The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Keywords: อิสลาม,หลักศรัทธา,รุก่น

หลัก ลั ศรัท รั ธา หลัก ลั ปฏิบัติ บั ติ จริย ริ ธรรม และการละหมาด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 1 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ด้วยพระนามของอัลลอฮฺ ผู้ทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ หลักการศรัทธา إيــــــ َما ُن﴾ ﴿اَإْلِ หลักของการศรัทธาหรือที่เรียกว่า "รุก่นอีหม่าน" หรือ "อัรกานุ้ลอีหม่าน" คือพื้นฐานทางการศรัทธาที่ มุสลิมทุกคนจะต้อง เรียนรู้ และศึกษาให้เข้าใจเพื่อจะได้มีความเชื่ออย่างถูกต้อง แม้ว่าการศรัทธาจะมีอยู่หลาย ประการดังกล่าวมาแล้ว แต่ที่เป็นหลักที่ผู้ศรัทธาต้องเชื่อมั่นเป็นอันดับแรกนั้นมีอยู่ 6 ประการคือ รุก่นอีหม่าน 6 ประการ 1. ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ 2. ศรัทธาต่อมะลาอิกะฮฺ (เทวฑูตของอัลลอฮฺ) 3. ศรัทธาต่อคัมภีร์ของอัลลอฮฺ 4. ศรัทธาต่อบรรดารอซูล (ศาสนทูต) ของพระองค์ 5. ศรัทธาต่อกอฎอกอดัร (การก าหนดความดีและความชั่วของอัลลอฮฺ) 6. ศรัทธาต่อวันกิยามะฮฺ (กาลอวสานและวันฟื้นคืนชีพ) รุก่นข้อที่ 1 ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺมี 4 ประการด้วยกัน 1. การศรัทธาว่าอัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา มีจริง อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ได้ก าหนดความรู้สึกดั้งเดิมในสิ่งถูกสร้างทั้งหลายบนพื้นฐานของการ ศรัทธาต่อผู้สร้าง ดังที่อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ได้ตรัสว่า ِق ِهللا ْ ل َخل ب ِدي َل ِ ْ ََل » تَ ْْيَا َ َس عَل النَّا َ ِِت فَ َطر َّ َة ِهللا ال َ فِ ْطر ً يفا ِ ِن َحن دِلي ِ َْْج َك ل َ ْ و فَأَق « )الروم : 03ِ ) م ความว่า: ดังนั้น “เจ้าจงผินหน้าของเจ้าสู่ศาสนาที่เที่ยงแท้ ธรรมชาติของอัลลอฮฺซึ่งพระองค์ (นดยเป็น ) ...ทรงสร้างมนุษย์ขึ้นมา ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในการสร้างของอัลลอฮฺ”อัลรูม ๖ : 30) สติปัญญาได้บ่งชี้ให้เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ทั้งหมดมีผู้สร้าง และทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ทั้งที่เกิด ขึ้นมาก่อนและเกิดขึ้นตามมาภายหลัง แน่นอนล้วนจะต้องมีผู้สร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นมา และแน่นอนสิ่งต่างๆที่มีอยู่ เหล่านี้ไม่สามารถที่จะสร้างตัวมันขึ้นมาเอง และมันก็ไม่ได้เกิดขึ้นมานดยบังเอิญ ดังนั้นจึงเป็นที่ชัดเจนและ แน่นอนว่า สิ่งต่างๆที่มีอยู่เหล่านี้มีผู้สร้าง นั่นก็คือ อัลลอฮฺ พระเจ้าแห่งสากลจักรวาลนั่นเอง ดังที่พระองค์ได้ ตรัสว่า نُوَن ]الطور/ ُوقِ ْل ََل ي َ ْرَضۚ ب َ اْلْ َ ِت و ا َ او َ َّسم ُقوا ال َ ْم َخل .]03-03 أَ ความว่า : “หรือว่าพวกเขาถูกบังเกิดมานดยไม่มีผู้ให้บังเกิด หรือว่าพวกเขาเป็นผู้ให้บังเกิดตนเอง หรือ ว่าพวกเขาเป็นผู้สร้างชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินนี้ เปล่าเลย เพราะพวกเขาไม่เชื่อมั่นต่างหาก” (อัฏฏฏรฺ ) : 36 ความรู้สึกสัมผัสของเราก็เป็นหลักฐานแสดงถึงความมีอยู่จริงของอัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา เรา ได้ประจักษ์ถึงการเปลี่ยนแปลงของกลางวันและกลางคืน มนุษย์และสัตว์มีปัจจัยยังชีพ และการบริหารจัดการ ความเป็นอยู่ของสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย จากหลักฐานอายะห์อัลกุรอานที่แสดงว่าอัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 2 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา มีจริง พระองค์ได้ตรัสในอัลกุรอานว่า ۚ َ الََّّنَار َ َل و ْ ي َّ ُب ا ََُّّلل الل ِد ْ َص ي اِر ُقَل ب َ عِ ْْبًَة ُِْلوِِل اْلْ َ ِ َِل ل َّنِِف َذَٰ ِ ا ]النور/44.] ความว่า : “อัลลอฮฺทรงให้กลางคืนและกลางวันหมุนเวียนกลับไปมา แท้จริงในลักษณะเช่นนั้น แน่นอน มันเป็นข้อเตือนสติแก่ผู้มีสายตาพิจารณา” ( ฺอันนูร) : 44 และอัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ให้สัญลักษณ์และมุอฺญิซาตต่างๆ ที่เป็น (ความมหัศจรรย์ ) ถึงสถานะของพวก )ปรากฏการณ์เหนือธรรมชาติแก่บรรดานบีและเราะสูล อะลัยฮิมุสลาม เพื่อเป็นการยืนยัน ซึ่งได้ประจักษ์แก่มนุษย์ด้วยการมองเห็นหรือการได้ยินได้ฟั (เขาสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่นอกเหนือความสามารถ ของมนุษย์ อัลลอฮฺได้ช่วยเหลือบรรดาเราะสูลของพระองค์และยืนยันด้วยสิ่งต่างๆ (ถึงสถานะของพวกเขา ) เหล่านี้ และสิ่งต่างๆเหล่านี้ก็เป็นหลักฐานที่หนักแน่นที่แสดงถึงการมีอยู่จริงของผู้ที่ส่งพวกเขามา นั่นก็คือ อัลลอฮฺ ผ ู้สูงส่ง นั่นเอง ดังตัวอย่างเช่น อัลลอฮฺได้ท าให้ไฟที่ลุกนชนได้เย็นลงและสามารถให้ความปลอดภัยแก่น บีอิบรอฮีม อะลัยฮิสลาม และอัลลอฮฺได้แยกทะเลแดงให้แก่นบีมูซา อะลัยฮิ (ให้เป็นเส้นทางในการเดินทาง ) เพื่อ)สลามและอัลลอฮฺได้ให้ผู้ที่เสียชีวิตแล้วได้ฟื้นคืนชีพอีกครั้งเป็นมุอฺญิซะฮฺ เครื่องหมายแห่งความมหัศจรรย์( ละได้ผ่าดวงจันทร์ออกเป็นสองซีกให้แก่นบีมูหัมหมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม แก่นบีมูซา อะลัยฮิสลามแ เป็นต้น และไม่รู้เท่าไรแล้วที่อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลาได้ตอบรับดุอาอ์จากบรรดาผู้ที่ขอ และได้ให้แก่ผู้ที่ ร้องขอ และได้ช่วยเหลือปลดเปลื้องความทุกข์แก่ผู้ที่ตกทุกข์ได้ยาก สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นเครื่องยืนยันนดยไม่ คลางแคลงใจถึงการมีอยู่จริงของอัลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา และความรอบรู้และความสามารถของพระองค์ 1. อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ตรัสว่า َل َ م ْ َن ال ٍْف مِ ِبأَل دُكُْ َ ُ ُْك َأ دّن ِ ُمِمُّ ْ تَ َجا َب ل ُ ُْك فَاس َّ ب َ يثُوَن ر ْ تَغِ ْذ تَس ِ َن ]ا نْل ا ففا / ْرِِفِ ُم ََِِ ِ ِئ 9.] ความว่า : “จงร าลึกขณะที่พวกเจ้าขอความช่วยเหลือยามคับขันต่อพระเจ้าของพวกเจ้า แล้วพระองค์ ก็ได้ทรงรับสนองแก่พวกเจ้าว่า แท้จริงข้าจะช่วยพวกเจ้าด้วยมลาอิกะฮฺหนึ่งพันตน นดยทยอยกันลงมา”อัล ) อันฟาล: 9 ( 2. และอัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ได้ตรัสว่า َن ِِحِ ا َّ الر ُ ْرَحم َأفْ َت َأ َ و ُّضُّ ال ُّ َّ ِِنَ َُّه َأ دّن ِ َمس ب َ ْذ ََنَِ ٰى ر ِ و َب ا ُّ َأي َ ْ و َمَعهُم ْ هُم َ ثْل مِ َ ُه َأ ْهََلُ و أ تَيْنَا َ ْن ُضدٍۖ و مِ ََلُ فَ َََشْفنَا َما ِبهِ َا ن ْ ْ تَ َجب فَاس َع ْ ل ِ ٰى ل َ ِذكْر َ ْن ِعْن ِدََن و َِْحًِ مِ َ َن ]ا نْلفبياء/30-34.] ِدي ر اِب ความว่า : “และจงระลึกถึงเรื่องราวของอัยยูบเมื่อเขาได้ร้องเรียนพระเจ้าของเขาว่า แท้จริงข้า พระองค์นั้น ความทุกข์ยากได้ประสบแก่ข้าพระองค์ และพระองค์เท่านั้นเป็นผู้ทรงที่เมตตาที่สุดในหมู่ผู้เมตตา ทั้งหลาย ดังนั้น เราได้ตอบรับการร้องเรียนของเขา แล้วเราได้ปลดเปลื้องสิ่งที่เป็นความทุกข์ยากแก่เขา และ เราได้ให้ครอบครัวของเขาแก่เขา และเช่นเดียวกับที่เขาเคยมีมาก่อน เป็นความ (เช่นบุตรหลานและพวกพ้อง ) เมตาจากเรา และเป็นข้อตักเตือนแก่บรรดาผู้ที่เคารพภักดี” (อัลอัมบิยาอ์: 83-84 ) หุก่มชะรีอะห์ ก็เป็นหลักฐานได้ว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา มีจริง (บทบัญญัติต่างๆ ในศาสนา) หุก่มต่างๆที่ก าหนดขึ้นมาเพื่อเป็นประนยชน์แก่มวลมนุษย์ทั้งหลายที่อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ ประทานลงมาในคัมภีร์ต่างๆของพระองค์ให้แก่บรรดานบีและเราะสูล อะลัยฮิมุสสะลาม เป็นหลักฐานแสดงถึง ว่า หุก่มต่างๆเหล่านี้มาจากพระเจ้าผู้ทรงปรีชาญานและทรงเดชานุภาพเหนือสิ่งอื่นใด ผู้รอบรู้ถึงความต้องการ ของมนุษย์ 2. การศรัทธาว่าอัลลอฮฺเป็นพระเจ้าแต่เพียงผู้เดียวโดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆส าหรับพระองค์ พระเจ้าคือผู้ทรงสร้าง ผู้ทรงปกครองและบริหารกิจการต่างๆ ดังนั้นจึงไม่มีผู้ทรงสร้างผู้ใดนอกจาก อัลลอฮฺ ไม่มีผู้ทรงปกครองผู้ใดนอกจากอัลลอฮฺ และทรงบริหารสิ่งต่างๆทุกอย่าง สิ่งถูกสร้างต่างๆ เป็น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 3 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา กรรมสิทธิ์ของพระองค์ การปกครองต่างๆเป็นของพระองค์ การสั่งการต่างๆเป็นของพระองค์ พระองค์ผู้ทรง เดชานุภาพ และผู้ทรงเมตตา พระองค์ผู้ทรงมั่งมีและผู้ทรงอ่อนนยน พระองค์เป็นผู้ทรงเมตตาแก่ผู้ที่ร้องขอ ความเมตตาธรรม พระองค์ผู้ทรงให้อภัยแก่ผู้ที่ขออภัยนทษ พระองค์เป็นผู้ทรงให้แก่ผู้ที่ร้องขอ พระองค์ทรง ตอบรับแก่ผู้ที่ดุอาอ์ พระองค์ผู้มีชีวิตผู้ด ารงนดยพระองค์เอง พระองค์ผู้ที่ความหลับใหลและอาการง่วงนอนไม่ เยื่องกรายเข้ามาหาพระองค์ 1. อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ได้ตรัสว่า َِم َن َعال ْ ب ال ُّ َ َك ا ََُّّلل ر َ ار َ ُ ۗ تَب ْمر َ اْلْ َ ُق و ْ َخل ْ ََل ََلُ ال َأ ]ا نْلعراف/34.] ความว่า : “พึงรู้เถิดว่า การสร้างและกิจการทั้งหลายนั้นเป็นสิทธิของพระองค์เท่านั้น มหาบริสุทธิ์ อัลลอฮฺผู้เป็นพระเจ้าแห่งสากลนลก” อัลอะอฺรอฟ : 54 2. และอัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ตรัสอีกว่า ٌر قَ ِدي ُكِد ََشْ ءٍ ََلٰ عَ َ ُهو َ ِْيَّنۚ و َ َما فِ ْرِض و َ اْلْ َ ِت و ا َ او َ َّسم ْْلُ ال ُم ِ َِّللَّ ]املائدة/ 023.] ความว่า : อ านาจแห่งบรรดาชั้นฟ้าและแผ่นดิน และสิ่งที่อยู่ในบรรดาชั้นฟ้าและแผ่นดินนั้นเป็นสิทธิ์ ของอัลลอฮฺทั้งสิ้น และพระองค์ทรงเดชานุภาพเหนือทุกสิ่งทุกอย่าง” (อัลมาอิดะฮฺ : 120 ) เราจึงรู้และศรัทธาอย่างมั่นใจว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา เป็นผู้สร้างสรรค์สิ่งถูกสร้างทั้งหลาย ผู้ให้บังเกิดทุกสิ่งทุกอย่าง พระองค์ได้ทรงสร้างแผ่นดินและชั้นฟ้า พระองค์ได้ให้ก าเนิดดวงอาทิตย์และดวง จันทร์ พระองค์ได้ให้มีกลางวันและกลางคืน น้ าและต้นไม้ มนุษย์และสิ่งสาราสัตว์ ภูเขาและมหาสมุทร พระองค์ได้ตรัสว่า ا ]الفرقان/ ً َُه تَْق ِدير فَقَ َّدر َق ُ َّك ََشْ ءٍ َ َخل َ و 2.] ความว่า : “และพระองค์ทรงให้บังเกิดทุกสิ่ง แล้วทรงก าหนดมันให้เป็นไปตามกฎสภาวะ” ( อัลฟุร ฺกอน: 2 ) อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ทรงสร้างทุกสิ่งทุกอย่างด้วยเดชานุภาพของพระองค์ นดยไม่มีผู้ช่วย และไม่มีผู้ให้ความเห็นใดๆทั้งสิ้น พระองค์ผู้สูงส่งจากสิ่งต่างๆเหล่านี้ พระองค์ผู้ทรงเอกะ ผู้ทรงมีพลานุภาพ เหนือทุกสิ่ง พระองค์ผู้ทรงประทับอยู่เหนือบัลลังค์ (العرش ( ด้วยเดชานุภาพของพระองค์ พระองค์ผู้ทรงแผ่ผืน แผ่นดินให้ออกกว้างด้วยความประสงค์ของพระองค์ พระองค์ได้สร้างมนุษย์ด้วยความประสงค์ของพระองค์ พระองค์มีอ านาจเหนือปวงบ่าวทั้งหลายด้วยเดชานุภาพของพระองค์ พระองค์คือพระเจ้าทั้งทางด้านตะวันตก และตะวันออก ไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่แท้จริงนอกจากพระองค์ ผู้ทรงมีชีวิตและทรงด ารงตนนดยพระองค์เอง เรารู้และเชื่ออย่างมั่นใจอีกว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา พระองค์ผู้ทรงเดชานุภาพในทุกสิ่งทุก อย่าง พระองค์ผู้ครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง พระองค์เป็นผู้ปกครองและบริหารในทุกสิ่งทุกอย่าง พระองค์รอบรู้ ในทุกสิ่งทุกอย่าง พระองค์มีอ านาจเหนือทุกสิ่งทุกอย่าง ทุกผู้ทุกนามยอมนอบน้อมถ่อมตนต่อความยิ่งใหญ่ของ พระองค์ ทุกแส้เสียงยอมอ่อมน้อมถึงความอหังการของพระองค์ ผู้พยศทุกนามยอมถ่อมตัวต่อมหาอ านาจของ พระองค์ พระองค์คือผู้ที่ทุกสายตาไม่สามารถมองเห็น แต่พระองค์สามารถรู้และมองเห็นทุกสายตา พระองค์ผู้ ละเอียดรอบคอบ ผู้ทรงรอบรู้ พระองค์ท าทุกสิ่งทุกอย่างที่พระองค์ต้องการ และพระองค์ตัดสินในสิ่งที่พระองค์ ประสงค์ พระองค์ได้ตรัสว่า َُوُن ]يس/ َ ْن فَي ُقوَ ََلُ كُ َ ْن ي ا َِ َشيْئًا َأ َ َذا َأر ِ ُ ُه ا ا َأْمر َ فَّم ِ ا 32.] ความว่า : “แท้จริงพระบัญชาของพระองค์ เมื่อทรงประสงค์สิ่งใด พระองค์ก็จะตรัสแก่มันว่า จงเป็น แล้วมันก็จะเป็นขึ้นมา” (ยาสีน : 82 ) พระองค์ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ทรงรอบรู้ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในชั้นฟ้าและทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในผืน


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 4 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา แผ่นดิน พระองค์ผู้ทรงรอบรู้ในสิ่งเร้นลับและสิ่งที่มองเห็น ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ทรงรอบรู้ถึงน้ าหนักของภูเขา ผู้ทรงรอบ รู้ปริมาณของน้ าในมหาสมุทร ผู้ทรงรอบรู้จ านวนเม็ดฝน ผู้ทรงรอบรู้จ านวนใบของต้นไม้ทั้งหมดและจ านวน เม็ดดินทุกเม็ด และพระองค์ทรงรอบรู้ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในความมืดของกลางคืนและทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ที่ สว่างของกลางวัน พระองค์ได้ตรัสถึงความรอบรู้ของพระองค์ในสิ่งเหล่านี้ว่า َ ْعََلُ ي َ ۚ و َ ََّل ُهو ِ ُهَا ا م َ َ ْعل ِب ََل ي ْ غَي ْ ُح ال ِ ِعْنَدُه َمَفات َ و ا ِت َ م ُ ِِف ُظل ٍَِّ ََل َحب َ ُهَا و م َ َ ْعل ََّل ي ِ ا َقٍِ َ َ ر ْن و ْسُقطُ مِ َ َما تَ َ ْحِرۚ و ب ْ ال َ َْبدِ و ْ َما ِِف ال تَا ٍب ُمِب ٍن ََّل ِِف كِ ِ ََل ََيِب ٍس ا َ ْط ٍب و َ ََل ر َ ْرِض و َ ]ا 39 .]نْل اْل فعام/ ْ ความว่า : “และที่พระองค์นั้นมีบรรดากุญแจแห่งความเร้นลับนดยที่ไม่มีใครรู้กุญแจเหล่านั้นนอกจาก พระองค์เท่านั้น และพระองค์ทรงรู้สิ่งที่อยู่ในแผ่นดินและในทะเล และไม่มีใบไม้ใดร่วงหล่นมา นอกจาก พระองค์จะทรงรู้มัน และไม่มีเมล็ดพืชใด ซึ่งอยู่ในบรรดาความมืดของแผ่นดิน และไม่มีสิ่งที่อ่อนนุ่มใด และสิ่ง ที่แห้งใด นอกจากจะอยู่ในบันทึกอันชัดแจ้ง (อัลอันอาม:59) เรารู้และเชื่อศรัทธาอย่างไม่คลางแคลงใจอีกว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา อยู่ในกิจการทุกวัน เวลา ไม่มีสิ่งใดที่ซ่อนเร้นจากพระองค์ในผืนแผ่นดินและชั้นฟ้า ผู้บริหารจัดการในทุกสิ่ง ผู้ให้บังเกิดลม ผู้ที่ส่ง เม็ดฝนลงมา ผู้ทรงให้ชีวิตแก่ผืนดินหลังจากที่ได้ตายมาแล้ว พระองค์ทรงให้เกียรติและอ านาจแก่ผู้ที่พระองค์ ทรงประสงค์ และทรงให้ความต่ าต้อยแก่ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ พระองค์เป็นผู้ให้และผู้สั่งห้าม พระองค์เป็น ผู้ลดระดับชั้นและยกระดับ พระองค์ได้กล่าวว่า ا َ ُ و ِهر ال َّظا َ ُ و اْلْ ِخر َ ُ و َّ َو اْلْ ُهو ٌي َ ِ عَل ِب ُكِد ََشْ ءٍ َ ُهو َ ا ِطُنۖ و َ ب ْ ل ]احلديد/0.] ความว่า : “พระองค์ทรงเป็นองค์แรกและองค์สุดท้ายและทรงเปิดเผยและทรงเร้นลับ และพระองค์ ทรงเป็นผู้รอบรู้ทุกสิ่งทุกอย่าง” (อัลหะดีด : 3 ) เรารู้และศรัทธาอย่างไม่คลางแคลงใจอีกว่า คลังแห่งชั้นฟากฟ้าและแผ่นดินทั้งหมดและทุกสิ่งทุกอย่าง ที่มีทั้งหมดเป็นของอัลลอฮฺ คลังของทุกสิ่งมีอยู่ ณ อัลลอฮฺ คลังแห่งน้ า คลังแห่งพืชไม้ คลังแห่งลม คลังแห่ง วัตถุดิบต่างๆ คลังแห่งความปลอดภัยจากนรคภัยไข้เจ็บ คลังแห่งความสงบสุขและความปลอดภัยทั้งมวล คลัง แห่งนิอฺมะฮฺและปัจจัยยังชีพทั้งหลาย คลังแห่งความทุกข์นศกและการลงนทษ คลังแห่งความเมตตาธรรม ทั้งหลาย คลังแห่งทางน า คลังแห่งความแข็งแรงและอ านาจต่างๆ คลังแห่งเกียรติ คลังเหล่านี้และทุกสิ่งทุก อย่างมีอยู่ ณ อัลลอฮฺและในพระหัตถ์ของพระองค์ อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ตรัสว่า ْن ََشْ ءٍ ْن مِ ِ ا َ ٍ و ُوم ََّلِبقَ َدٍر َمْعل ِ َُلُ ا َ َما فَُندِ ُنُه و ِ ََّل ِعْنَدََن َخَزائ ِ ا ]احلجر /20.] ความว่า : “และไม่มีสิ่งใด เว้นแต่ที่เรานั้นมีคลังของมัน และเราจะไม่ให้มันลงมานอกจากตามสภาวะ ที่ได้ถูกก าหนดไว้แล้ว ( ฺอัลหิจญ์ร : 21 ) เมื่อเราทราบและเราศรัทธาในเดชานุภาพ ความยิ่งใหญ่ พลังอ านาจ ความสูงส่ง ความรอบรู้ คลัง ของทุกสิ่งทุกอย่าง ความเมตตา และความเอกะของอัลลอฮฺ จิตใจของเราจึงมุ่งไปหาพระองค์ น้อมรับอย่างเต็ม อกที่จะกราบไหว้พระองค์ ถวายกายและอวัยวะต่างๆเพื่อการภักดีต่อพระองค์ เปิดปากกล่าวสรรเสริญถึงความ ยิ่งใหญ่ ความบริสุทธิ์และเกียรติของพระองค์ ดังนั้นเราจะไม่ขอพรและขอความช่วยเหลือใดๆนอกจากกับ พระองค์ เราจะไม่ฝากความไว้วางใจนอกจากกับพระองค์ เราจะไม่เกรงกลัวสิ่งอื่นใดๆนอกจากพระองค์ และ เราจะไม่กราบไหว้สิ่งใดๆนอกจากพระองค์เท่านั้น พระองค์ได้ตรัสว่า ِ ُُُك ا ََُّّلل ل ي ٌل ]ا نْلفعا َذ م / َٰ َكِ ُكِد ََشْ ءٍ و ََلٰ عَ َ ُهو َ ُدوُهۚ و ُ فَا ْعب ُق ُكِد ََشْ ءٍ ِ َۖ َخال ََّل ُهو ِ َه ا َٰ َ ل ِ ُ ُْكۖ ََل ا ُّ ب َ ر 032.] ความว่า : “นั่นแหละคืออัลลอฮฺ ผู้เป็นพระเจ้าของพวกเจ้า ไม่มีผู้ควรได้รับการเคารพสักการะ นอกจากพระองค์ผู้ทรงบังเกิดทุกสิ่งทุกอย่างเท่านั้น พวกเจ้าทรงเคารพสักการะพระองค์เถิด และพระองค์ทรง เป็นผู้รับมอบหมายให้คุ้มครองรักษาในทุกสิ่งทุกอย่าง” ( อัลอันอาม: 102)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 5 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 3. การศรัทธาถึงความเป็นพระเจ้าของอัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ที่มีคุณสมบัติที่ควรแก่การกราบไหว้ เรารู้และเชื่ออย่างมั่นใจอีกว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ผู้เดียวคือ พระเจ้าที่มีคุณสมบัติที่ควร แก่การกราบไหว้อย่างแท้จริงนดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆส าหรับพระองค์ และพระองค์ผู้เดียวเท่านั้นที่สมควรถวาย การอิบาดะฮฺ พระองค์ผู้เดียวเท่านั้นคือพระเจ้าผู้ทรงสร้าง ผู้ทรงบริหารปกครอง และดูแลแห่งสากลจักรวาล และพระองค์ผู้เดียวเท่านั้นคือพระเจ้าแห่งสากลจักรวาลที่คู่ควรแก่การกราบไหว้ เราจะถวายการอิบาดะฮฺและ เคารพภักดีพระองค์ตามที่พระองค์ได้ทรงใช้ พร้อมด้วยความนอบน้อมถ่อมตน ความรัก และให้การสรรเสริญ ถึงความยิ่งใหญ่แก่พระองค์อย่างสิ้นเชิง เรารู้และศรัทธามั่นอีกว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา เป็นผู้เดียวที่ทรงมีคุณสมบัติของพระเจ้าที่ เป็นผู้ทรงสร้าง ผู้ทรงบริหารปกครองและดูแลนดยไม่มีภาคีใดๆส าหรับพระองค์ เช่นเดียวกัน พระองค์ก็ทรงมี คุณสมบัติของพระเจ้าที่คู่ควรแก่การกราบไหว้แต่เพียงผู้เดียวนดยไม่มีภาคีใดๆด้วยเช่นกัน ดังนั้นเราจึงจะกราบ ไหว้พระองค์แต่เพียงผู้เดียวนดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆส าหรับพระองค์ และเราจะหลีกห่างจากการถวายการอิบา ดะฮฺสิ่งอื่นใดที่นอกเหนือ จากพระองค์ อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา ได้ตรัสว่า َّ الر َ ََّل ُهو ِ َه ا َٰ َ ل ِ ِحٌدۖ ََل ا ا َ ٌه و َٰ َ ل ِ ُ ُْك ا هُ َٰ َ ل ِ ا َّ و ِح ُي َ َٰ ُن الر َِْح ]البقرة/030.] ความว่า : “และผู้ควรแก่การเคารพสักการะของพวกเจ้านั้น มีเพียงองค์เดียว ไม่มีผู้ควรแก่การเคารพ สักการะใดๆ นอกจากพระองค์ ผู้ทรงกรุณาปรานี ผู้ทรงเมตตาเสมอเท่านั้น " ( อัลบะเกาะเราะฮฺ: 163 ) สิ่งสักการะบูชาใดๆที่นอกเหนือจากพระองค์จึงเป็นพระเจ้าจอมปลอม และการกราบไหว้บูชาแก่สิ่ง เหล่านี้จึงเป็นการกราบไหว้จอมปลอม อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ตรัสว่า ََ ْ ال َعِِلُّ ْ ال َ َّن ا َََّّلل ُهو َأ َ ا ِط ُل و َ ب ْ ال َ ُهو ِهِ ْن ُِوف ْدُعوَن مِ َ َّن َما ي َأ َ ق و َحُّ ْ ال َ َّن ا َََّّلل ُهو ِ َِلِبأَ ِب ُر ]احلج/32َ .]ذَٰ ความว่า : “เช่นนั้นแหละ เพราะว่าอัลลอฮฺ คือผู้ทรงสัจจะ และแท้จริงสิ่งที่พวกเขาวิงวอนขออื่นจาก พระองค์นั้นมันเป็นเท็จ และแท้จริงอัลลอฮฺพระองค์เป็นผู้สูงส่ง ผู้ทรงยิ่งใหญ่” (อัลหัจญ์ : 62 ) 4.ศรัทธาในพระนามอันงดงามและคุณสมบัติอันสูงส่งของอัลลอฮฺ การศรัทธาในพระนามอันงดงามและคุณสมบัติอันสูงส่งของอัลลอฮฺ หมายถึง การเข้าใจ จดจ าและ ยอมรับในนามและคุณสมบัติของอัลลอฮฺ และการเคารพกราบไหว้อัลลอฮฺด้วยคุณสมบัติดังกล่าว รวมถึงการ ปฏิบัติในความหมายของพระนามและคุณสมบัติของอัลลอฮฺดังกล่าวนี้ด้วย ดังนั้นการรับรู้ถึงคุณสมบัติความ ยิ่งใหญ่ ความอหังการที่เหนือสิ่งอื่นใดท าให้จิตใจของมนุษย์รับรู้ถึงความยิ่งใหญ่และเดชานุภาพของอัลลอฮฺ การรับรู้ถึงคุณสมบัติของความยิ่งใหญ่ ความสามารถ และบารมีที่กว้างขวางของอัลลอฮฺ ท าให้จิตใจของมนุษย์ รู้ถึงความต่ าต้อยของตนเอง และนอบน้อมถ่อมตนต่อหน้าพระพักต์ของพระผู้เป็นเจ้า การรับรู้ถึงความเมตตาปรานี ความอารี และความพระทัยกว้างของอัลลอฮฺ ท าให้จิตใจถวิลหาและ ต้องการความนปรดปราน ความอารีของพระองค์ การรับรู้ถึงความรอบรู้ของอัลลอฮฺท าให้บ่าวเกิดการไตร่ตรองในทุกการงานและการกระท าของตนเอง ในทุกย่างก้าว คุณสมบัติทั้งหมดเหล่านี้ได้ท าให้บ่าวมีความรักต่อพระองค์ ต้องการไปสู่พระองค์มุ่งหน้าไปหาพระองค์ ยอมถวายความไว้วางใจแด่พระองค์ และยอมเข้าใกล้พระองค์ด้วยการเคารพภักดีและกราบไหว้พระองค์แต่ เพียงผู้เดียวนดยที่ไม่มีการตั้งภาคีใดๆต่อพระองค์ เรายอมรับในพระนามและคุณสมบัติของอัลลอฮฺในสิ่งที่พระองค์ได้ยอมรับนดยพระองค์เองและยอมรับ นดยเราะสูลของพระองค์ เราศรัทธาในพระนามและคุณสมบัติเหล่านี้และเราศรัทธาในความหมายที่อยู่ใน ขอบข่ายและผลที่เกิดจากพระนามและคุณสมบัติดังกล่าว เราศรัทธาว่าอัลลอฮฺมีพระนามว่า เราะหีม (رحي(


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 6 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ถซึ่งหมาย ึง ผู้ที่มีความเมตตาปรานี และเราศรัทธาในผลที่เกิดจากชื่อดังกล่าวนี้ เช่นประนยคที่กล่าวว่า يرمح نأفه يشاء من ซึ่งหมายถึง พระองค์เป็นผู้ที่มีความเมตตาปรานีแก่ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และเราเชื่อและศรัทธาเช่นนี้กับบรรดาพระนามทั้งหมด เรายอมรับในพระนามและคุณสมบัติต่างๆที่ เหมาะสมและคู่ควรกับสถานะที่สูงส่งของพระองค์นดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือลดหย่อน หรือแสดงให้เห็นรูป ในมนนภาพ หรือเทียบเคียงเสมอเหมือนกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเหล่านี้ตั้งอยู่บนค าชี้แจงของพระองค์ที่พระองค์ได้ อธิบายในค าตรัสของพระองค์ว่า ثْ ِ َس َكَ يْ ِص ل ُر َ َ ب ْ ُع ال َّسِمي ال َ ُهو َ ٌۖ و ََشْ ء ]ا 00َِ .]ل لشورى/ ِ ความว่า : “ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือนพระองค์และพระองค์เป็นผู้ทรงได้ยิน ผู้ทรงเห็น” (อัชชูรอ : 11 ) เรารู้และศรัทธามั่นอีกว่า อัลลอฮฺ สุบหานาฮุ วะตะอาลา แต่เพียงผู้เดียวที่มีพระนามที่งดงามและ คุณสมบัติที่สูงส่ง และเราก็จะขอพรจากพระนามและคุณสมบัติของพระองค์เหล่านี้ 1. อัลลอฮฺ สุบหานาฮู วะตะอาลา ได้ตรัสว่า ُ ْجَزْوَن َما ََكفُ َ ي ۚ س ِهِ ْ ِحُدوَنِِف َأ ْْسَائ ُل َن ي ي ََّّلِ ُروا ا َذ َ فَا ُِْعوُه ِِبَاۖ و ََنٰ ْ ُحس ْ ال ُ َ ْْسَاء اْلْ ِ َِّللَّ و وَن َ ُ ل َ َْعم وا ي ]ا نْلعراف/033.] ความว่า : “และอัลลอฮฺนั้นมีบรรดาพระนามอันสวยงาม ดังนั้นพวกเจ้าจงเรียกหาพระองค์ด้วยพระ นามเหล่านั้นเถิด และจงปล่อยบรรดาผู้ที่ท าเฉในบรรดาพระนามของพระองค์เถิด พวกเขาจะถูกตอบแทนใน สิ่งที่พวกเขากระท า” ( อัลอะอฺรอฟ: 180) 2. จากท่านอบูฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ (ได้กล่าวว่า ) กล่าวว่า َِ ْحَصا َها َِ َخ َل اجلَنَّ ا، َم ْن َأ ِحدً َ » ا ََّل و ائًَِ ا ، مِ ْسامً ْنَ ا ْسعِ ِ ت َ ْسَعًِ و ِ ا «. متفق عليه نأخرجه البخاري برمق )2092 ،)دن هلل ت ومسَل برمق )2322 ) ความว่า : “แท้จริงแล้ว ส าหรับอัลลอฮฺมีเก้าสิบเก้าพระนามด้วยกัน จากหนึ่งร้อยยกเว้นเพียงแค่หนึ่ง ใครก็ตามที่คิดค านวณในพระนามดังกล่าวนี้ แน่นอนเขาผู้นั้นจะได้เข้าสวรรค์” ( บันทึกนดยอัลบุคอรีย์ : 7392, และมุสลิม : 2677 ) รุก่นข้อที่ 2 ศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺ การศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺคือ การเชื่ออย่างแน่วแน่และสัตย์จริงว่าอัลลอฮฺมีบรรดาบริวารที่เป็นมลาอิ กะฮฺจริง และเชื่อในชื่อของบรรดามลาอิกะฮฺที่อัลลอฮฺได้ทรงบอกชื่อ อาทิเช่น ญิบรีล เป็นต้น และเราเชื่อต่อ บรรดามลาอิกะฮฺที่เราไม่รู้จักชื่อนดยที่เราศรัทธาในภาพรวม รวมทั้งศรัทธาในคุณลักษณะและการงานของ พวกเขาตามที่เราได้รับรู้ - มลาอิกะฮฺในแง่ของสถานะ บรรดามลาอิกะฮฺเป็นบ่าวของอัลลอฮฺที่มีเกียรติยิ่ง พวกเขาเป็นบ่าวที่ยืนหยัดในการท าอิบาดะฮฺตลอด และสม่ าเสมอ พวกเขาหาได้มีคุณสมบัติของความเป็นพระเจ้าที่เป็นผู้สร้าง ผู้ดูแล และผู้รับผิดชอบจักรวาล ไม่ และพวกเขาก็หาได้มีคุณสมบัติของความเป็นพระเจ้าที่สมควรแก่การกราบไหว้แต่อย่างใด พวกเขาเป็นผู้ที่ ถูกสร้างที่มนุษย์ไม่สามารถมองเห็นได้ อัลลอฮฺได้สร้างพวกเขามาด้วยนูรฺ (รัศมี) - มลาอิกะฮฺในแง่ของการท าหน้าที่และงาน บรรดามลาอิกะฮฺเป็นบ่าวที่ปฏิบัติอิบาดะฮฺ (เคารพภักดี) และกล่าวตัสบีหฺ(แซ่ซ้องสดุดี) ต่ออัลลอฮฺ สม่ าเสมอ ดังที่อัลลอฮฺได้ตรัสว่า :


