The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สูจิบัตรการจัดงานประชุมสามัญประจำปีสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 10-12 กุมภาพันธ์ 2567 ณ จังหวัดสุรินทร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pitchanun Gik, 2024-02-27 01:46:00

สูจิบัตรงานประชุมสามัญประจำปีสภาศิลปะฯ

สูจิบัตรการจัดงานประชุมสามัญประจำปีสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 10-12 กุมภาพันธ์ 2567 ณ จังหวัดสุรินทร์

พ.ศ. ๒๕๖๖ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องก่อนจะกลายเป็นสินค้า: การเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันตนเองของเยาวชน กลุ่มเสี่ยงที่มีความเปราะบางต่อการค้ามนุษย์ในกลุ่ม จังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์ด้วยกระบวนการวิจัย เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม พ.ศ. ๒๕๖๗ หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง การฟื้นฟูและสืบสาน ประเพณีการไหว้บ่อพันขันเพื่อปลูกจิตสำนึกเยาวชน และสร้างเศรษฐกิจฐานรากผ่านตลาดวัฒนธรรม ข้าว -ปลา – เกลือ(กำลังดำ เนินการ) บทความเผยแพร่ ปริญรสจันทร์.(๒๕๕๘).วัดบึงพระลานชัย.กฐินพระราชทาน,๑๔-๒๓. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๒). การช่วงชิงบทบาทผู้คํ้าชูระหว่างผีกับ รัฐสยามในลุ่มแม่นํ้าโขงพุทธศักราช๒๔๒๐ –๒๕๖๐.อารยธรรม ศึกษาโขง-สาละวิน, ๑๐(๒), ๑๙๔ – ๒๑๘. ปริญรสจันทร์.(๒๕๖๕).การจัดการศึกษาในสุวรรณภูมิ. เมืองโบราณ, ๔๘(๑), ๙๔ – ๑๐๒. ปริญรสจันทร์. (๒๕๖๖).คนบวชควายแห่งลุ่มนํ้าชี:ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นแห่งพื้นที่วัฒนธรรมควายจ่า. วารสารวิจัยวัฒนธรรม, ๖(๑), ๒๕ – ๔๕. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖). จากเมืองร้างสู่เมืองหลัก. ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๓), ๒๔ – ๓๒. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖). ของขวัญจากกาลเวลา.ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๔), ๑๘ – ๒๓. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖). ชื่อร้อยเอ็ดนั้นสำคัญไฉน.ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๕), ๒๐ – ๒๗. ปริญรสจันทร์. (๒๕๖๖).การควบคุมระยะไกล ๒๓๑๘ – ๒๔๔๑. ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๖), ๓๐ – ๓๘. ปริญรสจันทร์. (๒๕๖๖).ร้อยเอ็ดในยุคมณฑลเทศาภิบาล ๒๔๓๐ – ๒๔๗๖.ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๗), ๒๐ – ๓๑. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖).กบฏผีบุญอีสาน พุทธศักราช๒๔๔๔ – ๒๔๔๕.ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๘), ๕๑ – ๕๙. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖).การหวนคืนของผู้สืบทอด.ทางอีศาน, ๑๒(๑๓๙), ๒๖ – ๓๖. ปริญรสจันทร์. (๒๕๖๖).วาระเฉิมฉลอง.ทางอีศาน, ๑๒(๑๔๐), ๒๐ – ๒๗. ปริญ รสจันทร์. (๒๕๖๖).สุวรรณภูมิในตำนานอุรังคธาตุ. ทางอีศาน, ๑๒(๑๔๑), ๘๑ – ๙๐. ผลงานเพื่อสังคม พ.ศ. ๒๕๕๙ คณะทำ งานยกร่างคำ ขอจดทะเบียนสิ่งบ่งชี้ ทางภูมิศาสตร์สินค้าผ้าไหมสาเกต ตามคำ สั่ง จังหวัดร้อยเอ็ดที่พ.ศ. ๒๒๕๐/๒๕๕๙ (ได้รับ การรับรองใน พ.ศ.๒๕๖๕) พ.ศ. ๒๕๕๙ หัวหน้าโครงการจัดทำ ฐานข้อมูลแผนที่วัฒนธรรม จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๐ –ปัจจุบัน ผู้สอนและผู้พัฒนารายวิชาร้อยเอ็ดศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๓ หัวหน้าโครงการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้การต้ม เกลือสินเธาว์แบบโบราณบ้านเก่าน้อยตำบลไพศาล อำ เภอธวัชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๓ หัวหน้าโครงการการนำ ประวัติศาสตร์บอกเล่า สู่การออกแบบบรรจุภัณฑ์เกลือสินเธาว์ของชุมชน บ้านเก่าน้อยตำบลไพศาลอำ เภอธวัชบุรีจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๔ หัวหน้าโครงการเว็บแอพพลิเคชั่นพาสาเกต พ.ศ. ๒๕๖๔ หัวหน้าโครงการฐานข้อมูลวัฒนธรรมอาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๕ หัวหน้าโครงการการวาด“ฮูปแต้ม”หลวงปู่ศรีมหาวีโร ณมหาเจดีย์ชัยมงคลอำ เภอหนองพอกจังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๖ คณะกรรมการยกร่างหลักสูตรประวัติศาสตร์ท้องถิ่น จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๖ พ.ศ. ๒๕๖๖ หัวหน้าโครงการพิพิธภัณฑ์“ภาพเก่าเล่าเรื่อง” พัฒนาการชุมชนณมหาเจดีย์ชัยมงคลอำ เภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๖๗ คณะกรรมการจัดทำ พิพิธภัณฑ์บ่อพันขัน ณ วัดเกาะบ่อพันขันรัตนโสภณ อำ เภอหนองฮี จังหวัดร้อยเอ็ด วิทยากร ๒๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๖ ผู้ประเมิน โครงการวิจัยเรื่องวัคซีน ต้นกล้า: การพัฒนากระบวนการเรียนรู้เท่าทันการพนันออนไลน์ ในโรงเรียนกีฬา. ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ การเมืองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ วิทยากร โครงการพัฒนากลไก ความร่วมมือด้านสุภาพเพื่อการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชากร ข้ามชาติและผู้มีปัญหาสถานะบุคคลในพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว. กลุ่มเพื่อนการพัฒนา. ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ วิทยากร การอบรมเชิงปฏิบัติ พัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้สู่ชั้นเรียนของครูผู้สอนรายวิชา ประวัติศาสตร์ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖. สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอำนาจเจริญ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ วิทยากร เรื่องการอนุรักษ์แหล่ง โบราณคดีเมืองงิ้ว บ้านชาด มรดกของจังหวัดอำ นาจเจริญ หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดอำนาจเจริญ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 99


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย สาขา : อาหารพื้นเมือง สืบทอดอาหารพื้นเมืองโบราณ ภูมิปัญญา การทำอาหารจากชาวบ้าน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๖๒ หมู่ ๑ บ้านนาดีตำ บลนาดีอำ เภอ ด่านซ้ายจังหวัดเลย หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๗ ๒๑๗ ๘๑๐๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีสาขาพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ผลงานสร้างสรรค์: นางคำ พันอ่อนอุทัยได้รังสรรค์และสืบต่ออาหารภูมิปัญญาจากชาว บ้าน คือ นํ้าผักสะทอน โดยมีขั้นตอนการผลิตที่คิดค้นขึ้นมาใหม่ แต่ยัง คงมีความอร่อยเทียบเท่าสมัยโบราณ ทำ ให้คนรุ่นใหม่ในทุกๆ ภาคของ ประเทศไทยได้รู้จักนํ้าผักสะทอน สำหรับเมนูที่ขึ้นชื่อ คือ เมี่ยงโค้น โดย การนำ ผัก เครื่องเคียงต่างๆ มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก เช่น หอมหัวใหญ่มะนาว พริก ถั่วลิสง โดยนำ ใบชะพูลมาห่อ และราดด้วยนํ้าผักสะทอน อาหาร นี้เป็นอาหารที่ได้รับประโยชน์ต่อร่างกาย มีสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็น อาหารที่เหมาะในการดูแลรักษาสุขภาพ เกิดเมื่อวันที่: ๑ กรกฎาคม ๒๔๙๘ สถานที่เกิด:บ้านนาดีตำบลนาดีอำ เภอด่านซ้ายจังหวัดเลย ปัจจุบันอายุ: ๖๙ ปี นางคำ พัน อ่อนอุทัย 100 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒๓๔ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตำบลเมือง อำ เภอเมืองเลยจังหวัดเลย ๔๒๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๒ ๓๖๘ ๘๖๖๘ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีสาขาสังคมศาสตร์วิทยาลัยครูเลย ปริญญาโทสาขาภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปริญญเอกสาขาสิ่งแวดล้อม ผลงานสร้างสรรค์: รองศาสตราจารย์ดร.ยิ่งศักดิ์คชโคตร ได้รังสรรค์ผลงานทางด้าน การสืบสานวัฒนธรรมไทย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกำกับดูแลขบวนแห่งานกาด ชาดดอกฝ้ายบานฯ ร้านนิทรรศการให้ออกมามีความเป็นไทย สวยงาม โดดเด่น และอนุรักษ์ศิลปะไทยให้คงอยู่ โดยการนำ เอกลักษณ์ของความ เป็นไทยมาตกแต่งร้านเช่นงานจักสานไม้ไผ่การสานนกจากใบลาน เกิดเมื่อวันที่: ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๔ สถานที่เกิด: จังหวัดมหาสารคาม ปัจจุบันอายุ: ๕๒ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งศักดิ์ คชโคตร การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 101


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สถาบันภาษาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ สาขา :อาหารพื้นถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:ตำบลกู่อำ เภอปรางค์กู่จังหวัดศรีสะเกษ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๒ ๔๔๖ ๖๒๘๘ ประวัติด้านการศึกษา: ประถมศึกษาปีที่ ๖ ผลงานสร้างสรรค์: อนุรักษ์ส่งเสริมและถ่ายทอดการทำ ขนมไปรกระซังให้เป็นที่รู้จักและ เป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน เกิดเมื่อวันที่: ๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๙ สถานที่เกิด:บ้านกู่อำ เภอปรางค์กู่จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบันอายุ: ๕๗ ปี นางแก่นแก้ว ใจแข็ง 102 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สถาบันภาษาศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ๑. ดำ เนินโครงการSSKRU ร่วมใจใส่ผ้าไทยผ้าพื้นเมือง ๒. ส่งเสริมความโดดเด่นและความเป็นเลิศเกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ๓. โครงการบูรณาการด้านสภาวัฒนธรรมกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔. ดำ เนินโครงการอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีและวันสำคัญ ของชาติศาสน์กษัตริย์ ๕. โครงการลอยกระทง ๖. งานศูนย์การเรียนรู้ชาติพันธุ์๔ เผ่า (ลาว เขมรส่วยเยอ) ๗. งานศูนย์ศรีสะเกษศึกษา ๘. โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต์ ๙. งานสืบสานศิลปวัฒนธรรมอันเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีงานเทศกาล หรือ งานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปวัฒนธรรมทั้งในและ นอกสถานที่ตลอดจนในประเทศและต่างประเทศ ๑๐. โครงการสืบสานอารยธรรมแห่งศรัทธาทรงคุณค่าสองแผ่นดิน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๓๐ หมู่ ๕ ตำบลพรหมสวัสดิ์อำ เภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๖ ๔๑๕ ๔๕๙๖ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๖๑ ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครูมหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ พ.ศ. ๒๕๔๘ ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ผลงานสร้างสรรค์: ๑. โครงการSSKRU ร่วมใจใส่ผ้าไทยผ้าพื้นเมือง เกิดเมื่อวันที่: ๒๔ กันยายน ๒๕๒๕ สถานที่เกิด: บ้านกระหวันตำบลพรหมสวัสดิ์อำ เภอพยุห์ จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบันอายุ: ๔๑ ปี นางสาวชนาภัค มุลกะกุล การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 103


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสุรินทร์ สาขา :อาหารพื้นเมือง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๙๖ หมู่ที่ ๑ บ้านเทนมีย์ตำบลเท นมีย์อำ เภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๙ ๕๗๘ ๕๕๒๔ ประวัติด้านการศึกษา: ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียนบ้านเทนมีย์ตำบลเทนมีย์อำ เภอเมือง สุรินทร์จังหวัดสุรินทร์ ผลงานสร้างสรรค์: นางสุพจน์คำภานุ ผู้เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านอาหารพื้นบ้าน เป็น ผู้รอบรู้ในด้านการทำนํ้าพริกมะพร้าว หรือ “เบาะโดง” “เบาะโดง” เป็น ภาษาเขมรถิ่นไทย“เบาะ” แปลว่า “ตำหรือป่น”ส่วนคำ ว่า “โดง” แปลว่า “มะพร้าว”จึงหมายถึงตำมะพร้าวหรือตำนํ้าพริกมะพร้าวมีต้นกำ เนิด อยู่ในจังหวัดสุรินทร์หมู่บ้านเทนมีย์เป็นอีกหนึ่งหมู่บ้านในพื้นที่ของจังหวัด สุรินทร์ ในพื้นที่บ้านเทนมีย์มีการปลูกต้นมะพร้าวตามบ้านเป็นจำนวน มาก ชาวบ้านเลยมีวิธีการคิดค้นการแปรรูปมะพร้าวให้เป็นเมนูอาหาร โดยการนำ เอามะพร้าวซึ่งอยู่ในพื้นที่ นำมาแปรรูปอาหาร เป็นนํ้าพริก ประจำถิ่นเรียกว่าเบาะโดงทั้งนี้เบาะโดงยังเป็นอาหารที่สืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ มะพร้าวมีประโยชน์คุณค่าทางอาหารมากมาย และมีการนำ มาปรุงเป็นอาหารคาวหวานปัจจุบันคนไม่ค่อยนิยมทำอาหารคาวบ้าน เทนมีย์จึงได้ทำอาหารคาวคือนํ้าพริกเบาะโดงเวลามีงานประเพณีต่างๆ เช่นงานบุญ งานศพ และงานอื่นๆก็จะทำนํ้าพริกเบาะโดงไว้รับแขกที่มา ร่วมงาน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ไว้ให้ชนรุ่นหลังได้สืบทอดต่อไป กอรปกับ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ กระทรวงวัฒนธรรม โดยกรมส่งเสริม วัฒนธรรมได้ดำ เนินการคัดเลือก ๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น “รสชาติ...ที่หายไป The Lost Taste”ภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒ นายกระดับอาหารถิ่น สู่มรดกทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ความเป็น ไทย (Thailand Best Local Food) “รสชาติ...ที่หายไป The Lost Taste”ประจำปีงบประมาณพ.ศ.๒๕๖๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ประวัติศาสตร์ของอาหารไทยอาหารท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิต คนไทย รวมถึงการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งเสนอ เกิดเมื่อวันที่: ๔ มกราคม ๒๕๐๒ สถานที่เกิด: จังหวัดสุรินทร์ ปัจจุบันอายุ: ๖๕ ปี นางสุพจน์ คำภานุ 104 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


สาระความรู้เกี่ยวกับอาหารไทยและอาหารท้องถิ่นต่อยอดสมุนไพร ไทย สรรพคุณทางเลือก และส่งต่อเป็นภูมิปัญญาที่มีการสืบทอด รุ่นสู่รุ่น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมศักยภาพของเครือข่ายวัฒนธรรม ในการบริหารจัดการงานวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน บนพื้นฐานมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมท้องถิ่น และจังหวัดสุรินทร์ได้พิจารณา คัดเลือก “เบาะโดง” (นํ้าพริกมะพร้าวโบราณ) เพื่อเสนอกรมส่ง เสริมวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรม พิจารณาคัดเลือก“๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น” และตามประกาศกรมส่งเสริมวัฒนธรรม เรื่อง ผลการคัดเลือกกิจกรรม“๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรร” ได้’ำ เนินการ พิจารณาคัดเลือก “เบาะโดง” นํ้าพริกมะพร้าวโบราณ เป็นอาหาร “๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น” “รสชาติ...ที่หายไปTheLost Taste” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ เบาะโดงถือว่าเป็นอาหารสชาติอาหารที่หายไปของจังหวัดสุรินทร์ การพัฒนาต่อยอดให้มีความทันสมัยโดยการปรุงอาหารให้มีรสชาติ ความเป็นกลางที่สามารถให้คนทุกภูมิภาคในประเทศไทยรวมถึงชาว ต่างชาติสามารถรับประทานได้มีการถนอมอาหารที่สามารถทานได้ ทุกเวลา ทั้งนี้สามารถให้ผู้ประกอบการร้านอาหารทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน นำ เบาะโดงเป็นเมนูสำคัญประจำ ร้านหรือเมนูแนะนำประจำ ร้านบูรณาการกับหอการค้าจังหวัดในการมอบป้ายรสชาติอาหาร ที่หายไป หรืออาหารต้องชิม เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการแปรรูป อาหารเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยการนำ เบาะโดงมา จัดทำ เป็นสลัดเบาะโดง เหมาะกับการรับประทานได้ทุกเพศ ทุกวัย รวมถึงพัฒนาให้เป็นอาหารที่รับประทานได้ง่าย สะดวกสบาย หรือ เป็นอาหารที่ปรุงสำ เร็จ พร้อมอุ่นทานได้ตลอดเวลา พร้อมส่งออก และจำหน่ายผ่านช่องทางแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ เพื่อกระจาย ไปสู่ต่างจังหวัดและต่างประเทศ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 105


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๕๙ หมู่ ๓ ตำบลบ้านเขือง อำ เภอเชียงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๕ ๖๕๗ ๐๖๔๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรี คบ.สังคมศึกษา วิทยาลัยครูมหาสารคาม ปริญญาโท กศ.บ.ภูมิศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงานสร้างสรรค์: ๑. สืบสานประเพณีด้านศิลปะและวัฒนธรรมเข้ากับการเรียนการสอน โดยจัดโครวการฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ๒. การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์(GIS) เพื่อจัดการ ทำ ข้อมูลการท่องเที่ยวในจังหวัดสุรินทร์ เกิดเมื่อวันที่: ๑๙ มกราคม ๒๕๑๓ สถานที่เกิด: จังหวัดร้อยเอ็ด ปัจจุบันอายุ: ๕๔ ปี นางวนมพร พาหะนิชย์ 106 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สาขา :ออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๑๑๙ ซอยพละบุรีศรีอุดร ๑ ถนนประชารักษา ตำบลหมากแข้งอำ เภอเมือง จังหวัดอุดรธานี๔๑๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๒๘๘ ๑๙๒๔ ประวัติด้านการศึกษา: ๒๕๔๕ ปริญญาตรีครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาศิลปะ อุตสาหกรรม เกียรตินิยมอันดับ ๒ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ๒๕๔๗ ปริญญาโทครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ๒๕๕๘ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์และ การออกแบบมหาวิทยาลัยบูรพา ผลงานสร้างสรรค์: รางวัลการประกวดงานสร้างสรรค์ ๒๕๔๙ รางวัลความคิดสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมระดับครูอาจารย์ ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน“ด้านโภชนาการ”จัดโดย บริษัทเนสล์(ไทย)จำกัดร่วมกับกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๙ รางวัลชนะเลิศออกแบบบล็อกแก้วลายเดี่ยวจำนวน ๖ ก้อน ระดับประชาชนทั่วไปรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ ออกแบบ บล็อกแก้วลายชุด ๖ ก้อนระดับประชาชนทั่วไปจัดโดยบริษัท บางกอกคริสตัลจำกัด ๒๕๕๐ รางวัลนิยายภาพยอดเยี่ยม ระดับครูผู้สอน/ศึกษานิเทศน์ โครงการประกวดหนังสือการ์ตูนนิยายภาพ (Comicbook) “รู้เก็บ รู้ใช้” ร่วมเฉลิมฉลองในวโรกาสพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนม์มายุครบ ๘๐ พรรษา จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ๒๕๕๒ รางวัลชมเชยโครงการประกวดบันลือบุ๊คส์อะวอร์ดครั้งที่๑ ประเภทการ์ตูนสร้างสรรค์ เกิดเมื่อวันที่: ๔ กันยายน ๒๕๒๒ สถานที่เกิด: จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันอายุ: ๔๔ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 107


