The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Keywords: อิสลาม,หลักศรัทธา,รุก่น

เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 100 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา สุนัตและระเบียบต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุดฮียะห์ : หนึ่ง : เมื่อเข้าสู่ช่วงสิบวันแรกของเดือนซุ้ลฮิจยะห์ และมีผู้ที่ตั้งใจในช่วงเวลาดังกล่าวว่าจะท าอุดฮียะห์ สุนัตให้เขาปล่อยผมและเล็บไว้จนกว่าจะเชือดอุดฮียะห์ เพราะฮะดีษที่มุสลิม (1977) ได้รายงานจากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า : َض ِحد ُ ْن ي أ َ َحُدُكُ ْ أ َ َِ أراَ َ َ و َّجِِ ِه َل َ ذِي احلَ ُْتْ أي َ َ ذاَ ر ِ ا ِرهِ أ َظافِ َ َ و ِس ْك َع ْن َشْعِرهِ ْ ُم ي ْ فَل َ ي “เมื่อพวกท่านเห็นฮิลาลของเดือนซิลฮิจยะห์ และคนใดพวกท่านประสงค์จะท าอุดฮียะห์ ให้เขาปล่อยผม และเล็บไว้” สอง : สุนัตให้เชือดอุดฮียะห์ด้วยตนเอง และถ้าหากมีอุปสรรไม่สามารถกระท าเองได้ ก็ให้มาดูการเชือด อุดฮียะห์ด้วย เพราะฮะดีษที่ฮากิม (4/222) ได้รายงานด้วยสายรายงานที่ซอเฮียะห์ว่า ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอ ฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวแก่ฟาติมะห์ (ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ) ว่า : َف َ َسل َما َِلِ ُ ْغَفر ُ هَا ي َم ْن َِمِ ةِ َ ِ قِ ْطر َّ و َ فَُّه ِبأ ِ ِدَْيَا فَا تِ ِك فَا ْشهَ َ ْْضِ ي أ ُ َِلْ ِ ا ْ َ ُسْو ُق َ ْومِي ََي ر ْت : َ ِك َقال ْوِب ْن ُذفُ مِ ِِمْنَ عَاَّم ُ ْسل لم ِ ل َ َ و نا َ ْل ل َ ِِمْنَ عَاَّمًِ ؟ قَا َ ب ُ ْسل لم ِ َا ول ن َ ْو ل أ َّصًِ ، َ ِت َخا يْ َ أ ْه ُل الب َا َ ن َ ِهللا ، َه ًِ َذا ل “เธอจงลุกขึ้นไปที่อุดฮียะห์ ของเธอและดูมัน เพราะด้วยเหลือดหยดแรกของมัน เธอจะได้รับการอภัย นทษจากบาปต่าง ๆ ของเธอที่ล่วงมาแล้ว ฟาติมะห์ได้ถามว่า : นอ้ท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะซัลลัม ที่ท่านกล่าวนี้เฉพาะพวกเราที่เป็นคนในครอบครัวของท่าน (อะห์ลุลลัยต์) เท่านั้นหรือส าหรับพวกเรา และมวลมุสลิมนดยทั่วไป? ท่านตอบว่า : แต่มันส าหรับพวกเราและมวลมุสลิมนดยทั่วไป” สาม : เป็นสุนัตแก่ผู้น ามุสลิม เชือดสัตว์อุดฮียะห์นดยใช้ทรัพย์จากบัยตุ้ลมาลแทนแก่มวลมุสลิม , มุสลิม (1967) ได้รายงานว่า : َ ُسوَ ا ََّّللِ أ َّن ر َ َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َص ََّل ا ََُّّلل عَل : قَا َ َعْنَد َذِِْبهِ َ ٍش و ََبْ َْضَّيِب ْن ِِبْْسِ ْل مِ َّ تََقب َّ هُم َّ الل ِ ٍد ا ََّّلل َّ أ ِ ُم َحم َ و ٍد َّ ُم َحم أَّمِِ ُ ْن َّ و ٍد َمِ ُم َحم ท่าน นะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ท าอุดฮียะห์ด้วยแกะตัวหนึ่ง และท่านได้กล่าวขณะเชือดมัน ว่า “บิสมิลลาฮ์ อัลลอฮุ้มม่า ตะก็อบบัล มินมุฮัมมัด วะอาลิมุฮัมมัด วะอุมมะติมุฮัมมัด) ด้วยพระนาม ของอัลลอฮฺ ข้าแด่อัลลอฮฺได้นปรดรับจากมุฮ ามัด วงศ์วานของมุฮ ามัด และจากประชากรของมุฮ ามัด” และสุนัตให้ผู้น าเชือดอุดฮียะห์ ณ สถานที่ละหมาดซึ่งเป็นสถานที่ประชาชนได้มาชุมนุมกันเพื่อละหมาด อีด และสุนัตให้เชือดด้วยตนเอง บุคอรีได้รายงานในหนังสือซอเฮียะห์ของเขา (5232) ِِب ُ َحر َْن ي َ َُح و ْذب َ َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َ ُسْوُ ِهللا َصَِّل ُهللا عَل ا قَا َ : ََكَن ر َ ِيضَ ُهللا َعَّْنُم َ َ ر ِن َُمعر ْ ب ِ ُ َصَِّل َع ْن ا م ْ ل “จากอิบนุอุมัร (ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ) ได้กล่าวว่า : “ท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ เชือดสัตว์ ณ สถานที่ละหมาด” 4. อาบน้ าช าระร่างกาย ซุนนะฮฺให้อาบน้ าช าระร่างกายช่วงเช้าตรู่ของวันอีด และขจัดสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ออกจากร่างกาย(เช่น ขจัดขนลับ ตัดเล็บ ตกแต่งหนวดและทรงผม เป็นต้น43) ถึงแม้จะไม่มีรายงานที่ชัดเจนจากการปฏิบัติของท่านน บีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แต่ก็มีรายงานที่น่าเชื่อถือได้จากการปฏิบัติของอิบนุอุมัรฺ ท่านนาฟิอฺ ผู้รับใช้อิบนุ อุมัรฺเล่าว่า "อิบนุ อุมัรฺจะอาบน้ าช าระร่างกายในวันอีดิลฟิฏรฺก่อนที่ท่านจะ เดินทางสู่สนามละหมาด" 44 43 ดูค าพูดของอิมาม อัน-นะวะวีย์ใน เราเฎาะตุฏฏอลิบีน 1/583 44 มาลิก 1/177, อัช-ชาฟิอีย์1/231, อับดุลร็อซซาก (4754)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 101 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา มีคนถามท่านอะลีอิบนุ อบีฏอลิบ ถึงวันที่ส่งเสริม(สุนัต)ให้อาบน้ า ท่านตอบว่า “วันศุกร์ วันอะ เราะฟะฮฺ วันนะหัรฺ(อีดิลอัฎฮา) และวันอีดิลฟิฏรฺ” 45 สะอี๊ด อิบนุ อัล-มุสัยยับ กล่าวว่า "ซุนนะฮฺในวันอีดิลฟิฏรฺมีสามประการ คือ การเดินทางด้วยเท้าสู่ สนามละหมาด การกิน (เพียงเล็กน้อย) ก่อนออกสู่สนามละหมาด และการอาบน้ าช าระร่างกาย" 46 ส่วนบรรดาผู้ที่ประสงค์จะเชือดสัตว์กุรบานในวันอีดิลอัฎฮาซุนนะฮฺให้อาบน้ าช าระร่างกายเพียงอย่าง เดียว และห้ามขจัดขนต่างๆและตัดเล็บ นับตั้งแต่วันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺเป็นต้นมาจนกระทั่งเขาได้เชือด สัตว์กุรบานเรียบร้อยแล้วเท่านั้น47 ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น 5. พรมน้ าหอม ควรพรมน้ าหอมให้มีกลิ่นฟุ้งตามร่างกาย ดังที่อิบนุ อุมัรฺได้ปฏิบัติไว้48 ส่วนสตรีไม่ส่งเสริมให้พรม น้ าหอมที่มีกลิ่นฟุ้งช่วงที่เดินทางสู่สนามละหมาด เพื่อป้องกันฟิตนะฮฺหรือความเสื่อมเสียที่อาจเกิดขึ้นกับนาง49 6. แต่งกายด้วยอาภรณ์ที่สวยงามและดูดีที่สุด แต่งกายด้วยอาภรณ์ที่ดีที่สุด50 และใหม่ที่สุดเท่าที่จะหาได้อิบนุอุมัรฺเล่าว่า “อุมัรฺได้น าเอาเสื้อยาวที่ ท ามาจากผ้าไหมหนา (อิสตับร็อก) ที่วางขายอยู่ที่ตลาดมาเสนอแก่ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุ-อะลัยฮิวะสัลลัม พลันกล่าวว่า “นอ้ท่านผู้เป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ ท่านจงซื้อเสื้อตัวนี้ไว้แต่งตัวให้สวยงามในวันอีดและวันที่มี แขก (ส าคัญ) มาหาท่านเถิด...”51 ท่านเชค อัส-สินดีย์กล่าวขยายความหะดีษฺข้างต้นว่า "หะดีษฺนี้ท าให้ทราบว่าแท้จริงแล้วการแต่งตัวให้ สวยงามในวันอีดเป็นประเพณีที่ได้ปฏิบัติกันมาในหมู่เศาะหาบะฮฺและท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ-วะสัลลัม ก็ ไม่ได้คัดค้านหรือปฏิเสธ(ต่อการกระท าดังกล่าว) ดังนั้นจึงเป็นที่ประจักษ์ว่าการกระท าดังกล่าวยังคงมี(เป็นซุน นะฮฺที่ถูกปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่อง)สืบมา" 52 7. รับประทานก่อนละหมาด ซุนนะฮฺให้รับประทานผลอินทผาลัมด้วยจ านวนที่เป็นคี่ ( 3 -5-7 เม็ด53) ก่อนที่จะออกเดินทางสู่สนาม ละหมาดส าหรับวันอีดิลฟิฏรฺ54 หากไม่สามารถหาได้ก็ให้รับประทานอะไรก็ได้แต่เพียงเบาๆ55 เพื่อเป็นการ ประกาศอย่างถ้วนหน้าว่าห้ามถือศีลอดในวันนั้น และประกาศถึงการสิ้นสุดของวันถือศีลอดและเริ่มต้นของวัน แห่งการกินดื่ม 45 อัล-บัยฮะกีย์3/278, อิรวาอุล เฆาะลีลฺ1/176 46 อัล-ฟิรฺยาบีย์127/1,2 (ดูอิรวาอฺอัล-เฆาะลีลฺของอัล-อัลบานีย์2/104) 47 ดูชัรหฺ เศาะฮีหฺ มุสลิม ของอัน-นะวะวีย์13/138-139 และอัล-มุฆนีย์2/228 48 อัลดุรร็อซซาก 3/308 (5752), อัหกามุลอีดัยน์ของ อัล-ฟิรฺยาบีย์หน้า 83 49 มุสลิม (996) 50 อัต-เฏาะบะรอนีย์ในอัล-เอาสัฏ (7609) สุนัน อัล-บัยฮะกีย์3/281 51 อัล-บุคอรีย์(886, 948, 2104, 2619), มุสลิม (2068) (อย่างไรก็ตาม ท่านไม่ได้ซื้อเสื้อตัวนั้น เพราะมันท าจากไหมซึ่งเป็นที่ต้องห้ามส าหรับบุรุษ แต่ท่านไม่ได้ปฏิเสธการสวมเสื้อที่สวยงามในวันอีด) 52 หาชิยะฮฺอัส-สินดีย์อะลา อัน-นะสาอีย์3/181 53 อิบนุหิบบาน (2814), อัล-หากิม 1/294 54 อัล-บุคอรีย์(953) 55 ฟัตหุลบารีย์2/447


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 102 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อัล-มะฮฺลับ กล่าวว่า "เหตุผลที่ให้ทานอาหารก่อนละมาดอีดเพื่อไม่ให้บางคนเข้าใจว่าจ าเป็นต้องถือ ศีลอดจนกว่าจะเสร็จจากละหมาดอีด เสมือนกับว่าการปฏิบัติดังกล่าวประสงค์ที่จะป้องกันและขจัดความเชื่อ ดังกล่าวออกไปเสีย" 56 ส่วนในวันอีดิลอัฎฮา ซุนนะฮฺให้ออกเดินทางสู่สนามละหมาดเลยนดยไม่ต้องรับประทานสิ่งใดๆ รอง ท้องก่อนละหมาด เพราะซุนนะฮฺในวันนี้ให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อแรกหลังจากที่กลับจากละหมาดอีดแล้ว และถ้าสามารถรอรับประทานเนื้ออุฎฺหิยะฮฺได้จะเป็นการดีที่สุด57 จากท่านบุร็อยดะฮฺ เล่าว่า "ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมจะไม่เดินทางสู่สนามละหมาดในวัน อีดิลฟิฏรฺจนกว่าท่านจะรับประทานอาหารเสียก่อน ส่วนในวันอีดิลอัฎฮา ท่านจะไม่รับประทานสิ่งใดๆ นอกจากเมื่อท่านเดินทางกลับจากละหมาดแล้ว และรอรับประทานอาหารจากเนื้ออุฎฺหิยะฮฺของท่าน" 58 อัช-เชากานีย์กล่าวว่า "เหตุผลที่ให้รับประทานอาหารช้าในวันอีดิลอัฎฮา ก็เพราะเป็นวันที่มีบัญญัติให้ ท าการเชือดสัตว์อุฎฺหิยะฮฺ และรับประทานอาหารจากเนื้อดังกล่าว ดังนั้นจึงมีบัญญัติ(ส่งเสริม)ให้เริ่ม รับประทานอาหารเช้าด้วยเนื้อส่วนหนึ่งจากอุฎฺหิยะฮฺดังกล่าว" 59 อัซ-เซน อิบนุอัล-มุนัยยิรฺกล่าวว่า "การรับประทานอาหารในวันอีดทั้งสองเกิดขึ้นในเวลาที่ถูกบัญญัติ ไว้เพื่อท าการจ่ายทานที่มีลักษณะเฉพาะในวันทั้งสอง นดยมีบัญญัติให้จ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺก่อนที่จะเดินทางสู่ สนามละหมาด และบริจาคทานจากเนื้ออุฎฺหิยะฮฺหลังจากที่ได้มีการเชือดมันแล้ว" 60 8. เดินทางสู่สนามละหมาด 8.1 เวลาออกสู่สนามละหมาด ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวในคุฏบะฮฺวันอีดิลอัฎฮาว่า “แท้จริงสิ่งแรกที่พวกเราต้อง ปฏิบัติในวันนี้คือ ละหมาดอีด” 61 อิบนุ หะญัรฺกล่าวขยายความว่า “นี่แสดงให้เห็นว่าไม่สมควรไปวุ่นวายกับสิ่งอื่นใดในวันอีด นอกจาก การเตรียมตัวส าหรับการละหมาด และเดินทางสู่สนามตั้งแต่เช้า ซึ่งเท่ากับว่าไม่ควรกระท าสิ่งใดๆทั้งสิ้นก่อน ละหมาดอีดนอกจากการเตรียมตัวเพื่อการดังกล่าวเท่านั้น ด้วยการปฏิบัติดังกล่าวท าให้เขาเดินทางไปยังสนาม ละหมาดตั้งแต่เช้าตรู่” 62 ดังนั้นหลังจากละหมาดศุบฮิเสร็จแล้ว ทุกคนจึงควรรีบเตรียมตัวและเดินทางมุ่งสู่สนามละหมาด ทันที63 ยกเว้นอิมามน าละหมาดเขาควรจะไปถึงยังสนามละหมาดเมื่อได้เวลาจะท าการละหมาดอีดพอดีดังที่ ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ปฏิบัติไว้64 56 ฟัตหุลบารีย์2/447 57อะหฺมัด 5/352 58 อัต-ติรฺมิซีย์(542), อิบนุมาญะฮฺ (1756), เศาะฮีหฺสุนันอัต-ติรฺมิซีย์(447) 59 นัยลุลฺ เอาฏอรฺ3/357 และดูค าพูดของอิบนุกุดามะฮฺ ในอัล-มุฆฺนีย์2/371 60 ฟัตหุลบารีย์2/448 61 อัล-บุคอรีย์(956, 968), มุสลิม (889) 62 ฟัตหุลบารีย์2/530 63 อบูดาวูด (1135), อิบนุ มาญะฮฺ (1317) 64 อัล-บุคอรีย์(956), มุสลิม (889