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 7 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َُل ِت َ» َ َ و َم ْن ِِف ا او َ َّسم ْرِض ال َ اْلْ َْ و ِعْنَدُه َل ُِْبوَن َ و َم ْن َ ْ تَ َع ْن يَس هِ ِ اَِت َ َل ِعب ُحوَن َ ُِسوَن. ِ ْس تَ ْحِ د و يَ ب يُس َل َ ْ ي َّ الل َ الََّّنَار و َل َ ْفُتُ َ وَن« ي ความว่า “และย่อมเป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์ซึ่งผู้ที่อยู่ในชั้นฟ้าและแผ่นดินและผู้ที่อยู่ ณ พระองค์ (นั่นคือบรราดามลาอิกะฮฺ) พวกเขาจะไม่ล าพองตนในการเคารพภักดีพระองค์ และพวกเขาจะไม่ เหนื่อยหน่าย พวกเขาจะแซ่ซ้องสดุดีพระองค์ในเวลากลางคืนและกลางวันนดยไม่ขาดระยะ” (อัล-อัมบิยาอ์: 19–20) - บรรดามลาอิกะฮฺในแง่การเชื่อฟังอัลลอฮฺ อัลลอฮฺได้ประทานให้บรรดามลาอิกะฮฺมีความจงรักภักดีต่อค าบัญชาของพระองค์อย่างสิ้นเชิง และได้ประทานให้พวกเขามีก าลังความสามารถในการปฏิบัติการงานตามที่พระองค์ได้มีบัญชา พวกเขาถูก ก าหนดให้มีความจงรักภักดีและเชื่อฟังต่อพระองค์ ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า ْه َْعُصوَن ا َََّّلل َما ُ َ »َل ي َمر ُوَن َأ َعل ْف َ ي ُ و َما وَن َ ي « ُ ْؤَمر ความว่า “...พวกเขาจะไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺในสิ่งที่พระองค์ทรงบัญชาแก่พวกเขา และพวกเขาจะปฏิบัติ ตามที่ถูกบัญชา” (อัต-ตะหฺรีม : 6) - จ านวนของมลาอิกะฮฺ มลาอิกะฮฺมีจ านวนมากมายมหาศาล จ านวนดังกล่าวนี้ไม่สามารถนับได้นอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น ในบรรดามลาอิกะฮฺมีหน้าที่แตกต่างกันไป บางส่วนมีหน้าที่คอยแบกและค้ าบัลลังก์ของอัลลอฮฺบางส่วนมี หน้าที่เฝ้าดูแลสวนสวรรค์ บางส่วนมีหน้าที่เฝ้านรก บางส่วนมีหน้าที่ปกปักษ์รักษามนุษย์บางส่วนมีหน้าที่คอย จดบันทึกบ้างและมีหน้าที่อื่นๆ และในบรรดามลาอิกะฮฺอีกบางส่วนมีหน้าที่ละหมาดในบัยตุลมะอฺมูรฺในทุกๆ วัน จ านวนถึงเจ็ดหมื่นมลาอิกะฮฺ และเมื่อพวกเขาได้ออกมาจากบัยตุล มะอฺมูรฺ พวกเขาจะไม่ย้อนกลับมาอีก เลยซึ่งจะเป็นครั้งเดียวและครั้งสุดท้ายที่จะได้อยู่ในนั้น ตามรายงานในหะดีษอัล-มิอฺรอจญ์ (การเดินทางของ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม จากมัสยิดอัล-อักศอไปยังฟากฟ้า) เมื่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้มาถึง ณ ฟ้าชั้นเจ็ด หะดีษดังกล่าวมีว่า : »... فرفع ِل البيت املعمور فسأنلت اجلْبيل فقا : هذا البيت املعمور يصِل فيه ك يوم س بعون نألف مْل اذا خرجوا مل يعوِوا اليه أ خر ما علْيم« متفق عليه ความว่า “...เมื่อฉันได้ขึ้นมาถึงบัยตุล มะอฺมูรฺ ฉันก็ได้ถามญิบรีลเกี่ยวกับบัยตุล มะอฺมูรฺ ญิบรีลได้ตอบว่า ’ นี่คือบัยตุล มะอฺมูรฺ ที่มีเหล่าบรรดามลาอิกะฮฺมาท าการละหมาดทุกๆ วัน วันละเจ็ดหมื่นมลาอิกะฮฺ เมื่อ บรรดามลาอิกะฮฺเหล่านี้ได้ออกมาจากบัยตุล มะอฺมูรฺนี้แล้ว พวกเขาจะไม่หวนกลับไปยังบัยตุล มะอฺมูรฺอีกเลย ซึ่งเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้ายส าหรับพวกเขา’ ” (รายงานนดยอัล-บุคอรีย์:3207และมุสลิม : 162) - ชื่อและการงานของบรรดามลาอิกะฮฺ มลาอิกะฮฺเป็นบ่าวที่มีเกียรติ อัลลอฮฺได้ทรงสร้างพวกเขาเพื่อให้จงรักภักดี เชื่อฟัง และเคารพ ภักดีต่อพระองค์ ในบรรดาเหล่ามลาอิกะฮฺมีที่พระองค์ได้ทรงบอกชื่อและการงานต่างๆ ให้เราได้รับรู้ อีก บางส่วนพระองค์ไม่ได้บอกให้เรารู้นดยพระองค์ได้สงวนไว้เฉพาะในความรอบรู้ของพระองค์เท่านั้น ส่วน บรรดามลาอิกะฮฺที่พระองค์ได้มอบหมายการงานให้ปฏิบัติมีดังต่อไปนี้:


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 8 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 1. มลาอิกะฮฺ ญิบรีล อะลัยฮิสสลาม มีหน้าที่น าวะห์ยู(วิวรณ์แห่งอัลลอฮฺแก่บรรดานบีและ เราะสูลทั้งหลาย 2. มลาอิกะฮฺ มีกาอีล มีหน้าที่ก ากับดูแลเม็ดฝนและพืชพรรณต่างๆ 3. มลาอิกะฮฺ อิสรอฟีล มีหน้าที่เป่า อัศ-ศูรฺ (แตร) พวกเขาเหล่านี้เป็นมลาอิกะฮฺที่ยิ่งใหญ่ที่สุด มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับสาเหตุแห่งชีวิต นั่นคือ ญิบรีล เป็นผู้น าวะห์ยูอันเป็นเหตุแห่งการมีชีวิตของจิตใจ มิกาอีลนั้นดูแลเม็ดฝนซึ่งเป็นสาเหตุแห่งการมีชีวิตของ พื้นดินหลังจากที่มันเป็นซากแห้งกรัง ส่วนอิสรอฟีลคือผู้ดูแลการเป่าแตร อัศ-ศูรฺ ซึ่งเป็นเหตุแห่งการฟื้นคืนชีพ อีกครั้งของร่างมนุษย์หลังจากที่ได้ตายไปแล้ว 4. มลาอิกะฮฺ มาลิก คอซินุนนารฺ มีหน้าที่คอยดูแลนรก 5. มลาอิกะฮฺ ริฎวาน คอซินุลญันนะฮฺ มีหน้าที่คอยดูแลสวนสวรรค์ ยังมีมลาอิกะฮฺ มะละกุลเมาต์ มีหน้าที่คอยรับวิญญาณผู้ที่เสียชีวิต มลาอิกะฮฺอื่นๆ ที่มีหน้าที่คอยแบก และค้ าบัลลังก์ของอัลลอฮฺ ยังมีมลาอิกะฮฺผู้ดูแลสวนสวรรค์และไฟนรก รวมทั้งมลาอิกะฮฺที่มีหน้าที่คอยเฝ้าดูแล มนุษย์และคอยจดบันทึกการกระท าของพวกเขาแต่ละคน บางส่วนของมลาอิกะฮฺมีหน้าที่ซึ่งต้องคอยผลัดเปลี่ยนทั้งกลางวันและกลางคืน บางส่วนของพวกเขามี หน้าที่คอยติดตามมัจลิสซิกิรฺ(การรวมกลุ่มเพื่อร าลึกถึงอัลลอฮฺหรือเพื่อเรียนรู้ศาสนาของอัลลอฮฺ) ในบรรดามลาอิกะฮฺมีผู้ที่มีหน้าที่ดูแลทารกในท้องมารดา คอยจดบันทึกริซกี(ปัจจัยยังชีพ)ของเขา การ กระท าของเขา วันที่จะเสียชีวิต นชคดีและนชคร้ายของเขาในนลกหน้าตามพระบัญชาของอัลลอฮฺ มลาอิกะฮฺบางส่วนมีหน้าที่ไต่สวนผู้ที่เสียชีวิตในหลุมฝังศพ ไต่สวนในเรื่องพระเจ้า ศาสนา และศาสน ทูตของพระองค์ มีมลาอิกะฮฺอื่นๆ อีกมากมายที่มีภาระหน้าที่ต่างๆซึ่งมีจ านวนมากมายมหาศาลที่ไม่มีผู้ใดสามารถรับรู้ นอกจากอัลลอฮฺเพียงองค์เดียวเท่านั้น - ภาระหน้าที่ของมลาอิกะฮฺ อัล-กิรอม อัล-กาติบีน อัลลอฮฺได้ทรงสร้างเหล่ามลาอิกะฮฺ อัล-กิรอมุ อัล-กาติบีน และได้มอบหมายหน้าที่ในการเฝ้าดูแลพวก เราชาวมนุษย์ นดยการคอยจดบันทึกการกระท า ค าพูด และนิยาต(การตั้งเจตนา)ของพวกเรา มนุษย์แต่ละคน จะมีมลาอิกะฮฺอยู่ด้วยสองท่าน มลาอิกะฮฺท่านแรกจะอยู่ด้านขวาเรียกว่า “ศอฮิบุล ญะมีน” หมายถึงผู้อยู่ ด้านขวา มีหน้าที่คอยบันทึกการกระท าอันดีงามทุกอย่าง และมลาอิกะฮฺอีกท่านหนึ่งอยู่ด้านซ้ายเรียกว่า “ศอฮิ บุช ชิมาล” หมายถึงผู้อยู่ด้านซ้าย มีหน้าที่คอยจดบันทึกการกระท าที่ไม่ดีทุกอย่างเช่นกัน และยังมีมลาอิกะฮฺอีกสองท่านที่มีหน้าที่คอยปกปักษ์รักษาดูแลมนุษย์ มลาอิกะฮฺท่านแรกอยู่ด้านหน้า และอีกท่านหนึ่งอยู่ด้านหลัง 1.อัลลอฮฺได้ตรัสว่า » َّن ِ ا َ ُُك و ْ ْ ي ف ِظ َن، َ ِ َح عَل ا َ ل ً اما َ َن، ِر ك ِب ِ ُوَن ََكت م َ َْعل َم وَن ي ا ُ َعل تَ « ْف ความว่า “และแท้จริงมีผู้คุ้มกันรักษาพวกเจ้าอยู่ คือ(มลาอิกะฮฺ)ผู้ทรงเกียรติเป็นผู้บันทึก พวกเขารู้ใน สิ่งที่พวกเจ้าท า” (อัล-อินฟิฏอรฺ: 10–12) 2.และอัลลอฮฺได้ตรัสอีกว่า » ْذ ِ ا قَّى َ َتَل ا ِن ي َ قِدي َ ُتَل م ْ ِم َعِن ِن ال َ ي ْ َعِن ال َ و ا ِ َ م ال دش يٌد، ِ ِ قَع َما ظُ فِ ْ َل ْن ي ْو م ٍ ِ ََّل قَ ِ ا ْهِ ي ٌب ََلَ ي قِ تيٌد« َ ر َعِ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 9 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “จงร าลึกขณะที่มลาอิกะฮฺผู้บันทึกสองท่านบันทึก ท่านหนึ่งนั่งทางขวาและอีกท่านนั่ง ทางซ้าย ไม่มีค าพูดใดที่เขา(มนุษย์)กล่าวออกมา เว้นแต่ใกล้ๆเขานั้นมี(มลาอิกะฮฺ)ผู้เฝ้าติดตาม ผู้เตรียมพร้อม (ที่จะบันทึก)” (กอฟ : 17–18) 3. และอัลลอฮฺได้ตรัสในสูเราะฮฺ อัร-เราะอฺด์ ว่า : َُل ا ٌت َ« َ ُمَع ْن قِدب ْ ِن ِ َ م ب ْهِ َدي َ ْن ي َمِ و فِهِ ْن ََْيَف ُظ َخل وفَُه ْ م َأْمِر ِ ا ََّّلل« ِ ความว่า “ส าหรับเขา(มนุษย์)นั้นมีมลาอิกะฮฺผู้เฝ้าติดตามทั้งข้างหน้าและข้างหลังเขา ดูแลปกป้องเขา ตามพระบัญชาของอัลลอฮฺ...” (อัร-เราะอฺด์ : 11) 4. จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ จากท่านนบีศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า : وا تركها من »يقو هللا : اذا نأراِ عبدي نأن يعمل سيئِ فل تَتبوها عليهحىت يعملها ، ف ان معلها فاكتبوا مبثلها، ن نأجِل فاكتبوها َل حس نِ، ذا وا أنراِ نأن يعمل حس نِ فَل يعملها فاكتبوها َل حس نِ، ف ان معلها فاكتبوا لها َل بعرش نأمثالها اىل س بعامئِ ضعف« متفق عليه. ความว่า “อัลลอฮฺได้ตรัส(แก่มลาอิกะฮฺ)ว่า ’เมื่อบ่าวของข้าต้องการกระท าในสิ่งที่ไม่ดีอย่างหนึ่ง พวก เจ้าจงอย่าได้บันทึกในสิ่งดังกล่าวในทันทีทันใดจนกว่าบ่าวของข้าผู้นั้นได้กระท าในสิ่งดังกล่าวเสียก่อน ดังนั้น หากว่าบ่าวของฉันผู้นั้นได้กระท ามันขึ้นมา ดังนั้นพวกเจ้าจงบันทึกให้เหมือนกับสิ่งที่เขาได้กระท าบาปนั้น และ หากว่าเขาผู้นั้นได้เลิกการกระท าดังกล่าวเพราะย าเกรงต่อข้า พวกเจ้าจงบันทึกแก่เขาในสิ่งนั้นหนึ่งความดี และ หากบ่าวผู้นั้นต้องการกระท าในความดีสักหนึ่งอย่าง แต่เขากลับไม่ได้กระท าในสิ่งนั้น พวกเจ้าจงบันทึกมันไว้ ส าหรับเขาหนึ่งความดี แต่หากว่าเขาได้กระท าความดีนั้นขึ้นมา พวกเจ้าจงบันทึกมันให้เขาเท่ากับสิบความดี จนถึงเจ็ดร้อยผลบุญแห่งความดี” (รายงานนดยอัล-บุคอรีย์: 7501 และมุสลิม : 128) - ความยิ่งใหญ่ของสิ่งถูกสร้างที่มีชื่อว่ามลาอิกะฮฺ 1. หะดีษที่รายงานนดย ญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ท่านได้กล่าวว่า : » نأذن ِل نأن نأحدث عن مْل من ملِئَِ هللا من ِحةل العرش، ان ما بن حشمِ نأذفه اىل عاتقه مسرة س بعامئِ عام« نأخرجه نأبو ِاوِ. ความว่า “ฉันได้รับอนุญาตให้กล่าวถึงมลาอิกะฮฺท่านหนึ่งจากจ านวนบรรดามลาอิกะฮฺที่ท าหน้าที่แบก และค้ าบัลลังก์ของอัลลอฮฺ แท้จริงมลาอิกะฮฺ(ท่านนี้)ระยะระหว่างติ่งหูจนถึงหัวไหล่ของท่านมี(ความห่างเป็น) ระยะเวลา(การเดินทาง) 700 ปี” (รายงานนดยอบู ดาวูด : 3727, เป็นหะดีษ เศาะฮีหฺ ดูใน เศาะฮีหฺ สุนัน อบี ดาวูด : 3953 และรวมหะดีษเศาะฮีหฺของอัล-อัลบานีย์: 151) 2. หะดีษที่รายงานจากอับดุลลอฮฺ บิน มัสอูด เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ได้เล่าว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้เห็นมลาอิกะฮฺญิบรีลมีปีกทั้งหมด 600 ปีก (รายงานนดย อัล-บุคอรีย์: 4857 และมุสลิม : 174) - ผลที่ได้จากการศรัทธาต่อบรรดามลาอิกะฮฺ 1. ได้ทราบถึงความยิ่งใหญ่ เดชานุภาพ อ านาจ และหิกมะฮฺ(วิทยปัญญา)ของพระองค์อัลลอฮฺ ตะอะ ลา ผู้ทรงสร้างที่ยิ่งใหญ่ พระองอ์ได้ทรงสร้างมลาอิกะฮฺนดยที่ไม่มีผู้ใดสามารถรับรู้ได้ถึงจ านวนของบรรดาม ลาอิกะฮฺทั้งหมดนอกจากพระองค์แต่เพียงผู้เดียว พระองค์ได้ทรงท าให้มลาอิกะฮฺที่มีหน้าที่คอยแบกและค้ า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 10 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา บัลลังก์ของพระองค์ แค่เพียงมลาอิกะฮฺท่านเดียวมีความยิ่งใหญ่ขนาดระยะความกว้างระหว่างติ่งหูถึงหัวไหล่ เป็นระยะเวลาถึง 077 ปี แล้วบัลลังก์ของพระองค์จะมีความไพศาลถึงเพียงไหน ? และพระองค์คือผู้ที่อยู่เหนือ บัลลังก์จะมีความยิ่งใหญ่เพียงไร ? มหาบริสุทธิ์แด่อัลลอฮฺที่ได้ตรัสว่า : َُل َ «َ ُ و َِْْبِ ََيء ِت ال ِِف ْ ا َ او َ َّسم ْرِض ال َ اْلْ َ َ و ُهو َ و ْ ُي ُز ال َحَِ َعِزي ال « ْ ความว่า “ความยิ่งใหญ่ในชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินนี้เป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์เท่านั้น และ พระองค์เป็นผู้ทรงอ านาจ ผู้ทรงปรีชาญาน” (อัล-ญาซิยะฮฺ : 37) 2. ได้ส านึกด้วยการขอบคุณและสรรเสริญทั้งมวลแด่อัลลอฮฺ ผู้ทรงให้การคุ้มครองและปกป้องดูแล บรรดาลูกหลานอาดัมด้วยการส่งตัวแทนจากบรรดามลาอิกะฮฺที่คอยท าหน้าที่คุ้มครอง ช่วยเหลือ และคอยจด บันทึกการกระท าและการงานของพวกเขา 3. ได้เกิดความรักความผูกพันต่อบรรดามลาอิกะฮฺในสิ่งที่พวกเขาคอยปฏิบัติอิบาดะฮฺต่ออัลลอฮฺ ตะอะลา ซึ่งพวกเขาได้ขอพรและขอลุแก่นทษแก่บรรดาศรัทธาชน ดังที่อัลลอฮฺผู้สูงส่งได้กล่าวถึงบรรดามลาอิ กะฮฺผู้ที่คอยแบกและค้ าบัลลังก์ของพระองค์และผู้ที่อยู่รอบๆบัลลังก์ว่า : ความว่า “บรรดา(มลาอิกะฮฺ)ผู้แบกบัลลังก์และผู้ที่อยู่รอบๆ บัลลังก์ต่างก็แซ่ซ้องสดุดีด้วยการ สรรเสริญพระเจ้าของพวกเขา และศรัทธาต่อพระองค์ และขออภัยนทษให้แก่บรรดาผู้ศรัทธาว่า ‘ข้าแต่ผู้ อภิบาลของเรา ความเมตตาและความรอบรู้แห่งพระองค์นั้นครอบคลุมไปทั่วทุกสิ่ง ขอพระองค์ทรงนปรดอภัย แก่บรรดาผู้ขอลุแก่นทษ และด าเนินตามแนวทางของพระองค์ และทรงคุ้มครองพวกเขาให้พ้นจากการลงนทษ แห่งไฟนรก ข้าแต่พระเจ้าของเรา และขอพระองค์ทรงให้พวกเขาได้เข้าในสวนสวรรค์หลากหลายอันสถาพร ซึ่งพระองค์ได้ทรงสัญญาแก่พวกเขาและแก่ผู้มีคุณธรรมทั้งหลายในหมู่ปู่ย่าตายายของพวกเขา คู่ครองของพวก เขา และลูกหลานของพวกเขา แท้จริงพระองค์นั้นเป็นผู้ทรงอ านาจผู้ทรงปรีชาญาน และขอพระองค์ทรง คุ้มครองพวกเขาให้พ้นจากความชั่วทั้งหลาย และผู้ใดที่พระองค์ทรงคุ้มครองให้พ้นจากความชั่วทั้งหลายในวัน นั้น แน่นอน แสดงว่าพระองค์ได้เมตตาเขาแล้วและนั่นคือความส าเร็จอันใหญ่หลวง’” (ฆอฟิรฺ : 7-9) รุก่นข้อที่ 3 ศรัทธาต่อคัมภีร์ของอัลลอฮฺ การศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์คือ การเชื่ออย่างแน่วแน่และสัตย์จริงว่าอัลลอฮฺได้ทรงประทานบรรดา คัมภีร์ลงมาแก่บรรดานบีและรอซูลของพระองค์เพื่อเป็นทางน าแก่ปวงบ่าวทั้งหลาย และเชื่อว่าคัมภีร์เหล่านี้ เป็นด ารัสของพระองค์จริง และเนื้อหาในคัมภีร์เหล่านี้เป็นความจริง ในบรรดาคัมภีร์บางเล่มอัลลอฮฺได้กล่าวชื่อ ในอัลกุรอาน และในบรรดาคัมภีร์เหล่านี้ก็มีที่ไม่รู้จักชื่อและไม่รู้จ านวนนอกจากพระองค์อัลลอฮฺผู้เดียวเท่านั้น บรรดาคัมภีร์ที่มีกล่าวในอัลกุรอาน อัลลอฮฺได้ทรงชี้แจงในอัลกุรอานว่าพระองค์ทรงได้ประทานบรรดาคัมภีร์ต่างๆ ซึ่งมีดังต่อไปนี้ 1. ศุหุฟ อิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม 2. อัต-เตารอฮฺคัมภีร์ที่พระองค์อัลลอฮฺได้ทรงประทานลงมาแก่นบีมูซา อะลัยฮิสสลาม


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 11 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 3. อัซ-ซาบูร คัมภีร์ที่พระองค์อัลลอฮฺได้ทรงประทานลงมาแก่นบีดาวูด อะลัยฮิสสลาม 4. อัล-อินญีล คัมภีร์ที่พระองค์อัลลอฮฺได้ทรงประทานลงมาแก่นบีอีซา อะลัยฮิสสลาม 5. อัลกุรอาน คัมภีร์ที่พระองค์อัลลอฮฺได้ประทานลงมาแก่นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม การศรัทธาและปฏิบัติตามคัมภีร์ต่างๆ ก่อนหน้าอัลกุรอาน เราศรัทธาว่าอัลลอฮฺเป็นผู้ประทานคัมภีร์เหล่านี้ และเราเชื่ออย่างสัตย์จริงในความถูกต้องของ รายละเอียดและเนื้อหาที่มีอยู่ในคัมภีร์เหล่านี้เหมือนกับความถูกต้องของรายละเอียดและเนื้อหาที่มีอยู่ในอัลกุ รอาน และเราเชื่อในเนื้อหาที่มีอยู่ในคัมภีร์เหล่านี้ เฉพาะที่ไม่ได้รับการแก้ไขและเปลี่ยนแปลง และเราพร้อมน า บทบัญญัติต่างๆ ที่ยังไม่ได้ยกเลิกไปปฏิบัติด้วยความน้อมรับและเต็มใจ และบรรดาคัมภีร์ที่มาจากฟากฟ้าที่เรา ไม่รู้ชื่อเราจะศรัทธานดยภาพรวม บรรดาคัมภีร์ต่างๆก่อนหน้านี้ เช่น อัต-เตารอฮฺ อัล-อินญีล อัซ-ซาบูร และคัมภีร์อื่นๆ ถูกยกเลิกไป แล้วด้วยคัมภีร์อัลกุรอาน มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮฺผู้ที่ได้ตรัสว่า َا » ن ْ َْزل َأن ْ و َك َ ي َ ل ِ َِتَ ا ا ْ َب َحدِق ال ْ ِد ِِبل د قًا َ ُمَص ا م ِ ْنَ ل َ ب ْهِ َدي َ َن ي َِ م تَا ِب ِ ْ ً ال ا ِمن ْ ُمهَي َ و ْهِ ي َ ْحُ ُْك عَل فَا ْ َيََّْنُم ب ا َ َْزَ ِبم ا ََُّّلل َل َأن ْه َ ْع ُ َ و تَتَِّب اء َ ا َمع َأ ْهو َّ َك َ َج َن اء م َحدِق ِ ال « )املائدة : ٨٤ْ ) ความว่า “และเราได้ให้คัมภีร์ลงมาแก่เจ้าด้วยความจริงในฐานะเป็นที่ยืนยันคัมภีร์ที่อยู่ก่อนหน้ามัน และเป็นที่ควบคุมคัมภีร์(ก่อนหน้า)นั้น ดังนั้น เจ้าจงตัดสินระหว่างพวกเขาด้วยสิ่งที่อัลลอฮฺทรงประทานลงมา เถิด และจงอย่าปฏิบัติตามความใคร่ต่ าของพวกเขานดยเขาออกจากความจริงที่ได้มายังเจ้า” (อัล-มาอิดะฮฺ : 48) คัมภีร์ที่อยู่ในความครอบครองของอะฮฺลุลกิตาบ (ชาวคัมภีร์ ซึ่งหมายถึงชาวยิวและชาวคริสต์) ที่ชื่อ ว่าอัต-เตารอฮฺ(นทราห์)และอัล-อินญีล(ไบเบิล)ในปัจจุบันเป็นการไม่ถูกต้องที่จะอ้างว่าเป็นคัมภีร์ที่ถูกประทาน แก่บรรดานบีและรอซูลของอัลลอฮฺ เพราะคัมภีร์ดังกล่าวนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงและแก้ไขมาแล้ว ตัวอย่างเช่น การยกสถานะของนบีว่าเป็นลูกของพระเจ้าหรือการยกฐานะของนบีอีซาบุตรของมัรยัมว่าเป็นพระเจ้า การให้ คุณสมบัติของอัลลอฮฺผู้ทรงสร้างที่ไม่เหมาะสมตามสถานะความเป็นจริงของพระเจ้า การให้ร้ายแก่บรรดานบี ของอัลลอฮฺ เป็นต้น ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ควรแก่การนต้แย้งและไม่ควรเชื่อและศรัทธา เว้นเสียแต่สิ่งที่มีอยู่ในอัล กุรอานและหะดีษเท่านั้น ถ้าหากอะฮฺลุลกิตาบ (บรรดาชาวคัมภีร์) ได้รายงานแก่พวกเรา พวกเราจะไม่เชื่อพวกเขาและจะไม่ กล่าวนกหก แต่เรากล่าวว่า “เราศรัทธามั่นในอัลลอฮฺ ศรัทธาต่อคัมภีร์ต่างๆ และบรรดารอซูลของพระองค์” ถ้าค าพูดที่พวกเขาได้กล่าวมาเป็นสัตย์จริงเราก็จะได้ไม่กล่าวหาว่าพวกเขานกหก และถ้าค าพูดที่พวกเขาได้ กล่าวมานั้นเป็นค านกหก ค าพูดของเราดังกล่าวก็จะได้ไม่เป็นการยืนยันว่ามันเป็นสิ่งที่ถูกต้อง การศรัทธาและปฏิบัติตามอัลกุรอาน อัลกุรอานเป็นพระมหาคัมภีร์ที่อัลลอฮฺทรงประทานแก่นบีคนสุดท้ายและนบีที่ประเสริฐที่สุด นั่นคือ ท่านนบี มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม เป็นคัมภีร์ที่มาจากฟากฟ้าเล่มสุดท้าย เป็นคัมภีร์ที่ประเสริฐ และยิ่งใหญ่ที่สุด สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อัลลอฮฺทรงประทานลงมาเพื่อชี้แจงรายละเอียดทุกอย่าง และ เป็นคัมภีร์ที่เป็นทางน าและเป็นความนปรดปรานแก่สรรพสิ่งในจักรวาลทั้งมวล อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ที่ดีที่สุด ที่น าลงมานดยมลาอิกะฮฺที่ประเสริฐที่สุด นั่นคือ มลาอิกะฮฺญีบรีล ได้ถูก ประทานลงมายังนบีมุหัมมัดผู้ที่ประเสริฐที่สุดในบรรดาสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย และได้ลงมายังประชาชาติที่ดีที่สุด ด้วยภาษาที่ดีที่สุดนั่นคือภาษาอาหรับ ทุกคนวาญิบที่จะต้องศรัทธาในอัลกุรอานและปฏิบัติตามบัญญัติต่างๆ ที่