๒๕๕๓ รางวัลชนะเลิศ การนำ เสนอผลงานวิจัยภาคบรรยายการ ประชุมทางวิชาการของเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษา ทั่วประเทศประจำปี ๒๕๕๓ หัวข้อ“การพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานรากด้วยแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์” ระหว่าง วันที่ ๒๖-๒๘พฤษภาคม๒๕๕๓ณ โรงแรมโฆษะอำ เภอเมือง จังหวัดขอนแก่นและอุทยานเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเรื่องการนำ เอกลักษณ์ลวดลาย บ้านเชียงโดยประยุกต์ใช้กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูป เพ้นท์บาติกเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึกจ.อุดรธานี ๒๕๖๒ รางวัลชมเชยประเภทชุดทำ งานจากสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดอุดรธานีจากการนำ แบบเครื่องแต่งกายผ้า ผลงานวิจัยปี๒๕๖๐สัมพันธภาพระหว่างลวดลายประทับ ดินเผาบ้านเชียงกับลายมงคลสมัยนิยมสู่งานออกแบบ ผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดอุดรธานีเข้าประกวด ๒๕๖๒ รางวัลชมเชยลำดับที่๑ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรการจักสาน จากต้นคล้าการประกวดและเผยแพร่ผลงานเครือข่าย องค์ความรู้(Knowledge - Based OTOP : KBO) จังหวัดดีเด่นประจำปี๒๕๖๒จากผลงานวิจัยปี๒๕๖๒ คล้า:วัสดุเหลือทิ้งจากงานจักสานสู่เส้นใยเพื่อเสริมสร้าง งานผลิตภัณฑ์แนวใหม่ ๒๕๖๓ โล่ห์เชิดชูเกียรติรับรางวัลชนะเลิศประเภท: ผ้าเอกลักษณ์ ในการประกวดผ้าสืบสานอนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทยดำ รงไว้ ในแผ่นดินจังหวัดอุดรธานีจากกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทยในการประกวดผ้าสืบสานอนุรักษ์ ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำ รงไว้ในแผ่นดินจังหวัดอุดรธานีจาก กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ผลงาน กลุ่มธมณโฑ ผลงานในโครงการวิจัยปี๒๕๖๐สัมพันธภาพ ระหว่างลวดลายประทับดินเผาบ้านเชียงกับลายมงคล สมัยนิยมสู่งานออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดอุดรธานี ๒๕๖๔ ใบประกาศเกียรติคุณจากสถาบันวิจัยและพัฒนา ผู้ที่มี ผลงานดีเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานีประจำปีการศึกษา๒๕๖๔ เจ้าของผลงาน สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์“ลวดลายบนแผ่นผืน” ๒๕๖๔ เป็นที่ปรึกษาโครงการให้คำปรึกษาแนะนำ ยกระดับผ้าทอมือ อัตลักษณ์อีสานสู่สากล ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่๔ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม ประจำปีงบประมาณ๒๕๖๔ ผลงานกลุ่มชุมชนหนองคาย “บ้านหินโงม”ที่ดูแล ผลงานที่พัฒนาเป็นตัวแทนระดับ จังหวัดส่งคัดสรรระดับประเทศในโครงการ เครือข่าย องค์ความรู้KBO จังหวัดหนองคาย ของพัฒนาการ จังหวัดหนองคาย ๒๕๖๖ รับรางวัลประกาศเกียรติคุณเนื่องในวันครูครั้งที่ ๖๗ ประจำปีพ.ศ. ๒๕๖๖ ที่ห้องสยามมนตรา ๑ โรงแรม สยามแกรนด์อ.เมืองจ.อุดรธานีโดยสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดอุดรธานีคุรุสภาจังหวัดอุดรธานีและคณะ กรรมการจัดงานวันครูจังหวัดอุดรธานีร่วมกันจัดงาน วันครูครั้งที่๖๗พ.ศ.๒๕๖๖ ภายใต้แก่นสาระ“พลังครู คือหัวใจของการพลิกโฉมคุณภาพการศึกษา” ๒๕๖๖ ผู้เสนอ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม : สาขางาน ช่างฝีมือดั้งเดิม : เครื่องปั้นดินเผาบ้านเชียง เสนอต่อ กรมส่งเสริมวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรมกุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ รับการพิจารณาขึ้นทะเบียนเปนมรดกภูมิป ญญา ทางวัฒนธรรมประจำ จังหวัดอุดรธานี ๒๕๖๖ ตัวแทนชุมชนยลวิถีบานเชียง เขารวมโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑ   วัฒนธรรมไทย ระหวางวันที่ ๔-๘ มิถุนายน๒๕๖๖ณโรงแรมเอสรัชดา เลเซอร กรุงเทพมหานคร โดยนำ ผลงานวิจัยเขารวม สงคัดสรร  และนำ เสนอตอคณะกรรมการ ไดรับคัดเลือก  เปนผลิตภัณฑวัฒนธรรมไทย (Cultural Product of Thailand:CPOT)ประจำป ๒๕๖๖ ผลงานกลุ่มปั้นหม้อ เขียนสีและกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านเชียง ส.หงษ์แดง ผลงานในโครงการวิจัยปี๒๕๖๕ ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ บนฐานภูมิปัญญาสู่การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ งานวิจัย ๒๕๖๐ หัวหน้าโครงการวิจัย สัมพันธภาพระหว่างลวดลายประทับ ดินเผาบ้านเชียงกับลายมงคลสมัยนิยมสู่งานออกแบบ ผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดอุดรธานี(ชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม” ปีงบประมาณ๒๕๖๐สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ(วช.) และสำ นักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย(สกว.)) ๒๕๖๒ หัวหน้าโครงการวิจัยคล้า:วัสดุเหลือทิ้งจากงานจักสาน สู่เส้นใยเพื่อเสริมสร้างงานผลิตภัณฑ์แนวใหม่(ชุดโครงการ “การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม” ปีงบประมาณ๒๕๖๒สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(สกสว.)) ๒๕๖๒ ผู้ร่วมวิจัยนครบุรีรินทร์: ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพิ่มคุณค่า ในแหล่งอารยธรรมอิสานใต้ (ชุดโครงการ“การพัฒนา อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม”ปีงบประมาณ ๒๕๖๒สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) และ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและ นวัตกรรม(สกสว.)) ๒๕๖๕ ผู้ร่วมวิจัย เศษเหลือทิ้งงานจักสานกก : เส้นใยสิ่งทอ เชิงสร้างสรรค์(กิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม เพื่อนำ นวัตกรรม ภายใต้โครงการหน่วยขับเคลื่อน นวัตกรรมเพื่อสังคมเพื่อนำ นวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ SIDUP-Isan-Southประจำ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนและภาคใต้ตอนบนปีงบประมาณ๒๕๖๕ สำนัก นวัตกรรมแห่งชาติNIA) ๒๕๖๕ ผู้ร่วมวิจัยนวัตกรรมเครื่องกัดไม้ลาย เพื่อสร้างสรรค์ ลวดลายเสื่อลายขิด (กิจกรรมขับเคลื่อนนวัตกรรม เพื่อสังคมเพื่อนำนวัตกรรมภายใต้โครงการหน่วยขับเคลื่อน นวัตกรรมเพื่อสังคมเพื่อนำ นวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ SIDUP-Isan-Southประจำ พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนและภาคใต้ตอนบนปีงบประมาณ๒๕๖๕ สำนัก นวัตกรรมแห่งชาติNIA) 108 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


๒๕๖๕ หัวหน้าแผนงานวิจัย เส้นทางมรดกโลกอุดรธานี: ภูมิปัญญาสู่การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์(หน่วยงาน บริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ(บพข.)) ๒๕๖๕ หัวหน้าโครงการวิจัย ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์บนฐาน ภูมิปัญญาสู่การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์(หน่วยงาน บริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ(บพข.)) ผลงานที่ได้ตีพิมพ์ กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (๒๕๕๐).คุณยายนักประดิษฐ์. เหรียญ มหัศจรรย์รวม ๖ ผลงานที่ได้รับรางวัลโครงการประกวดหนังสือ การ์ตูนนิยายภาพ “รู้เก็บ รู้ใช้”. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย.หน้า ๑๐๔-๑๒๕. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,รจนาจันทราสา,และภานุพัฒนปณิธิพงศ์. (๒๕๕๒).โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประเภทของตกแต่ง บ้านจากต้นโสนหางไก่.การประชุมวิชาการวิจัยรำ ไพพรรณีเนื่อง ในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระนางเจ้ารำ ไพพรรณี ครบ ๑๐๕ ปี. จันทบุรี:มหาวิทยาลัยราชภัฏรำ ไพพรรณี. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,รจนาจันทราสา,และภานุพัฒนปณิธิพงศ์. (๒๕๕๓). การนำ เอกลักษณ์ลวดลายบ้านเชียงโดยประยุกต์ใช้ กับผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติกเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกจังหวัดอุดรธานี.การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ประจำปี๒๕๕๓. ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.หน้า ๒๓๗-๒๔๒. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (๒๕๕๓). ตำ ราเทคนิคการนำ เสนอ งานออกแบบผลิตภัณฑ์.อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่า. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,รจนาจันทราสา,และภานุพัฒนปณิธิพงศ์. (๒๕๕๓). คู่มือ การออกแบบลวดลายบ้านเชียง เพื่อใช้ในการ ประยุกต์ผลิตภัณฑ์ผ้าแปรรูปเพ้นท์บาติก จังหวัดอุดรธานี. อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่า. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์.(๒๕๕๓).ของเล่นเสริมพัฒนาการเรียนรู้ “TheZoo”.BigToys Design๒๐๑๐.กรุงเทพฯ:กรมส่งเสริม การส่งออก.หน้า ๒๕. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (๒๕๕๔). การน้อมนำ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อประยุกต์ในการออกแบบสื่อ ประเภทหนังสือการ์ตูนสำหรับเด็กประถมวัย.การประชุมวิชาการ ระดับชาติและนานาชาติมหาวิทยาลัยขอนแก่นประจำปี๒๕๕๔. ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.หน้า ๒๘๖-๒๙๑. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,นิตินิมะลา,และอโณทัยสิงห์คำ .(๒๕๕๗). คู่มือวิธีการพัฒนาของเล่นเสริมพัฒนาการเรียนรู้สำ หรับ เด็กประถมศึกษาตอนต้น ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่า. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์.(๒๕๕๗).ลวดลายประทับดินเผาบ้านเชียง: บูรณาการสู่การออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์. วารสาร ศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นปีที่๖ ฉบับที่๒ เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๗.หน้า ๑-๒๕ กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,นิตินิมะลา,และอภิรักษ์อุ่นไธสงค์.(๒๕๕๗). คู่มืองานวิจัยประชาคมอาเซียน ประเภทของเล่นเสริมพัฒนา การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย.อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่า. Kanittha Ruangwannasak.(๒๐๑๕).BanChiang’sBakedClay RollersandStamps:The OriginalPatternsandthe New PatternsonFabricProducts.KSBDA SpringInternational Conferencd Thesis Paper Booklet. Korean Society of Basic Design & Arts.Page ๓๙๒-๓๙๖. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (๒๕๕๘).คู่มือการนำองค์ความรู้ลูกกลิ้ง และตราประทับดินเผาบ้านเชียง:ลวดลายสู่งานออกแบบผลิตภัณฑ์. อุดรธานี: โรงพิมพ์บ้านเหล่า. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์,นิตินิมะลา,และอโณทัยสิงห์คำ .(๒๕๕๘). การน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อประยุกต์ใช้กับ การออกแบบผลิตภัณฑ์ของเล่นเสริมพัฒนาการเรียนรู้สำหรับ เด็กประถมศึกษาตอนต้น. วารสารวิชาการศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.ปีที่๖ ฉบับที่๒เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๘.หน้า ๘๐-๘๙. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์.(๒๕๖๐).การออกแบบผลิตภัณฑ์ของเล่น. กรุงเทพฯ: โอเอส พริ้นติ้ง. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์.(๒๕๕๘). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา วัสดุและกรรมวิธีการผลิต.อุดรธานี:คณะเทคโนโลยีมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี. กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์, นิตินิมะลา, และ อภิรักษ์อุ่นไธสงค์. (๒๕๕๙). การออกแบบสื่อการสอนในการเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียน ประเภทของเล่นเสริมพัฒนาการเรียนรู้ สำหรับเด็กปฐมวัย.วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา.ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๙. กนิษฐาเรืองวรรณศักดิ์.(๒๕๖๖).คู่มือเส้นทางมรดกโลกบ้านเชียง- บ้านผือ ภูพระบาท. อุดรธานี: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ทรัพย์ภิญโญ. Kanittha Ruangwannasak. (๒๐๑๘). RelationbetweenBan Chiangpotterypatternstampandthefavorablepattern trend conduce to Thai fabric design in Udon-Thani Province.KSBDA SpringInternationalConferencdArt & Design Invitation Exhibition. TheKoreaAssociation ofArt & Design. KanitthaRuangwannasak.(๒๐๑๙).B-B(BanChiang-Basketry). International Art and Design Exhibition. The Korea AssociationofArt&Design.๒๙ November–๒December ๒๐๑๙.Page ๔๑. Kanittha Ruangwannasak,SutthineeSukkul,AtchariyaSuriya andKrissada Dupandung.(๒๐๒๑).Meaningrelationship betweentheoriginalBanChiangpotterypatternstamps and modernauspiciouspatterns.Kasetsart Journalof SocialSciences.Vol. ๔๒ No. ๒ (๒๐๒๑):April-June. Kanittha Ruangwannasak, Anothai Singkham, Akaradej Munarth,Krisada Dupundung.(๒๐๒๑).NATURAL-COLOR CREATION FOR DYEING CALATHEASTRIPSFORCLEAN TECHNOLOGY APPROACH. Ilkogretim Online (IOO) - ElementaryEducation Online.EEO.Year:๒๐๒๑,Volume: ๒๐, Issue: ๕ : ๑๐๓๕-๑๐๔๕. การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 109


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:กลุ่มทอผ้าโบราณบ้านโนนกอก สาขา :ศิลปะพื้นบ้าน ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: เลขที่๖๓ หมู่ที่๑๘ บ้านโนนกอกตำบลหนอง นาคำ อำ เภอเมืองอุดรธานีจังหวัดอุดรธานี๔๑๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๓ ๕๔๗ ๘๒๕๕ ประวัติด้านการศึกษา: ๒๕๖๔ ปริญญาตรีคณะมนุษย์ศาสตร์บัณฑิต รัฐประศาสนศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ๒๕๖๘ ปริญญาโทคณะมนุษย์ศาสตร์มหาบัณฑิตรัฐประศาสนศาตร์ มหาวิทยาลัยพิษณุโลก ปัจจุบันกำลังศึกษาปริญญาเอกปรัชญาดุษฏีบัณฑิตศิลปกรรมพื้นถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ผลงานสร้างสรรค์: รางวัลการประกวดงานสร้างสรรค์ ๒๕๕๙ รางวัล“วัฒนคุณาธร” โดยกระทรวงวัฒนธรรม รางวัลชนะเลิศภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การประกวด ชุมชนแห่งการอนุรักษ์ และสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ภูมิปัญญาทอผ้าขิดไหมลายสายธารนาค เชียงรวง ย้อมสายบัวแดง” โดยกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวง มหาดไทย ๒๕๖๓ รางวัลปราชญ์หม่อนไหมสาขาลวดลายผ้า(การถอดลาย เก็บขา จกยกขิด) โดยกรมหม่อนไหม ๒๕๖๔ รางวัลชนะเลิศเหรียญทองการประกวดผ้าลายพระราชทาน “ผ้าลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณ ณวรีฯ” ประเภท ผ้ามัดหมี่ ๓ ตะกอขึ้นไปโดยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา รางวัล“ชุมชนคุณธรรมต้นแบบโดดเด่น”โดยคณะกรรมการ ส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ รางวัลชุมชนคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ขับเคลื่อนด้วยพลัง“บวร” เป็นชุมชน คุณธรรม ต้นแบบโดดเด่นโดยจังหวัดอุดรธานี เกิดเมื่อวันที่: ๒๖ มีนาคม ๒๕๒๑ สถานที่เกิด: จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันอายุ: ๔๖ ปี นายอภิชาติ พลบัวไข 110 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ประกาศเกียรติคุณได้เสียสละและให้การสนับสนุนกิจการ ของตำรวจภูธรจังหวัดอุดรธานีโดยตำรวจภูธรจังหวัดอุดรธานี ๒๕๖๕ ประกาศเกียรติคุณเป็นบุคคลผู้ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ ในฐานะ“ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานดีเด่น” โรงเรียนบ้านหนองนาคา โดยกระทรวงศึกษาธิการ และสมาคมกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแห่งประเทศไทย รางวัลปราชญ์หม่อนไหมสาขาลวดลายผ้า(การถอดลาย เก็บขาจกยกขิด) โดยกรมหม่อนไหมเนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ๒๕๖๖ ประกาศเกียรติคุณได้เป็นวิทยากรการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการพัฒนายกระดับ Soft Power อาหารถิ่น “ข้าวต้มมัดกลีบบัวแดง”สู่การเพิ่มมูลค่าสร้างรายได้ สู่ชุมชนโดยจังหวัดอุดรธานี ประกาศเกียรติคุณเชิดชูเกียรติ“เมนูข้าวต้มมัดกลีบบัวแดง” ในกิจกรรม ๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น“รสชาติ ที่หายไปTheLostTaste”โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม รางวัล“บุคคลต้นแบบ”โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมและความเป็นไทยเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ ๒ เมษายนโดยจังหวัดอุดรธานี รางวัลการประกวดงานสร้างสรรค์ ๒๕๖๖ รางวัลชนะเลิศ “หมู่บ้านต้นแบบประชาธิปไตยดีเด่น ประจำปี๒๕๖๖”โดยกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย รางวัล“ผู้ใหญ่บ้านยอดเยี่ยมประจำปีพ.ศ.๒๕๖๖” โดยกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย รางวัล “วุฒิสภา ศรัทธาความดี” ในฐานะผู้กระทำ ความดีแก่สังคมโดยคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสวุฒิสภา ประกาศเกียรติบัตรได้ผ่านการอบรมและสร้างความเข้าใจ การบริหารจัดการศึกษาในสถานศึกษาโดยคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านระบบออนไลน์โดยสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต ๑ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 111


