The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Keywords: อิสลาม,หลักศรัทธา,รุก่น

เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 150 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ส าหรับคนที่ขออิสติคอเราะฮฺจากอัลลอฮฺและขอค าปรึกษาจากมนุษย์แล้ว ก่อนจะตัดสินใจท าสิ่งหนึ่งสิ่งใด ดัง ที่อัลลอฮฺกล่าวว่า ۚ ( ََل ا ََّّللِ َّ ْك عَ َ َذا َعَزْم َت فَتَو ِ ْمِرۖ فَا َ ِِف اْلْ َشاِوْرُهْ َ و ( ]أ معران/039] ความว่า “และจงปรึกษาหารือกับพวกเขาในกิจการทั้งหลาย ครั้นเมื่อเจ้าได้ตัดสินใจแล้วก็จง มอบหมายแด่อัลลอฮฺเถิด” (อาล อิมรอน : 159) ลักษณะการอิสติคอเราะฮฺ มีรายงานจากท่านญาบิรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า َن مِ ةِ َ ُّسور هَا ََكل َة ِِف ا ُْلُموِر َُِكد َ َخار ِ َا الاْست ُن م ِد َعل ُـ ُّ صَل هللا عليه وسَل ي الُق » ْرأ ِن: ََكَن النَِّب َحُدُكُْ أ َ َّ ا َذا َهـم ـُقوُ : َ َّ ي ْن غَْرِ الَفِري َضِِ ثُ ْ ِن مِ َعتَ َكْ ْع ر َرْكَ ْ ِِب َْل » َك، ْمِر، فَل ِ ت َ َك ِبُق ْدر ُ ْق ِدر ْ تَ أس َ َ ِم َك، و ـ ْ ل ِخُرَك ِبـعِ ْستَ أ َ ا دّن ِ َّ هُـم َّ الل أ ْق ََل َ ُ و ، فَ افَّ َك تَْق ِدر ِ َعِظي ْن فَ ْضِ َْل ال ُِلَ مِ َ ْسأ أ َ و ْن َت َ ْن كُ ا َّ هُـم َّ ُوِب، الل َّلُم ال ُغي أفْ َت عَ َ َ ، و ُ ـم َ أ ْعل ََل َ ُ و ـم َ تَْعل َ ُ ، و ِدر أْمِري َ َِِ ب َعَاقِ َ َمَعاَِش و ِِن و ي َخٌْر ِِل ِِف ِِ َ َّن َهَذا ا َْلْمر أ َ ُ ـم تَْعل - َ ـهِ ِ أْمِري وأ ِجل ْو قَا َ : ِِف عَا ِج ِل َ أ - ِِل. َ قَاْقُدْرُه أ َ ُ ـم َ ْن َت تَْعل ْن كُ ا أْمِري َ َ و َِِ ب َعَاقِ َ َمَعاَِش، و ِِن و ي َْشل ِِل ِِف ِِ َ َّن - َهَذا ا َْلْمر ـهِ ِ أْمِري وأ ِجل ْو قَا َ ِِف عَا ِج ِل َ أ - َ َجتَـُه ِي َحا د َسم يُ َ ، و ِِن ِبـهِ دضِ َ َّ ر ُث ََكَن، ثُ ْ اخلَْرَ َحي ا ْقُدْر ِِلَ َ ِِن َعنْـُه، و ا ِْصِفْ َ ُه َعدِن ِ و فَا ِْص « ِفْ ความว่า “ปรากฎว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้สอนพวกเราเกี่ยวกับอิสติคอเราะฮฺใน ทุกๆ เรื่องเหมือนสอนสูเราะฮฺหนึ่งในอัลกุรอาน (เมื่อผู้ใดผู้หนึ่งในหมู่พวกท่านปรารถนาในสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว เขาจงละหมาดสองร็อกอะฮฺซึ่งไม่ใช่ละหมาดวาญิบแล้วให้กล่าวว่า دّن َّ » اِ هُـم َّ أ ْق الل ََل َ ُ و ، فَ افَّ َك تَْق ِدر ِ َعِظي ْن فَ ْضِ َْل ال ُِلَ مِ َ ْسأ أ َ َ َك، و ِ ت َ َك ِبُق ْدر ُ ْق ِدر ْ تَ أس َ َ ِم َك، و ـ ْ ل ِخُرَك ِبـعِ أ ، ْستَ َ ُ ِدر َخٌْر ِِل ِِف َ َّن َهَذا ا َْلْمر أ َ ُ ـم َ ْن َت تَْعل ْن كُ ا َّ هُـم َّ ُوِب، الل َّلُم ال ُغي أفْ َت عَ َ َ ، و ُ ـم َ أ ْعل ََل َ ُ و ـم َ تَْعل َ و َِِ ب َعَاقِ َ َمَعاَِش و ِِن و ي ِِ أ - ْمِري َ ـهِ ِ أْمِري وأ ِجل ْو قَا َ : ِِف عَا ِج ِل َ أ - ِِل. َ َ َمَعاَِش قَا ، ْقُدْرُه ِِن و ي َْشل ِِل ِِف ِِ َ َّن َهَذا ا َْلْمر أ َ ُ ـم َ ْن َت تَْعل ْن كُ ا َ و أْمِري َ َِِ ب َعَاقِ و - ـهِ ِ أْمِري وأ ِجل ْو قَا َ ِِف عَا ِج ِل َ أ - َ ُه َعدِن ِ فَا ِْص َّ ِفْ ُث ََكَن، ثُ ْ اخلَْرَ َحي ا ْقُدْر ِِلَ َ ِِن َعنْـُه، و ا ِْصِفْ َ و ِِن ِبـهِ دضِ َ ر « ค าอ่าน อัลลอฮุมมะ อินนี อัสตะคีรุกะ บิอิลมิกะ, วะอัสตักดิรุกะ บิกุดร่อติกะ, วะอัสอะลุกะ มิน ฟัฎลิกั๊ลอะซีม, ฟะอินนะกะ ตักดิร วะลาอั๊กดิร, วะตะอฺละมุ วะลาอะอฺลัม, วะอันตะ อั๊ลลามุ้ลฆุยู๊บ, อัล ลอฮุมมะ อินกุนตะ ตะอฺละมุ อันนะฮาซัลอัมร่อ ...(ระบุงานที่จะขอตรงนี้) ... คอยรุน ลี , ฟีดีนี วะมะอาชี วะอากิบะติ อัมรี, (หรือกล่าวว่า ฟี อฺาญิลิ อัมรี วะ อาญิลิฮี), ฟักดุรฮุลี วะยัสสิรฺฮุ ลี ษุมมะบาริก ลีฟีฮิ, วะ อินกุนตะ ตะอฺละมุ อันนะฮาซัล อัมร่อ ชัรรุน ลี, ฟีดีนี วะมะอาชี วะอากิบะติอัมรี (หรือกล่าวว่า ฟี อฺาญิลิ อัมรี วะ อาญิลิฮี), ฟัศริฟฮุอันนี วัศริฟนี อันฮุ, วักดุร ลิยัลค็อยร่อ ฮัยษุกานะ, ษุมมัรฎินี บิฮี ความหมายดุอาอ์ โอ้อัลลอฮฺ ข้าพระองค์ขอให้พระองค์ช่วยเลือกสิ่งที่ดีด้วยความรอบรู้ของพระองค์ และขอให้พระองค์บันดาลให้ข้าพระองค์มีความสามารถที่จะลงมือท้า ด้วยพระเดชานุภาพของพระองค์ และข้า พระองค์วิงวอนต่อพระองค์จากพระมหากรุณาอันใหญ่หลวงของพระองค์ (ให้เปิดใจเพื่อคุณธรรมความดีด้วย เถิด) แน่แท้พระองค์ทรงมหาอ้านาจ ข้าพระองค์ไม่มีอ้านาจใดๆ เลย พระองค์ทรงรอบรู้ยิ่ง ส่วนข้าพระองค์ไม่ มีความรู้อะไรเลย พระองค์ทรงไว้ซึ่งความรอบรู้ยิ่งในสิ่งเร้นลับทั งหลาย โอ้ อัลลอฮฺ หากพระองค์ทรงทราบว่า นี ...