบลนาวุ้งอำ เภอเมืองจังหวัดเพชรบุรี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๓ ๒๗๐ ๘๖๐๘ ประวัติด้านการศึกษา: ๑. การศึกษามหาบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ๒. ศึกษาศาสตรบัณฑิต(สังคมศึกษา)มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ข้างราชการพลเรือนดีเด่นปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ๒. ศิษย์เก่าดีเด่นด้านการพัฒนาท้องถิ่นปีพ.ศ. ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยศิลปากร ๓. รางวัลอาจารย์ดีเด่นด้านการพัฒนาท้องถิ่น “รางวัลบุญถิ่น อัตถากร”ปีพ.ศ. ๒๕๖๔ ๔. รางวัล“วัฒนคุณาธร”ประจำปี๒๕๖๕ ๕. เป็นผู้ริเริ่มการจัดงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมอาเซียนสัมพันธ์ และการแสดงนานาชาติทั้งหมด ๑๒ ครั้ง ๖. เป็นผู้ริเริ่มการจัดงานนิทรรศการนำ เสนอผลงานบริการวิชาการ และพัฒนาท้องถิ่นทั้ง ๔ ครั้ง ๗. เป็นผู้ริเริ่มการจัดงาน “ขึ้นรถไฟไปหนองจอก ชมดอกบัวหลวง ราชินี” เพื่ออนุรักษ์ดอกบัวหลวงราชินี ๘. เป็นผู้ริเริ่มการทำ เกษตรแบบผสนผสานเกษตรตามแนวเศรษฐกิจ ปรัชญาพอเพียงณพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีวิทยาเขต โป่งสลอด ๙. รองประธานสภาศิลปะอำ เภอบ้านลาดจังหวัดเพชรบุรี ๑๐. เป็นผู้ริเริ่มพื้นที่โครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ด้วยฝีมือช่าง ชั้นเอกเมืองเพชรบุรีภายใต้“ทศพิธราชธรรม” เกิดเมื่อวันที่: ๒ มกราคม ๒๕๐๖ สถานที่เกิด: จังหวัดเพชรบุรี ปัจจุบันอายุ: ๖๐ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พจนารถ บัวเขียว 42 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน: ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์ สาขา :ทัศนศิลป์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:ตำบลเทพราชอำ เภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ประวัติด้านการศึกษา: มัธยมศึกษาตอนต้นที่โรงเรียนบางปะกง“บวรวิทยายน”พ.ศ.๒๔๙๕ มัธยมปลายหลักสูตรเตรียมอุดมที่วิทยาลัยบางแสนจังหวัดชลบุรี โรงเรียนเพาะช่างกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๐๐ โรงเรียนศิลปะไทยราชเทวีกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๐๖ ผลงานสร้างสรรค์: พ.ศ. ๒๕๐๕ แสดงงานร่วมกับศิลปินที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๐๖ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มอิสระที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๑๖ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มอิสระ ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๐๖ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มธรรม ที่หอศิลป์แห่งชาติกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๑๙ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มอิสระ ที่A.U.A.กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๒๐ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มธรรม ที่หอศิลป์แห่งชาติกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๒๒ แสดงงานร่วมกับชมรมศิลปกรรมแห่งประเทศไทย ม.ศิลปากร พ.ศ. ๒๕๒๔ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มอิสระที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นประธานกลุ่มสมาคมศิลปกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๖ แสดงงานร่วมกับศิลปินประเทศญี่ปุ่นเมืองโตเกียว,อิวาเตะ พ.ศ. ๒๕๒๘ แสดงงานศิลปะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างศิลปิน ไทยญี่ปุ่นและเยอรมันที่หอศิลป์แห่งชาติกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๒๙ แสดงงานศิลปะเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างศิลปิน ไทย ญี่ปุ่นและเยอรมันที่ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. ๒๕๓๒ แสดงงานร่วมกับศิลปินกลุ่มธรรม ที่ศูนย์สังคีต ธนาคารกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่: ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๔๘๔ สถานที่เกิด: ๙๔ หมู่ที่ ๒ ตำบลเทพราช อำ เภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ปัจจุบันอายุ: ๘๓ ปี นายพิทักษ์ ปิยะพงษ์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 43
