ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขา :ศิลปหัตถกรรม(การช่างฝีมือ) ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๔ หมู่ ๗ ตำบลบึงชำอ้อ อำ เภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี๑๒๑๗๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๑ ๐๐๗ ๑๒๘๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีบธ.บ สาขาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ผลงานสร้างสรรค์: ได้รับรางวัล“บุษราคัมมณีราชภัฏ” ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านการศึกษา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยครั้งที่ ๖ ประจำปี๒๕๕๒ ได้รับรางวัล“ภูมิปัญญาดีเด่น” ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านการศึกษา ประจำปี๒๕๕๐ ได้รับรางวัลชนะเลิศการคัดเลือกสุดยอดผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมไทย “เรือในความทรงจำ ”ประจำปี๒๕๕๙ ได้รับรางวัลผลงานนาฬิกาอโยธยายอดผลิตภัณฑ์วัฒนธรรมไทย “เรือในความทรงจำ ”ประจำปี๒๕๕๙ ระดับเหรียญเงิน ได้รับคัดเลือกเป็นศิลปิน OTOPประจำปี๒๕๕๙ ได้รับคัดเลือกเป็นผลิตภัณฑ์ระดับ ๕ ดาว สร้างต้นแบบเรือพระที่นั่งลำ ใหม่ (เรือประจำ รัชกาลที่ ๑๐) โขนเรือเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เพื่อนำ ไปใช้ประกอบ โครงการจัดสร้างเรือลำ จริง เกิดเมื่อวันที่: ๑๒ กันยายน ๒๕๒๓ สถานที่เกิด: ๓๔ หมู่ ๗ ตำบลบึงชำอ้อ อำ เภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี๑๒๑๗๐ ปัจจุบันอายุ: - นายพิพัฒน์ รื่นสาด การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 49
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านส่งเสริมทำนุบำ รุงศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์เลขที่๑ หมู่๒๐ ตำบลคลองหนึ่งอำ เภอคลองหลวงจังหวัด ปทุมธานี๑๓๑๘๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๘ ๑๕๙ ๘๒๒๓ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีการศึกษาปฐมวัยวิทยาลัยครูสวนดุสิต ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ปริญญาเอก การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ การอุดมศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ผลงานสร้างสรรค์: การนำ เสนอผลงานสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรมระดับชาติ “มหกรรมวัฒนธรรมท้องถิ่นร่วมสมัย”ครั้งที่๕ (The ๕Th National CreativeWorkPresentationofFineArts:VRU Contemporary Folk Festival ๒๐๒๓) ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง “มหัศจรรย์หางหงส์ธงตะขาบ” ศิลปวัฒนธรรมไทย–มอญ จังหวัดปทุมธานี ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง “อัศจรรย์เรือไทยฝากไว้ในแผ่นดิน” ผลงานวิจัยการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ ศิลปะประดิษฐ์แบบกลุ่ม เกิดเมื่อวันที่: ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๑๒ สถานที่เกิด:๖๑/๑หมู่๑๑ต.คูคตอ.ลำลูกกาจ.ปทุมธานี๑๒๑๒๐ ปัจจุบันอายุ: ๕๕ ปี รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพร พิชญกุล 50 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขา :สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๑๑๖ หมู่ ๑ บ้านหัวเขาจีน ตำบลห้วยยางโทนอำ เภอปากท่อจังหวัดราชบุรี๗๐๑๔๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๖ ๐๑๘ ๙๓๑๘ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลงานสร้างสรรค์: นางวีณา สุขอยู่ เป็นปราชญ์ท้องถิ่นชาวไทยทรงดำ บ้านหัวเขาจีน ที่มีบทบาทสำคัญในการริเริ่มนำต้นทุนทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต ของชาว ไทยทรงดำ มาสร้างสรรค์และเพิ่มมูลค่าสร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยมี บทบาทสำ คัญในการเป็นผู้นำกลุ่ม ผู้ประสานงาน ดูแลบริหารจัดการ และผู้ขับเคลื่อนการดำ เนินงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง โดยในปัจจุบันดำ รงตำ แหน่งประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าทอไทยทรงดำ บ้านหัวเขาจีน เลขานุการศูนย์เรียนรู้สภาวัฒนธรรมตำบลห้วยยางโทน และผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนของตำบลห้วยยางโทน นางวีณา สุขอยู่ มีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้ประสานงานกับหน่วย งานภาครัฐต่างๆที่เข้ามาส่งเสริมสนับสนุนให้การดำ เนินงานเพิ่มมูลค่า ผ้าทอไทยทรงดำ บ้านหัวเขาจีน การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนต่างๆการยกระดับสินค้าชุมชนให้มีมาตรฐานการอนุรักษ์ สืบสานวิถีชีวิตวัฒนธรรมของท้องถิ่นรวมถึงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนด้านการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมหน่วยงานภาครัฐที่เข้ามาส่งเสริม สนับสนุนชุมชนบ้านหัวเขาจีนได้แก่ ๑) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดราชบุรี ๒) สำนักงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดราชบุรี และสาขาอำ เภอปากท่อ ๓) สหกรณ์การเกษตรอำ เภอปากท่อ ๔) มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ๕) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ๖) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ๗) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เกิดเมื่อวันที่: ๓๑ ตุลาคม ๒๕๑๑ สถานที่เกิด:ตำบลสนามแหย้อำ เภอท่ามะกาจังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันอายุ: ๕๕ ปี นางวีณา สุขอยู่ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 51
๘) สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล ๙) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๑๐) สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดราชบุรี ๑๑) สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี ๑๒) องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยางโทน นอกจากนี้นางวีณาสุขอยู่มีบทบาทในการดำ เนินการและดูแลบริหาร จัดการกิจกรรมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าทอไทยทรงดำบ้านหัวเขาจีน และศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมไทยทรงดำบ้านหัวเขาจีน ทำ ให้เกิดการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ต่อเนื่องส่งผลให้เกิดการสร้างรายได้แก่สมาชิก และชุมชนอย่างยั่งยืน ผลงานสร้างสรรค์ที่นางวีณา สุขอยู่ เป็นมีส่วนสำคัญในการดำ เนินงาน ได้แก่ ๑) การก่อตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าทอไทยทรงดำบ้านหัวเขาจีน ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๔๒ และบริหารจัดการกลุ่ม มาจนถึง ปัจจุบันนับเป็นเวลารวมกว่า ๒๕ ปี ๒) ศูนย์เรียนรู้วัฒนธรรมไทยทรงดำบ้านหัวเขาจีนซึ่งก่อตั้งขึ้น เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นแหล่งเรียนรู้และศึกษาดูงานด้าน วิถีชีวิตและการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมไทยทรงดำ ของ สถาบันการศึกษา ชุมชนหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ๓) ชุมชนบ้านหัวเขาจีนได้รับการยกระดับเป็นหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยวบ้านหัวเขา ซึ่งได้รับการคัดเลือกจาก สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดราชบุรีในปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ๔) ชุมชนบ้านหัวเขาจีนได้รับการยกระดับเป็นหมู่บ้าน D-HOPE จากจังหวัดราชบุรีในปีพ.ศ. ๒๕๖๕ โดย D-HOPEเป็น แนวทางที่ได้รับการพัฒนาความคิดมาจากประเทศญี่ปุ่น เป็นการจัดกิจกรรมนิทรรศการในลักษณะกระจายมีโปรแกรม ที่เน้นให้ผู้เข้าชมร่วมลงมือทำ สามารถเรียนรู้จากการร่วม ประสบการณ์จริงในกิจกรรมนั้นๆรายได้ที่เกิดขึ้นกระจายไป ทั้งหมู่บ้าน ผู้ชมหรือนักท่องเที่ยวได้เดินทางไปยังหมู่บ้าน สัมผัสวิถีชีวิตของคนท้องถิ่น โดยเป็นลักษณะแนวทาง การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนและการดำ เนินงานชุมชน ท่องเที่ยว OTOPนวัตวิถี ๕) การจัดงานส่งเสริมการท่องเที่ยว “ธ.ก.ส. เดิน วิ่ง ชุมชน ท่องเที่ยวบ้านหัวเขาจีน”ในปีพ.ศ.๒๕๖๓ จัดโดยธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดราชบุรีเพื่อส่งเสริม การท่องเที่ยวชุมชนและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชน ให้เป็นที่รู้จัก รวมทั้งเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ต่อไป 52 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: สาขากีฬาและนันทนาการ(มวยไทย) ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๑๑๕/๓๗ หมู่บ้านปัญญทร หมู่ ๑ อำ เภอคูบัวอำ เภอเมือง จังหวัดราชบุรี๗๐๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๔ ๒๙๑ ๗๓๓๓ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีวท.บ.(สาขาวิชาไฟ้ฟ้าอุตสาหรรม)คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปริญญาโท ศศ.ม. (สาขาวิชามวยไทยศึกษา) วิทยาลัยมวยไทย ศึกษาและการแพทย์แผนไทยมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ปริญญาเอกศศ.ด. (สาขาวิชามวยไทยศึกษา)วิทยาลัยมวยไทย ศึกษาและการแพทย์แผนไทยมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ด้านการพัฒนาหลักสูตรมวยไทยในระดับปริญญาตรีปริญญาโท และปริญญาเอก ๒. โครงการต้นกล้ามวยไทยชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดีกรมหลวงราชสาริณี สิริพัชรมหาวัชรราชธิดา เกิดเมื่อวันที่: ๒๗ มิถุนายน ๒๕๒๖ สถานที่เกิด: เลขที่๑๐/๑ หมู่๑๐ ต.กระโพ อ.ท่าตูมจ.สุรินทร์ ปัจจุบันอายุ: ๔๐ ปี รองศาสตราจารย์ ดร.สำ ราญ สุขแสวง การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 53
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สาขา :อนุรักษ์อาหารไทย ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๕๘/๖๑ หมู่บ้านอารียา (ผกา) นาคนิวาส ๖ เขตลาดพร้าวกรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๖๕๕ ๗๑๙๙ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับปริญญาตรีสาขานาฎศิลป์และดุริยางคศิลป์ (ละคร) สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ระดับปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ผลงานสร้างสรรค์ ริเริ่มโครงการถนนวัฒนธรรม เพื่ออนุรักษ์สืบสาน และเผยแพร่ องค์ความรู้เกี่ยวกับอาหารไทยคาวหวานในรูปแบบนิทรรศการ การประกวดแข่งขันการสาธิตและการฝึกปฏิบัติการทำอาหารไทยคาวหวาน โดยความร่วมมือกับเครือข่ายวัฒนธรรม เช่น กระทรวงวัฒนธรรม วัฒนธรรมแต่ละเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โรงเรียนและชุมชนโดยรอบ มหาวิทยาลัยโดยแต่ละปีมีประเด็นสาคัญในการจัดกิจกรรมดังนี้ ปี ๒๕๕๘ นิทรรศการและสาธิตการทาอาหารไทยคาวหวานโบราณ ที่หาทานได้ยาก ปี ๒๕๕๙ นิทรรศการและสาธิตการทาอาหารไทยคาวหวานกับเครื่องใช้ ในครัวเรือน ปี ๒๕๖๐ นิทรรศการและการประกวดแข่งขันสืบสานตำนานมหกรรม ส้มตำบันลือโลกครั้งที่ ๓ ปี ๒๕๖๑ นิทรรศการอาหารประเภทเส้นการประกวดแข่งขันผัดไทย และการแต่งกายชายหญิงสมัยจอมพลป.พิบูลสงคราม ปี ๒๕๖๒ นิทรรศการและการประกวดแข่งขันห่อหมก ๔ ภาค และการแกะสลักผักผลไม้ ปี ๒๕๖๓ นิทรรศการอาหารไทยคาวหวานในพิธีมงคลและการ นำ เสนอผ้าไทยพื้นถิ่น เกิดเมื่อวันที่: ๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๗ สถานที่เกิด: จังหวัดนครพนม ปัจจุบันอายุ: ๖๙ ปี นางกุลชไม สืบฟัก 54 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ศาสนพิธี ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๙/๑ ถ.รัชดาภิเษกแขวงจันทรเกษมเขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๓ ๒๓๔ ๔๐๑๘ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโท ภาษาศาสตร์ พุทธศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยนาคปูร์, อินเดีย ผลงานสร้างสรรค์: เป็นผู้ปฏิบัติงานด้านศาสนพิธีกิจกรรมด้านพุทธศาสนา ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและกิจกรรมภายนอกเช่นงานศาสนพิธี ของวัดเสมียนนารีพระอารามหลวง วันเทวสุนทร วัดโพธิ์ และวัดยานนาวา รวมถึงงานพิธีต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ตั้งแต่ปี๒๕๕๗-ปัจจุบัน เป็นวิทยาการอบรมงานด้านศาสนพิธีให้บุคลากรภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัยรวมถึงอบรมให้ความรู้ด้านศาสนพิธีให้แก่ นักศึกษาและนักเรียนโรงเรียนต่างๆ ร่วมรื้อฟื้นศาสนพิธีกรที่แต่งกายด้วยชุดราชปะแตน เป็นการ อนุรักษ์และส่งเสริมการแต่งกายด้วยชุดไทยปฏิบัติงานศาสนพิธี เกิดเมื่อวันที่: ๕ ธันวาคม ๒๕๑๗ สถานที่เกิด: จังหวัดศีรษะเกษ ปัจจุบันอายุ: ๔๙ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปัตถนะ สิงห์ซอม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 55
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สาขา :อาหาร ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๙๗ กุฎีจีน ซอย ๙ ถนนเทศบาลสาย ๑ แขวงวัดกัลยาณ์เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๒-๔๖๕-๒๓๓๒ ประวัติด้านการศึกษา: โรงเรียนสุรนารีวิทยา จังหวัดนครราชสีมา ผลงานสร้างสรรค์: คุณปิ่นทอง วงษ์สกุล เป็นผู้นำ ชุมชนและเป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่ชุมชน เยาวชน ภาครัฐและหน่วยงานราชการเพื่อเป็นการอนุรักษ์ สืบสานต่อยอดให้ภูมิปัญญาด้านอาหารประเภทยำทวายให้คงอยู่สืบต่อไป โดยยำ ทวายเป็นอาหารประจำ ชุมชนกุฎีจีนของชนชาติโปรตุเกส เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร โดยนิยมรับประทานกันในช่วงฤดูหนาว เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย เครื่องปรุงประกอบด้วยผักนานาชนิด ซึ่งล้วนแต่เป็นผักพื้นบ้านซึ่งชาวโปรตุเกสในชุมชนกุฎีจีนจะทำ รับประทาน ในช่วงถือศีลอดของทุกปีและนับเป็นอาหารท้องถิ่นที่มีรสชาติเปรี้ยว หวาน เค็ม กลมกล่อม เป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของอาหารท้องถิ่น เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่: ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๐๓ สถานที่เกิด: จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันอายุ: ๖๓ ปี นางปิ่นทอง วงษ์สกุล 56 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:อาหาร ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๗๒ ถนนอิสรภาพ แขวงวัดกัลยาณ์ เขต ธนบุรีกรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๖ ๑๕๔ ๒๖๕๓ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๔๐ ศิลปะศาสตร์บัณฑิตสถานบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. ๒๕๔๖ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยสยาม พ.ศ. ๒๕๕๒ บริหารธุรกิจบัณฑิต(การตลาด)มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ผลงานสร้างสรรค์: อาจารย์นิชาภาพิมพสุต ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรีได้ดำ เนินงานด้านทำนุบำ รุงศิลปะวัฒนธรรมการส่งเสริมและต่อยอด องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอาหารจังหวัดสมุทรปราการได้แก่ยำชะคราม ลูกจากลอยแก้วกุ้งเหยียดซึ่งได้สร้างเอกสารเพลงพื้นบ้านกับภูมิปัญญาอาหาร ท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาอาหารท้อง ถิ่นในรูปแบบของเพลงพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อการเรียนรู้และอนุรักษ์สืบทอด ภูมิปัญญาอาหาร โดยการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เอกสารเพลงพื้นบ้านกับ ภูมิปัญญาด้านอาหารท้องถิ่นจังหวัดสมุทรปราการไปยังสถานศึกษาทั่วประเทศ นอกจากนี้ได้จัดการอบรม ส่งเสริม สืบสาน สร้างสรรค์เผยแพร่สื่อการเรียนรู้ และต่อยอดเชิงเศรษฐกิจด้านอาหารท้องถิ่นเขตธนบุรีกรุงเทพมหานครประเภท ขนมบัวลอยญวนโดยจัดทำสื่ออิเล็กทรอนิกส์เผยแพร่องค์ความรู้ในขั้นตอนและ กระบวนการทำบัวลอยญวนซึ่งเป็นขนมหวานที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกสและ ชาวญวนที่อพยพถิ่นฐานมาตั้งรกรากอยู่ในพื้นที่เขตธนบุรีกรุงเทพมหานคร โดยทำ การเผยแพร่ ถ่ายทอด และอนุรักษ์สืบสานการทำ ขนมบัวลอยญวน อีกทั้งเป็นการต่อยอดเชิงเศรษฐกิจให้แก่ประชาชน และบุคคลที่สนใจในการ ประกอบอาชีพ ตลอดจนเป็นการสร้างอัตลักษณ์ในด้านภูมิปัญญาอาหารให้แก่ ชุมชนเขตธนบุรีเป็นที่รู้จักต่อสาธารณชนทั่วโลก เกิดเมื่อวันที่: ๒๙ สิงหาคม ๒๕๑๕ สถานที่เกิด: จังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันอายุ: ๕๑ ปี อาจารย์นิชาภา พิมพสุต การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 57