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 12 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา มีอยู่ในอัลกุรอานและประพฤติตนตามค าสอนของอัลกุรอาน อัลลอฮฺจะไม่ทรงรับการกระท าใดๆ ที่ไม่ได้เป็นค า สอนที่มาจากอัลกุรอาน หลังจากที่อัลกุรอานได้ถูกประทานลงมาอัลลอฮฺจะปกปักษ์รักษาอัลกุรอานด้วย พระองค์เอง อัลกุรอานจะปลอดจากการเปลี่ยนแปลงและการแก้ไขใดๆ และปลอดจากการเพิ่มเติมและความ บกพร่องทุกประการ 1. อัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานว่า »ََّن ِ ُن ا ََنْ َا ن ْ ََّزل ن َ كْر ا ََّن َِّلد ِ ا َ َحافِ ُظوَن ََل و ُ ل « )احلجر : 9َ ) ความว่า “แท้จริงเราได้ให้ข้อตักเตือน(อัลกุรอาน)ลงมาและแท้จริงเราเป็นผู้รักษามันอย่างแน่นอน” (อัล-หิจญ์รุ : 9) 2. และอัลลอฮฺได้ตรัสในอัลกุรอานอีกว่า » فَُّه ِ ا ِني ُل َ ْ و تَ َ ِدب ل َ ر ِم َن، َ َعال ْ ََزَ ال ن وُح ِبهِ ُّ ُن الر ا ، عَ ِب َك ََل نْلمِ ْ َُوَن قَل تَ ِ َن ل َن، ِ ُ ْن ِذ م ِري م َس ال ا ٍن ْ ِ ٍِدب ِبل َ َعر ُمِب ٍن« )الشعراء : 291-291) ความว่า และแท้จริงมัน เป็นการประทานลงมาของพระเจ้าแห่งสากลนลก อัร-รูหฺ(มลาอิกะฮฺ)ผู้ซื่อสัตย์ ได้น ามามันลงมายังหัวใจของเจ้า เพื่อเจ้าจักได้เป็นผู้ตักเตือนคนหนึ่ง เป็นภาษาอาหรับอันชัดแจ้งยิ่ง (อัช-ชุอะ รออ์ : 192-195) นัยยะความหมายของโองการต่างๆ ในอัลกุรอาน นองการต่างๆ ของอัลกุรอานได้อธิบายเกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งแบ่งเป็นการอธิบายด้วยวิธีการบอก เล่า(อัล-เคาะบัร بْاخل (หรืออธิบายด้วยการขอและการเรียกร้อง (อัฏ-เฏาะลับ الطلب ( การอธิบายด้วยการกล่าวหรือการบอกเล่า (อัล-เคาะบัร)แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การกล่าวหรือบอกเล่าถึงผู้สร้าง ชื่อ คุณลักษณะ การงาน ค าพูด นั่นคือ การกล่าวหรือการบอก ถึงอัลลอฮฺพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ 2. การกล่าวหรือการบอกถึงสิ่งถูกสร้าง อาทิเช่น การกล่าวถึงฟากฟ้าและแผ่นดิน บัลลังก์ มนุษย์ และสิงสาราสัตย์ สิ่งไร้ชีวิตและบรรดาพืชไม้ต่างๆ สวนสวรรค์และไฟนรก การบอกเล่าถึงบรรดานบีและรอซูล ของอัลลอฮฺ บรรดาสาวกของนบีและรอซูล และการกล่าวศัตรูของพวกเขาและผลตอบแทนของสองฝ่าย ดังกล่าว เป็นต้น การอธิบายด้วยการขอ(อัฏ-เฏาะลับ) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. การขอด้วยการออกค าสั่งให้อิบาดะฮฺต่ออัลลอฮฺเพียงผู้เดียว การภักดีต่ออัลลอฮฺและรอซูลของ พระองค์ และการปฏิบัติในกิจการงานต่างๆ เช่น การละหมาด การถือศีลอด และอื่นๆ ที่เป็นค าสั่งของอัลลอฮฺ 2. การขอด้วยการสั่งห้ามการตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ และห้ามในสิ่งที่อัลลอฮฺได้ก าหนดให้เป็นสิ่งที่หะรอม ต่างๆดังเช่น ดอกเบี้ย สิ่งชั่วร้าย และเลวทรามต่างๆ และอื่นๆ ที่พระองค์ทรงห้ามไว้ มวลการขอบคุณและการสรรเสริญทั้งหมดเป็นของอัลลอฮฺ ความประเสริฐและบุญคุณล้วนเป็นของ พระองค์ที่ได้ส่งรอซูลผู้ที่มีความประเสริฐที่สุด และได้ประทานพระมหาคัมภีร์ที่ดีที่สุด และได้เลือกพวกเราเป็น ประชาชาติที่ดีที่สุดที่ถูกคัดสรรออกมาเพื่อมนุษย์ทั้งปวง 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ْحَس َن َحِدي ِث ََّزَ َأ »ا ََُّّلل ن ْ ًِب ال تَا ك ُمتَ َشاِِبًا َمثَاِ َّن ِ ُّ تَ نْ ُه ْق َشعِر م وُِ ِ ُ ُج َن ل ي ََّّلِ ََْيَشْوَن ا ْ َُِّبم َ ر َّ ْم َىل ُ ُِب ُوُ ْه َوقُل ُوُُِ ُن ُجل ل ِ ث تَ ِ ا ِر كْ ا ََّّلل ِذ ِ ُهَد َذِ َِل ى ََْيِد ا ََّّلل ي ِ ِبه َم ْن ِ ُ َ َم ْن يَ َشاء ل ِل ا ََُّّلل ا ْضِ ُ َ و ي ْن ََل فَم ُ َها « )الزمر : ٣٢ ٍِ )مِ ความว่า “อัลลอฮฺทรงประทานค ากล่าวที่ดียิ่งลงมาเป็นคัมภีร์ที่(มีนองการ)คล้ายกันและทวนซ้ า ด้วย จาก(คัมภีร์อัลกุรอาน)นั้นเอง ผิวกายของผู้ที่เกรงกลัวต่ออัลลอฮฺจะหดเหี่ยว(หมายถึงมีความย าเกรงด้วยความ ซึมซับต่อนองการของอัลกุรอาน) แล้วผิวกายและหัวใจของพวกเขาก็จะนอนอ่อนต่อการร าลึกถึงอัลลอฮฺ นั่นคือ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 13 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การชี้น าของอัลลอฮฺ พระองค์จะทรงชี้น าแก่ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และผู้ใดที่อัลลอฮฺทรงให้เขาหลงทาง ดังนั้นส าหรับเขาจะไม่มีผู้ชี้น าใดๆ อีก” (อัซ-ซุมัร : 23) 2. และอัลลอฮฺได้ตรัสอีกว่า َن ن مِ ََل ُمْؤِ قَ ْد َم َّن ا ََُّّلل عَ َ »ل ْ ْذ ال ِ ََع َث ا ب ْ ِْيم م ْن َ ُس ف وَل ِ ْ ر ِ َأفُْف ِس و هِم ُ ِْي َْتل ي ْ َ عَل ْ م هِ ِ ََيت أ ْ ِْيم َُزكِد ي َ ُ و ُهُم م ِد َُعل ي و َِتَا َب َ ْ ْ ِحْْكََِ ال ال و ْن َ ِ ا َ و ََكفُوا ْن قَب ي ْ م ُل ِ فِ ل َضلٍ ُمِب ٍن« )أ معران :٤٦٨َ ) ความว่า "แน่นอนยิ่ง อัลลอฮฺนั้นทรงมีพระคุณแก่ผู้ศรัทธาทั้งหลาย นดยที่พระองค์ได้ทรงส่งรอซูลคน หนึ่งจากพวกเขาเองลงมาในหมู่พวกเขา เพื่อให้อ่านบรรดานองการของพระองค์แก่พวกเขาฟัง และอบรมสั่ง สอนให้พวกเขาบริสุทธิ์ และให้สอนคัมภีร์และความรู้เกี่ยวกับข้อปฏิบัติในบัญญัติศาสนาแก่พวกเขาด้วย และ แท้จริงก่อนนั้นพวกเขาเคยอยู่ในความหลงผิดอันชัดแจ้ง" (อาล อิมรอน : 164) รุก่นข้อที่ 4 ศรัทธาต่อบรรดารอซูล (ศาสนทูต) ของพระองค์ การศรัทธาต่อบรรดารอซูล คือการเชื่ออย่างสัตย์จริงและแน่วแน่ว่าอัลลอฮฺตะอาลาได้ส่งรอซูลไปยัง ทุกประชาชาติเพื่อท าหน้าที่เรียกร้องสู่การภักดีและเคารพบูชาอัลลอฮฺตะอาลาแต่เพียงผู้เดียว และปฏิเสธการ กราบไหว้บูชาและเคารพภักดีนอกเหนือจากพระองค์บรรดารอซูลทั้งหมดเป็นศาสนทูตที่ซื่อสัตย์และพวกเขา ได้ท าหน้าที่ในการให้ความรู้ทุกอย่างตามที่ได้รับค าสั่งมาจากอัลลอฮฺ ในบรรดารอซูลทั้งหลายมีผู้ที่อัลลอฮฺได้ให้ พวกเราได้รับรู้ในชื่อของพวกเขา และมีผู้ที่อัลลอฮฺได้ปกปิดมิให้พวกเราได้รับรู้แต่อย่างใด - การอบรมสั่งสอนบรรดานบีและผู้เจริญรอยตามทางเดินของบรรดานบี อัลลอฮฺตะอาลาได้อบรมสั่งสอนบรรดานบีและผู้เจริญรอยตามนบีด้วยการพยายามตนเองให้ ซึมซับในอีมานเป็นอันดับแรกด้วยการหมั่นปฏิบัติในอิบาดะฮฺ การตัซกิยะฮฺ(การช าระจิตใจ) การพินิจ พิเคราะห์การคิดใคร่ครวญ การอดทน การเสียสละทุกอย่างเพื่อศาสนา การทุ่มเทและอุทิศตนเพื่อประกาศ ศักดาของศาสนากระทั่งความศรัทธาได้สมบูรณ์ในชีวิตของพวกเขา และจิตใจของพวกเขาเต็มด้วยความเชื่อมั่น ว่าอัลลอฮฺเป็นผู้ทรงสร้างทุกอย่าง และทุกสรรพสิ่งอยู่ในเอื้อมพระหัตถ์ของพระองค์และพระองค์ผู้เดียวที่ควร แก่เคารพภักดีและสักการะบูชา แล้วพวกเขาก็จะพยายามปกปักษ์รักษาอีมาน(การศรัทธา)ด้วยการรักษา ความเป็นอยู่ของสภาวะแวดล้อมที่ดีด้วยวิธีต่างๆ อาทิเช่น การบ ารุงรักษามัสยิดด้วยการฟื้นฟูให้เปี่ยมด้วยอี มานและอามัลศอลิหฺ พวกเขาจะพยายามท างานเพื่อความจ าเป็นของศาสนาและความจ าเป็นของพวกเขาเองด้วยการพึ่ง ความช่วยเหลือจากการศรัทธา ด้วยการที่พวกเขาเชื่อด้วยความมั่นอกมั่นใจว่าอัลลอฮฺจะอยู่กับพวกเขาแม้พวก เขาจะอยู่ ณ หนแห่งใดก็ตามอัลลอฮฺจะคอยช่วยเหลือ ให้ปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา และให้การสนับสนุนพวกเขา ดังเช่นที่อัลลอฮฺได้ให้ความช่วยเหลือกับบรรดามุสลิมในสงครามบัดร์ตอนเปิดนครมักกะห์สงครามหุนัยน์และ สงครามอื่นๆ พวกเขาจะมอบความเชื่อมั่นแก่อัลลอฮฺ และพวกเขาจะไม่มอบความเชื่อมั่นใดๆแก่ผู้อื่นและสิ่ง อื่นใดนอกจากพระองค์อัลลอฮฺแต่เพียงผู้เดียว และพวกเขายังมีความพยายามในการเผยแผ่ศรัทธาในหมู่ชน ของพวกเขาและผู้คนที่พวกเขาถูกส่งมา เพื่อให้พวกเขาเคารพภักดีและสักการะบูชาแด่อัลลอฮฺแต่เพียงผู้เดียว นดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆ และพวกเขายังได้สั่งสอนความรู้เกี่ยวกับบัญญัติต่างๆ และได้อ่านนองการต่างๆของ พระเจ้าให้พวกเขาได้รับฟัง อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ُهو ي َ » ََّّلِ د َن ب ِِف ََع َث ا دِي َ ُس ا وَل نْلمِ ْ ر َّْنُم م و ِ ُ َْتل ي ْ ْْيِم َ عَل هِ ِ ََيت أ ْ ِْيم َُزكِد ي َ ُ و ُهم ُ م ِد َُعل ي و َِتَا َب َ ْ ْ ِحْْكََِ ال ال و ْن َ ِ ا م ْن ُل َ ِ قَب ي ْ و ََكفُوا فِ َ ل َن َضلٍ ُمِب ٍن، أ َخِري َ ْ و َّْنُم ِ َّ م ا م َ َح ل ُقوا ْ َل ي ْ ِِِبم َ ُهو َ ُز و َعِزي َحَِ ُي ال ، ْ ْ فَ ْض َذِِل ُل ال َ ا ََّّللِ يهِ ِ ُ ْؤت َم ْن ي ُ ا ََُّّلل يَ َشاء و ُذو َف ْض ِل َ ْ ال ِ َعِظي ال « ْ ความว่า "พระองค์เป็นผู้แต่งตั้งรอซูลขึ้นคนหนึ่งในหมู่ผู้ไม่รู้จักหนังสือจากพวกเขาเองเพื่อสาธยาย นองการต่างๆ ของพระองค์แก่พวกเขา ให้เขาอบรมพวกเขาเหล่านั้นให้ผุดผ่อง ให้สอนคัมภีร์และหิกมะฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 14 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา (ความรู้แห่งวิทยปัญญา)แก่พวกเขา และแท้จริง ก่อนนี้พวกเขาอยู่ในทางหลงผิดอย่างชัดแจ้ง และคนอื่นๆ ใน กลุ่มพวกเขาที่จะติดตามมาภายหลัง(หมายถึงบรรดาผู้ศรัทธาที่ไม่ได้อยู่ในยุคสมัยของท่านรอซูล) และพระองค์ นั้นเป็นผู้ทรงอ านาจ ผู้ทรงปรีชาญาณ นั่นคือความนปรดปรานของอัลลอฮฺที่ทรงประทานแก่ผู้ที่พระองค์ทรง ประสงค์และอัลลอฮฺนั้นเป็นผู้มีบุญคุณอันใหญ่หลวง” (อัล-ญุมุอะฮฺ : 2-4) รอซูล หมายถึง ผู้ที่อัลลอฮฺได้ประทานวะห์ยูเกี่ยวกับชะรีอะฮฺ(บัญญัติต่างๆ) และค าบัญชาของ พระองค์ เพื่อเผยแพร่ไปยังผู้ที่ไม่รู้หรือผู้ที่รู้แต่ยังปฏิเสธ นบีหมายถึง ผู้ที่อัลลอฮฺได้ประทานวะห์ยูด้วยชะรีอะฮฺเดิมของศาสนทูตก่อนหน้าเขา เพื่อที่พวกเขา ได้เผยแพร่ไปยังบรรดาพรรคพวกและกลุ่มคนที่เป็นเป้าหมายของชะรีอะฮฺดังกล่าว เพื่อฟื้นฟูให้บรรดาคน เหล่านั้นได้มาปฏิบัติชะรีอะฮฺอีกครั้งรอซูลทุกคนเป็นนบี แต่ตรงกันข้ามกันคือนบีทุกคนอาจจะไม่ใช่รอซูล - การแต่งตั้งนบีและรอซูล ไม่มีประชาชาติใดที่ไม่มีรอซูลที่อัลลอฮฺได้ส่งมาพร้อมกับบัญญัติต่างๆ ที่เป็นเอกเทศไปยังกลุ่ม ชนของพวกเขา หรือนบีที่อัลลอฮฺประทานวะห์ยูแก่เขาด้วยชะรีอะฮฺที่เคยถูกประทานลงมาก่อนหน้านั้นเพื่อ การฟื้นฟูหรือบูรณะขึ้นมาใหม่อีกครั้ง 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า قَ ْد َ ِدك َ» ل َا ِِف ُ ََعثْن و ب َ ُس ُأ وَل َّمٍِ ُ ر َأ ِن ُدوا ا ْعب ا َََّّلل وا ُ ب ا ْجتَنِ َ و ال َّطاغُوَت« ความว่า “และนดยแน่นอน เราได้ส่งรอซูลมาในทุกประชาชาติ(นดยให้เขากล่าวว่า) พวกท่านจงเคารพ ภักดีอัลลอฮฺ และจงหลีกหนีให้ห่างจากพวกเจว็ด” (อัน-นะห์ลุ : 36) 2. และอัลลอฮฺได้ตรัสอีกว่า »ََّن ِ َ ا ا ن ْ َأن اَة َْزل َ ْور فُوٌر ف ُهًدى ِْيَ التَّ ا َ ُُك و ُ ََْي ا وَن ِِبَ ُّ َن النَِّبي ي ََّّلِ ا وا ُ م َ ْسل َن َأ ََِِّّلي وَن ل َهاُِوا ُّ ي ِ َّ َِّبف الر َ ُر َ و ا ا نْل ْحب َ و « ความว่า “แท้จริงเราได้ให้อัต-เตารอตลงมา นดยที่ในนั้นมีข้อแนะน าและแสงสว่าง ซึ่งบรรดานบีที่ สวามิภักดิ์ได้ใช้อัต-เตารอตตัดสินบรรดาผู้ที่เป็นยิว บรรดาผู้รู้ที่เปี่ยมด้วยคุณธรรมจรรยาและบรรดานักปราชญ์ ทั้งหลายก็ได้ใช้อัต-เตารอตตัดสินเช่นกัน” (อัล-มาอิดะฮฺ : 44) จ านวนนบีและรอซูลของอัลลอฮฺ จ านวนนบีและรอซูลของอัลลอฮฺมีมากมายหลายท่าน หนึ่ง ในบรรดานบีและรอซูลมีจ านวนหนึ่งที่อัลลอฮฺได้กล่าวชื่อของพวกเขาในอัลกุรอาน และอัลลอฮฺได้เล่าประวัติของพวกเขาให้พวกเราได้รับรู้ บรรดานบีและรอซูลดังกล่าวนี้มีจ านวน 25 คน 1. อาดัม ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้ตรัสเกี่ยวกับอาดัมในอัลกุรอานว่า قَ ْد َ و َعهِ ْدََن َىل َ» ل ِ ْن أ ََِم ا ْ م ُل ِ قَب فَنَِسَ ْ م َ ل ََن و ِ ْد َ َعْزًما« ََلُ ความว่า "และนดยแน่นอน เราได้เอาสัญญากับอาดัมแต่กาลก่อน ทว่าเขาได้ลืม และเราไม่พบความ มุ่งมั่นในตัวเขา(หลังจากที่เขาลืม)" (ฏอฮา : 115) 2. นบีและรอซูลจ านวนหนึ่งที่อัลลอฮฺได้กล่าวถึงในอัลกุรอานว่า ِ ْْل » َ ت ِه َي َ َا أ تَيْنَا َها ا َ و ُحَّجُتن ْر ب ِ ََل ا عَ ْومِهِ ُع قَ َْرفَ َِر َم ْن َ َجا ٍت ن ُ َّن نَ َشاء ِ َّ ا َك ب َ َا بن ْ ل ٌي، َه ِ َ ر َحٌَِي عَ َو ََل و ُ ْسَ ِ َْعُقو َب ا اَ ي و ُُك َ َا فُوًح َهَدي ا ْن م ْن ُل َ ِ َا ْن قَب ْن ْ و َهَدي َمِ و َّتِهِ ي د َِ ُذِر ُ َن َِاو ا َ ْم ي َ و َب َ ُسل ُّ ُوُسَف َ و َأي ُروَن َ و ُموَس َ و ي كَذِ َِل َ و َها ِزي َ و َ َن، ََن و ْ نِ ِ ُ ْحس م ْ ال ِرََّي عي َس َ و ََْيَي َ َزكَ َس َ و ِ َ و ا ي ْ ل ِ ا َ ِح َن، ل ِ َّصا م َن ال و ُ لك ِ ِ ا َ ِعي َل َع َْسا َس و ْ يَ ْ ال َس َ ُونُ َ و ي و وًطا ُ ل َ و ُُك َ َا و ن ْ ِم َن ََل فَ َّضل عَ َ َعال ْن ال ، ْ َمِ ْ و َِبِِِئم أ ْ د ََّيِِِتم ُذِر َ ْ و اِِِنم َ ْخو ِ ا ْه َ َ و يْنَا ُ ا ْجتَب ْه َ َا ُ ْن و َىل َ و َهَدي ِ ٍط ا ِِص ، َا ٍ ْ تَقِي ُهَد َذِ َِل ى ُمس ََْيِد ا ََّّلل ي ِ ِبه َم ْن ِ ُ ْن يَ َشاء ِِ مِ ا َ ب ْو ه ِع ِ َ ل َ و وا َأ ْْشَكُ َحِبطَ َ ل ْ ُم ُوَن ََك ، َعَّْن َما فُوا ل َ ي َك َْعم ئِ َ ُأول َن ي ََّّلِ َِتَا َب أ تَيْنَا ُهُ ا ْ ُحْ َُك ال ْ ال َ َّ و َة ُو ب ُّ الن َ و «


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 15 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า "และนั่นคือ หลักฐานของเราที่ได้ให้แก่ท่านอิบรอฮีมนดยมีฐานะเหนือกลุ่มชนของเขา เราจะ ยกขึ้นหลายชั้นแก่ผู้ที่เราประสงค์ แท้จริงพระเจ้าของพวกเจ้านั้นเป็นผู้ทรงปรีชาญาณ ผู้ทรงรอบรู้ และเราได้ ประทานให้แก่เขาซึ่งอิสหากและยะอฺกูบ ทั้งหมดนั้นเราได้แนะน าแล้ว และนูหฺเราได้แนะน าแล้วก่อนหน้า นั้น และจากลูกหลานของเขานั้นคือดาวูดและสุลัยมาน อัยยูบและยูซุฟ มูซาและฮารูน และท านองนั้นแหละ เราจะตอบแทนแก่ผู้กระท าดีทั้งหลาย และซะกะรียา ยะหฺยา อีซา และอิลยาส ทุกคนนั้นอยู่ในหมู่คนดีและ อิสมาอีล อัลยะสะอฺ ยูนุส และลูฏ แต่ละคนนั้นเราได้ให้ดีเด่นเหนือกว่าประชาชาติทั้งหลาย และ(เราได้ให้ ดีเด่นอีก)ซึ่งส่วนหนึ่งของบรรพบุรุษของพวกเขา และลูกหลานของพวกเขาและพี่น้องของพวกเขา และเราได้ เลือกพวกเขา และได้แนะน าพวกเขาไปสู่ทางอันเที่ยงตรง นั่นแหละคือค าแนะน าของอัลลอฮฺนดยที่พระองค์จะ ทรงแนะน าผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ในหมู่ปวงบ่าวของพระองค์ และหากพวกเขาได้ให้มีภาคีขึ้นแล้ว แน่นอน สิ่งที่พวกเขาเคยกระท ากันมา ก็สูญสิ้นไปจากพวกเขา ชนเหล่านี้คือผู้ที่เราได้ประทานคัมภีร์ให้แก่พวกเขาและ ประทานความรู้ในคัมภีร์ให้และประทานการเป็นนบีให้ด้วย"(อัล-อันอาม : 83-89) 3. นบีอิดรีส ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้กล่าวเกี่ยวกับนบีอิดรีสว่า ْر ك ُ « ْ اذ و ِِف َِتَا ِب َ ْ ال ِ ِِْري فَُّه َس ا ِ ا ِصِدد يقًا ََكَن ا فَِبي« ًّ ความว่า "และจงกล่าวถึงเรื่องอิดรีสที่อยู่ในคัมภีร์ แท้จริงเขาเป็นผู้ซื่อสัตย์ในฐานะนบี" (มัรยัม : 56) 4. นบีฮูด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้กล่าวเกี่ยวกับฮูดว่า َن، ل ْرَسِ ُم ْت عَاٌِ َ كَّذب َ« ْ ْذ ال ِ قَا َ ا ْ هُم َ ل ُقوَن َأ ُخوُه ُهوٌِ َأَل ، ْ تَتَّ ِّند ِ َ ُ ُْك ا م ٌن« َ ُسوٌ ل ِ ر َأ ความว่า "หมู่ชนอ๊าดได้ปฏิเสธบรรดารอซูล ขณะที่พี่น้องคนหนึ่งของพวกเขาคือฮูดได้กล่าวแก่พวกเขาว่า นอ้พวกท่านไม่ย าเกรงกันบ้างหรือ แท้จริงฉันคือรอซูลผู้ซื่อสัตย์ส าหรับพวกท่าน" (อัช-ชุอะรออ์: 123-125) 5. นบีศอลิหฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้กล่าวเกี่ยวกับนบีศอลิหฺว่า َن، ل ْرَسِ ُم ُموُِ ْت ثَ َ كَّذب َ« ْ ْذ ال ِ قَا َ ا ْ هُم َ ل ٌح َأ ُخوُهْ ِ ُقوَن َأ ، َص َل ال تَتَّ ِّند ِ َ ُ ُْك ا م ٌن« َ ُسوٌ ل ِ ر َأ ความว่า “หมู่ชนษะมู๊ดได้ปฏิเสธบรรดารอซูล ขณะที่พี่น้องของพวกเขาคือศอลิหฺ ได้กล่าวแก่พวก เขา นอ้พวกท่านไม่ย าเกรงบ้างหรือ แท้จริงฉันคือรอซูลผู้ที่ซื่อสัตย์ส าหรับพวกท่าน” (อัช-ชุอะรออ์: 141-143) 6. นบีชุอัยบ์ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้ตรัสเกี่ยวกับนบีชุอัยบ์ว่า كَّذ َب َا ُب ْْص »َ َأ ََِِ ْ َن ا ، نْلي ِ ُ ْرَسل م ْ ْذ ال ِ قَا َ ا ْ هُم ل ٌب َ ْ ُقوَن ُش َأَل ، َعي تَتَّ ِّند ِ َ ُ ُْك ا م ٌن« َ ُسوٌ ل ِ ر َأ ความว่า "พวกที่(บูชา)อัยกะฮฺ(ต้นไม้ชนิดหนึ่ง)ได้ปฏิเสธบรรดารอซูล ขณะที่ชุอัยบ์ได้กล่าวแก่พวกเขา ว่า นอ้พวกท่านไม่ย าเกรงบ้างหรือ แท้จริงฉันคือรอซูลผู้ซื่อสัตย์ส าหรับพวกท่าน" (อัช-ชุอะรออ์: 176-178) 7. นบีซุลกิฟลี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้กล่าวเกี่ยวกับนบีซุลกิฟลีว่า ْر ك ُ « ْ اذ ِعي َل َ َْسا و ْ ِ َسَع ا يَ ْ ال َ و َِْف ِل َ و َذا ْ ُك ال ل َ م َن اِر َ و ِ ا « نْل ْخي ความว่า "และจงกล่าวถึงอิสมาอีล และอัลยะสะอฺ และซุลกิฟลี ทุกคนอยู่ในหมู่ผู้ดีเลิศ" (ศอด : 48) 8. นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้กล่าวเกี่ยวกับนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ว่า ُ ُْك َِْن ل ِ م ْن ِرَجا َحٍد ِ َِب َأ »َما ََكَن ُم َحَّمٌد َأ َ ل َ و ُسوَ َ ر ِ َخاَت ا ََّّلل َ َ و النَِّبِيد َن« ความว่า "มุหัมมัดไม่ได้เป็นบิดาผู้ใดในหมู่บุรุษของพวกเจ้า แต่เป็นรอซูลของอัลลอฮฺ และเป็นคน สุดท้ายแห่งบรรดานบี" (อัล-อะหฺซาบ : 40) สอง และในบรรดานบีและรอซูล(อะลัยฮิสสลาม) จ านวนหนึ่งที่เราไม่ได้รับรู้ในชื่อของพวกเขา และอัลลอฮฺก็ไม่ได้บอกเล่าประวัติของพวกเขาให้พวกเราได้รับรู้เช่นกัน แต่เราก็ศรัทธาต่อพวกเขานดยรวม 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า قَ ْد َ َ» ل َا و ن ْ ُرُس ْن َأ ل ْرَسل ْ م ِ َْل ِ قَب ْ َّْنُم َا َك ِ َص ْصن ْ م َم ْن قَ ي َ عَل ْ َّْنُم ْ و َم ْن َمِ م َ فَ َك ْق ُص ْص ل ْ ي عَل « َ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 16 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า "และนดยแน่นอน เราได้ส่งบรรดารอซูลมาก่อนหน้าเจ้า บางคนในหมู่พวกเขามีผู้ที่เราบอก เล่าแก่เจ้า และบางคนในหมู่พวกเขามีผู้ที่เรามิได้บอกเล่าแก่เจ้า" (ฆอฟิร : 78) 2. หะดีษที่รายงานจากอบี อุมามะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ได้กล่าวว่า ْ قا نأبو ذر ريض هللا عنه : ُت َ ُسوَ ََي قُل ر ا ََّّللِ ء؟ َ ُك َّّف َْ ِ عَّدُة ا ا َ و ِ ائ َْلفِْبي قَا َ : » َُِ ِ ٍْف مِ ََع َأل ٌ ْرب َأ ُرشوَن َ َ و ِع ْ و ًفا، ْ َأل ُّ ُس ُل ْن الر َل م َذِ َِل ُث ِ ثَ ائٍَِ ََْخ َس م َِ ِ َ ف ًرا« َرش، ًََّجا غَِ و َع َ ความว่า ท่านอบู ซัร ได้กล่าวว่า ฉันได้เอ่ยถามท่านรอซูลว่า : นอ้ ท่านผู้เป็นศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺ จ านวนบรรดานบี(จ านวนที่ไม่ขาดไม่เกิน)ทั้งหมดมีจ านวนเท่าใด? ท่านรอซูลได้ตอบว่า (จ านวนนบีทั้งหมดมี) หนึ่งแสนสองหมื่นสี่พันคน และในจ านวนนบีเหล่านั้นมีที่เป็นรอซูลด้วยสามร้อยสิบห้าคน นี่เป็นจ านวนที่ มาก” (หะดีษ เศาะฮีหฺ ลิ ฆ๊อยริฮฺ, บันทึกนดย อะห์มัด : 22644, อัต-เฏาะบะรอนีย์8:217, ดู อัส-สิลสิละฮฺ อัศ-เศาะฮีหะฮฺ : 2668) - บรรดารอซูลที่ถูกยกย่องให้เป็นอุลุลอัซมิ อุลุลอัซมิ(คือ บรรดารอซูลที่มีจิตใจตั้งมั่น หมายถึงบรรดาผู้ที่มีประวัติที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ต้องพบ พานกับอุปสรรคที่สาหัส และได้รับการยกย่องจากอัลลอฮฺให้เป็นรอซูลที่มีฐานะที่สูงกว่าบรรดารอซูลคนอื่นๆ - ผู้แปล) ในบรรดารอซูลมีทั้งหมด 5 คน นั่นก็คือ นูหฺ อิบรอฮีม มูซา อีซา และมุหัมมัด (อะลัยฮิมุสส ลาม) อัลลอฮฺ ตะอาลาได้กล่าวถึงบรรดารอซูลเหล่านี้ในอัลกุรอานว่า َْشَع ُ ُْك َ« َ َن ل ِن َما َّّص ِ َ م ا دَِلي و ِ فُوًح ِبه ا ََّّلِ ا َا َك َ ين ْوَحْ ْ و ي َأ ي َ ل ِ َ َم ا ا َا ْ و ن َ َّصي و ِه َي ِبهِ ا َ ْر ب ِ ا ُموَس عي َس َ َ و ِ ْن ميُوا و َأ قِ َن َأ ا َل َِلد ي َ و قُوا َّ َفر تَتَ يهِ ف « ِ ความว่า "พระองค์ได้ทรงก าหนดศาสนาแก่พวกเจ้าเช่นเดียวกับที่พระองค์ได้ทรงบัญชาแก่นูหฺ และที่ เราได้ประทานวะห์ยูแก่เจ้า และที่เราได้บัญชาแก่อิบรอฮีม มูซา และอีซา ว่าพวกเจ้าจงด ารงศาสนาไว้ให้ มั่นคง และอย่าแตกแยกกันในเรื่องของศาสนา"(อัช-ชูรอ : 13) - รอซูลคนแรก รอซูลคนแรกคือ นูหฺ (อะลัยฮิสสาลาม) 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า » ْذ ِ ا َ ميثَاَ النَِّبِيد َن ا َ و َأ َخَذ ا ََُّّلل ِ م َ ُ ُْك ل ْن أ تَيُْت م تَا ٍب ِ كِ ِحْْكٍَِ َ و َّ ث ْ ُ َُكُ َ ُسوٌ َجاء ِدٌ ا َ ر ُمَصد م ِ ُ ُْك ل ُت ْؤمِ ُن َمَع َّ َ ل تَ ْن ُُصُ ِبه فَُّه ِ َ ل و قَا َ َ َ ْرُتْ َأ َخْذُتْ َأَأ ْقر َ ََل ْ ِ ُُك و عَ َذ ي ل ِْصِ ِ ا وا َ ْر قَال ََن ُ َأ ْقر قَا َ فَا ْشهَ ُدوا َأََن َ َمَع َن ُُك و ْ َن ِ ال َّشا « ِهِد م ي ความว่า “และจงร าลึกเถิด เมื่อครั้งที่อัลลอฮฺได้เอาสัญญากับบรรดานบีทั้งหลายว่า แม้นว่าข้าได้ ประทานแก่พวกเจ้าทั้งคัมภีร์และความรู้ให้ ครั้นเมื่อมีรอซูลคนหนึ่งซึ่งเป็นผู้รับรองสิ่งที่อยู่กับพวกเจ้าได้มาถึง พวกเจ้าจะศรัทธาต่อเขาและให้ความช่วยเหลือเขา พระองค์ตรัสว่า พวกเจ้าจะยอมรับไหม และจะยอมรับ สัญญาอันหนักแน่นนั้นไหม? พวกเขาตอบว่า เรายอมรับ พระองค์จึงตรัสว่า ดังนั้นจงเป็นสักขีเถิด และข้าก็จะ ร่วมเป็นสักขีหนึ่งพร้อมกับพวกเจ้า” (อาล อิมรอน : 81) 2. อัลลอฮฺ ตะอาลา ได้ตรัสว่า »ََّن ِ َ ا ا ْن َأ َك ْوَحي ْ ي َ ل ِ ا ََكَ َا ْن ْوَحي َىل َأ ِ ا النَِّبِيد َن فُوحٍ َ ه« َْعِدِ م ْن ب و ِ ความว่า "แท้จริงเราได้มีนองการแก่เจ้า เช่นเดียวกับที่เราได้มีนองการแก่นูหฺและบรรดานบีหลังจาก เขา" (อัน-นิสาอ์: 163) 3. หะดีษที่รายงานนดยอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ที่กล่าวเกี่ยวกับอัช-ชะฟาอะฮฺ(ความ ช่วยเหลือในวันกิยามะฮฺ)ในหะดีษดังกล่าวนี้ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้เล่าว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 17 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َىل بوا ُ ْذَه »ا ِ ا ، تُوَن فُوحٍ ْ أ َ وَن فُوًح فَي ا ُ ُقول َ ُ فُ َأفْ َت ََي وُح فَي : َّ ُّ ُس ِل َأو َىل الر ِ ْرِض ا َأ ْه ِل َ اْل « ْ ความว่า "(นบีอาดัมได้กล่าวแก่มนุษย์ทั้งหลายว่า)พวกเจ้าทั้งหลายจงไปหานูหฺเถิด แล้วพวกเขา ทั้งหลายก็ได้ไปพบนูหฺ และพวกเขาได้กล่าวไว้ว่า นอ้นูหฺ ท่านเป็นรอซูลคนแรกที่ได้ถูกส่งมายังมนุษย์นลก .." (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์: 3340 ส านวนนี้เป็นของท่าน, มุสลิม : 194) - รอซูลคนสุดท้าย รอซูลคนสุดท้าย คือ มุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ُ ُْك َِْن ل ِ م ْن ِرَجا َحٍد ِ َِب َأ »َما ََكَن ُم َحَّمٌد َأ َ ل َ و ُسوَ َ ر ِ َخاَت ا ََّّلل َ َ و النَِّبِيد َن« ความว่า "มุหัมมัดมิได้เป็นบิดาผู้ใดในหมู่บุรุษของพวกเจ้า แต่เป็นรอซูลของอัลลอฮฺและคนสุดท้าย แห่งบรรดานบี" (อัล-อะห์ซาบ : 40) - อัลลอฮฺได้ส่งบรรดานบีและรอซูลไปยังผู้ใด? 1. อัลลอฮฺได้ส่งบรรดานบีและรอซูล (อะลัยฮิมุสสลาม) ไปยังกลุ่มชนหรือประชาชาติของพวกเขาเอง นดยเฉพาะ ดังที่อัลลอฮฺได้ตรัสว่า: ِدك ل ُ ِ «َ ٍ و ْوم َها « ٍِ قَ ความว่า “และส าหรับทุกๆ หมู่ชนย่อมมีผู้ชี้แนะแนวทาง” (อัร-เราะอฺดุ : 7) 2. อัลลอฮฺได้ส่งนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม มายังมวลมนุษย์ทุกคน มุหัมมัดเป็นนบีและรอ ซูลคนสุดท้าย และเป็นนบีและรอซูลที่ประเสริฐที่สุดในบรรดานบีและรอซูลทั้งหลาย และท่านยังเป็นผู้น าใน บรรดาลูกหลานอาดัม และเป็นผู้ที่ถือธงที่แสดงถึงการสรรเสริญทั้งมวลแด่องค์อัลลอฮฺในวันกิยา มะฮฺ และอัลลอฮฺได้ส่งนบีมุหัมมัดมาเพื่อเมตตาธรรมแก่ประชาชาติทั้งหลาย 1) อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َا َك َ» َما و ن ْ َأ َل ْرَسل ِ لنَّا ََكفًَِّ ِس ا ِ ِش ل ًرا بَ ا ً ِذير فَ و ََِّن َ َ ل َث َ و َ كْ َ ُوَن النَّ َل اِس أ م َ ي « َْعل ความว่า “และเรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใด เว้นแต่เป็นผู้แจ้งข่าวดีและเป็นผู้ตักเตือนแก่มนุษย์ทั้งหลายแต่ มนุษย์ส่วนมากไม่รู้”(สะบะอ์: 28) 2) อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َا َك َ» َما و ن ْ َأ َل ْرَسل ِ َِْحًِ ا ر ِم َن َ َ َعال ْ ل ل « ِ ความว่า “และเรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใดนอกจากเพื่อเป็นความเมตตาแก่ประชาชาติทั้งหลาย” (อัล-อันบิ ยาอ์: 107) - หิกมะฮฺ (เหตุผล) จากการที่อัลลอฮฺได้ส่งนบีและรอซูล 1. เพื่อเชิญชวนมนุษย์ไปสู่การเคารพภักดีแด่อัลลอฮฺเพียงผู้เดียว และห้ามปรามการภักดีและกราบ ไหว้บูชาสิ่งอื่นนอกจากพระองค์ อัลลอฮฺได้ตรัสว่า قَ َ ِدك َ» ل َا ِِف ُ ََعثْن و ْد ب َ ُس ُأ وَل َّمٍِ ُ ر َأ ِن ُدوا ا ْعب ا َََّّلل وا ُ ب ا ْجتَنِ َ و ال َّطاغُوَت« ความว่า ”และนดยแน่นอน เราได้ส่งรอซูลมาในทุกประชาชาติ(นดยให้พวกเขากล่าวเชิญชวนว่า)พวกท่าน จงเคารพภักดีอัลลอฮฺ และจงหลีกเลี่ยงให้ห่างจากพวกเจว็ด” (อัน-นะห์ลุ : 36)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 18 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 2. อธิบายถึงแนวทางไปสู่อัลลอฮฺตะอาลา ُهو ي َ » ََّّلِ د َن ب ِِف ََع َث ا دِي َ ُس ا وَل نْلمِ ْ ر َّْنُم م و ِ ُ َْتل ي ْ ْْيِم َ عَل هِ ِ ََيت أ ْ ِْيم َُزكِد ي َ ُ و ُهم ُ م ِد َُعل ي و َِتَا َب َ ْ ْ ِحْْكََِ ال ال و ْن َ ِ ا م ْن ُل َ ِ قَب ي ْ و ََكفُوا فِ َ ل َضلٍ ُمِب ٍن« ความว่า "พระองค์เป็นผู้แต่งตั้งรอซูลขึ้นคนหนึ่งในหมู่ผู้ไม่รู้จักหนังสือจากพวกเขาเองเพื่อสาธยายนองการ ต่างๆ ของพระองค์แก่พวกเขา ให้เขาอบรมพวกเขาเหล่านั้นให้ผุดผ่อง ให้สอนคัมภีร์และหิกมะฮฺ(ความรู้แห่ง วิทยปัญญา)แก่พวกเขา และแท้จริง ก่อนนี้พวกเขาอยู่ในทางหลงผิดอย่างชัดแจ้ง” (อัล-ญุมุอะฮฺ : 2) 3. อธิบายความเป็นอยู่ของมนุษย์หลังจากที่พวกเขาได้ไปพบอัลลอฮฺในวันกิยามัต อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َما ُس فَّ َيَا النَّا »قُ ْل ََي َأُّ ِ َ ُ ُْك ا َأََن ٌر ل َن فَ ُمِب ٌن، ِذي ي ََّّلِ َمنُوا وا فَا أ ُ َِمعل َحا ِت َ ل ِ َّصا ْ و ال ُهم َ ل ٌة َ َن َ َم ِرْزٌ ْغفِر ي كِرٌمي، ِ ََّّل و َ ا َ ْو و ا ِِف َسَع َا ن ِ ََيت َن أ ئِ َك ُمَعا ِجِزي َ ُأول ْْصَا ُب َأ ِ َجِحي ال « ْ ความว่า “จงกล่าวเถิด(มุหัมมัด) นอ้มนุษย์เอ๋ย แท้จริงฉันคือ ผู้ตักเตือนอันชัดแจ้งแก่พวกท่าน ดังนั้น บรรดาผู้ศรัทธาและผู้ท าความดีทั้งหลาย ส าหรับพวกเขานั้นจะได้รับการอภัยนทษและปัจจัยยังชีพอันมีเกียรติ (คือ สวนสวรรค์) และบรรดาผู้ที่เพียรพยายามอย่างผู้ใช้ความสามารถเพื่อลบล้างนองการทั้งหลายของเรานั้น ชนเหล่านั้น คือ ชาวนรก” (อัล-หัจญ์: 49-51) 4. เพื่อแสดงหลักฐานต่อมนุษย์โลกทั้งมวล อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َن ِذِري َن ُمنْ د ِرشي ِ و ئَل َ »ُرُسل ُمبَ ِ َُوَن ل َ لنَّ ي ِ ََل اِس ل عَ ا ََّّللِ ُّ ُس ب ِل َْعَد ُحَّجٌِ الر « ความว่า “คือบรรดารอซูลในฐานะผู้แจ้งข่าวดี และในฐานะผู้ตักเตือน เพื่อว่ามนุษย์จะได้ไม่มีหลักฐานใดๆ อ้างแก้ตัวแก่อัลลอฮฺได้ หลังจากบรรดารอซูลเหล่านั้น(ได้มาสั่งสอนแล้ว)” (อัน-นิสาอ์: 165) 5. เพื่อความโปรดปรานและเมตตาธรรมต่อมนุษย์อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َا َك َ» َما و ن ْ َأ َل ْرَسل ِ َِْحًِ ا ر ِم َن َ َ َعال ْ ل ل « ِ ความว่า “และเรามิได้ส่งเจ้ามาเพื่ออื่นใดนอกจากเพื่อเป็นความเมตตาแก่ประชาชาติทั้งหลาย” (อัล-อันบิ ยาอ์: 107) - คุณลักษณะของนบีและรอซูล 1. นบีและรอซูลทุกคนมาจากมนุษย์ที่เป็นบุรุษเพศ อัลลอฮฺตะอาลาทรงเป็นผู้เลือกสรรเองจากบรรดา บ่าวของพระองค์ อัลลอฮฺทรงยกฐานะของพวกเขาด้วยต าแหน่งของการเป็นนบีและรอซูล และอัลลอฮฺทรงยก ย่องพวกเขาด้วยการให้สาส์นแห่งอิสลาม และทรงรับรองและยืนยันฐานะการเป็นนบีและรอซูลด้วยการให้สิ่ง มหัศจรรย์(มุอฺญิซาต)แก่พวกเขา และทรงบัญชาพวกเขาให้เผยแผร่สาส์นดังกล่าวไปยังมนุษย์เพื่อพวกเขาได้ เคารพภักดีและสักการะบูชาแด่องค์อัลลอฮฺเพียงผู้เดียวและหลีกห่างจากการกราบไหว้บูชานอกเหนือจาก พระองค์ และพระองค์ยังได้ให้ค ามั่นสัญญาจากการปฏิบัติดังกล่าวด้วยการตอบแทนสวนสวรรค์ และพวกเขา ได้ท าหน้าที่ในการเผยแพร่แล้วอย่างซื่อสัตย์และไม่ขาดตกบกพร่องในภาระหน้าที่ที่ได้รับมาแต่อย่างใดเลย 1) อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َ» َما َا و ن ْ ْرَسل ْن َأ قَب َل ْ م ِ َْل ِ ِ فُوِح ِرَج ا اَل ْ لَْْيِم ِ ا وا ُ فَا َأ ْه َل ِر ْسأَل كْ ْن ا َِّلد ِ ا ْنُتْ ُ ك َل وَن ُ م َ تَ « ْعل ความว่า “และเรามิได้ส่งผู้ใดมาก่อนหน้าเจ้า นอกจากเป็นบุรุษที่เราได้ประทานวะหฺยูแก่พวกเขาดังนั้น พวกเจ้าจงถามบรรดาผู้รู้หากพวกเจ้าทั้งหลายไม่รู้” (อัน-นะห์ลุ : 43) 2) อัลลอฮฺได้ตรัสว่า » َّن ِ ْص ا ا َََّّلل َطَفى َم ا فُوًح أ َِ ا ِه َي َ و أ َ َ َ و ا ْر ب ِ أ َ ا َن َ َ و ا ِمع ََل ْر عَ َعا ْ ل « َِم َن ال