พ.ศ. ๒๕๓๓ แสดงงานศิลปะในวันสันติภาพที่มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๓๔ แสดงงานศิลปะเทิดพระเกียรติพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี“คืนหนึ่งในแวร์ซาย” โรงแรมโอเรียลเต็ลกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ แสดงงานในนิทรรศการศิลปะสะท้อนเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ แสดงงานในงานสร้างสาน ตำนานศิลป์๒๐ ปีแสดงงานในงานศิลปกรรม ๕๐ สันติภาพไทยณสถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ. ๒๕๓๙ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อสังคม สถาบันปรีดีพนมยงค์ แสดงงานในโครงการ เฉลิมพระเกียรติฯ ศิลปะแห่งรัชกาลที่ ๙ ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ แสดงงานศิลปกรรมและบทกวี สถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ. ๒๕๔๑ แสดงงานศิลปกรรม ชุดหน้ากาก ร่วมกับ ศิลปินต่างประเทศเพื่อจัดหารายได้สนับสนุน มูลนิธิช้าง ประเทศญี่ปุ่น ประธานโครงการ เขียนภาพสด ๑๐–๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๑ ณ ท้องสนามหลวงกรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๔๒ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ. ๒๕๔๓ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ. ๒๕๔๔ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ. ๒๕๔๕ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคมณสถาบันปรีดีพนมยงค์ สอนศิลปะ ลายเส้น Drawingให้นักเรียน ๑. โรงเรียนวัดเทพราชอำ เภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒. โรงเรียนวัดบางวัว อำ เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๓. โรงเรียนวัดล่าง อำ เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ. ๒๕๔๖ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์ พ.ศ.๒๕๔๗ ร่วมแสดงภาพเขียนลายเส้นการ์ตูนเพื่อชีวิต กรุงเทพฯสอนศิลปะ ณ ๙๔ หมู่ที่ ๒ ตำบลเทพราชอำ เภอบ้านโพธิ์จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๔๙ ร่วมแสดงศิลปะกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์จังหวัดฉะเชิงเทราศิลปินดีเด่น สถาบันปรีดีพนมยงค์กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๐ ร่วมแสดงศิลปะกับศูนย์ศิลปะวัฒนธรรมและ ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๕๑ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์ กรุงเทพฯ “เถื่อนx ๓” พ.ศ.๒๕๕๒ แสดงงานศิลปกรรมร่วมสมัยเพื่อชีวิตและ สังคม ณ สถาบันปรีดีพนมยงค์กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๒ -ปัจจุบัน เป็นที่ปรึกษาชมรมกลุ่มศิลปินตะวันออกและ เป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับศิลปิน คณาจารย์นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์และบุคคลทั่วไปอย่างต่อเนื่อง พ.ศ.๒๕๖๓ นิทรรศการ ๘๐ ปีพิทักษ์ปิยะพงษ์ ณ หอศิลป์RRU เป็นผู้ขับเคลื่อนศิลปินน้อย MOTOR EXPO จัดแสดงนิทรรศการศิลปะ“ต้นกล้างานศิลป์ถิ่นฉะเชิงเทรา” ณ หอวัฒนธรรม ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์จังหวัดฉะเชิงเทรา ในฐานะผู้สร้างงานศิลปะที่มีความมุ่งมั่นอย่างแน่วแน่ซื่อสัตย์ และจริงใจจนเป็นที่ประจักษ์คณะกรรมการรางวัลมนัสเศียรสิงห์ “แดง” จึงขอประกาศเกียรติคุณให้นายพิทักษ์ปิยะพงษ์ เป็นศิลปินเกียรติยศทัศนศิลป์ดีเด่น ทางด้านสันติภาพ ประชาธิปไตยและความเป็นธรรมประจำปีพุทธศักราช๒๕๔๙ และได้รับปริญญาบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์ประจำปี๒๕๕๒ นอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรมบริการวิชาการ การสอนศิลปะ ให้กับเด็ก เยาวชน นักเรียนในชุมชน ได้เรียนรู้อัตลักษณ์ ท้องถิ่น ณ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดเทพราช อำ เภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทราและพื้นที่ชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทราร่วมกับ สาขาวิชาทัศนศิลป์และมีเดียอาร์ต มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์และเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง 44 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน: ศูนย์ศิลปะวัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร์ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๓/๑-๒ ซอยประชาส่งเสริม ๓ ถนนประชา ส่งเสริมตำบลบ้านบึงอำ เภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๖ ๑๔๘ ๘๕๘๕ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโทสาขาการจัดการพัฒนาสังคมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ผลงานสร้างสรรค์: งานวิจัย แนวทางการพัฒนาศักยภาพทุนทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวอำ เภอคลองเขื่อนจังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๖๑ (วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์. ๒๐(๑), ๖๗-๘๖.) แนวทางพัฒนาศักยภาพของศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ในการส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวในชุมชนพ.ศ.