(กล่าวชื่อของงาน เป็นภาษาใดก็ได้) เป็นส่วนดีแก่ข้าพระองค์ ในการศาสนาของข้าพระองค์ และในการ ครองชีพ ของข้าพระองค์ และในอวสานแห่งงานของข้าพระองค์แล้ว (ทั งในระยะใกล้และระยะไกล) ดังนั น ขอ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 151 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา พระองค์ก้าหนดงานนั นให้ข้าพระองค์และให้มันสะดวก ง่ายดายแก่ข้าพระองค์แล้วขอประทานความศิริมงคล ในงานนี ให้แก่ข้าพระองค์ด้วย แต่ถ้าพระองค์ทรงรู้ว่างานนี เป็นผลร้ายแก่ข้าพระองค์ ในการศาสนาของข้า พระองค์ และในการครองชีพของข้าพระองค์ และในตอนสุดท้ายแห่งงานของข้าพระองค์แล้ว (ทั งในระยะใกล้ และระยะไกล) ขอพระองค์ได้ทรงโปรดให้งานนี หลีกพ้นไปจากข้าพระองค์ด้วย และขอให้ข้าพระองค์รอดพ้น จากนี ด้วยเถิด และขอพระองค์ทรงบันดาลความดีให้แก่ข้าพระองค์ ไม่ว่าสถานใด แล้วขอได้ทรงประทานความ โปรดปรานให้แก่ข้าพระองค์ในงานนั นๆ ด้วย นดยให้กล่าวถึงสิ่งที่เขาปรารถนาจะเลือก” (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์ หมายเลข 6382) ละหมาดตะฮียะตุลมัสยิด มัสยิด เป็นสถานที่ใช้ประกอบศาสนกิจ ท่านรอซูลได้กล่าวว่า มัสยิดเสมือนบ้านของอัลลอฮ . ผู้ที่เข้า มัสยิดจะเสมือนเข้าใกล้ชิดอัลลอฮ . ในบ้านเรามักจะเห็นกิจกรรมที่มุสลิมประกอบกิจกรรมต่างๆ เช่น ละหมาด สอนหลักการศาสนาแก่สมาชิกในชุมชน แต่ละชุมชนอาจจะมีกิจกรรมที่ประกอบในมัสยิดเหมือนกัน บ้าง แตกต่างกันบ้าง ซึ่งส่วนใหญ่จะเน้นกิจกรรมที่เน้นกิจกรรมทางศาสนาเป็นส าคัญ ในสมัยท่านรอซูล และ ยุคซอฮาบัต มัสยิดจะใช้เป็นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆ เกือบทุกกิจกรรมของชุมชน การประกอบศาสนกิจ ต่างๆ รวมถึง การเมืองการปกครอง การฝึกทหาร และอื่นๆ เพราะอิสลามที่สมบูรณ์จะครอบคลุมทุกกิจกรรม ของมนุษย์ ไม่แยกทางนลกทางธรรมอย่างที่มักจะเข้าใจกัน ฉะนั้นมัสยิดจึงสถานที่ส าคัญของมุส าหรับมุสลิมปฏิบัติตนกับมัสยิด มีความผูกพันธ์กับวิถีชีวิตอย่าง ใกล้ชิดอย่างมาก อิสลามได้ก าหนดกฎเกณฑ์ส าหรับการปฏิบัติเมื่อเข้าอยู่ในมัสยิดให้ละหมาดตะฮิยาตุลมัสยิด ( ละหมาดสุนัตเคารพให้เกียรติมัสยิด - ละหมาดรายบุคคล ) 2 รอกะอัต ก่อนนั่งลงในมัสยิด หรือก่อนจะเริ่ม กิจกรรมใดๆในมัสยิด การสุญูดติลาวะฮฺ หุก่มการสุญูดติลาวะฮฺ การสุญูดติลาวะฮฺเป็นสุนัตทั้งในและนอกละหมาด และสุนัตให้สุญูดไม่ว่าจะเป็นผู้อ่านหรือผู้ฟังอัลกุ รอานในทุกเวลา จ านวนอายะฮฺสัจญดะฮฺในอัลกุรอาน ในอัลกุรอานมีอายะฮฺสัจญดะฮฺ 15 อายะฮฺ คือในสูเราะฮฺ อัล-อะอฺรอฟ, สูเราะฮฺ อัร-เราะอฺดุ, สู เราะฮฺ อัน-นะหฺลุ, สูเราะฮฺ อัล-อิสรออ์, สูเราะฮฺ มัรฺยัม, สองอายะฮฺในสูเราะฮฺ อัล-หัจญ์, สูเราะฮฺ อัล-ฟุรฺกอน, สูเราะฮฺ อัน-นัมลฺ, สูเราะฮฺ อัส-สัจญ์ดะฮฺ, สูเราะฮฺ ศอด, สูเราะฮฺ ฟุศฺศิลัต, สูเราะฮฺ อัน-นัจญ์มุ, สูเราะฮฺ อัล-อิน ชิกอก และ สูเราะฮฺ อัล-อะลัก อายะฮฺสัจญดะฮฺในอัลกุรอานมีอยู่สองประเภท คือการบอกเล่า และการสั่ง ส าหรับการบอกเล่านั้นคือการบอกเล่าจากอัลลอฮฺเกี่ยวกับการสุญูดของ สิ่งถูกสร้างต่อพระองค์ ไม่ว่าจะเป็นนดยรวมหรือเป็นการเฉพาะ ฉะนั้นจึงสุนัตให้ผู้อ่านและผู้ฟังต้องสุญูด เลียนแบบพวกเขา ส่วนอายะฮฺที่เป็นการสั่งให้สุญูดต่ออัลลอฮฺ ฉะนั้นเขาจงน้อมรับค าสั่งนั้นด้วยการภักดีเชื่อฟังต่อพระ เจ้าของเขาด้วยการสุญูดตามค าสั่งดังกล่าว


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 152 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ลักษณะการสุญูดติลาวะฮฺ การสุญูดติลาวะฮฺคือการสุญูดครั้งเดียวนดยให้กล่าวตักบีรฺเมื่อจะสุญูดและเมื่อเงยขึ้นจากสุญูดถ้าอยู่ใน ละหมาด และถ้าอยู่นอกละหมาดให้สุญูดนดยไม่ต้องยืน ไม่ต้องตักบีรฺ ไม่ต้องตะชะฮฺฮุด และไม่ต้องให้สลาม ความประเสริฐของสุญูดติลาวะฮฺ มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุว่า ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวว่า ـ ُه، َ ْل َ » ي ََي و ـُقوُ : َ ِِك، ي ْ َب ُن ي َطا ْ َ ال َّش ي َس َجَد، اعََْتَ َّس ْجَدَة فَ ْ ُن أ ََِم ال أَ اب َ ا - َذا قَر ٍَِ اي َ ِِف ِرو َ ُّس و - ُجوِِ ْ ُن أ ََِم ِِبل اب َ ِِْل أُمِر ي َ ََي و ْر أُمِ َ َِ، و ـ ُه اجلَند َ َس َجَد فَل ُر فَ َيْ ُت فَِِل النَّا ُت ِِبل « ُّس ُجوِِ فَأَب ความว่า “เมื่อลูกอาดัมคนหนึ่งอ่านอายะฮฺสัจญ์ดะฮฺแล้วสุญูด ชัยฏอนจะออกห่างแล้วร้องไห้ แล้ว กล่าวว่า ความพินาจประสบแก่ข้าแล้ว (และอีกสายรายงานหนึ่ง) ฉิบหายแล้วข้า