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 103 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 8.2 กล่าวตักบีรฺตลอดทางสู่สนามละหมาด ดังที่กล่าวมาแล้วว่าสนลแกนวันอีดคือการกล่าวตักบีรฺดังนั้นอิบาดะฮฺที่ดีที่สุดก่อนการละหมาดอีดก็คือ การยกเสียงตักบีรฺในดังระงมไปทั่วทุกซอกซอย แม้กระทั่งเด็กและสตรี นดยเฉพาะเมื่อออกจากบ้านมุ่งสู่ยัง สนามละหมาด อิบนุ อุมัรฺเล่าว่า “ทุกครั้งที่ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เดินทางออกจากบ้านในวันอีดทั้ง สอง พร้อมๆ กับ อัล-ฟัฎลฺอิบนุอับบาส, อะลี, ญะอฺฟัรฺ, หะซัน และหุเซน, อุสามะฮฺอิบนุซัยดฺอิบนุหาริษะฮฺ และอัยมาน ท่านจะร้องตักบีรฺและตะฮฺลีลด้วยเสียงที่ดัง” 65 เช่นเดียวกับอิบนุ อุมัรฺ เมื่อท่านเดินทางออกจากบ้านท่านก็จะยกเสียงตักบีรฺตลอดทางจนไปถึงยัง สนามละหมาดและยังคงกล่าวตักบีรฺต่อไปจนกระทั่งอิมามน าละหมาดเดินทางมาถึง66 ส่วนสตรีควรกล่าวตักบีรฺด้วยน้ าเสียงที่พอควร67อัล-บุคอรีย์กล่าวในเศาะฮีหฺของตนว่า “ท่านหญิง มัยมูนะฮฺได้กล่าวตักบีรฺในวันนะหัรฺ และบรรดาสตรีต่างกล่าวตักบีรฺหลังอับบาน อิบนุอุษมาน และอุมัรฺ อิบนุ อับดุลอะซีซ ในค่ าคืนของวันตัชฺรีกทั้งสามพร้อมๆ กับบรรดาบุรุษในมัสญิด” อิมาม อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า “การกล่าวตักบีรฺของสตรีเหล่านั้นพร้อมๆกับคนอื่นๆเป็นหลักฐานที่แสดง ถึงการส่งเสริมให้ทุกคนกล่าวตักบีรฺในวันอีดทั้งสอง” 68 แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า ซุนนะฮฺนี้กลับไม่เป็นที่นิยมกระท ากันในบ้านเรา จะเห็นได้ว่าบนถนนหนทางสู่ สนามละหมาดจะเงียบเชียบแทบจะไม่มีเสียงตักบีรฺเล็ดลอดให้ได้ยินเลย ทั้งจากบรรดาผู้ที่เดินถนน หรือ เดินทางมากับรถ (สุบหานัลลอฮฺ!) 8.3 การออกสู่สนามละหมาดของสตรีและเด็กๆ 1. ส่งเสริมให้สตรีทุกคนออกไปยังสนามละหมาด ไม่ว่าจะเป็นสาวสวย(ถ้าปลอดจากฟิตนะฮฺ) แม่ หม้าย คนชรา ผู้ที่มีประจ าเดือน ฯลฯ เพื่อที่จะได้ร่วมกันแบ่งปันความสุขสันต์และกล่าวตักบีรฺประกาศความ เกรียงไกรของอัลลอฮฺในวันนั้น อุมมุอะฏิยยะฮฺ เล่าว่า “ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ-วะสัลลัม ได้สั่งให้พวกเราน าบรรดาสตรีออก สู่สนามละหมาดในวันอีดิลฟิฏรฺและอีดิลอัฎฮา พวกนางคือสตรีสาว สตรีที่มีประจ าเดือน และสาวสวย ส่วน สตรีที่มีประจ าเดือนพวกนางจะไม่ร่วมท าการละหมาด แต่จะร่วมกันเชยชมความดีงามและรับพรจากบรรดา มุสลิมในวันนั้น” 69 อัล-ค็อฏฏอบีย์ กล่าวว่า “ค าสั่งให้สตรีทุกคนออกสู่สนามละหมาดในวันอีดก็เพื่อให้สตรีที่ไม่มี ประจ าเดือนได้ร่วมละหมาดอีดอย่างพร้อมเพรียงกัน ส่วนสตรีที่มีประจ าเดือนก็เพื่อให้พวกนางร่วมรับพรอัน ประเสริฐในวันนั้นด้วย” 70 ( 2. ส่วนเด็กๆ ก็ส่งเสริมให้น าออกสู่สนามละหมาดทุกคน ถึงแม้จะยังไม่บรรลุศาสนภาวะก็ตาม เพื่อที่จะได้รับพรอันประเสริฐและร่วมกันเป็นสักขีพยานในวันอันยิ่งใหญ่นี้71 65 อัล-บัยฮะกีย์3/279, อิรวาอุล เฆาะลีลฺ3/123 66 อัด-ดาเราะกุฏนีย์2/44, อิรวาอุล เฆาะลีลฺ (650) 67 อัล-บุคอรีย์(971) , มุสลิม (890) 68 ชัรหุ เศาะฮีหฺ มุสลิม 2/541 69 อัล-บุคอรีย์(324) , มุสลิม (890) 70 เอานุล มะอฺบูด 3/344 71 อัล-บุคอรีย์(975, 977) , มุสลิม (884)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 104 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 8.4 เดินทางด้วยการเดินเท้า ส่งเสริมให้เดินทางสู่สนามละหมาดด้วยการเดินเท้า ส าหรับบรรดาผู้ที่มีบ้านอยู่ใกล้กับสนามละหมาด และสามารถเดินทางไปได้แต่หากว่าบ้านอยู่ไกลหรือไม่สะดวกที่จะเดินเท้าก็ให้ขึ้นรถแทน72 อิบนุ อุมัรฺเล่าว่า "ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะเดินทางไปยังสนามละหมาดและเดินทาง กลับด้วยการเดินเท้า" 73 อะลีอิบนุอบีฏอลิบ กล่าวว่า “ส่วนหนึ่งของซุนนะฮฺ (ในวันอีด) คือการเดินทางสู่สนามละหมาดด้วย การเดินเท้า” 74 อิมาม มาลิก กล่าวว่า “พวกเราเดินเท้า เพราะบ้านเราอยู่ใกล้และหากว่าบ้านอยู่ไกล นั่งพาหนะมาก็ ไม่เป็นไร” 75 8.5 ไปและกลับด้วยเส้นทางที่ต่างกัน การเดินทางสู่สนามละหมาดอีด ส่งเสริมให้ใช้เส้นทางไปและกลับที่ต่างกัน ไม่ว่าจะเดินเท้าหรือใช้ ยานพาหนะ ท่าน ญาบิรฺ เล่าว่า “ในวันอีด ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ-วะสัลลัม จะใช้เส้นทาง(ไปและกลับจาก สนามละหมาด)ที่ต่างกัน” 76 อุละมาอฺได้ให้เหตุผลต่อการปฏิบัติดังกล่าวของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ถึง 20 กว่า เหตุผล 77 ที่ส าคัญๆ คือ 1. เพื่อแสดงออกถึงพิธีกรรมของอิสลาม 2. เพื่อให้เส้นทางทั้งสองเป็นพยานให้กับตน 3. เพื่อแสดงออกถึงการซิกรุลลอฮฺ(การกล่าวร าลึกถึงอัลลอฮฺ) 4. เพื่อให้สลามแก่ผู้คนบนเส้นทางทั้งสอง 5. เพื่อท าทานและสานมิตรไมตรีระหว่างทางทั้งสอง 6. เพื่อประกาศให้ผู้อื่นรับรู้ถึงพิธีกรรมอันยิ่งใหญ่ของอิสลาม และถึงแม้ว่าเราจะไม่ทราบถึงเหตุผลที่แท้จริงของการใช้เส้นทางเดินที่ต่างกัน แต่การเจริญรอยตาม แนวทางการปฏิบัติของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นั้นย่อมเป็นการกระท าที่ดีและน่าส่งเสริมอย่างไม่ ต้องสงสัย อิมาม อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า "แม้ว่าเราไม่ทราบถึงเหตุผล แต่การปฏิบัติตาม(ซุนนะฮฺของท่านนบี) เป็น สิ่งที่มุสตะหับ(ส่งเสริม) อย่างแน่นอน" 78 9. ละหมาดอีด 9.1 หุก่มการละหมาดอีด การละหมาดวันอีดเป็นบทบัญญัติและเอกลักษณ์อย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม79 ดังจะเห็นได้จากการ ปฏิบัติเป็นประจ าของท่านนบี และยังก าชับบรรดาเศาะฮาบะฮฺให้ออกสู่สนามละหมาดอย่างพร้อมเพรียงกัน 72 เราเฎาะฮฺอัน-นะวะวีย์1/583 73 อิบนุ มาญะฮฺ (1295) 74 อัต-ติรฺมิซีย์(530), อิบนุ มาญะฮฺ (1296), อัล-บัยฮะกีย์3/281 75 อัล-เอาสัฏ ของ อิบนุล มุนซิร 4/264 76 อัล-บุคอรีย์(986) 77 ฟัตหุลบารีย์2/548, ซาดุลมะอาด 1/449 78 เราเฎาะฮฺอัฏ-ฏอลิบีน 2/77


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 105 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา (แม้กระทั่งทาสหญิง สตรีสาวสวย สตรีที่มีประจ าเดือน และเด็กๆก็ยังถูกสั่งก าชับให้พาพวกเขาออกสู่สนาม ละหมาด เพื่อร่วมเป็นสักขีพยานและตักตวงความสุขและสนุกสนานอย่างพร้อมหน้ากัน) 80 และต้องมีการ ละหมาดแบบญะมาอะฮฺเท่านั้น81 ทั้งนี้และทั้งนั้นบรรดาอุลามะอฺต่างมีทัศนะเกี่ยวกับหุกุมของการละหมาดอีดออกเป็น 3 ทัศนะ คือ 1. วาญิบส าหรับทุกคน (ทัศนะอบูหะนีฟะฮฺ82 ทัศนะนี้ได้รับการสนับสนุนจากอิบนุตัยมิยฺยะฮฺ83 และอัช-เชากานีย์84) 2. ซุนนะฮฺมุอั๊กกะดะฮฺ (ทัศนะของมาลิก85 และอัช-ชาฟีอีย์86) 3. ฟัรฺฎุกิฟายะฮฺ (ทัศนะของอะหฺมัด87) อิบนุตัยมิยฺยะฮฺกล่าวว่า "เราเห็นด้วยกับทัศนะที่ว่าละหมาดอีดเป็นบัญญัติที่วาญิบส าหรับทุกคน ดัง ทัศนะของอบูหะนีฟะฮฺ และอื่นๆ และเป็นอีกทัศนะหนึ่งของ อัช-ชาฟิอีย์และอะหฺมัดด้วย ... เพราะแท้จริง ละหมาดอีดเป็นเอกลักษณ์ที่ยิ่งใหญ่เอกลักษณ์หนึ่งของอิสลาม และประชาชนมาร่วมชุมนุมเพื่อร่วมกัน ละหมาดมากกว่าและยิ่งใหญ่กว่าละหมาดญุมอัตเสียอีก" 88 อัช-เชากานีย์กล่าวว่า "พึงทราบเถิดว่า ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุ-อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ด ารงละหมาดนี้ใน วันอีดทั้งสองอย่างต่อเนื่อง และท่านไม่เคยละทิ้งละหมาดเลยแม้แต่ครั้งเดียว ทั้งยังสั่งก าชับให้ประชาชน ออกไปร่วมชุมนุมกัน ณ สนามละหมาด แม้กระทั่งสาวสวย และสตรีที่มีประจ าเดือน นดยสั่งไม่ให้พวกนาง ละหมาดและร่วมกันเป็นสักขีพยานแห่งความดีงามและค าอวยพรของพี่น้องชาวมุสลิม... สิ่งต่างๆเหล่านี้บ่ง บอกว่าแท้จริงการละหมาดอีดนี้เป็นสิ่งที่วาญิบส าหรับทุกๆคน (วาญิบอัยนิ) ไม่ใช่วาญิบกิฟายะฮฺ (ที่เมื่อกลุ่ม หนึ่งได้ปฏิบัติแล้วคนอื่นๆไม่ปฏิบัติก็ได้)"89 ศิดดี๊ก หะสัน คาน กล่าวว่า "และส่วนหนึ่งของหลักฐานที่บ่งถึงความเป็นวาญิบของละหมาดอีด คือ การที่ละหมาดอีดสามารถยกเลิกละหมาดญุมอัตได้ เมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ และสิ่งที่ไม่ใช่วาญิบย่อมไม่ สามารถยกเลิกสิ่งที่วาญิบ..."90 9.2 เวลาละหมาดอีด เวลาละหมาดอีดเริ่มจากตะวันขึ้นสูงประมาณ 1 ด้ามหอกจนกระทั่งตะวันคล้อยในวันเดียวกัน(111) 91 นดยควรท าการละหมาดอีดิล-อัฎฮาในเวลาแรก เพื่อที่จะได้มีเวลาไปจัดการเรื่องกุรบานในเวลาต่อมาและควร รอให้สายสักหน่อย ส าหรับละหมาดวันอีดิลฟิฏรฺ เพื่อเป็นการเปิดนอกาสแก่ผู้ที่ยังไม่ทันจ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺใน เวลานั้น92 79 อะหฺมัด 3/103, 178, 235, อบูดาวูด (1134), อัน-นะสาอีย์3/179 80 ดูค าพูดของอัช-เชากานีย์ใน สัยลุล ญัรรอรฺ1/315 81 อัล-บุคอรีย์(956), มุสลิม (889) 82 อัล-มับสูฏ 2/37, บะดาอิอฺอัศ-เศาะนาอิอฺ1/274, ตุหฺฟะตุล ฟุเกาะฮาอฺ1/275 83 มัจญ์มูอฺอัล-ฟะตาวีย์24/183 84 นัยลุลฺ เอาฏอรฺ3/382, สัยลุล ญัรรอรฺ1/315 85 อัช-ชัรหุศเศาะฆีรฺ1/523 86 อัล-อุมมฺ1/240, อัล-มุฮัซซับ 1/163 87 อัล-มุฆนีย์3/253, กัชชาฟุล เกาะนาอฺ2/55 88 มัจญ์มูอฺอัลฟะตาวีย์23/161 89 สัยลุล ญัรรอรฺ1/315 90อัร-เราเฎาะฮฺอัน-นะดิยฺยะฮฺ1/142 91 เราเฎาะฮฺอัน-นะวะวีย์1/577, อัล-มุฮัซซับ 1/384 92 ซาดุลมะอาด 1/442


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 106 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อิบนุ บัฏฏอลฺ กล่าวว่า “ฟุเกาะฮาอฺ (นักนิติศาสตร์) ในอิสลามมีมติเห็นพ้องกันว่าไม่อนุญาตให้ ละหมาดอีดก่อนตะวันขึ้น และขณะก าลังขึ้น แต่อนุญาตเมื่อถึงเวลาที่อนุญาตให้ละหมาดสุนัตได้” 93 (หมายถึง หลังจากที่ตะวันขึ้นพ้นขอบฟ้าแล้วประมาณ 1 ด้ามหอกนั่นเอง) อิบนุ กุดามะฮฺได้ยกเหตุผลที่ต้องรีบละหมาดในวันอีดิลอัฎฮาและรอจนสายในละหมาดอีดิลฟิฏรฺว่า “เพราะแต่ละวันอีดจะมีภารกิจเฉพาะรออยู่ และภารกิจเฉพาะในวันอีดิลฟิฏรฺคือการจ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺ ซึ่ง ต้องจัดการให้เสร็จก่อนการละหมาด ส่วนภารกิจเฉพาะในวันอีดิลอัฎฮาคือการเชือดกุรบาน ซึ่งจะเชือดได้ก็ ต่อเมื่อละหมาดเรียบร้อยแล้วเท่านั้น” 94 9.3 สถานที่ละหมาดอีด การละหมาดอีดเป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ที่สุดในรอบปีของชาวมุสลิม นดยมีบัญญัติให้ระดมทุกคนที่มีอยู่ ให้ออกมาชุมนุม ณ สถานที่(111ละหมาดอย่างพร้อมเพรียงกัน ไม่ว่าจะเป็นเด็กเล็ก สตรีคนชรา และสตรีที่มี รอบเดือนก็ตาม ดังนั้นอิสลามจึงมีบัญญัติเฉพาะเกี่ยวกับการจัดสถานที่ส าหรับละหมาดอีด นดยค านึงถึงความสะดวก ของประชาชนที่จะมาร่วมชุมนุมและความจุของสถานที่ นดยเป็นที่รู้จักกันในนามของมุศ็อลลาหรือสนาม ละหมาด ด้วยเหตุนี้อุละมาอฺส่วนใหญ่จึงเห็นว่าควรจัดเตรียมสถานที่ละหมาดอีด ณ ลานกว้างนอกหมู่บ้าน เพราะสามารถรองรับประชากรทั้งหมู่บ้านได้หมดทุกคน และนี่คือซุนนะฮฺที่นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุ-อะลัยฮิ สวะสัลลัม ได้ยึดปฏิบัติมาตลอดอายุขัยของท่าน และตามด้วยบรรดาเศาะหาบะฮฺ และตาบิอีนทั้งหลาย เว้นแต่เมื่อมีเหตุสุดวิสัย หรือจ าเป็นจริงๆที่ไม่อาจท าการละหมาดที่มุศ็อลลาหรือสนามละหมาดได้ เท่านั้น จึงค่อยจัดละหมาดอีดขึ้นในมัสญิดญามิอฺอาทิเช่น เกิดฝนตก95 สถานการณ์ไม่ปลอดภัยเป็นไข้ไม่สบาย หรือไม่สามารถเดินทางไปยังสนามละหมาด เป็นต้น จะอย่างไรก็ตามอิมามประจ ามัสญิดก็ควรจะจัดเตรียมบุคลากรเฉพาะไว้จัดการด้านการละหมาดอีด ในมัสญิดของตนส าหรับบรรดาผู้ที่เจ็บป่วย และไม่สามารถเดินทางออกสู่สนามละหมาดได้96 และแต่งตั้งให้คน ใดคนหนึ่งเป็นอิมามน าละหมาดและอ่านคุฏบะฮฺอีดแทน ดังที่)เคาะลีฟะฮฺอะลีอิบนุอบีฏอลิบ ได้เคยปฏิบัติ ไว้เป็นแบบอย่างแก่เรา97 วัลลอฮุอะอฺลัม98 9.4 จ านวนร็อกอัต ไม่มีความขัดแย้งในหมู่อุละมาอฺว่าจ านวนร็อกอัตของละหมาดอีดทั้งสองนั้นมีเพียงสองร็อกอัตเท่านั้น ตามค ากล่าวของอุมัรฺ อิบนุอัล-ค็อฏฏอบ ที่ว่า “ละหมาดของผู้เดินทางมีสองร็อกอัต ละหมาดอีดิลอัฎฮาสอง ร็อกอัต ละหมาดอีดิลฟิฏรฺสองร็อกอัต และละหมาดญุมอัตสองร็อกอัตที่สมบูรณ์นดยปราศจากการตัดทอน...” 9.5 การเรียกร้องสู่ละหมาด เนื่องจากวันอีดเป็นวันแห่งการชุมนุมที่มีการเตรียมตัวเชิงนัดหมายกันตั้งแต่เนิ่นๆ ดังนั้นการละหมาด ในวันนี้จึงไม่จ าเป็นต้องมีการเรียกร้อง หรืออาซานเพื่อเชิญชวนพี่น้องสู่การละหมาดอีก หรืออาจจะกล่าวอีก 93 ฟัตหุลบารีย์2/530 94 อัล-มุฆนีย์3/267 95 อบูดาวูด (1160), อิบนุมาญะฮฺ (1313) อัล-หากิม 1/295 ด้วยสายรายงานที่อ่อน 96 อัล-อุมม์1/383, อัลมุฮัซซับ 1/387, อัลมุฆนีย์3/267 97 รายงานนดย อัช-ชาฟิอีย์ดังปรากฏในมัจญ์มูอฺ5/6 และอัน-นะวะวีย์กล่าวว่า เป็นรายงานที่ถูกต้อง 98 ดูเพิ่มเติมเกี่ยวกับทัศนะของอุละมาอฺว่าด้วยบัญญัติการละหมาดอีดที่สนาม ในภาคผนวกท้ายเล่ม