๒๕๖๔ (การประชุมวิชาการระดับชาติ รำ ไพพรรณีครั้งที่ ๑๕ เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระนางเจ้ารำ ไพพรรณีครบรอบ ๑๑๗ปีวิจัยนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นวิถีใหม่สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ๑๗ธันวาคม ๒๕๖๔ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำ ไพพรรณีจังหวัดจันทบุรี. หน้า ๓๖๘-๓๗๗) ตีพิมพ์ในบทความวิจัยTCIฐาน๒เรื่องการพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าในกลุ่มสตรีตัดเย็บบ้านนายาวอำ เภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในวารสารมนุษยสังคม ปริทัศน์ปีที่๒๔ ฉบับที่๑ ประจำ เดือนมกราคม- เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๕ หน้าที่๑๔๗–๑๕๗คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เกิดเมื่อวันที่: ๑๓ เมษายน ๒๕๑๕ สถานที่เกิด: โรงพยาบาลราชวิถีกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอายุ: ๕๑ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อารียา บุญทวี การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 45
งานวิจัย เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าแบบ บูรณาการของกลุ่มสตรีตัดเย็บบ้านนายาวอำ เภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทราในงานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ๒๕๖๖ (ThailandResearchExpo๒๐๒๓)“วิจัยไทยก้าวไกลขับเคลื่อน เศรษฐกิจและสังคมอย่างยั่งยืน”ในวันที่๗–๑๑สิงหาคม๒๕๖๖ ณ ห้องประชุมชั้น ๒๒ – ๒๓ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์เซ็นทรัลเวิลด์กรุงเทพมหานคร หนังสือ องค์ความรู้ทางศิลปะ วัฒนธรรม หนังสือเรื่องมรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี๒๕๖๔ หนังสือเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านอ่างเตย อำ เภอท่าตะเกียบจังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี๒๕๖๕ หนังสือเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านนางาม อำ เภอสนามชัยเขตจังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี๒๕๖๕ หนังสือเรื่องวัฒนธรรมท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้บ้านคลองบางนาง อำ เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี๒๕๖๕ หนังสือ เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน บ้านนาอิสานอำ เภอสนามชัยเขตจังหวัดฉะเชิงเทราประจำปี๒๕๖๖ กิจกรรมส่งเสริมภูมิปัญญาผ้าไทยในจังหวัดฉะเชิงเทราสู่เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ โครงการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและสร้างมูลค่าเพิ่ม ผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ประจำปี๒๕๖๖ 46 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏ รำ ไพพรรณี สาขา :ศาสนาและการบำ เพ็ญสาธารณะประโยชน์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: วัดคมบาง เลขที่ ๕๘ หมู่ ๒ ตำบลคมบาง อำ เภอเมืองจันทบุรีจังหวัดจันทบุรี๒๒๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๙๒๐ ๒๒๗๙ ประวัติด้านการศึกษา: ฐานุกรม พระปลัด ผลงานสร้างสรรค์: -สถานปฏิบัติธรรมสำหรับเยาวชน-ค่ายธรรมะ - โครงการปันสุขบริจาคเครื่องนุ่งห่ม โซล่าร์เซลล์และดูในการปรับปรุง อาคารโรงอาหาร เกิดเมื่อวันที่: ๑๘ มกราคม ๒๕๐๕ สถานที่เกิด: จังหวัดจันทบุรี ปัจจุบันอายุ: ๖๒ ปี พระปลัดนิวัติ พลธมฺโม (พระอาจารย์ตุ๊กแก) การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 47
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏ รำ ไพพรรณี ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ภาษาและวัฒนธรรมไทย ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๕๓ หมู่๖ ตำบลหนองบัวอำ เภอเมืองจังหวัด จันทบุรี๒๒๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๐๙๗ ๔๘๔๙ ประวัติด้านการศึกษา: ศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิต(ศศ.ด.)สาขาวิชาภาษาไทย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ศศ.ม.)สาขาวิชาภาษาไทย ครุศาสตรบัณฑิต(ค.บ.) เกียรตินิยมสาขาวิชาภาษาไทย ผลงานสร้างสรรค์: ด้านภาษา ๑. ชุดการเรียนรู้ภาษาไทยเบื้องต้นสำ หรับนักศึกษาชาวกัมพูชา ในแผ่นดินแม่ที่มีความสามารถทางภาษาที่ต่างกัน ๒. การสำ รวจความต้องการคุณลักษณะบัณฑิตหลักสูตรภาษาไทย ของสถานประกอบการประเทศกัมพูชา ๓. หนังสือหลักภาษาไทยและการใช้ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่๕ ๔. หนังสือศิลปะการอ่านออกเสียง ๕. หนังสือภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๖. เอกสารเรื่อง วรรณกรรมไทย ๗. การศึกษาการแก้ปัญหาความวิตกกังวลการพูดหน้าชั้นเรียน ๘. การศึกษาบทเพลงลูกทุ่งของสมเศียร พานทองหรือชายเมืองสิงห์ ด้านวัฒนธรรม ๑. ศึกษาการประกอบสร้างเท่งตุ๊กโบราณ คณะจักรวาลมงคลศิลป์ ๒. ศึกษาการประกอบสร้างแสดงพื้นบ้านโขนสดบ้านนา(กํ่าสุพรรณวงค์) ๓. ศึกษาสัญญะ-นัยสำคัญแห่งรำ ไพพรรณีนาฏราชินี เกิดเมื่อวันที่: ๑๘ กันยายน ๒๕๒๔ สถานที่เกิด: จังหวัดสิงห์บุรี ปัจจุบันอายุ: ๔๒ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรโชค พิชญ อู๋สมบูรณ์ 48 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”