ลูกอาดัมถูกสั่งให้สุญูด เขาก็ สุญูด เขาจึงได้เข้าสวรรค์ แต่ข้านั้นเมื่อถูกสั่งให้สุญูด ข้าไม่ยอมสุญูด ข้าเลยต้องลงนรก” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 81) เมื่ออิมามสุญูดจ าเป็นที่มะอ์มูมต้องสุญูดตามอิมามด้วย และไม่มักรูฮฺส าหรับอิมามหากเขาจะอ่านอา ยะฮฺหรือสูเราะฮฺที่มีสัจญ์ดะฮฺในการละหมาดที่อ่านเสียงค่อย สิ่งที่กล่าวในสุญูดติลาวะฮฺ สุนัตให้สุญูดติลาวะฮฺในสภาพที่สะอาดจากหะดัษและนะญิส และอนุญาตให้ผู้มีหะดัษ หัยฎฺและนิฟาส สุญูดติลาวะฮฺหากผ่านหรือได้ยินคนอ่านอายะฮฺสัจญ์ดะฮฺ ให้กล่าวในสุญูดติลาวะฮฺดังนี้ َن قِ ِ َخال ْ ْحَس ُن ال أ َ َك ا ََُّّلل َ ار َ فَتَب هِ ِ ت َّ قُو َ و َُصَُه ِ َِبْوَِلِ َ ب َ َشَّق َْسْ َعُه و َ َ ُه و َّر َ َصو قَُه و َ ََِِّّلي َخل ِْْجيي ل َ َسَ َد و ค าอ่าน ]สะญะดะ วัจญฺฮิยะ ลิลละซียฺ คอลากอฮู วะเศาวะรอฮู วะชักกอ ซัมอะฮู วะบะศอรอฮู บิเฮาลิฮี วะกูวะติฮี, ฟะตะบารอกัลลอฮุ อะหฺสุนุลคอลิกีน] ความหมาย "ใบหน้าของข้าพระองค์ได้ก้มกราบแด่พระผู้สร้างมัน ทรงประดิษฐ์นั้นด้วยพลังและ อ านาจของพระองค์ ได้ทรงจ าแนกการได้ยินของมัน และการเห็นของมันไว้เป็นสัดส่วน อัลลอฮฺผู้ทรงเลอเลิศใน หมู่ผู้สร้างสรร ทรงจ าเริญยิ่ง" การสุญูดชุกูรฺ หุก่มการสุญูดชุกูรฺ (การสุญูดเพื่อขอบคุณ) 1- สุนัตให้สุญูดชุกูรฺขอบคุณอัลลอฮฺเมื่อได้รับนิอฺมัตใหม่ๆ เช่น ผู้ที่ได้รับข่าวเกี่ยวกับการได้รับทางน า หรือรับศาสนาอิสลามของบุคคลคนหนึ่งที่เขาพยายามดะอฺวะฮฺ หรือเกี่ยวกับชัยชนะของชาวมุสลิม หรือได้บุตร คนใหม่ เป็นต้น 2- สุนัตให้สุญูดชุกูรฺเมื่อได้รับความปลอดภัยจากภัยพิบัติ เช่น ผู้ที่รอดตายจากการจมน้ า ไฟไหม้ ถูก ตามฆ่า หรือขนมยของ เป็นต้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 153 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ลักษณะการสุญูดชุกูรฺ การสุญูดชุกูรฺคือการสุญูดครั้งเดียวนดยไม่ต้องตักบีรฺ และไม่ต้องให้สลาม และให้สุญูดนอกละหมาด จะ สุญูดในสภาพไหนก็ได้ไม่ว่าจะยืนหรือนั่ง มีหะดัษ หรือสะอาดไม่มีหะดัษ แต่สุญูดในสภาพที่สะอาดนั้น ประเสริฐกว่า มีรายงานจากท่านอบู บักเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า َّ ساجداً شَراً ِس به َخر ُّ َ ِس ٬ تبارك وتعاىل ه، نأو يُ نأن النب َكن اذا نأَته نأمر يَ ُ ُّ ความว่า “ปรากฏว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เมื่อมีเรื่องที่ท าให้ท่านพอใจ หรือถูกท าให้ ท่านพอใจ ท่านจะก้มลงสุญูดเป็นการชุกูรฺขอบคุณต่ออัลลอฮฺ” (เป็นหะดีษหะสัน บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 2774 และอิบนุ มาญะฮฺ 1394 ส านวนนี้เป็นของอิบนุ มาญะฮฺ) สิ่งที่กล่าวในสุญูดชุกูรฺ ให้กล่าวในสุญูดชุกูรฺเหมือนที่กล่าวในสุญูดละหมาดปรกติเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นซิกิรฺหรือดุอาอ์ การเข้ารับอิสลาม การเข้ารับอิสลามให้ปฏิบัติดังนี้ 1. ปฏิญาณตนเข้ารับอิสลาม ด้วยการกล่าวชะฮาดะฮฺ นดยกล่าวว่า َ ُسْو ُهللا َّدً ا ر َّن ُم َحم ا ْشهَ ُد اَ َ ُهللا و َِلَّ ََِلَ ا ْن ََلا أ ْشهَ ُد اَ َ " อัชฮะดุ อันลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ วะอัชฮะดุอันนะ มุฮัมมะดัร รอซูลุลลอฮฺ” ความว่า "ฉันขอปฏิญาณตนว่าไม่พระเจ้าอื่นใด (ที่ต้องเคารพภักดี) นอกจากอัลลอฮฺเพียงองค์ เดียวเท่านั้น และฉันขอปฏิญาณตนว่ามูฮัมมัดคือศาสนาทูตของพระองค์" การกล่าวปฏิญาณตนนี้ ไม่จ าเป็นต้องมีพยานสองคน แค่กล่าวชะฮาดะฮฺ ก็เป็นมุสลิมแล้ว เพียงแต่ว่า หากมีก็จะดีเพราะเขาจะได้รับทราบ เพื่อจะได้มีพยานยืนยันการเข้ารับอิสลามของตนเอง และผู้เป็นพยานจะได้แนะน าการออกเสียงได้ ถูกต้อง และช่วยตักเตือนกันในเรื่องการด าเนินชีวิตในระบบอิสลาม นดยไม่จ าเป็นต้องไปเข้ารับที่ใด กล่าวเอง ที่บ้านคนเดียวก็ได้ เมื่อเข้ารับอิสลามแล้ว บาปทั้งหมดที่ผ่านมา จะได้รับการอภัยนทษ และจะเริ่มต้นคิดบัญชี บาปและ ผลบุญใหม่ ตั้งแต่เข้ารับอิสลามเป็นต้นไป 2. เตาบะห์ (กล่าวขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺในสิ่งที่ผ่านมา) ِ ه ْ لَي ِ ْ ب إ و أَت َ و َ اهلل ر ِ ْف غ َ ت ْ أَس ค าอ่าน อัสตัฆฟิรุลลอฮฺ วะอะตูบุอิลัยฮิ" หมายความ ฉันขออภัยโทษต่ออัลลอฮฺและฉันขอกลับตัวสู่พระองค์ 3. เมื่อกล่าวปฏิญาณตนเข้ารับอิสลามแล้ว ส่งเสริมให้อาบน้ าซุนนะฮฺ อาบน้ าช าระร่างกายเนื่อง ในการเข้ารับอิสลามโดยมีขั้นตอนดังนี้ (การอาบน้ าซุนนะฮฺนี้ท าหรือไม่ท าก็ได้ ถ้าท าก็จะดียิ่ง) 3.1. ต้องมีน้ าที่สะอาด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 154 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 3.2. การตั้งเจตนา “ข้าพเจ้า/ฉันขอ อาบน้ าช าระล้างร่างกายเนื่องในการเข้ารับอิสลามเพื่อ อัลลอฮฺ” 3.3. การกล่าว “บิสมิลลาฮฺ” 3.4. การล้างมือทั้งสอง 3 ครั้ง (เริ่มจากขวาก่อน) 3.5. การบ้วนปาก พร้อมกับสูดน้ าเข้าจมูก(เพื่อล้างภายในรูจมูก) แล้วสั่งออก 3 ครั้ง 3.6. การล้างใบหน้าให้ทั่ว 3 ครั้ง 3.7. การล้างมือทั้งสองของเขาจนถึงข้อศอก 3 ครั้ง 3.8. เช็ดศีรษะนดยลูบศีรษะจากด้านหน้าไปด้านหลังแล้วย้อนกลับมาด้านหน้าอีกครั้ง หนึ่ง จากนั้นเช็ดหูด้านนอกด้วยนิ้วหัวแม่มือและเช็ดใบหูในด้านนิ้วชี้ ท า 1 ครั้ง 3.9. อาบน้ าให้ทั่วร่างกายตั้งแต่ผมจรดปลายเท้าจนแน่ใจว่าทุกส่วนของร่างกายได้รับการช าระ ล้างหมดจรดแล้ว 3.10 . ล้างเท้าทั้งสองจนถึงตาตุ่ม 3 ครั้ง และถูซอกนิ้วเท้าด้วยน้ าให้ทั่ว (นดยเริ่มจากขวาก่อน) 4. หากเป็นเพศชาย ก็ต้องให้เขาไปท าคิตาน (เข้าสุนัต)หมายถึงการขลิบหนังส่วนปลายที่หุ้มอวัยวะ เพศ (หากมีใครบอกให้สตรีไปท านั้น ไม่ต้องท า ไม่ได้มีความจ าเป็นส าหรับผู้เข้ารับอิสลามแต่อย่างใด) 5. ตั้งชื่อมุสลิม จะให้ใครตั้งก็ได้ หรือจะตั้งเองก็ได้จากที่นี่ เว็บชื่ออาหรับพร้อมความหมาย muslimname.com , www.milligazette.com , www.names4muslims.com 6. ให้ศึกษาเกี่ยวกับหลักค าสอนของศาสนาอิสลามต่างๆ ไม่ว่าจะข้อใช้ และข้อห้าม เพราะเมื่อเข้า รับอิสลามการงานทุกอย่าง จะเริ่มถูกบันทึกนดยเฉพาะการละหมาด ดังนั้น หากเป็นไปได้ให้ศึกษาอิบาดะฮฺ หลักๆเสียก่อน 7. ศึกษาการอ่านกุรอาน ภาษาหรับ เพื่อใช้อ่านในละหมาด และใช้เป็นทางน าของชีวิต มีสอน มากมาย เกร็ดเล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับอิสลาม - มุสลิมใหม่เรียกว่า มุอัลลัฟ - เมื่อพบปะกันให้ทักทายกันว่า ْ كم ْ لَي َ ع َّسَالم ل َ ا َ و َ ر ْح َ ِهلل ة ا َ و َ ب َ رَك ات ُه” อัสลามุอะลัยกุม วะเราะหฺมะ ตุลลอฮิวะบะรอกาตุฮฺ” หรือสลามกันสั้นๆว่า ْ كم ْ لَي َ ع َّسَالم ل َ ُ ا” อัสลามุอะลัยกุม” ความหมายก็คือว่า ขอสันติ สุข ความเมตตาปรานี และความเป็นสิริมงคลจากพระองค์อัลลอฮฺจงมีแด่ท่าน - ผู้ถูกทักทายให้กล่าวตอบ َ و كم ْ لَي َ ع ُا َّسَالم ل ُ َ و َ ر ْح َ ِهلل ة ا َ و َ ب َ رَك ات ه” วะอะลัยกุมุสลาม วะเราะหฺมะตุลลอฮิ วะบะรอกาตุฮฺ” หรือที่เรากล่าวกันสั้นๆว่า َ و كم ْ لَي َ ع ا َّسَالم ل” วะอะลัยกุมุสลาม” ก็มีความหมายว่า “ขอความ สันติสุข ความเมตตาปรานี และความเป็นสิริมงคลจากพระองค์อัลลอฮฺ จงมีแด่ท่าน เช่นกัน” - เด็กควรกล่าวสลามแก่ผู้ใหญ่ - คนเดินควรกล่าวสลามแก่คนนั่ง - ผู้ที่ขี่พาหนะควรกล่าวสลามแก่คนเดิน - คนจ านวนน้อยควรกล่าวสลามแก่คนจ านวนมาก - ควรกล่าวสลามเมื่อเข้าไปในที่ประชุม และเมื่อออกจากที่ประชุม - ไม่ควรกล่าวสลามแก่ผู้ที่ละหมาด หรือผู้ที่ก าลังรับประทานอาหาร ผู้ที่อยู่ในห้องน้ า - ในการสัมผัสมือ ให้ผู้ชายสัมผัสมือกับผู้ชาย และผู้หญิงสัมผัสมือกับผู้หญิง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 155 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา - ไม่อนุญาตให้ผู้ชายและผู้หญิงสัมผัสมือกัน นอกจากจะเป็นญาติพี่น้องที่แต่งงานกันไม่ได้ - ควรสัมผัสมือกันด้วยมือขวา - เมื่อเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามแล้ว ไปงานศพได้ แต่ห้ามร่วมพิธี - อิสลามไม่ใช่เพียงการนับถือ แต่คือการปฏิบัติทุกอย่างในชีวิต - มุสลิมที่ดีนอกจากไม่รับประทานหมู ก็ต้องไม่ดื่มเหล้าและท าละหมาด 5 เวลา มีกิริยาวาจาเรียบร้อย ไม่ล่วงละเมิดจับมือสาว - สตรีที่ดีที่สุดคือสตรีที่เรียกมะฮัร (จากฝ่ายชาย) น้อยที่สุด - หลังแต่งงาน "มะฮัร" จะเป็นของผู้หญิงครึ่งหนึ่งก่อน จนกว่าจะได้อยู่ด้วยกันนดยพฤตินัยแล้วจึงเป็น ของฝ่ายหญิงทั้งหมด แต่หากหลังพิธีแต่งงานแล้วคู่สาวมิได้มีความสัมพันธ์ฉันสามีภรรยากันจริงๆ มะฮัรก็จะตก เป็นของผู้หญิงเพียงครึ่งเดียว พิธีแต่งงานแบบมุสลิม ชาวมุสลิม (ผู้นับถือศาสนาอิสลาม) ถือว่าการแต่งงาน หรือเรียกกันตามภาษามุสลิมว่า"พิธีนิ กาห" เป็นความสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิง เป็นสิ่งที่ท าให้มนุษย์มีความสูงส่งเหนือสัตว์นลกอื่นๆ และเชื่อว่า ความผูกพันระหว่างชายหญิงเป็นความผูกพันกันด้วยชีวิต เพราะต่างก็เปรียบเหมือนวงกลมที่ถูกแบ่งเป็นสอง ส่วนและแยกจากกัน แต่ อัลลอฮ สุบหฯ บันดาลให้มาบรรจบกันจนกลายเป็นวงกลมที่สมบูรณ์ ส าหรับเรื่องของการแต่งงานหรือประกอบพิธี "นิกาห" นั้น