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน: สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา สาขา : ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๐๖๑ สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๔๐๑ ๓๐๖๑ ประวัติด้านการศึกษา: ดุษฎีกิตติมศักดิ์สาขาสังคมวิทยามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผลงานสร้างสรรค์: หนังสือวัยเก๋าเล่าเรื่องฝั่งธน เกิดเมื่อวันที่: ๒๙ เมษายน ๒๔๗๘ สถานที่เกิด:กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอายุ: ๘๙ ปี คุณวราห์ โรจนวิภาต 58 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม: ๑. ส่งเสริมและเผยแพร่งานด้านศิลปวัฒนธรรมทั้งภายใน และต่างประเทศ ๒. ส่งเสริมและทานุบำ รุงงานด้านศาสนา ๓. บริหารจัดการงานบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรม ๔. ส่งเสริมอัตลักษณ์ความเป็นไทยให้แก่นักศึกษาและบุคลากร ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ๑๐๖๑ ซอยอิสรภาพ ๑๕ แขวงหิรัญรูจีเขตธนบุรีกรุงเทพฯ ๑๐๖๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๐ ๙๑๙ ๘๙๒๙ ประวัติด้านการศึกษา: ๒๕๕๙ ปริญญาเอกศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาศิลปกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๕๑ ปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการจัดการนันทนาการ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ ๒๕๔๘ ปริญญาตรีสาขานาฏศิลป์ไทยศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผลงานสร้างสรรค์: ณัฐภา นาฏยนาวิน และคณะ (๒๕๖๔). The creation of a performanceforpromotingthecultural identityof U-Thong District,SuphanburiProvince.Silpakorn UniversityJournal. Volume ๔๑, Number ๔ (July-August),๒๐๒๑. ๙๐-๑๐๐.(TCI ๑ จำนวน ๑๑ หน้า) ณัฐภานาฏยนาวิน. (๒๕๖๓).ระบาเบ็ดเตล็ด(GeneralThaiClassical Dance).พิมพ์ครั้งที่๑.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิกจำกัด. (จำนวน ๕๗๒ หน้า) ณัฐภา นาฏยนาวิน (๒๕๖๓). การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ชุด ฉุยฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (จำนวน ๒๓๘ หน้า) เกิดเมื่อวันที่: วันพุธที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๒๖ สถานที่เกิด:กรุงเทพฯ ปัจจุบันอายุ: ๔๐ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐภา นาฏยนาวิน การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 59
ณัฐภานาฏยนาวินและคณะ (๒๕๖๒).ภาพชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ์ อำ เภออู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรีจากการประกอบสร้างลีลาการแสดง. วารสารทีทัศน์วัฒนธรรมสานักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.ปีที่๑๘ ฉบับที่๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒)หน้า ๑๐๖-๑๓๑. (TCI ๒ จำนวน ๒๕ หน้า) ณัฐภานาฏยนาวิน. (๒๕๖๑).การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ชุดฉุยฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.วารสารศิลป์ปริทัศน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาปีที่ ๖ ฉบับที่๑ ๒๕๖๑ (มกราคม-มิถุนายน).หน้า ๓๙-๔๘. (TCI ๒ จำนวน ๙ หน้า) ณัฐภา นาฏยนาวิน. (๒๕๖๐). เอกสารคำสอน เรื่องราฉุยฉาย. กรุงเทพมหานคร: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.(จำนวน๗๐๒หน้า) ณัฐภา นาฏยนาวิน และคณะ (๒๕๖๐). การสร้างสรรค์การแสดง เพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของอำ เภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย(สกว.). (จำนวน ๑๗๔ หน้า) ณัฐภานาฏยนาวิน. (๒๕๕๙). TheCreative Dance onSlave. The ๙thSilpakorn UniversityInternationalConference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science. วันที่ ๑๑-๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙. มหาวิทยาลัยศิลปากร. (นำ เสนอผลงานวิชาการ) ณัฐภา นาฏยนาวิน. (๒๕๕๙). โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม และงานสร้างสรรค์สู่สากลครั้งที่ ๒. วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙. โรงละครมหาวิทยาลัยผู้สูงวัยเทียนจิน. สาธารณรัฐ ประชาชนจีน(การแสดงนาฏยศิลป์) ณัฐภา นาฏยนาวิน. (๒๕๕๘). โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม และงานสร้างสรรค์สู่สากลครั้งที่ ๑. วันที่ ๔-๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘. โรงละครมหาวิทยาลัยผู้สูงวัยเทียนจิน. สาธารณรัฐ ประชาชนจีน(การแสดงนาฏยศิลป์) ณัฐภา นาฏยนาวิน. (๒๕๕๖). เอกสารประกอบการสอน เรื่องระบำ เบ็ดเตล็ด. กรุงเทพมหานคร : คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (จำนวน ๔๘๙ หน้า) ณัฐภา นาฏยนาวิน. (๒๕๕๖). ระบำ โบราณคดี. พิมพ์ครั้งที่๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำ กัด. (จำนวน ๒๑๘ หน้า) 60 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ผู้อำนวยการกองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สาขา :ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: เลขที่ ๕๘ หมู่ ๒ ตำบลคลองข่อย อำ เภอ โพธารามจังหวัดราชบุรี๗๐๑๒๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๓ ๑๙๒ ๙๑๙๖ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ.๒๕๓๐ ระดับประถมศึกษาโรงเรียนวัดมณีโชติ(อยู่วัดตั้งแต่๕ ขวบ จนเรียนจบระดับปริญญตรี) พ.ศ.๒๕๓๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวิชัยวิชาคม อำ เภอโพธารามจังหวัดราชบุรี พ.ศ.๒๕๓๗ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนโพธาวัฒนาเสนี อำ เภอโพธารามจังหวัดราชบุรี พ.ศ.๒๕๔๑ ระดับปริญญาตรีวิชาเอกนิเทศศาสตร์สาขาวารสารศาสตร์ และการประชาสัมพันธ์สถาบันราชภัฎหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ.๒๕๕๐ ระดับปริญญาโทสาขาบริหารวัฒนธรรม วิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลงานสร้างสรรค์: ๑. พิธีกรร่วมดำ เนินรายการ“ColorYoColorful”ทางช่องบางกอกทูเดย์MVtv ๒. อาจารย์พิเศษด้านการพัฒนาบุคลิกภาพมารยาทไทยและการพูดในที่ชุมชน ๓. คอลัมภ์นิส“คนในวัฒนธรรม”หนังสือพิมพ์สยามรัฐ ๔. พิธีกร ผู้ดำ เนินรายการเสวนาด้านศิลปวัฒนธรรมและพิธีกรทั่วไป ๕. คณะกรรมตัดสินงานประกวดด้านศิลปวัฒนธรรม ๖. ผู้ออกแบบและควบคุมการแสดงและดำ เนินการจัดงาน“สิงห์คืนถํ้า” ประจำปี๒๕๕๔-๒๕๕๕ ๗. กรรมการสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยนวัตกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ๘. คณะทำงานห้องสมุดธรรมะเพื่อเด็กผู้ด้อยโอกาสภาคตะวันออกและภาคเหนือ ๙. พิธีกรอาสา งานกาชาดประจำปี๒๕๕๔ โดยสภากาชาดและ เหล่ากาชาดจังหวัด ๑๐.วิทยากรอาจารย์พิเศษการจัดการความรู้ด้านวัฒนธรรมแด่พระสงฆ์ และนักศึกษาหลักสูตรศาสนบัณฑิตมหาวิทยาลัยมงกุฎราชวิทยาลัย ๑๑.ที่ปรึกษาการแสดงละครเวทีเรื่อง“Weman”ชมรมละครคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่: ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๘ สถานที่เกิด: จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันอายุ: ๔๙ ปี นายบุญสืบ ขลิบเพ็ง การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 61
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๕๗/๑๑๘ ถนนหัวหมาก แขวงหัวหมาก เขต บางกะปิกรุงเทพมหานคร ๑๐๒๔๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๘ ๙๒๘ ๓๓๕๕ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับปริญญาเอก พ.ศ. ๒๕๕๖ ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต(ศษ.ด.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์บางเขนวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๕๐ การศึกษามหาบัณฑิต(กศ.ม.) สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๗ ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.) สาขาวิชาภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยรามคำ แหง ผลงานสร้างสรรค์: ๑. เป็นผู้ดำ เนินการและประสานงานสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการดำ เนินงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมทั้งในประเทศและ ต่างประเทศอาทิเช่น ๑.๑ ลงนามความร่วมมือเครือข่าย ๑๕ สถาบัน ๑.๒ ลงนามความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๑.๓ ลงนามความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย October๖ กรุงไคโรสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ ๑.๔ ลงนามความร่วมมือด้านศิลปวัฒนธรรมสภาศิลปและ วัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย กลุ่ม มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั่วประเทศ ๓๘ แห่ง ๑.๕ ลงนามความร่วมมือกับ National UniversityofArts andCulture,Yangon, Myanmar ๑.๖ ลงนามความร่วมมือกับการท่องเที่ยวไทยและสมาคม ผู้ประกอบการธุรกิจอาหารไทยในSydneyออสเตรเลีย ๑.๗ลงนามความร่วมมือด้านศิลป์วัฒนธรรมกับ Udayana Universityบาหลีอินโดนีเซีย เกิดเมื่อวันที่: ๑๒ กันยายน ๒๕๒๖ สถานที่เกิด: จังหวัดระนอง ปัจจุบันอายุ: ๔๐ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัญณภัทร นิธิศวราภากุล 62 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
๑.๘ ลงนามความร่วมมือด้านศิลป์วัฒนธรรมกับ Pangasinan State University ฟิลิปปินส์ ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๐๑๒ -ปัจจุบัน ๒. เป็นผู้ประสานงาน ผู้ดำ เนินการหาเครือข่ายวัฒนธรรมทั้ง ในประเทศและต่างประเทศตลอดจนเป็นผู้ดำ เนินการจัดทำ ProposalและPortfolio เกี่ยวกับประวัติข้อมูลพื้นฐานและ รายละเอียดการแสดงของสำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จนได้รับคัดเลือกจาก กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ตลอดจน มีเครือข่ายกับกระทรวงวัฒนธรรมและสถานเอกอัครราชทูตไทย ที่ประจำอยู่ในประเทศต่างๆ ให้ไปเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม ในหลายครั้งทั้งในและต่างประเทศ (พอสังเขป) อาทิเช่น เทศกาลหุ่นโลกกรุงเทพ ๒๐๑๔ ปีพ.ศ.๒๕๑๕ ทำ ให้คณะหุ่นละครเล็กของมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครถูกบันทึกในทำ เนียบคณะหุ่นของกระทรวงวัฒนธรรม เทศกาลหุ่นโลก ณ จังหวัดกระบี่ ๒๐๑๘ การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในประเทศเกาหลีใต้ การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในเกาะบาหลี, Indonesia การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณกระทรวงการท่องเที่ยวและ วัฒนธรรม(สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม) การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณมหาวิทยาลัย National University of Arts and Cultures (เมืองย่างกุ้ง, สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา) การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ กระทรวงวัฒนธรรม (สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา) การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ รัฐ Missouri, USA การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมืองCanberra,Australia การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมืองSydney,Australia การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมืองMelbourne,Australia การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมืองMoscow, Russia การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ เมืองAswan,Egypt การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมืองAbuSimbel,Egypt การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ เมืองCairo,Egypt การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเมือง Reykjavik, Iceland การเผยแพร ่ศิลปะการแสดง ณ Opera House, Austria ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๐๑๒-ปัจจุบัน การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณFestivalinKarditsa,Greece การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณHongKongFilmFestival การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณโรงเรียนศิลปะแห่งชาติ กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรมและกองศิลปะกระทรวง ป้องกันประเทศ(สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณงานเปิดตัวช่องNBTWorld โดยมีคณะทูตจากประเทศต่างๆทั่วโลกร่วมงาน การเผยแพร่ศิลปะการแสดงทางนิตยสารคู่สร้างคู่สม การเผยแพร่ศิลปะการแสดงทางรายการยกทัพข่าวเช้า ช่วงคุยกับดำ รงทางช่องPPTV การเผยแพร่ศิลปะการแสดงทางรายการบ่ายนี้มีคำตอบ ทาง ช่อง ๙ อสมท. การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในงานฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ ครบรอบ ๒๓๕ ปีและ ๒๓๖ ปี การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ เวทีSiam Center ที่จัดขึ้นทุกสัปดาห์โดยกระทรวงวัฒนธรรม การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณเวทีสีลมถนนคนเดินโดย กระทรวงวัฒนธรรม การเผยแพร่ศิลปะการแสดงณท่าอากาศยานดอนเมือง สาธิตภูมิปัญญาการผลิตดอกไม้จากดินไทย ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง การเผยแพร่ศิลปะการแสดงและสาธิตการแสดงหุ่นละครเล็ก ณ หอศิลป์ร่วมสมัยราชดำ เนิน การเผยแพร่ศิลปะการแสดง ณ โรงละครแห่งชาติ การเผยแพร่ศิลปะการแสดงทาง ช่อง ๗ การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในงานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาทุกปี การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในงานสายใยรัก การเผยแพร่ศิลปะการแสดงในงานอุ่นไอรักคลายความหนาว การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ณตลาดวัฒนธรรมคลองผดุงกรุงเกษมตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๑๒-ปัจจุบัน ๓. เป็นผู้ประสานงานลงนามความร่วมมือสถาบันเครือข่าย (MOU)โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมไทย :MeThaiContest๒๐๑๙ภายใต้แนวคิด“จิตอาสาสืบสานรักษา และต่อยอดการทำความดีเพื่อแผ่นดิน” กลุ่มมหาวิทยาลัย ๑๑ แห่งณมหาวิทยาลัยราชพฤกษ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔. เป็นผู้รับผิดชอบโครงการจัดกิจกรรมด้านทำนุบำ รุงศิลปะ วัฒนธรรม ของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร ดำ เนินงานที่เกี่ยวข้องกับ ชาติศาสนา พระมหากษัตริย์และประเพณีได้ดำ เนินงานจัดต่อเนื่อง เป็นประจำทุกปีดังนี้ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 63