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 107 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา นัยหนึ่งก็คือ ไม่มีซุนนะฮฺให้อาซาน อิกอมะฮฺ หรือกล่าวค าใดๆ ก่อนการละหมาดอีด นดยทันทีที่อิมามน า ละหมาดมาถึงมะมูมก็จะลุกขึ้นยืนเป็นแถวเสร็จแล้วอิมามก็ยกมือขึ้นตักบีรฺเข้าละหมาดทันที ญาบิรฺอิบนุอับดุลลอฮฺอัล-อันศอรีย์กล่าวว่า "ไม่มีอะซาน (การร้องเรียก) ส าหรับละหมาดในวันอีดิล ฟิฏรฺขณะที่อิมามเดินออกมา และหลังจากที่อิมามออกมาแล้ว และไม่มีอิกอมะฮฺหรือค าร้องเรียกใดๆ ไม่มีการ ร้องเรียกในวันนั้นและไม่มีการอิกอมะฮฺ" อิบนุ อับบาส และญาบิรฺ เล่าว่า “ไม่เคยมีการอะซานในวันอีดิล-ฟิฏรฺและอีดิลอัฎฮา” 99 ญาบิรฺ บิน สะมุเราะฮฺ กล่าวว่า “ฉันได้ละหมาดอีดทั้งสองกับท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่ใช่เพียงครั้งหรือ สองครั้งนดยปราศจากการอะซานและอิกอมะฮฺ” 100 อัน-นะวะวีย์ กล่าวว่า "ตามเนื้อความแล้ว สิ่งนี้ค้านกับที่บรรดาสหาย(ในมัซฮับชาฟิอีย์)ของเราและ ท่านอื่นๆ ที่กล่าวว่า ส่งเสริมให้กล่าวค าว่า "อัศ-เศาะลาตะ ญามิอะฮฺ" เพราะนดยนัยแล้วจะหมายถึง ไม่มี การอะซาน อิกอมะฮฺและการร้องเรียกใดๆ ที่สื่อถึงสิ่งทั้งสองนี้" 101 อัศ-ศ็อนอานีย์กล่าวขยายความรายงานข้างต้นว่า "นี่เป็นหลักฐานหนึ่งที่ระบุว่าไม่มีบัญญัติให้มีการอะ ซานและอิกอมะฮฺในละหมาดอีด เพราะการกระท าทั้งสอง(ในวันอีด)เป็นสิ่งบิดอะฮฺ" 102 อิมาม มาลิกกล่าวว่า “นี่คือซุนนะฮฺที่ไม่เป็นที่ขัดแย้งกันในหมู่พวกเรา” 103 และอิบนุ กุดามะฮฺเล่าว่า นี่เป็นอิจญ์มาอฺ (มติเอกฉันท์) ของบรรดาอุละมาอฺอิสลามว่าไม่มีการร้อง เรียกใดๆสู่ละหมาดอีด104 9.6 คุฏบะฮฺในวันอีด 1. หุก่มและเวลาคุฏบะฮฺวันอีด ซุนนะฮฺให้อิมามน าละหมาดอ่านคุฏบะฮฺวันอีดหลังละหมาดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งกลับกันกับคุฏบะฮฺ วันศุกร์ที่จะเริ่มก่อนละหมาด อับดุลลอฮฺ อิบนุ อัส-สาอิบ เล่าว่า “ฉันได้ละหมาดอีดพร้อมกับท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม และหลังจากที่ท่านละหมาดเสร็จ ท่านก็กล่าวว่า “ฉันจะกล่าวคุฏบะฮฺดังนั้นผู้ใดที่จะนั่งฟังคุฏบะฮฺก็ จงนั่ง และผู้ใดที่ประสงค์จะไปก็จงไป” 105 อิบนุอุมัรฺ เล่าว่า "แท้จริงท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อบูบักรฺและอุมัรฺ จะละหมาดอีดทั้ง สองก่อนคุฏบะฮฺ" 106 อิบนุอับบาส เล่าว่า "ฉันได้ไปร่วมละหมาดอีดกับท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อบูบักรฺ, อุมัรฺ และอุษมาน ทุกคนล้วนละหมาดก่อนคุฏบะฮฺ" 107 2. จ านวนคุฏบะฮฺ ฟุเกาะฮาอฺส่วนใหญ่ระบุให้อ่านคุฏบะฮฺอีดสองคุฏบะฮฺนดยมีการนั่งพักชั่วครู่ระหว่างคุฏบะฮฺทั้งสอง เช่นเดียวกับคุฏบะฮฺญุมอัต108 นดยมีหลักฐานต่อไปนี้เป็นบรรทัดฐาน นั่นคือ หะดีษฺของญาบิรฺ ที่เล่าว่า “ท่านน 99อัล-บุคอรีย์(960), มุสลิม (886) 100 มุสลิม (887), อบูดาวูด (1148), อัต-ติรฺมิซีย์(532) 101 ชัรหุ เศาะฮีหฺ มุสลิม 6/416 102 สุบุลุส สลาม 2/67 103 อัล-อิสติซการฺของ อิบนุอับดิลบัรฺ7/10 104 อัล-มุฆนีย์3/267 105 อบูดาวูด (1155), อัน-นะสาอีย์(1571), อิบนุ มาญะฮฺ (1290), อัล-อิรวาอฺ (629) 106 อัล-บุคอรีย์(963), มุสลิม (888) 107 อัล-บุคอรีย์(962), มุสลิม (884,), อะหฺมัด 1/331,346


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 108 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา บีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ออก(ละหมาด) ในวันอีดิลฟิฏรฺหรืออีดิลอัฎฮา แล้วท่านก็ยืนอ่านคุฏบะฮฺ เสร็จ แล้วท่านก็ลงนั่งพักชั่วครู่ แล้วท่านก็ลุกขึ้นกล่าวต่อ” 109 แต่เป็นรายงานที่อ่อน วัลลอฮุอะอฺลัม ในขณะที่อุ ละมาอฺอีกหลายท่านได้อ้างลักษณะคุฏบะฮฺของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ “ปราศจากมินบัรฺ110 เสร็จแล้วท่านก็เดินไปหาเหล่าสตรีพร้อมกับกล่าวตักเตือนพวกนาง ด้วยการพิงบนมือของบิลาล” 111 ว่าเป็น ลักษณะของคุฏบะฮฺเดี่ยว ไม่ใช่สองคุฏบะฮฺ อิบนุอุษัยมีน กล่าวว่า “ถ้าผู้ใดสังเกตถึงซุนนะฮฺที่รายงานนดยอัล-บุคอรีย์และมุสลิมและท่านอื่นๆแล้ว ต้องเป็นที่ประจักษ์แก่เขาว่าแท้จริงแล้วท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมไม่ได้กล่าวคุฏบะฮฺนอกจาก คุฏบะฮฺเดียวเท่านั้น” 112 3. การกล่าวตักบีรฺในคุฏบะฮฺ เคาะฏีบจะเริ่มคุตบะฮฺอีดด้วยการกล่าวตักบีรฺ “อัลลอฮุอักบัรฺ” จ านวนเก้าครั้งติดต่อกันในคุฏบะฮฺ แรก และ เจ็ดครั้งติดต่อกันในคุฏบะฮฺที่สอง นดยยึดหลักฐานที่รายงานมาจากค าพูดของอุบัยดิลลาฮฺ อิบนุอับ ดุลลอฮฺ อิยนุอุตบะฮฺ ว่า “ซุนนะฮฺให้กล่าวตักบีรฺบนมินบัรฺในวันอีด นดยเริ่มกล่าวตักบีรฺจ านวนเก้าครั้งก่อนที่ จะเริ่มกล่าวคุฏบะฮฺในคุฏบะฮฺแรก และเจ็ดครั้งก่อนกล่าวคุฏบะฮฺในคุฏบะฮฺที่สอง” 113 ข้อสังเกตคือ ท่านอุบัยดิลลาฮฺเป็นตาบิอีน (หลังสมัยเศาะหาบะฮฺ) เราจึงไม่สามารถน าค าพูดหรือค า วินิจฉัยของท่านมาเป็นบรรทัดฐานได้อีกทั้งรายงานที่พาดพิงถึงท่านก็เป็นรายงานที่อ่อนมาก ด้วยเหตุนี้อุละมาอฺบางท่านจึงเห็นว่าไม่ควรถือว่าการกระท าดังกล่าวเป็นซุนนะฮฺ เพราะนั่นเป็นเพียง การอิจญ์ติฮาดหรือวินิจฉัยส่วนตัวของอุบัยดิลลาฮฺ อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า "นอกเหนือจากสายรายงานที่อ่อนแล้ว ตามทัศนะที่ถูกต้อง ค าพูดของตาบิอีน ที่ว่า "เป็นซุนนะฮฺอย่างหนึ่ง" ไม่สามารถน ามาเป็นหลักฐานอ้างอิงได้" 114 อัช-เชากานีย์กล่าวว่า "อุบัยดิลลาฮฺ บิน อับดุลลอฮฺ เป็นตาบิอีนดังที่ท่านได้ทราบแล้ว ดังนั้นค าพูด ของเขาที่ว่า "เป็นซุนนะฮฺอย่างหนึ่ง" จึงไม่สามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างว่าเป็นซุนนะฮฺของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุ- อะลัยฮิวะสัลลัม ได้ดังที่มีระบุในอุศูลุลฟิกฮฺ" 115 เช่นเดียวกับการกล่าวตักบีรฺซ้ าๆ ในช่วงระหว่างการอ่านคุฏบะฮฺซึ่งมีรายงานที่อ่อนระบุว่า “นบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จะกล่าวตักบีรฺในช่วงระหว่างคุฏบะฮฺ และจะกล่าวตักบีรฺเป็นจ านวนมากใน คุฏบะฮฺอีดทั้งสอง” 116 9.7 ละหมาดสุนัตก่อนและหลังละหมาดอีด อิบนุ อับบาส เล่าว่า “ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ออกไปละหมาดอีดิลฟิฏรฺ ท่านได้ ละหมาดจ านวนสองร็อกอัต นดยไม่ได้ละหมาด(สุนัต)ก่อนหน้านั้นและหลังจากนั้นเลย” 117 108 ดูบะดาอิอฺอัศ-เศาะนาอิอฺ1/276, อัล-มุเดาวะนะฮฺ1/231, อัล-อุมม์1/272, อัล-มุฆนีย์2/121 109 อิบนุ มาญะฮฺ (1289) 110 มุสลิม (2050) (134) อับดุลร็อซซาก (5672), อัล-อุมม์1/397, อิบนุอบีชัยบะฮฺ2/190, อัล-บัยฮะกีย์3/299 111 อัล-บุคอรีย์(987), มุสลิม (885) 112 อะหฺมัด 1/37, อัน-นะสาอีย์3/183, อิบนุคุซัยมะฮฺ (1425), อัล-อิรวาอฺ (638) 113 อับดุลร็อซซาก (5672), อัล-อุมม์1/397, อิบนุอบีชัยบะฮฺ2/190, อัล-บัยฮะกีย์3/299 114 อัล-มัจญ์มูอฺ5/27 115 นัยลุลฺ เอาฏอรฺ3/323 116 อิบนุ มาญะฮฺ (1287) ด้วยสายรายงานที่อ่อน 117 อัล-บุคอรีย์(989), มุสลิม (884)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 109 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า "ในหะดีษฺข้างต้นบ่งบอกว่า ไม่มีละหมาดสุนัตส าหรับละหมาดอีดทั้งก่อนและ หลังละหมาด และอิมาม มาลิก ได้อ้างหะดีษฺนี้เป็นหลักฐานในทัศนะของท่านที่ว่า "มักรูฮฺ (ไม่ส่งเสริม) ให้ ละหมาดสุนัตทั้งก่อนและหลังละหมาดอีด" 118 อิบนุ หะญัรฺ กล่าวว่า “สรุปแล้ว ไม่มีซุนนะฮฺให้ละหมาดสุนัตก่อนและหลังในวันละหมาดอีด ซึ่งค้าน กับการปฏิบัติของบรรดาผู้ที่เทียบเคียงหรือกิยาสละหมาดอีดกับละหมาดญุมอัต ส่วนละหมาดสุนัตมุฏลักนั้นไม่ พบว่ามีหลักฐานเฉพาะที่ห้ามไม่ให้ปฏิบัติ นอกจากช่วงเวลาที่กะรอฮะฮฺ(ช่วงเวลาห้ามหรือไม่ส่งเสริมให้ ละหมาด)”119 9.8 ขั้นตอนและรูปแบบการละหมาดอีด 1. ให้น าหอก หรือไม้มาปักไว้ข้างหน้าอิมามละหมาด ส าหรับเป็นหลักสุตเราะฮฺ120 2. อิมามเข้าประจ าที่ พร้อมกับส ารวจความพร้อมของมะมูมพร้อมกับจัดแถวพวกสตรีให้อยู่ หลังสุดของแถวบุรุษ121 3. อิมามเริ่มตักบีเราะตุลอิหฺรอม พร้อมกับตั้งเจตนา(เนียต) ละหมาดอีดิลฟิฏรฺหรืออีดิลอัฎฮา 2 ร็อกอัต เพื่ออัลลอฮฺ122 แล้วมะมูมก็ตักบีรฺตาม 4. อิมามและมะมูม อ่านดุอาอฺอิฟติตาหฺ เหมือนกับการละหมาดทั่วๆ ไป123 5. กล่าวตักบีรฺอัซ-ซะวาอิด(อัลลอฮุอักบัรฺ) 124 จ านวน 7 ครั้งในร็อกอัตแรก (พร้อมกับยกมือ ทั้งสองขึ้น) 125 (ไม่รวมตักบีเราะตุลอิหฺรอมและตักบีรฺรุกูอฺ) และอ่าน َو ََل ُ َحْمُد ِهلل ، ْ َوال َن هللا ، َحا ب ْ س ِ ََل ا َ ِ ا َ ُهللا َُّل هللا ، و َ أ كَْب ْ “ซุบฮานัลลอฮฺ , วัลฮัมดุลิลลาฮฺ , ว่าลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ , วัลลอฮุอักบัร” 126 จ านวน 6 ครั้งระหว่างตักบีรฺทั้งเจ็ด (หรือจะกล่าวส านวนตักบีรฺ ตะหฺลีล ตัสบีหฺ และตะหฺมีด127 แบบ ใดก็ได้ในระหว่างตักบีรฺจ านวน 6 ครั้ง) 7. อิมามอ่านสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ128 ด้วยเสียงดังเหมือนกับละหมาดญุมอัต เสร็จแล้วมะมูมก็อ่าน ตาม 8. หลังจากนั้นอิมามจะเลือกอ่านสูเราะฮฺ (ก๊อฟ) 129 หรือ (อัล-อะอฺลา) (ىَل ْ ِّ َك اْْلَع ب َ ر َ م ْ ِّ ِح اس ب َ ็ก) س ได้130 ส่วนมะมูมก็ยืนฟัง 118 ชัรหุ เศาะฮีหฺ มุสลิม 6/421 119 ฟัตหุลบารีย์2/552 120 อัล-บุคอรีย์(972), มุสลิม (501) 121 อัล-บุคอรีย์(971), มุสลิม (890) 122 อะหฺมัด 1/37, อัน-นะสาอีย์3/183, อัล-บัยฮะกีย์3/200 123 อัล-อุมม์1/236, อัร-เราเฎาะฮฺ1/578 124 ตักบีรฺอัซ-ซะวาอิดเป็นเพียงสุนัตให้ปฏิบัติมิใช่วาญิบ ดังนั้นหากเกิดผิดพลาด และหลงลืมก็จะไม่ท าให้เสียละหมาด (อัล-มุฆนีย์3/275) 125 อัล-บัยฮะกีย์3/293 จากการปฏิบัติของอุมัรฺและ 3/292-293 จากการปฏิบัติของอิบนุอุมัรฺด้วยสายรายงานที่อ่อน และอัล-บัยฮะกีย์กล่าวว่า "อิมาม อัช-ชาฟิอีย์ได้ใช้หลักฐานการเทียบเคียง(กิยาส) กับหลักฐานการยกมือตักบีรฺในตักบีเราะตุลอิหฺรอม ตักบีรฺขณะจะก้มลงรุกูอฺและตักบีรฺขณะ ลุกขึ้นจากรุกูอฺ" (มะอฺริฟะตุส สุนัน วัล-อาษาร 3/42 และดูอัล-อุมม์1/237) 126 เนื่องจากไม่มีรายงานจากท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เกี่ยวกับส านวนของดุอาอฺในช่วงระหว่างตักบีรฺอัซ-ซะวาอิด ดังนั้นอุละมาอฺจึง ได้เสนอค าอ่านต่างๆและนี่คือส่วนหนึ่งของค าอ่านเหล่านั้น (ดูอัร-เราเฎาะฮฺ1/578) 127 อัล-บัยฮะกีย์3/291, อัล-อิรวาอฺ3/114-115 128 อัล-บุคอรีย์(756), มุสลิม (394,395) 129 มุสลิม (891), อัน-นะสาอีย์(8413) 130 มุสลิม (878), อัต-ติรฺมิซีย์(533)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 110 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 9. หลังจากนั้น อิริยาบทของอิมามและมะมูมให้ปฎิบัติเหมือนกับการละหมาดทั่วๆ ไป131 จนเสร็จ ร็อกอัตแรก 10. หลังจากลุกขึ้นจากร็อกอัตแรกและยืนตรงแล้ว อิมามเริ่มยกมือและกล่าวตักบีรฺซะวาอิด (อัลลอฮุ อักบัรฺ) จ านวน 5 ครั้ง (นดยไม่รวมตักบีรฺขณะลุกขึ้นจากร็อกอัตแรกและตักบีรฺก่อนรุกูอฺ) และมะมูมก็ปฏิบัติ ตามอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับอ่าน َو ََل ُ َحْمُد ِهلل ، ْ َوال َن هللا ، َحا ب ْ س ِ ََل ا َ ِ َُّل ا كَْب َ ْ أ هللا ، و ُهللا َ จ านวน 4 ครั้งระหว่างตักบีรฺทั้งห้า 11. อิมามอ่านสูเราะฮฺอัล-ฟาติหะฮฺ ด้วยเสียงดังเหมือนกับละหมาดญุมอัต เสร็จแล้วมะมูมก็อ่านตาม 12. หลังจากนั้นอิมามจะอ่านสูเราะฮฺ "อัล-ฆอชิยะฮฺ" (ถ้าอิมามอ่านสุเราะฮฺ "อัล-อะอฺลา" ในร็อกอัต แรก) หรือ สูเราะฮฺ "อัล-เกาะมัรฺ"(ถ้าอิมามอ่านสุเราะฮฺ "ก๊อฟ" ในร็อกอัตแรก) ส่วนมะมูมก็ยืนฟัง 13.