ได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1. การแต่งงานตามบทบัญญัติของศาสนา 2. การแต่งงานตามประเพณีที่ปฏิบัติกัน ที่ต้องแบ่งเพราะ 2 ประเภทมีความแตกต่างกันอย่างมาก เพราะการแต่งของชาวมุสลิมบางคน ผสมผสานวัฒนธรรมชุมชนเข้าไป เช่น การแห่เจ้าสาวเข้ามัสยิดนดยมีต้นกล้วยต้นอ้อยน าหน้าขบวน หรือการมี ขนมหวานอย่างการแต่งงานแบบไทยนั้น เป็นการแต่งงานแบบของมุสลิมที่ไม่ใช่อิสลาม เพราะการแต่งงาน แบบอิสลามนั้นเป็นบทบัญญัติมากกว่า 1,400 ปี และห้ามเสริมเติมแต่งหลักการที่มีอยู่เป็นอย่างอื่น หลักการแต่งงานของอิสลามมีเงื่อนไขหลักอยู่ 5 ข้อปฏิบัติ ซึ่งถ้าชายหญิงปฏิบัติเพียง 5 ข้อนี้ได้ ก็จะ ได้ชื่อว่าได้แต่งงานกันอย่างถูกต้อง เป็นสามีภรรยาตามหลักของอิสลามแล้วส่วนการจดทะเบียน สมรสนั้นเป็น เรื่องของสังคมและกฎหมายที่เข้ามาเป็นองค์ประกอบเท่านั้น เงื่อนไขหลัก 5 ข้อปฏิบัติ คือ 1. เจ้าบ่าว 2. "วะลีย์" (ผู้ปกครองของเจ้าสาว) ซึ่งต้องเป็นผู้ปกครองทางด้านเชื้อสายและเป็นผู้ที่ไม่สามารถ แต่งงานกับเจ้าสาวได้ หมายถึงคุณพ่อของเจ้าสาว พี่ชายแท้ๆ ญาติสนิทแท้ๆ 3. พยาน 2 คน ต้องเป็นผู้ชายที่มีคุณธรรม คือเป็นผู้ที่เคร่งศาสนา เช่นผู้ที่ท าละหมาดวันละ 5 ครั้ง 4. ค าเสนอของ "วะลีย์" 5. ค าสนองของเจ้าบ่าว ค าสอนก่อนแต่งงาน


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 156 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ก่อนท าพิธีนิกาห นต๊ะครู อาจารย์ บาบอ อุซตาซ ซึ่งเป็นชื่อเรียกผู้รู้ตามหลักศาสนาอิสลามที่แตกต่าง กันไปตามพื้นที่ สถานที่ จะเป็นผู้ที่ท าพิธีนิกะหให้ ในหลักการของศาสนาอิสลามไม่ได้ระบุชัดเจนว่าต้องท าที่ ไหนใครสะดวกที่ไหนก็ท าที่นั่น ข้อห้าม สิ่งที่อิสลามห้ามใครท าและเป็นนทษมหันต์ คือ การเชื่อถือนชคลาง เพราะเป็นเรื่องผิดหลักศาสนา อย่างไม่ควรให้อภัย คนอิสลามจะแต่งงานกันเมื่อไหร่ก็ได้ ยิ่งแต่งงานกันในวันที่คนอื่นไม่แต่งยิ่งดีเพราะเป็นการ พิสูจน์ว่าเราไม่เชื่อเรื่องฤกษ์ยาม อีกประการหนึ่งที่ชาวมุสลิมบางพื้นที่อาจลืมก็คือ การแต่งงานของอิสลามจะ ไม่มีการแห่ใดๆ ทั้งสิ้น ถ้าเห็นมุสลิมแต่งงานแล้วมีการแห่ นั่นคือการแต่งงานของมุสลิมที่ไม่ใช้อิสลาม รักกันแต่ต่างศาสนา อิสลามไม่อนุญาตให้คู่รักต่างศาสนาแต่งงานกัน แต่ถ้ารักกันจริงๆ ต้องเข้าไปเป็นอิสลามก่อน นดยการ เรียนรู้ศาสนาให้เข้าใจถึงหลักของอิสลามนดยถ่องแท้จากผู้รู้ เพราะไม่อย่างนั้นจะไม่เข้าสู่เงื่อนไข 5 ข้อของการ แต่งงานตามหลักอิสลาม และถ้าเจ้าสาวนับถือศาสนาอื่นก่อนมารับถือศาสนาอิสลาม หรือคนในครอบครัว ยังคงนับถือศาสนาเดิมอยู่ ก่อนการแต่งงานจะต้องแต่งตั้งผู้อื่นให้ท าหน้าที่ผู้ปกครองแทน ผู้แทนอาจเป็นครูที่ สอนศาสนาให้ก็ได้ หรือเป็นผู้รู้ที่เคารพนับถือก็ได้ รายละเอียดของการนิกาหตามหลักอิสลาม ประเพณีการแต่งงานในศาสนาอิสลาม เริ่มจากการสู่ขอ นดยมีเงื่อนไขว่าต้องสู่ขอสตรีที่สามารถ แต่งงานได้ด้วยเท่านั้น หมายถึงหญิงที่ไม่ได้อยู่ระหว่าง อิดดะฮ (อยู่ในช่วงสามเดือนแรกของการหย่าร้าง) หรือ หญิงสามีตาย (ซึ่งต้องรอจนครบสี่เดือนกับสิบวันเสียก่อนจึงจะสู่ขอได้) เมื่อฝ่ายหญิงตอบตกลงและก าหนด “มะฮัร” คือเงินที่ฝ่ายชายมอบให้ฝ่ายหญิง (ตามที่ฝ่ายหญิงเรียกร้องและเงินนั้นจะเป็นสิทธิ์ของฝ่ายหญิงแต่ เพียงผู้เดียว) เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็ต้องหาวันแต่งงานตามสะดวก วันแต่งงานเจ้าบ่าวจะต้องยกของหมั้นหรือ มะฮัรมาที่บ้านเจ้าสาว หรือนัดวะลีย์และพยานทั้งสองฝ่ายไปเจอกันที่มัสยิดก็ได้ ค ากล่าวที่ใช้ในพิธีนิกาห ค าเสนอของวะลีย์ คือ ค ากล่าวของผู้ปกครองฝ่ายเจ้าสาวเพื่อให้เจ้าบ่าวยอมรับการแต่งงานครั้งนี้ มี หลักใหญ่ใจความว่า "(ชื่อเจ้าบ่าว) ฉันนิกาฮท่าน กับลูกสาว (ชื่อเจ้าสาว) ด้วยมะฮัรตามที่ตกลงกันไว้" เมื่อวะลีย์กล่าวค าเสนอจบแล้ว เจ้าบ่าวต้องกล่าวค าสนองว่า "ครับ... ผมรับการนิกาหกับนางสาว (ชื่อเจ้าสาว) ด้วยมะฮัรตามที่ตกลงไว้" การเลี้ยงฉลองการแต่งงาน หลังแต่งงานสามารถจัดงานเลี้ยงฉลองได้ เรียกว่า "วะลีมะฮ" ซึ่งจัดเลี้ยงที่บ้าน สนมสร หรือนรงแรมก็ ได้ตามสะดวก การเลี้ยงฉลองอาจไม่ต้องท าในวันเดียวกับวันนิกาหก็ได้ แต่การเลี้ยงฉลองนั้นต้องไม่เกิน 2 วัน เพราะอิสลามเคร่งครัด ในเรื่องของงานเลี้ยงที่ฟุ่มเฟือย นดยมีค ากล่าวไว้ว่า "งานเลี้ยงที่เลวที่สุดคืองานเลี้ยงพิธีนิกาห และเลี้ยงเฉพาะคนรวย" เพราะ ศาสนาอิสลามเชื่อว่าทุกคนเท่าเทียมกันไม่มีการแบ่งชั้นวรรณะ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 157 