๔.๑ กิจกรรมหล่อเทียนแห่เทียนและถวายเทียนจำนำ พรรษา ร่วมกับกับกองพัฒนานักศึกษาและคณะทุกคณะ ๔.๒ กิจกรรมทำบุญใส่บาตรทุกวันต่อเนื่องทุกปีร่วมกับ คณะทุกคณะหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ๔.๓ กิจกรรมประเพณีวันสงกรานต์ทำ ร่วมกับกองพัฒนา นักศึกษาคณะและหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ๔.๔ กิจกรรมเทศน์มหาชาติณมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ๔.๕ กิจกรรมถวายพระพรเนื่องในวันพระราชสมภพ พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๐๑๒-ปัจจุบัน ๕. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ด้านศิลปวัฒนธรรมเรื่องการพัฒนาและปรับปรุงแผนกลยุทธ์ งบประมาณและงานประกันคุณภาพการศึกษาณห้องประชุม กิจรัตน์ภร๑ สำนักศิลปะและวัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ และ ๒๕๖๓ ๖. เป็นผู้รับผิดชอบและดำ เนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ภาษาอังกฤษหลักสูตรพัฒนานักสื่อความหมายภาษาอังกฤษ เพื่อการนำ เสนอ Street Food: อาหารและวัฒนธรรม เส้นทางปากคลองตลาด-เยาวราชณอาคารฝึกประสบการณ์ วิชาชีพและลงพื้นที่เส้นทางปากคลองตลาด–ตลาดน้อย และเยาวราชโดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร ร่วมกับ สมาคมมัคคุเทศก์ภาษาอังกฤษ แห่งประเทศไทยประจำปีงบประมาณ๒๕๖๐๒๕๖๑และ๒๕๖๒ ๗. เป็นผู้ดำ เนินงานประสานงานและพิธีกรโดยสำนักศิลปะและ วัฒนธรรมร่วมกับกองพัฒนานักศึกษาคณะทุกคณะจัด โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปลูกจิตสำนึกด้านมารยาทไทย และการสื่อสารเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ของนักศึกษาซึ่งได้รับเกียรติ จากอาจารย์พะเยาว์พัฒนพงศ์เป็นวิทยากรผู้ถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านมารยาทไทยให้กับนักศึกษา เมื่อวันที่๒๘ สิงหาคมพ.ศ.๒๕๖๒ณหอประชุมภัทรมหาราชมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนคร เมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๘. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กิจกรรม การสร้างเครือข่ายด้านศิลปวัฒนธรรม และจัดประชุม วิชาการในระดับภูมิภาค หัวข้อเรื่อง “การเพิ่มศักยภาพ ประสบการณ์และพัฒนาองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรม”โดย คณะวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านศิลปวัฒนธรรมจาก สถาบันการศึกษาและกระทรวงวัฒนธรรมโดยมีคณะผู้บริหาร เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยต่างๆ เข้าร่วม กิจกรรมในครั้งนี้เมื่อวันที่๒๐ –๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และจังหวัดนครนายก เมื่อวันที่ ๒๐ - ๒๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒ ๙. เป็นผู้รับผิดชอบและดำ เนินโครงการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครร่วมกับธนาคารออมสินจัดโครงการมหาวิทยาลัย ประชาชนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ “การร้อยมาลัยดอกไม้สดตามวิถีชาววัง”เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ณห้องประชุมชั้น ๕ สำนักงาน เทศบาลเมืองบางบัวทองจังหวัดนนทบุรีเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๐. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมการแสดงโขน -หุ่นละครเล็กงานพระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก โดย จังหวัดนครนายกร่วมกับสำนักวัฒนธรรมจังหวัดนครนายก แสดงโดยสาขานาฏศิลป์และการละครในวันที่๒๓พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ณเวทีลานกิจกรรมเทศบาลเมืองนครนายก วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑๑. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมเผยแพร่ศิลปะ วัฒนธรรมการแสดงโขน แสดงโดยอาจารย์และนักศึกษา สาขานาฏศิลป์และการละครร่วมกับสำนักศิลปะและวัฒนธรรม วันที่๒๒มีนาคม๒๕๖๒ณหอประชุมใหญ่มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยาวันที่๒๒มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑๒. เป็นผู้ดำ เนินการ ประสานงาน และพิธีกรกิจกรรมการ แสดงโขนเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่๑๐ แสดงโดยนักศึกษา สาขานาฏศิลปะและการละครร่วมกับโรงเรียนในเขต กรุงเทพมหานครและสำนักศิลปะและวัฒนธรรมวันที่๒๘ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๖๒ณลานหน้าอาคารเรียนรวมและ ศูนย์วัฒนธรรมวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๓. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรดำ เนินการจัดงาน ประชุมวิชาการนานาชาติเครือข่ายศิลป์วัฒนธรรมมหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทยครั้งที่๙ ภายใต้ชื่องาน“ศิลปะวัฒนธรรม บนพื้นฐานของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (TheInternational ConferenceofArtsandCultureonCreativeEconomy) ครั้งที่ ๙ ภายใต้หัวข้อ “Thawarawadee : Local Life, Way of Dhamma, and Leading Knowledge to EconomyCreation”ระหว่างวันที่๑๑ - ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุม ชั้น ๒ อาคารสิริวรปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ระหว่างวันที่ ๑๑ - ๑๓ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. เป็นผู้ดำ เนินการ ประสานงาน และพิธีกรกิจกรรมการ แสดงโขน-หุ่นละครเล็กหน้าพระพักตร์สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม 64 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ราชกุมารีในงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยวันที่๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๒ณอุทยานพระบรมราชานุสรณ์(อุทยานร.๒) อำ เภออัมพวาจังหวัดสมุทรสงครามเมื่อวันที่๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรการเข้าร่วมเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมในโครงการศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาครั้งที่ ๑๙ “สืบสานวัฒนธรรมนาฏลีลา เฉลิมพระเกียรติ พระราชาแห่งแผ่นดิน” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ระหว่างวันที่๓ – ๖ กุมภาพันธ์พ.ศ.๒๕๖๒ ๑๖. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย การแสดงโขนหุ่นละครเล็ก จัดโดย กระทรวงวัฒนธรรมร่วมกับวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรีโดย นักศึกษาสาขานาฏศิลป์และการละครร่วมกับสำนักศิลปะ และวัฒนธรรมวันที่๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ลาน วัฒนธรรมจังหวัดราชบุรีวันที่๒๐ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑๗. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมเข้าร่วมเผยแพร่ ศิลปะวัฒนธรรมการแสดงโขน–หุ่นละครเล็กเรื่องรามเกียรติ์ ชุดจองถนนการแสดงระบำ พัทธวิสัยและการแสดงชุดรำ โนรา ในงาน“อุ่นไอรักคลายความหนาว”ณพระลานพระราชวังดุสิต วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยร่วมกับกระทรวง วัฒนธรรม เมื่อวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๘. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรให้สำนักศิลปะและ วัฒนธรรม ร่วมกับ สาขาวิชานาฏศิลป์และการละคร เข้าร่วมกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมสัญจรการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ตอน“ท้าวมาลีวราชว่าความ”ณสถาบัน คึกฤทธิ์ซอยสวนพลูกรุงเทพมหานคร วันที่ ๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒ วันที่ ๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒ ๑๙. ดำ เนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอด ภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมอาชีพให้แก่ ชุมชนและเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ การผลิตบัวประดิษฐ์ ด้วยดินไทย วันที่ ๒๖ – ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ โรงเรียนโคกสว่าง ตำ เขาเพิ่ม อำ เภอบ้านนา จังหวัด นครนายกระหว่างวันที่๒๖ –๒๗พฤศจิกายนพ.ศ.๒๕๖๑ ๒๐. ดำ เนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการภาษาอังกฤษ การนำ เสนอภาษาอังกฤษและภูมิปัญญาท้องถิ่น เส้นทาง การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในท้องถิ่นจังหวัดลพบุรีวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๑ ณ วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์และ ชุมชนในเขตอำ เภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๑. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมเผยแพร่ ศิลป์วัฒนธรรมการแสดงหุ่นละครเล็กในงานเทศกาลหุ่นโลก ให้สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ระหว่างวันที่ ๓๑ ตุลาคม –๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณจังหวัดกระบี่ และจังหวัดภูเก็ตระหว่างวันที่๓๑ ตุลาคม – ๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๒. เป็นผู้ดำ เนินการ ประสานงาน และพิธีกรการเข้าร่วม โครงการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนเพื่อแลกเปลี่ยน เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมการแสดงและถ่ายทอดเผยแพร่ศิลป วัฒนธรรมไทยการแสดงโขน – หุ่นละครเล็ก ณ จังหวัด สุราษฎร์ธานีวันที่ ๑๒ -๑๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ระหว่างวันที่ ๑๒ -๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๓. เป็นผู้ดำ เนินการประสานงานและพิธีกรกิจกรรมการแสดง หุ่นละครเล็กงาน“เทศกาลหุ่นอยุธยานานาชาติ”(Ayutthaya Harmony International Puppet Network) ระหว่าง วันที่๒๒-๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๑ณวัดไชยวัฒนาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาระหว่างวันที่๒๒-๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๑ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 65
๒๔. เป็นคณะกรรมการดำ เนินการจัดงานประชุมวิชาการ นานาชาติเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทย ครั้งที่ ๘ ภายใต้ชื่องาน “มรดกโลก : ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (World Heritage: IntangibleCultural toCreativeEconomy) ระหว่างวันที่๑๕-๑๗กุมภาพันธ์๒๕๖๑ณคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิระหว่างวันที่ ๑๕-๑๗ กุมภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๕. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการนุ่งซิ่นอินเทรนด์ รักษ์ผ้าไทยอัตลักษณ์ไทยโดย ผศ.ดร.สิริพิชญ์วรรณภาส เป็นวิทยากรผู้บรรยายและในช่วงที่สองเป็นการสาธิตการ นุ่งผ้าไทยให้สวยเก๋โดยคณะวิทยากรจากเพจสามใบเถารัก ผ้าไทยคุณเพ็ญพรรณแหลมหลวง ผู้ประกาศข่าวช่อง ๙ อสมท.คุณประไพจิตร โภชน์พันธ์และคุณจันทนา เชิงกล ณ อาคารบูรณาการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ชั้น ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ๒๖. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาการเสวนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสำหรับการเข้าสู่ไทยแลนด์๔.๐ ณ จังหวัดลำปาง และจังหวัดเชียงราย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๗. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะ การถ่ายทอดภูมิปัญญา“การผลิต-จำหน่ายสินค้าท้องถิ่น ด้วยภาษาอังกฤษ”ณเส้นทางแม่กลองตลาดนํ้าดำ เนินสะดวก จ.ราชบุรีและ ตลาดนํ้าอัมพวา จ.สมุทรสงคราม โดย ร่วมกับสมาคมมัคคุเทศก์ภาษาอังกฤษแห่งประเทศไทย เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๘. เป็นผู้รับผิดชอบจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการถ่ายทอด ภูมิปัญญาการผลิตบัวประดิษฐ์ด้วยดินไทยและการออกแบบ บรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าส่งเสริมอาชีพและวิสาหกิจ ชุมชน ณ โรงเรียนโคกสว่างตำบลเขาเพิ่มอำ เภอบ้านนา จังหวัดนครนายกเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๙. เป็นตัวแทนประเทศไทยในฐานะกรรมการตัดสินการประกวด ศิลปะการแสดงระดับนานาชาติในงานArtsandCulture Festival๒๐๑๖(Cambodia,Myanmar,Laos,Thailand, andVietnam) ณ จังหวัดกว๋างจิสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนามโดยได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ประเทศไทย ให้เป็นตัวแทนประเทศ ในฐานะกรรมการตัดสินการประกวด พ.ศ.๒๕๕๙ จำนวน๑๕วัน ๓๐. เป็นผู้ประสานงานและดำ เนินงานเครือข่ายวัฒนธรรม ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครกับช่อง NBTWorld พ.ศ. ๒๕๕๘ –ปัจจุบัน ๓๑. เป็นผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรมระหว่างมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรมและสำนักงาน ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ.๒๕๕๖ –ปัจจุบัน ๓๒. เป็นผู้ประสานงานเครือข่าย ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครกับกรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๖ –ปัจจุบัน ๓๓. เป็นผู้ประสานงานเครือข่ายวัฒนธรรมระหว่างมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครกับ British Council Thailand พ.ศ. ๒๕๕๙ –ปัจจุบัน 66 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ด้านศิลปวัฒนธรรมรัตนโกสินทร์ โดยการนำภูมิปัญญาความเป็นวังสวนสุนันทานำมาประยุกต์ใช้ในชีวิต ประจำ วัน อาทิภูมิปัญญาด้านอาหาร : อาหารที่เกี่ยวข้องกับความเป็น สวนสุนันทา,ภูมิปัญญาด้านศิลป์:ภาพเขียนสีนํ้าฯลฯ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ ๑ ถนนอู่ทองนอก แขวงวชิระพยาบาล เขต ดุสิตกรุงเทพ ๑๐๓๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๖๔๑ ๗๗๑๗ ประวัติด้านการศึกษา: Ph.D. In DesignArts.Silpakorn University ผลงานสร้างสรรค์: พัฒนาการออกแบบลักษณะไทยและการสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ด้วย การประยุกต์ลวดลายผ้าให้มีรูปแบบที่สอดคล้องกับความต้องการทางการ ตลาดและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ให้กับชุมชนกลุ่มทอผ้าบ้านผืออำ เภอ บ้านผือจังหวัดอุดรธานี เกิดเมื่อวันที่: ๓๑ มกราคม ๒๕๑๗ สถานที่เกิด:กรุงเทพ ปัจจุบันอายุ: ๔๙ ปี อาจารย์ ดร.พีระพล ชัชวาลย์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 67