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี สาขา : สาขาคหกรรมศาสตร์ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ร้านอารีย์ เลขที่ ๒ ถนนราชบุตร ตำบลใน เมือง อำ เภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑-๙๔๗ ๕๔๑๙ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญากิตติมศักดิ์สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์จากมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี ผลงานสร้างสรรค์: “เค็มบักนัด” เค็มบักนัดคืออาหารที่ผ่านการหมักด้วยเกลือสินเธาว์ ซึ่งมีส่วนประกอบสำคัญคือเนื้อสับปะรดเนื้อปลาเทโพหรือเนื้อหมูเป็นหลัก เป็นวิธีการถนอมอาหารอีกแบบหนึ่งตามภูมิปัญญาชาวบ้าน เกิดเมื่อวันที่: ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๗ สถานที่เกิด: จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบันอายุ: ๘๙ ปี นางอารีย์ วีระกุล 112 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม:สาขาศิลปะการแสดง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: เลขที่ ๗๘๔ หมู่ ๑๘ ตำ บลขามใหญ่ อำ เภอเมืองอุบลราชธานีจังหวัดอุบลราชธานี๓๔๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๖๒-๕๑๔-๙๘๗๔ ประวัติด้านการศึกษา: ศิลปดุษฎีบัณฑิต (ศล.ด.)สาขาวิชานาฏศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม ผลงานสร้างสรรค์: ๑. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ และออกแบบชุดการแสดงในขบวนรำ เทียนหลวง พระราชทานตั้งแต่ปี๒๕๕๓-๒๕๕๕ และ พ.ศ.๒๕๖๐ –ปัจจุบัน ๒. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ เพื่อเป็นต้นแบบในท้องถิ่น เช่น รำบวงสรวง เจ้าคำ ผง รำ เทิดคุณาอัญญา เจียงคำ ฟ้อนอุบลราชธานี เพลงมาร์ชอุบลราชธานีเพลงออนซอนเมืองอุบล เพลงตำนาน เมืองกันทรลักษ์ฯลฯ ๓. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ และออกแบบการแสดงจากมรดกภูมิปัญญา ส่งเสริมการท่องเที่ยวและชุมชนเช่น ฟ้อนลงข่วงเข็นไหมฯเบิ่งฟ้อน ฆ้องทรายมูล รำ สองนางนาคน้อย ยลแสงศิลป์ถิ่นสิรนธร ฟ้อนกาบบัว แสงแรก ฟ้อนแสงแรกบ้านซะซอม ๔. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ ชุดการแสดงตระการตาบุปผาอาเซียน Friendship of ASEAN เรืองเเสงศิลป์แผ่นดินสยาม ESAN UNIQUE จตุรทิศรุ่งโรจน์เรืองหอการค้าไทย ฯลฯ ในงาน กีฬามหาวิทยาลัยอาเซียนครั้งที่๒๐ การแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทยครั้งที่๔๖ การแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัย แห่งประเทศไทยครั้งที่ ๓๙ ๕. เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ และออกแบบ รำถวายพระพร อาเศียรวาท เทพรัตนวิศิษฏศิลป์สิรินธร, รำตังหวายถวายพระพร สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, อาเศียรวาท ฉลองราชย์นวมินทร์ปิ่นสยาม, อาศิรวาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เกิดเมื่อวันที่: ๒๘ มิถุนายน ๒๕๑๑ สถานที่เกิด: จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันอายุ: ๕๕ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรางคณา วุฒิช่วย การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 113


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช สาขา :ทางด้านหนังตะลุง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านหัวเกียน ตำบลท่าขึ้น อำ เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเลขโทรศัพท์: - ประวัติด้านการศึกษา: นายจำ เนียรคำหวานได้ศึกษาวิชาการจนสำ เร็จการศึกษาชั้นประถม ปีที่ ๔ จากโรงเรียนวัดสโมสร ตำบลหัวตะพาน อำ เภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราชและได้ศึกษาวิชาทางพระพุทธศาสนาจนจบนักธรรมตรี ณ วัดท่าสูง อำ เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ขณะบรรพชา อุปสมบทเมื่ออายุ๒๐ - ๒๓ ได้๓ พรรษา สร้างสรรค์: นายจำ เนียรคำหวานก็ยังคงเป็นอยู่จนถึงปัจจุบันนี้โดยมีผลงานแสงด หนังตะลุงนับเป็นพันๆครั้งมีลูกศิษย์ลูกหานับเป็นสิบๆคณะ จนกล่าว ได้ว่าหนังจำ เนียร คำหวาน มีประวัติที่สร้างสรรค์ศิลปะการแสดงทั้งทาง ด้านหนังตะลุงและมโนราห์ควบคู่กันมาตลอดการแสดงหนังตะลุงขอหนัง จำ เนียรคำหวานถือว่าเป็นการแสดงชั้นครู ที่ยึดถือเป็นแบบฉบับได้ทั้งสิ้น ตั้งแต่เครื่องดนตรีเรื่องที่แสดง การดำ เนินเรื่อง บทกลอน การฉากรูป หรือเชิดรูปนํ้าเสียงการว่าบทการเจรจาและมีการประสมกลมกลืนเป็น องค์ประกอบของหนังตะลุง ผลงานการแสดงของหนังจำ เนียร คำหวาน จึงเป็นคุณภาพตลอดมา หนังจำ เนียร คำหวาน เป็นศิลปินนักแสดงซึ่ง เป็นที่ชื่นชมของประชาชนมาเป็นเวลายาวนานรวมกว่า ๔๐ ปีจนได้รับ เกียรติคุณ ต่างๆมากมายดั่งเช่น รางวัลนกอินทรีทองคำ จากการประชันหนังตะลุง ๑๐ โรง ณ สนามหน้าเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช รางวัลโล่ทองคำ จากการประชันโรงกับหนังเคล้าน้อยและหนังปรีชา ณ สนามที่ว่าการอำ เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช รางวัลขันนํ้าพานรองจากการประชันโรงกับหนังปรีชาหนังเคล้าน้อย หนังประยูรและ หนังปล่อง ณ สนามที่ว่าการอำ เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดเมื่อวันที่: ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๒ สถานที่เกิด: - ปัจจุบันอายุ: ๘๕ ปี นายจำ เนียร คำหวาน 114 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


รางวัลถ้วยเกียรติยศจากการประชันโรงกับหนังชัยเจริญ หนังประยูร และอีก ๑ โรง ณ จังหวัดกระบี่ รางวัลขันนํ้าพานรองจากการประชันโรงกับโนราเฉลิมทอง หนังทวีในงานชักพระ ณ สนามที่ว่าการอำ เภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช รางวัลถ้วยเกียรติยศ จากการประชันโรงกับโนราศีเวียง หนังสงค์สามดาวในงานขึ้นปีใหม่ณสนามที่ว่าการอำ เภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ณ จังหวัด รางวัลจอหนังตะลุงจากการประชันโรงกับหนังลี้หนังเคล้าน้อย และวงดนตรีเพลินพรหมแดน ณที่ว่าการอำ เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช รางวัลจอหนังตะลุงจากการประชันโรงกับหนังประยูรน้อย และลิเกคณะหอมหวนนวล ๒ ณ สนามหน้าเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช รางวัลโหม่ง จากการประชันโรงกับหนังเดี้ยม หนังชูและ อีกหนึ่งโรง ณ ที่ว่าการอำ เภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ได้รับเงินรางวัลและเกียรติบัตรหนังตะลุงมาตรฐาน ในการ ประกวดหนังตะลุงทางวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทยครั้งที่๑ จังหวัดสงขลา (ช่อง ๑๐ หาดใหญ่)ศูนย์ประชาสัมพันธ์เขา ๖ สงขลา กรมประชาสัมพันธ์ เมื่อวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 115


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ผู้อำนวยการศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช ๑ หมู่๔ ตำบลท่างิ้วอำ เภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๘๙๔ ๑๐๕๖ ประวัติด้านการศึกษา: การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาโท วุฒิการศึกษาศศ.ม.(มานุษยวิทยา) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์: ๑. ผลงานในการปฏิบัติหน้าที่ตอบสนองนโยบายความมั่นคง แห่งชาติเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้สาขา สังคมจิตวิทยา และการประชาสัมพันธ์วิทยากรให้ความรู้ทางด้านศิลปะและ วัฒนธรรมท้องถิ่น วิทยากรจัดการแสดงพื้นบ้าน (ดิเกร์ฮูลู, หนังตะลุง) เพื่อเสริมสร้างความรู้คู่บันเทิงและการประสาน ทำความเข้าใจอันก่อให้เกิดสันติสุขในสังคมเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้าน ดนตรีและนาฎศิลป์ของสำ นักงานคณะกรรมการแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม ๒. เป็นทูตทางวัฒนธรรม โดยใช้การแสดงดิเกร์ฮูลูเป็นสื่อในการ สนับสนุนและปลูกฝังแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสมานฉันท์และ สันติสุขในสังคม โดยทำ งานร่วมกับดิเกร์ฮูลูคณะอาเนาะปูยู อำ เภอแม่ลานจังหวัดปัตตานี ๓. ผลงานอื่นๆ จัดทำ พิพิธภัณฑ์หนังตะลุงเพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้กับเยาวชน นักท่องเที่ยว เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแสดง ดิเกร์ฮูลูวายังกูเละหนังตะลุง และมโนราห์ ๔. บริหารศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เกิดเมื่อวันที่: ๑๙ สิงหาคม ๒๕๑๐ สถานที่เกิด:นครศรีธรรมราช ปัจจุบันอายุ: ๕๗ ปี นายวาที ทรัพย์สิน 116 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต สาขา : จิตรกรรม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:สาขาวิชาศิลปกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๒๗๕ ๙๒๐๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาทัศนศิลป์และการออกแบบคณะศิลปกรรม ศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ผลงานสร้างสรรค์: คารว์ พยุงพันธ์.(๒๕๖๖)Tracesincolor ๑. Dreamgalleryat Dream Forest art center ๒๐๒๓-๑๐-๑๑,Seoul ,SouthKorea คารว์ พยุงพันธ์.(๒๕๖๖)Tracesincolor๒. Nihon Universitycollege ofArt ๒๐๒๓-๑๐-๑๑ A&D gallery, Tokyo. Japan คารว์ พยุงพันธ์.(๒๕๖๕)Fishshop.ExhibitionCreativitySpace Gallery ๒๐๒๒-๐๒-๒๕,Shanghai.China คารว์ พยุงพันธ์.(๒๕๖๔) Man and fish. Exhibition Art Center ๒๐๒๒-๐๒-๒๕, Tainan University of Technology เกิดเมื่อวันที่: ๑๒ ธันวาคม ๒๕๒๕ สถานที่เกิด: จังหวัดสุราษฎ์ธานี ปัจจุบันอายุ: ๔๒ ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คารว์ พยุงพันธ์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 117


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม: ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนา ภูมิปัญญาบาติก ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎ ภูเก็ต หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๖๒๖ ๘๙๓๔ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโทบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตTexasWoman’s University U.S.A ผลงานสร้างสรรค์: ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศูนย์ภูมิปัญญาบาติก เกิดเมื่อวันที่: ๒๕ ธันวาคม ๒๔๙๑ สถานที่เกิด: จังหวัดภูเก็ต ปัจจุบันอายุ: ๗๖ ปี ดร.วิภาพรรณ คูสุวรรณ 118 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา สาขา :สาขาศิลปินพื้นบ้าน/ครูภูมิปัญญาด้านศิลปะการแสดง ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๕๖ หมู่๑ ตำบลอาซ่องอำ เภอรามันจังหวัดยะลา หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๕๙๕๔๒๘๓๓ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ผลงานสร้างสรรค์: มีความรู้และความเชี่ยวชาญในเรื่องประเพณีวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นมากว่า ๑๐ ปี เป็นปราชญ์ชาวบ้านในเรื่องการทำบุหงาซีเหระโดยมีการรวมกลุ่มกัน ที่ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านกือเม็ง ในการทำ บุหงาซีเหระ ระยะเวลาในการทำ ๓ ชั่วโมง/หนึ่ง เป็นผู้สืบสาน และถ่ายทอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ด้านศิลปะการแสดง มะโย่ง โดยมะโย่งนี้เป็นการแสดงพื้นบ้าน ที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมในการแก้บน สะเดาะเคราะห์บำ บัดโรค และให้ความบันเทิง เป็นเอกลักษณ์ของชาวไทยมุสลิมในแถบ จังหวัดปัตตานียะลานราธิวาสรวมทั้งพื้นที่บางส่วนของรัฐกลันตัน ปาหังตรังกานูและไทรบุรีในประเทศมาเลเซีย จัดขบวนแห่ขันหมากของวัฒนธรรมมุสลิม เป็นประธานวัฒนธรรมไทยสายใยชุมชนตาบลอาซ่อง เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์ พื้นบ้านกือเม็งอาเภอรามันจังหวัดยะลา เป็นคณะกรรมการชมรมจิตอาสานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เป็นวิทยากรให้ความรู้แก่เยาวชนนักเรียนนักศึกษาในเรื่องของกริช เพลงพื้นบ้านและการแสดงพื้นบ้านมะโย่งสีละ เป็นต้น ร่วมแสดงมะโย่งและการแสดงสีละของศุนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชกือเม็ง ในงานมหกรรมศิลปวัฒนธรรมครั้งที่๒๖ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี รางวัลที่ได้รับและความภาคภูมิใจ ศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี โล่เกียรติยศผู้บาเพ็ญประโยชน์ด้านวัฒนธรรม ของกรมส่งเสริม วัฒนธรรม เข็มเกียรติยศจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย เกิดเมื่อวันที่: ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๖ สถานที่เกิด:ยะลา ปัจจุบันอายุ: ๕๐ ปี นายสมาน โดซอมิ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 119


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ด้านทำนุบำ รุงศิลปะและวัฒนธรรม: ด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม/ มรดกสิ่งทอภาคใต้ ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๗๑/๑ หมู่ ๓ ตำบลทรายขาวอำ เภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๒ ๑๑๐ ๔๔๖๖ ประวัติด้านการศึกษา: พ.ศ. ๒๕๕๗ ปริญญาศิลปมหาบัณฑิต(สาขาทัศนศิลป์) คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๕๔ ปริญญาศิลปบัณฑิต(สาขาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผลงานสร้างสรรค์: ภาพพิมพ์ทัศนศิลป์ จิตรกรรมไทย ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น สุนทรียศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่นการแต่งกายภาคใต้ศิลปวัฒนธรรม มรดกสิ่งทอ สิทธิบัตรการออกแบบลวดลายผ้า เกิดเมื่อวันที่: ๑๘ มกราคม ๒๕๓๑ สถานที่เกิด:ปัตตานี ปัจจุบันอายุ: ๓๕ ปี อาจารย์ธนวัฒน์ พรหมสุข 120 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สาขา :ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน(หนังตะลุง) ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: ๒ ซอย ๗ ถนนคลองเรียน ๒ ตำบลคูเต่า อำ เภอหาดใหญ่จังหวัดสงขลา ไปรษณีย์๙๐๑๑๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๔ ๓๙๖ ๙๓๓๒ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผลงานสร้างสรรค์: องค์ความรู้ครูประเสริฐรักษ์วงศ์มีความรู้ความเข้าใจในการประพันธ์ บทกลอน กลอนกลบท บทแสดงหนังตะลุง มโนรา และเพลงพื้นบ้าน สามารถปรับประยุกต์เนื้อหา สาระเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่สังคม ชุมชน และประเทศ ในด้านคุณธรรม จริยธรรมและการส่งเสริมให้สังคมอยู่ร่วม กันอย่างสันติสุข และมโนรา ผลงานโดดเด่น ครูประเสริฐ รักษ์วงศ์มี ผลงานที่โดดเด่นเช่น เรื่อง “เทพตะเคียนทอง” เป็นหนังตะลุงที่รณรงค์ ให้ประชาชนได้มีความตระหนักถึงภัยภิบัติอันเกิดจากนํ้ามือมนุษย์ เรื่อง “พรหมวิหาร” รณรงค์ให้คนรักสัตว์รักป่าต้นนํ้า เรื่อง “ตำนานหลวง ปู่ทวด”จะนำคุณูปการและประวัติของหลวงปู่ทวดเผยแพร่ให้สาธารณชน ได้ทราบและสอดแทรกการสอนคุณธรรมจริยธรรมเรื่อง“เวสสันดร”และ “นํ้าใจแม่” เป็นการนำคุณธรรมในพระพุทธศาสนามานำ เสนอในรูปแบบ หนังตะลุง เรื่อง “พระมหาชนก”สอดแทรกคุณธรรมตามพระราชดำ รัส ในโอกาสต่างๆสอดแทรกไว้ในเนื้อหาหนังตะลุงเรื่อง“เจ้าแม่”สาระแสดง ให้เห็นอันตรายและพิษภัยของยาเสพติดเรื่อง “แม่เลี้ยงสันทราย” สาระ รณรงค์ให้เห็นพิษภัยของการทุจริตคอรัปชั่น และเพลงเรือ คุณธรรม ๔ ประการ นอกจาก ความรู้ด้านการรำมโนรา และการเล่นหนังตะลุง ครู ประเสริฐ สามารถแกะรูปตัวหนังตะลุง การจักสานแผงเก็บรูปหนังตะลุง การร้อยลูกปัดเครื่องแต่งกายมโนราและการเล่นดนตรีประกอบการเล่น หนังตะลุง เกิดเมื่อวันที่: ๑๓ กุมภาพันธ์๒๕๐๒ สถานที่เกิด: จังหวัดสงขลา ปัจจุบันอายุ: ๖๕ ปี นายประเสริฐ รักษ์วงศ์ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 121