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 19 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺได้ทรงคัดเลือก อาดัมและนูหฺ และวงค์วานของอิบรอฮีม และวงค์วานของอิ มรอนให้เหนือกว่าประชาชาติทั้งหลาย” (อาล อิมรอน : 33) 3) อัลลอฮฺได้ตรัสว่า قَ ْد َ ِدك َ» ل َا ِِف ُ ََعثْن و ب َ ُس ُأ وَل َّمٍِ ُ ر َأ ِن ُدوا ا ْعب ا َََّّلل وا ُ ب ا ْجتَنِ َ و ال َّطاغُوَت« ความว่า ”และนดยแน่นอน เราได้ส่งรอซูลมาในทุกประชาชาติ(นดยให้พวกเขากล่าวเชิญชวนว่า)พวกท่าน จงเคารพภักดีอัลลอฮฺ และจงหลีกเลี่ยงให้ห่างจากพวกเจว็ด” (อัน-นะห์ลุ : 36) 2. อัลลอฮฺ ตะอาลาได้ทรงสั่งบรรดานบีและรอซูลในการเชิญชวน(ดะอฺวะฮฺ)สู่อัลลอฮฺ เชิญชวนสู่อิบา ดะฮฺแด่พระองค์แต่เพียงผู้เดียวนดยไม่มีการตั้งภาคีใดๆ กับพระองค์ และได้ก าหนดศาสนบัญญัติ(ชะรีอะฮฺ)ที่ เหมาะสมให้กับแต่ละกลุ่มชน ดังที่พระองค์ได้ตรัสว่า َا ٍدك ن ل ُ ِ« ْ ُ ُْك َجَعل نْ ِ ًِ ا ْْشعَ ًج م ِ َّْنَا َمِ و « ความว่า “ส าหรับแต่ละประชาชาติในหมู่พวกเจ้านั้น เราได้ให้มีบทบัญญัติและแนวทาง” (อัล-มาอิดะฮฺ : 48) 3. หลังจากที่อัลลอฮฺได้เลือกสรรบรรดานบีและรอซูล พระองค์ยังได้อธิบายถึงคุณลักษณะของพวก เขา คือ การเป็นบ่าวที่แท้จริง(อัล-อุบูดียะฮฺ)ต่อพระองค์ในระดับที่สูงสุด ดังที่พระองค์กล่าวถึงคุณลักษณะ ของนบีมุหัมมัดในอัลกุรอานว่า َرَك تَب ي َ» ا ََّّلِ ََّزَ ا َن ن ْرقَا ُف ْ ََل ال عَ ِدهِ ْ َُوَن َعب َ ي ِ َِم َن ل َعال ْ ل ِ ل ا ً فَ « ِذير ความว่า “ความจ าเริญยิ่งแด่พระองค์ ผู้ทรงประทานอัลฟุรกอน แก่บ่าวของพระองค์(มุฮัมมัด)เพื่อเขาจะ ได้เป็นผู้ตักเตือนแก่ปวงบ่าวทั้งมวล” (อัล-ฟุรกอน : 1) และอัลลอฮฺตะอาลากล่าวถึง นบีอีซา บุตร มัรยัม อะลัยฮิสลาม ว่า » ْن ِ ا َ ُهو َلَّ ِ ا ٌد ْ َا ْ َعب ن َعم َأفْ ْهِ ي َ ُه َا عَل ن ْ َ و َمثَل ِِن َ َجَعل ب ل ي َل ِ ِ ْ َْسائ ِ ا « ความว่า “เขา(อีซา)มิใช่ใครอื่นนอกจากเป็นบ่าวคนหนึ่ง ซึ่งเรา(อัลลอฮฺ)ได้ให้ความนปรดปรานแก่เขา และ เราได้ท าให้เขาเป็นแบบอย่างที่ดีแก่วงค์วานอิสรอเอล” (อัซ-ซุครุฟ : 59) 4. บรรดานบีและรอซูลทุกคนล้วนแล้วแต่มาจากมนุษย์ทั้งสิ้น และพวกเขาเป็นผู้ถูกสร้างที่ดื่มกิน มีการ ลืมและต้องนอน มีเจ็บมีป่วยแล้วก็ตายในวันหนึ่ง พวกเขาก็เหมือนคนอื่นๆ ที่ไม่ครอบครองคุณลักษณะความ เป็นพระเจ้าผู้ทรงสร้างหรือพระเจ้าที่ควรแก่การกราบไหว้แต่อย่างใด พวกเขาไม่ได้ครอบครองการให้ คุณประนยชน์หรือการให้นทษแก่ผู้หนึ่งผู้ใดนอกจากด้วยการอนุมัติของอัลลอฮฺเท่านั้น พวกเขาไม่ได้ครอบครอง คลังแห่งอัลลอฮฺแม้เพียงสักนิด และพวกเขาหามีความรู้ในสิ่งเร้นลับใดเว้นเสียแต่อัลลอฮฺได้ทรงให้พวกเขาได้รับ รู้ในสิ่งดังกล่าวเท่านั้น อัลลอฮฺได้กล่าวแก่นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ว่า ًعا َل ْف ِس فَْف َ لن َ »قُ ْل َل َأْمِ ُْل ِ ًّضا َلَّ و َ ِ َم ا ا َ ْو ا ََُّّلل َشاء َ ل و ْن ُت َ ُ ََل ك ُ ْ َب َأعْ غَي ََْث ال ْ ُت ْ ِر ْ تَ م َن َخْ ِ َلس ْ َ َم ال ا َّ و َمس ُ ِِنَ ُّسوء ال ْن ِ ا َأََن َلَّ ِ ٌر ا ِش فَ ٌر ِذي بَ َ ٍ و ْوم قَ ِ نُوَن ل ي « ُ ْؤمِ ความว่า “จงกล่าวเถิด(มุหัมมัด)ว่าฉันไม่ได้ครอบครองอ านาจการให้คุณและนทษใดๆ เป็นกรรมสิทธิ์แก่ตัว ฉัน นอกจากสิ่งที่อัลลอฮฺทรงประสงค์เท่านั้น และหากฉันเป็นผู้ที่รู้สิ่งเร้นลับแล้ว แน่นอนฉันก็ย่อมกอบนกยสิ่งที่ ดีไว้มากมายแล้ว และความชั่วร้ายก็ย่อมไม่อาจต้องฉันได้(แต่ความเป็นจริงมิใช่เช่นนั้น) ฉันมิใช่ใครอื่น นอกจากผู้ตักเตือน และผู้ประกาศข่าวดีแก่มนุษย์ที่ศรัทธาเท่านั้น” (อัล-อะอฺรอฟ : 188) - คุณสมบัติพิเศษของบรรดานบีและรอซูล บรรดานบีและรอซูลเป็นผู้ที่มีจิตใจที่ขาวสะอาดที่สุด เป็นผู้ที่มีปัญญาเลิศที่สุด เป็นผู้ที่มีอีมานเข้มแข็ง และมั่นคงที่สุด มีกริยามารยาทที่ดีงามที่สุด มีศาสนาที่สมบูรณ์ที่สุด เป็นผู้ที่มีความเป็นบ่าวที่ดีที่สุด มีร่างกาย


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 20 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ที่สมบูรณ์ที่สุด และยังมีรูปลักษณ์ที่เลิศที่สุดอีกด้วย และอัลลอฮฺได้ทรงเลือกสรรพวกเขาด้วยคุณสมบัติพิเศษ ดังต่อไปนี้ 1. อัลลอฮฺได้เลือกสรรพวกเขาด้วยการประทานวะห์ยูและสาส์นแห่งอิสลามแก่พวกเขา อัลลอฮฺได้ อธิบายว่า م َن في ِ َ ْص َطِ »ا ََُّّلل ي ََِِ ِ َلِئ م ُرُس َن ال ل ْ و النَّاِس َّن َمِ ِ َ ِْس ِص ٌر ا ا َََّّلل يٌع ب « َ ความว่า “อัลลอฮฺทรงคัดเลือกบรรดาทูตจากหมู่มลาอิกะฮฺและจากหมู่มนุษย์ แท้จริงอัลลอฮฺทรงได้ยิน (และ)ทรงเห็นเสมอ”(อัล-หัจญ์75) และอัลลอฮฺได้อธิบายอีกว่า َما »قُ ْل فَّ ِ ُ ُْك ا َأََن بَ َ ٌرش ُ ثْل ُوَح ِ م ي َِلَّ ِ ا ا َ ُ ُْك َأفَّم هُ َ ل ِ ََل ا ٌ ِ ِح ا ٌد ا َ و « ความว่า “จงกล่าวเถิด(มุหัมมัด) แท้จริงฉันเป็นเพียงสามัญชนคนหนึ่งเยี่ยงพวกท่าน มีวะห์ยูแก่ฉันว่า แท้จริง พระเจ้าของพวกท่านนั้นคือพระเจ้าองค์เดียวเท่านั้น” (อัล-กะห์ฟุ : 110) 2. พวกเขาทั้งหลายเป็นผู้ที่ถูกปกป้องจากสิ่งผิดและบาปต่างๆ ในการเชิญชวน (ดะอฺวะฮฺ) มนุษย์ไปสู่ อิสลามทั้งในเรื่องของการศรัทธา(อะกีดะฮฺ)และบัญญัติต่างๆ แต่หากแม้นว่าพวกเขาได้ท าอะไรผิดพลาดลงไป อัลลอฮฺตะอาลาจะช่วยปรับและดึงพวกเขาให้กลับมาในสัจธรรมและความถูกต้อง อัลลอฮฺตะอาลาได้ตรัสว่า « ِ النَّ ْجم َ و َذا ِ ا ى، ُ ُْك َهو َما َض َّل َ ُ ِحب َصا َ َما َ و ى، َْن ِطُق َعِن َ غَو َما و ي ال ى، ْ َ ْن َهو ِ ا َ ُهو َل ِ َ ْ ٌح ا ُوَح، ُه َ و ي م َش ى ِد عَل ي ُد َّ َ ُقو ال « ْ ความว่า “ขอสาบานด้วยดวงดาวเมื่อมันคล้อยตกลงมา สหายของพวกเจ้า(นบีมุหัมมัด)มิได้หลงผิด และ เขามิได้พูดจากอารมณ์ สิ่งที่เขาพูดนั้นมิใช่อื่นใดนอกจากเป็นวะห์ยูที่ถูกประทานลงมา ผู้ทรงพลังอ านาจ มากมาย(ญิบรีล)ได้สอนเขา” (อัน-นัจญ์มุ : 1-5) 3. ไม่มีการสืบทอด ในมรดกต่างๆของพวกเขาหลังจากที่พวกได้เสียชีวิตแล้ว เล่าจากอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ได้กล่าวว่า ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า َا َر ُث، َما ن » ََل فُو كْ َ َر ت َص « َدقٌَِ ความว่า “พวกเราไม่มีการสืบทอด(ในทรัพย์สินต่างๆ) และสิ่งที่เราทิ้งไว้(หลังจากเสียชีวิต)เป็นเศาะดะ เกาะฮฺ” (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์: 6730 ส านวนเป็นของท่าน, มุสลิม : 1757) 4. บรรดานบีและรอซูลจะนอนหลับแต่ดวงตา ทว่าจิตใจของพวกเขาจะไม่หลับตามไปด้วย จาก ท่านอะนัส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ได้รายงานหะดีษอิสรออ์ มีเนื้อหาตอนหนึ่งว่า ُّ النَِّب و َصََّل ا ََُّّلل َ ْهِ ي َ َ َ َسََّل عَل ِ َ و ٌ م ُه ََنئ ، ِ َا ن ْ ََل َعي َ ُم ُه، َا َن ُ و ي ب قَل َذِ َِل ْ َكَ ُ و اء َ َفِْبي ُم اْلْ َا تَن ْ َُّنُم ُ ََل َأ ْعي َ ُم َا ْ و تَن ُوُِبُم قُل ความว่า และนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิวะสัลลัม ดวงตาทั้งสองของท่านจะนอนหลับ แต่ใจของ ท่านไม่ได้หลับ และบรรดานบีทั้งหลายก็เช่นกันซึ่งดวงตาทั้งสองของพวกเขาจะนอนหลับ และดวงใจของพวก เขาไม่ได้นอนหลับ(ตามไปด้วย)” (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์: 3570) 5. บรรดานบีและรอซูลมีสิทธิที่จะเลือกระหว่างโลกดุนยากับโลกอาคิเราะฮฺในขณะที่ถึงเวลาเสียชีวิต เล่าจากอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮาได้กล่าวว่า ฉันได้ยินท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า م ْن ِ فَ ُض ِبٍد »َما َ ْر َم ي َلَّ ِ َر ْنَ ا ُخِد َ ب ا َ ا َُّلفْي ةِ َ اْل ِخر َ و « ความว่า “ไม่มีนบีคนใดที่เมื่อได้ป่วยลง(ใกล้เสียชีวิต) นอกจากจะให้เลือกระหว่างนลกดุนยาและนลกอาคิ เราะฮฺ” (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์: 4586 ส านวนเป็นของท่าน, มุสลิม : 2444) 6. บรรดานบีและรอซูล(รอฎิยัลลอฮุอันฮุม)จะถูกฝังในสถานที่ที่พวกเขาได้เสียชีวิต จากอบู บักร์ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ได้กล่าวว่า ฉันได้ยินท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า َْب ْقَ ُ ْن ي َ ب »ل ِل فَ َلَّ ِ ُث ا ْ ُوُت َحي ي « َم


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 21 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “นบีคนหนึ่งคนใดจะไม่ถูกฝังลง นอกจาก ณ สถานที่ที่เขาได้เสียชีวิตลง” (หะดีษเศาะฮีหฺ, บันทึกนดยอะห์มัด : 27,ดู เศาะฮีหฺ อัล-ญามิอฺ : 5201) 7. ร่างกายของบรรดานบีและรอซูลจะไม่ถูกดินกัดกร่อน เล่าจากเอาส์ บิน เอาส์ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ได้ กล่าวว่า ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า » َّن ِ ْن ا َض ِل ِ ََّيمِ ُ ُْك م َأفْ َْوَم َأ ي ُ َعِِ ُجم ْ ال ... «، وفيه : وا ُ َ ُسوَ ََي قَال ر ا ََّّلل َف ِ ْ ي َ و ُض َكَ ْعر َ تُ ا َك َص َلتُن ْ ي عَل قَ ْد َ و َأِرْم َت؟ َ وَن ُ ُقول ي ي َت، َ ِ َل َّن فَقَا : » َ ب ِ َ َج َعَّز َّل ا ا َََّّلل َّ و َم ِض ََل َحر ْجَس ا اَِ َْلْر عَ َأ اءِ َ ا « َْلفِْبي ความว่า “แท้จริงวันของพวกท่านที่มีความประเสริฐมากที่สุด คือ วันศุกร์...” (และในหะดีษนี้มีเนื้อหา ตอนหนึ่งว่า) บรรดาเศาะหาบะฮฺได้ถามท่านนบีว่า “นอ้ ท่านรอซูลุลลอฮฺ ค าเศาละวาตของเราจะถูกเสนอแก่ ท่านได้อย่างไรในขณะที่ท่านได้สลายไปกับดินไปแล้ว?” ท่านนบีได้ตอบไปว่า “แท้จริงแล้วอัลลอฮฺได้ห้ามดินมิ ให้กลืนกินร่างกายของบรรดานบี” (หะดีษ เศาะฮีหฺ บันทึกนดยอบู ดาวูด : 1047, ดู เศาะฮีหฺ สุนัน อบี ดาวูด : 925) 8. พวกเขาจะมีชีวิตอยู่ในหลุมศพและละหมาดในนั้น 1) จากอะนัส เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ จากท่านนบีศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า « ُ اء َ ا َْلفِْبي ُ اء َ َأ ِ ِْف ْحي ُوِرِهْ وَن قُب ُّ ي « ُ َصل ความว่า “บรรดานบีจะอยู่ในกุบูรอย่างคนที่มีชีวิตนดยที่พวกเขาจะท าการละหมาด” (หะดีษสายรายงานดี , บันทึกนดย อบู ยะอฺลา : 3425, ดู อัส-สิลสิละฮฺ อัศ-เศาะฮีหะฮฺ : 621) 2) จากอะนัส เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ จากท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า َ» ْر ُت َةل عَ ُموَس َ ََل َمر ْ ي َ ُأ ْ ِْسَي ل ي ِب ِع ِب ْنَد ِ ََث ا َْل ال َِْحِر ْ َ ُهو َ و ٌ ِ ي ِِف ُ َصدِل قَائ ِ قَْْب « ِهِ ความว่า “ฉันได้เดินทางผ่านมาทางนบีมูซา ณ เนินทรายสีแดง ในคืนอิสรออ์ซึ่งนบีมูซาก าลังยืนท าการ ละหมาดในกุบูรของท่าน” (บันทึกนดยมุสลิม : 2375) 9. บรรดาภรรยาของพวกเขาจะไม่แต่งงานกับใครอื่นหลังจากที่ได้เป็นภรรยาของพวกเขาแล้ว อัลลอฮฺ ตะอาลาได้ตรัสว่า َ» َما َ ُُك و ََكَن ْ ْن ل ُذوا َ ُسوَ تُ ْؤ َأ ر ا ََّّلل َل ِ َ َجُه ْن تَْن َُِحوا ا َ و َأ ْن َأْزو مِ َْعِدهِ ب ًدا َ َّن َأب ِ ِ ُ ُْك ا ْنَد ََكَن َذل ِع ِ ِظ ا ََّّلل ميًا َع « ความว่า “และไม่เป็นการบังควรแก่พวกเจ้าที่จะก่อความร าคาญให้แก่รอซูลของอัลลอฮฺ และพวกเจ้า จะต้องไม่แต่งงานกับบรรดาภริยาของท่านหลังจากท่าน(ได้สิ้นชีพไปแล้ว)เป็นอันขาด แท้จริงในการนั้น ณ ที่อัลลอฮฺเป็นเรื่องที่ใหญ่หลวงนัก” (อัล-อะห์ซาบ : 53) วาญิบที่จะต้องศรัทธากับบรรดานบีและรอซูลทุกคน ใครผู้ใดก็ตามที่ปฏิเสธ(ไม่ศรัทธา)กับนบีคนใดหรือ รอซูลคนไหน แท้จริงเขาผู้นั้นได้ปฏิเสธนบีและรอซูลทั้งหมดแล้ว และวาญิบที่จะต้องศรัทธาและเชื่ออย่างแน่ว แน่ในเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับพวกเขาที่มีสายรายงานที่เศาะฮีหฺ และต้องเจริญรอยตามพวกเขาในเรื่องการ ศรัทธาที่ซื่อสัตย์ การศรัทธาในเอกภาพของอัลลอฮฺที่สมบูรณ์แบบ การมีกริยามารยาทที่ดีงาม และการปฏิบัติ ตามชะรีอะฮฺของผู้ที่ถูกส่งมายังพวกเรานั่นก็คือ นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม นบีคนสุดท้ายและน บีที่ประเสริฐที่สุดที่ถูกส่งมายังมนุษย์ทั้งมวล อัลลอฮฺตะอาลาได้ตรัสว่า َيَا ِ ََّّل »ََي َأُّ َن ا َمنُوا نُوا ي أ أ مِ ِِبََّّللِ َ ُسوَِلِ و َِتَا ِب َر ْ ال ََّّل و ِي َ ََّزَ ا ََل ن عَ ر َِتَا ِب َ ُسوَِلِ ْ ال ََّّل و ِي َ َْزَ ا ْن َأن قَب َم ْن ْ م ُل ِ َ ْر و َُْف َ ي ِِبََّّللِ ِهِ ِ ََت َ َملِئ و ُتِبهِ كُ َ و َ ُرُسَِلِ ِ و َ ْوم ي ْ ال َ و اْل ِخِر فَقَ ْد َض َّل ضَ لَل يًدا ب « َعِ ความว่า “ผู้ศรัทธาทั้งหลาย จงศรัทธาต่ออัลลอฮฺและรอซูลของพระองค์เถิด และจงศรัทธาต่อคัมภีร์ที่ พระองค์ทรงประทานลงมาแก่รอซูลของพระองค์และคัมภีร์ที่ประทานลงมาก่อนนั้น และผู้ใดปฏิเสธศรัทธา ต่ออัลลอฮฺและมลาอิกะฮฺของพระองค์ และบรรดาคัมภีร์ของพระองค์และบรรดารอซูลของพระองค์และวัน ปรนลกแล้วไซร้ แน่นอนเขาก็ได้หลงทางไปอย่างสุดกู่” (อัน-นิสาอ์:136)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 22 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา - ผลจากการศรัทธาต่อนบีและรอซูล - ได้ทราบถึงความนปรดปรานและความดูแลของอัลลอฮฺผู้ยิ่งใหญ่ที่มีต่อบ่าวของพระองค์ที่พระองค์ได้ส่ง บรรดารอซูลเพื่อเป็นผู้ชี้ทางเขาสู่การอิบาดะฮฺ(เคารพภักดีและสักการะบูชา)แด่พระเจ้าของพวกเขาและได้สั่ง สอนถึงวิธีการอิบาดะฮฺที่ถูกต้องว่าต้องท าเช่นใด - ผลจากการศรัทธาต่อนบีและรอซูลอย่างหนึ่ง คือ การได้ขอบคุณและการสรรเสริญแด่องค์อัลลอฮฺใน นิอฺมัตของพระองค์อันมากมาย - ผลจากการศรัทธาต่อนบีและรอซูลอย่างหนึ่ง คือ ความรักและการยกย่องที่มีต่อรอซูลนดยไม่เลยเถิด เพราะพวกเขาเป็นรอซูลของอัลลอฮฺ พวกเขาได้ปฏิบัติอิบาดะฮฺต่อพระองค์ ได้เผยแพร่สาส์นแห่งอิสลามและได้ กล่าวตักเตือนบรรดาบ่าวของพระองค์ รุก่นข้อที่ 5 ศรัทธาเรื่องกอฎอกอดัร (การก าหนดความดีและความชั่วของอัลลอฮฺ) กฎอัลเกาะดัร คือ ความรอบรู้ของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ในทุกสรรพสิ่ง ตลอดจนในสิ่งที่ พระองค์ทรงปรารถนาจะสร้างหรือให้บังเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ นลกและจักรวาล เหตุการณ์ และสิ่งต่าง ๆ อีกทั้งคือการก าหนดสิ่งดังกล่าวและบันทึกไว้อย่างเป็นลายลักษณ์อักษรในกระดานอัลเลาหุลมัหฟูซ (กระดาน สงวนหรือกระดานที่ถูกพิทักษ์) ซึ่งกฎเกาะดัรนั้นเป็นความลับเฉพาะของอัลลอฮฺเกี่ยวกับสิ่งสรรสร้างของ พระองค์ ไม่เป็นที่รู้ของมะลาอิกะฮฺผู้ใกล้ชิดหรือนบีคนใดที่ถูกแต่งตั้งมา ความหมายของการศรัทธาในกฎเกาะดัร คือ การเชื่อมั่นว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้น ทั้งที่เป็นความดี ความชั่ว และสิ่งอื่นๆ เกิดขึ้นตามเกณฑ์ก าหนด ของอัลลอฮฺและด้วยพลานุภาพของพระองค์ ดังที่พระองค์ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ََّن ِ ء ا َّ ُك ٍ ُه ََشْ َخل ِبقَ َدٍر )القمر : 99َْ )قنَا ความว่า : แท้จริง ทุก ๆ สิ่งนั้น เราสร้างมันตามกฎเกาะดัร (อัลเกาะมัร : 49) การศรัทธาในกฎอัลเกาะดัรประกอบด้วยสี่ปัจจัยหลัก คือ : 1.ประการแรก : คือ ศรัทธาว่าอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงรอบรู้ในทุกสิ่ง ทั้งนดยสรุปและนดย ละเอียด และทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับการกระท าของพระองค์เอง เช่น การสร้าง การบริหาร การชุบชีวิต การท าให้ ตาย เป็นต้น หรือในส่วนที่เกี่ยวกับการกระท าของสิ่งสรรสร้างของพระองค์ เช่น ค าพูด การกระท า สภาวะของ มนุษย์ สภาวะของสัตว์ พืช ตลอดจนสิ่งที่ไม่มีชีวิตต่าง ๆ ซึ่งทุกสิ่งดังกล่าวนั้นอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงรอบรู้ทั้งหมด ดังที่พระองค์ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ا ََُّّلل ي ا َق ََّّلِ َْع َخل َ َ ب َّن ا َََّّلل ُموا َأ َ لتَ ْعل ِ َيََّْنُ َّن ُر ب َْلْم ْ َّنُ ا َ َتَ َّن ي هُ َ مثْل َْلْرِض ِ ْ م َن ا َوِ ٍت َوا َْسا ِدك ََلٰ س َ عَ ُ ْ ءٍ ٌر ََش َّن َق ِد ي َأ و ا َََّّلل َق ْد َ َحا َط ِب ُكِد َأ ْ ءٍ ََش ا ً م ْ ل ع )الطل : 21ِ ) ความว่า : อัลลอฮฺ คือ ผู้ทรงสร้างชั้นฟ้าทั้งเจ็ด และทรงสร้างแผ่นดินก็เยี่ยงนั้น บัญชาการของ พระองค์จะลงมาท่ามกลางมัน (ชั้นฟ้าและแผ่นดิน) ทั้งนี้ เพื่อพวกเจ้าจะได้รู้ว่าอัลลอฮฺนั้นเป็นผู้ทรงอานุภาพ เหนือทุกสรรพสิ่ง และอัลลอฮฺนั้นทรงรอบรู้อย่างละเอียดยิ่งในทุกๆ สิ่ง (อัฏเฏาะลาก : 12)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 23 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 2. ประการที่สอง : คือ ศรัทธาว่าอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงเขียนกฎเกณฑ์ของทุกสิ่งไว้ใน กระดานอัลเลาหุลมัหฟูซ ไม่ว่าจะเป็นกฎเกณฑ์ของสิ่งสรรสร้างต่างๆ สภาวะ หรือปัจจัยยังชีพ นดยพระองค์ได้ เขียนจ านวนและปริมาณ รูปแบบและลักษณะ เวลาและสถานที่ ซึ่งทุกอย่างจะไม่เปลี่ยนแปลงหรือนยกย้าย ไม่ เพิ่มหรือถอดถอน นอกจากด้วยค าสั่งของพระองค์ สุบหานะฮุวะตะอาลา ดังหลักฐานต่อไปนี้: 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงกล่าวว่า : ْ م َ َأل ْعََلْ َّن تَ َْعََلُ ا َََّّلل َأ ِِف َم ي ا اءِ َ َّسم ْرِض ال َ اْلْ و َّن َ ِ ِِل ا َ تَا ٍب َذ ِِف َٰ ك َّن ِ ِ ِِل ا َ َذ ََل َٰ عَ يَ )احلج : 07ِ )س ا ََّّلل ٌر ِ ความว่า : เจ้ามิรู้ดอกหรือว่าอัลลอฮฺนั้นทรงรอบรู้สิ่งที่มีอยู่ในท้องฟ้าและพื้นแผ่นดินทั้งหมด แท้จริง แล้ว สิ่งนั้นมีอยู่ในสมุดบันทึกแล้ว อีกทั้งสิ่งนั้นยังเป็นสิ่งที่แสนง่ายดายส าหรับอัลลอฮฺ (อัลหัจญ์ : 07) 2- จากอับดุลลอฮฺ บินอัมร บินอัลอาศ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ เล่าว่า : َ ُس َ ِْس وَ ْع ُت ر ِ ُقوُ ا ََّّلل -صَل هللا عليه وسَل- َ تَ َب ي » َ ك ا ََُّّلل َ َمقَا ِق ِِير ِ َخ َلئ ال َل ْ ْ َق َأ ْن قَب ِت ُ ََْيل ا َ َو ا َْلْر ال َض َّسم و ِ َِبْمِس َن َ َف ْ َأل ٍَِ َ ن ء «. نأخرجه مسَل. ِ َما ْ ََل ال ْرُشُه عَ َوَع س - قَا َ - ความว่า : ฉันได้ยินท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า “อัลลอฮฺได้ทรงเขียน กฎเกณฑ์ของสิ่งสรรสร้างต่างๆก่อนที่พระองค์จะทรงสร้างชั้นฟ้าและแผ่นดินห้าหมื่นปี” ท่านกล่าวว่า “และบัล ลังค์ของพระองค์นั้นอยู่เหนือน้ า” [บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 2653] 3.ประการที่สาม : ศรัทธาว่าสิ่งที่มีอยู่ทั้งหมดจะไม่เกิดขึ้น เว้นแต่ด้วยความประสงค์และความ ปรารถนาของอัลลอฮฺ ซึ่งทุกสิ่งนั้นเกิดขึ้นด้วยความประสงค์ของอัลลอฮฺ นดยสิ่งใดที่อัลลอฮฺประสงค์ สิ่งนั้นจะ เกิดขึ้น และสิ่งใดที่พระองค์ไม่ทรงประสงค์ สิ่งนั้นจะไม่เกิดขึ้น ทั้งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการกระท าของพระองค์ เช่น การบริหาร การให้ชีวิต การท าให้ตาย เป็นต้น หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการกระท าของบรรดาสิ่งสรรค์สร้าง เช่น การกระท า ค าพูด หรือ สภาวการณ์ต่าง ๆ ดังหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َك ُّ ب َ و ُق َر ُ َم ََْيل ا ُ ُر يَ َشاء ََْيتَا َ و )القصص : 86) ความว่า : และพระเจ้าของเจ้านั้นทรงสร้างสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์ และทรงเลือกสรร (อัลเกาะศ็อศ: 68) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َ َع ُل ا ََُّّلل َما ْف َ ُ وي يَ َشاء ) ابراهي : 10) ความว่า : และอัลลอฮฺทรงกระท าสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์ (อิบรอฮีม: 20) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ْو َ ل َ َشاء َك َ و ُّ ب َ ر َما وُه ُ ْ َعل ْرُه فَ فَ َذ َما َ ُتوَن )ا نْلفعام : 221) ْفَ َ و ي ความว่า : และหากพระเจ้าของเจ้าทรงประสงค์ พวกเขาก็จะไม่สามารถกระท าสิ่งนั้น (อัลอันอาม: 112) 4- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َن م ِ ل َ ُ ُْك َشاء ن َي م َأن ِ ْ تَقِ ُ و وَن َ َم يَس ا ََّل تَ َشاء ِ ا َأن َ ب يَ َشاء ا ََُّّلل ُّ ر ِم َن َ َ َعال ال )التَوير : 16-19ْ ) ความว่า : ส าหรับผู้ใดในหมู่พวกเจ้าที่ปรารถนาจะอยู่ในแนวทางอันเที่ยงตรง และพวกเจ้าจะไม่สม ปรารถนาสิ่งใดได้เว้นแต่เมื่ออัลลอฮฺพระเจ้าแห่งสากลนลกทรงประสงค์(อัตตักวีรฺ : 28-29) 4.ประการที่สี่ : คือ การศรัทธาว่าอัลลอฮฺคือผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง ซึ่งพระองค์ทรงสร้างสิ่งที่มีอยู่ทั้งหมด ทั้งรูปร่าง ลักษณะ และท่าทางการเคลื่อนไหว ไม่มีผู้สร้างและไม่มีผู้อภิบาลเว้นแต่พระองค์ ดังหลักฐาน ต่อไปนี้: 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า :