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สานักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏกำ แพงเพชร ด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม:ส่งเสริมงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม งานวิจัยและบริการวิชาการด้านศิลปะและวัฒนธรรม และส่งเสริมศิลป วัฒนธรรมร่วมสมัย ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:สานักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ แพงเพชร หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๖ ๓๓๔ ๐๖๙๗ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาเอก (๒๕๕๙) ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท (๒๕๕๐) ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารงาน วัฒนธรรม (การแสดงและการผลิตทางวัฒนธรรม) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปริญญาตรี (๒๕๔๗)นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเอกการแสดง และกากับการแสดงสาขาวิชาโทวิทยุและโทรทัศน์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผลงานสร้างสรรค์ : ด้านสร้างสรรค์การแสดงและการประกวด ผู้ควบคุมและที่ปรึกษาชมรมทูบีนัมเบอร์วัน สานักศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร ทีมPerfect Skills KPRU รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ ระดับจังหวัด ๙ ปีซ้อน (๒๕๘๘-ปัจจุบัน) , การประกวดเต้น Teen Dancercise รุ่นTeenageชมรมทูบีนัมเบอร์วันมหาวิทยาลัยราชภัฏกำ แพงเพชร โดยได้รับรางวัลชมเชยปี๒๕๖๒และ๒๕๖๕ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ ปี๒๕๖๑ , ๒๕๖๔ และ๒๕๖๗ และได้เป็นตัวแทน ภาคเหนือสู่การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ ผู้ควบคุมและที่ปรึกษาชมรมเชียร์หลีดดิ้ง มหาวิทยาลัยราภัฏ กำ แพงเพชร(๒๕๖๐-ปัจจุบัน) ได้รับรางวัลระดับประเทศทุกปี จากการแข่งขัน เชียร์หลีดดิ้ง ชิงแชมป์ประเทศไทย TNCC และปี๒๕๖๕ ได้รับถ้วยรางวัลรวมสูงสุดจากสมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ผู้ควบคุมและที่ปรึกษาชมรมทูบีนัมเบอร์วันสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกำ แพงเพชร ทีม perfect skill by kpru จนทีมได้รางวัลชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดเต้น cover dance ๒๐๑๘ ของ TRUE เกิดเมื่อวันที่: ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ สถานที่เกิด: - ปัจจุบันอายุ: ๔๒ ปี รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภโชคชัย นันทศรี 68 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สอนการแสดงและการกำกับการแสดงละครเวทีเรื่องลวง และละครเวทีเรื่องดาวจรัสแสงคณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัย เจ้าพระยาปี๒๕๕๘-๒๕๕๙ ผู้สอนการแสดงและการกำ กับการแสดง โปรแกรมวิชา นิเทศศาสตร์คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ แพงเพชรปี๒๕๕๕-ปัจจุบัน ด้านการวิจัยทางวัฒนธรรม ศุภโชคชัย นันทศรี.๒๕๖๒.การพัฒนารูปแบบรายการ โทรทัศน์ดิจิทัลของผู้สูงอายุ.กรุงเทพฯ: สำ นักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(ทุนวช.) ศุภโชคชัย นันทศรี.๒๕๖๒.ปัจจัยที่มีผลต่อการดำ รงอยู่ ของการแสดงพื้นบ้านของตำบลไตรตรึงษ์จังหวัดกำ แพงเพชร ผู้สูงอายุ.(ทุนสานักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ กำ แพงเพชร) ศุภโชคชัย นันทศรี.๒๕๖๓.กลยุทธ์การเล่าเรื่องเพื่อ เพิ่มมูลค่ากล้วยไข่เมืองกำ แพงเพชรผู้สูงอายุ.กรุงเทพฯ: สำ นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(ทุนสานักศิลปะ และวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร) ศุภโชคชัยนันทศรี.๒๕๖๔ การสร้างฐานข้อมูลนวัตกรรม และการใช้ประโยชน์จากการละเล่นพื้นบ้านสำหรับผู้สูงอายุ ในจังหวัดกำ แพงเพชร(ทุนวช.) ศุภโชคชัย นันทศรี.๒๕๖๕ รูปแบบการผลิตสื่อเรื่องเล่า เชิงประวัติศาสตร์และเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ของผู้สูงอายุในจังหวัดกำ แพงเพชร (ทุน กองทุนพัฒนา สื่อสร้างสรรค์และปลอดภัย) ด้านบทความวิชาการและบทความวิจัยด้านศิลปะและวัฒนธรรม (ระดับชาติและนานาชาติ) การพัฒนาศักยภาพละครเวทีปี๒๕๕๙ ธุรกิจละครพื้นบ้านทางโทรทัศน์ในยุคโลกาภิวัตน์ปี๒๕๕๙ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดำ รงอยู่ของรายการละครพื้นบ้าน ทางโทรทัศน์ปี๒๕๕๘ Thedevelopmentofstudents’competencyinthree dimensions of stageplay screenปี๒๕๕๘ แนวทางการดำ รงอยู่ของรายการละครพื้นบ้านทางโทรทัศน์ ปี๒๕๕๕ แนวทางการจัดกิจกรรมสำหรับผู้สูงอายุตำบลไตรตรึงษ์ จังหวัดกำ แพงเพชรปี๒๕๖๐ The local language of the Phran Kratai city KamphaengPhetProvince (นานาชาติปี๒๕๖๒) Beliefs and Faiths from Overseas Chinese into KhlongLan,KamphaengPhet (นานาชาติปี๖๒) ThaibeliefsandLocalTraditioninGoldenRabbitCave, KamphaengPhetProvince (นานาชาติปี๒๕๖๒) Mien Embroidered Cloth in Kamphaeng Phet Province (นานาชาติปี๒๕๖๒) “Pong Kham”Kamphaeng Phet Quartz Crystal (นานาชาติปี๒๕๖๒) Thai Song Dam, Wang Nam Village, Wang Yang Subdistrict,KhlongKhlung District,KamphaengPhet Province (นานาชาติปี๒๕๖๒) Krayasart, Traditions, Beliefs to the Community Product :ACase studyof theKrayasart Wilaiwan Groups Mueang District, A Case Study of the Krayasart Wilaiwan Groups Mueang District, KamphaengPhetProvince(นานาชาติปี๒๕๖๒) Hmong sticky rice tradition in Kamphaeng Phet Province (นานาชาติปี๒๕๖๒) PhranKratai Marble (นานาชาติปี๒๕๖๒) Nakhon Trai Trung Folk Performance Culture (นานาชาติปี๒๕๖๒) LearningCenterofBuddhaAmuletsin NakhonChum City,KamphaengPhetProvince(นานาชาติปี๒๕๖๒) SukhothaistylestyleartsculptureinKamphaeng PhetProvince (นานาชาติปี๒๕๖๒) Kamphaeng Phet World Heritage City Historical Park (นานาชาติปี๒๕๖๒) TheForestof Natural Resources,MaeWong National Park (นานาชาติปี๒๕๖๒) Bananatothe well-knownproduct inKamphaeng Phet (นานาชาติปี๒๕๖๒) ปัจจัยที่มีผลต่อการดำ รงอยู่ของการแสดงพื้นบ้าน ของตไบลไตรตรึงษ์จังหวัดกไแพงเพชรผู้สูงอายุTCI ๒ (ปี๒๕๖๔) การสร้างฐานข้อมูล นวัตกรรม และการใช้ประโยชน์ จากการละเล่นพื้นบ้านสำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดกำ แพงเพชร TCI ๒ (ปี๒๕๖๔) การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรอบรมระยะสั้นการผลิต สื่อโฆษณาดิจิทัลTCI ๒ (ปี๒๕๖๕) Historicalnarrative mediaproduction model and disseminating online public relations materials for the elderly in Kamphaeng Phet province. (นานาชาติฐานPubmedปี๒๕๖๖) การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 69
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สาขา :คหกรรมศาสตร์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒๖๖/๕๐-๕๕ ถนนสันโค้งน้อย อำ เภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๕๗๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๕๓ ๗๑๒๒๙๐, ๐๕๓ ๗๑๑๘๖๙ ประวัติด้านการศึกษา: วิทยาลัยครูเชียงราย สาขาวิชาเอกการประถม ศึกษา วิชาโทคหกรรมศาสตร์ ผลงานสร้างสรรค์: นางบังอรทิศสกุล ได้นำอาหารล้านนาที่ขึ้นชื่อของจังหวัดเชียงราย มาพัฒนาตำ รับให้โดดเด่นเป็นที่ยอมรับเพื่อรองรับการท่องเที่ยวทั้งชาว ต่างชาติและผู้สนใจ นำมาเป็นสำ รับอาหารแบบขันโตกล้านนา จำหน่าย ในร้านอาหารสบันงาขันโตกโดยมีอาหารที่พัฒนาตำ รับอาหารให้เหมาะ สมกับความต้องการของนักท่องเที่ยวมากขึ้น สบันงาขันโตกเป็นสถาน ประกอบการอาหารที่บริหารอาหารพื้นเองที่เดียวในจังหวัดเชียงราย ที่ให้บริการอาหารแบบขันโตกทุกวัน นอกจากพัฒนาตำ รับอาหารให้โดดเด่นเป็นที่ยอมรับเพื่อรองรับ การท่องเที่ยวทั้งชาวต่างชาติและผู้สนใจนางบังอรทิศสกุลใช้องค์ความรู้ ทางด้านคหกรรมศาสตร์มาใช้ในการจัดตกแต่งอาหาร และสถานที่ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและผู้สนใจทั่วไป ปัจจุบัน ร้านอาหารสบันงาขันโตกประสบความสำ เร็จในการบริหาร ร้านอาหารจนได้รับการยอมรับให้เป็นร้านอาหารชั้นนำ ในการส่งเสริม การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และเป็นร้านอาหารที่ใช้เป็นแหล่งฝึกงาน แก่นักศึกษาจากสถาบันต่างๆรวมทั้งนักศึกษาสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย และเป็นแหล่งศึกษาดูงานทางด้านอาหาร ปลอดภัยและอาหารล้านนาในจังหวัดเชียงราย เกิดเมื่อวันที่: ๒ เมษายน ๒๔๘๒ สถานที่เกิด:อำ เภอเมือง จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันอายุ: ๘๕ ปี นางบังอร ทิศสกุล 70 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผลงานและการประสบความสำ เร็จในวิชาชีพ วิทยากรให้ความรู้เรื่องอาหารล้านนาแก่หน่วยงานภาครัฐเอกชน และนักศึกษาสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย กรรมการตัดสินการประกวดอาหารล้านนาในจังหวัดเชียงราย เข้าร่วมโครงการวิจัยการพัฒนาขันโตกเพื่อสุขภาพสู่ครัวโลก : กรณีศึกษาสบันงาขันโตก สนับสนุนงบประมาณโดย สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาปีพ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับการเผยแพร่ลงหนังสือพิมพ์เชียงรัฐเกี่ยวกับอาหาร พื้นเมืองบุฟเฟ่ต์ที่ “สบันงา” Food & Beverage ประจำ วันที่ ๑๖-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ กรรมการตัดสินอาหารจากถั่วเน่าในสำ รับขันโตก กรรมการตัดสินอาหารจากสับปะรดที่จัดในสำ รับขันโตก งานสับปะรด ลิ้นจี่ และของดีเมืองเชียงราย โดยองค์การ บริหารส่วนจังหวัดเชียงราย แหล่งศึกษาดูงานทางด้านอาหารปลอดภัยและอาหารล้านนา ในจังหวัดเชียงราย ที่ปรึกษาโครงการสืบสานอาหารล้านนาสร้างคุณค่าชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนโดยสถาบันพระปกเกล้า ได้รับรางวัลคนดีศรีเชียงราย ประจำ ปีพ.ศ. ๒๕๕๕ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๗๕๐ ปีเมืองเชียงราย ได้รับการรับรองมาตรฐานบริการอาหารเพื่อการท่องเที่ยว จากกรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้รับการรับรองอาหารมาตรฐานต้นแบบที่ผ่านการตรวจประเมิน ตามเกณฑ์มาตรฐานระบบคุณภาพร้านอาหารของไทย จากสมาคมภัตตาคารไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 71
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.สุภาพรเตวิยะ ปัจจุบันเป็นรองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงรายเป็นผู้อนุรักษ์ส่งเสริมสนับสนุนและเผยแพร่กิจกรรมด้านทำนุบำ รุง ศิลปวัฒนธรรมของสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการสนับสนุนให้เกิดการหนุนเสริมกระบวนการ เรียนรู้ทางศิลปวัฒนธรรมระหว่างชุมชนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา กลุ่มศิลปินองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นรวมถึงหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งทางด้านงานวิจัยการรวบรวมข้อมูลการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมเสวนาวิชาการทางด้านศิลปวัฒนธรรมและงานศิลปกรรมท้องถิ่น เป็นต้น ผศ.ดร.สุภาพรเตวิยะ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติรางวัล“บุคคล ดีเด่นด้านคุณธรรม” ของชมรมคนดีศรีเชียงราย ประจำปีพ.ศ. ๒๕๖๖ ณ วัดพระธาตุผาเงา อำ เภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยรับมอบจาก พระพุทธิญาณมุนีเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย เจ้าอาวาสวัดพระธาตุผาเงา อำ เภอเชียงแสนจังหวัดเชียงรายและได้รับรางวัลเกียรติคุณ“ราชภัฏสดุดี” ผู้ปฏิบัติงานสายสอนดีเด่นระดับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายในปีพ.ศ.๒๕๖๔ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:๒๑๘ หมู่๗ต.บ้านดู่อ.เมืองจ.เชียงราย ๕๗๑๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๗๕๕ ๙๕๔๙ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาเอกศษ.ด.หลักสูตรและการสอนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่พ.ศ.๒๕๖๐ ปริญญาโท ศศม. การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๕ มหาวิทยาลัยพายัพ ประกาศนียบัตรปวค.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ.๒๕๔๑ ปริญญาตรีศศ.บ.ภาษาอังกฤษมหาวิทยาลัยเชียงใหม่พ.ศ.