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:สำนักศิลปะและวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ดำ เนินการสนับสนุนโครงการหรือกิจกรรมในด้านการสืบสานศิลปะ และวัฒนธรรมภาคใต้ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ (ร่วมกับ สมาคมวัฒนธรรมไทยรัฐเคดาห์มาเลเซียจัดโครงการอนุรักษ์ฟื้นฟู สืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ณ รัฐเคดาห์ประเทศมาเลเซีย) ดำ เนินการจัดโครงการ เพื่อสืบทอดภูมิปัญญาทางด้านศิลปะ และวัฒนธรรมของครูควนทวนยกศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีพื้นบ้าน)พุทธศักราช๒๕๕๓ โดยกองทุนส่งเสริมงานวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ดำ เนินการโครงการและกิจกรรมรวมถึงการจัดทำ แผนงานด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นในนามหน่วย อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดสงขลา เพื่อสนับสนุนการดำ เนินงานของหน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดสงขลา คณะกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมจังหวัดสงขลา ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ๑๖๐ หมู่๔ ตำบล เขารูปช้างอำ เภอเมือง จังหวัดสงขลา ๙๐๐๐๐ หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๑ ๐๙๙ ๔๙๙๗ ประวัติด้านการศึกษา: ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)สาขาอิเล็คทรอนิคส์โรงเรียนสงขลาอาชีวะ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาอิเล็คทรอนิคส์ โรงเรียน เซนต์จอห์นโปลีเทคนิคกรุงเทพฯ การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) เทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ภาคใต้ ผลงานสร้างสรรค์: ได้รับโล่รางวัลประกาศเกียรติคุณผู้ทำคุณประโยชน์แก่หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นโดยสำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (สผ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากการ ดำ เนินงานด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น ในการ ประชุมตัวแทนภาคีอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมกลุ่มจังหวัด ซึ่ง จัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๘-๒๐ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องแกรนด์ราชพฤกษ์โรงแรม ทีคการ์เด้นสปารีสอร์ทจังหวัดเชียงราย เกิดเมื่อวันที่: ๒ สิงหาคม ๒๕๑๔ สถานที่เกิด: จังหวัดสงขลา ปัจจุบันอายุ: ๕๓ ปี นายมานพ อ่อนแก้ว 122 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ภูมิปัญญาของผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี สาขา : ศิลปะการแสดง (หนังตะลุง) ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้:บ้านเลขที่๓๓/๑ หมู่๒ ตำบลช้างซ้ายอำ เภอ กาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๘๓ ๑๗๒ ๐๖๖๖ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาตรีนิเทศศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สาขาการโรงแรมและการท่องเที่ยว วชส. ผลงานสร้างสรรค์: แสดงหนังตะลุงคณะเทพศิลป์ผ่องแก้วตะลุง ๓ ภาษามหาบัณฑิต แสดงหนังตะลุง หน้าพระพักตร์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถและสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร ณ พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์๒๙ กันยายน ๒๕๔๗ แสดงหนังหน้าพระพักตร์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ฯ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๙ แสดงออกอากาศในรายการคุณพระช่วย TV.๙, รายการ ที่นี่ประเทศไทยTV.๕,รายการบ้านเลขที่๕ รายการฟ้าใสนํ้าใจงาม TV.๕ รายการ เที่ยวละไมไทยแลนด์เวิลด์TV.๓ ออกตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ไทยรัฐคมชัดลึก ผู้จัดการ รายสัปดาห์The Nation เกิดเมื่อวันที่: ๘ กุมภาพันธ์๒๕๑๕ สถานที่เกิด: จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบันอายุ: ๕๒ ปี นายเทพสิน ผ่องแก้ว การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 123


ผู้สมควรได้รับรางวัล “ภูมิราชภัฏ”และ“ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ ผู้สมควรได้รับรางวัล “ราชภัฏคุณากร” สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ หน่วยงาน:มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม: ด้านทำนุบำ รุงศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้: บ้านเลขที่ ๒๔/๑๗๔ หมู่ ๖ ตำบลมะขามเตี้ย อำ เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี หมายเลขโทรศัพท์: ๐๙๕ ๒๕๖ ๗๕๒๑ ประวัติด้านการศึกษา: ปริญญาโท ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต(ศศ.ม.) สาขายุทธศาสตร์ การพัฒนาท้องถิ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี พ.ศ.๒๕๖๐ ผลงานสร้างสรรค์: พ.ศ. ๒๕๖๒ คณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญา ทางวัฒนธรรมประจำ จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะกรรมการจัดทำหนังสือเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ผ้าไทยและผ้าพื้นเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. ๒๕๖๗ คณะทำ งานขับเคลื่อนการนำ เสนอสุราษฎร์ธานี ขึ้นทะเบียนมรดกโลก เกิดเมื่อวันที่: ๑ สิงหาคม ๒๕๒๑ สถานที่เกิด: จังหวัดสตูล ปัจจุบันอายุ: ๔๖ ปี นางสาวนิทัศ ไหมจุ้ย 124 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


นิทรรศการ อาหาร ๔ ภาค สภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๗ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 125


แกงส้มญวน แกงส้มญวนบ้านลิ้นช้างจังหวัดกาญจนบุรีได้รับเลือก ให้เป็นอาหาร“๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น”“The Lost Taste รสชาติ…ที่หายไป” ประจำปี๒๕๖๖ แกงส้มญวนจัดเป็นอาหารพื้นถิ่นที่มีอัตลักษณ์ของ ชุมชนชาวไทยเชื้อสายญวนบ้านลิ้นช้าง ที่ได้รับการ สืบทอดและส่งต่อกันมานานนับ ๑๐๐ ปีชื่อเรียกของ อาหารประเภทนี้มีหลายชื่อตามแต่ละท้องถิ่น อาทิ แกงส้มมะเขือเหลืองแกงส้มมะเขือขื่นแกงส้มพริกสด แกงส้มนํ้าใสแกงส้มนํ้าขาวเป็นต้นสำหรับจุดเด่นของ แกงส้มญวนบ้านลิ้นช้างคือเป็นแกงที่มีรสชาติที่ผสม ผสานแกง ๔ ชนิดด้วยกัน คือ กลิ่นหอมๆ ที่ได้จาก ใบกะเพราและความเผ็ดร้อนจะมีรสชาติคล้ายแกงป่า ซึ่งเป็นอาหารขึ้นชื่อของจังหวัดกาญจนบุรีกะปิกับ หอมแดงที่โขลกรวมกันทำ ให้ได้รสชาติคล้ายแกงเลียง รสชาติเปรี้ยวจากมะนาวจะทำ ให้ได้รสชาติคล้ายแกงส้ม และเมื่อนำ รสเปรี้ยวของมะนาวมารวมกับพริกสดจะ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดกาญจนบุรี) ทำ ให้ได้รสชาติคล้ายต้มยำ นอกจากนี้แกงส้มญวนยังเป็นเมนูอาหารทรงโปรดของสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณสังวรสมเด็จ พระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก พระองค์ที่ ๑๙ ซึ่งมีพระชาติภูมิเป็นชาวกาญจนบุรี ส่วนผสม ๑. มะเขือขื่นหรือมะเขือเหลือง ๒. พริกขี้หนูสด ๓. ปลาคัง ๔. กะปิ ๕. หอมแดง ๖. นํ้ามะนาวสด ๗. ใบกะเพรา ๘. นํ้าปลา ๙. เกลือ วิธีการทำ โขลกเครื่องแกงที่มีส่วนประกอบของหอมแดงกะปิและพริกขี้หนูสดให้เข้ากันจากนั้นต้มนํ้าให้เดือดเมื่อนํ้าเดือดใส่เครื่องแกงที่โขลกไว้ลงไป ใส่ปลาคังที่หั่นเป็นชิ้นลงไปเมื่อปลาสุกปรุงรสด้วยเกลือนํ้าปลาจากนั้นใส่มะเขือเหลืองที่คว้านเอาเม็ดออกแล้วและหันเป็นชิ้นๆลงไปจากนั้น ใส่นํ้ามะนาวซึ่งถือเป็นเอกลักษณ์ของแกงส้มญวนที่ใช้นํ้ามะนาวสดแทนนํ้ามะขามเปียกและสุดท้ายใส่ใบกะเพราเป็นอันเสร็จ พร้อมรับประทาน ที่มา : รายการ ตะลุยกินแแหลก Foodwork ทางสถานีโทรทัศน์ Thai PBS ที่มา : http://www.tcnewsstation.com/?p=๑๖๐๑๖๐ ที่มา : https://www.prd.go.th/th/content/category/detail/id/๓๑/iid/๒๑๒๐๔๕ วิธีการทำ แกงส้มญวน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=hYDTlddxnxw 126 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ยำ�ส้มโอ จังหวัดนครปฐมเป็นจังหวัดในแถบปริมณฑลของ กรุงเทพมหานคร และเป็นจังหวัดที่มีส้มโอมากที่สุด ในภูมิภาคกลาง และเป็นอาชีพหลักของคนในพื้นที่ คือ สวนส้มโอ ในปัจจุบันส้มโอที่รูปร่างไม่สวยก็จะถูก นำมารับประทานทั่วไปในครอบครัว ส่วนรูปร่างที่สวย จะนำ ไปค้าขายให้กับนักท่องเที่ยวที่เดินทางมายังจังหวัด นครปฐมนอกจากนี้ส้มโอจะทานสดก็จะนำมาประกอบ อาหาร เช่น ประเภทยำ เมี่ยง ฯลฯ ตามความเหมาะ สม โดยสูตรขึ้นอยู่กับครัวเรือนนั้นๆ จนเป็นที่รู้จักแก่ นักท่องเที่ยวที่ได้รับประทานอาหารพื้นถิ่นของจังหวัด นครปฐม การเผยแพร่และพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจสร้างสรรค์จังหวัดนครปฐมได้รับการพิจารณา คัดเลือกให้เป็นเมนูประจำท้องถิ่นประจำ จังหวัดนครปฐม คือ“ยำส้มโอ” และยังเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่ รู้จักอย่างกว้างขวางมากขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนา ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดนครปฐม) ต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ และขยายผลให้เกิดความสำ เร็จไปยังชุมชนอื่นๆ ในจังหวัดนครปฐม นำมาเสริมสร้างโอกาส สร้างรายได้โดย นำทุนวัฒนธรรมท้องถิ่นด้านอาหารซึ่งเป็นSoft power ของชุมชนท้องถิ่นเสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้มีความยั่งยืนต่อไป ส่วนผสม ๑. ส้มโอ ๑ ลูก ๒. ใบชะพลู๑๐ ใบ ๓. ถั่วลิสงคั่วเม็ด ๑๐ กรัม ๔. พริกขี้หนูสวน ๕๐ กรัม ๕. มะพร้าวขูดคั่ว ๕๐ กรัม ๖. หอมเจียว ๑๐ กรัม ๗. กะทิ ๑๐ กรัม ๘. ตะไคร้๕ กรัม ๙. ข่า ๕ กรัม ๑๐.กุ้งแห้ง ๑๐ กรัม ๑๑.กะปิอย่างดี๑๐ กรัม ๑๒.นํ้าตาลมะพร้าวอย่างดี๕๐ กรัม ๑๓.นํ้ามะขามเปียก ๕๐ กรัม ๑๔.ถั่วลิสงป่น ๒๕ กรัม ๑๕.เปลือกส้มโอปรุงรสอบแห้ง๑๐กรัม วิธีการทำ ๑. นำ ข่าตะไคร้ซอยละเอียดนำมาคั่วให้หอมสิ่งที่คั่วต่อมาคือ พริกขี้หนูสวนกุ้งแห้ง จากนั้นนำทุกอย่างมาตำ ให้ละเอียด พักไว้ ๒. นำกะปิมาย่างไฟให้หอมใส่ลงกระทะทองเหลืองตามด้วยนํ้าตาลมะพร้าว เคี่ยวจนละลายทยอยใส่นํ้ามะขามเปียกชิมรสหวานนำ เปรี้ยวตาม ๓. ใส่ส่วนผสมที่ตำลงไปคนให้เข้ากัน ๔. ตามด้วยมะพร้าวขูดคั่วถั่วลิสงป่นคนให้เข้ากันปิดเตาพักไว้ ๕. นำ ใบชะพลูจัดใส่จานแกะเนื้อส้มโอลงในจาน ๖. ราดด้วยนํ้ายำที่เคี่ยวไว้โรยหน้าด้วยถั่วลิสงคั่วเม็ดมะพร้าวขูดคั่ว พริกขี้หนูสวน หอมเจียวกุ้งแห้ง เปลือกส้มโอและตามด้วยกะทิพร้อมเสิร์ฟ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 127


ขนมโรตีกุหลาบ ส่วนผสม (สำหรับโรตีกุหลาบ ๘ ก้อน) แป้งสาลีเอนกประสงค์๓๐๐ กรัม ไข่ไก่ ๑ ฟอง นํ้าตาลทราย ๑ ช้อนโต๊ะ เกลือ ๑/๒ ช้อนชา นํ้าสะอาด ๘๐ มิลลิลิตร เนยละลาย ๔๕ มิลลิลิตร นมข้นจืด ๗๐ มิลลิลิตร ส่วนผสมนํ้าเชื่อมราด นํ้าตาลทรายขาว ๑ กิโลกรัม นํ้าสะอาด ๕๐๐ กรัม เนยเพียวกี๒๐๐ กรัม ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ส่วนประกอบและวิธีการทำ เตรียมนํ้าเชื่อมโดยการต้มนํ้าให้เดือด จากนั้นเทนํ้าตาลทรายลงไป ตามด้วยใส่เนยเพียวกีคนให้เข้ากัน นำ แป้งโรตีที่นวดสำ เร็จแล้วมาแบ่งเป็นก้อนก้อนละประมาณพอดีคำ คลี่แผ่นแป้งบนพื้นเรียบ ให้บางที่สุด จากนั้นตัดเป็นแปดส่วนจากขอบ เข้าหาจุดศูนย์กลาง นำ แผ่นแป้งทีละส่วนมาม้วนเป็นวงกลมขดกลับไปมาให้เหมือนดอกกุหลาบ วางโรตีกุหลาบที่ม้วนขดเรียบร้อยแล้วจัดใส่ถาดสำหรับอบขนมหรือแม่พิมพ์ ขนมเค้กที่ไม่มีรูเว้นระยะช่องไฟ หรือระยะความห่างแต่ละก้อนเล้กน้อย นำ โรตีกุหลาบเข้าเตาอบ ใช้ไฟ ประมาณ ๑๕๐-๑๘๐ องศา ใช้เวลาอบ ประมาณ ๑๕-๒๐ นาทีหรือจนกว่า ก้อนโรตีจะสุกเหลืองสวย จากนั้น นำออกจากเตา เทน้าเชื่อมที่เตรียมไว้ลงในถาดให้ท่วมก้อนโรตีหลังอบเสร็จทันที ํ (น้าเชื่อมหากทำ ํ ทิ้งไว้ แนะนำ ให้อุ่นให้ร้อนๆก่อนราดลงไปจะช่วยให้ซึมเข้าเนื้อแป้งโรตีได้ดี) พักโรตีที่ราดนํ้าเชื่อมแล้วไว้บนหลังเตาอบที่ยังร้อนอยู่หรือใส่เข้าเตาอบอีกครั้ง ในกรณีที่เตาอบยังร้อนอยู่แต่ไม่ต้องเปิดไฟ ทิ้งไว้ประมาณ ๑ คืนหรือ จนกว่านํ้าเชื่อมจะซึมเข้าไปในเนื้อขนมจนหมด ที่มา : รายการ ตะลุยกินแแหลก Foodwork ทางสถานีโทรทัศน์ Thai PBS รายการเปิดตำนานกับเผ่าทอง ทองเจือ “บ้านดงตาล:ขนมครูยันนะห์ จ.อยุธยา” 128 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


หมูหงส์ ส่วนผสม ๑. เนื้อหมู(สามชั้น) ๒. หน่อไม้แห้ง ๓. หัวหอมแดงโขลกละเอียด ๔. กระเทียมโขลกละเอียด ๕. นํ้าตาลปี๊บ ๖. ซอสปรุงรส ๗. นํ้ามันพืช ๘. นํ้าเปล่า ๙. เกลือป่น ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑. นำ หน่อไม้แห้งไปต้มจนมีรสชาติจืดสนิท แล้วนำมาพักไว้ ๒. หมูสามชั้นนำ ไปหั่นเป็นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า แล้วรวนหรือทอดเคล้ากับซอสและเกลือป่น ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดฉะเชิงเทรา) ๓. นำหัวหอมแดงและกระเทียมไปเจียวจนเหลือง แล้วใส่นํ้าตาลปีบตามลงไป ๔. เมื่อนํ้าตาลละลายแล้วมีกลิ่นไหม้นิดหน่อยแล้วนำหมูที่รวนไว้ใส่ลงไปผัดเติมนํ้าเล็กน้อยเพื่อไม่ให้นํ้าตาลไหม้ ๕. ใส่หน่อไม้แห้งที่ต้มไว้แล้วลงไปผัดรวมกันแล้วนำนํ้าเปล่าใส่ลงไปเพื่อเป็นการตุ๋น ๖. นำ วัตถุดิบที่ได้ไปตั้งไฟอ่อนๆ เพื่อเป็นการตุ๋นจนหมูเปื่อยพร้อมรับประทาน อ้างอิงจาก : บางปะกงสายนํ้าแห่งชีวิต. (ออนไลน์).หมูหงส์.สืบค้นวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๗. จาก:https://www.facebook.com/bangpakongriver/posts/pfbid๐bwgEyFwDwVdRymGcxqtz๕Xyf๔yHoDq๕๘Wfpjwd๑bAtZU fuzuP๑GXoGHC๕xgRojAYl โบตั๋นสำ ราญ. เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. เมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๔. สุนทรคชสิงห์. เป็นผู้ให้สัมภาษณ์. เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๖. ศูนย์ศิลปะ วัฒนธรรมและท้องถิ่น. (๒๕๖๔).หนังสือมรดกภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่นและขนมพื้นถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา.ฉะเชิงเทรา : เอ็มเอ็นคอมพิวออฟเซทจำกัด. การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 129