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 24 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ا ََُّّلل ُق ء َخال ِد ِ ُك ٍ ََشْ َ ُهو َ ِدك ََلٰ و ُ عَ ََش ي ٌل ْ ءٍ َكِ و )الزمر : 81) ความว่า : อัลลอฮฺ คือผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง และพระองค์คือผู้คุ้มครองและดูแลทุกสิ่ง (อัซซุมัร : 62) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า: ََّن ِ ء ا َّ ُك ٍ ُه ََشْ َخل ِبقَ َدٍر )القمر : 99َْ )قنَا ความว่า : แท้จริง ทุก ๆ สิ่งนั้น เราสร้างมันตามกฎเกาะดัร(อัลเกาะมัร: 49) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ا ََُّّلل َ قَ ُُك و ْ َ َخل َما و وَن َ ُ ل َ تَ )الصافات : 98ْ )عم ความว่า : และอัลลอฮฺได้ทรงสร้างพวกเจ้าและสิ่งที่พวกเจ้ากระท า (อัศศ้อฟฟาต : 96) การใช้กฎเกาะดัรเป็นข้ออ้าง สิ่งที่อัลลอฮฺก าหนดกฎเกณฑ์และกระท าต่อมนุษย์มีสองประเภท 1- ประเภทแรก คือ สิ่งที่อัลลอฮฺได้กระท าและก าหนดกฎเกณฑ์ในด้านลักษณะและสภาพต่างๆ ที่อยู่ นอกเหนือจากการควบคุมของมนุษย์ ซึ่งมีสองประเภท คือ : ก. สิ่งที่ติดมากับตัวของเขา เช่น ความสูงหรือความต่ า ความสวยหล่อเหลาหรือความขี้เหร่ การมีชีวิต หรือการตาย ข. สิ่งที่เกิดกับตัวเขานดยที่เขาไม่ต้องการ เช่น อุบัติภัย นรคภัยไข้เจ็บ การเสียทรัพย์ เสียชีวิต ผลไม้ไม่ ออกตามฤดูกาล และความทุกข์อื่นๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ บางครั้งเป็นการลงนทษต่อความผิดของบ่าว บางครั้งเป็นการ ทดสอบ หรือบางครั้งก็เป็นการเพิ่มผลบุญและเลื่อนต าแหน่งให้แก่เขา ทั้งนี้ สิ่งที่เกิดขึ้นกับตัวเขานดยที่เขาไม่ปรารถนาเช่นนี้ มนุษย์จะไม่ถูกสอบสวนและไม่ต้องรอผลจากสิ่ง ที่เกิดขึ้น และเขาจะต้องศรัทธาว่าทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นด้วยเกณฑ์ก าหนดของอัลลอฮฺและพลานุภาพของพระองค์ เขาจะต้องอดกลั้น พอใจ และน้อมรับด้วยใจที่บริสุทธิ์ ซึ่ง ส าหรับพระเจ้าผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงเชี่ยวชาญแล้ว ทุก สิ่งที่เกิดขึ้นในจักรวาลนี้ล้วนมีข้อคิดและคุณค่าแฝงอยู่ ดังหลักฐานต่อไปนี้ : อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า: َصا َب َأ ن َما مِ ٍَِ ْرِض ُّم ِِف ِصيب َ ََل اْلْ َ ََّل َأفُف ِسُُك و ِِف ْ ِ تَ ا ِِف ا ٍب دمن ِل ِ ْ ك ِ َْبَأ َها َّن قَب َأن فَّْ ِ ِِل ا َ َذ ََل َٰ عَ يَ )احلديد : 11ِ )س ا ََّّلل ٌر ِ ความว่า : ภัยพิบัติใดๆ ที่เกิดในแผ่นดินหรือเกิดกับตัวพวกเจ้าจะไม่เกิดขึ้น เว้นแต่จะมีจารึกแล้วอยู่ใน บันทึกก่อนที่เราจะให้มันบังเกิดขึ้น แท้จริงแล้ว การนั้นเป็นการที่ง่ายดายส าหรับอัลลอฮฺ (อัลหะดีด : 22) 1. จากอิบนุอับบาส เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุมา เล่าว่า: ْن ُت ك َف ُ َ ُس َخل وِ ْ ر ِ َْو ا ََّّلل -صَل هللا عليه وسَل- ًما دن ََي فَقَا » َ ي غُ َلُم! ِ ِ ا َك ُ م ُأعَل ا ٍت ِد َ ا ا َََّّلل ْح ََْيَف ْظ َفظِ ا ا َََّّلل َك، ْحَفظِ ََِك م ََتِ ْدُه َذ َه ا َك، َُتَا ِ ا َت ْ ْسأَ ِ َسأَل َذ فَا ا َََّّلل، ا ِ ا َ ع ْن ، ِ ْس تَ ْس تََعْن َت فَا و ا ِِبََّّللِ ََلْ اعْ َ َّن ا ُْلَّمَِ ِو و َأ َ َع ل ْت َ ُعوَك ََل ا ْجتَم َْنَف ْن ي عَ َأ ْ ءٍ ِب ََش ْ م َ ل ُعوَك َْنَف ي َلَّ ِ ا قَ ُه ِب ََش ْد ْ ءٍ َ تَب ِو َِل ك ا ََُّّلل َ ، َ َ ل َ َ و ُعوا ْجتَم ُُّّضوَك ََل ا ُ َ ْن ي َأ عَ ِب ََشْ ءٍ ْ م ُُّضُّ ل وَك َ َ ي َلَّ ِ ا قَ ُه ِب ََش ْد ْ ءٍ َ تَب ك ا ََُّّلل َك، َ ْ ي َع عَل ِت َ ُرفِ ص ُحُف «. نأخرجه نأِحد والتمذي َ َجفَّ ِت ا َْلْق َلُم، ُّ و ال ความว่า : วันหนึ่ง ฉันอยู่ข้างหลังท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม แล้วท่านได้กล่าว ว่า “นอ้ เด็กเอ๋ย ! ฉันจะสอนเจ้าสามสี่ประนยค จงระลึกถึงอัลลอฮฺอยู่เสมอแล้วอัลลอฮฺก็จะทรงคุ้มครองเจ้า จง ระลึกถึงอัลลอฮฺอยู่เสมอแล้วเจ้าก็จะพบว่าพระองค์นั้นทรงอยู่เคียงข้างเจ้า เมื่อเจ้าจะขอสิ่งใดก็จงขอจากอัลลอ ฮฺ และเมื่อเจ้าจะขอความช่วยเหลือก็จงขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮฺ และ จงทราบไว้ว่า ประชาชาตินี้ทั้งหมด หากพวกเขารวมตัวกันเพื่อจะให้เกิดคุณอย่างหนึ่งแก่เจ้า พวกเขาจะไม่สามารถให้คุณแก่เจ้าได้ เว้นแต่ในสิ่ง ที่อัลลอฮฺทรงบันทึกไว้แล้วส าหรับเจ้า และ หากพวกเขารวมตัวกันเพื่อจะให้เกิดนทษอย่างหนึ่งให้กับเจ้า พวก


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 25 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เขาก็ไม่สามารถจะท าให้เกิดนทษแก่ตัวเจ้าได้ เว้นแต่ในสิ่งที่อัลลอฮฺได้ทรงบันทึกไว้แล้วต่อตัวเจ้า ซึ่ง ปากกาได้ ถูกยกออกแล้ว และสมุดบันทึกก็แห้งเรียบร้อยแล้ว” [เศาะหีห บันทึกนดยอัหมัด หมายเลข 2669 และบันทึก นดยอัลติรมิซีย์ตามส านวนนี้ หมายเลข 2516 เศาะหีหสุนันอัลติรมิซีย์ หมายเลข 2743] 2. มีรายงานจากอบีฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า : َِن ُن ُ ْؤِذي ْ »ي ب أ ََِم اب ، ُس ُّ يَ َ ا ََّلْهر َأََن َ ِد ا ََّلْهر ى ُ و ، َ ِبي ، ُ ُب ا َْلْمر ُأقَل َل ِد ْ ي َّ الل َ الََّّنَار َ و « . ความว่า : “อัลลอฮฺ –อัซซะวะญัล-ได้กล่าวว่า ลูกหลานอาดัมได้รังควาญข้า นดยเขาได้ด่าทอวันเวลา ซึ่งข้านี่แหล่ะคือ (เจ้าของ) วันเวลา ทุกอย่างอยู่ในมือข้า ข้าหมุนเวียนกลางคืนและกลางวัน ” [มุตตะฟัก อะ ลัยฮฺ บันทึกนดยอัลบุคอรีย์ หมายเลข 4826 และมุสลิม หมายเลข 2246] 2- ประเภทที่สอง คือ สิ่งที่อัลลอฮฺได้กระท าและก าหนดกฎเกณฑ์ไว้ในด้านพฤติกรรมที่อยู่ในความ ควบคุมของสติปัญญา ความสามารถ และการเลือกสรรของมนุษย์ เช่น การศรัทธาหรือการปฏิเสธ การภักดี หรือการเนรคุณ และการท าดีหรือการท าชั่ว นดยพฤติกรรมเช่นนี้ มนุษย์จะต้องถูกตรวจสอบและได้รับผลของพฤติกรรมในรูปของรางวัลตอบแทน หรือการลงนทษ เพราะอัลลอฮฺได้ส่งบรรดาศาสนฑูต ได้ประทานคัมภีร์ต่างๆ ได้ทรงแยกแยะความดีออกจาก ความชั่ว ได้ทรงรณรงค์สนับสนุนการศรัทธาและการภักดี ตลอดจนได้ทรงตักเตือนให้หลีกเลี่ยงจากการปฏิเสธ และการทรยศ ทรงประทานสติปัญญาให้กับมนุษย์และให้พลังอ านาจแก่เขาในการคัดเลือก กระทั่งเขาสามารถ เลือกทางเดินที่เขาพอใจ ซึ่งไม่ว่าทางใดที่เขาเลือกต่างก็ต้องอยู่ภายใต้ความประสงค์ของอัลลอฮฺและพลานุภาพ ของพระองค์ เพราะไม่มีสิ่งใดในจักรวาลของอัลลอฮฺนี้ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากการรับรู้และการประสงค์ของ พระองค์ ดังหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ِل قُ ق َ و َحُّ ال ن ْ ُ ُْك مِ ِ د ب َ ر ن َّ فَم َ َشاء ن ْؤمِ ُ ي َمن ْ فَل َ َ و ْر َشاء َُْف َ ي فَل )الَهف : 19ْ ) ความว่า : จงกล่าวซิ (มุฮัมมัด) ว่า สัจธรรมที่แท้จริงนั้น มาจากพระเจ้าของพวกเจ้า ซึ่งหากใคร ประสงค์ (จะศรัทธา) ก็จงศรัทธา หรือใครประสงค์ (จะปฏิเสธ) ก็จงปฏิเสธ (อัลกัฮฟฺ : 29) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า: َِمع َل َّم ْن ًحا ِ َصال ْف ِسهِ َ ن ِ َ َم ْن فَل َ و َساء َأ ا ْْيَ َ َعل َما فَ َك َ ُّ َ و ب ٍ ر َعِبي ِد ِب َظَّلم ْ ل ل )فصلت : 98ِ )د ความว่า : ผู้ใดที่ท าการดี ความดีก็จะเป็นของเขา และผู้ใดที่ท าการชั่ว เขาก็จะต้องได้รับนทษของมัน ซึ่งพระเจ้าของเจ้านั้นไม่ได้เป็นผู้ทารุณต่อปวงบ่าว (ฟุซซิลัต : 46) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า: َمن َ َفر كَ ْهِ ي َ َعل ُ ُه فَ ْفر َ ك َم ْن ُ ًحا ل ِ ْ و َِمع َل َصا ْهَ ُدوَن فَِِلَفُف ِسهِم ي )الروم : 99َ )م ความว่า : ผู้ใดที่ปฏิเสธ เขาก็จะต้องรับนทษจากการปฏิเสธของเขา ส่วนผู้ใดที่กระท าการดี พวกเขาก็ ได้เตรียมที่พักส าหรับตัวเอง (อัรรูม: 44) 4- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ْن ِ ا َ ََّل ُهو ِ ٌر ا َِم َن ِذكْ َعال ْ ل ل ن ِد َ م ِ ل َ ُ ُْك َشاء ن َي م َأن ِ ْ تَقِ ُ و وَن َ َم يَس ا ََّل تَ َشاء ِ ا َأن َ ب يَ َشاء ا ََُّّلل ُّ ر ِم َن َ َ َعال ْ ال ความว่า : (อัลกุรอานนั้น) ไม่ใช่สิ่งอื่นใด นอกจากจะเป็นบทตักเตือนส าหรับประชาชาติทั้งมวล ส าหรับผู้ใดในหมู่พวกเจ้าที่ปรารถนาจะครองตัวอยู่ในแนวทางอันเที่ยงตรง และพวกเจ้าจะไม่สมปรารถนาใน สิ่งใดได้ เว้นแต่เมื่ออัลลอฮฺพระเจ้าแห่งสากลนลกจะทรงประสงค์ (อัลตักวีร : 20-29)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 26 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เราสามารถใช้กฎอัลเกาะดัรเป็นข้ออ้างได้เมื่อใด? 1- อนุญาตให้มนุษย์สามารถอ้างกฎอัลเกาะดัรเป็นข้ออ้างของการเกิดทุกข์ภัยได้ส าหรับในส่วน ของประเภทแรกที่ได้กล่าวมา (คือ สิ่งที่อยู่นอกเหนือจากการควบคุมของมนุษย์) นดยเมื่อมนุษย์ล้มป่วย เสียชีวิต หรือถูกทดสอบด้วยทุกข์ภัยที่เขาไม่พึงปรารถนา เขาก็สามารถจะกล่าวอ้างว่าเป็นเหตุจากกฎอัล เกาะดัรของอัลลอฮฺ เช่น การกล่าวว่า “ก็อดดะร็อลลอฮฺ วะมาชาอะ ฟะอัล” (แปลว่า อัลลอฮฺทรงก าหนดไว้ แล้ว และสิ่งใดที่พระองค์ประสงค์ พระองค์ก็จะกระท า) อีกทั้ง เขาจะต้องอดทน และแสดงความพอใจหากเขา สามารถกระท าได้ เพื่อจะได้ผลตอบแทนที่ดี ดังที่อัลลอฮฺ ได้ทรงกล่าวว่า: ُُك َّ ن َ ُو ل ْ َب ن َ ل دم َن ِف َ ء ِ َْشٍ َخْو و ِب َ ْ ال ُجوعِ ْ ال دم َن ا ِ َ و فَْق ٍص َ َ و ِ ْمو َ فُف ِس اْلْ َ اْلْ ِت َ َ و ا َر الثَّم د ِرش َ ِ َن َ و بَ ي َن ِ َّصاِب ِري ََّّل و ال َذ ا ا ِ ْْتُ ا م َ ِ َصاب َأ ٌ َ ُّم ِصيب وا قَال ََّن ُ ِ ا ِ ََّن َِّللَّ ِ ا َ و ْهِ ي َ ل ِ ا ِجُعوَن ا ئ َك َ ِ َٰ ر َ ُأول ْ ْْيِم عَل ا ٌت َ َ َو َص ن ل دمِ ْ ِدِِبم َّ ِ َ ر َِْحٌ ئ َك َر ِ و َٰ َ ُأول ُه ُمهْتَ ُد َ و ُ ْ وَن )البقرة : 211 - 210 )ال ความว่า : จะจงแจ้งข่าวดีให้แก่ผู้อดทน ผู้ที่เมื่อประสบทุกข์ภัยใด ๆ พวกเขาจะกล่าวว่า “อินนาลิลลา ฮิ วะอินนาอิลัยฮิ รอญิอูน“ (แปลว่า เราเป็นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ และเราจะต้องหวนกลับสู่พระองค์) พวก เขาเหล่านั้นแหละที่ จะได้รับพรและความเมตตาจากพระเจ้าของพวกเขา และพวกเขาเหล่านั้นแหละคือผู้ที่ ได้รับทางน า (อัลบะเกาะเราะฮฺ : 155-150) 2. ไม่อนุญาตให้มนุษย์ใช้กฎอัลเกาะดัรเป็นข้ออ้างส าหรับการกระท าบาปและละทิ้งการปฏิบัติ หน้าที่หรือกระท าสิ่งหวงห้าม เพราะอัลลอฮฺได้ทรงบัญชาให้ปฏิบัติการภักดีและหลีกเลี่ยงการกระท าบาป ทรง ใช้ให้ปฏิบัติและห้ามไม่ให้ใช้กฎเกาะดัรเป็นข้ออ้างในการกระท าบาป ซึ่ง หากสามารถใช้กฎอัลเกาะดัรเป็น ข้ออ้างส าหรับผู้ใดได้แล้ว แน่นอน อัลลอฮฺย่อมไม่ทรงลงนทษผู้ปฏิเสธต่อศาสนทูตต่าง ๆ เช่น พวกปฏิเสธศาสน ทูตนูห์ พวกอ๊าด หรือพวกษะมูด เป็นต้น และพระองค์ย่อมไม่ทรงบัญชาให้ลงนทษต่อผู้ล่วงละเมิดกฎหมาย และผู้ใดที่เห็นว่ากฎอัลเกาะดัรสามารถน าเป็นข้ออ้างส าหรับผู้กระท าผิดได้นดยไม่ต้องกล่าวหาและ ลงนทษต่อพวกเขา เขาก็จงอย่าได้กล่าวหาและลงนทษผู้ร้ายเมื่อกระท าผิดต่อตัวเขา และจงอย่าแยกแยะ ระหว่างคนท าดีและคนท าชั่วต่อเขา ซึ่งแน่นอน มันย่อมเป็นไปไม่ได้ สิ่งที่อัลลอฮฺได้ก าหนดให้แก่บ่าว ทั้งความดีและความชั่วนั้น พระองค์ได้ทรงก าหนดไว้ด้วยการ เชื่อมนยงกับมูลเหตุของมันนดยส าหรับความดีนั้นก็มีมูลเหตุของมัน นั่นคือ การศรัทธาและการภักดี และ ส าหรับความชั่วก็มีมูลเหตุของมันเช่นกัน นั่นคือ การปฏิเสธและการกระท าบาป ซึ่งมนุษย์สามารถกระท าการ ตามเจตนารมณ์และการเลือกสรรที่อัลลอฮฺได้ก าหนดและมอบให้แก่เขา และเขาจะไม่สามารถบรรลุสิ่งที่อัลลอ ฮฺได้เขียนเป็นกฎเกณฑ์ให้แก่เขาทั้งความมีเกียรติหรือความอับยศได้ เว้นแต่จะต้องผูกพันด้วยสาเหตุต่าง ๆ ที่ เขาได้กระท าตามการเลือกของตัวเองที่อัลลอฮฺได้ให้อิสระแก่เขา ดังนั้น การได้เข้าสวรรค์ จึงมีมูลเหตุของมัน และการเข้านรกก็มีมูลเหตุของมันเช่นกัน ดังหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ُقوُ َ ْو َ ي َ كوا ل َْشُ َن َأ ْ َِّلي َّ َ س ا َا ا ََُّّلل ا َشاء َم ن ََل َأ ْْشَكْ َ َِبُؤََن ََل و أ َ َحر ن َّ و ْمنَا مِ ََش ِ َِل ْ ءٍ ك َّذ َب َ َذَٰ َن َ ي ا ن ََّّل ك ِ مِ ْ هِم ِ ل ْ قَب َحَّىتٰ َذاقُوا َا َ ن ْس َه ْل ب ْل َأ قُ ْن ِعنَدُكُ دمِ ٍ َا ِ َْل ُت ْخِرُجوُه ن ع فَ ل ن َ ِ ُعوَن ا ََّل تَتَِّب ِ ْن ال َّظَّن ا ِ ا ْت َ ََّل و َأفُ ِ ُ ُصوَن ا )ا نْلفعام : 296ََ )تْر ความว่า : บรรดาผู้ที่ตั้งภาคีจะกล่าวว่า หากว่าอัลลอฮฺทรงประสงค์แล้วไซร้ พวกเราก็ย่อมไม่ตั้งภาคี หรอก และบรรพบุรุพของเราก็ย่อมไม่ตั้งภาคีด้วยเช่นกัน และพวกเราก็ย่อมไม่ก าหนดสิ่งใดๆ ให้เป็นสิ่งหวง ห้าม เช่นนั้นแหละที่บรรดาผู้ปฏิเสธก่อนหน้าพวกเขาได้กล่าวนกหกมาแล้ว จนกระทั่งพวกเขาต้องลิ้มรสนทษ ทัณฑ์ของเรา จงกล่าวซิ (มุฮัมมัด) ว่า พวกเจ้ามีวิชาการอะไรที่สามารถน าออกมาให้เรา พวกเจ้านี้ได้แต่เพียง กระท าการตามความคาดเดา และพวกเจ้านี้มีแต่เพียงจะกล่าวเท็จเท่านั้นเอง (อัลอันอาม : 148) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ُعوا ِطي َأ َّ و ا َََّّلل ُسوَ َ الر َ َُُّك و ْ َعل َ ْرَُِحوَن ل ت )أ معران : 231ُ )


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 27 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า : และจงภักดีต่ออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ เผื่อว่าพวกท่านจะได้ถูกเมตตา (อาลิอิมรอน : 132) 3. มีรายงานจากอะลีย์ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัมได้ กล่าวว่า : َّما َم ْن فَأَ ٰ َأ ْعَطى ٰ اتَّقَى َ و َصَّدَ َ ََنٰ و ْ ُحس ْ ُ ُه ِِبل َ ُنيَ دِس ِ يُ ْ َِسٰى فَس ْ ل ِ َأَّم ل ا ْس تَ ْغََن َ كَّذ َب َ و َمن َِِب َل ا َ و َ ََنٰ و ْ ُحس ْ ُ ُه ِِبل َ ُنيَ دِس ِ ُع ْ َِسٰى فَس ْ ل ِ ل )الليل :1-27) ความว่า : “ไม่มีคนใด ในหมู่พวกท่านนอกจากจะถูกรู้ล่วงหน้าแล้วถึงสถานที่พ านักของเขาว่าเป็น สวรรค์หรือนรก พวกเขาเลยกล่าวว่า นอ้ ท่านเราะสูลัลลอฮฺ แล้วเราท าดีเพื่ออะไรกัน ? เราปล่อยตัว (นดยไม่ ต้องท าดีอะไร) ไปเลยไม่ดีกว่าหรือ ? ท่านตอบว่า “ไม่ได้ พวกท่านจงท าดี เพราะทุกคนได้ถูกปูทางให้กระท า ในสิ่งที่เขาถูกสร้างไว้” แล้วท่านก็อ่านอัลกุรอาน: َم ْن َفأَ َّما ٰ َأ ْع َطى ٰ اتَّقَى َ و َصَّدَ َ ََنٰ و ْ ُحس ْ ُ ُه ِِبل َ ُنيَ دِس ِ يُ ْ َِس ٰى َفس ْ ل ِ َأَّم ل ا َ ْ تَ ْغََنٰ و َمن َِِب َل اس كَّذ َب َ َ و َ ََنٰ و ْ ُحس ْ ُ ُه ِِبل َ ُنيَ دِس ِ َفس ُع ْ َِسٰى ْ ل ل )الليل :1-27ِ ) ความว่า : ส่วนผู้ที่บริจาคและย าเกรง อีกทั้งยังเชื่อมั่นในสิ่งที่ดีนั้น เราก็จะปูทางสู่สิ่งที่ง่ายดาย (สวรรค์) ให้แก่เขา และส าหรับผู้ที่ตระหนี่และหยิ่งยะนส อีกทั้งยังปฏิเสธต่อสิ่งดี เราก็จะปูทางสู่สิ่งที่ยากล าบาก (นรก) ให้แก่เขา (อัลลัยลฺ : 5-17) มุตตะฟัก อะลัยฮฺ อนุญาตให้ใช้อัลเกาะดัรหนึ่งเพื่อป้องกันหรือระงับอีกกฎอัลเกาะดัรหนึ่งในสิ่งต่อไปนี้ : 1- การระงับกฎอัลเกาะดัรด้วยการระงับสาเหตุของมัน เช่น การระงับการรุกรานของศัตรูด้วยการ ท าสงคราม เพราะการไม่ต่อสู้หรือไม่ท าสงครามคือสาเหตุของการรุกรานของศัตรู หรือ การระงับความร้อน ด้วยการใช้ความเย็น เพราะการที่ไม่มีความเย็นคือสาเหตุที่ท าให้เกิดความร้อน เป็นต้น 2- การใช้กฎอัลเกาะดัรเพื่อหักล้างกฎอัลเกาะดัร เช่น การหักล้างการป่วยด้วยการรักษา การหักล้าง บาปด้วยการเตาบัต หรือการหักล้างการท าชั่วด้วยการท าดี เป็นต้น การกระท าความดีและความชั่วของบ่าวนั้น สามารถจะพาดพิงถึงอัลลอฮฺได้ในแง่ของการสร้างและการ อนุญาตให้สิ่งนั้นเกิดขึ้น นดยอัลลอฮฺนั้น คือ ผู้สร้างทุกสรรพสิ่ง อันรวมถึงการสร้างตัวมนุษย์และการสร้างการ กระท าของเขา แต่กระนั้นก็ตาม ความประสงค์ของอัลลอฮฺก็ไม่ใช่เป็นข้อบ่งชี้ถึงความพึงพอใจของพระองค์เสมอไป เป็นต้นว่า การปฏิเสธ การฝ่าฝืนค าสั่ง และการท าความชั่วนั้นเกิดขึ้นได้ก็ด้วยความประสงค์ของอัลลอฮฺ แต่อัลลอฮฺก็ไม่ได้ทรงรัก ไม่ทรงพึงพอใจ หรือมีบัญชาให้กระท ามัน ทว่า พระองค์กลับทรงนกรธกริ้วและทรง ห้ามไม่ให้กระท ามัน และการที่สิ่งหนึ่งเป็นสิ่งที่ถูกนกรธกริ้วและถูกเกลียดชังก็ไม่ได้หมายความว่ามันได้หลุด ออกจากความประสงค์ของอัลลอฮฺที่ครอบคลุมการสร้างทุกสิ่ง ซึ่งทุกสิ่งนั้น อัลลอฮฺได้ทรงสร้างอย่างมี เป้าหมายและแฝงด้วยวิทยปัญญาอันตั้งอยู่บนฐานของการบริหารสิ่งครอบครองและสิ่งสรรค์สร้างของพระองค์ มนุษย์ที่สมบูรณ์และประเสริฐที่สุด คือ ผู้ที่ชอบในสิ่งที่อัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ชอบ และ เกลียดในสิ่งที่อัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์เกลียด นดยพวกเขาไม่มีความรู้สึกชอบและเกลียด นอกเหนือไปจากสิ่งดังกล่าว พวกเขาจึงก าชับผู้อื่นให้ปฏิบัติในสิ่งที่อัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์สั่ง และไม่ ก าชับในสิ่งที่นอกเหนือจากนั้น และในทุกครู่ยาม บ่าวทุกคนต่างประสงค์ต่อค าสั่งใช้ของอัลลอฮฺเพื่อเทิดทูน และปฏิบัติตาม และประสงค์ต่อค าสั่งห้ามเพื่อจะหลีกเลี่ยง ตลอดจนประสงค์ต่อกฎอัลเกาะดัรเพื่อถวายความ พึงพอใจ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 28 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การยอมรับในกฎอัลเกาะดัร ประกอบด้วย 3 ส่วนด้วยกัน คือ : 1- การยอมรับด้วยความเต็มใจต่อการกระท าความภักดีในรูปแบบต่างๆ ซึ่งส่วนนี้ เป็นส่วนที่ถูก บัญชาให้ยอมรับ 2- การยอมรับด้วยความเต็มใจต่อทุกข์ภัยที่ประสบ ซึ่งส่วนนี้ ก็เป็นส่วนที่ถูกบัญชาให้ยอมรับด้วย เช่นกัน นดย หากไม่อยู่ในระดับ “มุสตะหับ” ก็จะอยู่ในระดับ “วาญิบ” [ตามกฎหมายอิสลามแล้ว มาตรการ กวดขันเพื่อให้ปฏิบัติมี 2 ระดับด้วยกัน คือ มุสตะหับ หมายถึง เน้นให้กระท าแต่ไม่ถึงขั้นบังคับ และ วาญิบ หมายถึง บังคับให้กระท า] 3- การปฏิเสธ การกระท าสิ่งไม่ดี และการละเมิดค าสั่งของพระเจ้า ส่วนนี้ เป็นส่วนที่ไม่ได้ถูกบัญชา ให้ยอมรับ แต่กลับถูกบัญชาให้เกลียดชังและต่อต้าน เพราะอัลลอฮฺไม่ทรงชอบและพอพระทัย ซึ่งสิ่งนี้ แม้ว่า พระองค์ทรงสร้างมัน แต่พระองค์ก็ไม่ทรงรักชอบมัน ดังเช่นการที่พระองค์ทรงสร้างชัยฏอน ซึ่งเรายอมรับด้วย ความเต็มใจต่อสิ่งที่อัลลอฮฺสร้าง แต่ในส่วนพฤติกรรมที่ชั่วร้ายและตัวผู้กระท านั้น เราไม่ได้พอใจและชื่นชอบ มัน ดังนั้น ในสิ่งหนึ่ง ๆ ก็จะมีด้านทีถูกชื่นชอบและด้านที่ถูกเกลียดชัง ดังเช่นยาขมที่ไม่มีใครชื่นชอบแต่ มันก็น าไปสู่สิ่งที่ชื่นชม (คือ การหายจากนรค) และหนทางเพื่อแสวงหาความนปรดปรานของอัลลอฮฺคือ เรา จะต้องยอมรับด้วยความเต็มใจในสิ่งดังกล่าวด้วยการกระท าในสิ่งที่พระองค์ทรงรักและพอพระทัย นดยเราไม่ได้ พึงพอใจต่อทุกสิ่งที่เกิดขึ้นและก าลังจะเกิดขึ้น และเราก็ไม่ได้ถูกสั่งให้พึงพอใจในทุกสิ่งที่พระองค์ทรงสร้างและ ก าหนดไว้ แต่เราได้ถูกสั่งให้พึงพอใจในสิ่งที่อัลลอฮฺและเราะสูลบอกให้เราพึงพอใจ การที่อัลลอฮฺทรงสร้างสิ่งดีหรือสิ่งชั่วให้เกิดขึ้น สามารถมองในสองมิติ : มิติแรก คือ ส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับพระเจ้าและการพาดพิงถึงพระองค์ ซึ่งในมิตินี้ บ่าวต้องยอมรับด้วย ความเต็มใจ เพราะการก าหนดสร้างของอัลลอฮฺต่อสิ่งใด ๆ นั้นล้วนดี ยุติธรรม และมีคุณค่าและวิทยปัญญา มิติที่สอง คือ ส่วนที่เกี่ยวเนื่องกับตัวบ่าวและการพาดพิงถึงตัวเขา ซึ่งในส่วนนี้ มีทั้งที่พึงพอใจ เช่น การศรัทธาและการภักดี และไม่พึงพอใจ เช่น การปฏิเสธและการกระท าการละเมิดค าสั่ง ซึ่งการกระท าเช่นนี้ อัลลอฮฺเองก็ไม่ทรงยอม ไม่ทรงชื่นชอบ และไม่ได้ทรงบัญชาให้กระท า ดังมีหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َك ُّ ب َ و ُق َر ُ َم ََْيل ا ُ ُر يَ َشاء ََْيتَا ُ و َما ََكَن َ هُم َ َرُة ْ ِخ ل َ َن ال ْ َحا كوَن )القصص : 86 ُ )ب ِرشُ ٰىل ََّمعا يُ ْ َ َعا َِّلل َوتَ س ا َّ ความว่า : และพระเจ้าของเจ้านั้นทรงสร้างสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์และทรงเลือกสรร ซึ่งพวกเขาไม่ มีสิทธิในการเลือก มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮฺ และพระองค์ทรงสูงส่งเหนือจากสิ่งที่พวกเขาได้ตั้งภาคี (อัล เกาะศ็อศ : 68) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ن ِ ا َ ُ و وا َْر تَ ْش َضُه َُر َ ُ ُْك ي ََل ل َ َ ِزُر ٌة َ و ت اِزر َ ِوْزر ٰى َ و َ َّ ُأ ْخر ٰىل ُ ث َ ِ ُُك ا ِ د ب َ ْرِجُعُُك ر ْ ُُك َّم َِبدئُ ن ُ فَي ا َ ِبم نُتْ ك وَن ُ ُ ل َ ْعم تَ ความว่า : หากพวกเจ้าปฏิเสธ อัลลอฮฺเองก็ไม่ทรงปรารถนาและไม่ทรงปิติยินดีกับปวงบ่าวของพระองค์ ในการปฏิเสธนั้น และหากพวกเจ้านอบน้อมขอบคุณ พระองค์ก็ทรงยินดีในสิ่งนั้นกับพวกเจ้า(อัซซุมัร : 0) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ا ََُّّلل َ قَ ُُك و ْ َ َخل َما و وَن َ ُ ل َ تَ )الصافات : 98ْ )عم ความว่า : และอัลลอฮฺนั้นทรงสร้างพวกเจ้าและ (สร้าง) สิ่งที่พวกเจ้ากระท า (อัศศอฟฟาต: 96)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 29 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การกระท าของปวงบ่าวนั้นเป็นสิ่งที่ถูกสร้าง อัลลอฮฺได้ทรงสร้างบ่าวและสร้างการกระท าของเขา พระองค์ทรงรู้สิ่งดังกล่าวและได้ทรงบันทึกมันไว้ ก่อนที่จะมันจะเกิดขึ้น ครั้นเมื่อบ่าวกระท าความดีหรือความชั่วเราก็ได้ประจักษ์ถึงสิ่งที่อัลลอฮฺทรงรู้ทรงสร้าง และทรงบันทึก และความรู้ของอัลลอฮฺเกี่ยวกับการกระท าของบ่าวนั้น เป็นความรู้อย่างละเอียดลึกซึ้ง ซึ่งอัลลอ ฮฺได้ทรงรอบรู้ในทุก ๆ สิ่ง นดยไม่มีอะไรซ่อนเร้นต่อพระองค์ ไม่ว่าจะเป็นเพียงสิ่งน้อยนิดในแผ่นดินหรือใน ท้องฟ้าก็ตาม ดังมีหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ا ََُّّلل َ قَ ُُك و ْ َ َخل َما و وَن َ ُ ل َ تَ )الصافات : 98ْ )عم ความว่า: และอัลลอฮฺนั้นทรงสร้างพวกเจ้าและ (สร้าง) สิ่งที่พวกเจ้ากระท า (อัศศอฟฟาต: 96) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ِعنَدُه ُح َ ت ِ و َمَفا ال ِب ْ ْ ََل غَي ُهَا م َ َْعل ََّل ي ِ ا َ َْعََلُ ُهو ي دِْب َ و َما ِِف َ َ ْح ال ِر ْ ب ْ ال َ من َ و َما ْسُق ُط ِ و تَ قٍَِ َ َر ََّل و ِ ا هَا ُ م َ َْعل ََل ي َ و ٍَِّ ا ِت ِِف َحب َ م ْر ُظل ِض ُ َ اْلْ ََل َ و ْط ٍب َ ََل ر ََّل و ََيِب ٍس َ ِ تَ ا ِِف ا ٍب ك ُّمِب ٍن )ا نْلفعام : 19ِ ) ความว่า : และที่พระองค์นั้น มีกุญแจแห่งความเร้นลับต่าง ๆ นดยพระองค์เท่านั้นที่ทรงรู้สิ่งเหล่านั้น และทรงรู้สิ่งที่อยู่ในแผ่นดินและในทะเล และไม่มีใบไม้ใดร่วงหล่นลง นอกจากพระองค์ก็จะทรงรู้มัน และไม่มี เมล็ดพืชใดที่ฝังอยู่ในความมืดมิดของแผ่นดิน และไม่มีสิ่งที่อ่อนนุ่มหรือสิ่งที่แห้งใด ๆ นอกจากจะมีอยู่ใน บันทึกที่ชัดแจ้ง (อัลอันอาม: 59) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า: َُ و وُن َ َما َ ٍن ا ْ َ َم ت ِِف َشأ و و تَْتل نْ ُه ُ م ن ِ ٍن ِ ْر م أ ََل قُ و وَن َ ُ ل َ ْعم ْن تَ ٍل ِ َمع ََّل م َ ِ نَّ ا ا ُ ُْك كُ ْ ي ْذ َ عَل ُشهُوًِا ِ ي ُضوَن ا تُفِ يهِ ِ ف َما َك َ د َْعُزُب َعن ِب َّ و ي ر م ثْقَا ِ ِن دمِ ةٍ ْر َذر ِِف ِض َّ َ ََل اْلْ َ ء ِ َ و ِِف ا َّسم ََل ال َ َ و َأ ن ْصغَر ِ َِل ِ ََل م َذَٰ َْب َ و َ كْ َ ََّل أ ِ تَ ا ِِف ا ٍب ك ُّمِب ٍن )يونس : 82ِ ) ความว่า : และทุกเรื่องที่เกิดขึ้นกับเจ้า ทุกอายัตเกี่ยวกับเรื่องนั้นที่เจ้าอ่านในอัลกุรอาน และทุกการ งานที่พวกเจ้ากระท านั้น เราเองคือผู้ก ากับควบคุมตอนพวกเจ้าเริ่มกระท าในสิ่งนั้น และสิ่งเบาเท่าอณูหนึ่งใน แผ่นดินและในท้องฟ้าหรือสิ่งที่เล็กกว่าและใหญ่กว่านั้น ล้วนแต่มีปรากฎอยู่แล้วในบันทึกอันชัดแจ้งนดยมิได้ เลือนลางหายไปจาก (ความรอบรู้ของ) พระเจ้าของเจ้า (ยูนุส : 61) 4- จากอับดุลลอฮฺ บินมัสอูด เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ เล่าว่า : َا َحَّدثَن َ ُسوُ ر ِ ا ََّّلل -صَل هللا عليه وسَل- َ ُهو ُِِ ْصُدوُ َ َّصا َ و ال م ْ َّن ال » ِ ا َحَدُكُْ َ ُع َأ ُقُه ُ ُْيم ْط َخل ِّف ِن ْ َ ب ُأ دمِهِ َن َعِ ْرب ي َّ َْوًم َأ ا ثُ َُوُن َ عَ قًَِ َذِِل ي ِّف َ ل ثْ َل َ ِ م َذِ َِل َّ َُوُن ُ َث ثْ َل ُم ْضغَ َذِِل ًِ ي ِّف َ ِ م َذِ َِل َّ ََِكَما ٍت ُ ِ َع ْرب ُر ِبأَ ُ ْؤَم َوي روَح ُّ ه ال ِ في َ ْنُف ُخ ِ ُْل فَي َمَ ْ ُْرَس ُل ال ث ي ََْت ِب ِب ِرْزق ِهِ َجَِلِ َأ َ و ََمعَِلِ َ و ل َشقِى ْو يٌد َ و َأ ََّّل ، ِى َسعِ ا َ ََل فَو ََل َ ِ غَْر َّن ُ ُه ا ِ ا َأ ُل َحَدُكُْ َ َ ْعم ي ل ِل َ َ َعم ِب َأ ْه ِل َجنَِِّ َح ال َّىت ْ َُوَن َما َ َ ي يْنَُه ب َيََّْنَا ب و ََّل َ ِ ا ا ٌع َ ْ ِبُق ِذر فَيَس ْهِ ي َِ عَل تَا ُب َ ال ُل ْ َ فَي ِل َ ْعم َ َعم ِب َأ ْه ِل النَّاِر هَا ُ ْدُخل َ َّن فَي ِ ا َ و َأ ُل َحَدُكُْ َ َ ْعم ي ل ِل َ َ َُ َما و َح ِب َأ ْه ِل النَّاِر َّىت َعم َ َن ي َيْنَُه ب ا َيََّْنَ ب َ و َلَّ ِ ا ا ٌع َ ِبُق ِذر ْ فَيَس ْهِ ي َِ عَل تَا ُب َ ال ُل ْ َ فَي ِل َ ْعم َ ِب َأ ْه ِل َعم َجنَِِّ ْ ال هَا ُ ْدُخل َ فَي «. ความว่า : ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้บอกแก่พวกเรา ซึ่งท่าน คือ “อัศศอดิ กุลมัศดูก” (แปลว่า คนพูดจริงที่เป็นที่เชื่อถือ) ว่า : “แท้จริงแล้ว แต่ละคนในพวกท่านนั้นได้ถูกปฏิสนธิในท้อง มารดาเป็นเวลาสี่สิบวัน จากนั้นจะพัฒนาเป็นก้อนเลือดในระยะเวลาเหมือนดังกล่าวเช่นนั้น จากนั้นจะพัฒนา เป็นก้อนเนื้อในระยะเวลาเหมือนดังกล่าวเช่นกัน จากนั้น มะลาอิกะฮฺก็ถูกส่งมา แล้วท่านก็จะเป่าวิญญานเข้า ในนั้น และท่านจะถูกสั่งให้ก าหนดสี่ประนยคด้วยกัน คือ ให้ก าหนดปัจจัยยังชีพของเขา อายุของเขา การงาน ของเขา และการเป็นคนอับยศหรือคนมีเกียรติ และขอสาบานต่อผู้ที่ไม่มีพระเจ้านอกจากพระองค์ว่า แท้จริง แล้ว มีผู้หนึ่งในพวกท่านได้ปฏิบัติงานของชาวสวรรค์อย่างจริงจังจนกระทั่งเหลือระยะห่างระหว่างเขาและมัน (สรวงสวรรค์) เพียงหนึ่งศอกเท่านั้น แต่แล้วเขาก็ถูกกฎของหนังสือบันทึก (ว่าเขาต้องตกนรก) มาตัดหน้า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 30 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เสียก่อน เขาจึงปฏิบัติงานของชาวนรก แล้วเขาก็ต้องเข้าไปในนั้น และ มีผู้หนึ่งในพวกท่านที่ได้ปฏิบัติงานของ ชาวนรกอย่างจริงจังจนกระทั่งเหลือระยะห่างระหว่างเขาและมัน (นรก) เพียงหนึ่งศอกเท่านั้น แต่แล้วเขาก็ถูก กฎของหนังสือบันทึก (ว่าเขาจะได้เข้าสรวงสวรรค์) มาตัดหน้าเสียก่อน เขาจึงปฏิบัติงานของชาวสวรรค์ แล้ว เขาก็ได้เข้าไปในนั้น“ มุตตะฟัก อะลัยฮฺ ความยุติธรรมและความเอื้ออารี การกระท าต่าง ๆ ของอัลลอฮฺ อัซซะวะญัล จะอยู่ในกรอบของความยุติธรรมและความเอื้ออารีนดยไม่ ทรงทารุณต่อผู้ใด พระองค์จะปฏิบัติต่อบ่าวบนฐานของความยุติธรรม หรือไม่ก็จะปฏิบัติต่อพวกเขาบนฐาน ของความเอื้ออารี ซึ่งส าหรับคนชั่วนั้น พระองค์จะทรงปฏิบัติต่อเขาด้วยความยุติธรรม ดังที่พระองค์ สุบหา นะฮุวะตะอาลา ได้กล่าวว่า : ُ َ َجَزاء و َسِيدئٍَِ َسِيدئٌَِ هَا ُ ثْل دم )الشورى : 97ِ ) ความว่า : และผลตอบแทนของความชั่วนั้น คือความเลวร้ายอย่างเช่นเดียวกัน (อัชชูรอ: 47) ส่วนคนดี พระองค์ก็จะทรงปฏิบัติต่อเขาด้วยความพิเศษและเอื้ออารี ดังที่พระองค์ สุบหานะฮุวะตะ อาลา ทรงกล่าวว่า : َمن َ َجاء َِِ ن َ َحس ْ ُ فَََل ِِبل ُ َع ْرش هَا ِ َأ )ا نْلفعام : 287ْ )مثَال ความว่า : ผู้ที่กระท าความดีนั้น เขาก็จะได้รับผลตอบแทนสิบเท่าของมัน (อัลอันอาม: 167) ค าบัญชาการของพระเจ้าในรูปของศาสนบัญญัติและกฎธรรมชาติ ส าหรับพระองค์อัลลอฮฺ อัซซะวะญัลนั้น มีค าบัญชาการ 2 ประเภทด้วยกัน คือ ค าบัญชาการในรูป ของกฎธรรมชาติ และค าบัญชาการในรูปของศาสนบัญญัติ ค าบัญชาการในรูปของกฎธรรมชาติมี 3 ประเภท คือ หนึ่ง ค าบัญชาเพื่อสร้างและให้บังเกิดขึ้น เป็นค าบัญชาจากอัลลอฮฺที่มีต่อสิ่งสร้างสรรค์ทั้งมวล ดังที่ พระองค์ได้กล่าวว่า : ا ََُّّلل ُق ء َخال ِد ِ ُك ٍ ََشْ َ ُهو َ ِدك ََلٰ و ُ عَ ََش ي ٌل ْ ءٍ َكِ و )الزمر : 81) ความว่า : อัลลอฮฺ คือ ผู้ทรงสร้างทุกสรรพสิ่ง ซึ่งพระองค์ทรงเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองทุกสิ่ง (อัซซุมัร: 62) สอง ค าบัญชาให้คงอยู่ เป็นค าบัญชาจากอัลลอฮฺที่มีต่อสิ่งสร้างสรรค์ทั้งมวลเพื่อให้คงอยู่ ดังที่พระองค์ ได้กล่าวว่า : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َّن ِ ِس ُك ا ا َََّّلل ْ ُم ِت ي ا َ او َ ْر ال َض َّسم َ اْلْ َُزوََل و َأن َ ِئ ت َ ل َ و تَا ْن َ َزال ِ ا ا َ َس ََهُم ْن َأْم َأ ن َحٍد مِ دمِ َْعِدهِ ب فَّ ِ ميًا ََكَن ا ُه ِ ل َح ا ً غَُفور )فاطر : 92) ความว่า : แท้จริง อัลลอฮฺนั้นทรงค้ าชูชั้นฟ้าและแผ่นดินเอาไว้เพื่อมิให้มันหล่นตกลงมา ซึ่ง นอกจาก พระองค์แล้ว ก็ไม่มีผู้ใดอีกที่จะสามารถค้ าชูทั้งสองได้หากมันหล่นตกลงมา แท้จริง พระองค์ทรงเป็นผู้ขันติ ผู้ ทรงอภัยเสมอ (ฟาฏิร: 41) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ْن َمِ و هِ ِ تَُقوَم أ َأن ََيت ُ اء َ ْر ال ُض َّسم َ اْلْ َ ه َّ ْمِرِ و ِبأَ ُ ث َذا ِ ا ُْ َِعَاُك ًة َ َن َِ ْعو ْرِض دمِ َ ْ َذ اْل ا ِ ا ُ ُجوَن َأفُتْ ََتْر