หลังจากนั้น ทุกอิริยาบทของอิมามและมะมูมให้ปฎิบัติเหมือนกับการละหมาดทั่วๆ ไปจนเสร็จจาก ร็อกอัตที่สอง 14. อิมามให้สลามขวาและซ้าย และตามด้วยมะมูม 15. อิมามลุกขึ้นให้คุฏบะฮฺอีด132 บนพื้นนดยปราศจากมินบัรฺ133 และอนุญาตให้ถือไม้เท้า134 หรือพิงยัง สิ่งใดสิ่งหนึ่งก็ได้และมะมูมควรนั่งฟังอย่างสงบ หรือจะลุกออกไปก็เป็นการอนุญาต135 10. กล่าวอวยพรให้แก่กัน ญุบัยรฺ อิบนุ นุฟัยรฺ กล่าวว่า “ทุกครั้งที่บรรดาเศาะหาบะฮฺของท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม มาเจอกันในวันอีด พวกเขาจะกล่าวให้แก่กันว่า تَقَ ب َل ُهللا َّ ِ َ منَّ ا و منْ َك ِ “ตะก็อบบะลัลลอฮุ มินนา วะมินกะ” (ขออัลลอฮฺทรงรับทั้งจากเราและจากท่าน) 136 มุหัมมัด อิบนุ ซิยาด อัล-อัลฮานีย์ กล่าวว่า “ครั้งหนึ่งฉันเคยอยู่ร่วมกับอบู อุมามะฮฺ อัล-บาฮิลีย์ และเศาะหาบะฮฺนบีท่านอื่นๆ และเมื่อพวกเขาเดินทางกลับ(จากละหมาดอีด) พวกเขาจะกล่าวให้แก่กันว่า “ตะก็อบบะลัลลอฮุ มินนา วะมินกะ” 137 11. บริจาคทาน วันนี้ส่งเสริมให้มีการบริจาคทานให้มากๆ นดยเฉพาะบรรดาสตรีเพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ก าชับพวกนางเป็นการเฉพาะและเรียกร้องให้พวกนางช่วยกันบริจาคทานคนละเล็กคนละน้อยเพื่อ เป็นการปกป้องพวกนางจากไฟนรก138 131 อัล-อุมม์1/396 132 (153) อัล-บุคอรีย์(962,963), มุสลิม (884,888) 133 มุสลิม (2050) 134 อบูดาวูด (1145) 135 อบูดาวูด (1155), อัน-นะสาอีย์3/185, อิบนุ มาญะฮฺ (1290) 136 ฟัตหุลบารีย์2/517 อิบนุหะญัรฺกล่าวว่า “เราได้รายงานในอัล-มุหามิลิยฺยาต ด้วยสายรายงานที่หะสัน” 137 อัล-มุฆนีย์2/259, อัล-เญาฮะรุนนะกีย์3/320 และอิบนุอัต-ตัรกะมานีย์ระบุว่า “อิมามอะหฺมัดกล่าวว่า เป็นสายรายงานที่ดี” วัลลอฮุอะอฺลัม 138 อัล-บุคอรีย์(978), มุสลิม (885)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 111 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 12. จัดงานฉลองและการละเล่นวันอีด ก. ในเมื่อวันนี้เป็นวันแห่งความสุขของเราชาวมุสลิม ดังนั้น เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความสุขดังกล่าว ให้ผู้คนได้เห็น ได้สัมผัส จึงส่งเสริมให้มีการจัดเลี้ยงอาหารกันเท่าที่มีความสามารถ อิบนุ ตัยมิยฺยะฮฺกล่าวว่า “การรวมคนเพื่อร่วมรับประทานอาหารในวันอีดทั้งสองและวันตัชฺรีก ถือว่าเป็นซุนนะฮฺอย่างหนึ่ง และมันเป็น สัญลักษณ์หนึ่งของอิสลามที่ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ปฏิบัติมาตลอด” 139 ข. ส่งเสริมให้มีการจัดการละเล่นให้กับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมบนเวทีหรือกิจกรรมภาคสนาม เพื่อ เป็นการเติมเต็มความสุขให้ทั่วถึงกันในวันนี้ท่านหญิง อาอิชะฮฺ เล่าว่า “ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้เข้ามาหาฉัน ขณะนั้นฉันมีเด็กๆก าลังร้องเพลงอยู่ ดังนั้นท่านจึงเอนกายลงนอนตะแคงบนที่นอนพร้อมกับ ผินหน้าไปทางอื่น หลังจากนั้นอบูบักรฺ ก็เข้ามาและเตือนฉันว่า “ปี่ของชัยฏอนมาเล่น(ในบ้านของ)นบีหรือ?” นบีจึงหันมากล่าวแก่ อบูบักรฺว่า “ให้พวกเขาเล่นไปเถิด เพราะทุกๆประชาชาติจะมีวันอีด และวันนี้เป็นวันอี ดของเรา” และหลังจากที่ท่านเผลอฉันก็ให้เด็กทั้งสองรีบออกไป” 140 ท่านหญิง อาอิชะฮฺยังเล่าอีกว่า “มีทาสชาวหะบะชี(เอธินอเปีย)มาร่ายร าบริเวณมัสญิดในวันอีด ท่านน บีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม จึงชวนฉันไปดูฉันได้พาดหัวของฉันลงบนไหล่ของท่าน(และท่านได้ปกปิดฉัน ด้วยผ้าสไบของท่านและฉันก็ชมการละเล่นดังกล่าว)”141 อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า "หะดีษฺนี้ได้สาธยายถึงบุคลิกความเป็นมีจิตเมตตา เอ็นดูกรุณา และการสังคมที่ ดีของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุ-อะลัยฮิวะสัลลัม ที่มีต่อครอบครัว ภริยา และคนอื่นๆ" 142 อิบนุ หะญัรฺกล่าวเสริมว่า “ในหะดีษฺข้างต้นส่งเสริมให้มีการเปิดกว้างแก่ครอบครัวในวันอีดด้วยสิ่ง ต่างๆที่ท าให้พวกเขารู้สึกพอใจ และผ่อนคลายจากความเหน็ดเหนื่อยของอิบาดะฮฺ...และการประกาศความ รื่นเริงสุขสันต์ในวันอีดเป็นเอกลักษณ์ของอิสลามอย่างหนึ่ง143 ข้อชี้แจงบางประการเกี่ยวกับละหมาดอีด ตักบีรฺอัซ-ซะวาอิดเป็นเพียงสุนัตมิใช่วาญิบ ดังนั้นหากไม่ได้ปฏิบัติไม่ว่าจะด้วยความหลงลืมหรือ เจตนาก็ตาม ก็ไม่ท าให้ละหมาดอีดเป็นนมฆะหรือเสียหาย144 หากลืมตักบีรฺอัซ-ซะวาอิดและนึกขึ้นได้ขณะที่ก าลังอ่านอัล-ฟาติหะฮฺหรือหลังจากนั้น ตามทัศนะ ที่มีน้ าหนักกว่าถือว่าไม่จ าเป็นต้องกลับไปท าตักบีรฺ อัซ-ซะวาอิด อีก145 หากมะมูมเข้าละหมาดอีด(ตักบีเราะตุลอิหฺรอม) ขณะที่อิมามก าลังก้มรุกูอฺ ก็ให้เขาก้มลงรุกูอฺ ตามอิมามทันทีนดยไม่จ าเป็นต้องอ่านฟาติหะฮฺและกล่าวตักบีรฺ อัซ-ซะวาอิดให้เสร็จเสียก่อน146 หากมะมูมเริ่มเข้าละหมาดอีดในร็อกอัตที่สอง ก็ให้กล่าวตักบีรฺอัซ-ซะวาอิดตามจ านวน 5 ตักบีรฺ ตามจ านวนการตักบีรฺในร็อกอัตที่สองของอิมาม และในร็อกอัตที่สองของเขา(หลังจากที่เขาลุกขึ้นยืนเมื่ออิมาม ให้สลามแล้ว)ก็ให้กล่าวตักบีรฺอัซ-ซะวาอีดจ านวน 5 ครั้งเช่นเดียวกัน147 139 มัจญ์มูอฺอัล-ฟะตาวีย์25/298 140 อัล-บุคอรีย์(949), มุสลิม (892 141 อัล-บุคอรีย์(443,949), มุสลิม (892) 142 ชัรหุ เศาะฮีหฺ มุสลิม 6/424 143 ฟัตหุลบารีย์2/514 144 อัล-อุมม์1/236, อัล-มุฆนีย์3/275 145 อัล-อุมม์1/236, อัล-มุจญ์มูอฺ5/18,21, เราเฎาะฮฺ1/580, อัล-มุฆนีย์3/175 146 เราเฎาะฮฺ1/580 147 เราเฎาะฮฺ1/580


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 112 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การจัดการศพ บทบัญญัติชะรีอะฮฺหรือกฎหมายอิสลามนั้นมีความสมบูรณ์พร้อม ครอบคลุมทุกมิติ ทุกอณูใน ชีวิตประจ าวันของมนุษย์ และมีการค านึงถึงผลประนยชน์ของตัวมนุษย์เองหลังจากที่ได้ตายจากไป และนี่คือ เอกสารฉบับหนึ่งที่ผู้เขียนพยายามรวบรวมและน าเสนอบทบัญญัติของอัลลอฮฺที่เกี่ยวกับการจัดการศพมุสลิม ด้วยการอธิบายที่ง่าย ชัดเจนและมีรูปภาพสาธิตให้เห็นเป็นตัวอย่าง นดยเริ่มจากขั้นตอนแรกขณะที่มุสลิมถึง แก่ความตายไปจนถึงการฝังศพในกุนบรฺ การเตรียมพร้อมที่จะประสพกับความตาย มุสลิมควรที่จะเตรียมความพร้อมที่จะพบกับความตายอยู่เสมอ ทั้งนี้ด้วยการสร้างและสะสมความดีให้ มากๆ และพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นข้อห้ามต่างๆ ในอิสลาม และพยายามไตร่ตรองนึกถึงความตายอยู่ ตลอดเวลา ดังที่ท่านนบีกล่าวไว้ว่า » ُِثوا كْ َ أ َ كْر ِ ذِ م ِت َهاذِ ا ال « ] ََّّلَّ َ َر ُه التمذي برمق 1119 ،وْصحه ا نْللباّن ِف ا َلرواء برمق 861] وا ความว่า “ท่านทั้งหลาย จงนึกถึงความตายให้มากๆ” (รายงานนดย อัต-ติรมิซียฺ หมายเลข 2229 ท่านอัล-อัล บานียฺกล่าวในอัล-อิรวาอ์ (682) ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) สิ่งที่มุสลิมควรปฏิบัติขณะใกล้ตาย อาก ารใกล้ต ายก็คือ ปรากฏเครื่องหม ายความตายที่ตัวผู้ป่วยเริ่มมีอากา รทุรนทุกราย 1. เมื่อผู้ป่วยตกอยู่ในอาการใกล้ตาย สุนัตแก่ญาติสนิทของผู้ป่วยจับเขานอนตะแคงทับสีข้างขวาและ หันหน้าไปทางกิบละฮฺ ถ้าหากล าบากก็ให้นอนหงายและยกศรีษะสูงขึ้นเล็กน้อยเพื่อให้ใบหน้าหันไปสู่กิบละฮฺ และฝ่าเท้าทั้งสองข้างก็สุนัตให้หันไปทางกิบละฮฺเช่นเดียวกัน 2. สุนัตให้สอนกะลิมะฮฺชะฮาดะฮฺคือประโยคที่ว่า “ลาอิลาฮะอิ้ลลั่ลลอฮฺ” เบา ๆ โดยไม่เร่งเร้า และ สุนัตให้กล่าวซ้ าหลาย ๆ ครั้งที่หูผู้ป่วย เพราะมีหะดีษมุสลิม) 916, 917) ระบุไว้ว่า ُهللا)) َلَّ ِ ََل ا ِ ْوََتُكُْ : ََل ا َم قِدنُوا َ ((ل “ท่านทั้งหลายจงสอนคนใกล้ตายของพวกท่านด้วยค าว่า ลาอิลาฮ่า อิ ลลั่ลลอฮฺ” 3. สุนัตให้อ่านซูเราะฮฺยาซีนที่คนใกล้ตาย เพราะมีหะดีษระบุว่า ْوََتُكُْ يس (( رواه نأبو ِاوِ : 3212 ، وابن حبان : 017 ، وْصحه ََل َم أوا عَ ُ َ ْقر ِ )) ا “ท่านทั้งหลายจงอ่านซูเราะฮฺยาซีนที่คนใกล้ตายของพวกท่าน” รายงานโดย อบู ดาวุด ) 3121) และอิบนุฮิบบาน) 720) ว่าเป็นหะดีษเศาะเฮี๊ยะห์ 4. สุนัตให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าความตายและอาการทุรนทุรายได้เกิดกับเขาแล้ว และตั้งเจตนาที่ดีต่ออัลลอฮฺ ตะอาลา ให้เขาทิ้งภาพบาปและความชั่วต่าง ๆ ของเขาไว้ข้างหลัง ให้วาดภาพว่าเขาก าลังมุ่งสู่อัลลอฮฺตะอาลา ผู้ทรงกรุณาและพระองค์ได้อภัยบาปต่าง ๆ ให้แก่เขาหมดสิ้นแล้วตราบที่เขายังคงอยู่ในสภาพผู้มีศรัทธาต่อ พระองค์เพราะมีหะดีษเศาะเฮี๊ยะห์ระบุว่า ِدي ِب(( رواه البخاري 8907 ،ومسَل : 1801 ْ ((َأََن ِعْنَد َظِدن َعب “เรา ) หมายถึงอัลลอฮฺ (จะเป็นไปตามที่บ่าวของเราคาดหมายต่อเรา” บันทึกโดยบุคอรี ) 6970) และมุสลิม) 2675)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 113 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ข้อควรปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยหมดลมสิ้นใจ เมื่อผู้ป่วยหมดลม ) หยุดหายใจ (แน่นอนแล้ว สุหนัตให้กล่าวอิสติรญาอฺ ( الاستجاع ( คือกล่าว ประนยคหรือวรรคหนึ่งจากอัลกุรอาน ในบทอัลบะกอเราะฮ์ ََّن ِ ا ِ ََّن َِّللَّ ِ ا َ و ْهِ ي َ ل ِ ا ِجُعوَن ا َ ر อินนา ลิลลาฮิ วะอินนา อิลัยฮิรอญิอูน “ แน่แท้เราเป็นกรรมสิทธิ์ของอัลลอฮฺ และแน่นอนเราต้องกลับสู่พระองค์ “ บทอัลบะกอเราะฮ์ นองการที่ 156 สิ่งที่ควรปฏิบัติแก่มุสลิมภายหลังเสียชีวิต เมื่อก าหนดความตายมาถึงมุสลิมคนหนึ่ง มารยาทที่มุสลิมคนอื่นจะต้องปฏิบัติมีหลายประการ ดังต่อไปนี้ 1- ช่วยปิดเปลือกตาผู้ตายให้หลับตาลง ทั้งนี้ เนื่องจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ปิด เปลือกตาทั้งสองของอบู สะละมะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ หลังจากที่เขาได้ตายไป พร้อมๆ กับการกล่าวว่า » َّن ِ وَح ا ُّ َذ الر ا ِ ُه ا ِب َض َع قُ تَِب َُصُ َ ب ْ ال « ]رواه مسَل برمق 1289] ความว่า “แท้จริงวิญญาณนั้น เมื่อถูกถอดออกจากร่างแล้ว สิ่งที่มองตามหลังไปก็คือสายตา” (บันทึก นดยมุสลิม 2169) 2- ช่วยยืดเส้นสายและข้อต่อต่างๆ บนร่างกายผู้ตายให้เข้าที่ เพื่อมิให้แข็งงอ และหาของที่มี น้ าหนักพอควรวางตั้งบนหน้าท้องของผู้ตายเพื่อมิให้ท้องพองขึ้นมา 3- ช่วยเอาผ้ามาคลุมปกปิดร่างกายของผู้ตายทั่วทั้งร่าง ทั้งนี้ มีรายงานจากท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า “แท้จริงเมื่อครั้งที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตายจากไปนั้น ร่างของท่านได้ ถูกปิดด้วยผ้าลายชิ้นใหญ่ชนิดหนึ่ง” (อัล-บุคอรียฺ 5814) 4- รีบด าเนินการและจัดการกับศพ ตลอดจนการละหมาด และฝังศพของผู้ตาย ให้รวดเร็ว ดังที่ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวไว้ว่า أ ْ ِْسُعوا َ « َاَزةِ ِجن ْ ِِبل « ]البخاري برمق 2321 ،مسَل برمق 1119] ความว่า “ท่านทั้งหลายจงรีบจัดการกับศพให้รวดเร็ว” (อัล-บุคอรียฺ 1315, มุสลิม 2229) 5- ควรฝังศพในเมืองที่ผู้ตายเสียชีวิต เพราะในเหตุการณ์สงครามอุหุดท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้สั่งไว้ให้ฝังผู้ตายในสมรภูมิ ณ ที่ที่เขาตาย นดยไม่ให้ย้าย (รายงานนดยอัศหาบุศสุนัน ท่านอัล-อัล บานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ (น 51) ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) การอาบน้ าญะนาซะฮฺ การอาบน้ าให้ศพ การห่อศพ การละหมาดญะนาซะฮฺและการฝังศพ ถือเป็นฟัรฎฏ กิฟายะฮฺ ซึ่งหากมี กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งจากชาวมุสลิมได้ท าหน้าที่แล้ว กลุ่มอื่นๆ ก็จะพ้นจากบาปไปด้วย แต่หากทุกคนละเลยไม่มีใคร กระท า ก็จะรับบาปกันทุกคน ถ้าผู้ตายเป็นผู้ชาย ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ าให้กับศพมากที่สุดก็คือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเองให้ เป็นผู้อาบน้ าให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ าควรเป็นญาติสนิท เช่น บิดาของผู้ตายเพราะเป็นผู้ที่มี ความผูกพันกับผู้ตายมากที่สุดและมีประสบการณ์หรือมีความรู้ความช านาญเกี่ยวกับการจัดการศพมากกว่าลูก รองลงมาก็คือลูกชาย และล าดับต่อมาก็คือญาติผู้ใกล้ชิดตามล าดับความใกล้ชิด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 114 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ถ้าผู้ตายเป็นหญิง ผู้ที่ควรเป็นผู้อาบน้ าให้กับศพผู้ตายมากที่สุดคือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตายเอง (ในหมู่ผู้หญิงด้วยกัน)ให้เป็นผู้อาบน้ าให้ หากไม่มีการสั่งเสียจากผู้ตาย ผู้อาบน้ าควรเป็นญาติสนิท เช่น มารดา ของผู้ตาย รองลงมาก็คือลูกสาว ล าดับต่อมาก็คือญาติผู้หญิงที่ใกล้ชิดตามล าดับ ส าหรับสามีนั้นอนุญาตให้เป็นผู้อาบน้ าญะนาซะฮฺภรรยาได้ ดังในหะดีษที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม กล่าวต่อท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า َّضِك ْو »َما َ َ دِت ل ْ م ِِل ِ ُت ِك قَب ْ فَغَ ...