หมูชมวง เป็นอาหารประเภทแกงแต่จะเป็นแกงที่ไม่ได้ใส่กะทิหรือ ไม่ได้มีกะทิเป็นวัตถุดิบซึ่งจะเป็นการนำ เอาหมูสามชั้น มาผัดรวมกับเครื่องแกงเช่นพริกแห้งข่าตะไคร้หัวหอม กระเทียมกะปิแล้วระหว่างผัดก็ค่อยๆเติมนํ้าไปเรื่อยๆ และต้มทิ้งไว้ให้เปื่อย และจะใช้ใบชะมวงซึ่งมีรสเปรี้ยว ในการปรุงรสเพิ่ม ซึ่งเมื่อเสร็จแล้วจะได้รสชาติ ที่กลมกล่อมน่ารับประทาน ส่วนผสม ๑. หมูเนื้อแดงหั่นเต๋า ๑ กิโลกรัม ๒. หมูสามชั้น ๑ กิโลกรัม ๓. ข่าตะไคร้หอมแดงกระเทียม ๒-๓ ขีด ๔. ใบชะมวง นำ เส้นกลางใบออก และฉีกให้เป็น ชิ้นเล็กๆ ๓-๕ ขีด ๕. กะปิอย่างดีเผา ๑ ขีด ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง ๖. พริกเม็ดใหญ่แห้งแกะเอาเมล็ดออกให้หมด ๑-๒ เม็ด ๗. นํ้าปลา ๓ ช้อนโต๊ะ ๘. นํ้าตาลทราย ๒ ช้อนโต๊ะ ๙. ซีอิ๊วขาว ๑ ช้อนโต๊ะ ๑๐. ซอสปรุงรส ๑ ช้อนโต๊ะ ๑๑. กระเทียมดองและนํ้ากระเทียมดอง½ถ้วยตวง ๑๒. นํ้ามะขามเปียกปรุงรสเปรี้ยวเพิ่มหากใบชะมวง ไม่เปรี้ยวมากเท่าที่ต้องการ ๑๓. ซีอิ๊วแดงหวาน ๑ ช้อนชา ส่วนประกอบและวิธีการทำ โขลกข่า ตะไคร้กระเทียม หอมแดงให้แหลก ละเอียดหรือจะใช้ปั่นหรือบดก็ได้เอาให้เครื่องปรุง เข้ากันเป็นเนื้อเดียวกัน และใส่พริกแห้งลงไป หรืออาจใช้นํ้าพริกแกงส้มแทน หลังจากนั้นให้นำ เครื่องที่โขลกไว้มาผัดเครื่อง ให้มีกลิ่นหอมโดยที่เราไม่ต้องใส่นํ้าหรือนํ้ามัน ปล่อยให้เครื่องที่ผัดติดก้นกระทะบ้างจะส่งกลิ่น คล้ายกับเครื่องที่ผ่านการเผาหรืออบแบบโบราณ เมื่อเครื่องหอมได้ที่แล้วจึงนำ เนื้อหมูลงไปผัด กับเครื่องให้สุก โดยใส่หมูสามชั้นลงไปก่อน และเมื่อหมูสามชั้นสุกก็ค่อยใส่หมูเนื้อแดง ตามลงไป วัตถุดิบ ใบชมวง พอเนื้อหมูทั้งหมดเริ่มสุกให้ใส่เครื่องปรุงรส ที่เตรียมไว้แต่อย่าเพิ่งใส่ ซีอิ๊วดำ และนํ้ามะขามเปียกเพราะจะไปจับผิวหน้าของหมูให้เคี่ยวต่อไปเรื่อยๆ สักประมาณ๑๐ นาทีจนเริ่มมีนํ้าออกมาให้ใส่ใบชะมวงลงไปเคี่ยวจนเดือด อีกครั้ง แล้วเติมนํ้าให้ท่วมเนื้อหมูเคี่ยวอีกประมาณครึ่งชั่วโมง เพื่อให้ ความเปรี้ยวออกจากใบชะมวง เมื่อครบประมาณครึ่งชั่วโมงแล้วให้ชิมรสโดยให้ออกรสชาติเค็มเปรี้ยวหวาน พอกันหรือจะปรุงรสตามที่ชอบก็ได้ซึ่งหากเปรี้ยวไม่พอให้เติมนํ้ามะขามเปียก ลงไปนิดหน่อยอย่าเยอะ หรือเคี่ยวต่อไปอีกสักครู่เพราะความเปรี้ยว จะออกมาจากใบชะมวงเรื่อย ในส่วนของซีอิ๊วดำ ถ้าสียังไม่สวยก็อาจ เติมลงเล็กน้อยจนพอใจ เคี่ยวไปเรื่อยประมาณ ๑ – ๒ ชั่วโมง หมูจะนุ่ม และเปื่อยพร้อมรับประทานระหว่างนั้นหมั่นคอยเติมนํ้าให้ท่วมเนื้อหมูด้วย 130 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


เมี่ยงคำ�บัวหลวง ประวัติความเป็นมาและคติความเชื่อ/ วัฒนธรรมการกิน “เมี่ยงคำ ” มีพบได้ที่บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่ชมเครื่องว่าง ในสมัยสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในสมัยนั้น ใช้เป็นเครื่องว่างในการนั่งกินสังสรรค์กันสมาคมร่วม กัน เมี่ยงคำ จึงเป็นอาหารว่างสำหรับราชนิกุลในสมัย ก่อนที่ต้องมีความปราณีตในการหั่นซอยจัดวางให้ดู น่ากินการห่อเมี่ยงคำมีหลากหลายรูปแบบมาในสมัย ปัจจุบันนี้จากที่ห่อเมี่ยงคำ เป็นคำ ๆในตอนที่กินเมื่อจะ กินคำต่อไปต้องห่อกินเป็นคำ ๆมาในสมัยนี้สามารถหา ซื้อได้แบบที่ห่อให้เสียบไม้เสร็จ หรือสามารถนำมาห่อ เป็นกระทงด้วยตนเองได้ส่วนใบที่สามารถนำมาห่อคือ ใบทองหลาง ใบชะพลู เนื่องจากในจังหวัดปทุมธานีสัญลักษณ์ของจังหวัด คือดอกบัวจึงได้นำ “กลีบบัวหลวง”มาใช้เป็นใบสำหรับ ห่อเมี่ยงทำ ให้มีความหลายหลายในรสชาติสีสันและ ได้รับสารอาหารเพิ่มมากขึ้น วัตถุดิบและเครื่องปรุง นํ้าเมี่ยง ๑. นํ้าตาลมะพร้าว ๒. กะปิ ๓. นํ้าปลา ๔. ข่าคั่วโขลกละเอียด ๕. หอมแดงซอยคั่วโขลกละเอียด ๖. ขิงซอยคั่วโขลกละเอียด ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดปทุมธานี) เครื่องเมี่ยง ๗. ถั่วลิสงคั่ว ๘. กุ้งแห้ง ๙. ขิงหั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ๑๐.หอมแดงหั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ๑๑. พริกขี้หนูซอย วิธีการขั้นตอนการปรุง/ เคล็ดลับการปรุง ๑. นำ ข่า ขิงหอมแดงตะไคร้คั่วจนสุกหอมแล้วโขลกละเอียด ๒. เคี่ยวนํ้าตาลมะพร้าวกับกะปิและนํ้าเปล่า ไฟกลางหมั่นคน ระวังไหม้ อย่าให้เหนียวมาก เพราะเย็นแล้วจะเหนียวขึ้นอีก ถ้าชอบหวานน้อยๆ ให้เติมนํ้าเปล่าลงไป ๓. ใส่นํ้าปลา ชิมรสตามชอบ แล้วใส่สมุนไพรที่คั่วและโขลกละเอียดลงไป คนเข้ากัน พักให้เย็น ๔. เตรียมเครื่องเมี่ยงให้พร้อม เวลารับประทาน ใช้กลีบบัวห่อเป็นกระทง ใส่เครื่องทุกอย่างตามชอบแล้วราดด้วยนํ้าเมี่ยง ส่วนที่สำ คัญที่สุด สำหรับเมี่ยงคำอยู่ที่นํ้าราดที่ทำมาจากกะปินํ้าปลานํ้าตาลปี๊บกุ้งแห้งป่น แต่บางสูตรบางที่จะมีเครื่องมากกว่านี้เพื่อให้นํ้ามีความเข้มข้นมากขึ้น จะใส่เพิ่มมะพร้าวคั่วกุ้งแห้งขิงแก่และหอมแดงทั้งหมดนี้จะโขลกอย่าง ละเอียดแล้วจึงใส่หม้อใส่นํ้ารวมทั้งกะปิที่โขลกแล้วนํ้าปลาและนํ้าตาลปี๊บ เราจึงเห็นว่านํ้าราดเมี่ยงบางร้านถึงเข้มข้นไม่ได้มีรสชาติแค่นํ้าตาลปี๊บ หรือแค่ออกหวานเค็มอย่างเดียวแต่มีความหอมมะพร้าวคั่วกุ้งแห้งป่น ที่สำคัญเมี่ยงคำที่อร่อยอยู่ที่ความสดของกลีบบัวรวมทั้งความสดใหม่ ของถั่วลิสงและมะพร้าวคั่วที่ใหม่ทุกวันไม่มีกลิ่นเหม็นหืน ๑๒.มะพร้าวซอยคั่ว ๑๓ .มะนาวหั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ๑๔.กลีบบัวหลวง การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 131


ผักจุ๊บ(จุ๊บผัก) ผักจุ๊บเป็นอาหารรสจัดของชาวไทยทรงดำ เป็นการ นำ ผักพื้นบ้านที่หาได้ในท้องถิ่นเช่น ผักหวานป่าซึ่งใน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายนเป็นฤดูกาลที่ผัก หวานป่าแตกยอดและเห็ดลมที่ขึ้นตามตอไม้แห้งในป่า ชาวไทยทรงดำ จึงนำ ผักหวานป่ามาจุ๊บกับเห็ดลมต่อ มาจึงวิวัฒนาการใช้ผักทั่วๆไปที่หาได้ง่ายตามฤดูกาล เช่น ถั่วฝักยาว ถั่วพูมะเขือพวง ตำลึง ผักบุ้ง ฯลฯ นอกจากนี้“ผักจุ๊บ” ยังเป็นอาหารในพิธีกรรมของ ชาวไทยทรงดำ เช่น พิธีเสนเรือน พิธีปาดตง ส่วนผสม พริกชี้ฟ้าแห้ง ๑๕ เม็ด พริกพาน ๑๕-๒๐ เม็ด หอมแดง ๔ หัว กระเทียม ๖ หัว ข่าหั่น ½ ขีด กลือแกงหรือเกลือป่น ผักตามฤดูกาล เห็ดลม นํ้าปลาร้าต้มสุก เนื้อหมูสับ ๑ ขีด ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดราชบุรี) หรือปลาทูนึ่ง ๒ ตัว วิธีการทำ นำปลาทูไปย่างไฟ แกะเอาแต่เนี้อหรือนำหมูสับไปต้มให้สุก นำ เห็ดลมแช่นํ้าให้นิ่มทุบแล้วหั่นซอยนำ ไปต้มใส่นํ้าปลาร้าให้สุกตักใส่ถ้วยพักไว้ให้เย็น นำหอมกระเทียม พริกแห้ง ข่า และพริกพานคั่วให้สุก เตรียมพริกยำ โดยโขลกพริกแห้งกับเกลือให้ละเอียดก่อน ตามด้วยหอม กระเทียม ข่า พริกพาน พอแหลกละเอียดนำ เนื้อปลาทูหรือ หมูสับต้มสุกใส่ลงไปโขลกให้เข้ากันแล้วตักใส่ถ้วยพักไว้ ตั้งนํ้าให้เดือดนำ ผักที่เตรียมไว้ลงไปลวกจนเดือดประมาณ๒นาที ตักพักไว้ให้เย็นบีบนํ้าออกแล้วหั่นความยาวประมาณ๑ เซนติเมตร นำ ผักลวกเห็ดลมที่ต้มสุกแล้ว และพริกยำ มาคลุกเคล้าเข้าด้วยกันปรุงรสด้วยนํ้าปลาร้าต้มสุกชิมรสตามชอบ 132 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


น ํ ้ าพริกลงเรือ (ภูมิปัญญาการสร้างสรรค์อาหารชาววัง) ส่วนผสม ๑. กะปิ ๑ ช้อนชา ๒. พริกชี้ฟ้าหรือพริกขี้หนูสด ๕ เม็ด ๓. กระเทียม ๗ กลีบ ๔. นํ้าปลา ๕. นํ้าตาล ๖. มะดันหรือมะนาวตามควร ๗. กระเทียมดอง ๒ หัว ๘. ไข่เค็มดิบ ๒ ฟอง ๙. ปลาดุกหรือปลาช่อน ๑ ตัว ๑๐. นํ้ามันหมูตามควร ๑๑. มะเขือเปราะ ๔ ผล ๑๒. ผักชีตามควร ๑๓. หมูสามชั้น ๑ ชิ้น ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง ส่วนประกอบและวิธีการทำ วิธีทำ เริ่มจากทำนํ้าพริกกะปิโดยโขลกกระเทียม พริกชี้ฟ้า มะเขือเปราะ และกะปิให้เข้ากัน ปรุงรสด้วยนํ้าตาลมะพร้าว นํ้าปลา และนํ้ามะนาว แต่ให้เหลวสักหน่อย ชิมรสตามชอบ แล้วเอานํ้ามันหมูใส่กระทะลงเล็กน้อย พอนํ้ามันร้อนเอากระเทียมโขลกสัก ๕ กลีบเล็กๆ เจียวพอหอม แล้วเทนํ้าพริกที่ตำ ไว้ลงผัดพอสุกทั่วตักใส่ถ้วยไว้เอาหมูต้มให้หนังเปื่อยแล้วหั่นให้ละเอียดสัก ๓ ช้อนคาวหรือคะเนดูให้เท่าๆกับนํ้าพริกที่ผัดไว้ เอาผัดนํ้ามันหมูนํ้าปลานํ้าตาลชิมให้รสจัดเหมือนหมูต้มเค็มแล้วตักใส่ถ้วยไว้ เอาปลาอย่างใดอย่างหนึ่งนึ่งให้สุกแล้วแกะแต่เนื้อขยี้ให้ละเอียดใส่นํ้ามันให้ท่าวมปลา ใช้ไฟแรงนำปลาลงทอดให้เหลืองกรอบแล้วตักใส่ ถ้วยไว้คะเนเท่ากับหมูและนํ้าพริก วิธีจัด เอานํ้าพริกกับหมูผัดผสมด้วยกันเคล้าให้ทั่วแล้วตักลงก้นจานก่อนจึงเอาปลาทอดขยี้ให้ร่วนโรยทับเอากระเทียมดองปอกเป็นกลีบสำหรับ กลีบเล็กๆถ้ากลีบใหญ่ก็ผ่า ๒-๓ ชิ้นเอาไข่เค็มดิบรีดใช้แต่ไข่แดงผ่าเป็นชิ้นเล็กตามควรประดับลงบนปลาสลับกันกับกระเทียมดอง ผักชีจัด ลงภาชนะเดียวกันอย่าแยกภาชนะจัดเป็นอย่างๆจะหมดอร่อยหมดสวยงามและหมดความหมายที่ชื่อนํ้าพริกลงเรือเกิดขึ้นเพราะเจ้านายทรง เล่นเรือพายเวลาพลบคํ่าจะเสวยในเรือโดยมิได้เตรียม ผู้คิดพบอะไรมีอยู่ในห้องเครื่องก็เก็บผสมกันเข้าให้สำ เร็จประโยชน์และให้ง่ายเหมาะใน เรือเล็กๆมืดๆ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 133


ข้าวซอยไก่เส้นไก(กึ่งสำ�เร็จรูป) ข้าวซอยไก่เส้นไก(กึ่งสำ เร็จรูป) สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ส่วนผสม เส้นข้าวซอยจากไก แป้งสาลี ไข่ นํ้าเปล่า ไกยีคั่วสุก นํ้าพริกข้าวซอยกิ่งสำ เร็จรูป กระเทียม หอมแดง พริกแกงข้าวซอย ขมิ้น นํ้าตาลปิ๊บ เกลือ กะทิ อกไก่ ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑) นวดแป้งกับไข่ให้เข้ากันใส่นํ้านวดจนส่วนผสมเริ่มเข้ากัน ๒) สาหร่ายไกคั่วใส่ในแป้งนวดส่วนผสมให้เข้ากันดีพักไว้จาก นั้นนำ แป้งที่พักไว้มารีดให้เป็นแผ่นบางๆแบ่งเป็นเส้นเล็กๆ และนำ ไป ต้มพอสุกนำ เส้นแช่นํ้าเย็น และตักเส้นออกพักให้สะเด็ดนํ้า อบให้ แห้ง เป็นเวลา ๑๐-๑๒ ชั่วโมง ๓) โขลกหอมแดงกระเทียม ให้ละเอียด ผัดกับนํ้ามันพอ หอม จากนั้นใส่นํ้าพริกข้าว ซอย หัวกะทิแล้วลงไป ผัดให้ เข้ากันจนนํ้าพริกแกงขึ้นเงาระ หว่างผัดนํ้าพริกแกงทยอยใส่ นํ้ากะทิจนหมด ชิมรสและปรุง รสชาติเคี่ยวให้ได้ที่แล้วพักไว้ เพื่อรอบรรจุซอง ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคเหนือ (จังหวัดเชียงราย) ๔) นำอกไก่ไปต้ม พอสุก ฉีกเนื้อไก่เป็นชิ้นเล็กๆอบด้วยลม ร้อนหรือจนแห้งสนิท ๕) การอบผักโรยหน้าเด็ด ผักชีเป็นใบๆหั่นต้นหอมเป็นท่อนๆ หอมแดงเจียวแล้วอบให้แห้ง ๖) ส่วนผสมที่ทำสำ เร็จแล้วลงกล่องติดฉลากเคลือบให้สนิท เมื่อจะรับประทาน เทนํ้าร้อนใส่ถุงร้อน และ เติมนํ้าเปล่าลงบนบะหมี่ ไกอบแห้งใส่เครื่องแกงกะทิผงหอมแดงเจียว ผักอบแห้งเนื้อไก่อบ แห้งลงไปปิดฝาทิ้งไว้ให้สุก ๑๕ นาที 134 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ทอดมันปลากราย ตามประกาศของกรมส่งเสริมวัฒนธรรมกระทรวง วัฒนธรรมประจำปีงบประมาณ๒๕๖๖ภายใต้โครงการ ส่งเสริมและพัฒนายกระดับอาหารถิ่น สู่มรดกทาง วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ความเป็นไทยThailandBest LocalFoodมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ ของอาหารไทยอาหารท้องถิ่นที่มีความสัมพันธ์กับวิถี ชีวิตของคนไทยรวมถึงเป็นการรวบรวมต่อยอดทาง ภูมิปัญญา และเผยแพร่ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับอาหาร ไทยและอาหารท้องถิ่น ให้ได้รับการสืบทอดจากรุ่นสู่ รุ่น ในกิจกรรม ๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น ได้ เสนอให้“ทอดมันปลากราย” หรือที่ชาวนครสวรรค์ เรียกชื่ออาหารชนิดนี้ว่า“ปลาเห็ด”เป็นรายการอาหาร ประจำ จังหวัดนครสวรรค์ซึ่งเป็นเมนูอาหารคาวที่ทำ มาจากเนื้อปลาเป็นส่วนประกอบสำคัญ ตามลักษณะ ภูมิประเทศจังหวัดนครสวรรค์ถือเป็นแหล่งที่มีทรัพยากร ทางธรรมชาติและแหล่งนํ้าที่มีความอุดมสมบูรณ์ด้วย ลักษณะของความหลากหลายในการดำ รงชีวิตของชาว นครสวรรค์การนำ สัตว์นํ้ามาประกอบอาหารอย่าง ง่ายๆ ของคนในแถบลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยาที่ต้องพึ่งพา อาศัยแม่นํ้าในการดำ รงชีวิตเลี้ยงชีพด้วยการทำประมง การทอดแหหาปลาและเมื่อได้ปลาจากแม่นํ้ามาแล้วจึง ได้นำภูมิปัญญามาคิดต่อยอดประกอบเป็นเมนูอาหาร ประเภทต่างๆที่แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น โดยสามารถให้คำ อธิบายตามการสืบค้นข้อมูล ถึงรากศัพท์ของคำ ว่า “ปลาเห็ด” จำ แนกออกเป็น ๒ ประการคือประการแรกอาหารชนิดนี้ทำมาจากเนื้อ ปลาเป็นส่วนประกอบหลักและมีรูปร่างแบนคล้ายเห็ด เมื่อทำการทอดแล้วมีลักษณะพองขึ้นเล็กน้อยเหมือน ดอกเห็ด จึงเรียกชื่อตามสิ่งที่เห็นนั้นว่าปลาเห็ด และ ประการที่ ๒ เชื่อว่าเป็นคำที่มาจากภาษาเขมร เขียน ว่า ปฺรหิต อ่านว่า ปฺรอเฮด มีคำอธิบายความหมาย ในพจนานุกรมภาษาเขมรว่าเครื่องประสมหลายอย่าง เป็นเครื่องช่วยทำ ให้มีรสอร่อยเป็นกับข้าวทำด้วยปลา หรือเนื้อสัตว์สับละเอียดแล้วคลุกเคล้ากับเครื่องผสม หลายอย่างแล้วปั้นเป็นก้อนเล็กๆนำ ไปทอดหรือนำ ไป แกงปฺรหิต(ปฺรอเฮด)จึงหมายถึงลูกชิ้นหรือทอดมัน ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคกลาง (จังหวัดนครสวรรค์) ส่วนผสม เนื้อปลากรายขูด ๕๐๐ กรัม(ครึ่งกิโลกรัม) พริกแกงเผ็ด ๒ ช้อนโต๊ะ ถั่วฝักยาวซอย ๒๐๐ กรัม ใบมะกรูดซอย ๑๐ กรัม นํ้าตาลทราย ๒ ช้อนโต๊ะ นํ้าปลา ๗.๕ กรัม(ครึ่งช้อนโต๊ะ) เกลือ ๒.๕ กรัม(ครึ่งช้อนชา) ไข่ไก่ ๑ ฟอง นํ้ามันพืชสำหรับทอด ส่วนประกอบและวิธีการทำ นำ เนื้อปลากรายขูดใส่ชามผสม ตามด้วยไข่ไก่ พริกแกง ใบมะกรูดซอย ถั่วฝักยาวซอย ปรุงรสด้วย นํ้าตาลทราย นํ้าปลา และเกลือ คนนวดส่วนผสมทั้งหมดให้เข้า กัน ปั้นเป็นลูกลักษณะทรงกลม ขนาดตามชอบ และกดให้มีลักษณะแบน ความ หนาประมาณ ๑ ซม. นำกระทะขึ้นตั้งไฟปานกลาง เทนํ้ามันพืชสำหรับทอดลงไปและรอจนร้อน นำส่วนผสมที่ปั้นแล้วลงไปทอดจนสุกและตักขึ้นพักไว้เพื่อสะเด็ดนํ้ามัน นำทอดมันปลากรายจัดใส่จานและอาจเสิร์ฟพร้อมนํ้าจิ้มไก่ใส่แตงกวาหั่นเป็น ชิ้นเล็กๆ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 135