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หน้าที่ของสามี 1. เลี้ยงดูภรรยาบนพื้นฐานของความถูกต้อง ความสุขของครอบครัวไม่ได้อยู่ที่ความหรูหรา ฟู่ฟ่า และมิได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเป็นวัตถุนิยม สิ่งเหล่านี้ ถือเป็นกระพี้และความจอมปลอมของชีวิต จิตส านึกของความเป็นสามีที่ดีนั้นจะ "ต้องพยายามหล่อหลอมให้คนในครอบครัวเกิดความรู้สึกภูมิใจ" ที่ได้อยู่ กับความถูกต้องบรินภคอาหารที่หะลาล ใส่เสื้อผ้าที่เป็นที่อนุมัติมีเครื่องอุปนภคบรินภค ที่อยู่ในกรอบแห่งความ ถูกต้องความภูมิใจที่เกิดขึ้นในลักษณะเช่น จะเป็นปราการสกัดกั้นความไม่ถูกต้อง ออกไปจากวงจรแห่งชีวิต นดยสมาชิกในครอบครัวจะรู้สึกรังเกียจอย่างยิ่ง ที่จะแตะต้องเครื่องอุปนภคบรินภคที่เป็นสิ่งต้องห้ามตาม หลักการอิสลามการเป็นสามีตามแบบอย่างของอิสลามจึงมิได้หมายถึงการเลี้ยงดูปรนเปรอครอบครัวอย่างมี ความสุขนดยขาดการพิจารณาว่าสิ่งต่างๆ เหล่านั้นว่างอยู่บนพื้นฐานแห่งความถูกต้องหรือไม่ ท่านนบีมุหัมมัด ศ็อลฯ ได้ตอบค าถามท่านมุอาวียะฮฺเกี่ยวกับหน้าที่ของสามีว่า “เมื่อท่านบรินภคอาหาร ท่านจะต้องหาอาหาร (ที่หะลาล)ให้แก่เธอ และเมื่อท่านสวมใส่เสื้อผ้าอาภรณ์ (ที่หะลาล)ให้แก่เธอและท่านอย่าตบใบหน้าของเธอ และ"ท่านอย่าหยาบคายกับเธอ" และอย่าได้ทอดทิ้งเธอ นดยท่านจะต้องอยู่กับเธอในบ้าน (รายงานนดย อบู ดาวุด 2. ให้ความสุขและความอบอุ่นแก่ภรรยา ชีวิตคู่มิใช่เพียงการมอบความสุขและความอิ่มเอิบใจใน ด้านวัตถุเท่านั้น แต่ธรรมชาติของมนุษย์ปรารถนาความสุขและความอบอุ่นทางด้านจิตใจด้วยแม้จะได้รับความ สะดวกสบายด้วยความเครื่องอุปนภคและบรินภคขนาดไหนก็ตามแต่หากจิตใจขาดน้ าหล่อเลี้ยง แห่ง ความอบอุ่นและความสุข ชีวิตคงจะเป็นดั่งเช่นคนเป็นอัมพาตที่ถูกทอดทิ้งให้อยู่กับเครื่องอ านวยความสะดวก เพียงล าพังเพื่อรอวันที่ลมหายใจจะหมดไปจากเรือนร่าง การหล่อเลี้ยงครอบครัวด้วยความสุข และความอบอุ่น จึงเป็นเสมือนยาวิเศษ ที่จะท าให้คู่ชีวิตหรือซังกะตายแห่งความเป็นอยู่ อันเป็นเหมือนรกในใจมนุษย์ ซึ่งทุกคนปรารถนาอย่างยิ่งยวดที่จะหลุดพ้นไปจากมันในหลักการอิสลามถือว่าการท าทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บน พื้นฐานของความถูกต้อง ที่เป็นผลให้คนในครอบครัวได้รับความสุข และความอบอุ่นใจนั้น ถือเป็นกุศล ท่านที่ ปฏิบัติสิ่งนี้ จะได้รับผลตอบแทนถึงแม้ว่าสิ่งที่ท าลงไปจะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็ตาม ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นความดี ถือเป็นกุศลทาน(รายงานนดย มุสลิม จากท่านญาบีรฺ อิบนุ อับดิลลาฮฺ) มิสลันตา 3. อย่าเอาหูไปนา-เอาตาไปไร่ ผู้ที่ตัดสินใจสมรส ถือว่าเป็นผู้กล้าหาญ ที่จะเข้ามารับผิดชอบภรรยา ของตนเองทั้งชีวิตไม่ว่าจะในด้านการบรินภคอุปนภค การให้ความสุข และความอบอุ่น การปกป้องดูแลการ รักษาเกียรติยศ ฯลฯทั้งหมดนี้ จะต้องอาศัยการเอาใจใส่และการดูแลอย่างพิถีพิถัน "ซึ่งเป็นหน้าที่ผู้เป็นสามีจะ ปล่อยปละละเลยไม่ได้อย่างเด็ดขาด " ในหลักการอิสลามถือว่า การเอาใจใส่ต่อคนในครอบครัวหมั่นตรวจสอบ ดูแลสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นในครอบครัวและพยายามแก้ไขปรับปรุงข้อผิดพลาดต่างๆให้ดีขึ้น อีกทั้งพยายามเสริม ส่วนที่ดีงามให้เพิ่มพูนมากขึ้นทั้งหมดนี้คือหน้าที่ ที่ผู้เป็นสามีจะต้องเอาใจใส่ส่วนการปล่อยปละละเลย เอาหูไป นาตาไปไร่ไม่สนใจว่าอะไรเกิดขึ้นแก่ครอบครัวหรือคนในครอบครัวจะปฏิบัติตนอย่างไร ก็ไม่เคยกล่าวตักเตือน ไม่เคยแนะน าในสิ่งที่เป็นความดีลักษณะเช่นนี้ถือเป็นความอัปยศแห่งความรับผิดชอบ และเป็น ความเสื่อมเสียทางจิตส านึกที่อิสลามประณามคนเหล่านี้มาก ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ กล่าวว่า มีบุคคล 3 ประเภทที่อัลลอฮฺ สุบหฯ จะไม่ทรงมองเขาด้วยความเมตตาในวันกิยามะฮฺได้แก่บุคคลที่เนรคุณต่อพ่อแม่ สตรีที่เลียนแบบผู้ชายและสามีที่ไม่สนใจใยดี (เอาหูไปนา-เอาตาไปไร่) ต่อภรรยา 4. อย่าสบประมาทหรือเหยียดหยาม ขึ้นชื่อว่ามนุษย์ไม่ว่าจะเป็นบุคคลอยู่ในฐานะใด ต าแหน่งใด ชน ชั้นใดและเชื้อชาติใด ก็ตามหรือแม้กระทั่งบุคคลให้ค านิยามว่า เขาเป็นบุคคลที่ต่ าต้อยที่สุดและไร้ซึ่งเกียรติยศ อันพึงมีส าหรับมนุษย์ก็ตามบุคคลทุกชั้นต้องรังเกียจประณาม การสบประมาทและการเหยียดหยามไม่ว่าจะมา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 158 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา จากค าพูดหรืออากัปกริยาก็ตามภรรยาก็คือมนุษย์คนหนึ่ง