« ]حديث ْصيح رواه نأِحد ، ينظر َترُيه ِف رساةل الغسل والَفن للش يخ َّسل مصطفى العدوي بصفحِ 98] ความว่า “จะเป็นการสร้างความเดือดร้อนต่อเธอไหม หากเธอตายก่อนฉัน และฉันจะเป็นผู้อาบน้ าญะ นาซะฮฺให้แก่เธอ…” (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺรายงานนดยอะหฺมัด นปรดดูรายละเอียดในหนังสือ(อัล-ฆ็อสลุ วัลกัฟนุ) ของมุศเฏาะฟา อัล-อะดะวียฺ) ส าหรับภรรยาก็เช่นกัน อนุญาตให้เป็นผู้อาบน้ าญะนาซะฮฺสามีได้ ทั้งนี้เนื่องจากมีรายงานว่าท่านอบู บักรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ได้สั่งเสียให้ภรรยาของท่านให้เป็นผู้อาบน้ าญะนาซะฮฺ (บันทึกนดย อับดุรร็อซซาก ใน อัล-มุศ็อนนัฟ 6117) ส าหรับศพผู้ตายที่มีอายุไม่เกินเจ็ดปีนั้น ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง ผู้อาบน้ าอาจเป็นหญิงหรือชายก็ ได้ เพราะอวัยวะร่างกายของผู้ตายในวัยนี้ยังไม่ถือว่าเป็นเอาเราะฮฺ หากว่าผู้ตายเป็นชาย ตายในหมู่ผู้หญิงไม่มีผู้ชายจะช่วยอาบน้ าให้ หรือผู้ตายเป็นหญิง ตายในหมู่ ผู้ชายไม่มีผู้หญิงจะช่วยอาบน้ าให้ ก็ไม่จ าเป็นต้องอาบน้ า แต่ให้ท าตะยัมมุมแทน นดยให้คนหนึ่งคนใดที่อยู่ใน กลุ่มตบมือทั้งสองลงบนดิน แล้วน าไปลูบใบหน้าและมือทั้งสองของผู้ตาย ห้ามมิให้ท าการอาบน้ าญะนาซะฮฺหรือฝังให้กับผู้ตายที่มิใช่มุสลิม เนื่องจากอัลลอฮฺกล่าวไว้ว่า َص ِدل َح د َّۡنُم ََلٰ ﴿ َوََل تُ أ َ عَ د دم َّما َت ا﴾ ِ َ أب ]التوبِ: ٤٨] َ ความว่า “และท่านอย่าได้ละหมาดให้กับผู้ใดผู้หนึ่งที่ตายไปในหมู่พวกเขาตลอดชั่วนิรันดร” (สูเราะฮฺ อัต-เตาบะฮฺ 84) ถ้าหากว่าการละหมาดให้ศพถูกห้ามแล้วละก็ การจัดการในส่วนอื่นๆ ซึ่งถือว่าเป็นแค่องค์ประกอบ ย่อยที่ส าคัญน้อยกว่าก็ย่อมถูกห้ามด้วยเช่นกัน ในขณะที่อาบน้ าให้ผู้ตายควรปกปิดส่วนที่เป็นเอาราะฮฺของผู้ตาย จากนั้นให้ถอดเสื้อผ้าของผู้ตายออก ให้หมด และให้อาบน้ าในที่ปกปิดลับตาคน เพราะบางครั้งอาจมีสิ่งที่ไม่ชอบให้คนอื่นเห็นจากผู้ตาย (ดังใน รูปภาพที่ 1)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 115 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา จากนั้นให้ยกส่วนบนของร่างผู้ตายขึ้นมาให้เกือบอยู่ในท่านั่งแล้วกดท้องน้อยเพื่อรีดอุจจาระหรือสิ่ง สกปรกออก นดยรดน้ าพร้อมๆ ไปด้วยให้มากๆ เพื่อให้สิ่งที่ออกมานั้นชะล้างไปพร้อมกับน้ า (ดังในรูปภาพที่ 2) แล้วให้ผู้อาบน้ าท าความสะอาดล้างทวารทั้งสองของผู้ตายนดยใช้ผ้าพันที่มือหรือใช้ถุงมือถูจนสะอาด ทั้งนี้ ผู้อาบน้ าให้ต้องไม่มองอวัยวะเพศและทวารของผู้ตาย (ดังในรูปภาพที่ 3) หลังจากนั้น ให้อาบน้ าศพด้วยการเริ่มอ่านบิสมิลละฮฺ และอาบน้ าละหมาดให้แก่ผู้ตายก่อน ดังที่ท่านน บี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวแก่ผู้อาบน้ าญะนาซะฮฺของลูกสาวของท่านที่ชื่อซัยนับไว้ว่า مَِّنَا ِ َن ا أ ْ ْ َد َ »اب ي َ ِبم ِ ِضع ا َ َ َمو ء ُ و ُضوِ و ْ َّْنَ ال ا م « ]البخاري برمق 280 ،ومسَل برمق 1126ِ ] ความว่า “ ท่านทั้งหลายจงเริ่มด้วยด้านขวาเบื้องหน้าของศพและอวัยวะต่างๆ ที่ใช้อาบน้ าละหมาด” (อัล-บุคอรียฺ 167, มุสลิม 2218) แต่ไม่จ าเป็นต้องใส่น้ าเข้าไปในจมูกและปากของผู้ตาย ทั้งนี้ ผู้อาบน้ าเพียงใช้นิ้วที่พันผ้าหรือแปรง นุ่มๆ สอดเข้าไปในช่องปากแล้วท าความสะอาดฟันและรูจมูกของผู้ตาย หลังจากนั้น ควรใช้ฟองจากน้ าใบ พุทราสระผมหรือเคราให้แก่ผู้ตาย(ดังในรูปภาพที่ 4-5) ส่วนน้ าพุทราที่เหลือนั้นให้ใช้รดอาบศพของผู้ตายทั้ง ร่าง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 116 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา แล้วรดน้ าด้านขวาเบื้องหน้าของศพ(ดังในรูปภาพที่ 6) และรดน้ าด้านขวาข้างหลังศพ(ดังในรูปภาพที่ 7)แล้วต่อไปด้านซ้ายให้ท าเช่นเดียวกับด้านขวา เนื่องจากในตัวบทหะดีษที่กล่าวมาแล้วที่มีความว่า “ท่าน ทั้งหลายจงเริ่มด้วยด้านขวาเบื้องหน้าของศพ” จากนั้นให้รดต่อไปจนทั่ว แล้วอาบซ้ ากันถึงสามครั้ง เนื่องจากในตัวบทหะดีษที่กล่าวเพิ่มเติมว่า هَل » اث هَنها ثه ْ ا « ]البخاري 2113ْ ]غِسل ความว่า “ท่านทั้งหลายจงอาบน้ าให้แก่ศพสามครั้ง” (อัล-บุคอรียฺ 1253) และเมื่ออาบเสร็จแต่ละครั้งให้ผู้อาบเอามือนวดหน้าท้องศพเบาๆ เพื่อให้สิ่งสกปรกที่ค้างอยู่ในท้อง ของศพออก ถ้ามีออกมาก็ให้ล้างออกจนสะอาด ทั้งนี้ ผู้อาบอาจเพิ่มจ านวนครั้งในการอาบน้ าญะนาซะฮฺเป็น ห้าครั้งหรือเจ็ดครั้งก็ได้แล้วแต่จะเห็นควร ลังจากนั้นแล้ว ควรอาบด้วยน้ าพิมเสนหรือน้ าการบูรเป็นครั้งสุดท้าย เนื่องจากในตัวบทหะดีษที่กล่าว มาแล้วมีว่า » َن ْ ْسَِةل ا ِِف ْجَعل غَ ْ ال ا َْلِخْرَةِ البخا 2113ََ ]كفُ « ] ري ْوراً ความว่า “ท่านทั้งหลายจงอาบน้ าญะนาซะฮฺครั้งสุดท้ายด้วยน้ าการบูร” (อัล-บุคอรียฺ 1253) ْوف ََكُ ) ًرا ( ในที่นี้หมายถึงวัตถุชนิดหนึ่ง เป็นเม็ดขาวใสๆ เย็นๆ มีกลิ่นฉุน ใช้ไล่แมลงได้ (ดังในรูปภาพที่ 8) ผู้อาบควรใช้น้ าเย็นอาบน้ าให้ศพ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้อาบน้ าเห็นว่าต้องใช้น้ าร้อนในการขจัดสิ่งนสนครก ออกจากตัวศพจึงใช้น้ าร้อน และผู้อาบน้ าอาจฟอกสบู่ในการท าความสะอาดด้วยก็ได้ แต่ต้องล้างถูตัวศพเพียง เบาๆอย่าท าแรงๆ ไม่เกา ไม่ข่วนเพราะจะท าให้ผิวศพเป็นรอย เป็นแผล ต้องกระท าให้เหมือนกับที่ท าให้แก่คน ที่มีชีวิตและผู้อาบน้ าให้ศพสามารถใช้ไม้สีฟันท าความสะอาดฟันของศพได้ ควรขลิบหนวดและตัดเล็บของศพหากมีความยาวเกินไป ส่วนขนรักแร้หรือขนอวัยวะเพศนั้นจะตัด ไม่ได้ ไม่ควรหวีผมให้ศพเพราะจะท าให้ผมศพร่วงและขาด หากผู้ตายเป็นหญิงให้ถักเปียเป็นสามเปียแล้ว ปล่อยไปด้านหลัง ควรซับตัวศพให้แห้งหลังอาบน้ าให้ศพเสร็จแล้ว


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 117 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หากมีสิ่งสกปรกออกจากตัวศพหลังจากอาบน้ าเสร็จสมบูรณ์แล้ว(อาจเป็นปัสสาวะอุจจาระ หรือเลือด ฯลฯ) ให้เช็ดและอุดไว้ด้วยส าลี หลังจากนั้นให้ล้างส่วนที่ถูกสิ่งสกปรกให้ออก แล้วอาบน้ าละหมาดให้ศพใหม่ แต่หากมีสิ่งสกปรกออกจากตัวศพหลังจากกะฝันหรือห่อศพแล้ว ไม่จ าเป็นต้องถอดผ้าออกและล้างใหม่อีก เพราะจะท าให้ยุ่งยาก หากศพเป็นของผู้ที่ตายไปในสภาพที่ก าลังอยู่ในชุดอิหฺรอมอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการท าหัจญ์หรืออุมเราะฮฺก็ ตามอนุญาตให้อาบด้วยน้ าและใบพุทราดังที่กล่าวไว้แล้ว แต่ไม่อนุญาตให้ใช้เครื่องหอมและไม่อนุญาตให้คลุม ศรีษะศพหากผู้ตายเป็นชาย ทั้งนี้เนื่องจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวในกรณีผู้ตายอยู่ใน สภาพอิหฺรอมในการท าหัจญ์ว่า ความว่า “ท่านทั้งหลายอย่าได้ใส่เครื่องหอมแก่เขา” ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวอีกว่า َ» ََل ُ و وا ِر د َسُه َُتَم أ ْ َ ر فَُّه ِ ْ َع ُث فَا ُب َْوَم ي ي اَمِِ َ ي قِ ْ ال ا ً ِي د ب َ ُمل « ]البخاري برمق 2612 ،ومسَل برمق 1913] ความว่า “ ท่านทั้งหลายอย่าได้คลุมปิดศรีษะของเขา เพราะเขาจะถูกให้ฟื้นคืนชีพในวันกิยามะฮฺใน สภาพที่ก าลังกล่าวตัลบิยะฮฺอยู่” (อัล-บุคอรียฺ 1851, มุสลิม 2953) ส าหรับคนที่ตายในสมรภูมิรบเพื่อหนทางของอัลลอฮฺนั้นไม่ต้องอาบน้ าศพ เพราะมีตัวบทหะดีษกล่าว ไว้ว่า “ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ใช้ให้ฝังผู้ที่ตายในสมรภูมิอุหุดด้วยเสื้อผ้าที่เขาใส่อยู่และห้ามมิ ให้อาบน้ าญะนาซะฮฺให้” (บันทึกนดยอัล-บุคอรียฺ) หะดีษดังกล่าวนี้บ่งบอกได้ว่าผู้ที่ตายชะฮีดในสมรภูมินั้นให้ฝังไปทั้งชุดที่เขาใส่ในขณะที่ตาย หลังจากที่ เอาอาวุธและเครื่องมือใช้รบออก และไม่ต้องละหมาดญะนาซะฮฺให้เช่นกัน เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม มิได้ละหมาดญะนาซะฮฺให้แก่ผู้ที่ตายในสมรภูมิอุหุด (บันทึกนดยอัล-บุคอรียฺและมุสลิม) ส าหรับทารกที่แท้งออกมานั้น หากว่ามีอายุครบสี่เดือนแล้ว ต้องละหมาดญะนาซะฮฺให้และตั้งชื่อให้ ด้วย ทั้งนี้เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวไว้ว่า » َّن ِ ا َحَدُكُْ َ َ ُع أ ُقُه ُُْيم ْط َخل ِّف ِن ْ َ ب أدمِهِ ُ َن َعِ ْرب أ ا، ي َّ َْوًم َ َث َُوُن ُ قًَِ ي ِّف َ عَل ثْ َل َذِِل َ ِ م َذِ َِل، َّ َث َُوُن ُ َذِِل ي ِّف َ ُم ْضغًَِ ِ مثْ َل َذِ َِل، َّ ُ روَح« ]البخاري برمق 8199 ،مسَل برمق 8693] ُّ ه ال ِ في َ ْنُف ُخ ِ ُْل فَي َمَ ْ ُْرَس ُل ال ث ي ความว่า “แท้จริงคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านนั้นจะถูกรวบรวมในท้องของมารดาเขา(ในสภาพน้ าเชื้อ ที่ปฏิสนธิแล้ว)สี่สิบวัน หลังจากนั้นเปลี่ยนสภาพเป็นก้อนเลือดอยู่ประมาณสี่สิบวันเช่นกัน หลังจากนั้นเปลี่ยน สภาพเป็นก้อนเนื้ออยู่ประมาณสี่สิบวันเช่นกัน หลังจากนั้นอัลลอฮฺจึงส่งมะลาอิกะฮฺมาเพื่อใส่วิญญานเข้าไป” (อัล-บุคอรียฺ 6594, มุสลิม 6893) แต่ส าหรับทารกที่แท้งออกมาก่อนถึงสี่เดือนนั้น เป็นก้อนเนื้อที่ไม่มีวิญญานจะฝังไว้ที่ใดก็ได้ไม่ จ าเป็นต้องอาบน้ าและไม่จ าเป็นละหมาดญะนาซะฮฺให้ ศพผู้ใดที่ไม่สามารถอาบน้ าญะนาซะฮฺให้ได้ เนื่องจากไม่มีน้ า หรือร่างกายเน่าเปื่อยหรือแตกกระจัด กระจายเป็นชิ้นๆ หรือร่างกายถูกไฟไหม้ ให้ท าตะยัมมุมแทน นดยให้คนหนึ่งคนใดที่อยู่ในกลุ่มผู้อาบน้ าศพตบ มือทั้งสองของเขาลงบนดิน แล้วน าไปลูบใบหน้าและมือทั้งสองของผู้ตาย ผู้อาบน้ าญะนาซะฮฺควรปกปิดไม่น าไปบอกเล่าให้ใครฟัง หากเห็นต าหนิหรือสิ่งที่ไม่ดีของผู้ตายขณะที่ อาบน้ าญะนาซะฮฺให้ เช่นเห็นหน้าผู้ตายหมองคล้ าหรือด า ร่องรอยที่น่ารังเกียจบนร่างกายศพ เป็นต้น เพราะ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวไว้ว่า َت فَ َََ لامً ْسِ َّس َل ُم »َم ْن غَ ْهِ ي عَل ، َ َ ََل غََفر ُهللا ُ ْنَ َعِ ْرب أ ًة َ َمر« ]رواه احلاُك وْصحه باّن َّ ا ِف نأحَكم اجلناِئز ص12 ]نْلل


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 118 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “ ผู้ใดอาบน้ าคนตายที่เป็นมุสลิมแล้วเขาปกปิดสิ่งที่เขาเห็นจากผู้ตายนั้นๆอัลลอฮฺจะให้อภัย นทษแก่เขาสี่สิบครั้ง” (รายงานนดย อัลหากิม ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 51 ว่าเป็น หะดีษเศาะฮีหฺ) การกะฝั่น(ห่อศพผู้ตาย) วาญิบให้มีการห่อญะนาซะฮฺผู้ตายด้วยผ้า นดยค่าใช้จ่ายในการห่อรวมทั้งค่าวัสดุทุกอย่างให้เอามาจาก ทรัพย์สินของผู้ตายเอง เพราะท่านนบีกล่าวไว้ในกรณีผู้ตายในชุดอิหฺรอมว่า “ท่านทั้งหลายจงห่อญะนาซะฮฺ ของเขา ด้วยผ้าสองผืนของเขา” และจ าเป็นต้องช าระค่าห่อญะนาซะฮฺก่อนสิ่งอื่นใดไม่ว่าจะเป็นหนี้สิน พินัยกรรมและการแบ่งมรดก หากผู้ตายไม่มีทรัพย์สินหรือไม่มีเงินเพียงพอที่จะใช้จ่ายค่าห่อญะนาซะฮฺได้ ก็วาญิบส าหรับผู้ที่ รับผิดชอบเลี้ยงดูเขาให้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายแทน คนเหล่านี้ได้แก่บุพการีและผู้สืบสายตระกูลของเขา เช่นบิดา ปู่ หรือลูก และหลานของเขา แต่ถ้าพวกเขาไม่มีความสามารถที่จะจ่าย ค่าใช้จ่ายก็ให้เอาจากบัยติลมาล แต่ถ้า ไม่มีบัยตุลมาลค่าใช้จ่ายก็จะเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนที่รู้เห็นสภาพของเขา ส าหรับการห่อญะนาซะฮฺนั้น ที่วาญิบก็คือให้ใช้ผ้าเพียงชิ้นเดียวห่อร่างญะนาซะฮฺให้มิด ส่วนที่เป็นสุน นะฮฺก็คือ ให้ใช้ผ้าขาวสามชิ้นส าหรับผู้ตายที่เป็นชาย เพราะมีรายงานว่า ญะนาซะฮฺของท่านนบี ศ็อลลัลลอ ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ถูกกะฝั่นด้วยผ้าขาวสามฝืน” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ) ให้อบผ้าที่จะใช้ห่อด้วยก ายาน หลังจากนั้นน าผ้ามาปูซ้อนกันนดยให้นรยเครื่องหอมที่ใช้ส าหรับผู้ตาย นดยเฉพาะในระหว่างผ้าแต่ละชิ้น (ดังในรูปภาพที่ 9) หลังจากนั้นให้วางผู้ตายตรงกลางผ้าห่อที่ปูไว้ในสภาพนอนหงาย (ดังในรูปภาพที่ 10) จากนั้นให้น าส าลีที่ใส่น้ าหอมไว้สอดเข้าไปใต้รักแร้ของผู้ตายเพื่อดับกลิ่นตัว สนับสนุนให้เตรียมผ้าชิ้นหนึ่งที่ทาบไว้ด้วยส าลีก้อนหนึ่งคล้ายกระจับ (ดังในรูปภาพที่ 9) พันรอบ บริเวณอวัยวะเพศและทวารของผู้ตายเพื่อให้ปกปิดเอาเราะฮฺ ควรใส่เครื่องหอมตามซอกหน้าของผู้ตายเช่นตรงตาทั้งสอง รูจมูกทั้งสอง รูฝีปากทั้งสอง รูหูทั้งสอง และตามอวัยวะที่ใช้สุญูดในละหมาดหรือจะใส่เครื่องหอมให้ทั่วทั้งร่างก็ได้ เพราะมีเศาะหาบะฮฺบางส่วนได้ กระท าเช่นนั้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 119 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หลังจากนั้น ให้ใช้ผ้าชิ้นที่หนึ่งพันญะนาซะฮฺครั้งแรกนดยพับขอบผ้าพันด้านขวาของญะนาซะฮฺ (ดังใน รูปภาพที่ 11) แล้วพับขอบผ้าอีกด้านหนึ่งพันด้านซ้ายของญะนาซะฮฺพร้อมๆ กับดึงผ้าขาวม้าที่ใช้ปิดเอาเราะฮฺของ ผู้ตายออก (ดังในรูปภาพที่ 12) หลังจากนั้นให้ใช้ผ้าชิ้นที่สองพันญะนาซะฮฺครั้งที่สองและครั้งที่สามตามล าดับนดยกระท าเช่นเดียวกับ ครั้งแรก เสร็จแล้วให้ใช้เชือกที่ท าจากผ้าผูกไว้เป็นมัดๆ ทั้งหมดเจ็ดมัด (ดังในรูปภาพที่ 15) ซึ่งหากผูกไม่ถึงเจ็ด มัดก็ได้เพราะจุดประสงค์ส าคัญคือให้ผ้าห่อญะนาซะฮฺแน่นเท่านั้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 120 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เพื่อป้องกันมิให้ผ้าพันหลุด ให้ม้วนปลายผ้าให้แน่น (ดังในรูปภาพที่ 13) หลังจากนั้น พับปลายผ้าแล้ว ผูกให้เรียบร้อย ให้ท าเช่นเดียวกันนี้กับส่วนศรีษะและส่วนเท้า (ดังในรูปภาพที่ 14) จากนั้นให้คลี่เชือกที่ผูกเมื่อวางญะนาซะฮฺลงในหลุมกุนบรแล้ว หมายเหตุผู้แปล ส