เมี่ยงโค้น (เมี่ยงค้น) ส่วนผสม นํ้าเมี่ยง ส่วนประกอบและวิธีการทำ นํ้าเมี่ยงคือนํ้าปลาร้าปรุงการทำนํ้าปลาร้าจะนำนํ้าปลาร้า ดิบที่ชาวบ้านทำ ไว้ปริมาณ๑ กิโลกรัมมาผสมกับนํ้าตาล ๘ ขีดเพื่อทำนํ้าปรุงรสของเมี่ยงแต่ในปัจจุบันจะนำนํ้าปลาร้ามา ต้มให้สุกแล้วกรองกากใยออกให้เหลือแต่นํ้าปลาร้าแล้วนำกลับ ไปตั้งไฟ ใส่นํ้าตาลเคี่ยวให้นํ้าตาลละลายแล้วเคี่ยวต่ออีก ๑๐ นาทีก็จะได้นํ้าเมี่ยงที่มีรสชาดกลมกล่อมพร้อมรับประทาน ส่วนประกอบที่เป็นสมุนไพรหลายชนิด ได้แก่ ๑. ตะไคร้ ๒. ข่า ๓. ขิง ๔. พริกขี้หนู ๕. มะนาว ๖. มะม่วง ๗. มะเขือเครือ(หรือเรียกว่ามะเขือส้ม) ๘. กล้วยนํ้าหว้าดิบ ๙. หอมแดง ๑๐. กระเทียม นํ้าวัตถุดิบล้างนํ้าให้สะอาดแล้วจึงนำสมุนไพรแต่ละชนิด มาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ ๑๒. แคปหมู/กากหมูเจียว รับประทานโดยการใช้ใบมะเดื่อ/ใบขนุนอ่อน/ใบส้มกบ/ ใบชะพลูห่อสมุนไพร้ข้างต้นแล้วราดด้วยนํ้าปลาร้าที่ปรุง รสเรียบร้อยแล้ว เมี่ยงค้น (โค้น) : เมี่ยงนํ้าปลาร้าของชาวไทหล่มจังหวัดเพชรบูรณ์“เมี่ยง โค้น” หรือ “เมี่ยงค้น” หรือ “เมี่ยงใบส้มกบ” เป็นคำ เรียก ชื่อเมี่ยงของชาวไทหล่ม อำ เภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นเมี่ยงที่ใช้สมุนไพรพื้นบ้านกว่า ๑๐ ชนิดมาเป็นเครื่อง เมี่ยง ห่อด้วยใบส้มกบ ความโดดเด่นของเมี่ยงโค้นอยู่ที่นํ้า เมี่ยงที่ปรุงจากปลาร้าหล่มรสชาติเข้มข้นที่แต่ละบ้านจะมี กรรมวิธีในการนำ ปลาร้ามาปรุงเป็นนํ้าเมี่ยงแตกต่างกัน ไป แต่ที่เหมือนกันก็คือกลิ่นหอมยวนใจของนํ้าเมี่ยงปลาร้า ผสมกลิ่นหอมของใบส้มกบและสมุนไพรนาๆชนิดสามารถ เรียกนํ้าย่อยได้ดีจนอดใจไม่ได้ที่จะต้องเข้าไปร่วมวงสนทนา และลิ้มลองรสชาติของเมี่ยงโค้นโดยเฉพาะคนที่ชื่นชอบกลิ่น หอมและรสชาติของปลาร้าคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าเมี่ยงโค้น สมุนไพรพื้นบ้านราดนํ้าปลาร้านี้ส่งกลิ่นหอมกรุ่นมีรสชาติ กลมกล่อมและน่าลิ้มลองเพียงใด คุณยายสำ เภาทองพัดบ้านนํ้าครั่งอำ เภอหล่มเก่าเล่า ว่า“หล่มเก่ามีเมี่ยงกินกันอยู่หลายชนิดแต่ขึ้นชื่อจริงๆก็เมี่ยง โค้นนี่แหละ บางคนก็เรียกเมี่ยงโค้น บางคนก็เรียกเมี่ยงค้น บางคนก็เรียกเมี่ยงใบส้มกบ ก็แล้วแต่จะเรียกกัน เมี่ยงโค้น นี้มักจะทำกินกันเมื่อมีงาน หรือมีงานบุญ หรือเมื่อเวลาที่ ว่างพร้อมกันหลายๆ คน เพราะเครื่องเคียงเยอะ ทำกินกัน คนสองคนก็ไม่อร่อยเมี่ยงต้องกินด้วยกันหลายๆคนจึงจะ สนุกต่างคนต่างก็เอาของมาช่วยกันคนละอย่างสองอย่าง ก่อนจะกินก็มาช่วยกันหั่นช่วยกันซอย ส่วนปลาร้าสำหรับ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคเหนือ (จังหวัดเพชรบูรณ์) ทำนํ้าเมี่ยงก็ใช้ของเจ้าบ้านเพราะเป็นของที่มีติดครัวกันทุกบ้านอยู่แล้ว” คุณป้ามานะหาญใจบ้านนํ้าครั่งอำ เภอหล่มเก่าเล่าให้ฟังว่า“เมี่ยงชนิดนี้ใช้พืชผักพื้นบ้าน ที่เป็นสมุนไพรหลายอย่างแต่ละอย่างจะอยู่ก้นครัวบ้างตามรอบๆบ้านบ้างตามท้องไร่ท้องนา บ้างหรือไม่ก็อยู่ในป่าบ้างเวลาจะทำ เมี่ยงก็ต้องไปค้นหากันมาให้จนครบรสจึงเรียกกันว่า“เมี่ยง โค้น”หรือ“เมี่ยงค้น”บางคนก็เรียกตามใบที่นำมาห่อเครื่องเมี่ยงว่า“เมี่ยงใบส้มกบ”หรือหาก ใช้ใบอะไรมาห่อก็เรียกตามนั้น แต่ก็เป็นอันรู้กันว่าเมื่อพูดถึงเมี่ยงโค้นแล้วก็หมายถึงเมี่ยงที่เต็ม ไปด้วยเครื่องสมุนไพรพื้นบ้านราดด้วยนํ้าปลาร้ารสชาติเข้มข้น” คุณป้ามาลีบุญแถมหนึ่งในคนซอยเครื่องเมี่ยงบ้านนํ้าครั่งเล่าว่า“เมี่ยงโค้นแบบนี้มีกินกัน มาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายายเกือบทุกหมู่บ้านในอำ เภอหล่มเก่าเป็นของสืบทอดกันมาทุกวันนี้ก็ยัง ทำกินกันอยู่อีกอย่างเครื่องเมี่ยงกับนํ้าเมี่ยงปลาร้าของบ้านเรานี้จะกินให้อร่อยก็ต้องกินกับใบ ส้มกบอ่อนฉะนั้นถ้าไม่ใช่หน้าของใบส้มกบก็ไม่ค่อยมีคนทำกินกัน” ปลาร้า หัวใจของอาหารไทหล่ม หัวใจของเมี่ยงโค้น ปลาร้าเป็นอาหารคู่ครัวชาวไทหล่มมาช้านานอาหารแทบทุกเมนูล้วนมีปลาร้าเป็นส่วนประกอบ แทบทั้งสิ้น ไม่เว้นแม้กระทั่งอาหารว่างอย่างเมี่ยงโค้น ก็ยังมิวายที่จะมีปลาร้าเป็นเครื่องชูรสใน สำ รับ ปลาร้าที่จัดว่าอร่อยของชาวไทหล่มต้องมีรสชาติเข้มข้น กลมกล่อม ในอดีตชาวไทหล่ม หมักปลาร้าไว้กินกันเองเกือบทุกครัวเรือนโดยใส่ใจพิถีพิถันในการทำปลาร้าตั้งแต่การคัดเลือก ปลากรรมวิธีการหมักและส่วนผสมที่นำมาหมักเพื่อให้ได้ปลาร้าหล่มที่มีรสชาติถูกปากจนกลาย เป็นของขึ้นชื่อที่รู้จักกันดีในจังหวัดเพชรบูรณ์ว่า ปลาร้าหล่มรสชาติจัดจ้าน กลมกล่อม อร่อย ไม่เหมือนใครและถึงแม้ว่าในปัจจุบันหลายครัวเรือนจะเลิกทำปลาร้ากินเองกันแล้วแต่ปลาร้าเจ้า อร่อยจากตลาดหล่มเก่าก็ยังมีให้เลือกซื้อหามาไว้คู่ครัวอยู่เสมอ การทำนํ้าเมี่ยงปลาร้าจะมีกรรมวิธีที่แตกต่างกันไปในแต่ละบ้านบางบ้านใช้เพียงนํ้าปลาร้า รสชาติเข้มข้นตักใส่ถ้วยมารับประทานกับเครื่องเมี่ยงโดยไม่ต้องปรุงอะไรเลย บางบ้านผสมนํ้า ตาลลงไปเพิ่มความหวานให้นํ้าปลาร้าบางบ้านเติมขิงข่าบดละเอียดและนํ้าตาลลงไปในนํ้าปลาร้า เพื่อเพิ่มความหอมและรสชาตินํ้าเมี่ยงที่ใช้เพียงนํ้าปลาร้ามักจะไม่ข้นการเลือกใบมาห่อจึงต้อง พิถีพิถันเป็นพิเศษมิฉะนั้นนํ้าที่ราดลงบนเมี่ยงจะไหลออกจากใบหายไปหมดเวลารับประทานก็ จะไม่ได้รสชาติของนํ้าเมี่ยงที่พอดีกับเครื่องเมี่ยง การทำนํ้าเมี่ยงของบางบ้านเลือกใช้เพียงตัวปลาร้า โดยนำมาสับให้ละเอียด ใส่นํ้าตาลและ 136 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ผงชูรสเพื่อเพิ่มความหวาน เติมนํ้าปลาร้าเล็กน้อยพอขลุกขลิก นํ้าเมี่ยงที่ ได้จะเป็นสีนํ้าตาลเข้มจนเกือบดำ มีความข้นกำลังพอดีรสชาติออกเค็มๆ หวานๆ อร่อยกลมกล่อม หากใครไม่สะดวกใจจะกินปลาร้าดิบจะนำ ไปตั้ง ไฟเคี่ยวให้พอสุกก็จะได้รสชาติหอมอร่อยไปอีกแบบ คุณป้าพิกุลแก่นสาลีบ้านนาทรายอำ เภอหล่มเก่า เล่าว่า “เมี่ยงโค้นข นานแท้ดั้งเดิมที่เขากินกันจะใช้ปลาร้าเป็นตัวฉีกเป็นชิ้นๆห่อกับเครื่องเมี่ยง ใส่ปากเคี้ยวกันเลย กินแบบนี้จะอร่อยเพราะได้รสชาติของเนื้อปลาไปด้วย เข้ากันดีกับเครื่องเมี่ยงและใบส้มกบ อร่อยอย่าบอกใคร ปลาร้าบ้านเรานัว (กลมกล่อม) ไม่เหมือนใครอยู่แล้ว กินกับเมี่ยงโดยไม่ต้องเอาไปปรุงอะไรก็ อร่อยสมัยก่อนไม่มีใครเอาปลาร้าหรือนํ้าปลาร้าไปตั้งไฟให้สุกหรอกกินกัน สดๆหอมและอร่อยกว่า จนทางราชการเค้ามารณรงค์ให้กินปลาร้าสุกจึง เริ่มนำ ไปทำ ให้สุกกันแต่เวลากินเมี่ยงโค้นก็ยังนิยมกินแบบไม่สุกอยู่คงเพราะ รสชาติและกลิ่นหอมกว่าปลาร้าสุกอีกอย่างคงเห็นว่าไม่ได้กินกันบ่อยๆจึง ยังนิยมกินแบบปลาร้าดิบกันอยู่” เครื่องเมี่ยงโค้น สมุนไพรพื้นบ้านที่ต้องค้นหามาให้ครบเครื่อง เครื่องเมี่ยงโค้น มีส่วนผสมหลักคล้ายกันเกือบทุกบ้าน คือ หอมแดง พริกสด กระเทียม ขิงสด ข่าสด มะเขือเครือ (มะเขือส้ม) ตะไคร้ซอย ด้วย พืชสมุนไพรพื้นบ้านเหล่านี้หาได้ง่ายและเป็นเครื่องเมี่ยงที่รู้จักกันดีโดยทั่วไป ส่วนเครื่องชนิดอื่นๆนอกเหนือจากนั้นแต่ละบ้านจะค้นหามาใส่เพิ่มเติมแตก ต่างกันไปตามความนิยมของแต่ละบ้านเช่นกล้วยดิบมะเขือพวงมะเขือขื่น ถั่วลิสงคั่วมะนาว และกากหมู วัตถุดิบที่นำมาทำ เครื่องเมี่ยงเหล่านี้มีรสชาติเฉพาะ เมื่อนำมากินกับ นํ้าเมี่ยงปลาร้าและใบส้มกบจะเข้ากันได้อย่างลงตัว มะเขือพวงจะให้รสมัน และกรอบ มะเขือขื่นจะเฝื่อนๆ ขื่นๆ มะเขือส้มจะออกรสเปรี้ยว มะนาวหั่น ทั้งเปลือกจะให้รสเปรี้ยวอมขมนิดๆ ถั่วลิสงก็จะมันๆ ส่วนกระเทียม ขิง ข่า ตะไคร้ให้รสเผ็ดร้อน ซ่า และหอมฉุนขึ้นจมูก ถ้าชอบรสจัดจ้านก็เติมพริก แล้วตัดด้วยกากหมูทอดเค็มๆ กรอบๆ เมื่อมาเจอกับนํ้าเมี่ยงที่เป็นปลาร้า รสเค็มๆหวานๆห่อด้วยใบส้มกบที่ให้รสเปรี้ยวๆมันๆ แล้วละก็ใครได้กินก็ ต้องร้องออกมาว่า “โอ้ย...แซ่บ” คุณยายสำ เภา เล่าว่า “แต่ก่อนเครื่องเมี่ยงไม่มีกากหมูแต่จะมีปูนาเป็น ส่วนผสมของเครื่องเมี่ยงแทนเพราะแต่ละครั้งที่ออกไปทำนาก็จะได้ปูนามา เต็มถังวันไหนจะกินเมี่ยงก็แบ่งเอาปูนามาปิ้งแกะกระดองและขาปูออกแล้ว คั่วให้เหลืองจัดใส่สำ รับห่อกินกับเครื่องเมี่ยงจะได้รสชาติกรุบกรอบอร่อยไป อีกแบบแต่ทุกวันนี้ปูนาไม่มีแล้วเนื่องจากมีการใช้ยาฆ่าแมลงในนาข้าวทำ ให้ กุ้งหอยปูปลาที่เคยมีอยู่ในนาตายหมดทุกวันนี้เลยใช้กากหมูแทนปูนา” วิธีทำ เมี่ยงโค้นก็ง่ายแสนง่ายเพียงนำส่วนผสมทั้งหมดหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ แยกวัตถุดิบแต่ละอย่างใส่กระทงใบตองจัดไว้ในสำ รับ เสิร์ฟคู่กับนํ้าเมี่ยง ปลาร้าและใบส้มกบส่วนใครจะหยิบอะไรมาใส่มากน้อยก็ขึ้นอยู่กับความชอบ ของแต่ละคนที่จะเสกสรรความอร่อยด้วยมือของตัวเองคุณยายสำ เภาเล่า ต่อว่า“ถ้าเป็นคนเฒ่าคนแก่จะหยิบข่าอ่อนและขิงมากหน่อยเพราะนอกจาก จะชอบในรสชาติของข่าและขิงแล้ว สมุนไพรทั้งสองชนิดนี้ยังช่วยในการขับ ลมและช่วยให้เลือดลมไหลเวียนได้ดีส่วนมะนาวถ้ามีมะเขือเครือกับใบส้มกบ อ่อนที่ให้รสเปรี้ยวได้ที่กำลังดีก็แทบจะไม่ต้องใช้เลยส่วนพริกอาจจะใส่น้อย หน่อยหรือไม่ใส่เลยเพราะคนแก่จะกินเผ็ดไม่ค่อยได้ไม่เหมือนคนหนุ่มสาวที่ มักจะใส่พริกมากหน่อยเพราะชอบรสจัดจ้านส่วนเด็กๆจะใส่เครื่องน้อยลง อย่างพวกข่า ตะไคร้เด็กๆ จะไม่ชอบกินกัน จะใส่แค่จำ พวกกากหมูและถั่ว ลิสงส่วนนํ้าเมี่ยงปลาร้าก็จะใส่นิดๆหน่อยๆ เท่านั้น” ใบส้มกบ : ใบห่อเมี่ยงโค้นยอดนิยมของชาวไทหล่ม “ส้มกบ”เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่แต่เดิมมีขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากในพื้นที่ แถบนี้โดยเฉพาะในป่า เมื่อชาวไทหล่มออกไปหาหน่อไม้ผักหวาน เก็บเห็ด หรือของป่าต่างๆ ก็จะเก็บใบส้มกบมากินแกล้มอาหารที่มีรสจัด ออกเผ็ด และเค็มอย่างนํ้าพริก ลาบ ปลาร้าสับ บ้างก็นำมาทำห่อหมก และนำมาใช้ เป็นใบเมี่ยง แม้เมื่อเวลาผ่านพ้นไป ต้นส้มกบตามธรรมชาติเริ่มลดน้อยลง แต่รสชาติเปี้ยวๆมันๆ ของใบส้มกบยังเป็นของคู่กันกับการกินเมี่ยงโค้นนํ้า ปลาร้าอาหารว่างยอดนิยมของชาวไทหล่ม ปัจจุบันชาวไทหล่มจึงได้นำต้น ส้มกบมาปลูกไว้รอบๆ บริเวณบ้าน แล้วหมั่นรดนํ้าและตัดแต่งกิ่ง ให้ต้นส้ม กบแตกยอดผลิใบออกมาให้กินได้ตลอดทั้งปีและยืนต้นอยู่ได้นานขึ้น ใบส้มกบมีลักษณะเป็นใบใหญ่ปลายเรียวแหลมทิ้งปลายลงดิน ใบแก่จะ สีเขียวเข้มมีขนนุ่มๆ ส่วนใบอ่อนจะสีเขียวอ่อนใสเป็นมันวาว รสชาติของใบ จะออกรสเปรี้ยวอมมัน ในฤดูฝนจะเป็นช่วงเวลาที่ใบส้มกบผลิใบแตกยอด อ่อนดกเต็มต้น เมื่อถึงฤดูแล้งใบส้มกบจะเริ่มหาได้ยากขึ้น หากเวลาว่าง จากการทำนาหรือเมื่อมีงานบุญตรงกับช่วงเวลาที่ใบส้มกบแตกใบอ่อนให้ รสชาติเปรี้ยวมันกำลังดีสาวน้อยสาวใหญ่ในหมู่บ้านก็มักจะชวนกันทำ เมี่ยง โค้นล้อมวงกินกันอย่างสนุกสนานหรือเป็นอาหารว่างเลี้ยงแม่ครัวที่ช่วยงาน บุญบางครั้งก็จะจัดใส่โตกขึ้นโต๊ะให้แขกที่มาร่วมงานบุญได้มีโอกาสลิ้มลอง เวลากินเมี่ยงโค้นก็นำ ใบส้มกบมาพันเป็นรูปกรวยหยิบเครื่องเคียงใส่ลง ไปตามความชอบตักนํ้าเมี่ยงใส่ลงไปในกรวยแล้วพับใบส้มกบห่อใส่ปากเคี้ยว ให้สมุนไพรแตกซ่านผสมผสานกับนํ้าเมี่ยงปลาร้าเชื่อได้ว่าใครได้ชิมเป็นต้อง ลืมไม่ลงแต่ถ้าใครไม่ชอบใบส้มกบก็จะใช้ใบขนุนหรือใบกะหลํ่าแทนแต่รสชาติ จะอร่อยสู้ใบส้มกบไม่ได้ใบขนุนจะออกรสมันๆ ฝาดๆส่วนกะหลํ่าจะออกรส จืด หรือบางครั้งก็ใช้ใบพืชชนิดอื่นๆ แล้วแต่ความนิยมของคนกินหรือตาม แต่จะค้นหามาได้ในเวลานั้นเวลากินก็ต้องเพิ่มเครื่องสมุนไพรให้ออกรสมาก ขึ้น อย่างใบขนุนซึ่งมีรสออกฝาดๆ ก็จะใส่มะนาวมากหน่อยเพื่อให้ออกรส เปรี้ยว และทำ ให้รสฝาดจางลงไป ส่วนใบกะหลํ่าที่รสจืดๆ ก็ใส่ขิงข่า มะเขือ เครือและมะนาวเพิ่มความเปรี้ยว ใส่พริกลงไปอีกหน่อย ตักนํ้าเมี่ยงปลาร้า ลงไปเยอะๆ เพื่อให้รสจัดจ้านเพิ่มมากขึ้น ผู้อาวุโสบางคนถึงกับบอกว่าวันไหนนึกเบื่ออาหารประเภทผัดต้มแกง ก็ค้นหาพืชผักสมุนไพรเท่าที่มีในครัวมาหั่นซอย เด็ดใบส้มกบข้างบ้าน ตัก ปลาร้าในไหมาทำ เมี่ยงโค้นกินคู่กับข้าวเหนียวแทนกับข้าวก็มีเมี่ยงโค้นรส จัดจ้านถูกปากนี้ช่วยแก้อาการเบื่ออาหารในมื้อนั้นได้เป็นอย่างดี ปัจจุบัน แม้วิถีการดำ รงชีวิตของชาวไทหล่มจะเปลี่ยนแปลงไป อาหาร และของว่างก็มีมากมายหลากหลายชนิดให้เลือกตามท้องตลาดแต่สำหรับ ชาวไทหล่มเมี่ยงโค้นยังคงเป็นอาหารว่างรสแซ่บที่ครองใจชาวบ้านทุกเพศ ทุกวัย แม้วัตถุดิบที่นำมาใช้จะมีการปรับเปลี่ยนไปตามความสามารถที่จะ ค้นหามาได้หรือปรับรสนํ้าเมี่ยงปลาร้าให้เข้ากับความนิยมของคนยุคใหม่ แต่หัวใจสำคัญของความเป็นเมี่ยงโค้นก็ยังอยู่ที่สมุนไพรพื้นบ้านรสจัดจ้าน ราดด้วยนํ้าปลาร้าห่อด้วยใบส้มกบ การกินเมี่ยงโค้นให้อร่อยจึงไม่ได้อยู่ที่ใบเมี่ยง เครื่องเมี่ยง หรือนํ้าเมี่ยง เพียงอย่างเดียวแต่ยังอยู่ที่ความสนุกสนานในการร่วมแรงร่วมใจกันทำ เมี่ยง และการร่วมวงกันกินการกินเมี่ยงโค้นจึงนับเป็นอาหารว่างที่ทั้งอร่อยและสนุก พร้อมๆไปกับการได้ร่วมวงสนทนาไต่ถามสารทุกข์สุกดิบกับเพื่อนฝูงญาติมิตร และคนบ้านใกล้เรือนเคียง นี่แหละคือเสน่ห์ของการกินเมี่ยงโค้น อาหารที่ นอกจากจะได้ความอร่อยและเพลิดเพลินแล้ว ยังเป็นอาหารที่เป็นตัวเชื่อม ร้อยความสัมพันธ์ของผู้คนในชุมชนมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันได้อีกด้วย การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 137