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 31 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า : และหนึ่งในบรรดาสัญญานแห่งความยิ่งใหญ่ของพระองค์ก็คือ การที่ชั้นฟ้าและแผ่นดินได้ ยืนยงด้วยพระบัญชาของพระองค์ ต่อมา เมื่อพระองค์ทรงเรียกพวกเจ้าหนึ่งครั้งให้ออกจากแผ่นดิน เมื่อนั้น แหละพวกเจ้าทั้งหมดต่างก็จะออกมากัน (อัรรูม : 25) สาม ค าบัญชาเพื่อให้เกิดคุณและนทษ ให้เคลื่อนไหวและเงียบนิ่ง และให้เป็นและให้ตาย เป็นต้น เป็น ค าบัญชาจากอัลลอฮฺที่มีต่อสิ่งสร้างสรรค์ทั้งมวลเช่นเดียวกัน ดังหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َأ ْف ِس ْمِ ُْل ََّل قُل َ ن ِ ًع ل ا ََل فَْف َ ًّضا ََّل و َ ِ َم ا ا َ ْو ا ََُّّلل َشاء َ ل و ن ُت َ ُ ََل ك ُ ْ َب َأعْ غَي ْ ََْث ال ْ ْ تَ َن ُت ََلس ِر ِ م َخْ ْ َ َم ال ا َّ ِِنَ و َمس ُ ُّسوء ْن ال ِ ََّل ا َأََن ِ ا ٌر ِش فَ ٌر ِذي بَ َ ٍ و ْوم قَ ِد نُوَن ل ا : 266 )نْل ي ) عراف ُ ْؤمِ ความว่า : จงกล่าวซิ (มุหัมมัด) ว่าฉันไม่ได้ครอบครองคุณและนทษใด ๆ แก่ตัวเอง ยกเว้นในสิ่งที่อัลลอ ฮฺทรงประสงค์เท่านั้น และถ้าหากฉันเป็นผู้ที่รู้ในสิ่งเร้นลับแล้ว แน่นอน ฉันก็คงจะกอบนกยสิ่งที่ดีไว้อย่าง มากมาย และความชั่วร้ายก็คงจะไม่มาแตะต้องตัวฉันได้ แต่ฉันนี้ มิใช่ใครอื่น นอกจากเป็นเพียงผู้ตักเตือน และ ผู้แจ้งข่าวดีแก่กลุ่มชนที่ศรัทธาเท่านั้น (อัลอะอฺรอฟ : 188) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ُهو ي َ ََّّلِ ا دِْب َسدر ُُِكُْ يُ ِِف َ َ ْح ال ِر ْ ب ْ ال َ َحَّىتٰ و َذا ِ ا نُتْ ْْل ك ِِف ِ ُ ُف ْ ْ َن ال ي َ َ َجر ٍي و ِِِبم ِب ِر ٍَِ ِب د ِرُحوا َطي فَ َ َ و ِِبَا ِْتَا ُه ِص ِريٌ ٌف َجاء عَا ُ َ َ َجاء و َ ْوُج م ال ن ْ ِ وا ُّ ِدك َم ََكٍن َظن َ م ُ ْ و ِح َأَُِّنم يطَ ُأ ْ ِِِبم َِ ا ِ ِص َعو ا َََّّلل َن ُ ُم ْخل َن ََلُ ي ِئْ ا دَلِ َ ل تَنَا ْ ْن َأ ََني مِ ِذهِ َّن َٰ َ َه َُون َ ن َ َن ل َن ِ م ِري ال َّشاك ِ )يونس : 11) ความว่า : พระองค์ คือ ผู้ท าให้พวกเจ้าได้เดินทางทางบกและทางทะเล จนกระทั่ง เมื่อพวกเจ้าอยู่ใน เรือและมันได้พาพวกเขาแล่นไปด้วยลมที่ดี และพวกเขาก็ดีใจกับมัน ทันใดนั้น ลมพายุก็ได้พัดกระหน่ าและ คลื่นก็ซัดถล่มพวกเขาจากทุกด้าน และพวกเขาคิดว่า แท้จริงพวกเขาได้ถูกปิดล้อมรอบด้านแล้ว พวกเขาจึง กล่าววิงวอนขอต่ออัลลอฮฺด้วยความบริสุทธิ์ใจว่าหากพระองค์ทรงให้พวกเราได้รอดพ้นจากสิ่งนี้แล้ว แน่นอนยิ่ง พวกเราจะเป็นส่วนหนึ่งในบรรดาผู้นอบน้อมขอบคุณ (ยูนุส : 22) 3- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ُهو ي َ ََّّلِ ُ َْي ِمي ُت ِي ا ُ ي َ و َذا ِ ٰ فَا قَ َض ا ً َأ ا ْمر َ فَّم ِ ُقوُ فَا َ َُ ك وُن ََل ُن ي ُ َ فَي )غافر : 86) ความว่า : พระองค์ คือ ผู้ให้เป็นและให้ตาย ซึ่งเมื่อพระองค์ทรงก าหนดจะให้สิ่งใดเกิดขึ้น พระองค์ก็ เพียงแค่กล่าวต่อสิ่งนั้นว่า “กุน” (แปลว่า“จงเป็น”) แล้วมันก็เกิดขึ้น (ฆอฟิร : 68) ส่วนบัญชาการที่อยู่ในรูปของศาสนบัญญัติจากพระผู้เป็นเจ้านั้น เป็นบัญชาการจากอัลลอฮฺต่อปวง มนุษย์และภูตญินเท่านั้น นดยบัญชาการดังกล่าวจะครอบคลุมบัญญัติว่าด้วยการศรัทธา การปฏิบัติศาสนกิจ การค้าขาย การเข้าสังคม และมารยาทต่าง ๆ ซึ่งระดับมากน้อยของความรู้สึกเอิบอิ่มและมีสุขกับการได้ เทิดทูนและปฏิบัติตามค าบัญชาของอัลลอฮฺของบ่าวแต่ละคนนั้นจะขึ้นอยู่กับความศรัทธาแรงกล้าของแต่ละคน ต่ออัลลอฮฺที่เขาได้มองเห็นเดชานุภาพของพระองค์ผ่านกฎธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ดังนั้น มนุษย์ที่มีความสุข มากที่สุดจึงเป็นมนุษย์ที่รู้จักพระเจ้าของเขามากที่สุข นั้นก็คือ บรรดาศาสนทูตและผู้ที่ใช้ชีวิตตามรอยทางของ พวกท่านเหล่านั้น และด้วยการเทิดทูนปฏิบัติค าบัญชาการของอัลลอฮฺในรูปของศาสนบัญญัตินี้ อัลลอฮฺจะทรง ประทานความจ าเริญมั่งมีในฟากฟ้าและแผ่นดินให้แก่เราในนลกนี้ และจะทรงให้เราได้เข้าสรวงสวรรค์ในนลก หน้า บัญชาการของอัลลอฮฺแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1- บัญชาการในรูปของการประทานศาสนบัญญัติซึ่ง มนุษย์อาจจะท าหรือไม่ท า ก็ด้วยการอนุมัติ จากอัลลอฮฺ นดยบัญชาการประเภทนี้มีระบุในอัลกุรอานหลายแห่งด้วยกัน เช่นที่อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า :


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 32 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา قَ َضٰ َك َ ُّ َ و ب ََّل ر َأ ُدوا ُ ْعب ََّل تَ ِ ََّيُه ا ِ ْ ِن ا اََِلي َ و ْ ِِبل َ ْحَس و اًَن ِ ا َّما ِ َّن ا غَ ُ ل ْ ِع ي نَدَك َب ََِْبَ ْ َحُدُُهَ ال ا ْو َأ َل َا ِ َُك َأ ف تَُقل ا ُُه َ َ هُم َّ ل ََل ُأدف ٍ َ َُها َّْنَْر و ُ َ ت قُل َ َ و ا هُم َّ ْوًَل ل ِرميًا قَ ك )ا َلْساء : 13َ ) ความว่า : และพระเจ้าของเจ้าได้ทรงบัญชามิให้กราบไหว้ผู้ใดเว้นแต่ต่อพระองค์เท่านั้น ส่วนบิดา มารดานั้นก็ให้ท าดี (อัลอิสร็ออฺ : 23) 2- บัญชาการในรูปของการก าหนดกฎธรรมชาติซึ่ง จะต้องเกิดขึ้นนดยไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ นดยมี 2 รูปแบบด้วยกัน คือ: ก- บัญชาการโดยตรงที่ต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ดังที่อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า ا َ فَّم ِ ُ ُه ا َأ َذا ْمر ِ ا ا َِ َ َشيْئً َأن ُقوَ َأر ا َ َُ ك وُن ََل ُن ي ُ َ فَي )يس : 61) ความว่า : แท้จริงแล้ว การงานของพระองค์นั้น เมื่อพระองค์ทรงประสงค์สิ่งใดให้เกิดขึ้น พระองค์ก็ เพียงแค่กล่าวต่อสิ่งนั้นว่า “กุน” (แปลว่า“จงเป็น”) แล้วมันก็เกิดขึ้น (ยาสีน : 82) ข- บัญชาการในรูปกฎธรรมชาติคือ กฎต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากเหตุและผลที่เกิดปฏิกิริยาสัมพันธ์กัน นดยทุกๆสาเหตุจะมีผลของมัน ซึ่งตัวอย่างของกฎเหล่านี้ คือ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ِ َِل ِبأَ ا َََّّلل َّن َذَٰ ْ م َ ُك ل َ ًرا ًِ ي ُمغَِد َ ْعم ِ فد هَا َ َعم َأفْ ََلٰ ٍ عَ ْوم قَ َحَّىتٰ ُغَدر ُِوا َم ي ا ْ َّن ِبأَفُف ِسهِم َأ ل ٌي َ ِ و ا َََّّلل َ ِْسيٌع عَ ความว่า : ที่เป็นเช่นนั้น ก็เพราะว่าอัลลอฮฺไม่เคยเปลี่ยนแปลงสิ่งประทานใด ๆ ที่พระองค์ทรง ประทานให้แก่ชนกลุ่มหนึ่งจนกว่าพวกเขาจะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่อยู่กับตัวพวกเขาเอง (อัลอันฟาล : 53) 2- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َذا ِ ا َ ًِ ُِّْن َأر ََن َأن ِ َْل َ و ِْ َ ْري ْر قَ ََن َأ ا َم َسُق ُم وا ْتَفِْيَ َح ف َّق ِْيَ فََف ا ْْيَ فَ ا ْو عَل ُ َ قَ ْ ْر ال ََنَها فََدَّم ًرا تَ ْدم )ا َلْساء : 28ِ ) ความว่า : และเมื่อเราประสงค์จะท าลายบ้านเมืองใด เราก็จะบัญชานักฟุ่มเฟือยในบ้านเมืองนั้น (ให้ กระท าความเสียหายในบ้านเมือง) แล้วพวกเขาก็กระท า ค าสั่งแห่งความหายนะจึงเกิดขึ้นกับมัน เราเลยท าลาย มันอย่างย่อยยับ (อัลอิสรออฺ: 16) และด้วยกฎแห่งธรรมชาตินี้เอง มารร้ายอิบลีสและบริวารของมันได้พยายามใช้ประนยชน์เพื่อเป็น สาเหตุท าให้มนุษย์ส่วนหนึ่งต้องประสบความล่มจม และอัลลอฮฺก็ได้สอนให้เราขอดุอาอ์และกล่าวค าอิสติฆฟาร (ขออภัยนทษ) เพื่อจะได้รอดพ้นจากเล่ห์อุบายดังกล่าว ซึ่งไม่มีอะไรสามารถจะหักล้างกฎบัญญัติของอัลลอฮฺได้ นอกจากการขอดุอาอ์เท่านั้น การขอดุอาอ์จึงถือเป็นการเข้าในความคุ้มครองอัลลอฮฺ ผู้ทรงสร้างกฎธรรมชาติ ทั้งหมด พระองค์คือผู้ทรงอ านาจที่สามารถจะท าให้เหตุและผลอย่างหนึ่งต้องกลายเป็นนมฆะไป ณ เวลาใดและ ด้วยวิธีใดที่พระองค์ทรงประสงค์ ดังที่พระองค์ทรงยกเลิกการเกิดปฏิกิริยาของไฟในกรณีของศาสดาอิบรอฮีม อะลัยฮิสสลาม ดังที่มีระบุในอัลกุรอานว่า : َا ن ْ ُوِّن ََن ََي ُر قُل َْر ك ًِا َ َسَل ب ًما ََلٰ و ِه َي عَ ا َ ْر ب ِ ا : 89 )نْل ا ) فبياء ความว่า : เราได้กล่าวว่า นอ้ ไฟเอ๋ย! เจ้าจงเป็นความเย็นและสันติแก่อิบรอฮีมซิ (อัลอัมบิยาอฺ: 69) สิ่งดีและสิ่งไม่ดี สิ่งดีแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ : 1. สิ่งดีที่มีสาเหตุมาจากการศรัทธาและการประกอบความดีกล่าวคือ การจงรักภักดีต่ออัลลอฮฺ อัซ ซะวะญัล และต่อท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ของพระองค์ 2. สิ่งดีที่มีสาเหตุมาจากการประทานความโปรดปรานของพระผู้เป็นเจ้าต่อมนุษย์ด้วยการ ประทานทรัพย์สมบัติ พลานามัย ชัยชนะ และเกียรติยศ เป็นต้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 33 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ส่วนสิ่งไม่ดีก็แบ่งออกเป็น 2 ส่วนเช่นกัน คือ : 1. สิ่งไม่ดีที่มีสาเหตุมาการตั้งภาคีและการกระท าการเนรคุณ คือ การตั้งภาคีและการเนรคุณของ มนุษย์ 2. สิ่งไม่ดีที่มีสาเหตุมาจากการทดสอบหรือการลงโทษของพระเจ้า เช่น นรคภัยไข้เจ็บ การสูญเสีย ของทรัพย์สมบัติ และความพ่ายแพ้ เป็นต้น ดังนั้น สิ่งดีที่อยู่ในกรอบความหมายของการภักดีจึงต้องพาดพิงถึงอัลลอฮฺเท่านั้น เพราะพระองค์คือผู้ ที่ทรงบัญญัติให้แก่ปวงบ่าว อีกทั้งยังสอนและบัญชาให้ปฏิบัติ ตลอดจนประทานความช่วยเหลือเพื่อให้สามารถ ปฏิบัติได้ ส่วนสิ่งไม่ดีในความหมายของการละเมิดค าสั่งของอัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ เมื่อบ่าวได้กระท า ไปด้วยความต้องการและความพอใจของเขาเอง นดยเลือกจะท าการเนรคุณแทนการกระท าการภักดี สิ่งไม่ดี อย่างนี้จะพาดพิงถึงบ่าวในฐานะเป็นผู้กระท าและจะไม่พาดพิงถึงอัลลอฮฺ เพราะอัลลอฮฺไม่ได้บัญญัติและไม่ได้ บัญชาให้กระท า ทว่าพระองค์ยังทรงห้ามและทรงคาดนทษแก่ผู้ที่กระท า ดังที่พระองค์ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงกล่าวว่า : َك َّما َ َصاب ْن َأ مِ ٍَِ ن َن َ فَِم َحس ِ من َ َم ا ََّّلل ا َك ِ َ َصاب و َأ َ فَّْف ِس ا َك فَِم َك َس ن ِيدئٍَِ ن ْ ْرَسل َأ و لنَّاِس َ ِ َ ُسوًَل ل ر ٰ َفى َكَ و ِ ِِبََّّلل َشهِيًدا )النساء : 09) ความว่า : ความดีใดๆ ที่ประสบกับเจ้านั้นมาจากอัลลอฮฺ ส่วนความชั่วใดๆ ที่ประสบกับเจ้านั้นมันมา จากตัวเจ้าเอง และเราได้ส่งเจ้ามาเป็นเราะสูลแก่ปวงมนุษย์ และเพียงพอแล้วที่อัลลอฮฺทรงเป็นพยาน (อันนิ สาอฺ : 09) ส่วนสิ่งดี ๆ ในความหมายของนชคลาภ เช่น ทรัพย์สมบัติ บุตร การมีพลานามัยที่ดี ชัยชนะ และ เกียรติยศ หรือสิ่งไม่ดีในความหมายของการลงนทษและการทดสอบ เช่น การสาบสูญของทรัพย์สมบัติ ชีวิต และผลไม้ ตลอดจนความพ่ายแพ้ เป็นต้น ซึ่งสิ่งดีและสิ่งไม่ดีในความหมายทั้งสองนี้ทั้งหมดมาจากอัลลอฮฺ เพราะพระองค์ทรงทดสอบบ่าวของพระองค์ด้วยการให้ทุกข์ ลงนทษ และยกระดับ ทั้งนี้เพื่อฝึกฝนบ่าวของ พระองค์ ดังที่พระองค์ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงกล่าวว่า : ا َ َم ْن َُ َأي وفُوا َ ْدِرك ُُُّك ت َ ْو ي ُت ُ م ْ ْو ال َ ل ْت َ و نُ ك ِِف ُ ُوجٍ ُر ب َدةٍ ُّم َش ي ن َّ ِ ا َ ْ و تُ ِصْْبُم ٌَِ ن َ َحس وا ُ ُقول َ ي ِذهِ ْن َٰ َه ن ِد مِ ا ََّّلل ن ِع ِ ِ ا َ ْ و تُ ِصْْبُم َسِيدئٌَِ َ ي وا ُ ُقول ِذهِ ْن َٰ َه ْن ُك قُ ْل ل ِعن ِد م َك ِ ن ِد دمِ ا ََّّلل ا ِ ِع ِ َ فَم ُؤََلءِ َٰ َه ِ ْوم قَ ْ ََكُِوَن ََل ال َ ْفقَهُوَن ي َ )النساء : 06َ )حِد ي يثًا ความว่า : และถ้าหากพวกเขาประสบความดีใด ๆ พวกเขาก็จะกล่าวว่าสิ่งนี้มาจากอัลลอฮฺ และหาก พวกเขาประสบความชั่วใด ๆ พวกเขาก็จะกล่าวว่าสิ่งนี้มาจากตัวเจ้า จงกล่าวเถิด (มุหัมมัด) ทุกอย่างนั้นมา จากอัลลอฮฺทั้งสิ้น แล้วมีเหตุใดเกิดขึ้นกับพวกเหล่านี้หรือท าให้พวกเขาถึงกับเกือบจะไม่เข้าใจค าพูดเอาเสียเลย (อันนิสาอฺ : 08) การได้รับการยกโทษ เมื่อคนมุอ์มิน (ผู้ศรัทธา) ได้กระท าความชั่ว นทษของเขามีนอกาสจะได้รับการอภัย นดยวีธีต่อไปนี้ : - นดยการขออภัยนทษ และอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงยกนทษให้ - นดยการกล่าวค าอิสติฆฟาร (ขออภัยนทษ) และอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงยกนทษให้ - นดยการปฏิบัติความดีที่ไปลบล้างความชั่ว - นดยการขอดุอาอ์และกล่าวค าอิสติฆฟารของเพื่อนที่มุอ์มิน หรือมอบบุญกุศลส่วนตัวของเขาให้แก่เขา - นดยการทดสอบเขาด้วยทุกข์ภัยต่าง ๆ ที่ลบล้างความชั่วนั้นออกไป - นดยการทดสอบเขาในนลกบัรซัค (นลกในสุสาน) ด้วยฟ้าผ่าแล้วอัลลอฮฺก็ทรงลบล้างความผิดนั้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 34 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา - นดยการทดสอบเขาในวันกิยามัตด้วยสิ่งสามารถจะลบล้างความชั่วได้ - นดยการได้รับการชะฟาอะฮฺ (ค้ าประกัน) จากนบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม - นดยการได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากอัลลอฮฺ ผู้ทรงกรุณาปรานี ซึ่งอัลลอฮฺคือผู้ทรงอภัย ผู้ทรงปรานี ยิ่ง การกระท าการภักดีและการฝ่าฝืน การกระท าการภักดีก่อให้เกิดประนยชน์และท าให้เกิดจรรยามารยาทที่ดี ส่วนการฝ่าฝืนจะก่อให้เกิด นทษและท าให้เกิดมารยาทที่ไม่ดี นดยดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ พืช สัตว์ ผืนแผ่นดินและท้องทะเลนั้นจะภักดีต่อ พระเจ้า จึงเกิดสิ่งที่เป็นประนยชน์อันมากมายซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา เท่านั้นสามารถจะค านวณนับ ได้ และบรรดาศาสนทูตก็เช่นกัน เมื่อพวกเขากระท าการภักดีต่ออัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา คุณงามความดี ก็เกิดขึ้นจากตัวพวกเขาอย่างมากมายซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา เท่านั้นที่สามารถค านวณได้เช่นกัน ส่วนมารอิบลีส เมื่อมันกระท าทรยศต่อพระเจ้า พร้อมทั้งแสดงความดื้อรั้นและหยิ่งยะนส ก็ได้เกิด ความชั่วและสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ขึ้นในแผ่นดินอย่างมากมายซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา เท่านั้นที่ทรงสามารถ ค านวณนับได้ ดังนั้น มนุษย์ก็เช่นเดียวกัน หากเขาจงรักภักดีต่อพระเจ้า คุณงามความดีและคุณประนยชน์ต่าง ๆ ก็ จะเกิดกับตัวเขาและคนอื่น ๆ อย่างมากมายซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา เท่านั้นที่สามารถค านวณนับได้ และถ้าหากเขากระท าการฝ่าฝืนและทรยศต่อพระเจ้า ความชั่วและสิ่งไม่ดีต่าง ๆ ก็จะเกิดกับตัวเขาและคนอื่น ๆ อย่างมากมายซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา เท่านั้นที่สามารถค านวณนับได้เช่นกัน ผลของการกระท าการภักดีและการฝ่าฝืน อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงท าให้การกระท าการภักดีและท าความดีมีผลอย่างเลิศรสและเป็นที่ ชื่นชอบ รสชาติของมันดีเหนือกว่ารสชาติของการกระท าความชั่วเป็นหลายเท่า และพระองค์ได้ทรงท าให้การ กระท าความชั่วและสิ่งทรยศต้องทิ้งร่อยรอยและความเจ็บปวดอย่างน่ารังเกียจ ท าให้เกิดความเศร้าสลดและ เสียใจเป็นหลายเท่าเมื่อเทียบกับความสุขชั่ววูบที่เขาแค่ลิ้มลอง ซึ่งมนุษย์นั้น สิ่งไม่ดีทั้งหมดที่เกิดกับตัวเขาก็ เป็นเพราะพิษบาป และนทษที่อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ทรงยกให้นั้นยังมากกว่า (หากพระองค์ไม่ทรงยก นทษให้ คงมีสิ่งไม่ดีเกิดขึ้นกับตัวเขาหลายเท่าตัว) ส่วนบาปนั้นก็เป็นอันตรายต่อหัวใจเช่นเดียวกับที่ยาพิษเป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งอัลลอฮฺ สุบหานะฮุ วะตะอาลา ได้ทรงสร้างมนุษย์บนฐานของกฎธรรมชาติที่ดีงาม หากมันไปเปื้อนกับบาปและความผิดแล้วความ สวยงามเหล่านั้นก็จะถูกถอนออกไป และเมื่อเขาขอเตาบัตต่ออัลลอฮฺความสวยงามเหล่านั้นก็จะหวนคืนมาอีก และความสวยงามนี้จะถึงจุดสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อเขาอยู่ในสรวงสวรรค์ การได้รับทางน าและการถูกชักจูงสู่ความหลงผิด อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา นั้นทรงมีค าสั่งสร้าง ทรงสามารถกระท าสิ่งที่พระองค์ทรงปรารถนา และบัญญัติสิ่งที่พระองค์ทรงประสงค์ ทรงชี้ทางสว่างให้แก่ผู้ที่พระองค์ทรงประสงค์ และทรงชี้ทางมืดให้แก่ผู้ที่ พระองค์ทรงประสงค์ สิ่งครอบครองในจักรวาลนี้ทั้งหมดเป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์ สรรพสิ่งทั้งหมดเป็นสิ่ง สร้างสรรค์ของพระองค์ พระองค์ทรงอยู่เหนือกฎหมาย ในขณะที่มนุษย์ทั้งหมดต้องอยู่ใต้กฎหมายของพระองค์ และถือเป็นความกรุณาปรานีอย่างล้นพ้นของพระองค์ที่ทรงแต่งตั้งบรรดาศาสนทูต ทรงประทานคัมภีร์ ทรง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 35 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อธิบายแนวทางต่าง ๆ ทรงชี้แจงเหตุผล และทรงเตรียมเครื่องมือเพื่อให้ได้รับทางน าและประพฤติชอบด้วยการ ประทานหู ตา และปัญญา และหลังจากนั้น : 1- ผู้ใดที่รัก ชอบ และพยายามค้นหาทางสว่าง พร้อมกับปฏิบัติตามแนวทางของมัน และทุ่มเทความ พยายามอย่างจริงจังเพื่อให้ได้รับสิ่งนี้ อัลลอฮฺก็จะทรงประทานให้แก่เขา และจะทรงให้ความช่วยเหลือเพื่อให้ บรรลุสิ่งที่เขาต้องการ ซึ่งสิ่งนี้นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ต่อพวกเขา อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َن ي ََّّلِ ا َ َا فين ِ ْ و َجا َهُدوا ََّّنُم َ ِدي ْ َ لَََّن ا ن َ ل ُ َّن ُ ب س ِ ا َ َ و ا َََّّلل َع م َ َن ل نِ ِ ُ ْحس م ْ ال )العنَبوت : 89) ความว่า : และผู้ที่ต่อสู้ดิ้นรนในหนทางของเรานั้น แน่นอนยิ่งเราย่อมจะชี้ทางแก่คนเหล่านั้นสู่หนทาง ของเรา และแท้จริงแล้ว อัลลอฮฺนั้นทรงอยู่ร่วมกับผู้กระท าความดีทั้งหลาย (อัลอังกะบูต : 69) 2- ผู้ใดที่รัก ชอบ และพยายามค้นหาทางมืด พร้อมกับปฏิบัติตามแนวทางของมัน เขาก็จะได้รับสิ่งนั้น และอัลลอฮฺก็จะหันเขาไปสู่ทิศทางที่เขาต้องการ และจะไม่มีใครสามารถจะหักเหเขาให้ออกมาจากทางดังกล่าว ได้ ซึ่งสิ่งนี้นับเป็นความยุติธรรมของอัลลอฮฺ อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : ِق ُسوَ َ َمن ق ِ الر ن َّ و يُ َشا َْعِد مِ َّن َم َ ب ا َ هُ َد ٰى ََل تَب ُ ْ ْع ال َتَِّب ي َن َ ن مِ َر َسِبي ِل ُمْؤِ و غَْ ْ ال دَلِِ َ َم َ فُو ا ت َّىلٰ َ و ْصَِلِ فُ َّن ْت َ َ و ََْجَّ َ َساء و َم ِص ًرا )النساء : 221) ความว่า : และผู้ใดที่ฝ่าฝืนเราะสูลหลังจากที่ค าแนะน าอันถูกต้องได้ประจักษ์แก่เขา และเขายังปฏิบัติ ตามทางที่มิใช่ทางของบรรดาผู้ศรัทธานั้น เราก็จะหันเขาไปสู่สิ่งที่เขาได้หันไป และเราจะน าเขาไปสู่ นรกญะฮันนัม ซึ่งมันเป็นปลายทางที่น่ากลัว (อันนิสาอฺ : 115) ผลของการศรัทธาในกฎอัลเกาะดัร การศรัทธาในกฎอัลเกาะฎออฺและอัลเกาะดัรเป็นแหล่งก าเนิดความสุขใจ ความสุขุมเยือกเย็น และ ความมีเกียรติส าหรับมุสลิมทุกคน นดยเขารู้ว่าทุกสิ่งนั้นเกิดขึ้นได้ด้วยการก าหนดของอัลลอฮฺ เขาจึงไม่ดีใจ อย่างลิงนลดยามเมื่อได้รับสิ่งที่เขาต้องการ และก็ไม่กระวนกระวายยามที่ต้องสูญเสียสิ่งที่รักและหวงแหน หรือ ได้รับทุกข์ภัยที่ไม่พึงประสงค์ ทั้งนี้ เป็นเพราะเขารู้ดีว่าสิ่งทั้งปวงนั้นเกิดขึ้นได้ก็เพราะการก าหนดของอัลลอฮฺ ซึ่งมันจะต้องเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ดังมีหลักฐานต่อไปนี้ : 1- อัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ได้ทรงกล่าวว่า : َصا َب َأ ن َما مِ ٍَِ ْرِض ُّم ِِف ِصيب َ ََل اْلْ َ ََّل َأفُف ِسُُك و ِِف ْ ِ تَ ا ِِف ا ٍب دمن ِل ِ ْ ك ِ َْبَأ َها َّن قَب َأن فَّْ ِ ِِل ا َ َذ ََل َٰ عَ َل يَ ِس ا ََّّلل ٌر ِ ْ ِد ََي َس ل ْ ا ْو تَأ ََلٰ ُ ُْك عَ َما َ ََل فَات َ َ و ُحوا تَ ا ْفر َ ِبم أ ََتُك ا ََُّّلل ُْ َ ب ََل و فَ )احلديد : 11-13ُ )م ْختَ ُخوٍر َُِي ُ َّك ا ٍ ُّ ความว่า : ไม่มีทุกข์ภัยใด ๆ เกิดขึ้นในแผ่นนี้ และไม่มีแม้แต่ที่เกิดขึ้นกับตัวเจ้าเอง เว้นแต่ได้มีอยู่แล้ว ในบันทึกก่อนที่เราจะบังเกิดมันขึ้นมา แท้จริงแล้ว สิ่งนั้นเป็นการง่ายมากส าหรับอัลลอฮฺ ทั้งนี้ เพื่อพวกเจ้าจะ ได้ไม่ต้องเสียใจต่อสิ่งที่สูญเสียไปจากพวกเจ้า และไม่ดีใจต่อสิ่งพระองค์ประทานแก่พวกเจ้า และอัลลอฮฺนั้นมิ ทรงชอบทุกผู้หยิ่งจองหอง ผู้คุยนวนอ้อวด (อัลหะดีด : 22-23) 2- มีรายงานจากศุฮัยบฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ กล่าวว่า : ً » ا ب َ م ِن َّن َ ُمْؤِ ْ َع َْلْمِر ال ِ َ ُه ا َأ ُه ْمر َس َخٌْر َُكَّ يْ َ ل َ و َذا َك َْلَحٍد َلَّ ِ ِن ا ْؤمِ ُ م ْ ل ْن ل ِ ِ َ ا ْتُه َأ َصاب ُ َ َ َّْس اء َن َش ََر ًرا ُ ْن ََل فَ ََك َخْ ِ ا َ َْتُه َصاب ُ و َأ َضَّاء َص َن َْبَ ًرا ُ ََل فَ ََك َخْ «. نأخرجه مسَل.