าหรับวิธีการวางสายผูกก่อนที่จะวางผ้าห่อญะนาซะฮฺและวิธีการวางผ้าห่อญะนา ซะฮฺและผ้ากระจับรวมทั้งเครื่องหอมและวิธีวางญะนาซะฮฺบนผ้าห่อ และญะนาซะฮฺหลังจากห่อเสร็จแล้วนั้นให้ ดูรูปตามล าดับที่หนึ่งถึงสี่ (ดังในรูปข้างบน) อนุญาตให้ห่อญะนาซะด้วยผ้าสองชิ้นกล่าวคือชิ้นหนึ่งใช้ปกปิดส่วนบนและอีกชิ้นใช้ปกปิดส่วนล่าง แต่ที่ดีที่สุดให้ใช้ผ้าสามชิ้นคลุมร่างทั้งหมดดังที่กล่าวมาแล้ว ส าหรับญะนาซะฮฺหญิงให้ห่อด้วยผ้าห้าชิ้น กล่าวคือชิ้นแรกคืออิซารฺใช้ปกปิดส่วนล่างของร่างและชิ้นที่ สองคือคิมารฺใช้คลุมศรีษะลงมา และชิ้นที่สามคือเกาะมีศ (เป็นผ้าผืนหนึ่งที่เจาะตรงกลางเพื่อสวมส่วนศีรษะ และเปิดทิ้งไว้ทั้งสองข้างเพื่อสวมส่วนแขนทั้งสอง) และผ้าชิ้นใหญ่อีกสองชิ้นเพื่อใช้ห่อญะนาซะฮฺให้ครอบคลุม ทั้งร่างดังที่ได้กล่าวมาแล้ว การละหมาดญะนาซะฮฺ การละหมาดญะนาซะฮฺนั้นเป็นฟัรฎฏกิฟายะฮฺกล่าวคือหากมีคนหนึ่งคนใดในกลุ่มได้ปฏิบัติแล้วคนอื่นๆ ก็จะพ้นผิดด้วย ถ้ามัยยิตเป็นชาย มีสุนนะฮฺให้อิมามยืนค่อนไปทางศีรษะของมัยยิต (ดังในรูปภาพที่ 16)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 121 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ถ้ามัยยิตเป็นหญิงมีสุนนะฮฺให้อิมามยืนค่อนไปทางกลางล าตัวของมัยยิต (ดังในรูปภาพที่ 17) เพราะ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยปฏิบัติเช่นนั้น (รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าว ในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 109 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) หมายเหตุผู้แปล หากว่า มีมัยยิตหลายคน ทั้งผู้ชายและผู้หญิงจะละหมาดพวกเขารวมกันทีเดียวก็ได้ นดยวางมัยยิตชายไว้หน้าอิมามในแถวเดียวกัน มัยยิตหญิงให้วางข้างหน้าถัดจากผู้ชายไปทางกิบละฮฺ และวาง มัยยิตเด็กไว้หน้ามัยยิตหญิง (ดังในรูปข้างบนนี้) ตามสุนนะฮฺให้ละหมาดญะนาซะฮฺเป็นญะมาอะฮฺ นดยตั้งเป็น 3 แถว ซึ่งจะเรียกว่าแถวได้นั้นจะต้องมีผู้ยืนอยู่ในแถวอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป ถ้าหากว่า มะอ์มูมมีเพียงคนเดียว ก็ให้ยืนข้างขวาของอิมามเช่นเดียวกับละหมาดทั่วไป ตามสุนนะฮฺ หากมีมะอ์มูมหลายคนให้แถวมะอ์มูมอยู่หลังอิมาม แต่ถ้าสถานละหมาดที่ไม่อ านวยแล้ว มะอ์มูมจะไปตั้งแถวทางขวาและทางซ้ายมือของอิมามก็ได้ การละหมาดญะนาซะฮฺมีทั้งหมดสี่ตักบีรฺ เริ่มละหมาดนดยให้ผู้ละหมาดยืนหันหน้าไปทางกิบละฮฺ นดยตั้งเจตนาละหมาดญะนาซะฮฺบนมัยยิตนั้น ตักบีรฺที่1 ได้แก่ตักบีเราะตุลอิหรอมคือกล่าวว่า “อัลลอฮุอักบัรฺ” แล้วอ่าน “ฟาติฮะฮฺ” หลังจาก ِ ِجي َّ َطا ِن الر ْ َن ال َّش ي مِ ْوُذِِبََّّللِ أ ُع َ ِ ِحي َّ َِْح ِن الر َّ الر ا ََّّللِ ِ ْسم ِب ُن ْ تَعِ ََّيَك نَس ِ ا َ ُد و ُ ْعب ََّيَك فَ ِ ِن ا َِلد ي ا ِ َْوم َماِ ِِل ي ِ ِحي َّ َِْح ِن الر َّ َِم َن الر َعال ْ ِدب ال َ ر ِ ُدَِّللَّ ْ َحم ْ ال


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 122 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َن ِد ََل ال َّضال َ ْ و ْْيِم َ ْغ ُضوِب عَل َ م ْ غَْرِ ال ْ ْْيِم َ َت عَل ْ َعم أفْ َ َن ي ََّّلِ َيِِ صَا َط ا ْ تَقِ ُس م ْ َا َط ال اهِدََن ال ُِص د นดยอ่านเสียงค่อย ตักบีรฺที่ 2 แล้วอ่านเศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ดังส านวนที่กล่าวในตะชะฮฺ ฮุด คือ กล่าวว่า هُ َ »ال َّ ل َٰل م َص ِدل َّ ٍد عَ َّ ََل ُم َحم َّ و أ ِ ٍد َعَ ُم َحم َت ََكَ ْ ي َّ َٰل َصل ِه َي عَ ا َ ْر ب ِ َٰل ا ِه َي َعَ َ و أ ِ ا ْر ب ِ ا فَّ َك ِ ا ٌد ْ ي َِح ٌد، ِ ْ َّم ِجي ا هُ َ َّ لل م َِبِرْك َّ َٰل ٍد عَ َّ ََل ُم َحم َّ و أ ِ ٍد َعَ ُم َحم َت ََكَ َكْ َٰل َِبر ِهَْي عَ ا َ ْر ب ِ َٰل ا ِه َي َعَ َ و أ ِ ا ْر ب ِ ا فَّ َك ِ ا ٌد ْ ي َِح ٌد ِ ْ َّم « ِجي ค าอ่าน อัลลอฮุมมะ ศ็อลลิอะลา มุฮัมมัด วะอะลา อาลิมุฮัมมัด, กะมาศ็อลลัยตะ อะลา อิบรอ ฮีม วะ อะลา อาลิอิบรอฮีม, อินนะกะ ฮะมีด ดุม มะญีด, อัลลอฮุมมะบาริก อะลา มุฮัมมัด วะอะ ลา อาลิมุฮัมมัด กะมา บาร๊อกตะ อะลา อิบรอฮีม วะอะลา อาลิอิบรอฮีม, อินนะกะ ฮะมีดม มะญีด ค าแปล นอ้อัลลอฮฺขอได้นปรดเมตตา (หรือสดุดี) มุฮัมมัด และวงศ์วาน ของมุฮัมมัด ดุจดังที่ได้นปรด เมตตา (หรือสดุดี) แก่อิบรอฮีม และวงศ์วาน ของอิบรอฮีม แน่แท้พระองค์ทรงเป็นที่สดุดีสรรเสริญ ทรงเป็นที่ สรรเสริญ พระเกียรติยิ่ง นอ้อัลลอฮฺขอพระองค็ทรงความจ าเริญให้แก่มุฮัมมัด และแก่วงศ์วานของมุฮัมมัด ดุจ ดังที่ประทานความจ าเริญให้แก่อิบรอฮีม และวงศ์วานของอิบรอฮีม แน่แท้พระองค์ทรงเป็นที่สดุดีสรรเสริญ ยิ่ง ทรงเป็นที่สรรเสริญพระเกียรติยิ่ง (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ อัล-บุคอรีย์ หมายเลข 3370 ส านวนนี้เป็นของ ท่าน และ มุสลิม หมายเลข 406) ىٰل ُم هحَّم د« า่ว นๆั้าวส่อจะกลืหร عه ل ِ ص اللهم »ก็ถือว่าใช้ได้ กล่าวตักบีรฺครั้งที่3 แล้วอ่านดุอาอ์ให้มัยยิต เช่นกล่าวว่า ا َ« َّ للهُ َّ ف ْر م ا ْغِ ْرَ ِْحُه، ََلُ ا َ و َ و ا ْعُف َعَافِهِ و َعْنُه، ِرْم كْ َ أ َ ُُزََل و ُ ْع ن َ دسِ َو ُم ْدَخََل و ُ، ْغِسَْلُ ا َ ء ِ َ و ا م ْ ِج ِِبل ْ الثَّل َ ،ِ َْبِ و َ ْ ال َ و فَقِدهِ م َن َ و ِ ََي َخَطا ْ ال َت ََكَ ْ الثَّ َض ْو َب فَقَّي َ ْي َن ا َْلب ِ ِدَْل م ا ََّلنَِس، ُ ْ أب َ َ ً و ا َخ ْن ْر َِار ًا مِ أ ْه ًل َِاِره، ِ َ َ م ْن ، ِ ًرا و َخْ أ ْه ا َِلِ َ َ َزْوًج ًرا و َخْ ْن م ، ِ َزْوِجهِ أ ِْ ِخَْلُ َ َ َِ و َجنَّ ْ أعِ ْذُه ال َ ِْب َ َذا ِب قَ ْ م ْن عَ و ِ ْ َب ال َذا َعَ و النَّاِر« ]مسَل برمق 1106] ค าอ่าน อัลลอฮุมมัฆฟิรละฮูวัรฮัมฮุ,วะอาฟิฮิวะอฺฟุอันฮุ,วะอักริม นุซุละฮู,วะวัสสิอฺ มุดคอละฮู ,วัฆสิลฮุบิลมาอิวัษษัลญิวัลบะรอดิ,วะ นักกิฮีมินัล คอฏอยากะมา นักกัยตา เษาบัลอับยะฎอ มีนัด ดะนัส,วะอับดิลฮุดาร็อน ค็อยรอน มินดาริฮี,วะอะฮฺลัน ค็อยร็อน มิน อะอฺลิฮี, วะเซายัน ค็อยรอน มิน เซาญิฮีวะอัดคิลฮุล ญันนะฮฺ,วะอะอิซฮุมิน อะซาบ บิลก๊อบริวะอะซาบินนารฺ ความว่า “นอ้ อัลลอฮฺ ขอพระองค์ได้ทรงยกนทษให้แก่เขา ขอจงเอ็นดูเมตตาแก่เขา ขอจงให้ความ ปลอดภัยแก่เขา ขอจงให้อภัยแก่เขา ขอจงประทานเกียรติยศแก่สถานที่ต้อนรับของเขา ขอจงให้ความกว้างซึ่ง สถานที่ที่เขาเข้าไปอยู่ ขอจงช าระล้างเขาเขาด้วยน้ า หิมะ และด้วยลูกเห็บ ขอจงให้เขาได้เปลื้องจากความผิด ของเขาประดุจดังผ้าขาวที่ปราศจากสิ่งนสนครก ขอจงเปลี่ยนที่อยู่ของเขาให้ดีกว่าที่อยู่เก่าของเขา และขอจง ทดแทนวงศ์วานให้แก่เขาดีกว่าวงศ์วานเดิมของเขา และขอจงให้เขามีคู่ครองดีกว่าคู่ครองเดิมของเขา และ ขอให้เขาเข้าสวรรค์ และขอจงปกป้องเขาให้พ้นจากความทรมานในกูนบรฺและความทรมานในนรก” (รายงาน นดยมุสลิม 2276, 2278) หากผู้ตายเป็นทารกที่มีอายุครบสี่เดือนขึ้นไปนั้นให้อ่านดุอาอ์เพื่อให้อัลลอฮฺอภัยนทษและให้ความ นปรดปรานแก่บิดามารดาของผู้ตาย (เช่นอาจกล่าวว่า « َّ هُم َّ ْجَعَْل الل ُ ُذ ا ا ً ْخر ْهِ اََِلي َ ِو ل ، ًطا َ فَر َ ً و ا ْجر أ َ َ و « ค าอ่าน อัลลอฮุมมัจอัลฮุ ซุคร็อน ลิวาลิดัยฮิ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 123 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า“นอ้ อัลลอฮฺ นปรดให้เขาเป็น มิ่งขวัญที่ไปคอย อยู่ก่อน ส าหรับบิดามารดาของเขา เป็นรางวัล ล่วงหน้าส าหรับเขาทั้งสอง และเป็นรางวัลส าหรับพวกเราด้วยเถิด”) เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวไว้ว่า ْدَعى ُ ي َ و ْهِ ي َ ُ َصََّل عَل َّسْقطُ ي « ]رواه نأبو ِاوِ، وْصحه ا نْللباّن ِف نأحَكم اجلناِئز، ص »وال َِْحِِ َّ الر َ و ةِ َ ْغفِر َ م ْ ِِبل ْهِ اََِلي َ ِو ل ]67 ความว่า “และส าหรับเด็กทารกนั้นให้ละหมาดญะนาซะฮฺให้ แล้วให้อ่านดุอาอ์เพื่อให้อัลลอฮฺอภัยนทษ และให้ความนปรดปรานแก่บิดามารดาของเด็กที่ตาย” (รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺ กาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 80 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) ตักบีรฺครั้งที่4 หยุดนิ่งสักครู่หนึ่ง หมายเหตุผู้แปล หรืออาจจะกล่าวดุอาอ์ว่าเพิ่มเติมว่า » هُ َّ لل اَ َّ ِرْمنَا ََت م ََل ْ َ ُه ََل ْجر أ َ َ و نَّا ِ َْعَدُه تَْفت ْر ب ا ْغفِ َ َا و ن َ ل َ ََلوُ ِ َِل َ َا و ن ِ اف َ ْخو ََّّلِ ي ُقوََن َن ا َ س ميَا ِن َ ب ِ ََل ِِبَل َع ْل َ ََت و ْ ِِف ا َ قُل لًّ ُوِبن غِ َن ََِِّّلي ل اَمنُوا َ َا َّن ر فَّ َك َ ء ب ِ ا وٌف ُ َ ر ِحٌي َء ر « อ่านว่า " อัลลอฮุมมา ลาตะฮ์ริมนา อัจญ์รอฮู วาลาตัฟตินนา บะอ์ดาฮู เวาฆ์ฟิรลานา วาลาฮู วา ลีอิควานีนัล ลาซีนา ซะบะกูนา บิลอีมาน วะลาตัจญ์อัล ฟีกุลูบินา ฆิลลันลิลลาซีนาอามานู ร็อบบานาอิน นากา รออูฟุรรอฮีม" ความว่า “นอ้ อัลลอฮฺ ขอพระองค์อย่าได้ยับยั้งรางวัลของเราที่ได้ละหมาดให้แก่เขาจากผลบุญของเขา อย่าได้ให้พวกเราเผชิญวิกฤตการณ์ภายหลังการจากไปของเขา และได้นปรดอภัยนทษให้กับพวกเราและเขาและ แก่พี่น้องของพวกเราซึ่งมีศรัทธาก่อนหน้าพวกเรา และขอพระองค์นปรดทรงอย่าให้มีความเคียดแค้นใดๆต่อ บรรดาผู้มีศรัทธาเกิดขึ้นในหัวใจของพวกเรา นอ้พระเจ้าของพวกเรา แท้จริงพระองค์คือผู้ทรงเอ็นดู ผู้ทรงมี เมตตา" แล้วหันทางขวากล่าวสลามเพียงครั้งเดียวก็ใช้ได้เพราะท่านนบีเคยปฏิบัติเช่นนั้น ดังที่กล่าวไว้ในหะ ดีษ (นปรดดูอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 127) หรือจะหันทางซ้ายแล้วกล่าวสลามครั้งที่ 2 เช่นเดียวกับการ กล่าวสลามในละหมาดทั่วไป เพราะท่านนบีเคยปฏิบัติเช่นนั้นดังที่กล่าวไว้ในหะดีษ (รายงานนดย อัล-หากิม ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 129 ว่าเป็นหะดีษหะสัน) มีสุนนะฮฺให้ยกมือทั้งสองขึ้นในทุกๆ ครั้งที่กล่าวตักบีรฺ เพราะท่านนบีเคยปฏิบัติดังที่กล่าวไว้ในหะดีษ (บันทึกนดยอัด-ดาเราะกุฏนียฺ ท่านอิบนุ บาซฺ ได้ยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของสายรายงานนี้ในหนังสือฟะตาวา ของท่าน 12/148) มะอ์มูมคนใดละหมาดญะนาซะฮฺไม่ทันอิมามตั้งแต่ตักบีรฺแรก ให้เขาปฏิบัติละหมาดตามที่อิมามปฎิบัติ อยู่ในขณะนั้น เช่นหากอิมามก าลังอยู่ในตักบีรฺครั้งที่สาม ให้มะอ์มูมอ่านดุอาอ์ให้แก่ผู้ตาย หลังจากที่อิมามตัก บีรฺครั้งที่สี่ให้มะอ์มูมตักบีรฺแล้วอ่านฟาติหะฮฺ หลังจากนั้นตักบีรฺอีกครั้งแล้วอ่านเศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แล้วจึงให้สลาม ทั้งนี้หากมะอ์มูมมีเวลาในการกระท าเช่นนั้นก่อนที่ญะนาซะฮฺจะ ถูกยกไป แต่หากไม่มีเวลาอนุญาตให้มะอ์มูมกล่าวสลามพร้อมๆ กับอิมามได้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 124 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ผู้ใดไม่ทันละหมาดญะนาซะฮฺพร้อมคนอื่น อนุญาตให้เขาละหมาดบนกูนบรฺได้ นดยให้กูนบรฺผู้ตายอยู่ ระหว่างผู้ละหมาดกับกิบละฮฺ (ดังในรูปภาพที่ 18) แล้วให้ละหมาดตามขั้นตอนการละหมาดญะนาซะฮฺทั่วไป เพราะท่านนบีเคยปฏิบัติดังที่กล่าวไว้ในหะดีษ (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ) สุนนะฮฺให้ละหมาดฆออิบ ซึ่งหมายถึงผู้ที่ตายในต่างแดนหรือสถานที่ห่างไกล เมื่อไม่มีผู้ใดละหมาดญะ นาซะฮฺให้ผู้ตายในสถานที่นั้นๆ อนุญาตให้มุสลิมทั่วไปละหมาดญะนาซะฮฺให้กับผู้ที่ฆ่าตัวตายและผู้ที่ปล้นสะดมคนอื่น แต่ทว่ามีสุน นะฮฺว่าส าหรับผู้น าหรือแกนน าในเมืองนั้นไม่ต้องละหมาดให้แก่คนดังกล่าว เพื่อสั่งสอนคนอื่นๆ มิให้น าคน ดังกล่าวมาเป็นเยี่ยงอย่าง อนุญาตให้ละหมาดญะนาซะฮฺในมัสญิดได้ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยปฏิบัติดังที่ กล่าวไว้ในหะดีษ(รายงานนดยมุสลิม) แต่ทางที่ดีตามสุนนะฮฺนั้นควรเตรียมสถานที่เฉพาะนอกมัสญิดเพื่อใช้ ละหมาดญะนาซะฮฺ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดบรรยากาศและมลภาวะที่ไม่ดีในมัสญิด และควรจัดให้สถานที่ เฉพาะที่ว่านี้อยู่ใกล้กับกูนบรฺ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกของผู้คน การหามญะนาซะฮฺและการฝัง ควรน าญะนาซะฮฺไปฝังนดยใช้คนหามบนบ่าทั้งสี่ด้าน (ดังในรูปภาพที่ 19) ควรรีบน าญะนาซะฮฺไปฝังหลังจากที่ได้ละหมาดแล้วแต่ไม่ใช่ว่ารีบร้อนจนเลยเถิดเกินขอบเขตไป เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวไว้ความว่า “ท่านทั้งหลายจงรีบจัดการกับญะนาซะฮฺให้ รวดเร็ว” อนุญาตให้ผู้คนเดินน าหน้าหรือตามหลังญะนาซะฮฺ หรืออาจเดินข้างๆ ทางขวาและซ้ายของญะนา ซะฮฺ ซึ่งทุกอริยบทที่กล่าวมาล้วนมีรายงานจากสุนนะฮฺทั้งสิ้น (นปรดดูอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 73) ผู้ที่ตามญะนาซะฮฺไปกูนบรฺไม่ควรนั่งก่อนที่คนหามจะวางญะนาซะฮฺลงบนพื้น เพราะท่า นนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยห้ามการกระท าดังกล่าวไว้ ไม่ควรฝังญะนาซะฮฺในเวลาต้องห้ามทั้งสามที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามไว้ตาม รายงานของอุกบะฮฺ อิบนฺ อามิรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ที่มีว่า َ »ثَ َل ُث َساعَا ٍت ََكَن ُسوُ ر َّْنَ ا ََّّلل -صَل هللا عليه وسَل- اََن ِ َ ْن ي أ َ َ َصدَل ِ ِْيَّن فُ ْو فِ أ َ ْن أ ِْيَّن فَْقُْبَ َ ِح َم : َن ْو ف ََتََن ِ ُع ُ ْ ُس تَ ْطل َح َع، َّىت َِبِزغًَِ ال َّشم ْرتَفِ َ ِح َن ت َ ُقوُم ُ َ و ي قَائِ ْ ُس تَ ، ِمي َل َح ال َّىت َّظهِ َرةِ ِح َن ال َّشم َّ و ُف َ ْ ُس تَ َضي ال َّشم ُو ِب ُغر ْ ل ُ َب تَ ْغ َح ل َّىت ِ ر « ]مسَل برمق 2988] ความว่า “มีสามเวลาที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ามพวกเรามิให้ละหมาดหรือฝังญะนา ซะฮฺในช่วงนั้น คือในเวลาตะวันก าลังขึ้นจนกว่ามันจะขึ้นสูง เวลาเกือบเที่ยงถึงเที่ยงตรงจนกว่าจะเอียงค่อนไป ทางตะวันตก และเวลาตะวันก าลังจะตกจนกว่ามันจะหายลับฟ้าไป” (บันทึกนดยมุสลิม 1966) อนุญาตให้ฝังญะนาซะฮฺได้ทั้งกลางวันและกลางคืนตามแต่ความเหมาะสม ทั้งนี้นอกเหนือจากเวลา ต้องห้ามที่กล่าวมาข้างต้น ควรกั้นหรือปกปิดหลุมกูนบรฺส าหรับญะนาซะฮฺหญิงขณะท าการน ามัยยิตลงหลุม เพราะเป็นการมิดชิด กว่าส าหรับเธอ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 125 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ควรส่งญะนาซะฮฺลงหลุมทางด้านขาของหลุมกูนบรฺ (ดังในรูปภาพที่ 20) แล้วค่อยๆ วางลงไป แต่ถ้าไม่สามารถท าเช่นนั้นได้ให้ส่งลงจากทางด้านกิบละฮฺ (ดังในรูปภาพที่ 21) การท าหลุมแบบละหัด )اللحد (นั้นดีกว่าการท าหลุมแบบชักฺ (الشق ( เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เคยกล่าวว่า َا ْحُد ن َّ »الل ق َ ل ال َّشُّ َ ِرََن« ]رواه نأبو ِاوِ برمق 1093 ،وْصحه ا نْللباّن ِف نأحَكم اجلناِئز ص291] لغَ ْ و ِ ความว่า “การท าหลุมแบบละอัล-ละหัดคือวิธีฝังของพวกเรา และการท าหลุมแบบอัช-ชักฺคือวิธีฝังของ พวกอื่นจากเรา” (รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 145 ว่าเป็น หะดีษเศาะฮีหฺ) การท าหลุมแบบละหัด หมายถึง การท าร่องเว้าเข้าไปด้านข้างของหลุมฝังทางด้านกิบละฮฺเพื่อวางญะ นาซะฮฺ (ดังในรูปภาพที่ 22) และการท าหลุมแบบชักฺหมายถึงการท าร่องวางญะนาซะฮฺตรงกลางของหลุม ฝังญะนาซะฮฺ (ดังในรูปภาพที่ 23) ควรขุดหลุมให้ลึกเพื่อป้องกันญะนาซะฮฺจากสัตว์ร้ายต่างๆ และหลีกเลี่ยงจากกลิ่นที่อาจมาจากญะนา ซะฮฺ ผู้ที่ส่งญะนาซะฮฺลงหลุมควรกล่าวว่า ْس ََل َ م ِهللا ِ »ِب ِهللا« ِ ْو رُس َ مِ َِّةل وعَ อ่านว่า บิสมิลลาฮิวะอะลา มิละติ รอสูลิลลาฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 126 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “ด้วยนามของอัลลอฮฺและตามแบบฉบับหรือศาสนาของศาสนทูตของอัลลอฮฺ” ทั้งนี้ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยปฏิบัติเช่นนี้(รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัล บานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 152 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) ผู้ที่ควรเป็นผู้ส่งญะนาซะฮฺลงหลุมมากที่สุดคือผู้ที่ได้รับการสั่งเสียจากผู้ตาย รองลงมาคือญาติใกล้ชิด และรองลงมาอีกคือใครก็ได้ที่เป็นมุสลิม ควรวางญะนาซะฮฺลงหลุมในท่านอนตะแคงขวาหันหน้าไปทางกิบละฮฺ (ดังในรูปภาพที่ 24) เพราะ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า ُِ « َ ََْعب ُ ُْك ال ُت َ ل ْ ب قِ ً اء َ ْحي أ ًَت َ ا َ أْمو َ َ و « ]نأخرجه البْيقي وحس نه ا نْللباّن ِف ا َلرواء ص897] ความว่า “กะอฺบะฮฺนั้นเป็นกิบละฮฺของพวกท่านทั้งตอนที่มีชีวิตอยู่และหลังจากตายแล้ว” (รายงาน นดย อัล-บัยฮะกียฺ ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอัล-อิรวาอ์ หน้า 690 ว่าเป็นหะดีษหะสัน) และศรีษะของญะนาซะฮฺนั้นให้ตั้งบนดินนดยไม่ต้องใช้หมอนดินหรือหินรองไว้แต่อย่างใด เพราะไม่มี รายงานจากหะดีษให้กระท าอย่างนั้น และอย่าเปิดหน้าญะนาซะฮฺนอกจากในกรณียกเว้นเมื่อผู้ตายเสียชีวิตใน ชุดอิหฺรอมดังที่ได้อธิบายมาแล้ว หลังจากนั้นให้ใช้ก้อนอิฐ ก้อนดิน หรือไม้ปิดร่องวางญะนาซะฮฺไว้ (ดังในรูปภาพที่ 24) แล้วตามด้วยการถมดินกลบหลุมนดยมีสุนนะฮฺให้ทุกคนที่อยู่ในที่ฝังช่วยกันเอาดินกลบหลุมคนละสาม ก ามือ (ดังในรูปภาพที่ 25) เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยปฏิบัติเช่นนั้น (รายงานนดย อิบนุ มาญะฮฺ ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 125 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) ควรพูนดินบนหลุมกูนบรฺให้สูงประมาณหนึ่งคืบ ให้เป็นเหมือนกับรูปของนหนกอูฐ เพื่อให้เป็น เครื่องหมายว่าที่ตรงนี้เป็นกูนบรฺ ให้ระวังรักษาเกียรติไว้(ดังในรูปภาพที่ 26) ทั้งนี้เพราะลักษณะของกูนบรฺของ ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เป็นเช่นนี้(รายงานนดยอัล-บุคอรียฺ) ควรเทก้อนกรวดลงบนหลุมกูนบรฺพอประมาณทั้งนี้เพราะลักษณะของกูนบรฺของท่านนบีเป็นเช่นนี้ (รายงานนดย อบู ดาวูด)อาจเป็นเพราะต้องการท าเป็นเครื่องหมายว่าตรงนี้เป็นกูนบรฺจะได้ระวังรักษาเกียรติไว้ ควรเอาน้ ามารดก้อนกรวดให้เปียก เพราะมีรายรายงานในสุนนะฮฺว่ามีการกระท าเช่นนั้น (มีรายงาน ในลักษณะนี้ในหะดีษมุรสัลที่เศาะฮีหฺ นปรดดู อัล-อิรวาอ์ เล่ม 3 หน้า 206)มีรายงานในลักษณะนี้ในหะดีษ มุรสัลที่เศาะฮีหฺ นปรดดู อัล-อิรวาอ์ เล่ม 3 หน้า 206) (อาจเป็นเพราะต้องการให้กรวดจับกับดินได้แน่นขึ้น-ผู้ แปล) และควรที่จะวางหรือปักเครื่องไว้นดยใช้หิน ไม้ หรืออิฐก็ได้ ด้านศรีษะของหลุมกูนบรฺหรือจะปักทั้งสอง ด้านทั้งด้านศรีษะและด้านขาก็ได้ ดังที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ท าต่อกูนบรฺของอุษมาน อิบนฺ มัซฺอูน เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ (รายงานนดย อบูดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 155 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 127 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา รูปแสดงลักษณะของกูโบรฺหลังฝังญะนาซะฮฺเสร็จแล้ว เมื่อฝังเรียบร้อยแล้วให้คนที่อยู่ ณ สถานที่นั้นขอดุอาอฺตัษบีต(ขอให้ผู้ตายยืนหยัดมั่นคงในการเผชิญ บททดสอบต่างๆ ในกูนบรฺ)ให้แก่ผู้ตาย (ดังในรูปภาพที่ 26) ดุอาตัษบีต เมื่อได้ท าการฝังศพ(มัยยิต)เสร็จแล้ว มีสุนนะฮฺให้กล่าวดุอาอ์ตัสบีต หรือดุอาอ์ขอให้ผู้ตายมั่นคงใน ค าตอบของมลาอิกะฮฺขณะที่เขาก าลังถูกสอบสวน นดยให้ผู้ส่งผู้ตายขอดุอาอ์บริเวณหลุ่มของศพนั้น การขอดุอาอ์ตัสบีตนั้น ให้ต่างขอเป็นเอกเทศ ไม่ใช่ขอแบบญะมาอะฮฺ ซึ่งตามหะดิษท่านรสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะซัลลัม สั่งใช่ให้เศาะหาบะฮฺต่างคนต่างขอ د ِي َ م ْ ِن ال َغ مِن َِفْ َ َذا فَر ِ وَسََّلَ ا ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل ِيضَ ا ََُّّلل َعْنُه قا َ : ََكَن رسوُ ا ََّّللِ َ َ وعن ُعامثَن ر قََف عَ ِت و وقا َ : ْهِ ي َ ل َحُه احلاُكُ َِ، وَْصَّ ُ ُه نأبو َِاو ْسأَ ُ ((. روا َن يُ فَُّه اْلْ ِ ََلُ التَّثِْبي َت فَا ُوا َ َسل ُ ُْك، و ِ َْلِخي ُوا ْ تَ ْغفِر ))اس รายงานจากท่านอุษมาน ร่อฎียัลลอฮุอันฮ์ เล่าว่า “เมื่อท่านรสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะซัลลัม เสร็จสิ้นจากการฝังผู้ตาย ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะซัลลัม จะยืนตรงหลุมศพนั้น แล้ว กล่าวว่า พวกท่านจงขออภัยโทษให้แก่พี่น้องของพวกท่าน และขอดุอาอ์ตัสบีตให้แก่เขาด้วยเถิด แท้จริง ขณะนี้เขาก าลังถุกสอบสวนอยู่” (บันทึกหะดิษนดยอบูดาวูด หะดิษเลขที่ 3223 เป็นหะดาเศาะเฮียะฮฺ) ส าหรับดุอาอ์ตัสบีตไม่มีส านวนตายตัว หรือบทเฉพาะเจาะจง ศาสนาจึงอนุญาตให้ขอดุอาอ์ตัสบีต ด้วยส านวนใดก็ได้ตามแต่ผู้ขอถนัดภาษาที่ตัวเองพูด หรือจะอ่านจากภาษาอาหรับที่ตนรู้ความหมายก็ได้ ซึ่งดุ อาอ์ที่ขอนั้นมีความหมายถึงการอภัยนทษ และให้เขามั่นคงในค าชะฮาดะฮฺ เช่นดุอาอ์บทต่อไปนี้ ِحْي َّ الر ُ ْور ل ُغُف ْ أفْتَ ا فَّ َك َ ِ ْرَ ِْحُه ا ا َ ْرََلُ و ا ْغفِ َّ هُم َّ لل اَ ةِ َ ْ َْلِخر ا َ ا و َ ا َُّلفْي اةِ َ َحي ْ ْوِ الثَّاِب ِت ِِف ال لقَ ِبدْتُه ِِبْ ثَ َّ هُم َّ لل اَ ค าอ่าน อัลลอฮฮุมมะ-ษับบิตฮู บิลเกาลิษษาบิต ฟิลหายาติดดุนยา วัลอาคิเราะฮ อัลลอฮุมมัฆฟิร ละฮูวัรหัมฮูอินนะกะ อันตัน ฆอฟูรุรรอฮีม ค าแปล - นอ้อัลลอฮ นปรดให้เขามีความหนักแน่นมั่นคง ในชีวิตดุนยาและอาคีเราะฮ ,นอ้อัลลอฮ นปรด อภัยนทษและประทานความเมตตาต่อเขาด้วยเถิด แท้จริงพระองค์ท่านนั้น คือ ผู้ทรงอภัยนทษและผู้ทรงเมตตา ยิ่ง - ห้ามก่ออิฐ ไม่ท าคอก ไม่ปลูกสิ่งก่อสร้าง ไม่สลักตัวหนังสือบนหลุมกูโบรฺและไม่ควรนั่ง เอน หรือ เหยียบย่ าบนหลุมกูนบรฺ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ห้ามการกระท าดังกล่าว (รายงานนดย มุสลิม) - ไม่ควรฝังญะนาซะฮฺสองคนหรือมากกว่าในหลุมเดียว เว้นแต่ว่ามีเหตุจ าเป็น เช่นมีคนตายหลาย คนแต่มีคนฝังจ ากัด ดังที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ท ากับผู้ตายในสมรภูมิอุหุดซึ่งฝังในหลุม เดียวกัน แต่ให้กั้นระหว่างญะนาซะฮฺสองคนนดยใช้ดิน


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 128 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา - ส าหรับเพื่อนบ้านควรน าอาหารไปให้ที่บ้านผู้ตาย เมื่อเห็นว่าญาติผู้ตายต่างยุ่งอยู่กับการจัดการ กับญะนาซะฮฺ ทั้งนี้ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวตอนที่ญะอฺฟัรฺ อิบนฺ อบี ฏอลิบ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ เสียชีวิตว่า ْوا أ َ ُم ع أ ْطِ َ « َ َجْعَفر ً َط فَقَ ْد َعاما أََت ا ُهْ َم َ ْ هُم يُ ْشُغل « ]رواه نأبو ِاوِ وْصحه ا نْللباّن ِف نأحَكم اجلناِئز بصفحِ 280ِ ] ความว่า “ท่านทั้งหลายจงช่วยกันให้อาหารแก่ญาติๆ ของญะอฺฟัรฺด้วย เพราะตอนนี้พวกเขาก าลังยุ่ง ง่วนอยู่(กับการจัดการศพ)” (รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺกล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 167 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) ส าหรับทางบ้านผู้ตายนั้น ไม่ควรยุ่งอยู่กับการหุงหาอาหารมาเลี้ยงผู้คน เพราะเคยมีเศาหาบะฮฺคนหนึ่ง กล่าวว่าความว่า “แท้จริงแล้วในหมู่พวกเราถือว่าการเลี้ยงอาหารและการรวมตัวกันที่บ้านผู้ตายนั้นเป็นส่วน หนึ่งของนิยาหะฮฺ(การร้องไห้อย่างตีนพยตีพาย อันเป็นสิ่งต้องห้าม)” (รายงานนดย อบู ดาวูด ท่านอัล-อัลบานียฺ กล่าวในอะหฺกาม อัล-ญะนาอิซฺ หน้า 167 ว่าเป็นหะดีษเศาะฮีหฺ) การเยี่ยมกูนบรฺเป็นสิ่งที่ควรกระท าส าหรับผู้ชาย ทั้งนี้เพื่อไปขอดุอาอ์ให้กับชาวกูนบรฺ และเพื่อให้ผู้ เยี่ยมนึกคิดและไตร่ตรองถึงวันอาคิเราะฮฺที่จะถึงตัว (ดังในรูปภาพที่ 26) เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เคยกล่าวไว้ว่า دّن ِ« ِ ْن ا ُت ُُك ك ْ ُ ْ ُت َع ْن َِنَي ةِ َ ِزََير وِر، ُ ُقب ال وَها، ْ ُ ُزور فَ َِّنَا ِ فَا ُُكُْ كِدر َ تُذ َة َ اْل « ]مس ند ا َلمام نأِحد برمق 2203 ،وَل شاهد ْ ِخر ِف ْصيح مسَل برمق 1371] ความว่า “แท้จริง ก่อนหน้านี้ฉันเคยห้ามท่านทั้งหลายมิให้เยี่ยมกูนบรฺ แต่ตอนนี้จงเยี่ยมมันเถิด เพราะ มันจะท าให้ท่านนึกคิดและไตร่ตรองถึงวันอาคิเราะฮฺที่จะถึงตัวท่าน” (รายงานนดยอะหฺมัด 1173 และมีสาย รายงานที่สนับสนุนอยู่ในเศาะฮีหฺมุสลิม 2305) แต่ส าหรับผู้หญิงนั้น มีทัศนะที่น่าเชื่อถือว่าห้ามเยี่ยมกูนบรฺ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เคยกล่าวสาปแช่งผู้หญิงที่เยี่ยมกูนบรฺ (บันทึกนดยอบู ดาวูด 2817, อัต-ติรมิซียฺ 294, อัน-นะสาอียฺ 2016) ทั้งนี้เป็นเพราะพวกผู้หญิงนั้นอ่อนไหวง่าย อาจท าในสิ่งที่ต้องห้ามได้เมื่ออยู่ในกูนบรฺ เช่นการร้องไห้ ร าพึงร าพัน