ข้าวแคบสมุนไพร ส่วนผสม แป้ง นํ้าตาล งาดำ พริกป่น ใบเตย เกลือ อัญชัน ฟักทอง สีผสมอาหาร ส่วนประกอบและวิธีทำ ผสมแป้งหมักกับนํ้าสะอาดคนให้ทั่วใส่นํ้าตาล พริก ป่นเกลือตามความต้องการตามอัตราส่วนถ้าต้องการ รสงาดำ ก็ใส่งาดำ แล้วคนให้เข้ากัน ถ้าต้องการพริก หวานก็ผสมสีส้มกับแป้ง คนให้ทั่วจะได้สีส้มคือรถพี่ หวานจะมีรสชาติเผ็ดๆหวานมันอร่อยน่ารับประทาน มากถ้าต้องการแบบงาดำ เยอะๆก็เน้นงาดำ โดยใส่ส่วน ผสมตามที่ต้องการ จะเผ็ดน้อยหรือไม่เผ็ดก็สามารถ จะทำ ได้ตามที่ต้องการ ส่วนรสใบเตยอัญชัน หรือรส ฟักทอง นำ ใบเตยที่สามารถปรุงอาหาร ดอกอัญชัน สด นำมาตากแห้งแล้วต้มนํ้าตามที่ต้องการ ส่วนรส ฟักทองก็นำ ฟักทองมาบดให้ละเอียดแล้วมากรองใน ภาชนะก่อนจึงมาผสมกับตัวแป้งหมักที่เราจะทำ ข้าว แคบ แต่ถ้าฟักทองหายากไม่มีเราสามารถใช้สีผสม อาหารสีเหลืองมาแทนกันได้ส่วนรสชาติเราก็ใส่ส่วน ผสมลงไปเอง (เรียบเรียงโดย ผศ.ดร.ไสยเพ็ญ เฉิดเจิม) ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคเหนือ (จังหวัดอุตรดิตถ์) 138 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


คั่วเนื้อคั่วปลา ประวัติความเป็นมาคั่วเนื้อ คั่วปลา คั่วเนื้อ คั่วปลา เป็นอาหารพื้นถิ่นของชาวอำ เภอ คอนสารจังหวัดชัยภูมิเป็นการปรุงอาหารและถนอม อาหารให้รับประทานได้หลายวันซึ่งส่วนประกอบวัตถุดิบ ในการทำหลักคือเนื้อหมูเนื้อปลาหรือเนื้อวัวตามใจ ชอบของผู้รับประทานและใช้สมุนไพรที่มีสรรพคุณเป็น ยาในการถนอมอาหารและมีกลิ่นหอมด้วยคั่วเนื้อคั่ว ปลามีประวัติเรื่องราวมายาวนานคั่วเนื้อคั่วปลา จะ ทำ เฉพาะใรเทศกาลงานบุญใหญ่ของอำ เภอคอนสาร เพียงสองงานเท่านั้นคืองานประเพณีบุญเดือน ๔ จะ เริ่มทำ ในวันแรม ๑๔ คํ่า เดือน ๔ เพื่อนำ ไป ใส่บาตร ในวันขึ้น ๑ คํ่าเดือน ๕ ซึ่งในอดีตถือว่า เป็นวันขึ้นปี ใหม่ของอำ เภอคอนสาร และประเพณีบุญเดือน ๔ นี้ ชาวบ้านทุกหลังคาเรือน จะนำคั่วเนื้อ คั่วปลา ซึ่งเป็น อาหารคาว และข้าวตอก ข้าวเฮียง ไปถวายพระสงฆ์ และนำ ไปมอบไปเยี่ยมเยือนญาติผู้ใหญ่ปู่ย่าตายาย พร้อมขนมเส้น(ขนมจีน)ดอกไม้ขันห้าเพื่อขอสมมา ขอลาภ ขอพร และอีกประเพณีหนึ่งคือ ประเพณีบุญ เดือนสารทไทคอนสาร ตรงกับวันแรม ๑๕ คํ่า เดือน ๑๐ ขอทุกปีบุญนี้ถือว่าเป็นบุญของการรำ ลึกถึง บรรพบุรุษของตระกูล คั่วเนื้อ คั่วปลาได้รับคัดเลือกให้เป็นอาหารประจำ จังหวัดชัยภูมิหรืออาหารประจำถิ่น ตามการดำ เนิน การจัดกิจกรรม “๑ จังหวัด ๑ เมนูเชิดชูอาหารถิ่น” ภายใต้โครงการการส่งเสริมและพัฒนายกระดับอาหาร ถิ่น สู่มรดกทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ความเป็น ไทย (Thailand Best Local Food) “รสชาติ…ที่ หายไปTheLostTaste”ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ตามประกาศของกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเมื่อ วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๖ ส่วนผสม ๑. เนื้อหมูหรือเนื้อวัว ๒. เนื้อปลา ๓. นํ้าตาล ๔. ผงปรุงรส ๕. กะทิ ๖. ปลาร้า สมุนไพร ๘ อย่า ง (๘ นางฟ้า) ๑. กระเทียม ๒. หอมแดง ๓. ตะไคร้ ๔. ขมิ้นชัน ๕. พริกชี้ฟ้าแดงหรือพริกแห้ง ๖. กระชาย ๗. ข่าโคม ๘. ใบมะกรูด ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อำ เภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ) วิธีขั้นตอนการปรุง ๑. นํ้าเนื้อหมูสดสันในจำนวน ๑ กิโลกรัมล้างให้สะอาดนำมาหั่นเป็นชิ้นขนาด ความหนา ๑ นิ้ว ยาวประมาณ ๕ นิ้ว หรือมากน้อยกว่านี้เพื่อนำ ไปย่าง เตาถ่าน หรือในโอ่งอบความร้อนด้วยไฟ ปานกลาง ให้เนื้อสุกพอดี ๒. นำ ชิ้นเนื้อที่ย่างสุกแล้วมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆบางๆแล้วนำ ไปตำ ให้เนื้อละเอียด และฟูนิ่มตักขึ้นในจานพักไว้ ๓. นำปลาสด เช่นปลาช่อน ปลายี่สก ปลานิล จำนวน ๑ กิโลกรัม แผ่กลาง ตัวปลานำ เครื่องในออก ให้หมด ไม่ต้องนำ เกล็ดปลาออกนำมาล้างให้สะอาด นำ ไปย่างเตาถ่านหรือใส่โอ่งอบความร้อนเตาถ่านย่างหรืออบด้วยไฟปานกลาง ให้ เนื้อปลาสุกพอดีแล้วนำมาแกะก้างปลาออก แล้วนำ เอาเนื้อปลาไปตำ ให้ละเอียด จนเนื้อปลาฟูเสร็จแล้วตักขึ้นใส่จานพักไว้ ๔. ทำ เครื่องแกง ๘ นางฟ้าที่ล้างสะอาดแล้วนำมาหั่นเป็นชิ้นเล็กๆนำมารวม กันกันตำหรือบดให้ละเอียดเสร็จแล้วตักขึ้นพักไว้แยกเป็นสองส่วน การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 139


๕. นํ้าเนื้อหมู/เนื้อปลาที่ตำ พักไว้นำมาใส่ครกตำอีกครั้งหนึ่ง และใส่สมุนไพร ที่ตำ แยกไว้ส่วนที่หนึ่ง ลงไป ตำคลุกเคล้าให้เข้าเป็น เนื้อเดียวกันตักขึ้นพักไว้ ๖. นำกะทิสด ใส่กระทะ ตั้งไฟเคี่ยวจนแตกมัน แล้วนำ เนื้อหมู เนื้อปลาที่ตำคลุกใส่สมุนไพรที่พักไว้นำมาใส่และเคี่ยวรวมกันคน ไปเรื่อยๆ จนเนื้อและกะทิเข้ากันได้ดีจนสุกแห้งหอม ๗. นำ เครื่องปรุงรส ประกอบด้วย นํ้าปลา นํ้าปลาร้านิดหน่อย ผงชูรสนํ้าตาลนิดหน่อยปรุงรสตามชอบและเคี่ยวต่อไปจนเนื้อแห้ง หอม และสมุนไรสุกดีนำ ใบมะกรูดหั่นฝอย โรยหน้า ยกลงภาชนะที่ เตรียมปิดฝารอพร้อมเสิร์ฟรับประทาน ๘. นำ เนื้อหมูเนื้อปลาที่คั่วสมุนไพรเสร็จแล้วนำมาจัดจานเสิร์ฟ กับข้าวเหนียวสมุนไรอัญชันและข้าวเหนียวขมิ้นชันร้อนๆ พร้อมผัก เครื่องเคียงพื้นบ้านเช่น ผักขี้นาก ผักเชียงมะเขือเปราะถั่วฝักยาว สาระแหน่หรือจัดสำ รับเป็นเมี่ยงปลาเมี่ยงเนื้อสมุนไพรดอกบัวหลวง หรือนำ ไปเป็นเมนูนํ้าพริกโรยหน้าข้าวต้มกุ๋ยอร่อยชวนรับประทาน ทุกเมนู เคล็ดลับการปรุง ๑. เนื้อหมูเนื้อปลาที่ย่าง ไม่ต้องให้สุกมาห จะทำ ให้เนื้อที่ย่าง เสร็จ แข้ง เวลานำ เคี่ยวกับกะทิเนื้อจะแข็งหยาบเกินไป จะไม่อร่อย กลมกล่อม ๒. นํ้ากะทิที่นำมาเคี่ยว หากเป็นกะทิคั้นสดจะทำ ให้อร่อย กลิ่น หอมมากกว่ากะทิสำ เร็จรูป ๓. การคั่วเนื้อหมูเนื้อปลาที่คั่วรวมกับสมุนไร ขั้นตอนสุดท้าย จำ เป็นต้องคั่วให้สมุนไพรสุก และเคี่ยวให้แห้งเพื่อการเก็บรักษาได้ ยาวนานมากขึ้น คุณประโยชน์คุณค่าด้านสุขภาพโภชนาการ/สมุนไพร มีส่วนผสมของสมุนไพรที่มีสรรพคุณจากเครื่องสมุนไพรในการ ช่วยบำ รุงร่างกาย จากสมุนไพร ๘ ชนิด เช่น ขมิ้นชัน ช่วยล้างพา ตับรักาแผลในกระเพาะอาหารชะลอการแก่ก่อนวัยรักษาริดสีดวง กระชายขาว ยาบำ รุงร่างกาย ยาอายุวัฒนะ กระตุ้นการไหลเวียน ของโลหิตลดอาการท้องอืดลดไขมันในเลือดเป็นต้น 140 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


ขนมข้าวเขิบ ส่วนผสม วัตถุดิบหลักคือข้าวหอมมะลิ(ข้าวเจ้า) ผสมกับงา เครือตดหมา ส่วนประกอบและวิธีการทำ ความเป็นมา “ขนมข้าวเขิบ” ขนมข้าวเขิบเป็นขนมที่มีมาตั้งแต่โบราณของคนใน ชุมชนบ้านเมืองเตาตำบลเมืองเตาอำ เภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคามซึ่งเป็นขนมที่คนในชุมชนมักจะทำ เพื่อรับประทานเป็นขนมหวานในช่วงหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าว หอมมะลิเนื่องจากคนในชุมชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวโดยข้าวเขิบมีวัตถุดิบหลักคือข้าวหอมมะลิ (ข้าวเจ้า) ผสมกับงาเครือตดหมาและปรุงรสเล็กน้อย นำ ไปตำ ให้ละเอียดเข้ากันแล้วทำ เป็นแผ่นตากแห้งเมื่อ จะรับประทานจะต้องนำ ไปปิ้งให้แผ่นขนมพองขึ้น สุก มีกลิ่นหอม ข้าวเขิบมีรสหวานหอมแผ่นใหญ่ ซึ่งเป็น ขนมท้องถิ่นโบราณที่รับประทานได้ทุกเพศ ทุกวัย ใช้ ต้นทุนไม่มาก โดยมากในอดีตชาวบ้านจะทำ เพื่อทาน เล่นในครัวเรือน และทำ แบ่งปันกันกินในช่วงเทศกาล สำคัญของชุมชน เช่น งานประเพณีบวงสรวงเจ้าพ่อ ศรีนครเตา เป็นต้น ในปัจจุบันชุมชนตำบลเมืองเตายังคงมีการทำ ขนมข้าว เขิบรับประทานทางคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ราชภัฏมหาสารคามจึงได้ลงพื้นที่พัฒนาต่อยอดขนม ข้าวเขิบโบราณเพื่อสร้างรายได้เพิ่มให้กับชุมชน และ เพื่อเป็นการสืบสาน อนุรักษ์อัตลักษณ์วัฒนธรรม และวิถีชุมชนให้คงอยู่ โดยการริเริ่มปรับปรุงขนมข้าว เขิบแบบเดิมให้มีรสชาติใหม่เพิ่มขึ้น คือ เพิ่มรสชาติ หน้าหมูหยอง และหน้าหมูหยองพริกเผา รวมทั้งปรับ ขนาดรูปแบบให้มีทั้งขนมแบบแผ่นใหญ่และแผ่นเล็ก แต่ยังคงกรรมวิธีในการผลิตและวัตถุดิบในการทำตัว แผ่นขนมข้าวเขิบไว้เป็นแบบดั้งเดิมไม่ว่าจะเป็นวัตถุดิบ หลักคือข้าวหอมมะลิซึ่งจะต้องเป็นข้าวหอมมะลิกข. ๑๐๕ ของบ้านเมืองเตาการใส่งาและเครือตดหมารวม ไปถึงการตำส่านผสมให้เข้ากัน การใช้แผ่นไม้ประกบ เพื่อทำ เป็นแผ่นแล้วนำ ไปตากแห้งจากนั้นปรับเปลี่ยน จากการปิ้งด้วยเตาฟืน มาเป็นการใช้เตาอบ และเพิ่ม รสชาติใหม่ เพื่อเพิ่มจำนวนการผลิตได้ง่าย และเพิ่ม รสชาติทางเลือกให้กับผู้บริโภคมากขึ้น ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดมหาสารคาม) การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 141