๒๕๓๙ ผลงานสร้างสรรค์: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุภาพร เตวิยะ เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนและครูในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำ บลดอยงาม อำ เภอพาน จังหวัดเชียงรายออกแบบผลิตภัณฑ์และสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรม โดยใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่นภายใต้กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบ ผลิตภัณฑ์และสื่อการสอนที่มีรากฐานจากทุนวัฒนธรรมชุมชนของนักเรียน และครูในโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลดอยงาม เกิดเมื่อวันที่: ๒๖ ตุลาคม ๒๕๑๗ สถานที่เกิด:กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันอายุ: ๔๙ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาพร เตวิยะ 72 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สาขา :สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒๐/๒๔ ถนนเจ็ดยอดอยู่เย็นตำบลช้างเผือก อำ เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ๕๐๓๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๘๕๕ ๓๕๑๓ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านท่าไม้แดงอำ เภอเมือง จังหวัดตาก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวังหินกิตติวิทยาคม อำ เภอเมือง จังหวัดตาก ระดับอาชีวะศึกษา โรงเรียนไทยวิจิตรศิลปอาชีวะ จังหวัดกรุงเทพฯ ระดับอนุปริญญามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี จังหวัดกรุงเทพฯ ระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่ ผลงานสร้างสรรค์: ๑. การส่งเสริมงานศิลปวัฒนธรรมด้วยการจัดทำ เพจเพจ ๙ ศิลปะ เรื่อง ราวด้านศิลปะ ศิลปินและการนิทรรศการhttps://www.facebook.com/profile. php?id=๑๐๐๐๗๑๑๕๗๗๖๐๕๕๘ เพจ ๓๖๕Days&Timeนำ เสนอด้านท่องเที่ยว ประเพณีวัฒนธรรมและธรรมชาติhttps://www.facebook.com/profile. php?id=๑๐๐๐๗๘๑๖๗๙๖๔๙๕๒ เพื่อติดตามจัดเก็บผลงานเรียบเรียงเผยแพร่ ศิลปินที่สร้างสรรค์งานศิลปะให้กับประชาคมได้รับทราบ เป็นการสนับสนุนศิลปิน ทั้งในระดับชาติระดับนานาชาติและศิลปินหน้าใหม่ด้วยการเป็นผู้ที่มีทักษะความ สามารถด้านการถ่ายภาพ ทำ ให้สามารถถ่ายทอดผลงานศิลปะให้ออกมาได้อย่าง น่าดูน่าติดตามมากยิ่งขึ้นการส่งเสริมประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ๒. คอลัมนิสต์“เที่ยวผ่านเลนส์”ให้กับหนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์ด้วยการ ถ่ายทอดผ่านภาพถ่ายด้านศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว อีกด้วย https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/๕๔๓๖๓๖ https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/๕๖๑๔๗๕ ๓. งานด้านจิตอาสาเก็บข้อมูลนกสัตว์ป่าและพันธุ์พืชเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย ผลงานtps://www.facebook.com/media/set/?set=a.๑๐๒๑๙๖๔๐๑๔๗๓๕๒๘๒๘ &type=๓ อุทยานแห่งชาติออบขาน ผลงาน https://anyflip.com/jdlau/bdrm/ basicเขตห้ามล่าสัตว์ป่านันทบุรี(อยู่ระหว่างดำ เนินการเก็บข้อมูล)https://www. chiangmainews.co.th/news/๒๘๓๕๖๐๗/ โครงการพัฒนาพื้นที่ห้วยลาน อันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ อ่างเก็บนํ้าห้วยลานบ้านปง(ห้วยลาน)หมู่ที่๘ ตำบล ออนใต้อำ เภอสันกำ แพง จังหวัดเชียงใหม่ ผลงาน https://www.facebook. com/๑๐๐๐๗๘๑๖๗๙๖๔๙๕๒/videos/๙๐๙๗๖๑๙๖๓๔๖๘๙๘๙ เกิดเมื่อวันที่: ๒๒ มกราคม ๒๕๑๓ สถานที่เกิด: จังหวัดตาก ปัจจุบันอายุ: ๕๔ ปี คุณทับทิม มั่นมาก การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 73
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่๒๐๒ ถนนช้าง เผือกตำบลช้างเผือกอำ เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ หมายเลขโทรศัพท์๐๕ ๓๘๘ ๕๓๙๖ ประวัติด้านการศึกษา:บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ดำ รงตำ แหน่งรองอธิการบดีรับผิดชอบงานศิลปวัฒนธรรม ๒. ประธานกรรมการในการพัฒนาระบบการจัดการเพื่อพัฒนา นักศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมด้วยระบบ๑นักศึกษา๑ศิลปวัฒนธรรม ๓. พัฒนาการบูรณาการกับการเรียนการสอน กับรายวิชา การศึกษาทั่วไป GE ความเป็นราชภัฏ ในการให้ นักศึกษา มาศึกษาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ๔. การฟื้นฟูวัฒนธรรมด้วยการจัดตลาดนัดวัฒนธรรมด้วยการ บูรณาการความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัย ๕. ประธานจัดการแสดงโขนวาระการครบรอบมหาวิทยาลัย ๙๙ ปี ตอน “พระคเณศเสียงา” ให้กับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ได้รับชมhttp://bit.ly/๓IoNTsE ๖. การนำ ผลงานของอาจารย์และนักศึกษาเข้าร่วมจัดแสดงในงาน ChiangmaidesignWeekร่วมกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ThailandCreative&DesignCenter(TCDC)https://bit.ly/๓RtKFss ๗. การสนับสนุนนักศึกษาในการจัดงานศิลปนิพนธ์ ๘. การสนับสนุนและส่งเสริมนักศึกษาการแต่งกายชาติพันธุ์ ๙. การส่งเสริมผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นและการพัฒนาผลิตภัณฑ์บูรณาการ กับโครงการครูรักษ์ถิ่น ๑๐. การสนับสนุนการศึกษาคัมภีร์ใบลานและเอกสารโบราณ เกิดเมื่อวันที่: ๒๐ สิงหาคม ๒๕๑๒ สถานที่เกิด: จังหวัดลำปาง ปัจจุบันอายุ: ๕๖ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรพิมล วงศ์สุข 74 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ สาขา :สาขาศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:หมู่ที่๒ตำบลสระทะเลอำ เภอพยุหะคีรีจังหวัด นครสวรรค์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๔ ๘๑๐ ๘๖๘๖ (นายคฑาวุธมีมุข) ผลงานสร้างสรรค์: การแสดงเต้นกำ รำ เคียว เป็นการละเล่นพื้นบ้านที่เก่าแก่ ของชาว ชนบทในภาคกลางของไทย แถบจังหวัดนครสวรรค์ที่อำ เภอพยุหะคีรี ซึ่งแต่เดิมชาวบ้านใหม่ส่วนมากยึดอาชีพการทำนาเป็นหลักและด้วยนิสัย รักความสนุกสนาน ประกอบกับการเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอนของไทยด้วย จึงเกิดการเต้นกำ รำ เคียวขึ้น โดยเนื้อเพลงแต่ละตอนจะสะท้อนให้เห็น สภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้านได้เป็นอย่างดีทั้งนี้ลักษณะการรำ ของ เต้นกำ รำ เคียว ไม่อ่อนช้อยเช่นการรำ ไทยทั่วๆ ไป จะถือเอาความสนุก เป็นสำคัญ จะมีทั้ง “เต้น” และ “รำ ” ควบคู่กันไป ส่วนมือทั้งสองของ ผู้รำ ข้างหนึ่งจะถือเคียว อีกข้างหนึ่งถือต้นข้าวที่เกี่ยวแล้ว จึงได้ชื่อว่า “เต้นกำ รำ เคียว” เกิดขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) สถานที่เกิด :ตำบลสระทะเลอำ เภอพยุหะคีรีจังหวัดนครสวรรค์ ปัจจุบันอายุ:ประมาณ ๑๕๖ ปี กลุ่มเต้นกำ รำ เคียว ตำบลสระทะเล อำ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 75
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ด้านทำ นุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม: ออกแบบลักษณะงานด้าน ศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ กำหนดรูปแบบขั้นตอนของการดำ เนินงาน และกระบวนการของงานพิธีการ รวมทั้งงานพิธีสงฆ์ของสำนักศิลปะ และวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๖/๒ หมู่ ๕ ตำ บลตะเคียนเลื่อน อำ เภอเมืองนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์๖๐๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘ ๑๐๔๑ ๕๔๒๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีสาขานิเทศศาสตร์บัณฑิตสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์(นศ.บ.) มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลงานสร้างสรรค์: การออกแบบและตกแต่งงานนิทรรศการหรือพิพิธภัณฑ์เพื่อใช้สำหรับ เป็นแหล่งเรียนรู้หรือศูนย์กลางข้อมูลในการศึกษาค้นคว้า และอีกทั้ง ทำ หน้าที่ในการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น นครสวรรค์ด้วยการเป็นผู้นำ ชมหอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์อีก ทั้งเป็นผู้กำกับดูแลการออกแบบ “แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม” ใน โรงเรียนนอกเขตอำ เภอเมืองนครสวรรค์นอกจากนี้ยังได้จัดทำหนังสือ เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยรวมถึงพัฒนาระบบฐานข้อมูล การวิจัยวัฒนธรรมและสังเคราะห์องค์ความรู้ทางวัฒนธรรมเพื่อให้เป็น ประโยชน์ต่อการค้นหาและมีข้อมูลที่ครบถ้วนและถูกต้อง เกิดเมื่อวันที่: ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๒๖ สถานที่เกิด:นครสวรรค์ ปัจจุบันอายุ: ๔๑ ปี นายปริญญา จั่นเจริญ 76 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม สาขา :การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๕๖ หมู่ ๕ ตำบลพลายชุมพล อำ เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ๖๕๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๙๙๓ ๙๒๙๑ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาโทคณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาเอกคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลงานสร้างสรรค์: การส่งเสริมข้อมูลการผลิตเกลือและแหล่งเกลือโบราณจังหวัดพิษณุโลก จนได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของจังหวัด พิษณุโลกและประเทศไทย การส่งเสริมข้อมูลและสร้างการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูประเพณี กวนข้าวทิพย์ของตำบลหัวรอ จังหวัดพิษณุโลก การส่งเสริมวัฒนธรรมการผลิตนํ้าตาลโตนดของตำบลบ้านยาง จังหวัดพิษณุโลก การส่งเสริมและสร้างแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ชุมชนของ ตำบลบ้านกร่าง จังหวัดพิษณุโลกเป็นต้น เกิดเมื่อวันที่: ๑๐ ธันวาคม ๒๕๒๑ สถานที่เกิด: จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันอายุ: ๔๕ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 77
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:การอนุรักษ์ฟื้นฟูส่งเสริม พัฒนา สืบสานต่อยอดยกระดับงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาทิผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์เช่น ผ้าทอ มือย้อมสีธรรมชาติการสร้างแหล่งเรียนรู้แหล่งเกลือโบราณผลิตภัณฑ์ ชุมชน พริกแกงลาบ พริกแกงเผ็ดฯลฯ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำ บลพลายชุมพล อำ เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๑ ๘๐๗ ๒๒๒๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรี สาขาวิชาพัฒนาสังคมมหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต เอกการบริหาร จัดการภาครัฐมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ผลงานสร้างสรรค์: การอนุรักษ์ฟื้นฟูส่งเสริม พัฒนาสืบสานต่อยอดยกระดับงานด้าน ศิลปะและวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมทั้ง ในเขตจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดสุโขทัยอาทิผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเช่น ผ้าทอมือย้อมสีธรรมชาติ(ตำบลบ้านกร่างอำ เภอ เมือง) การสร้างแหล่งเรียนรู้บ่อเกลือโบราณ (อำ เภอบัดโบสถ์อำ เภอ นครไทย) ผลิตภัณฑ์ชุมชน พริกแกงลาบ พริกแกงเผ็ด(ตำบลบ้านยาง อำ เภอวัดโบสถ์) ผ้าลายอัตลักษณ์คนขี่ช้าง พวงกุญแจต้นผึ้ง (ตำบล บ่อโพธิ์อำ เภอนครไทย) เกิดเมื่อวันที่: ๒๒ มกราคม ๒๕๒๙ สถานที่เกิด: โรงพยาบาลบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันอายุ: ๓๘ ปี ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ว่าที่ ร.ต.หญิง ดร.ยุวดี พ่วงรอด 78 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ สาขา : งานช่างฝีมือดั้งเดิม ผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อยไทหล่มมัดหมี่ขิดจกและ ย้อมเส้นใยสีธรรมชาติ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:บ้านขวัญโยน ๕๖ หมู่๑ ตำบลตาลเดี่ยวอำ เภอ หล่มสักจังหวัดเพชรบูรณ์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๙ ๓๗๐ ๐๖๒๑ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับปริญญาตรีสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาสาธารณสุขชุมชน ผลงานสร้างสรรค์: ประวัติการทำงาน (ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรม) กระผมนายธนัชชา ทองเหมาะ เป็นผู้ที่ชื่นชอบงานโบราณโดยเฉพาะ ด้านงานทอผ้า ตั้งแต่เด็กๆ จะเห็นย่ายายและญาติพี่น้อง เลี้ยงตัวไหม ปลูกฝ้ายทอผ้าใช้กันเองจะเห็นชาวบ้านมาซื้อฝ้ายจากคุณยายอยู่เสมอ จะเห็นยายใส่ผ้าผืนหนึ่งออกงานสำคัญในหมู่บ้านด้วยความสงสัยจึงได้ สอบถามและศึกษาว่าผ้าชนิดนี้เรียกว่าอะไร ได้ความว่า เป็นผ้าไหมลาย โบราณเรียกว่า “ซิ่นหมี่คั่นน้อย” ในหมู่บ้านแทบไม่เห็นคนนุ่งผ้าแบบนี้จะ เหลือแต่ผ้ารุ่นเก่าที่แต่ละบ้านจะมีเก็บไว้แต่ไม่ได้ทอขึ้นใหม่ ผมมีแนวคิด ที่อยากจะสืบสานงานผ้าชนิดนี้เพราะยายก็แก่แล้วไม่มีคนสานต่อ จึงได้ ทดลองทอผ้าขึ้นมาและได้ชวนป้าๆยายๆในหมู่บ้านที่ยังพอทอผ้าได้อยู่ มาทดลองทอกัน ลองผิดลองถูกอยู่นานพอสมควร ตัวกระผมก็ออก สอบถามจากผู้รู้ในชุมชน ในอำ เภอ ในหมู่เครือญาติที่พอจะมีความรู้ เรื่องผ้าไทหล่มชนิดนี้และไปจัดตั้งขึ้นทะเบียน OTOPกับพัฒนาชุมชน อำ เภอหล่มสักเมื่อปีพ.ศ. ๒๕๕๙ ทำ ให้กลุ่มเป็นที่รู้จักมากขึ้น มีการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องสมาชิกมีรายได้เพิ่มจากเดิมมีงานทำ ในชุมชน มี การซื้อขายวัตถุดิบในชุมชนกระจายรายได้สู่คนในชุมชนหลายกลุ่มวัย ปัจจุบันงานของกลุ่มที่ผลิตคือ ผ้าทอพื้นเมืองไทหล่ม ผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อย หัวผ้าซิ่นตีนซิ่น ถุงย่ามมีทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ที่สำคัญทางกลุ่มจะเน้น การย้อมสีธรรมชาติในการให้สีใช้พืชวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่น จะได้โทนสี ที่หลากหลาย สีสุภาพนุ่มนวลเข้ากับสมัยปัจจุบันและยังเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมประสบการณ์ทำ งานจนถึงปัจจุบันระยะเวลา ๗ ปี เกิดเมื่อวันที่: ๑๒ มกราคม ๒๕๔๔ สถานที่เกิด:บ้านขวัญโยน ๕๖ หมู่๑ ตำบลตาลเดี่ยวอำ เภอ หล่มสักจังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันอายุ: ๒๓ ปี นายธนัชชา ทองเหมาะ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 79