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 36 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า : “น่าประหลาดใจเหลือเกินส าหรับกิจกรรมของคนมุอ์มินผู้ศรัทธา ที่การงานของเขาทุก อย่างดีไปหมด ซึ่งสิ่งนั้นมีแต่เฉพาะกับคนมุอ์มินเท่านั้น นดยหากเขาได้รับสิ่งที่เป็นสุข เขาก็ขอบคุณ สิ่งนั้นก็ เป็นการดีส าหรับเขา หรือหากเขาประสบสิ่งที่เป็นทุกข์ เขาก็อดกลั้น สิ่งนั้นก็เป็นการดีส าหรับเขาเช่นกัน” [บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 2999] 3- มีรายงานจากสะอ์ดฺ บินอบีวักกอศ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า : ب ُت ْ ِ « م ِن ْن َ ُمْؤِ ْ لل َع ِ ِ ا ُه َ ا َََّّلل َأ َخٌْر َِِحَد َصاب َ َش ََر و َّن َ ِ ا َ ِ َْتُه ٌ َصاب َ و َأ َِِح ُم َد ِصيب َْب ِ م ُن َ َص ا ََّّلل َ ُمْؤِ و ْ فَال ُ ُ ْؤَجر ه ي ِّف ِد َح َأ َّىت ْمِر ُك ِ َ ي ِّف ُ ْؤَجر َِِ ُّْقم ُع الل هَا َْرفَ َىل ي ِ ا ِّف هِ ِ َأت اْمر «. نأخرجه نأِحد وعبدالرزا َ ความว่า : “ฉันรู้สึกฉงนใจมาก ๆ เลยต่อคนมุอ์มิน หากเขาได้รับสิ่งดีใด ๆ เขาก็กล่าวสรรเสริญและ ขอบคุณต่ออัลลอฮฺ และหากเขาได้รับทุกข์ภัย เขาก็กล่าวสรรเสริญอัลลอฮฺและอดทน ซึ่งคนมุอ์มินนั้นจะได้รับ ผลบุญในทุกกิจกรรมของเขา จนแม้กระทั่งยังได้รับผลบุญในอาหารหนึ่งค าที่เขายกขึ้นจะป้อนใส่ปากภรรยา ของเขาเอง” [บันทึกนดยอะหมัด ตามส านวนนี้ หมายเลข 1492 และอัลนาอูฏกล่าวว่า สายรายงานหะสัน และ บันทึกนดยอับดุลเราะซาก หมายเลข 2731] และด้วยประการเหล่านี้ทั้งปวง การอธิบายหลักศรัทธาทั้งหกจึงได้จบลงด้วยความนปรดปราน ของอัลลอฮฺ นั้นก็คือ การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ ต่อมะลาอิกะฮฺของพระองค์ ต่อคัมภีร์ของพระองค์ ต่อบรรดาศาสน ทูตของพระองค์ ต่อวันอาคิเราะฮฺ และต่อกฎอัลเกาะดัร ทั้งดีและชั่ว นดยทุก ๆ หลักการเหล่านี้ต่างก่อให้เกิด ผลที่ทรงคุณค่าแก่คนมุมิน คุณค่าของการศรัทธาในหลักศรัทธาต่าง ๆ 1. การศรัทธาต่ออัลลอฮฺก่อให้เกิดความรักต่ออัลลอฮฺ เกิดการเทิดทูน ขอบคุณ ภักดี เชื่อฟัง เกรงกลัว และปฏิบัติตามค าสั่งของต่อพระองค์ 2. การศรัทธาต่อมะลาอิกะฮฺก่อให้เกิดความรักและความละอายต่อพวกเขา ตลอดจนสามารถน า ตัวอย่างการภักดีของพวกเขามาเป็นข้อคิดและเตือนสติได้ 3-4. การศรัทธาต่อคัมภีร์ และศาสนทูตต่าง ๆ ก่อให้เกิดพลังศรัทธาอย่างแรงกล้าต่ออัลลอฮฺและเกิด ความรักต่อพระองค์ อีกทั้งยังก่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับบทบัญญัติของอัลลอฮฺ สิ่งอัลลอฮฺชอบ สิ่งที่อัลลอฮฺไม่ ชอบ และสภาพของนลกอาคิเราะฮฺ ตลอดจนก่อให้เกิดความรักต่อบรรดาศาสดาของอัลลอฮฺ และเชื่อฟังต่อ พวกเขา 5. การศรัทธาต่อวันอาคิเราะฮฺ ก่อให้เกิดความปรารถนาอย่างแรงกล้าเพื่อกระท ากิจกรรมการภักดี และความดีต่าง ๆ ตลอดจนเกิดความกระดากและไม่เคยชินกับการกระท าสิ่งฝ่าฝืนและสิ่งไม่ดีต่าง ๆ 6. การศรัทธาต่อกฎอัลเกาะดัร ก่อให้เกิดความสุขใจ ความสงบจิต และพอใจในสิ่งที่อัลลอฮฺทรง ก าหนด และเมื่อคนมุสลิมมีสิ่งเหล่านี้ครบถ้วนแล้ว เขาก็เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติครบที่จะได้เข้าสรวงสวรรค์ นดยรอ แต่เพียงการกระท าการภักดีต่ออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์อีกอย่างเดียวเท่านั้น ดังที่พระองค์ทรงกล่าวว่า َ َمن ِ و ِطع ُ َ ُسوََل ي ا َََّّلل ُ َر ْدِخَْل و ُ ُ َج ِري نَّا ٍت ي ََت ِن ْ ُر ََت م ِْْتَا َ ِْنَا َن اْلْ َذَٰ ف ِ َِل ِْيَ َخاِ َِل ا ي َ ْو و ُز َف ْ َعِظ ُي ال ال )النساء : 23ْ ) ความว่า : และผู้ใดที่กระท าการภักดีต่ออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ พระองค์ก็ให้เขาได้เข้าสรวง สวรรค์ที่มีแม่น้ าสายต่าง ๆ ไหลผ่านข้างใต้ นดยพวกเขาจะคงอยู่ในนั้นนานไปตลอดกาล และนั้นคือชัยชนะอัน ใหญ่หลวง (อันนิสาอฺ : 13)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 37 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา สิ่งที่อัลลอฮฺทรงกระท า ทรงสร้าง และทรงก าหนดต่อสิ่งสร้างสรรค์ของพระองค์นั้น ล้วนแต่มี คุณประนยชน์และแฝงด้วยข้อคิดและวิทยปัญญา เป็นต้นว่า สิ่งดีและความดีที่พระองค์ทรงสร้างนั้นบ่งถึงความ ปรานีของพระองค์ ความเด็ดขาดและการลงนทษที่พระองค์ทรงสร้างก็บ่งถึงความนกรษกริ้วของพระองค์ ความ ละมุนละไมและการให้เกียรติที่พระองค์ทรงสร้างก็จะบ่งถึงความรักของพระองค์ ในขณะที่ความต่ าต้อยและ ความด้อยค่าที่พระองค์ทรงสร้างจะบ่งถึงความกริ้วนกรธและความเกลียดชังของพระองค์ และความด้อยและ เด่นที่พระองค์ทรงสร้างก็เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเกิดขึ้นของวันแห่งพันธะสัญญา (วันกิยามัต) รุก่นข้อที่ 6 ศรัทธาเรื่องวันกิยามะฮฺ (กาลอวสานและวันฟื้นคืนชีพ) วันกิยามะฮฺเป็นวันที่ยิ่งใหญ่ความนกลาหลเกิดขึ้นอย่างสาหัส มวลมนุษย์จะตกอยู่ในความตระหนก และหวาดกลัว สายตาบรรดาผู้อธรรมจะมองต่ า อัลลอฮฺจะท าให้วันกิยามะฮฺส าหรับบรรดาผู้ศรัทธาเหมือน ระยะเวลาระหว่างซุฮร์กับอัศร์เท่านั้น ส่วนบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาจะรู้สึกว่ามันยาวนานถึงห้าหมื่นปี ความน่า สะพรึงกลัวในวันนั้นมีดังนี้ 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ َذا ِ َخ َفا ص فُف ِِف وِر ِ ُّ ل أ فَۡف َخِ ِحَدة َٰ َ ِت َ ۡ و ُض َ و ٤٢ُِِ حل َر ْلۡ ا ُ أ َ ِجب ۡ ل أ َ و تَا َّ ِح َِك َد ة َّ ِ َفُدك َٰ ئ ذ َ ۡ و ٤٨َ مِ َع َفي ِت َو َق َ َعُِ ق ِ َ و ا و ۡ ل أ ٤١ ن َشقَّ ِت أ َ ُ و ء ا َ َّسم ل فَهِي ذ َي أ ِ ۡ َمئ َو ي َِ ِهي ا َ ]٤٦ ،٤٢ :ِاحلاق ﴾ ]٤٦ و ความว่า “ครั้นเมื่อเสียงเป่าครั้งแรกถูกเป่าขึ้นหนึ่งครั้ง (เป็นสัญญาณแจ้งให้ทราบถึงวันกิยามะฮฺ) แผ่นดินและเทือกเขาจะถูกยกขึ้นแล้วมันทั้งสองจะถูกกระแทกกันแตกกระจายเป็นผุยผง ในวันนั้น วันกิยา มะฮฺก็จะเกิดขึ้น ชั้นฟ้าก็จะแยกออก และในวันนั้นมันก็จะอ่อนก าลังลงอย่างไม่เป็นระเบียบ” (อัลห๊ากเกาะฮฺ อายะฮฺที่ 13-16) 2. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ َذا ِ ۡ ُس ا ل َّشم أ ۡت َ دِر ُو ك ٤َ ذا ِ ا َ ُّ ُجوُم و لن أ ۡت َ َََدر ن َذ أ ٣ ا ِ ا َ و ا ُ َ ِجب ۡ ل َر ۡت ُس أ ِد ٢َ ذا ِ ا َ ُر و َشا عِ ۡ ل أ ۡت َ َذ ُع ٨ ا ِدطل ِ ا ُ و ُحوُش َ و ۡ ل أ ۡت ُحِرشَ ١َ ذا ِ ا َ ُر َحا و ِب ۡ ل أ ۡت َ ُس ٦ِ ﴾ در ]التَوير: ٤ ،٦ ] ความว่า “เมื่อดวงอาทิตย์ถูกท าให้ม้วนดับแสงลง และเมื่อบรรดาดวงดาวร่วงหล่นลง และเมื่อบรรดา ภูเขาถูกเคลื่อนย้าย และเมื่ออูฐท้องสิบเดือนถูกทอดทิ้ง และเมื่อสัตว์ป่าถูกน ามารวมกันและเมื่อทะเลลุกเป็น ไฟ” (อัตตักวีร อายะฮฺที่ 1-6) 3. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ َذ ِ ا ا ُ ء ا َ َّسم ل أ ۡت َ فَف َطر َذ أ ٤ ا ِ ا ك ُب َ ِ َ و ا ۡ ََو ل َث أ َ ۡت فتَ َذ أ ٣ ا ِ ا َ ُر َحا و ِب ۡ ل أ ۡت َ دجِر َذ فُ ٢ ا ِ ا َ ُ و وُر ُقب ۡ ل ب ٨[ ﴾ الاففطار: ٤ ،٨ُۡ ]ع أ َِث ۡت ความว่า “เมื่อท้องฟ้าแตกออก และเมื่อบรรดาดวงดาวหล่นกระจัดกระจาย และเมื่อทะเลถูกให้เอ่อ ล้น และเมื่อหลุมฝังศพถูกพลิกกลับ” (อัลอินฟิฏอร อายะฮฺที่ 1-4) 4. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ َذا ِ ا ُ ء ا َ َّسم ل أ ن َشقَّ ۡت ِذ أ ٤ فَ ۡت َأ َ َ و ِدِبَا َ ُح ل قَّ ۡت ِر و ٣َ ذا ِ ا ۡ و ُض َ َر ْلۡ أ ُمَّد ۡت ٢ قَ ۡت ۡ َأل ۡت َ َّ فْيَا َل ََت و َما ِ ِذفَ ۡت َ َ و ٨َ أ َ و ِدِبَا و ١ُ َ ح ل قَّ ۡت ِر ]١ ،٤ : الانشقا﴾ ] ความว่า “เมื่อชั้นฟ้าได้แตกออก และมันได้เชื่อฟังพระผู้อภิบาลของมัน และมันจ าต้องท าเช่นนั้น และ เมื่อแผ่นดินถูกให้แผ่กว้าง และมันได้คายสิ่งที่อยู่ในมันออกมาจนมันว่างเปล่า และมันได้เชื่อฟังพระผู้อภิบาล ของมัน และมันจ าต้องท าเช่นนี้” (อัลอินชิก๊อก อายะฮฺที่ 1-5)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 38 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 5. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ َذا ِ َع ِت ا قَ َ َعُِ ق ِ َ و ا و ۡ ل َس أ ٤ يۡ َ ل ا َعِْتَ ۡق َ ل ِو ٌَِ ََكِذ ٣ ب َضِ َخاف ِ َعٌِ افِ َّ ر ٢َ ذا ِ ُض ُرَّج ِت ا ۡ َر ْلۡ َّس ر ٨ِ ت َ دج أ ا بُ َ و ا ُ َ ِجب ۡ ل فَ ََك بَ ١ فَ ۡت دس أ ا ء ا َ َهب ا ثد َ ُّمۢنب ٦[ ﴾ الواقعِ: ٤ ،٦ ] ความว่า “เมื่อเหตุการณ์(วันกิยามะฮฺ)ได้เกิดขึ้น ไม่มีใครอีกที่ปฏิเสธต่อเหตุการณ์นั้น มันท าให้กลุ่ม ชนหนึ่งต่ าต้อย ชนอีกกลุ่มหนึ่งสูงส่ง เมื่อแผ่นดินถูกสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง และบรรดาภูเขาได้แตกสลาย และมันกลายเป็นผุยผงปลิวว่อน” (อัลวากีอะฮฺ อายะฮฺที่ 1-6) 6. จากอิบนุอุมัร เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุมา กล่าวว่า ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า ْن َ » َم ْن َ َّْسُه َأ َىل ي َْن ُظر ِ ا ِ َْوم ي اَمِِ َ ي ُي ََك الق َفَُّه ِ ْأ َ ْ ٍن ْأ َ ر عَ ْقر َ ي ْ فَل : َذا ِ ْ ُس ا ال َّشم ْت، َ دِر ُو ك َذا ِ ا َ ُ و اء َ ال ْت َّسم َ َذ افَْف َطر ، ا ِ ا َ ُ و اء َ َّسم ال َشقَّ ْت ان « )نأخرجه نأِحد والتمذي( ْ ความว่า “ผู้ใดที่ต้องการเห็นสภาพของวันกิยามะฮฺเป็นเช่นใด ก็จงอ่าน ซูเราะฮฺ อัตตักวีร, อัลอินฟิฏ อร และอัลอินชิก๊อก” (เป็นหะดีษที่เศาะฮีหฺ บันทึกนดยอะหมัด หมายเลขหะดีษ 4876 ดูหนังสืออัสสิลสิละฮฺ อัศเศาะฮีหะฮฺ หมายเลขหะดีษ 178, อัตติรมิซีย์ หมายเลขหะดีษ 3333 และนี้เป็นส านวนรายงานของท่าน ดู หนังสือเศาะฮีหสุนัน อัตติรมิซีย์ 2653) การเปลี่ยนแผ่นดินและชั้นฟ้าในวันกิยามะฮฺ 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َْلۡرُض ب َّدُ ۡ َ َۡوَم تُ ﴿ ي َر ِض أ غَۡ ۡ َر ْلۡ أ ُتۖ َٰ َ َٰو َ َّسم ل أ َ ا َ و ُزوْ َر ب َ و ِ َّ ِحد َِّلل ِ َٰ َ و ۡ ل أ قَهَّاِر ۡ ل أ ٨٤ [ ﴾ ابراهي: ٨٤] ความว่า “วันซึ่งแผ่นดินจะถูกเปลี่ยนเป็นอื่นจากแผ่นดินนี้ และชั้นฟ้าทั้งหลาย (ก็เช่นเดียวกัน) พวก เขาจะปรากฏตัวต่อหน้าอัลลอฮฺ ผู้ทรงเอกะ ผู้ทรงอ านาจ” (อิบรอฮีม อายะฮฺที่ 48) 2. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ء َ َّسَما َۡوَم فَ ۡطِوي ل ﴿ ي ِ أ د َطي ك ِجِدل َ دسِ ل ۡ َُ أ ُت ِۚب ل ِ ل ََكَ َ ب ََن ۡ َ َدنأ َّ َأو ۡق َخل ۚ يُدُهۥ ِ ُّع ًدا َعۡ ف و َا ۚ ن ۡ ي عَل ََّن َ ِ نَّ ا ا َن ُ ل ك ِ فَ ﴾ َٰعِ ความว่า “วันที่เราจะม้วนฟ้าประหนึ่งการม้วนแผ่นกระดาษส าหรับการบันทึก ดังเช่นที่เราได้ให้มีการ บังเกิดในครั้งแรก เราจะให้มันกลับเป็นขึ้นมาอีก เป็นสัญญาผูกพันกับเรา แท้จริงเราเป็นผู้กระท าอย่าง แน่นอน” (อัลอันบิยาอ์ อายะฮฺที่ 104) มวลมนุษย์จะไปอยู่ ณ แห่งใดในวันที่แผ่นดินและแผ่นฟ้าที่จะถูกเปลี่ยน จากเษาบาน เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ เมาลา(ทาสผู้รับใช้) ของท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม เล่าว่า ครั้งหนึ่งขณะที่เข้านั่งอยู่กับท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม อยู่ ปรากฏว่ามีปราชญ์ชาวยิวมา ขอพบท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม และเขาได้ซักถามท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ซึ่งมีบ้างตอนเขาได้ถามท่านว่า มวลมนุษย์จะไปอยู่ ณ แห่งใดในวันที่แผ่นดินและแผ่นฟ้าที่ เราอยู่ปัจจุบันจะถูกเปลี่ยนเป็นแผ่นดินและแผ่นฟ้าใหม่? ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ตอบว่า ْه ِِف ُ« َِِ م ْ ُِوَن ِجْ ِِس ال ُّظل ْ ال « وِف روايِ : »عَل الُصاط« )نأخرجه مسَل( ความว่า “พวกเขาจะอยู่ในความมืด ใกล้กับสะพาน(ข้ามนรก) บางกระแสรายงานว่า พวกเขาจะอยู่ บนสะพาน” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลขหะดีษ 315 และ 2091 จากท่านหญิงอาอิชะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮา)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 39 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความร้อนและความน่าสะพรึงกลัวในสนามชุมนุม ในวันกิยามะฮฺ อัลลอฮฺจะทรงรวบรวมสรรพสิ่งทั้งมวล หลังจากที่ฟื้นคืนชีพแล้ว ณ ทุ่งแห่งหนึ่ง เพื่อ การพิพากษาระหว่างพวกเขา นดยพวกเขาเหล่านั้นจะอยู่ในสภาพเปลือยกายและไม่ขลิบปลายอวัยวะเพศ ใน วันนั้นดวงอาทิตย์จะเข้ามาอยู่ใกล้กับศีรษะมนุษย์ จนมนุษย์นั้นมีเหงื่อไหลท่วมสูงถึง 07 ศอก บรรดามนุษย์จะ มีเหงื่อไหลออกมาตามสภาพการปฏิบัติตนที่พวกเขาได้กระท ามา 1. จากอัลมิกดาด บิน อัลอัสวัด เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ เล่าว่า ฉันเคยฟังท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะ ลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า َْوَم اَمِِ » تُ ْدَن ال َّشْم ُس ي َ ي قِ ْ َن ال م ِق، ِ ْ َخل َح ال َّىت ْ َُوَن ت َ ْ َّْنُم م ِ ْقَداِر ِ َ ََل قَ ْدِر ُس عَ َُوُن النَّا َ مي ٍل فَي ْ َك ِ هِم ِ َْمعال ِ َأ ِِف َ َعر ْ فَِم ال ، ْ َّْنُم َُ َم ْن وُن َ َىل ي ِ ا ْهِ ي َ ْعب ك ، َ ْ َّْنُم َُ و َم ْن وُن َمِ َ َىل ي ِ ا ْهِ تَي َ ب ُركْ ، ْ َّْنُم َُ و َم ْن وُن َمِ َ َىل ي ِ ا ْهِ ي َ َحْقو ، ْ َّْنُم َمِ و َم ْن ِجُمُه ْ ي ُ ُل َ َعر َج ال اًما، ْ ْ ل ِ قَا : َ ا َ َأ َشار َ و ُسوُ َ ر َص ََُّّلل ََّل ا ََّّللِ ا ْهِ ي َ َ َ َسََّل عَل ه َ و ِدِ َىل ِبي ِ ا يهِ ف « )نأخرجه مسَل( ِ ความว่า “ในวันกิยามะฮฺนั้นดวงอาทิตย์จะถูกน ามาใกล้กับสรรพสิ่งทุกอย่าง จนกระทั่งใกล้กับตัวพวก เขาแค่หนึ่งช่วงระยะทาง ในวันนั้นเหงื่อของมนุษย์จะไหลออกมาตามการงานที่เขาได้ปฏิบัติ จนกระทั่งบางคน จะมีเหงื่อไหลถึงตาตุ่ม บางคนก็มีเหงื่อไหลท่วมถึงหัวเข่า บางคนก็มีเหงื่อไหลท่วมถึงบั้นเอวทั้งสอง บางคนก็มี เหงื่อท่วมมิดปิดปากของเขา ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ชี้นิ้วที่ปากของท่าน” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลขหะดีษ 2864) 2. จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ เล่าว่าท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า َْوَم ْقِب ُض ا ََُّّلل ا َْلْرَض ي َ »ي اَمِِ َ ي ْط الق ، ِوي ِ َ ي َ َ و اء َ َّسم ال ِمينِهِ َ ِبي ، َّ ُ ُوُك ا َْلْرِض« )متفق عليه( ْ َن ُمل ِ ُْل َأي َ ُقوُ : َأََن امل َ ث ي ความว่า “อัลลอฮฺจะทรงก านลกไว้ในพระหัตถ์ของพระองค์ในวันกิยามะฮฺ และจะทรงม้วนแผ่นฟ้าไว้ ทางด้านพระหัตถ์ขวาของพระองค์ ต่อจากนั้นก็กล่าวว่า ข้านี่แหล่ะคือกษัตริย์ และไหนเล่าบรรดากษัตริย์ ทั้งหลายที่เคยครองแผ่นดิน (บันทึกนดย อัลบุคอรีย์ หมายเลขหะดีษ 0382, มุสลิม หมายเลขหะดีษ 2080) อัลลอฮฺจะเสด็จมาตัดสินพิพากษา อัลลอฮฺจะทรงเสด็จมาเพื่อตัดสินพิพากษา เมื่อนั้นแผ่นดินจะสว่างไสวด้วยรัศมีของพระองค์ สรรพสิ่ง ทั้งหลายสิ้นสติล้มไปเนื่องจากกลัวความเกรียงไกรของพระองค์ 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ﴿ ََُّك ۖ َذا ِ ُِك ُض َّ ِت ا ۡ َر ْلۡ أ َِدَك َِ ٣٤ دَك َ ء َك َ َجا ُّ َ و ب َْل ر ُ َ م ۡ ل أ َ و ا َصفد ا ]٣٣ ،٣٤ :الفجر ﴾ ]٣٣ صفدَ ความว่า “หามิได้ เมื่อแผ่นดินถูกท าให้สั่นสะเทือนทลายลง และพระผู้อภิบาลของเจ้าเสด็จมานดยที่มี มลาอิกะฮฺอยู่เป็นแถวๆ” (อัลฟัญจ์รฺ อายะฮฺที่ 21-22) 2. จากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุ เล่าจากท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ว่า ََل ُموَس ، َّن ُروِّن عَ ََتِد » ََل ُ ِ َس فَا َ ْصَعُقوَن النَّا َْوَم ي ي اَمِِ َ ي كُوُن الق ، ِ َ َ فَأ َّ َم ْن ي ُق َأو ُفِ َذ ي ، ا ِ ِب َِب ِط فَا ُموَس ٌش ْر ِ َِباف ِش ِ ال ، َع ََكَن فَ َل َأ ِِْري َ ميَ ْن أ َق فِ فَأَفَا ِِل َصع َ ِ ْ ْو قَب ، َّ ِن ََكَن َأ م م ََن ِ اس ا ََُّّلل« )متفق عليه( ْ تَثْ ความว่า “พวกเจ้าอย่าได้ยกย่องฉันเหนือกว่านบีมูซาเลย เพราะในวันกิยามะฮฺมนุษย์ทุกคนต่างสลบ สิ้นสติ ฉันเป็นคนแรกที่ฟื้นขึ้นมา แต่ฉันพบว่านบีมูซาอยู่ข้างๆบัลลังค์แล้ว ดังนั้นฉันจึงไม่แน่ใจว่านบีมูซาสลบ ไปแล้วฟื้นขึ้นมาก่อนฉันหรือเปล่า หรือว่านบีมูซาเป็นบุคคลที่อัลลอฮฺทรงยกเว้นไม่ต้องสิ้นชีวิต(ขณะที่มลาอิ กะฮฺเป่าแตรสังข์ครั้งแรก)” (บันทึกนดยอัลบุคอรีย์ หมายเลขหะดีษ 2411 ส านวนรายงานเป็นของท่าน , มุสลิม หมายเลขหะดีษ 2303)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 40 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หลักการอิสลาม ــالم﴾ إ ْلِســ ﴿اَإ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 41 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หลักการอิสลาม ــالم﴾ إ ﴿اَإْلِســ ความศรัทธาทั้ง 6 ประการที่กล่าวมาก่อนหน้านี้เป็นหลักการส าคัญพื้นฐานของอิสลามที่มุสลิมจะต้อง มีอยู่ประจ าใจ แต่ความศรัทธาเพียงอย่างเดียวนั้นยังไม่เป็นการเพียงพอ เพราะในอิสลาม ความศรัทธาที่ แท้จริงจะต้องแสดงผลของมันออกมาให้เห็นเป็นการปฏิบัติในชีวิตประจ าวัน และเพื่อให้แน่ใจว่าคนที่มีความ ศรัทธาในหลักการ 6 ประการดังกล่าวยังคงยืนยันในความศรัทธานั้นอย่างมั่นคง อัลลอฮ. ก็ได้ทรงวางภารกิจ ส าคัญให้เขาต้องปฏิบัติ 5 ประการหรือที่เรียกกันว่า หลักการอิสลาม หรือ “รุก่นอิสลาม” หลักปฏิบัติ (รูก่นอิสลาม) 5 ประการ 1. การกล่าวค าปฏิญาณตนว่า “อัชฮาดุอันลา อิลาฮา อิลลัลลอฮฺ วะอัช ฮาดุอันนา มูฮัมมาดัร รอสูลุลลอฮ” ค าแปล ฉันขอปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่ต้องเคารพสักการะนอกจากอัลลอฮฺ และฉันขอ ปฏิญาณว่า มูฮัมหมัดเป็นรสูลของอัลลอฮ 2. การปฏิบัติละหมาด วันละ 5 เวลา 3. การจ่ายซะกาต 4. การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน 5. การท าหัจญ์ รุกนที่ 1 การกล่าวค าปฏิญาณตน ผู้ประสงค์จะเข้าสู่อิสลาม จะต้องกล่าวค าปฏิญาณตนด้วยค ากล่าวสองประนยค อย่างเปิดเผยและ ชัดเจน พร้อมทั้งเลื่อมใสศรัทธา การกล่าวปฏิญาณ ปฏิบัติดังนี้ - กล่าวปฏิญาณด้วยวาจา - เลื่อมใสด้วยจิตใจ - ปฏิบัติด้วยร่างกาย ค ากล่าว أ َ أ ْشهَ ُد َ ََل ْن ا َ ََل َ ِ ََل ا أ َ َرُسْوُ هللا َ ا ن ُمَمدً َّ أ َ هللا و ْشهَ ُد ค าอ่าน อัชฮาดุอันลา อิลาฮา อิลลัลลอฮฺ วะอัช ฮาดุอันนา มูฮัมมาดัร รอสูลูลลอฮ ค าแปล ฉันขอปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดที่ต้องเคารพสักการะนอกจากอัลลอฮฺ และฉันขอ ปฏิญาณว่า มูฮัมหมัดเป็นรสูลของอัลลอฮ ค าปฏิญาณ นี้เป็นถ้อยค าที่ผู้ยอมรับอิสลามทุกคนจะต้องกล่าวออกมา เป็นการยืนยันด้วยวาจาว่า ตัวเองมีความศรัทธาดังที่กล่าวมาข้างต้นและพร้อม ที่จะปฏิบัติตามบทบัญญัติและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่อัลลอฮ.ได้ ทรงก าหนดไว้ในคัมภีร์กุรอานและค าสอนของท่านศาสดามุฮัมมัด ถึงแม้ค าปฏิญาณดังกล่าวจะเป็นค าพูด เพียงประนยคสั้น ๆ แต่ถ้อยค านี้แหละที่ท าให้สังคมอาหรับป่า เถื่อน ในสมัยท่านศาสดามุฮัมมัดต้องเปลี่ยนแปลงและส่งผลให้อิสลามได้กลายเป็นอู่ อารยธรรมที่ส าคัญแห่ง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 42 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หนึ่งของนลก ค าปฏิญาณดังกล่าวนี้หมายความว่ามุสลิมจะไม่ยอมเคารพกราบไหว้หรือสักการะบูชา พระเจ้าอื่น ใด ไม่ว่าพระเจ้านั้นจะเป็นวัตถุที่มนุษย์ท าขึ้นมาหรือคนที่อุปนลกน์ตัวเองหรือ ถูกอุปนลกน์เป็นพระเจ้า หรือ แม้แต่สิ่งใดหรือใครก็ตามที่อ้างว่าตัวเองมีคุณสมบัติบางอย่างเหมือนอัลลอฮ. แล้วเรียกร้องต้องการให้คนอื่น สักการะบูชาตนเอง ดังนั้นอิสลามจึงห้ามมุสลิมแสดงกิริยากราบแบบมือและหัวจรดพื้นแก่วัตถุหรือ บุคคลใด ๆ แม้แต่พ่อแม่ของตัวเอง เพราะกิริยาการกราบอันถือว่าเป็นกิริยาที่แสดงถึงความสูงสุดในการเคารพ สักการะ นั้นจะถูกสงวนไว้ใช้กับ “อัลลอฮ.” ผู้ทรงเป็นพระเจ้าที่แท้จริงแต่เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น แต่นั่นมิได้ หมายความว่าอิสลามห้ามมิให้เคารพเชื่อฟังและท าความดีต่อพ่อแม่ การที่อิสลามห้ามกราบไหว้บูชาวัตถุ และบุคคลเช่นนั้น ก็เพราะอิสลามถือว่ามนุษย์เป็นสิ่งถูกสร้างที่ ประเสริฐที่สุดและมนุษย์ทุกคน มีฐานะแห่งความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกันในสายตาของอัลลอฮ. เมื่อมนุษย์ เป็นสิ่งถูกสร้างที่ประเสริฐที่สุดแล้ว หากมนุษย์ยังไปสักการะบูชาหรือกราบไหว้วัตถุธรรมชาติหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ มนุษย์ท าขึ้นมาหรือสักการะบูชามนุษย์ด้วยกันเอง นั่นก็หมายความว่ามนุษย์ก าลังลดฐานะแห่งความเป็น มนุษย์ในสายตาของพระองค์ลง เมื่ออิสลามห้ามสักการะหรือกราบ ไหว้พระเจ้าอื่นใดแล้ว อิสลามก็สั่งให้มุสลิมเคารพภักดีอัลลอฮ.แต่ เพียงพระองค์เดียว ทั้งนี้เพราะพระองค์เท่านั้นที่ทรงเป็นพระเจ้าที่แท้จริง ผู้ทรงสร้างทุกสรรพสิ่งในสากล จักรวาลรวมทั้งตัวมนุษย์เองด้วย และพระองค์ไม่มีผู้ใดมาเป็นภาคีร่วมกับพระองค์ ค าปฏิญาณตอนที่สองที่กล่าวว่า “มุฮัมมัดเป็นรอซูลของอัลลอฮ.” นั้นหมายความว่าเมื่อใคร ยอมรับอัลลอฮ.ว่าเป็นพระเจ้าของเขาแล้วเขาจะต้องยอมรับว่ามุฮัมมัดเป็นรอซูลหรือผู้น าสารของอัลลอฮ. (กุ รอาน-) มาประกาศยังมนุษยชาติและจะต้องเชื่อฟังค าสั่งสอนของศาสดามุฮัมมัดด้วย เมื่อท่านศาสดามุฮัมมัดประกาศค าปฏิญาณนี้ออกมา ความหมายของค าปฏิญาณนี้ได้ท าให้บรรดาพวก ผู้น าชาวมักก๊ะฮ.เริ่มหวั่นวิตก ทันที เพราะคนเหล่านี้รู้ดีว่าท่านศาสดามุฮัมมัดก าลังประกาศให้คนรู้ว่าอัล ลอฮ. ต่างหากที่เป็นใหญ่และเป็นผู้ทรงอ านาจ มิใช่พวกหัวหน้าชาวมักก๊ะฮ. และถ้าใครยอมรับค าปฏิญาณนี้ก็ หมายความว่าบุคคลนั้นจะต้องยอมรับความเป็นผู้ น าของศาสดามุฮัมมัด นอกจากนั้นแล้วมันยังหมายความว่า ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วิถีการด ารงชีวิตแบบเก่าที่พวกเขาเคยปฏิบัติสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษจะต้อง ถูกท าลายลงด้วย นี่คือเหตุผลที่ว่าท าไมพวกหัวหน้าชาวมักก๊ะฮ.ถึงได้ต่อต้านท่านศาสดามุฮัมมัดตั้งแต่ท่านเริ่ม ประกาศอิสลาม รุกนที่ 2 การปฏิบัติละหมาด การละหมาด หรือการนมัสการพระเจ้าคือการแสดงความเคารพต่อพระเจ้า เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดง ความภักดีต่อพระเจ้า เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความภักดีต่อพระเจ้า การส ารวมจิตระลึกถึงพระเจ้า การ ละหมาดเป็นการขัดเกลาจิตให้สะอาดบริสุทธิ์อยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างพลังให้เข้มแข็ง การ ส ารวมจิตหรือการท าสมาธิเพื่อมิให้จิตใจวอกแวกไปในเรื่องต่างๆ เป็นภาวะที่จิตใจได้เข้าไปสัมผัสกับความเป็น เอกภาพกับพระเจ้า ท าให้จิตสงบ ตั้งมั่น อดทน ผู้ที่มีความทุกข์และประสบปัญหาชีวิตในด้านต่างๆ การ ละหมาดเป็นเครื่องช่วยที่ดีที่สุด ทั้งยังฝึกตนเองให้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ให้อยู่ในระเบียบ วินัย รักษาความสะอาด และยังเป็นการบริหารร่างกายอย่างดียิ่ง หากเป็นการละหมาดรวมยังเป็นการ แสดงออกถึงความสามัคคีพร้อมเพรียง ความเสมอภาค และภราดรภาพอีกด้วยการท าละหมาด เป็นกิจที่ต้อง ท าเป็นประจ าในหลายวาระ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 43 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา มุสลิมที่เข้าสู่อากิลบาลิฆ1 ต้องปฏิบัติละหมาด ในวันหนึ่งๆ ( 24 ชั่วนมง) เขาจะต้องท าละหมาด อย่าง น้อย 5 เวลา ในวาระต่างๆ หรือที่เรยกว่า “ละหมาดฟัรฎฏทั้งห้า” การละหมาดฟัรฏฏ อัลลอฮฺทรงก าหนดให้มุสลิมท าการละหมาด วันละ 5 เวลา คือ 1. ละหมาดศุบหฺ มี 2 ร็อกอะฮฺ2 เวลา เริ่มตั้งแต่ฟ้าสางจนถึงก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น 2. ละหมาด ซุฮฺริ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลาเริ่มตั้งแต่ดวงตะวันคล้อยจนเงาของสิ่งหนึ่งสิ่งใดทอด ยาวออกไปเท่าตัว 3. ละหมาดอัศรฺ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มตั้งแต่เมื่อเงาของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ยาวกว่าเท่าตัว ของมันเอง จนถึงดวงอาทิตย์ตกดิน 4. ละหมาดมักริบ มี 3 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มตั้งแต่ดวงอาทิตย์ตกดิน จนสิ้นแสงอาทิตย์ คือ เวลาพลบค่ า 5. ละหมาดอิชาอฺ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มตั้งแต่เวลาค่ าจนถึงก่อนฟ้าสาง รุกนที่ 3 การออกซะกาต การบริจาคศาสนาทาน ศาสนาอิสลามเรียกว่า "ซะกาต" (Sakat) มาจากค าเดิมในภาษาอาหรับว่า "ซะกาฮฺ " แปลว่า การท าให้บริสุทธิ์ ความเจริญงอกงาม ซะกาต ในศาสนาอิสลาม หมายถึง การบริจาคซึ่งศาสนาบังคับให้ผู้มีทรัพย์สินมากเกินจ านวนที่ ก าหนดไว้ (ในศาสนา) จ่ายแก่ผู้ควรได้รับ (ตามอัตราที่ศาสนาก าหนด) ที่มาของการบริจาคซะกาต 1. ค าสอนในศาสนาที่ให้มุสลิมทุกคนถือว่า บรรดาทรัพย์สินทั้งหลายที่หามาได้นั้น คือ ของฝาก จากอัลเลาะห์เจ้าให้จ่ายส่วนหนึ่งแก่คนยากคนจน 2. ชีวิตจริงของพระศาสดามะหะหมัด เคยผ่านความยากจนมาก่อน วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต 1. เพื่อช าระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความนลภและเห็นแก่ตัว 2. เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน 3. เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์ ลักษณะของการบริจาคซะกาตที่ถือได้ว่าได้บุญกุศลตามความมุ่งหมาย 1. ทรัพย์สินที่บริจาคต้องได้มาด้วยความสุจริต 2. ต้องเต็มใจในการบริจาค ไม่หวังสิ่งตอบแทน ไม่เจตนาเพื่ออวดความมั่งมีและไม่ล าเลิกบุญคุณ 1 อากิล หมายถึง ผู้มีสติสัมปัญญะ และบาลิฆ คือ ผู้ที่บรรลุศาสนภาวะ หมายถึง ชายที่เริ่มมีอสุจิเคลื่อนโดยการฝัน หรือประการอื่นใดก็ตาม และหญิงที่เริ่มมีประจ าเดือน 2 ร็อกอะฮฺหรือ ร็อกอัต หมายถึง ยืน ก้ม(รูกั๊วะ) 1 ครั ้ง กราบ(สุญูด ) 2ครั ้ง เรียกว่า 1ร็อกอะฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 44 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อัตราการบริจาคซะกาต ทรัพย์ที่จะน ามาบริจาคซะกาตมีหลายประเภทด้วยกัน คือ 1. ซะกาตพืชผล อันได้แก่ การเพาะปลูกที่น าผลผลิตมาเป็นอาหารหลักในท้องถิ่นนั้นๆ เช่น ข้าว ข้าวสาลี เป็นต้น เมื่อมีจ านวนผลิตได้ 650 กก. ต้องจ่ายซะกาต 10% ส าหรับการเพาะปลูกที่อาศัยฝน และ เพียง 5% ส าหรับการเพาะปลูกที่ใช้น้ าจากแรงงาน 2. ทองค า เงิน และเงินตรา เมื่อมีจ านวนเหลือใช้เพียงเท่าทองค าหนัก 5.6 บาท เก็บไว้ครอบครอง ครบรอบปีก็ต้องบริจาคออกไป 2.5% จากทั้งหมดที่มีอยู่ 3. รายได้จากการค้า เจ้าของสินค้าต้องคิดหักในอัตรา 2.5% ในทุกรอบปี บริจาคเป็นซะกาตทั้งนี้ ทรัพย์สินจะต้องไม่น้อยกว่าเทียบน้ าหนักทองค าเท่ากับ 4.67 บาท 4. ขุมทรัพย์เหมืองแร่ เมื่อได้ขุดกรุสมบัติแผ่นดิน หรือเหมืองแร่ได้สัมปทาน จะต้องจ่ายซะกาต 20% หรือ 1 ใน 5 จากทรัพย์สินทั้งหมดที่ได้ 5. ปศุสัตว์ผู้ที่ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ คือ วัว ควาย อูฐ แพะ แกะ จะต้องบริจาคในอัตราที่ แน่นอน เป็นซะกาตออกไป เช่น มีวัว ควาย ครบ 30 ตัว ให้บริจาคลูกวัวอายุ 1 ขวบ 1 ตัว ครบ 100 ตัว บริจาคลูกวัวอายุ 2 ขวบ 1 ตัว และ 1 ขวบ 2 ตัว เป็นต้น ผู้มีสิทธิ์รับซะกาต ผู้มีสิทธิ์รับซะกาตตามระบุไว้ในอัลกุรอานมีทั้งหมด 8 ประเภท คือ 1. คนอนาถา ได้แก่ ผู้ยากจนไม่มีทรัพย์สินหรืออาชีพใดๆ 2. คนขัดสน ได้แก่ ผู้มีอาชีพ มีรายได้ แต่ไม่เพียงพอกับการใช้จ่ายจริง 3. เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับซะกาต ได้แก่ บุคคลที่ได้รับการไว้วางใจจากรัฐให้จัดการเก็บรวบรวมและ จ่ายซะกาต 4. ผู้ควรปลอบใจ ได้แก่ ผู้เพิ่งเข้าอิสลาม หรือเตรียมเข้าอิสลาม หรืออาจจะเข้าอิสลาม 5. ทาสที่ต้องการทรัพย์ไปไถ่ตัวเองให้เป็นอิสระ รับซะกาตเพียงเท่าที่จะน าไปไถ่ตัวเอง 6. ผู้เป็นหนี้หมายถึง เป็นหนี้ในการประกอบสัมมาอาชีวะ หรือกิจการกุศลทั่วไปรับซะกาตเพียง เท่าที่เป็นหนี้ 7. ผู้สละชีวิตในแนวทางพระเจ้า รับซะกาตเพียงค่าใช้จ่ายระหว่างด าเนินการ 8. ผู้เดินทาง หมายถึง เมื่อเดินทางแล้วหมดทุนที่จะเดินทางกลับมีสิทธิ์รับซะกาตได้เพียงค่าใช้จ่าย ที่จ าเป็น รุกนที่ 4 การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน การถือศีลอด คือ งดเว้นจากการกระท าต่างๆ ดังต่อไปนี้ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนถึงตะวันตกในเดือนรอ มะฎอน (เดือนที่ 9 ของ ฮิจเราะห์ศักราช) เป็นเวลา 1 เดือน คือ 1. งดการกินและการดื่ม 2. งดการมีเพศสัมพันธ์ 3. งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน 4. งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ พร้อมทั้งกระท าในสิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 45 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 1. ท านมัสการพระเจ้าให้มากกว่าวันธรรมดาถ้าเป็นการถือศีลรอมะฎอนให้ท าละหมาดตะรอวีห์ 2. อ่านคัมภีร์อัลกุรอานให้มาก 3. ส ารวมอารมณ์และจิตใจให้ดี 4. ท าทานแก่ผู้ยากไร้และบริจาคเพื่อการกุศล 5. กล่าว "ซิกิร" อันเป็นบทร าลึกถึงพระเจ้า 6. ให้นั่งสงบสติสงบจิต "อิตติกาฟ" ในมัสยิด การถือศีลอดมีเป้าหมายเพื่อเป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และย าเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการด าเนิน ชีวิตในทุกด้านตามค าบัญชาของพระองค์ อันเป็นผลดีท าให้เกิดปกติสุขทั้งส่วนตัวและส่วนสังคม นอกจากนั้นประนยชน์ของการถือศีลอดยังอ านวยในด้วนสุขภาพอนามัยอีกด้วย เพราะการถือศีลอด เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกก าหนดไว้อย่างตายตัวนั้น จะท าให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่ สะสมเอาไว้ อันเป็นบ่อเกิดของนรคร้ายหลายประการด้วยกันดังที่ทราบๆ กันอยู่แล้ว การถือศีลอดเป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ท าให้ร่างกายเคยชินกับความหิวด้วยและการ รับประทานอาหารตรงตามเวลา เพราะใน 24 ชั่วนมง ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อ คือ มื้อตอนดึก ก่อนฟ้ารุ่งสางและมื้อค่ า เมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า การถือศีลอดท าให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของนลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ อีกมากมาย สมมุติทั้ง นลกมีมุสลิมทั้งหมดในหนึ่งเดือนที่ถือศีลอด เมื่อน ามาจ่ายค่าอาหารที่ลดลงจะเป็นจ านวนมหาศาล เท่ากับเดือน ถือศีลอดนั้น มุสลิมช่วยท าให้นลกประหยัดนดยตรง สาเหตุท าให้เสียศีลอด 1. รับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม 2. อาเจียนนดยเจตนา 3. ร่วมประเวณี 4. เสียสติ 5. น าวัตถุเข้าไปในช่องภายในของร่างกาย เช่น รูหู ทวาร เป็นต้น 6. มีเลือดประจ าเดือนหรือเลือดหลังคลอด 7. ท าให้อสุจิเคลื่อน 8. สิ้นสภาพอิสลาม มุสลิมที่บรรลุนิติภาวะทางร่างกายดังที่กล่าวมาแล้วในเรื่องละหมาด ทุกคนจะต้องถือศีลอด ยกเว้น ส าหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้ 1. คนชรา 2. คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี 3. หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร 4. บุคคลที่ท างานหนัก เช่น กรรมกรแบกหาม 5. บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง 6. หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด บุคคลที่ได้รับการผ่อนผันให้ละเว้นการถือศีลอดทั้ง 6 ประเภทนี้ หากพ้นภาวะความจ าเป็นดังกล่าว แล้ว เช่น หมดรอบเดือน เมื่อสิ้นสุดการเดินทาง หายจากการเจ็บไข้ ฯลฯ ให้ถือศีลอดชดใช้ตามจ านวนวันที่ ขาดนดยจะต้องถือในช่วงระยะ 11 เดือนก่อนที่จะถึงเดือนรอมะฎอนของปีต่อไป ยกเว้นผู้ที่จะถือศีลอดได้นดย