ข้าวปุ้นซาวพนมไพร ส่วนผสม เส้นขนมจีน ๕๐๐ กรัม นํ้าปลาร้า ๑ ถ้วย กะปิ๑/๒ ช้อนโต๊ะ นํ้าตาล ๑ ช้อนโต๊ะ นํ้าเปล่า ๕๐๐ มิลลิลิตร ผงชูรส ๑/๒ ช้อนชา พริกป่นตามชอบ ผักสดตามชอบ (ผักก้านจอง ผักบุ้ง กะหลํ่า ปลีถั่วฝักยาว เม็ดกะถิน ผักชีลาว) วิธีทำ ๑. ตั้งกระทะ ใส่นํ้าเปล่าให้ท่วมสำ หรับลวกผัก ต้มนํ้าให้เดือด พอเดือดดีแล้ว ใส่นํ้าตาลทราย คนให้ พอเข้ากัน แล้วลวกผักตามชอบ (ถั่วฝักยาว กะหลํ่า ปลีผักก้านจอง ผักบุ้ง) ให้สุกเสร็จแล้วตักขึ้นน็อค ในนํ้าเย็น ๒. ตั้งหม้อ ใส่นํ้าเปล่าลงไป ต้มนํ้าให้เดือด พอ เดือดดีแล้ว ใส่กะปินํ้าปลาร้า ลงไป คนให้ละลายเข้า กัน ๓. ปรุงรสด้วย ผงชูรส นํ้าตาล คนให้เข้ากันอีก รอบเสร็จแล้วปิดไฟ พักทิ้งไว้ให้เย็น ๔. นำ เส้นขนมจีนไปต้มในนํ้าร้อน ให้เส้นขนมจีน คลายตัวออกจากกัน จะทำ ให้ยำ รวมกับนํ้าปลาร้าได้ ง่ายขึ้น ๕. จัดจาน ใส่ขนมจีน ตามด้วยผักลวก พริกป่น ตามชอบราดนํ้าปลาร้าลงไปคลุกเคล้าให้เข้ากันเป็น อันเสร็จ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดร้อยเอ็ด) 142 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


เมี่ยงโค้น ส่วนผสม ๑. ตะไค้ ๒. มะนาว ๓. พริก ๔. ใบชะพูล ๕. มะเขือเทศ ๕. มะเขือพวง ๖. นํ้าผักสะทอนที่ปรุงรสแล้ว ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑. คัดเลือกและเก็บใบสะทอนที่ผลิอายุ๗ วัน ๒. ตำ ใบสะทอนให้ละเอียดด้วยครกกระเดื่อง ๓. นำ ใบสะทอนที่ตำละเอียดแล้วผสมกับนํ้าหมัก ในโอ่งเป็นเวลา ๓ คืน โดยหมั่นกลับใบสะทอนในโอ่ง เช้าเย็น ๔. เมื่อครบ ๓ คืนแยกกากจากการตำ โดยปั้นใบ สะทอนให้เป็นก้อนกรองเอาแต่นํ้าสะทอน ๕. นำนํ้าสะทอนลงในกระทะใบบัวตั้งไฟและเคี่ยว จนมีสีนํ้าตาลเข้ม ระหว่างการเคี่ยวถ้ามีฟองให้ช้อน ฟองออก ๖. จากนั้นพักนํ้าสะทอนให้เย็นตัวลงเล็กน้อยและ กรองด้วยผ้าขาวบางก็จะได้นํ้าปรุงรสจากนํ้าผักสะทอ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดเลย) การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 143


ขนมไปรกระซัง ขนมไปรกะซังเป็นขนมโบราณภูมิปัญญาของชาวกูย ใน จ.ศรีสะเกษ ขนมมีส่วนผสมหลักเป็นแป้งเหนียวซึ่งยัด ไส้ด้วยมะพร้าวอ่อนซึ่งผัดเข้ากับนํ้าตาลหน้าตาของขนม ไปรกะซังคล้ายขนมไข่เต่าหรือไข่นกกระทาแต่มีขนาดใหญ่ กว่า และมีความเหนียวและหนากว่าเล็กน้อย “ขนมไปรกะซัง” ขนมโบราณของชาวกูย (Kuy Fried Sweet Potato Ball) ที่เลียนแบบผลไม้คือ ลูกกระสัง เคยห่างหายไป แต่ชาวกูยตำบลกู่อนุรักษ์ฟื้นฟูการผลิต วัตถุดิบธรรมชาติที่หาได้ในชุมชน เพื่อถ่ายทอดไปยังลูก หลานเด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ได้สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ขนมไปรกะซังเป็นอาหารสุขภาพ เพราะทำมาจากวัตถุดิบ ธรรมชาติไส้ขนมจากมะพร้าวอ่อนภูมิปัญญาตำ ข้าวสาร ที่แช่เพื่อทำ แป้งข้าวเหนียว การหมักแป้งและส่วนผสม ปั้น เป็นรูปกลมๆ ใส่ไส้อยากกินสมุนไพรอะไรเพื่อใส่เป็นไส้ก็ หามาแล้วนำ ไปทอดในอดีตดั้งเดิมที่ปฏิบัติกันมาจะใช้ก้าน มะพร้าวที่เหลาสะอาดแล้วเหลือใบไว้ตรงโคนมาร้อยขนมไป รกะซัง อย่างลงตัวสวยงาม ขนมกูยไม่หวาน ไม่ใส่สีไม่ใส่ สารกันบูด วัตถุดิบธรรมชาติเคล็ดลับความอร่อยน่ารับ ประทานอยู่ที่การหมักแป้งการทอดที่หอมกรอบนอกนุ่มใน ส่วนผสม ๑. มะพร้าว ๒. แป้งข้าวเหนียว ๓. แป้งข้าวเจ้า ๔. เกลือ ๕. นํ้าตาล ๖. นํ้าเชื่อม ๗. นํ้าเปล่า ๘. นํ้ามันพืช ส่วนประกอบและวิธีการทำ นำมะพร้าวที่ห่ามๆยังไม่แก่มากเพราะจะมีความหวาน อร่อยคัดเอาลูกที่เปลือกเริ่มแห้งเอามาปลอกเปลือกแล้ว ขูดเป็นเส้นๆ เพื่อทำ เป็นไส้ขนมเมื่อขูดเสร็จแล้วก็นำ เนื้อ มะพร้าวที่ได้ไปเคี่ยวกับเกลือและนํ้าตาลเตรียมไว้จากนั้น นำ แป้งข้าวเหนียวมาเทใส่ภาชนะและใช้แป้งข้าวเจ้าผสมลง ไปเล็กน้อยเพื่อให้เพิ่มความกรอบเทนํ้าเชื่อมและนํ้าเปล่า ผสมลงไปแล้วนวดแป้งให้เข้ากันจนนิ่มแล้วปั้นแป้งที่นวด ได้เป็นลูกกลมๆ จากนั้นก็เป็นการใส่ไส้ขนม โดยการนำ แป้งที่ปั้นเตรียมไว้มาตีบนฝ่ามือให้แป้งมีลักษณะแบนๆ แล้วก็นำมะพร้าวที่เคี่ยวเตรียมไว้แล้วมาใส่ตรงกลางแล้ว ก็ใช้เนื้อแป้งห่อให้หุ้มเนื้อมะพร้าวให้มิดชิดแล้วปั้นเป็นลูก กลมๆ อีกครั้ง เมื่อทำ เสร็จตามปริมาณที่ต้องการก็นำ แป้งที่ใส่ไส้เรียบร้อยแล้วลงไปทอดในนํ้ามันที่ร้อนทอดจน กรอบ สังเกตว่าแป้งเริ่มมีสีเหลืองอ่อนๆ ก็ตักออก แล้ว รอให้อุ่นๆจากนั้นนำก้านมะพร้าวมาร้อยขนมที่ทอดเสร็จ แล้วก้านละประมาณ ๔-๕ ลูกเป็นอันเสร็จเรียบร้อย ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดศรีสะเกษ) 144 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


๔. ตั้งไฟ นำ เนื้อไก่ใส่ลงไปในหม้อตามด้วยตะไคร้หั่น เป็นท่อนและพริกขี้หนูโขลกพอหยาบใส่ลงไปคลุกเคล้า กับเนื้อไก่แล้วปรุงรสตามชอบ ๕. ใส่เนื้อไก่ ตะไคร้และพริกโขลกพอละเอียดลงไป ใส่ฟักทองลงไป พอเดือดให้ใส่หวายลงไป ใส่นํ้า ใบย่านางที่ผสมกับข้าวเบือลงไปต้มจนเดือดแล้วเติม นํ้าปลาร้าลงไปใส่ฟักทองลงไป ๖. ใส่ผักต่างๆลงไปบวบเห็ดหูหนูเห็ดฟาง ผักชีฝรั่ง ผักสะแงะใบชะพลูยอดฟักทองใบแมงลักทิ้งไว้สักครู่ ก็ยกหม้อแกงลงเป็นเสร็จการปรุงแกงหวาย แกงหวาย หวายป่าพบได้ตาป่าละเมาะและป่าเบญจพรรณ ทั่วไปเกิดจากนกถ่ายมูลเมล็ดหวายเมื่อหวายตกลง พื้นดินมีอุณหภูมิพอเหมาะจะขึ้นเป็นหวายป่าในปัจจุบัน นิยมนำ เมล็ดพันธุ์มาเพาะ ในแปลงหรือกระบะในเรือน เพาะชำ เมื่อเมล็ดหวาย ขึ้นเป็นต้นอ่อนก็ย้ายลงใน ถุงพลาสติก เพื่อนำ หวายลงไปปลูกในหลุมเป็นแถว เพื่อให้ตัดยอดอ่อนมาจำหน่ายหรือนำมาปรุงอาหารต่อไป แหล่งที่ปลูกหวายมากที่สุดคือบริเวณไหล่เขาภูพาน ในบริเวณอำ เภอกุดบากอำ เภอวาริชภูมิอำ เภอภูพาน เป็นแหล่งที่มีหน่อหวายจำหน่ายมากที่สุดโดยเฉพาะ ในช่วงฤดูหนาวระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคมเป็นช่วง ที่หวายแตกยอดอ่อนหน่อเจริญ งอกงาม ส่วนผสม หน่อหวายที่ลอกเปลือกแล้ว พริกขี้หนู เนื้อไก่ (ซี่โครงหมูหรือเนื้อปลา) บวบ เห็ดหูหนู ตะไคร้ ผักสะแงะ (หอมแย้) ใบแมงลัก ใบย่านาง ยอดฟักทอง นํ้าปลาร้า ใบชะอม เมล็ดข้าวเหนียว ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑. นำหวายมาปอกเปลือก ให้เหลือแต่หน่อหวาย ที่เป็นสีขาว ๒. หั่นหวายเป็นท่อนพอดีคำ แช่นํ้าเกลือทิ้งไว้เพื่อ ไม่ให้หวายเปลี่ยนสี ต้มหวายในนํ้าเดือด ประมาณ ๑๐ นาที เพื่อลดความขมจาก นั้นนำหวายที่ต้มตัก แช่ในนํ้าเย็นจัดสักครู่ ก่อนนำ ไปปรุงอาหาร ๓. นำ ใบย่านางมาตำ ผสมกับเมล็ดข้าวเหนียวที่แช่ไว้ ตำ ใบย่านางและเมล็ดข้าวเหนียวแช่นํ้าตำ ใบย่านาง และเมล็ดข้าวเหนียวแช่นํ้า(ข้าวเบือ)ตำ ให้พอละเอียด แล้วเติมนํ้าเปล่าลงไปคั้นเอาแต่นํ้า พักไว้ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดสกลนคร) แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ : www.m-culture.in.th, www.youtube.com (สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร) การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 145


เบาะโดง (นํ้าพริกมะพร้าว) เบาะโดงหรือจะรั๊วโดง(นํ้าพริกมะพร้าว)มาจาก ภาษาถิ่น (เขมร) เบาะโดง มาจากคำ ๒ คำคือ เบาะ =ตำ ,ป่น และ โดง = มะพร้าว มีต้นกำ เนิดมาจาก บ้านทนมีย์ตำบลเทนมีย์อำ เภอเมืองสุรินทร์จังหวัด สุรินทร์โดยชาวบ้านในพื้นที่เล่าว่าแต่เดิมเป็นพื้นที่ที่ มีต้นมะพร้าวจำนวนมาก จึงนำมาแปรรูปเป็นอาหาร เบาะโดงจึงเป็นนํ้าพริกประจำ ถิ่น ที่ใช้เนื้อมะพร้าว แก่ขูดแล้วคั่วให้สุก หอมได้ที่ก็นำมาตำ ให้ละเอียดกับ เครื่องปรุงนํ้าพริกอื่นๆ เช่น กระเทียม พริก ปลาร้า ปลาทูทานกับข้าวสวย พร้อมผักพื้นบ้านในท้องถิ่น ส่วนผสม มะพร้าวคั่ว ปลาทู เกลือ พริก หอมแดง กระเทียม ปลาร้าบด ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑. นำหอมแดงกระเทียม พริกมาคั่ว จากนั้นนำ มาโขลกรวมกันใส่เกลือเพื่อเพิ่มรสชาติ ๒. นำ เนื้อปลาทูลงโขลกรวมกัน ใส่มะพร้าวคั่ว ลงไปโขลกให้เข้ากัน ๓. ใส่ปล้าร้าบดเพื่อเพิ่มความอร่อย ชิมปรุงรส ตามใจชอบ ๔. ตักใส่จานรับประทานคู่กับผักพื้นบ้านข้าวสวย ร้อนๆ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดสุรินทร์) 146 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


เค็มบักนัด ส่วนผสม เครื่องปรุง/วัสดุประกอบด้วย ๑) ปลาปึ่ง (ปลาเทโพ) ๔๕ % ๒) เกลือสินเธาว์๓๐ % ๓) สับปะรด ๒๕ % ๔) ขวดแก้วเปล่า (ขนาด ๔๐๐ ซีซี, ๓๒๕ ซีซี) ๕) ฝาจีบ ส่วนประกอบและวิธีการทำ ๑) นำส่วนประกอบทั้งหมดมาผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ๒) บรรจุลงในขวดเปล่า(ขนาด ๔๐๐ ซีซี,๓๒๕ ซีซี) ๓) ทำความสะอาดขวดโดยรอบและเช็ดปากขวด ด้วยแอลกอฮอล์ ๔) ปิดขวดด้วยฝาจีบที่เช็ดด้วยแอลกอฮอล์และ นำ เข้าเครื่องปิดฝาจีบมือโยก ๕) หมักทิ้งไว้ประมาณ ๓ เดือนจึงจะนำ ไปรับ ประทานได้ อาหารที่แปรรูปจากเค็มบักนัด (หลนเค็มบักนัด) เครื่องปรุงประกอบด้วย ๑) เค็มบักนัด ๒ ช้อนโต๊ะ ๒) หมูสับ ๑ ถ้วย ๓) สับปะรดสับหยาบ ๑ ช้อนตวง ๔) กะทิ ๑ ถ้วย ๕) ไข่ไก่ ๑ ฟอง ๖) หอมแดงซอย ½ ถ้วย ๗) พริกหนุ่ม ตามชอบ ๘) พริกขี้หนู/ชี้ฟ้า ตามชอบ ๙) นํ้าตาลทราย ตามชอบ วิธีปรุงมีกระบวนการดังนี้ ๑) นำกะทิตั้งไฟพอเดือด ใส่เค็มบักนัด (เฉพาะ เนื้อสับปะรดสับ) หมูสับ ลงไป และคนให้ทั่ว รวนจน กะทิเดือดแตกมัน ๒) ใส่พริกหอมแดงซอยและปรุงรสด้วยนํ้าตาล ทราย พอหมูสับเริ่มสุกให้ตอกไข่ลงไปและคนเร็วๆให้ ไข่แตกพอสุกจากนั้นยกลงตักใส่ถ้วยโรยหน้าด้วยผักชี พริกชี้ฟ้าซอยและนำ ไปรับประทานกับ ผักสดและข้าว สวยร้อนๆ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดอุบลราชธานี) ที่มาภาพประกอบ รายการ Foodwork. Thaipbs. เค็มบักนัด ของดีเมืองอุบลราชธานี. (ออนไลน์) ๒๕๖๒ จาก https://www.facebook.com/๑๓๘๙๗๗๗๗๙๕๑๑๙๕๗/videos/๔๓๙๓๑๐๗๕๙๙๖๓๑๘๕ การประชุมวิชาการสภาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย ประจำ�ปี ๒๕๖๗ 147


คั่วกลิ้งเนื้อ ส่วนผสม (สำหรับ ๑ จานเสริฟ ประกอบด้วย) เนื้อสับ ๓๐๐ กรัม พริกแกงคั่วกลิ้ง ๒ ช้อนโต๊ะ พริกไทยอ่อน(แกะเป็นเม็ด) ๒ ช้อนโต๊ะ พริกแดงจินดา(หั่นเฉียง) ๑ เม็ด ใบมะกรูดซอย ๕ ใบ ใบยี่หร่า ๑๐ ใบ นํ้ามันพืช ๒ ช้อนโต๊ะ ซอสหอยนางรม ๒ ช้อนโต๊ะ ซอสฝาเขียว ๑ ช้อนโต๊ะ ผงปรุงรส ๑ ช้อนชา นํ้าตาลทราย ๑ ช้อนชา ส่วนประกอบและวิธีการทำ ตั้งกระทะนํ้ามันบนไฟกลาง พอร้อนใส่พริกแกงคั่ว ลงผัดในกระทะให้หอมใส่เนื้อวัวปรุงรส ผัดให้พอแห้ง จากนั้นใส่ใบยี่หร่าและใบมะกรูด ปิดไฟ ตักขึ้นใส่จาน เสิร์ฟ จัดเสิร์ฟโดยโรยใบมะกรูดซอยและพริกขี้หนูสวน เสิร์ฟพร้อมผักเหนาะ ข้อมูลอาหารพื้นบ้าน/อาหารพื้นถิ่นประจำ ภาคใต้ (จังหวัดนครศรีธรรมราช) 148 “โม โฮบบาย จุมคะเนีย”


Click to View FlipBook Version