ที่แน่นอนย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสียปะปนอยู่ในตัว หากในส่วนที่เป็นข้อเสียได้รับความสบประมาทหรือเหยียดหยามจากผู้เป็นสามีอยู่ตลอดเวลาย่อมส่งผลนดยตรง ต่อภรรยา ในสิ่งที่จะท าให้เกิดการเสียก าลังใจ และ ท้อแท้ในที่สุด อิสลามจึงถือว่าการสบประมาทหรือการ เหยียดหยามจะไม่เป็นผลดีกับใครทั้งสิ้นและความรังเกียจเดียดฉันท์ ก็จะเข้าครอบง าชีวิตจนในที่สุดชีวิตคู่ฉัน สามีภรรยาก็จะด าเนินอยู่บนความทุกข์ระทมยิ่ง ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯได้กล่าวว่า นับเป็นความชั่วที่มากพอแล้ว ส าหรับบุคคลหนึ่งที่เหยียดหยามพี่น้องร่วมศรัทธาของเขา 5. ให้ของขวัญแก่ภรรยาบ้างในบางโอกาส ทุกคนปรารถนาที่จะได้รับของขวัญจากผู้ที่เป็นที่รักของ ตนเองแม้ว่าสิ่งนั้นจะเล็กน้อยหรืออาจจะมีราคาไม่สูงนักก็ตามเพราะการได้รับของขวัญจากผู้ที่ตนเองรัก ย่อม ท าให้เกิดความรู้สึกดีๆ ในหลายๆด้านอาทิ : เราเป็นคนส าคัญส าหรับเขา เราเป็นผู้ที่เขานึกถึง และเป็นห่วงเรา เป็นผู้ที่เขามอบความปรารถนาดีให้ และเป็นสายใยที่จะเชื่อมสัมพันธ์ ระหว่างผู้ให้และผู้รับอย่างเหนียวแน่น บนพื้นฐานแห่งความรักและความห่วงใยความดีงามในลักษณะเช่นนี้น่าเป็นสิ่งผลักดันให้ผู้ที่เป็นสามีหันมา ใคร่ครวญและเอาใจใส่ แล้วเหตุไฉนสามีจึงไม่มอบของขวัญให้ภรรยาของตนเองบ้างในบางนอกาส ทั้งที่มัน เป็นผลอย่างมากที่เดียว ในการสร้างความสุขให้แก่นาง ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ได้สอนว่า การงานที่ประเสริฐ ที่สุด ณ อัลลอฮฺ สุบหฺฯ หลังจากสิ่งที่เป็นฟัรฺฎฏ(ข้อบังคับ) คือการน าความสุขไปสู่พี่น้องมุสลิม(รายงานนดย อัฏ-ฏ็อบรอนี) 6. อย่าเปิดโปงเรื่องบนเตียง อิสลามถือว่าเป็นสิ่งที่อัปยศที่สุด ที่บุคคลหนึ่งได้น าเอาเรื่องบนเตียง มาพูดคุยให้ผู้อื่นได้รับรู้เรื่องส่วนตัวในลักษณะเช่นนี้ จะต้องเป็นความลับของการใช้ชีวิตคู่ฉันสามีภรรยาหาก ถูกน ามาเปิดเผยหรือสาธยายให้ผู้อื่น ได้รับรู้จะเป็นสิ่งที่ท าให้เกิดความอับอายขายหน้าและยังความกระอัก กระอ่วมใจมาสู่ความรู้สึกของภรรยาอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น นดยเฉพาะผู้ที่เป็นสตรี ย่อมทุกข์ระทมใจและอับอาย ขายหน้ามากกว่าบุรุษหลายเท่า ดังนั้น-ความสุขส่วนตัวในเรื่องนี้ จึงเป็นสิ่งที่อิสลามก าชับให้ผู้ศรัทธาสงวนไว้ ให้เป็นเรื่องระหว่างสามีและภรรยาเท่านั้น ท่านเราะสูลฯ ศ็ฮลฯ ได้สอนว่า : แท้จริง-มนุษย์ที่ถือว่าเป็นผู้ที่มี ต าแหน่งเลวทรามที่สุด ณ อัลลอฮฺ สุบหฺฯ ในวันกิยามะฮฺคือ บุลคลที่มาร่วมหลับนอนกับภรรยาของเขา และ เธอก็ตอบสนองเขาเป็นอย่างดี ภายหลังจากนั้นเขาได้เปิดเผยความลับส่วนตัวของเธอ. (รายงานนดย : มุสลิม) 7. ตรวจสอบการใช้จ่ายของครอบครัว ไม่เพียงแต่การแสวงหารายได้เท่านั้น ที่ทุกคนจะต้องถูก สอบสวนอย่างเข้มงวดในวันกิยามะฮฺ แต่การใช้จ่ายจากทรัพย์ที่ได้มา ในหนทางต่างๆก็จะถูกสอบสวนอย่าง ละเอียดเช่นกันหน้าที่ประการส าคัญของสามี ที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอยู่ของครอบครัวก็คือ "การแสวงหา รายได้ด้วยหนทางที่หะลาล(ถูกต้อง) แล้วมาจุนเจือครอบครัว " และ เมื่อได้รับ ริซกี(ปัจจัยยังชีพ)ที่หะลาล แล้ว มิได้หมายความว่าสิทธิในการใช่จ่ายทรัพย์สินที่หามาได้นั้นจะถูกวางอยู่ใต้ความปรารถนาหรือตาม อ าเภอใจ ของผู้เป็นเจ้าของทรัพย์นั้นเพียงอย่างเดียวแต่ทุกสิ่งที่ใช้จ่ายออกไปจะต้องอยู่ในกรอบแห่งสัจธรรม และ อยู่ในอิสลามอย่างเคร่งครัดเพราะทรัพย์ที่จ่ายออกไปแต่ละบาทจะถูกสอบสวนอย่างละเอียดว่ามีความ ฟุ่มเฟือยจ่ายไปในหนทางที่มีประนยชน์ไหม ฯลฯ ทั้งหมดนี้ผู้เป็นสามีจะต้องพยายามสอดส่อง ดูแล และ ตรวจสอบให้รอบคอบ ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า เท้าทั้งสองของมนุษย์จะยังคงอยู่กับที่ ณ อัลลอฮฺ สุบ หฺฯในวันกิยามะฮฺจนกว่าเขาจะถูกสอบสวน 5 ประการ คือ ถูกสอบสวนเรื่องอายุไขแห่งชีวิตว่าเขาใช่มันหมดไป กับอะไรและใช้จ่ายไปในเรื่องใด และถูกสอบสวนว่าได้ท าอะไรกับความรู้ที่มีอยู่ (รายงานนดย ติรฺมิซี) 8. เป็นแบบอย่างที่ดีแบบอย่างที่ดีนั้น มีคุณค่ามากกว่าการพร่ าสอนการสอนให้ผู้อื่นท าบางอย่าง "แต่ผู้สอนกลับไม่เคยสนใจที่จะปฏิบัติในสิ่งที่ตนเองสอนนั้น มักจะท าให้กระบวนการสอนของเขาล้มเหลว"และ จะท าให้คุณค่าของสิ่งที่ถูกสอน ถูกมองด้วยความรู้สึกที่ด้อยค่าไปในทันทีจะอย่างไรก็ตามการเป็นแบบอย่างที่ ดีจะมีคุณค่าในตัวเองเสมอ ไม่ว่าจะอยู่ในเรื่องใดก็ตามหากสังเกตกระบวนการ แห่งการด าเนินชีวิต ของท่านนบีแล้วจะพบว่า "ท่านนีเป็นแบบอย่างแก่คนในครอบครัวในทุกๆด้าน" ไม่ว่าจะเป็นกิริยามารยาท