ความมุ่งมั่นในการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนในชุมชน และประเทศอย่างไร กระผมได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกลุ่มทอผ้าพื้นเมืองไทหล่ม ภายใต้แบรนด์“เฮือนธนัชชา THANUTCH” มีความมุ่งมั่นที่จะส่ง เสริมอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญางานผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อยของชาวไทหล่ม นอกจากการรื้อฟื้นการทอผ้าขึ้นมาใหม่แล้วที่บ้านที่ตั้งกลุ่มยังมีการ เก็บสะสมผ้าเก่าโบราณของชาวไทหล่ม ผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อยโบราณไว้ ให้นักเรียนนักศึกษา ผู้ที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชมศึกษาดูงานได้และเปิด โอกาสให้กลุ่มทอผ้าอื่นๆที่สนใจเข้ามาดูงานที่กลุ่มได้มีการจัดแสดง ผ้าโบราณตามโอกาสงานต่างๆให้ความรู้เรื่องการย้อมสีธรรมชาติ ให้กับกลุ่มทอผ้าอื่นๆในจังหวัดเพชรบูรณ์ ถือว่าเป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพ เปิดโอกาสให้ผู้ว่างงานและสนใจงานผ้าให้มีรายได้และ สนับสนุนกลุ่มคนทำ งานผ้าในจังหวัดประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักแก่ คนภายนอกต่อยอดอนุรักษ์งานทอซิ่นหมี่คั่นน้อยเกิดงานมีรายได้ กลับมาสู่ชุมชนเป็นต้นแบบชุมชนที่เข้มแข็งต่อไป อธิบายให้เห็นถึงการได้รับการยอมรับจากผู้ปฏิบัติหรือผู้สืบทอด มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม และได้รับความร่วมมือจากชุมชน อย่างกว้างขวาง โดยมีหลักฐานอ้างอิงได้ กระผมได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชน ในการร่วมด้วยช่วย กันในการทอผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อยเป็นแรงสนับสนุนให้กระผมได้พัฒนา งานผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อยไทหล่มนำ พาให้กลุ่มได้ขับเคลื่อนผลิตชิ้นงาน ที่สวยงามออกมาให้เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น การได้รับการยอมรับให้ เรื่องการให้โทนสีธรรมชาติที่เป็นโทนสีที่ทันสมัย เป็นที่ต้องการของ ตลาดในยุคปัจจุบัน จะเห็นได้จากการถูกรับเชิญให้ไปเป็นวิทยากร ให้ความรู้แก่กลุ่มทอผ้าต่างๆ การให้ไปจัดแสดงผ้าซิ่นหมี่คั่นน้อย ในโอกาสงานสำคัญ ในระดับอำ เภอระดับจังหวัด เป็นตัวแทนของ เยาวชนผู้ทอผ้า การช่วยเหลือชุมชนในการกระจายงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น 80 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านศิลปะการแสดง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒๒๕ หมู่ ๓ ตำบลนาเฉลียง อำ เภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ หมายเลขโทรศัพท์๐๘๔ ๑๘๐ ๘๐๕๙ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๔๒ จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์จ.เพชรบูรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๙ การศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัย นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ผลงานขบวนแห่องค์พระพุทธมหาธรรมราชาทางบก (รอบเมือง) ณ งานประเพณีอุ้มพระดำนํ้าประจำปี๒๕๖๖ ๒. การแสดงศิลปะและวัฒนธรรมไทย นำ เสนอออกเผยแพร่ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปีพ.ศ. ๒๕๔๖ เผยแพร่วัฒนธรรมไทย ณประเทศเกาหลีร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมนครปฐมสถาบันราชภัฏนครปฐม ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยณรัฐมะละกาประเทศมาเลเซียงาน DrumFestival โดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย งานเทศกาลอาหารนานาชาติ ณ เกาะมาเก๊า ประเทศฮ่องกง โดย การท่องเที่ยวมาเก๊าประจำ ประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๒เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยวัดไทยในต่างแดนณวัดสมเด็จ เยอรมนีเมืองซาร์แลนด์ประเทศเยอรมัน ณ วัดญาณวัฒนาราม เมืองรูแบซ์ ประเทศฝรั่งเศส ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยณเมืองวอนจูประเทศเกาหลีใต้ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย ณ เมืองโบโจเนโกโร และเมือง สุราบายาประเทศอินโดนีเซีย ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ นำ ศิลปะและวัฒนธรรมไทยไปแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ มหาวิทยาลัยบันเตียเมียนเจย และมหาวิทยาลัยพระตะบอง ณ ประเทศกัมพูชา ระหว่างวันที่ ๒๒-๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ในนาม สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ เกิดเมื่อวันที่: ๑๖ สิงหาคม ๒๕๒๐ สถานที่เกิด: จังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจุบันอายุ: ๔๖ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จันทร์พิมพ์ มีเปี่ยม การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 81
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง สาขา : ช่างศิลป์ล้านนา (เครื่องดนตรีพื้นบ้าน) ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ ที่อยู่ ๘๕ หมู่ ๑ ตำบลวังทรายคำ อำ เภอวังเหนือจังหวัดลำปาง หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๗ ๑๘๔ ๔๔๖๔ ประวัติด้านการศึกษา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยวังเหนือ (กศน. วังเหนือ) ผลงานสร้างสรรค์: ช่างทำ เครื่องดนตรีสะล้อซึง เครื่องดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ เกิดเมื่อวันที่: ๒๑ มกราคม ๒๕๐๖ สถานที่เกิด: บ้านทุ่งฮีตำบลวังทรายคำ อำ เภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง ปัจจุบันอายุ: ๖๑ ปี นายทูล ทิมัน 82 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: หมู่ที่ ๗ ตำบลสามร้อยยอด อำ เภอสามร้อย ยอดจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๐๑๖๖ ๖๑๓ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีศิลปบัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ปริญญาโทศิลปมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์: ออกแบบผลิตภัณฑ์ช่างศิลป์ล้านนา การออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา/เซรามิก การออกแบบกราฟิกดีไซน์ เกิดเมื่อวันที่: ๑๔ เมษายน ๒๕๓๐ สถานที่เกิด:หมู่ที่๗ต.สามร้อยยอดอ.สามร้อยยอดจ.ประจวบคีรีขันธ์ ปัจจุบันอายุ: ๓๖ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจษฎา ทองสุข การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 83
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ สาขา : อาหารพื้นถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๐๓/๑ ถนนราชบำ รุง ตำ บลศรีพนมมาศ อำ เภอลับแลจังหวัดอุตรดิตถ์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๘ ๕๕๘ ๕๘๖๘ ประวัติด้านการศึกษา: การศึกษานอกระบบระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ได้รับรางวัลสุดยอดคนพลังงานระดับจังหวัดประจำ ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. หมู่บ้านเข้าแคบอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมชุมชนยางกระไดใต้ ๓. รางวัลประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่นระดับจังหวัดปีพ.ศ.๒๕๕๙ ๔. รางวัลสุดยอดอาหารพื้นถิ่นวิถีสหกิจชุมชนเข้าแคบบ้านยางกะไดใต้ เมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๔ ๕. ได้รับรางวัลยกย่องเป็นสตรีดีเด่นจังหวัดอุตรดิตถ์ปีพ.ศ.๒๕๖๓ เกิดเมื่อวันที่: ๕ มิถุนายน ๒๕๑๑ สถานที่เกิด: ๑๐๓/๑ ถนนราชบำ รุง ตำบลศรีพนมมาศ อำ เภอลับแลจังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันอายุ: ๕๕ ปี นางสาวกัญญาวีร์ วันสุข 84 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ผู้นำด้านการพัฒนา ส่งเสริม และ สนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒๒/๑ หมู่ ๔ หนองหิน ตำบลท่าเสา อำ เภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๔๕๕ ๓๓๔๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาเอก ผลงานสร้างสรรค์: รูปแบบการบริหารจัดการกลุ่มแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนามาตรฐาน ผลิตภัณฑ์กล้วยกวน: ผลิตภัณฑ์ตำบลท่ามะเฟืองอำ เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ (ผลงานวิจัยสามารถผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ ได้รับรางวัล OTOP ๕ ดาว ระดับประเทศ) (นักวิจัย) ผู้นำด้านการพัฒนาส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปวัฒนธรรม เกิดเมื่อวันที่: ๑๐ กันยายน ๒๕๑๘ สถานที่เกิด: ๒๒/๑ หมู่ ๔ หนองหิน ตำบลท่าเสา อำ เภอ เมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ปัจจุบันอายุ: ๔๘ ปี ดร.รดี ธนารักษ์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 85
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ สาขา : จิตรกรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: เลขที่๑๓ ซอย ๘/๑๖ หมู่บ้านประชานิเวศน์๓ ตำบลท่าทรายอำ เภอเมือง จังหวัดนนทบุรี๑๑๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๗๗๒ ๒๒๕๐ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๑๐ ระดับปวช.โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป์ พ.ศ. ๒๕๔๙ ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลงานสร้างสรรค์: ประวัติการทำงาน พ.ศ. ๒๕๓๙- ปัจจุบันดำ รงตำ แหน่งประธานกลุ่มศิลปินอิสระ’ ๙๖ เป็นประธานจัดงานนิทรรศการ“ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง”ขึ้นเป็นประจำ ในทุกๆ ปีโดยเริ่มครั้งที่ ๑ ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๓๙ จนถึงปีพ.ศ. ๒๕๖๑ รวม ๒๒ ปีติดต่อกันการจัดงานนิทรรศการฯดังกล่าวมีศิลปินจากทั่ว ประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกซึ่งในปัจจุบันมีศิลปินจากทั่วประเทศและต่าง ประเทศเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มศิลปินอิสระ’๙๖ กว่า ๑,๐๐๐ คนอีกทั้ง รายได้จากการจัดงานนิทรรศการฯมอบแด่สภากาชาดไทยและได้รับพระ กรุณาธิคุณจากพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีกรมหมื่นสุทธนารีนาถ เสด็จเป็นองค์ประธานเปิดนิทรรศการฯ เป็นประจำ ในทุกๆ ปีณ โรงแรม มณเฑียรถนนสุรวงศ์โดยการจัดงานนิทรรศการฯมีวัตถุประสงค์หลักคือ ๑. เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๒. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนผลงานของศิลปิน ๓. เพื่อให้ศิลปินมีส่วนช่วยเหลือสังคม จากรายได้ในการจำหน่าย ภาพมอบแด่สภากาชาดไทย พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๖๑ ศิลปินเอกครูช่าง แผนกช่างวาดภาพสีนํ้ามัน เป็นอาจารย์แผนกช่างวาดภาพสีนํ้ามัน ศูนย์ศิลปาชีพพิเศษบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถ่ายทอดความรู้วิชาการวาดภาพให้แก่ลูก หลานเกษตรกรผู้ยากไร้รวมถึงผู้พิการ ตามพระราชประสงค์ในสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงที่ให้ มีการจัดหาอาชีพให้ราษฎรเพื่อเพิ่มพูนรายได้ให้พอเพียงกับการยังชีพ และให้ผู้พิการสามารถหารายได้เลี้ยงตนเองโดยไม่เป็นภาระแก่สังคมโดย เกิดเมื่อวันที่: ๑๗ ตุลาคม ๒๔๙๗ สถานที่เกิด: จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันอายุ: ๗๐ ปี อาจารย์สมาน คลังจัตุรัส 86 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
สอนวิชาการวาดภาพตั้งแต่วิธีการเริ่มต้นจนกระทั้งผู้เรียนทั้งที่เป็น คนร่างกายปกติหรือเป็นผู้พิการสามารถสร้างสรรค์ผลงานวาดภาพ ได้อย่างสวยงามและเป็นที่ยอมรับสามารถนำ ผลงานออกจำหน่าย ได้อย่างภาคภูมิใจและใช้เป็นช่องทางหนึ่งหรือเป็นอาชีพหลักในการ หาเลี้ยงชีพ เป็นเวลากว่า๒๒ปีที่ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพ มีอาชีพ สุจริตสร้างสรรค์งานฝีมือได้อย่างสวยงาม พ.ศ.๒๕๔๖ – ๒๕๕๘ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ เป็นอาจารย์ถ่ายทอดความรู้ด้านการวาดภาพให้แก่นักศึกษาคณะ ศิลปกรรมโดยเน้นการฝึกการปฏิบัติและชี้แนะแนวทางเทคนิควิธีใน การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ พ.ศ.๒๕๔๖ – ปัจจุบัน ผู้ก่อตั้งหอศิลป์คลังจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ อาจารย์สมาน คลังจัตุรัส ได้สร้างหอศิลป์คลังจัตุรัสขึ้นจากความ สำนึกรักบ้านเกิดจากผืนดินถิ่นกำ เนิดโดยมุ่งหวังให้เป็นประโยชน์แก่ คนรุ่นหลังใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และสืบสานงานศิลปะให้คงอยู่คู่ประเทศ ชาติต่อไปหวังให้เป็นสถานที่สร้างประโยชน์ให้กับส่วนรวมมากที่สุด โดยสร้างจากนํ้าพัก นํ้าแรงที่ได้จากการวาดภาพ เป็นการเก็บเล็ก ผสมน้อยค่อยๆเก็บค่อยๆสร้างโดยสร้างเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อชุมชน ให้คนในชุมชน และคนในจังหวัดได้ใช้เป็นสาธารณะประโยชน์มีการ ออกแบบสถานที่ให้มีความร่มรื่น และออกแบบอาคารด้วยลวดลาย ศิลปไทย อนุรักษ์ความเป็นไทย เน้นการใช้วัสดุจากไม้แบ่งสถานที่ ออกเป็น ๑.ห้องสมุดศิลปะที่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลงานศิลปะที่ หลากหลายแขนงสาขา๒.ห้องจัดแสดงผลงานเป็นที่แสดงภาพวาด จากหลากหลายศิลปินหลากหลายเทคนิค เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ ให้แก่เยาวชน ๓.ลานศิลปะคือพื้นที่อันร่มรื่นด้วยต้นไม้ให้ผู้ที่สนใจ สร้างงานศิลปะได้เข้ามาแวะเวียน ชื่นชมผลงาน เรียนรู้หรือฝึกฝน ฝีมือกับอาจารย์ศิลปะที่แว่ะเวียนมาจัดกิจกรรมให้กับคนในชุมชน การสร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชนในประเทศ และ ต่างประเทศ ผลงานที่แสดงภายในประเทศ ผลงานเดี่ยว พ.ศ.๒๕๓๗ นิทรรศการ“OneManShow”ณห้องสมุดเนลสันเฮย์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๓๙ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนี พันปีหลวงประดิษฐานณหอประชุมมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๐ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงประดิษฐานณศาลาพระมิ่งขวัญศูนย์ศิลปาชีพ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๕๔๖ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงเพื่อใช้เป็น ต้นแบบธนบัตรเฉลิมพระเกียรติซึ่งเป็นครั้งแรกของประเทศไทย ที่มีการนำภาพวาดมาจัดพิมพ์เป็นธนบัตรของธนาคาร แห่งประเทศไทย ปัจจุบันประดิษฐาน ณ หอศิลป์สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๙ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอนันทมหิดลรัชกาลที่๘ ประดิษฐาน ณ วังบางขุนพรมธนาคารแห่งประเทศไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นหนึ่งในผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรจัดทำ เป็น ปฏิทินเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องใน วโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา และได้รับ รางวัลเหรียญทองจากการประกวดอาเซียนพรินท์อวอร์ด ๒๐๐๖ ณ นครเซี่ยงไฮ้สาธารณรัฐประชาชนจีน พ.ศ.๒๕๕๑ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระสาทิสลักษณ์สมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเพื่อติดตั้งณอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ประดิษฐานณอาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี,กรุงเทพฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพดอกไม้นานาพันธ์๖๗๑ชนิด ติดตั้งภายใน อาคารและห้องพักผู้ป่วย ณ อาคารสมเด็จ พระเทพรัตน์คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี, กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๔ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพเหมือนผู้ว่าการธนาคาร แห่งประเทศไทยติดตั้งณพิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ ได้แก่ ๑. นายเสนาะ อูนากูล ๒. นายนุกูล ประจวบเหมาะ ๓. นายวิจิตร สุพินิจ ๔. นายเริงชัย มะระกานนท์ ๕. นายชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ๖. หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล ๗. หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล ๘. นางธาริษา วัฒนเกส พ.ศ.๒๕๕๕ มอบภาพพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวงประดิษฐานณห้องถวายฎีกา สำนักราชเลขาธิการ ใพระบรมมหาราชวัง,กรุงเทพฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระสาทิสลักษณ์สมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงราชาธิวาส ราชนครินทร์ประดิษฐาน ณ อาคารราชนครินทร์คณะ เวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล,กรุงเทพฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวง ประดิษฐาน ณ อาคารหอประชุมสภาสตรี แห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์บ้านมนังคศิลา,กรุงเทพฯ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 87
ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพทิวทัศน์ป่าดิบชื้นติดตั้ง ณอาคารราชนครินทร์คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัย มหิดล,กรุงเทพฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพ เทือกเขาตะนาวศรีและ ดอกกันภัยมหิดลติดตั้งณอาคารราชนครินทร์คณะเวชศาสตร์ เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล,กรุงเทพฯ ได้รับคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรและสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เมื่อครั้งเสด็จเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดชัยภูมิเมื่อพ.ศ.๒๕๙๘ ประดิษฐานณอาคารหอประชุมพญาแลศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ.๒๕๕๗ ได้เป็นผู้วาดภาพสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกณผนังโบสถ์วัดพีระภูมารามจังหวัดลพบุรี พ.ศ.๒๕๕๗ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพพระบาทสมเด็จพระมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พันปีหลวงภาพรัชกาลที่๑ถึงรัชกาลที่๙ภาพพระบาทสมเด็จ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว และภาพสมเด็จพระมหิตลาธิเบศ อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนกกับสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนีประดิษฐานณสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีจังหวัดปทุมธานี พ.ศ.๒๕๕๘ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพเหมือนอดีตผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล ติดตั้ง ณ พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพถวายสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา ในโอกาส เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดหอศิลป์เจ้าพ่อหลวง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวณศูนย์การเรียนรู้ ทฤษฎีใหม่ ศูนย์ฝึกทหารใหม่ กรมยุทธศึกษาทหารเรือ จังหวัดชลบุรี ผลงานที่แสดงภายในประเทศ ผลงานกลุ่ม พ.ศ.๒๕๓๓ นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย’๓๓ณโรงแรมดุสิตรีสอร์ท, เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี พ.ศ.๒๕๓๖ นิทรรศการจิตรกรรมร่วมสมัยรวมใจศิลปินเนื่องในวโรกาส ปิยมหาราชรำลึกณโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๓๗ ประธานจัดงานนิทรรศการกลุ่มศิลปินอิสระณซันเดย์แกลลอรี่ จตุจักร,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๓๙ ประธานจัดงานนิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ครั้งที่ ๑ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการมหกรรมศิลปะเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ฉลองสิริราชสมบัติครบ๕๐ ปีณ ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์, กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๐ นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถครั้งที่๒ ณโรงแรมมณเฑียรสุรวงศ์, กรุงเทพฯ งานนิทรรศการ ภาพเขียน- รูปปั้น โดยชมรมช่างเขียน แห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๑ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๓ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๒ นิทรรศการ เฉลิมรัฐฉัตร ร.๙ ๗๒ พรรษา มหาราช ณ ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๔ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๓ นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัยโคราชครั้งที่๑ ณศูนย์ศิลปะ โคราช จังหวัดนครราชสีมา นิทรรศการ วันดอกไม้บานครั้งที่ ๓ ณ ห้างสรรสินค้า เซ็นทรัลชิดลม,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๕ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๔ นิทรรศการสานเกลียวศิลป์ณโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค, กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๖ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๕ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๗ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๖ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๘ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการศิลปกรรมในวโรกาส เสด็จพระราชดำ เนิน ทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๗ นิทรรศการศิลปินร่วมใจช่วยผู้ป่วยมะเร็งณโรงพยาบาลศิริราช, กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๙ ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการศิลปะเฉลิมพระเกียรติ๗๒พรรษาบรมราชินีนาถ ณ แกรนด์ฮอลล์โรงแรมริเวอร์ซิตี้,กรุงเทพฯ 88 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
พ.ศ.๒๕๔๘ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๐ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๔๙ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๑ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ศิริราชรวมใจศิลปิน ถวายพระพร ฉลอง ศิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปีณโรงพยาบาลศิริราช,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๐ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ครั้งที่ ๑๒ ณ โรงแรมมณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ภาพวาดสีนํ้ามันโดยศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ธรรมศิลป์นานาชาติเพื่อพ่อหลวง (The International Art of Dhamma for the King) ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน, กรุงเทพฯ นิทรรศการธารศิลป์...รักษ์จิตรกรณศูนย์ศิลป์ศรีพิพัฒน์ อุทธยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี, กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการศิลปินอิสระ’๙๖ รวมใจเทิดไท้ องค์ราชันครั้งที่๑ในวโรกาสครบรอบ๘๐พรรษาพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวณโรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๑ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๓ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ภาพวาดสีนํ้ามัน โดยศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน,กรุงเทพฯ นิทรรศการธารศิลป์...รักษ์จิตรกรครั้งที่๒ ณ โรงแรม เพนนินซูล่า, กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๒ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๔ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการชื่นชมนานาศิลปาชีพไทยครั้งที่๒ณศูนย์การค้า สยามพารากอน, กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปีที่๑๕ ศิลปินอิสระ’๙๖ รวมใจ เทิดไท้องค์ราชัน ๘๔ พรรษามหาราชณโรงแรมมณเฑียร สุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ Portrait work Exhibition มอบแด่มูลนิธิ ราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์เพื่อฟื้นฟูภัย หลังนํ้าท่วม ณ หอศิลป์๑๑๖ จังหวัดเชียงใหม่ นิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ครั้งที่ ๑ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี นิทรรศการ ชื่นชมนานาศิลปาชีพไทยครั้งที่๓ณศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๔ นิทรรศการ ศิลปะไร้พรมแดน ๓ นนทบุรีณ หอศิลปะ พิพิธภัณฑ์จังหวัดนนทบุรี ประธานจัดงานนิทรรศการดอกไม้บานงานบุญณโรงแรม อิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค, กรุงเทพฯ นิทรรศการภาพวาดสีนํ้ามัน ใต้ร่มพระบารมี๘๔ พรรษา มหาราชัน ณ ศูนย์การค้าสยามพารากอน,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๖ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการภาพวาดสีนํ้ามัน ใต้ร่มพระบารมี๘๔ พรรษา ๘๔ ศิลปินร่วมใจเทิดไท้องค์ราชาณหอศิลป์๑๑๖ จังหวัด เชียงใหม่ นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวครั้งที่๒๘๔พรรษาพ่อฟ้าหลวงองค์อัครศิลปิน ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช, จังหวัดชลบุรี พ.ศ.๒๕๕๕ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๗ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการภาพวาดสีนํ้ามันเฉลิมพระเกียรติ๘๐ พรรษา มหาราชินีณ ศูนย์การค้าสยามพารากอนกรุงเทพฯ นิทรรศการชื่นชมนานาศิลปาชีพไทยครั้งที่๔ณศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ณ ศาลยุติธรรม, กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการศิลปินอิสระ’๙๖ รวมใจเทิดไท้ องค์ราชันเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ โรงแรมอิมพีเรียลควีนส์ปาร์ค,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการ ดอกไม้บานชูช่อ ที่มอหินขาว ณ มอหินขาว, จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ.๒๕๕๖ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๘ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ศิลปินแดนใต้ร่วมใจ เทิดไท้องค์ราชัน ณ ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว, จังหวัดปัตตานี นิทรรศการสมโภชพระอาราม ๑๘๕ ปีวัดประยูรวงศาวาส วรวิหาร ณ วัดประยูรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ศิลปกรรมร่วมสมัย กลุ่มอยุธยาครั้งที่ ๘ ณ ศูนย์การค้าอยุธยาพาร์คจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ครั้งที่ ๓ ๘๕ พรรษา องค์อัครศิลปิน ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช, เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี นิทรรศการชื่นชมนานาศิลปาชีพไทยครั้งที่๕ณศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๗ ประธานจัดงานนิทรรศการศิลปินอิสระ’๙๖ รวมใจเทิดไท้ องค์ราชันเพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ,กรุงเทพฯ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 89
นิทรรศการศิลปินร่วมใจสร้างสรรค์-สาน-สานรัก-ล้านศรัทธา เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวณศาลเจ้า เล่งจูเกียง จังหวัดปัตตานี นิทรรศการชื่นชมนานาศิลปาชีพไทยครั้งที่๖ณศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ ประธานจัดงานนิทรรศการศิลปินอิสระ๙๖ สร้างงานศิลป์ ถิ่นอีสาน ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิจังหวัดชัยภูมิ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๑๙ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๘ ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๒๐ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ณ หอศิลป์เจ้าพ่อหลวงเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ศูนย์การเรียนรู้ทฤษฎีใหม่ ศูนย์ฝึกทหารใหม่กรมยุทธศึกษาทหารเรือ,จังหวัดชลบุรี พ.ศ.๒๕๕๙ นิทรรศการศิลปกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ครั้งที่ ๔ “๘๔ พรรษา องค์อัครศิลปิน เดินตามรองเท้าพ่อ” ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยาบีช, จังหวัดชลบุรี ประธานจัดงานนิทรรศการ ศิลปกรรมเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถครั้งที่๒๑ณโรงแรม มณเฑียรสุรวงศ์,กรุงเทพฯ นิทรรศการ วาดศิลป์ตามคำสอน” ดำ เนินชีวิตก้าวต่อไป ตามแบบอย่างของรัชกาลที่๙โดยบริษัทอสมท.จำกัด(มหาชน) ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัลอีสต์วิลล์,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๖๐ นิทรรศการ ศิลปกรรมศิลปินอิสระ ๙๖ ณ หอศิลป์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ,กรุงเทพฯ นิทรรศการย้อนรอยบาทยาตรา ณ บ้านโป่งนิทรรศการ ทัศนศิลป์เทิดพระเกียรติรัชกาลที่๙ ณสมบัตินภานิวาส (บ้านไก่คู่) , จังหวัดราชบุรี นิทรรศการ Paint theBrightestLightครั้งที่ ๔ มูลนิธิ สถาบันแสงสว่างในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์ เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ นิทรรศการศิลปกรรมชุดวิถีไทยณอาคารสินธร,กรุงเทพฯ นิทรรศการ สืบสานงานศิลป์ แผ่นดินพ่อ น้อมรำ ลึก พระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชมหิตลาธิเบศร์รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ สยามินทราธิราช ครบรอบพิธีบำ เพ็ญพระราชกุศล สตมวาร๑๐๐วันณศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า,จังหวัดอุดรธานี นิทรรศการรฤกถึงพ่อร.๙ณลานหนน้าหอศิลป์แห่งชาติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๕๖๑ นิทรรศการ Paint theBrightestLightครั้งที่ ๕ มูลนิธิ สถาบันแสงสว่างในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์ เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ ณ ศูนย์การค้า สยามพารากอน,กรุงเทพฯ นิทรรศการ สีสัน หรรษางานศิลป์ ณ ดิเอเทรี่ยม แอท สินธรถนนวิทยุ,กรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๖๒ นิทรรศการ“ผลงานสะสมหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถครั้งที่๓”ณหอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ,กรุงเทพฯ นิทรรศการ “ศิลปกรรมร่วมสมัยกลุ่มอยุธยาครั้งที่ ๑๐” ณ ศูนย์การค้าอยุธยาซิตี้พาร์ค, พระนครศรีอยุธยา ผลงานที่แสดงในต่างประเทศ ผลงานเดี่ยว พ.ศ.๒๕๔๔ จัดแสดงภาพผลงานณLyon Gallery, UnitedStateof America โดยเป็นศิลปินไทยคนเดียวที่ได้รับเชิญเข้าร่วม เป็นสมาชิกกลุ่ม Arizona Art Group และจัดแสดงภาพ ผลงาน ณ Lyon Gallery, UnitedState of America เป็นที่มาของฉายานามอาจารย์สมานคลังจัตุรัสว่า“MR.ROSE” พ.ศ.๒๕๔๘ ผลงานภาพพุทธประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้และปรินิพานภายในพระอุโบสถวัดไป่หม่าซือ(White HorseTemple)Lvoyangin Henan,People’s Republic ofChina พ.ศ.