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 46 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ล าบาก เช่น คนชรา คนป่วย ซึ่งบุคคล ดังกล่าวนี้ต้องใช้ชดเชยนดยบริจาคอาหารแก่คนยากจน 1 คน ใน วันที่ขาด นดยอาหารนั้นต้องเหมือนกับที่ตนรับประทาน รุกนที่ 5 การประกอบพิธีฮัจญ์ การประกอบพิธีฮัจญ์คือ การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ค าว่า ฮัจญ์ หมายถึง "การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลาม ค านี้มีความหมาย ว่า ออกเดินทางไปกะบะห์หรือบัยดุลลอฮ์ และประกอบพิธีฮัจญ์" ในชีวิตหนึ่ง มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะฮ์ ประเทศซาอุดิอาระเบียอย่าง น้อย 1 ครั้ง เป็นข้อบังคับส าหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้และไม่ท าให้ครอบครัวเดือดร้อน ระหว่างเดินทาง บทบัญญัติพิธีฮัจญ์นี้ก าหนดให้มุสลิมจากทั่วทุกมุมนลกได้เดินทางไปร่วมชุมนุมเพื่อแสดงพลังศรัทธา พลังเศรษฐกิจ พลังสังคม และได้มีการแลกเปลี่ยนทางด้านต่างๆ อันเป็นประนยชน์ต่อสังคมมุสลิม เช่น การ แลกเปลี่ยนทางวิชาการ ทางเศรษฐกิจ ทางความคิด ทางข่าวสาร เป็นต้น การรวมตัวกันในสถานที่เดียวกัน เป็นจ านวนหลายล้านคนเช่นนี้ ท าให้ทุกคนได้ตระหนักถึงภราดร ภาพ เสมอภาพ และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทางสังคม ซึ่งจะท าให้ทุกคนรักกันยิ่งๆ ขึ้น ที่ไม่เคยรู้จักกันก็ จะได้รู้จักกัน และจะท าให้สนิทสนมสมัครสมานกัน ก าหนดเวลาของการไปท าพิธีฮัจญ์ ในปีหนึ่งๆ มุสลิมทั่วนลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์พร้อมกัน 1 ครั้ง พิธีนั้นจะท าในเดือนซุล ฮิจญะฮ์ของแต่ละปี แต่หากมุสลิมเดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจ มิใช่ฤดูกาลท าฮัจญ์ตามก าหนดเวลาดังกล่าวเรียกศาสนกิจ นั้นว่า “อุมเราะห์” สถานที่ในการประกอบพิธีฮัจญ์ สถานที่ในการประกอบพิธีฮัจญ์มีเพียงแห่งเดียวนลกมุสลิม ไม่สามารถจะไปประกอบพิธีฮัจญ์ที่ไหนก็ได้ ตามใจชอบ เช่น การท่องเที่ยว สถานที่ของการประกอบพิธีฮัจญ์อยู่ที่กะอ์บะฮ์ หรือบัยตุลลอห์ในนครเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย - กะอ์บะฮ์คือ สิ่งก่อสร้างรูปทรงเหลี่ยม (มาจากรากศัพท์ว่า กะอะบะ แปลว่า นูนขึ้นหรือพอง ขึ้น) ที่ท่านนบี (ศาสดา) อิบรอฮีมและนบีอิสมาอิล บุตรชายช่วยกันสร้างขึ้นจากรากเดิมที่มีอยู่ตามที่ได้รับ บัญชาจากพระผู้เป็นเจ้าอัลเลาะห์ (ซุบห์) เมื่อประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตกาล กะอ์บะฮ์นี้มีชื่อเรียกอยู่หลาย อย่างที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์อัลกุรอาน อาทิ อัล-บัยตุลหะรอมอัล-มิสญิดุลหะรอม บัยตุลอตีก แต่นามที่เป็นที่ รู้จักกันมากที่สุด คือ "บัยตุลลอห์" ซึ่งแปลว่า บ้านของอัลลอฮ์ ฉะนั้น อัล-กะอ์บะฮ์ หรือ บัยตุลลอห์ จึงเป็นเคหะหลังแรกที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้เป็น ศูนย์รวมแห่ง ความเคารพภักดีต่อองค์พระอัลเลาะห์ (ซุบห์) - ทุ่งอะเราะฟะฮ์อะเราะฟะฮ์มีลักษณะเป็นทุ่งกว้างในหินผาที่กว้างใหญ่สูงประมาณ 200 ฟุต อยู่ห่างจากนครเมกกะประมาณ 25 กินลเมตร เป็นสถานที่ที่ผู้ประกอบพิธีฮัจญ์ทั้งหมด (ฮุจญาด) จะไปร่วม


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 47 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ชุมนุมกันในวันที่ 9 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ ตั้งแต่เช้าก่อนถึงพระอาทิตย์ตกเป็นที่เริ่มแรกของพิธีฮัจญ์ หลังจาก ครองผ้าอิห์รอมแล้ว (ชุดขาวจากผ้า 2 ผืน) ในการค้างแรมที่อะเราะฟะฮ์นี้ ฮุจญาด (ผู้ไปประกอบพิธีฮัจญ์) จะกางเต็นท์อยู่นดยต่างก็มีธงชาติของ ประเทศตนติดตั้งไว้ ทุ่งนี้เป็นที่ชุมนุมของคนทั่วนลก จากจ านวนร้อย เป็นพัน เป็นหมื่น เป็นแสน และเป็นล้านในปัจจุบัน ในจ านวนนี้มีทั้งราชาและยาจก นายและบ่าว ผิวขาว ผิวด า ผิวเหลือง แต่ทุกคนแต่งกายเหมือนกันด้วยผ้าขาว เพียง 2 ชิ้น ทุกคนเท่าเทียมกัน เป็นพี่น้องกัน หัวใจจ านวนล้านดวงในที่เดียวกันต่างมุ่งอยู่ที่พระเจ้าองค์ เดียวกัน และต่างอยู่ในความส ารวมความนอบน้อมต่อพระองค์ ขอพรจากพระองค์ เป็นการมาหยุด มาพักแรม อยู่ด้วยกันด้วยความสงบ จึงเรียกการปฏิบัตินี้ว่า วูกูฟ (วูกูฟ แปลว่า หยุด สงบ นิ่ง) เมื่อเสร็จจากการวูกูฟ ฮุจญาดจะเดินทางไปยังทุ่งมีนาเพื่อไปค้างแรมที่นั้น 3 วัน 3 คืน เพื่อขว้างเสา หิน แต่เนื่องจากการเดินทางอยู่ในระหว่างกลางคืน ท่านศาสดา (ศ็อลฯ) จึงค้างคืนที่ทุ่ง มุสตะลิฟะฮ์ 1 คืน จึงออกเดินทางไปทุ่งมีนาในตอนเช้าของวันที่ 10 ส าหรับมุสลิมที่มิได้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ถือว่าวันรุ่งขึ้นจากการวูกูฟของผู้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ คือ วันอีดุลอัฏฮา หรือที่ชาวไทยมุสลิมนิยมเรียกว่า ออกฮัจญี อนึ่ง ณ ทุ่งอะเราะฟะฮ์แห่งนี้ คือ สถานที่ซึ่งท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ) แสดงปัจฉิมเทศนาหรือการ กล่าวอบรมในที่ชุมนุมเป็นครั้งสุดท้าย การแต่งกายในพิธีฮัจญ์ ผู้ชายทุกคนจะแต่งกายด้วยผ้าขาว 2 ชิ้นที่ไม่มีการเย็บ ส่วนหญิงจะแต่งกายด้วยชุดที่มิดชิด (เปิดได้ เฉพาะฝ่ามือและใบหน้า) นดยไม่มีเครื่องประดับใดๆ ทั้งสิ้น การครองผ้าขาวนี้เรียกว่า อิห์รอม "หลักข้อแรกของการบ าเพ็ญฮัจญ์ ได้แก่ อิห์รอมจากมีกอต หมายถึง การครองผ้าสองชิ้นด้วยการตั้งใจ จะบ าเพ็ญฮัจญ์จากเขตสถานที่แห่งหนึ่ง เรียกว่า ยะลัมลัม ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองฮิตดะห์ (เมืองท่าของ ซาอุดิอาระเบีย) ประมาณ 63 กินลเมตร" การประกอบพิธีฮัจญ์ ตั้งแต่เริ่มครองอิห์รอมจนเปลื้องอิห์รอมเมื่อเสร็จพิธีไม่ว่าฮุจญาดจะมาจากส่วนใดของนลกจะต่างเริ่ม กล่าวสรรเสริญด้วยภาษาเดียวกันก้องกระหึ่มไปทั่ว คือ "ลับบัยกัลลอฮุมมะลับบัยกะลาซารีกะลัก" "นอ้อัลลอฮ์ ข้าพระองค์ขอนอบน้อมค าเชิญของพระองค์ ไม่มีผู้ใดเทียบเท่าพระองค์" ขั้นตอนของพิธีฮัจญ์สรุปได้ดังนี้ 1. การครองอิห์รอม 2. การวูกูฟ (พักสงบ) ที่ทุ่งอะเราะฟะฮ์ 3. การค้างแรมที่ทุ่งมุสตะลิฟะฮ์ 1 คืน แล้วเดินทางไปอยู่ที่ทุ่งมีนา 3 คืน เพื่อขว้าง เสาหิน 4. การเฏาะวาฟ คือ เดินเวียน (ซ้าย) รอบบัยตุลลอห์ 7 รอบ 5. สะแอ คือ การเดินและวิ่งกลับไปกลับมาระหว่างอัลเศาะฟากับอัลมัรวะฮ์ 7 เที่ยว 6. การท ากุรบานหรือเชือดสัตว์พลี ส าหรับผู้ที่มีความสามารถ หรือการถือศีลอดทดแทน 7 วัน 7. นกนหรือตัดผม เสร็จแล้วจึงเปลื้องชุดอิห์รอม


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 48 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา พิธีฮัจญ์เป็นศาสนกิจข้อที่ 5 ของมุสลิม เป็นข้อเดียวในหลักปฏิบัติ 5 ประการที่ใช้ปฏิบัติเฉพาะบุคคล ที่มีความสามารถเท่านั้น บุคคลที่มีความสามารถในการประกอบพิธีฮัจญ์ หมายถึง มุสลิมที่มีสุขภาพแข็งแรงทั้ง ร่างกายและจิตใจ มีสติปัญญาที่สมบูรณ์ที่มีทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่ายนดยมิต้องเป็นหนี้สินและเดือดร้อน บุคคลที่อยู่ข้างหลังและเส้นทางที่เดินทางไปจะต้องปลอดภัย นอกจากนี้จะต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจข้อ อื่นๆ เช่น การละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาตสมบูรณ์เสียก่อน การไปประกอบพิธีฮัจญ์มิใช่เพื่อนอ้ อวดหรือเพื่อแสดงความมั่งคั่งของตน แต่เป็นการไปเพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน ในปีหนึ่งๆ มุสลิมจากทั่วนลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์พร้อมกันที่เมืองเมกกะ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเป็นสถานที่แห่งเดียวในนลกที่ใช้ประกอบพิธีจะท าในเดือนซู้ล (เดือนที่ 12 ของเดือนฮิจญ์ เราะฮ์ศักราช) นดยใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ มุสลิมที่เข้าร่วมในการประกอบพิธีฮัจญ์จะต้องท าพิธีตามล าดับต่อไปนี้ 1. การครองอิห์รอม คือ การนุ่งห่มด้วยผ้าขาวสองผืน เรียกว่า ครองอิห์รอม ผู้ที่เข้าร่วมในการ ประกอบพิธีฮัจญ์ที่เป็นชายจะต้องแต่งกายด้วยผ้าขาวสองผืน ส่วนหญิงจะต้องปิดมิดชิดเว้นแต่ใบหน้าและฝ่า มือ เพราะฉะนั้นทุกคนจึงแต่งเหมือนกันหมดไม่ว่าจะเป็นเศรษฐีหรือยาจก ผิวขาวหรือผิวด า นายหรือบ่าว เพราะทุกคนเสมอภาคกันหมด 2. การวูกูฟ คือ การพักสงบที่ทุ่งอะเราะฟะฮ์ (อะเราะฟะฮ์ เป็นชื่อต าบลหนึ่งของเมืองเมกกะ) ซึ่ง ห่างจากเมืองเมกกะประมาณ 12 กินลเมตร บริเวณส าหรับวูกูฟนี้เป็นลานทรายกว้างใหญ่ที่มีเทือกเขาเรียงราย เป็นรูปครึ่งวงกลม ทิศเหนือมีเนินเขาชื่อ ญะบัลเราะห์ ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งเป็นสถานที่วูกูฟของท่านเราะซูล การวูกูฟ เป็นข้อที่ปฏิบัติประการหนึ่งของพิธีฮัจญ์ ผู้ที่ขาดการวูกูฟย่อมไม่ได้ฮัจญ์ การวูกูฟจะเริ่ม ตั้งแต่ตะวันคล้อยของวันที่ 9 เดือนซู้ลฮิจญะห์ 3. การค้างแรมที่ทุ่งมุสตะลิฟะฮ์ 1 คืน แล้วเดินทางไปทุ่งมีนาเพื่อขว้างเสาหินค้างแรมที่ทุ่งมีนา 3 วัน 3 คืน 4. การเฏาะวาฟ คือ การเดินเวียนรอบบัยตุลลอฮ์ 7 รอบ การเฏาะวาฟต้องเริ่มต้นจากแนวของหิน ด าและต้องปฏิบัติดังนี้ - ต้องมีน้ าละหมาด - แต่งกายปกปิดเรียบร้อย - เนียตเฏาะวาฟก่อนจะเริ่มต้นเฏาะวาฟ - ต้องเริ่มจากหินด า - ต้องเวียนให้ครบ 7 รอบ นดยเวียนติดต่อกันไปไม่ขาดระยะ - ให้เวียนซ้ายให้บัยตุลลอฮ์อยู่ทางด้านซ้ายมือนดยให้แนวอกตั้งฉากกับบัยตุลลอฮ์เสมอ - ให้จูบหินด า หากคนแน่นจนท าไม่ได้ก็ให้เอามือลูบหินด าแล้วจึงเอามือมาจูบหากยังท า ไม่ได้อีกก็ให้ท าท่าจูบหรือลูบหินด าแล้วจึงเอามือจูบ 5. สะแอ คือ การเดินระหว่างเศาะฟา มัรวะฮ์ ซึ่งมีความยาวประมาณ 410 เมตร นดยเดินเวียนรอบ ประมาณ 7 เที่ยว เงื่อนไขการสะแอมีดังนี้ - ต้องเริ่มที่เนินเขาเศาะฟา - ต้องสิ้นสุดที่เนินเขามัรวะฮ์ - ต้องเดินตามเส้นทางที่ก าหนด - ต้องเดินให้ครบ 7 รอบ - หากไม่แน่ใจในจ านวนเที่ยว ให้ถือว่าเอาจ านวนน้อยเป็นหลักแล้วสะแอต่อไปจนแน่ใจว่า ครบ 7 เที่ยว


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 49 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 6. การท ากุรบาน คือ การเชือดสัตว์เพื่อเป็นทาน ผู้ที่กระท าบกพร่องหรือละเมิดข้อห้ามต่างๆ ระหว่างพิธีฮัจญ์จะต้องเสียค่าปรับหรือค่าทดแทนที่รียกว่า การเสียดัมการเสียดัมนี้ อาจจะเป็นการกระท าได้ ด้วยตนเองหรือมอบหมายให้ผู้อื่นท าแทนนดยเชือดสัตว์หรือน าอาหารมาแทน บริจาคแก่คนยากจน แล้วแต่ กรณี เช่น - ผู้บ าเพ็ญฮัจญ์ร่วมประเวณีระหว่างอิห์รอมถือว่ามีความผิดหนัก ท าให้พิธีฮัจญ์นั้นเสียต้อง กระท าได้ด้วยตนเองหรือมอบหมายให้ผู้อื่นท าแทนนดยเชือดสัตว์หรือน าอาหารมาแทนและต้องกระท าพิธีฮัจญ์ ต่อไปจนจบและต้อง ประกอบพิธีฮัจญ์อีกต่อไป นอกจากนี้ยังต้องเสียดัม - ห้ามล่าสัตว์หรือช่วยเหลือการล่าสัตว์ - เมื่อผู้บ าเพ็ญฮัจญ์บกพร่องในเนื่องต่อไปนี้ เช่น ใช้เครื่องหอม ตัดเล็บ ตัดหรือถอนต้นไม้ ให้ เสียดัม นดยเชือดแพะหรือแกะ 1 ตัว หรือถือศีลอด 3 วัน หรือบริจาคข้าวสารแก่คนยากจน 6 คน คนละครึ่ง มุด (ทะนานอาหรับ) 7. โกนหรือตัดผม เมื่อเสร็จจากการสะแอแล้ว ให้นกนผมหรือตัดผมอย่างน้อย 3 เส้น เสร็จแล้วจึง เปลื้องชุดอิห์รอม ความมุ่งหมายของการประกอบพิธีฮัจญ์ 1. เพื่อให้มุสลิมจากทั่วนลกได้มีนอกาสพบปะสังสรรค์กันอันจะก่อให้เกิดสัมพันธภาพและภารดร ภาพ 2. เพื่อให้เกิดความเสมอภาค เพราะผู้ที่มาบ าเพ็ญฮัจญ์ในปีหนึ่งๆ จะมีเชื้อชาติ ผิวพรรณ ฐานะ ฯลฯ แตกต่างกัน แต่ทุกคนต่างอยู่ในชุดอิห์รอมเหมือนกันหมดและท าพิธีอย่างเดียวกันไม่มีใครมีอภิสิทธิ์ใดๆ 3. เพื่อเป็นการทดสอบความอดทนและในด้านการเสียสละสิ่งต่างๆ ในหนทางของพระเจ้าตั้งแต่ ทรัพย์สินเงินทองในการใช้จ่าย การต้องละทิ้งบ้านเรือนครอบครัวและญาติพี่น้อง 4. เพื่อฝึกฝนและทดสอบความอดทนทั้งร่างกายและจิตใจ 5. ฝึกการส ารวมตน ละทิ้งอภิสิทธิ์ต่างๆ เพราะทุกคนต้องปฎิบัติตามวินัยบัญญัติของพิธีฮัจญ์ เหมือนกันทั้งหมด เช่น งดเว้นจากการล่าสัตว์ การตัดต้นไม้ การร่วมประเวณี เป็นต้น 6. เพื่อให้มุสลิมได้ระลึกถึงประวัติศาสตร์ของอิสลามและเป็นการปลูกศรัทธามั่นคง 7. เป็นการแสดงถึงเอกภาพของพระผู้เป็นเจ้าในการที่มุสลิมจากทั่วนลก จ านวนนับแสนเดินทางไป รวมกัน ณ ที่แห่งเดียวกัน ในชุดแบบเดียวกัน กระท าพิธีอย่างพร้อมเพรียงกันในทุกๆ ปี อย่างไรก็ตาม ผู้ที่ไปบ าเพ็ญฮัจญ์เมื่อกลับมาแล้วยังเป็นคนธรรมดา มิได้เป็นพระและมิได้มีสิทธิพิเศษ ใดๆ ศาสนาอิสลามเปิดนอกาสให้ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ไม่ถืออภิสิทธิ์ชน เพราะทุกคนต่างก็เป็นบ่าว ของอัลลอฮ์ วิธีการด าเนินชีวิตอยู่ภายใต้กฎหมายของอัลลอฮ์เหมือนกัน แม้แต่ผู้ปกครองก็ไม่มีสิทธิ์ใช้ต าแหน่ง หน้าที่และอ านาจข่มขู่หรือเอาเปรียบประชาชน ศาสนาอิสลามถือว่าผู้ปกครองที่ดีนั้น คือ ผู้ปกครองที่รับใช้ ประชาชนด้วยความซื่อสัตย์และบริสุทธิ์ใจนั่นเอง


Click to View FlipBook Version