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 159 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การปฏิบัติตนในเรื่องอิบาดะฮฺการคบค้าสมาคมการร่วมทุกข์ร่วมสุขกับครอบครัว การตักเตือนที่ดี และการอดทนต่อวิกฤติต่างๆ ฯลฯสิ่งต่างๆเหล่านี้คือ แบบอย่างที่ดีงาม ที่ผู้ศรัทธาทุกคนจะต้องพยายามหมัน ฝึกฝนตนเองให้มีคุณลักษณะตามแบบอย่างเหล่านี้ให้ได้ อัลลอฮฺ สุบหฺฯ ได้ตรัสว่า นดยแน่นอนยิ่ง-ในตัวของ ท่านเราะสูล ศ็อลฯ นั้นเป็นแบบอย่างที่ดียิ่ง แก่เจ้าทั้งหลาย(สูเราะฮฺ อัล-อะหฺซาบ อายะฮฺที่ 21) 9. มีเวลาส่วนตัวเพื่อภรรยา อย่าใช้ชีวิตหมกมุ่นอยู่กับการงาน นดยขาดเติมน้ าหล่อเลี้ยงแห่งความสุข ให้แก่ชีวิตการปล่อยให้ความรักที่เคยหอมหวาน และความผูกพันที่แน่นแฟ้นหย่อนยานไปกับเวลาเสมือนดั่ง ต้นไม้ที่ขาดปุ๋ยนั้น เป็นสิ่งที่จะท าลายความราบรื่นและความสงบสุขของชีวิตการไม่หาเวลาส่วนตัวเพื่อกันและ กัน มักจะท าให้ความหวานชื่นแห่งชีวิตคู่ที่เคยอยู่ถูกลบไปจากชีวิตอย่างน่าใจหายจึงท าให้การอยู่ร่วมกันฉัน สามีภรรยานับวันยิ่งเพิ่มความซังกระตายและความหน่ายแหนงให้แก่ชีวิตคู่ ท าไมไม่เรียกความหอมหวาน และ ความผาสุกแห่งชีวิตเสมือนดั่งในอดีตกลับคืนมาล่ะช่วงแรกๆของการเริ่มต้นใช้ชีวิตคู่ มักได้รับความสนใจต่อ การมีเวลาส่วนตัวให้แก่กันและกันเสมอ ชีวิตในยามนั้นมีแต่ความผาสุกและความหอมหวานไม่ยากเลยที่จะ เรียกความผาสุกดังกล่าวกลับคืนมาอีกครั้ง หากสนใจที่จะท าลองมาพิจารณาตัวอย่างของท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ในเรื่องนี้ดูบ้าง จากท่านหญิงอาอิชะฮฺ แท้จริง-ท่านอยู่ร่วมกับท่านเราะสูลฯศ็อลฯ ในระหว่างการเดินทางครั้ง หนึ่งเธอกล่าวว่า ฉันเคยวิ่งแข่งกับท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ปรากฏว่าฉันชนะท่านเราะสูลฯด้วยกับเท้าทั้งสองของ ฉัน และเมื่อเวลาผ่านไปฉันอ้วนขึ้นฉันได้วิ่งแข่งกับท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯอีกครั้งหนึ่งคราวนี้ท่านเราะสูลมีชัย ชนะเหนือฉัน และท่านเราะสูลฯศ็อลฯ ได้กล่าวว่า ครั้งนี้เป็นการเสมอกันกับครั้งที่แล้ว.(รายงานนดยอบู ดาวูด) 10. อย่าจ้องจับผิด พฤติกรรมของการจ้องจับผิด เป็นพฤติกรรมที่จะน าไปสู่ความล้มเหลวของระบบ ครอบครัวสามีภรรยาบางคู่จ้องจับผิดกันด้วยเรื่องเล็กๆน้อยๆ จนเป็นสาเหตุให้เกิดความร้าวฉานอย่างใหญ่ หลวงพึงทราบเถิดว่าไม่มีผู้ใดรอดพ้นไปจากความบกพร่องและความผิดพลาดได้ดั่งที่ท่านเราะสูลฯ ศ็อลฯ ได้ กล่าวเปรียบเทียบเอาไว้ว่า "มนุษย์ที่ได้เกิดมาบนนลกดุนยานี้ ไม่สามารถหลีกหนีข้อบกพร่องไปได้ ดั่งเช่นผู้ที่ใช้ เท้าเปล่าเดินลุยน้ า เท้าของเขาย่อมเปียกน้ าอย่างแน่นอน" ดังนั้น- จึงไม่มีมนุษย์คนใดสมบูรณ์และไร้มลทิน การจ้องจับผิดกัน จึงเป็นสิ่งที่น่าจะถูกก าจัดให้สิ้นซากไปจากจิตส านึกของผู้ศรัทธาได้แล้ว เพราะมันเป็นตัว บ่อนท าลายความสงบสุขของครอบครัวอย่างแท้จริง ท่านเราะสูลฯ ได้กล่าวว่า สามีผู้ศรัทธาจะต้องไม่ชิงชัง (ถือสาหาความเรื่องที่ไม่เป็นเรื่อง) ต่อภรรยาของตัวเองหากเขารังเกียจนิสัยบางอย่างของนาง ก็ยังมีสิ่งอื่นๆ จากนางอีกที่จะสร้างความพอใจให้แก่เขา (รายงานนดย มุสลิม) หน้าที่ของภรรยา 1. ภรรยาจะต้องตระหนักและยอมรับด้วยความบริสุทธิ์ใจว่าผู้ชายเป็นผู้น าส าหรับหญิง (อันนิซา4 :34) 2. ภรรยาจะต้องรักษาเกียรติของสามีอยู่เสมอไม่ว่าจะอยู่ต่อหน้าหรือลับหลัง(อันนิซา 4 :34) 3. ภรรยาต้องเชื่อฟัง (ตออัต) ต่อสามีตราบเท่าที่การเชื่อฟังนั้นไม่เป็นมะซียัต(อบายมุข) (อันนิซา 4 :39) 4. ภรรยาต้องส านึกว่าฐานะหน้าที่ของสามีเหนือภรรยา (อัลบะกอเราะฮฺ 2 :28 ) คือการดูแลครอบครัว ตออัตเชื่อฟังสามี(ในกรณีที่ถูกต้อง) ตักเตือนชักชวนกันสู่หนทางที่ดีงาม มี จรรยามารยาทที่ดีงาม รักษาทรัพย์ของสามีอย่างดีที่สุด รักษาเกียรติของสามี เอาใจใส่ซึ่งกันและกัน เรื่อง ส่วนตัวที่เป็นความลับนั้นทั้งชายและหญิงไม่ควรเปิดเผยกับบุคคลอื่น ที่ส าคัญ "ชาวนรกส่วนมากคือสตรี เพราะการนินทา สตรีที่แต่งงานแล้วมักจะนินทาสามี " (อิสลามจงห้ามเรื่องการนินทา และเป็นบาปมากมาย ไม่ใช่วันๆพอเสร็จจากงานดูแลครอบครัว ก็มานั่งเม้าท์เอาเรื่อง สามีมาเผาให้ชาวบ้านฟัง ว่าสามีชั้นมันอย่างนั้น อย่างนี้ - -' ) "และการที่นางจากโลกนี้ไปในสภาพที่สามีพึงพอใจ(ในเรื่องที่ถูกกับหลักศาสนา)นั้นนางจะได้ เข้าสวรรค์ " พึงพอใจที่ว่านี้คือ อยู่ในหลักหนทางที่ถูกต้อง มิใช่ท าตามใจตามอารมณ์นดยท าสิ่งไร้สาระท าผิด หรือท าบาปใดๆ เป็นต้น


Click to View FlipBook Version