๒๕๕๓ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้วาดภาพ ดอกบัว เพื่อติดตั้ง ภายในห้องประชุม ณ ทำ เนียบสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอังการา สาธารณรัฐตุรกี พ.ศ.๒๕๕๗ สาธิตการวาดภาพในงาน Thailand Festival ณ ลาน Esplanadedutrocaderoณกรุงปารีสสาธารณรัฐฝรั่งเศส ผลงานที่แสดงในต่างประเทศ ผลงานกลุ่ม พ.ศ.๒๕๕๑ งานนิทรรศการศิลปกรรมแลกเปลี่ยนศิลปินไทยและศิลปิน ไต้หวัน “The Painting Exhibition of Thai and TaiwaneseArtists”atThailandTrade andEconomic office , Taiwan งานนิทรรศการศิลปกรรมแลกเปลี่ยนศิลปินไทยและศิลปิน เวียดนามatTourism College , HueCity ,Socialist Republic ofVietnam พ.ศ.๒๕๕๕ งานนิทรรศการภาพวาดเพื่อหารายได้ช่วยผู้ป่วยมะเร็ง ของCancer FightersArt Organization at U.S.A. 90 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและกิจการ สภามหาวิทยาลัยกำกับดูแลงานศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๖๗หมู่ที่๒มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิตำบล นาฝายอำ เภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ๓๖๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๓ ๑๙๒ ๕๗๔๑ ประวัติด้านการศึกษา: ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต(เทคโนโลยีชีวภาพ)มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์สิ่งเเวดล้อม)มหาวิทยาลัยนเรศวร สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต(สาธารณสุข)มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช ผลงานสร้างสรรค์: รองอธิการบดี กำกับดูแลงานศิลปวัฒนธรรม งานแผนด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย งานส่งเสริมสืบสานสรา้งมูลค่าทางศิลปวัฒนธรรม งานสร้างเครือข่ายความร่วมือทางวัฒนธรรม งานพิธีการศาสนา และศิลปวัฒนธรรม งานภูมิปัญญาท้องถิ่น งานดนตรีนาฏศิลป์ งานศูนย์ชัยภูมิศึกษา หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น งานSoftPower ชัยภูมิ เกิดเมื่อวันที่: ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๑๐ สถานที่เกิด: จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันอายุ: ๕๗ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชาย เพ็ชรตรา การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 91
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สาขา : ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: เลขที่ ๒๘๖/๑๔๕ หมู่ ๖ ตำ บลบ้านเกาะ อำ เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ๓๐๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๕๗๙ ๒๖๘๖ ประวัติด้านการศึกษา: ๑. ระดับประถมศึกษา พ.ศ.๒๕๑๕ สถานศึกษาโรงเรียน วัดสว่างอารมณ์ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นพ.ศ.๒๕๕๑ สถานศึกษาศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำ เภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ ๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพ.ศ.๒๕๕๔ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำ เภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ๔. ระดับปริญญาตรีศิลปะศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา ยุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๕ สถานศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงราชบุรี ๕. ระดับปริญญาโท ครุศาสตร์ มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา ภาษาไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ สถานศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา ผลงานสร้างสรรค์: วิทยากรสอนเพลงโคราช เป็นศิลปินพื้นบ้านเพลงโคราช และครูเพลงโคราช เป็นผู้เชี่ยวชาญถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อการการศึกษาวิจัย ด้านศิลปะพื้นบ้านเพลงโคราช เกิดเมื่อวันที่: วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๔ สถานที่เกิด:อำ เภอโนนไทย ปัจจุบันอายุ: ๖๓ ปี นายบุญสม สังข์สุข 92 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ด้านทำนุบำ รุงศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๓๔๐ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (อาคาร ที่พักอาศัยบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา)ถนนสุรนารายณ์ตำบล ในเมืองอำ เภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ๓๐๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๖ ๓๘๙ ๒๒๐๒ ประวัติด้านการศึกษา: ระดับประถมศึกษา : โรงเรียนสุนทรวัฒนา จังหวัดชัยภูมิ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น: โรงเรียนชัยภูมิภักดีชุมพลจังหวัดชัยภูมิ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย:วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมาเอกโขน(พระ) จังหวัดนครราชสีมา ระดับปริญญาตรี:หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ ระดับปริญญาโท:หลักสูตรศิลปกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ ระดับปริญญาเอก:หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชานาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ ผลงานสร้างสรรค์: สร้างสรรค์ทางนาฏศิลป์ในการเรียนการสอนของรายวิชานาฏศิลป์นิพนธ์ ออกแบบและฝึกซ้อมการแสดงในมหกรรมภูมิพลังแผ่นดินและร่วมพิธี จุดเทียนน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ ๕ ธันวาคม ออกแบบและฝึกซ้อมการแสดงชุด“ดินแดนมหัศจรรย์บรรพกาลสานอดีต สู่อนาคตจีโอพาร์คไทย”ในพิธีเปิดมหกรรมจีโอพาร์คและฟอสซิล๒๐๒๓ ออกแบบและฝึกซ้อมการแสดง ชุดนาฏยลีลาสี่ภาค ออกแบบและฝึกซ้อมการแสดงชุด “มฤคเทวา ราชสีมาอวยชัย” ออกแบบและฝึกซ้อมการแสดงชุดรักแห่งราชภัฏราชสีมา, การแสดง ชุดภูษาศิลป์ แผ่นดินสยาม, การแสดงชุดงามตระกาล วัตถาภรณ์, การแสดงชุดมิ่งเมืองนครราชสีมาและการแสดงละครประกอบนาฏยลีลา ชุดราชพฤกษ์ก่อราชภัฏ วิวรรธ์นราชสีมา ในงานราตรีร้อยดวงใจ ๑๐๐ ปีราชภัฏราชสีมา ออกแบบและฝึกซ้อมรำบวงสรวงท้าวสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา เกิดเมื่อวันที่: ๑๑ มกราคม ๒๕๒๓ สถานที่เกิด: จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันอายุ: ๔๔ ปี ดร.ชุมพล ชะนะมา การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 93
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขา :ดุริยางคศิลป์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๔๓๙ ถนนจิระ ตำ บลในเมือง อำ เภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๑ ๐๑๖ ๘๐๑๖ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาเอกสาขาดุริยางคศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ผลงานสร้างสรรค์: วงมโหรีพื้นบ้านอีสานใต้เทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เกิดเมื่อวันที่: ๒๔ สถานที่เกิด: จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันอายุ: ๔๓ ปี นายพนาสินธุ์ ศรีวิเศษ 94 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สาขา :ภูมิปัญญาด้านอาหาร ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ที่อยู่ ๒๖ หมู่ ๑๑ ตำ บลเมืองเตา อำ เภอ พยัคฆภูมิพิสัยจังหวัดมหาสารคาม หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๗ ๐๔๓ ๙๓๑๗ ประวัติด้านการศึกษา: จบการศึกษาระดับมัธยมปลายโรงเรียนพยัคฆภูมิวิทยาคาร กำลังศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการบริหารการปกครองท้องที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผลงานสร้างสรรค์: รางวัลที่เคยได้รับ รางวัลชมเชยในการปฏิบัติหน้าที่จับผู้ลักลอบตัดไม้พยุง ในที่สาธารณะ จากผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม การมีส่วนร่วมในโครงการกับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์พื้นถิ่นเพื่อสร้างเครือข่ายธุรกิจร่วม ในชุมชนเชิงเศรษฐกิจหมุนเวียน(ปีพ.ศ. ๒๕๖๕) โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน (ปีพ.ศ. ๒๕๖๕) โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยววัฒนธรรมและเตรียมเมืองเตา เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม(ปีพ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๖) โครงการศึกษาประวัติเมืองเตาเพื่อนำ ไปสู่การสร้างสรรค์ ท่ารำบวงสรวงสู่ชุมชน(ปีพ.ศ. ๒๕๖๔) เกิดเมื่อวันที่: ๑๔ กุมภาพันธ์พ.ศ.๒๕๑๑ สถานที่เกิด:บ้านเมืองเตาตำบลเมืองเตาอำ เภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันอายุ: ๕๕ ปี นางสุกัญญา สถานรมย์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 95
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๙ บ้านเขียบตำบลขามเรียงอำ เภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๒ ๓๕๑ ๔๙๔๕ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริญญาโทสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลงานสร้างสรรค์: โครงการสวมผ้าไทยใส่บาตรแบบโบราณ โครงการ RMU ร่วมใจใส่ผ้าไทยพื้นเมือง เกิดเมื่อวันที่: ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๙ สถานที่เกิด: จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันอายุ: ๓๗ ปี นางสาวภัทราวัลย์ คำปลิว 96 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักส่งเสริมวิชาการและจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏร้อยเอ็ด สาขา :ดนตรี ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๑๐ หมู่ ๑๗ บ้านหนองตาไก้ ตำบลสีแก้วอำ เภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด ๔๕๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๗๒๙ ๒๑๖๐ ประวัติด้านการศึกษา:สำ เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย(จังหวัดร้อยเอ็ด) ผลงานสร้างสรรค์: นายสิงห์อินอุ่นโชติเกิดในครอบครัวชาวนาที่ดำ รงชีวิตด้วยการขวนขวาย หาเลี้ยงชีพตามแบบอย่างครอบครัวชาวนาอีสานโดยทั่วไปแต่ด้วยความเป็นผู้ที่ มีใจรักในศิลปะการประดิษฐ์เครื่องดนตรี“แคน”อันเป็นเครื่องดนตรีเอกลักษณ์ พื้นบ้านอีสานจึงได้พยายามแสวงหาความรู้ตามจังหวะและโอกาสที่อำ นวย เมื่อสำ เร็จการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาจึงได้สนใจหาความรู้ในการทำ แคน อย่างจริงจังด้วยหวังที่จะได้นำมาเป็นอาชีพเลี้ยงตัวและครอบครัวในโอกาสต่อไป ด้วยความมุ่งมั่นดังกล่าวจึงใฝ่แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลาโดยใช้ความวิระยะ อุตสาหะในการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์จนกระทั่งสามารถทำ เครื่องดนตรี แคนได้อย่างมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับทั่วไปในวงการแคนที่ประดิษฐ์โดยนายสิงห์ อินอุ่นโชติได้รับการยอมรับว่าเป็นแคนที่มีคุณภาพ มีนํ้าเสียงไพเราะ นุ่มนวล และก้องกังวานอย่างหาได้ยากยิ่งในเครื่องดนตรีประเภทเดียวกันนอกจากการ ทำ แคนแล้วนายสิงห์อินอุ่นโชติยังมีความสามรถประดิษฐ์เครื่องดนตรีอีสาน ได้อีกหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง“โหวด”ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับความ นิยมเป็นอย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานศึกษาด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำ ให้ นายสิงห์อินอุ่นโชติได้มีโอกาสเผยแพร่วิชาการประดิษฐ์และการเล่นเครื่องดนตรี ทั้งสองชนิดดังกล่าวให้แก่ สถานศึกษาต่างๆ จำนวนมาก จนได้รับเชิญเป็น วิทยากรให้กับสถาบันการศึกษาตลอดทั้งหน่วยงานราชการต่างๆอย่างต่อเนื่อง ยาวนานซึ่งนับเป็นคุณูปการอย่างสำคัญ นายสิงห์อินอุ่นโชติได้อุทิศตนเป็น ผู้เผยแพร่วิชาการประดิษฐ์และการเล่นเครื่องดนตรีพื้นบ้านอีสานด้วยหวังให้ มรดกอันทรงคุณค่าของชาวอีสานไม่สูญหายไปตามกาลเวลาอย่างเสียสละ และอดทนด้วยความวิริยะอุตสาหะในการสร้างสรรค์ตลอดจนความมานะ พยายามในการเผยแพร่ผลงานอันก่อให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะอย่างสูงยิ่ง เกิดเมื่อวันที่: ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๕ สถานที่เกิด:บ้านหัวหนองต.สีแก้วอ.เมือง จ.ร้อยเอ็ด ปัจจุบันอายุ: ๘๒ ปี นายสิงห์ อินอุ่นโชติ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 97
ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักส่งเสริมวิชาการและจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏร้อยเอ็ด ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: โสมศิริแมนชั่น ๑๓๑ หมู่ ๔ ตำ บลท่าม่วง อำ เภอเสลภูมิจังหวัดร้อยเอ็ด ๔๕๑๒๐ หมายเลขโทรศัพท์๐๙๘ ๙๖๙ ๔๙๙๓ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๔๔ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. ๒๕๕๑ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ.๒๕๖๕ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ปร.ด.)สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงานสร้างสรรค์: ผลงานวิจัย พ.ศ. ๒๕๖๑ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องคนบวชควายแห่งลุ่มนํ้าชี: ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นแห่งพื้นที่วัฒนธรรมควายจ่า พ.ศ. ๒๕๖๒ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องเบื้องหน้า/เบื้องหลังประวัติศาสตร์ เมืองร้อยเอ็ดจากราชกิจจานุเบกษาพ.ศ.๒๒๕๖–๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๒ พงศาวดารร้อยเอ็ดพ.ศ.๒๔๕๐ –๒๔๗๐ :การศึกษา เอกสารปฐมภูมิเพื่อการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๖๓ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องการฟื้นฟูสำนึกชุมชนด้วย ประวัติศาสตร์บอกเล่าอันเป็นกระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นบ้านเก่าน้อยต.ไพศาลอ.ธวัชบุรีจ.ร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๔ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง พาสาเกต : การยกระดับ สำ รับอาหารประจำ จังหวัดร้อยเอ็ดด้วยวัฒนธรรม สร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยวผ่านกระบวนการ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม พ.ศ. ๒๕๖๕ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องWe-Society:การพัฒนา ทักษะการสร้างห้องเรียนแห่งความเกื้อกูลและแบ่งปัน แก่ครูผู้สอนสังคมศึกษาในจังหวัดร้อยเอ็ดเพื่อสร้าง วัฒนธรรมการเกื้อกูลและแบ่งปันแก่เด็กและ เยาวชนกลุ่มคนเปราะบาง โดยกระบวนการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เกิดเมื่อวันที่: ๓ พฤษภาคม ๒๕๒๒ สถานที่เกิด: จังหวัดยโสธร ปัจจุบันอายุ: ๔๔ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริญ รสจันทร์ 98 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”