ทรมานตัวเอง การร้องไห้ตีนพยตีพาย เป็นต้น แทนที่จะมานึกคิดและไตร่ตรองถึงวันอาคิเราะฮฺ กลับมาสร้างความวุ่นวายแทน ส าหรับผู้ที่เยี่ยมกูนบรฺนั้นมีสุนนะฮฺให้กล่าวสลามว่า َّس َلُم ْ ُُك »ال ْ ي َ عَل َ َِار ٍ ْوم َن قَ ، ِ ن ُم ْؤم ََّن ِ ِ ا و ْن َ ِ ا َ ُ ُْك ا ََُّّلل َشاء ]مسَل 870ََ ]لِح « ُقوَن ِب อ่านว่า อัสสลามุอะลัยกุม ดารอเกามิน มุอ์มินีน, วะอินนา อินชาอัลลอฮุ บิกุม ลาหิกูน ความว่า “ขอความสันติจงประสบแด่ท่านทั้งหลาย นอ้ ผู้อาศัย ณ ที่พ านักของศรัทธาชน และแท้จริง เราทั้งหลายก็จะติดตามพวกท่านไป อินชาอัลลอฮฺ” ทั้งนี้เพราะท่านนบีได้ใช้ให้กล่าวเช่นนั้น (บันทึกนดยมุสลิม 607) ข้อควรระวังอย่างหนึ่งส าหรับมุสลิมคืออย่าไปเทิดทูนบูชากูนบรฺ ด้วยการหาความเป็นสิริมงคลจากกูนบรฺ หรือด้วยการลูบคล้ าและขอดุอาอ์จากกูนบรฺ เพราะการกระท าเหล่านี้เป็นสิ่งที่น ามาซึ่งการตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ ตะอฺซิยะฮฺ หรือ การแสดงความเสียใจต่อครอบครัวผู้ตาย เมื่อทราบข่าวการตายของพี่น้องมุสลิมแล้ว ควรไปถามข่าวที่บ้านคนตาย พูดคุยกับครอบครัวคนตาย ให้คลายความนศกเศร้า ซึ่งเรียกว่า ตะอฺซิยะฮฺ (التعزية )อาจนดยการกล่าวว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 129 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา » َّن ِ ا ِ أ َخ ُ َذ َما ، َِّللَّ ََل َ أ ْعَطى، ُ لك َ َ و َما َ ى َج ٍل ِع و ْنَدُه َ ِبأ ًّ ْب ُم ، ا ْصِ ْْب َسم ا ْحتَ ِس فَ و « ]البخاري برمق 2169 ،ومسَل َ برمق 1209] ความว่า “แท้จริง ล้วนเป็นกรรมสิทธิของอัลลอฮฺ ทั้งสิ่งที่ทรงเอาไปและสิ่งที่ทรงให้มา และทุกอย่าง นั้นล้วนมีอายุขัย ณ พระองค์ด้วยกันทั้งสิ้น ดังนั้น ท่านจงอดทนเถิด จงหวังในผลบุญจากอัลลอฮฺเถิด” (อัล-บุ คอรียฺ 1274, มุสลิม 2174) ทั้งนี้ เพราะท่านนบีเคยกล่าวเช่นนั้น หรือจะกล่าวว่า ه » هك ْجر أ ُهللا َ ه هع « َّظم อ่านว่า อัซเซาะมัลลอฮุ อัจญ์ร็อก ความว่า ขออัลลอฮฺทรงตอบแทนผลบุญของท่านอย่างยิ่งใหญ่เถิด หรือ أ « ْحهس » هن ُهللا هعهزا هك َ อ่านว่า อะหฺสะนัลลอฮุ อะซากะ ความว่า ขออัลลอฮฺทรงให้ท าท่านได้อดทนต่อการสูญเสียด้วยความเข้มแข็งอย่างดีด้วยเถิด อนุญาตให้ร้องไห้เมื่อมีญาติหรือคนสนิทตายได้แต่อย่าเสแสร้ง เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม เคยร้องไห้เมื่ออิบรอฮีมลูกชายของท่านตาย (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ) แต่ไม่อนุญาตให้ร้องแบบคร่ า ครวญหรือนวยวาย อนุญาตให้ผู้ที่มีคนใกล้ชิดตายท าการ อิหฺดาด (ไว้ทุกข์) กล่าวคือ หยุดงาน งดออกเที่ยว หรืออื่นๆ เพื่อ แสดงถึงความนศกเศร้าต่อการตาย แต่ทั้งนี้อนุญาตให้ไว้ทุกข์ได้แค่สามวันเท่านั้น เว้นแต่ภรรยาซึ่งสามีตาย วา ญิบส าหรับเธอที่จะต้องไว้ทุกข์เป็นระยะเวลาหนึ่งช่วง อิดดะฮฺ (ระยะการรอคอย)เพื่อหมดพันธะคือ สี่เดือนกับ อีกสิบวันหากเธอไม่ได้ตั้งท้องอยู่ และหากตั้งท้องให้ไว้ทุกข์จนถึงคลอด ไม่อนุญาตให้ร้องไห้แบบคร่ าครวญ ซึ่งหมายถึง การคร่ าครวญถึงบุญคุณ ความดีของผู้ตาย เช่น นอ้ผู้ที่ คอยหาอาหารให้ฉัน นอ้ผู้ที่คอยหาเครื่องนุ่งห่มให้ฉัน จากฉันไปเสียแล้วหรือนวยวาย ซึ่งหมายถึง การร้องไห้ คร่ าครวญ นวยวาย คล้ายนกพิราบร้อง ซึ่งดูคล้ายกับว่าไม่ยอมรับถึงก าหนดการณ์ของอัลลอฮฺ ไม่อนุญาตเช่นกัน หากมีการฉีกเสื้อผ้า ตบหน้าตบแก้มตัวเอง จับ ดึง ถอนผมบนศรีษะตัวเองและการ กระท าอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยกล่าวไว้ว่า َس »يْ َ ل نَّا م َم ْن ِ َ َطم ل ُخُدوَِ َ ال َشَّق ْ ُ و و َب َ ُجي ْ ال َِعَا َ و ى َ ِب َدْعو َِِّ ي ِ ِهل َجا ْ ال « ]البخاري برمق 2199] ความว่า “ไม่จัดว่าอยู่ในหมู่พวกเราส าหรับคนที่ร้องไห้ ตบหน้าตบแก้มตัวเอง ฉีกเสื้อฉีกผ้า และชอบ เรียกร้องอ้างถึงการกระท าที่เป็นญาฮิลิยะฮฺ” (อัล-บุคอรียฺ 1294)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 130 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ละหมาดซุนนะห์ต่างๆ ซุนนะห์คือ ชีวิตของท่านนบีมูฮัมมัด (ซ.ล.) ทั้งปวง ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติศาสนกิจ จริยธรรม ศีลธรรม คุณธรรม แม้กระทั่งกิริยามารยาทของท่าน ผู้ใดปฏิบัติแค่ไหนจากชีวิตของท่าน ก็ถือว่าเป็นซุนนะห หากคนหนึ่งคนใดมีความสงสัยหรือคลางแคลงใจว่า ท าไมต้องยึดมั่นในแนวทางของท่านนบีมูฮัมมัด (ซ.ล.) เท่านั้น ? และ ทางที่เที่ยงตรงจะไม่ปรากฏเว้นแต่ด้วยท่านนบีกระนั้นหรือ? ค าตอบคือ การที่เราใช้การ พินิจพิจารณาด้วยสติปัญญาอันบริสุทธิ์ปราศจากนรคแห่งการบิดพลิ้ว ( فاَ ِ الند (เราจึงต้องเข้าใจว่า การเป็นบ่าว ของอัลลอฮฺนั้นจะต้องมีคุณสมบัติประการส าคัญที่สุด คือ การเชื่อฟังต่อพระบัญชาของอัลลอฮฺ ในเมื่ออัลลอฮฺ ทรงมอบศาสนทูตจากพระองค์ เพื่อท าหน้าที่เผยแผ่พระบัญชาของพระองค์นั้น เป็นความจ าเป็นที่ต้องเข้าใจว่า การเชื่อฟังศาสนทูตของพระองค์ก็คือการเชื่อฟังในพระบัญชาของอัลลอฮฺนั่นเอง ดังด ารัสของพระองค์ในซู เราะฮฺ อันนิซาอ์ อายะฮฺ 80 َّ ُسوَ فَقَ ْد َأ َطا َع ا َََّّلل ( الر ِ ِطع ُ )َم ْن )سورة النساء: من اْل يِ 33 )ي ความว่า “ผู้ใดเชื่อฟังร่อซูล แน่นอนเขาก็เชื่อฟังอัลลอฮฺแล้ว” และในหลายอายะฮฺได้สั่งใช้ให้เราเชื่อฟังอัลลอฮฺ พร้อมทั้งร่อซูลของพระองค์ เช่น อายะฮฺที่ 59 ในซู เราะฮฺ อันนิซาอ์ ُ ُْك ( نْ ْمِر مِ َ ُأوِِل اْلْ َ َّ ُسوَ و ُعوا الر أَ ِطي َ ُعوا ا َََّّلل و ِطي َمنُوا َأ َن أ ي ََّّلِ َيَا ا )ََي )سورة النساء: من اْل يِ 39َ )أُّ ความว่า “นอ้ศรัทธาชนทั้งหลาย พวกท่านจงเชื่อฟังอัลลอฮฺ เชื่อฟังร่อซูล และผู้น าในหมู่พวกท่าน เถิด” และในอายะฮฺที่ 1 ของซูเราะฮฺ อัลหุญุร้อต อัลลอฮฺได้ตรัสไว้ว่า ) َ ُسوَِلِ َر و َدِي ا ََّّللِ َ ْنَ ي َ ُموا ب َمنُوا َل تُقَ ددِ َن أ ي ََّّلِ َيَا ا )ََي )سورة احلجرات: من اْل يِ 0َ )أُّ มีความหมายว่า “นอ้ศรัทธาชนทั้งหลาย พวกเจ้าอย่าได้ล้ าหน้า(ในการกระท าใดๆ) เมื่ออยู่ต่อ หน้าอัลลอฮฺและร่อซูลของพระองค์” ฉะนั้นแล้ว การที่มุอ์มินผู้ศรัทธาเชื่อมั่นในแนวทางของท่านนบีมูฮัมมัด (ซ.ล.) นั่นก็หมายถึง เขา เชื่อมั่นในแนวทางของอัลลอฮฺนั่นเอง จึงจะแยกแนวทางของท่านนบีมูฮัมมัด(ซ.ล.) จากแนวทางของอัลลอฮฺมิได้ เป็นอันขาด จากเหตุผลนี้เรายืนยันได้ว่า ค าว่า “อัซซุนนะฮฺ” ก็หมายถึงศาสนาอิสลามนั่นเอง มิใช่นิกาย หรือ กลุ่มชน หรือแนวทางอันประหลาด หรือทฤษฎีส่วนตัว หรือทรรศนะของนักปราชญ์ใดๆ ทั้งสิ้น เวลาที่ห้ามท าการละหมาด เวลาที่ห้ามท าการละหมาด นดยสรุปแล้วมี 3 ช่วง คือ: 1- ตั้งแต่หลังละหมาดศุบหฺ กระทั่งหลังดวงอาทิตย์ขึ้นประมาณ 15 นาที 2- ขณะที่ดวงอาทิตย์อยู่กึ่งกลางท้องฟ้า (ช่วงเวลาประมาณ 5-10 นาทีก่อนได้เวลาละหมาดซุฮรฺ) 3- ตั้งแต่หลังละหมาดอัศรฺ จนกระทั่งดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า โดยมีหลักฐานหลักๆดังนี้: 1- ท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮฺอันฮฺ กล่าวว่า : َِنَيى َع ْن َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َّن النَِّبَّ َصََّل ا ََُّّلل عَل أ َ ُ ِعْن ِدي َُمعر ْرَضا ُهْ أ َ َ وَن و ُّ ْرِضي ْ ِح َشهِ َد ِعْن ِدي ِرَجاٌ َم صب ُّ َْعَد ال ب َّصلةِ ال َع ُْصِ َحَّىت تَ ْغ َح ُرَب َّىت تَ ْرشُ َ ْ َْعَد ال ب َ ْ ُس و ال َّشم


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 131 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา "บุรุษที่เป็นที่ยอมรับหลายท่าน - ที่เป็นที่ยอมรับที่สุดในหมู่พวกเขาส าหรับฉันก็คือท่านอุมัรฺ - ได้ กล่าวยืนยันกับฉันว่า ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม : ห้ามให้ท าการละหมาดหลังละหมาดศุบหฺ จนกว่าดวงอาทิตย์จะขึ้น และั หลังละหมาดอัศรฺ จนกว่าดวงอาทิตย์จะตกดิน" [บันทึกนดย บุคอรี 547 และมุสลิม 1367] 2- ท่านอบูสะอีด อัลคุดรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ กล่าวว่า : ฉันได้ยินท่านนบี: กล่าวว่า : َع ُْصِ ْ َْعَد ال ََل َصلَة ب ْ ُس و َع ال َّشم ْرتَفِ َ ْ ِح َحَّىت ت صب ُّ َب ال َّشْم ُس َْعَد ال غي ِ َحَّىت تَ َل َصلَة ب "ไม่มีการละหมาดหลังจากละหมาดศุบหฺ จนกว่าดวงอาทิตย์จะขึ้นสูง และไม่มีการละหมาดหลัง ละหมาดอัศรฺ จนกว่าดวงอาทิตย์จะลับขอบฟ้า" [บันทึกนดย บุคอรี 511] 3- ท่านอุกบะฮฺ บิน อามิร เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ กล่าวว่า : َ ُس ْوََتََن : ِح َن ثَل ُث َساعَا ٍت ََكَن ر ِْيَّن َم ْن فَْقُْبَ فِ ْو َأ ِْيَّن َأ فِ َ َصدِل ِ ْن فُ َّْنَاََن َأ َ َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل ُع ال َّشْم ُس ا ََّّللِ ُ وُ تَ ْطل ُف َّ ِح َن تَ َضي َ ْ ُس و ِمي َل ال َّشم َحَّىت تَ ُ ال َّظهِ َرةِ ُقوُم قَائِ َ ِح َن ي َ َع و ْرتَفِ َ ُرَب َحَّىت ت ُو ِب َحَّىت تَ ْغ َِبِزغًَِ ُغر ْ ل ِ ْ ُس ل ال َّشم "มีสามช่วงเวลา ที่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิ วะสัลลัม: ได้ห้ามให้เราท าการละหมาดหรือ ฝังคนตาย : ขณะดวงอาทิตย์ก าลังขึ้น จนกว่ามันจะขึ้นสูงไปในระดับหนึ่ง และขณะที่ดวงอาทิตย์อยู่ กึ่งกลางท้องฟ้า จนกว่ามันจะคล้อยเล็กน้อย และขณะที่ดวงอาทิตย์ก าลังจะตก จนกว่ามันจะลับ หายไป" [บันทึกนดย มุสลิม 1373] ** หมายเหตุ : การห้ามในที่นี้ครอบคลุมเฉพาะการละหมาดสุนัตในช่วงเวลาดังกล่าวนดยไม่มีสาเหตุ น า (เช่น อยู่ๆก็อยากละหมาดสุนัต 2 ร็อกอัตในช่วงเวลาดังกล่าว) แต่ถ้าเป็นละหมาดที่มีสาเหตุน า (เช่น ละหมาดตะหิยะตุลมัสยิดเมื่อเข้าสู่มัสยิด หรือละหมาดญะนา ซะฮฺ) หรือละหมาดฟัรฎฺ/ชดละหมาดฟัรฎฺ เช่นนี้ก็อนุญาตให้ท าในช่วงเวลาดังกล่าวได้ (ตามทัศนะที่มีน้ าหนัก มากกว่า) ละหมาดสุนัตร่อวาติบก่อนและหลังละหมาดฟัรฎู ละหมาดร่อวาติบ คือละหมาดสุนัตก่อนและหลังละหมาดฟัรฎฏ ละหมาดสุนัตก่อนฟัรฎฏ เรียกว่า สุนัตก็ อบลียะฮ์ ]ُِ َّ ي ِ ل ْ قَب ْ لَا [ และละหมาดสุนัตหลังฟัรฎฏ เรียกว่าสุนัตบะอฺดียะฮ์ ]ُِ َّ َ ْعِدي ب ْ ل [ اَ เคล็ดลับในการละหมาดร่อวาติบ ท่านอิหม่าม อัชชัรกอวีย์ ได้กล่าวว่า “เคล็ดลับในการละหมาดร่อวาติบนั้น เพื่อมาเสริมส่วนที่ บกพร่องจากละหมาดฟัรฎฏ เช่น ไม่คุชั๊วะอฺในละหมาด (หัวใจไม่มีสมาธิอยู่กับอัลเลาะฮ์) ไม่ใคร่ครวญสิ่งที่อ่าน ในละหมาด...” (ฮาชียะฮ์อัชชัรกอวีย์ อะลา ตุห์ฟะตุฏฏุลล๊าบ, เล่ม 1 หน้า 296, และฮาชียะฮ์ อัลบุญัยรีมียะฮ์ อะลัล มันฮัจญฺ, เล่ม 1 หน้า 274) ท่านอะบูฮุร็อยเราะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ْن ََمع مِ اَمِِ َ ي قِ ْ َْوَم ال ُد ي ْ َعب ْ ال َس ُبِبهِ َ َما ََُيا َّ َّنَأو ِ َ َسََّلَ: ا و ْهِ ي َ َ ُسْوُ ِهللا َصَِّل ُهللا عَل َح قَا ْت فَقَ ْد َ ر ُ ْن َصل ِ َصَلتُُه فَا َِلِ َخِِسَ َ َسَد ْت فَقَ ْد َخا َب و ْن فَ ِ ا َ َح و َْنَ َأ َ َح و َ ْن َأفْل ِدي مِ ْ َعب ِ ُوا َه ْل ل َ َج َّل افْ ُظر ب َعَّز و ُّ َّ قَا َ الر ٌ ََشْ ء ِري َضتِهِ ْن فَ َص مِ ْن افْتَقَ ِ فَا ََل َذِ َِل عَ ََمعَِلِ ُ ِر َُوُن َساِئ َ َّ ي َفِري َضِِ ثُ ْ ْن ال َص مِ َل ِِبَا َما افْتَقَ َْكَّ ُ فَي ُّعٍ تَ َطو “ท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า แท้จริงสิ่งแรกที่บ่าวจะถูกสอบสวนในวันกิยา มะฮ์จากอะมัลของเขา คือการละหมาด ดังนั้นถ้าหากละหมาดของเขาดี แน่นอนเขาย่อมได้รับชัยชนะและ ประสบความส าเร็จ และถ้าหากละหมาดของเขาบกพร่อง แน่นอนเขาย่อมสิ้นหวังและขาดทุน ฉะนั้นถ้าหาก


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 132 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ละหมาดฟัรฎฏของเขามีบางสิ่งที่บกพร่อง (กระท าไม่สมบูรณ์) อัลเลาะฮ์ ผู้ทรงยิ่งใหญ่และทรงเกียรติจึงตรัส (แก่มะลาอิกะฮ์) ว่า พวกเจ้าจงดูว่า บ่าวของข้ามีอะมัลสุนัต (คือละหมาดสุนัตก่อนและหลังฟัรฎฏ) หรือไม่? แล้ว ท าการเสริมสิ่งบกพร่องจากละหมาดฟัรฎฏด้วยอะมัลสุนัต หลังจากนั้นบรรดาอะมัลอื่นๆ ของเขาก็อยู่บน หลักการดังกล่าว” รายงานนดยอัตติรมีซีย์ (หะดีษล าดับที่ 413, ท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะดีษนี้หะซัน) ละหมาดสุนัตร่อวาติบมีสองประเภท คือมุอั๊กกั๊ดและไม่มุอั๊กกั๊ด ละหมาดสุนัตร่อวาติบมุอั๊กกั๊ด ละหมาดสุดนัตร่อวาติบมุอั๊กกั๊ด คือละหมาดที่เน้นให้กระท าและท่านนะบีย์ได้ท าเป็นประจ า มีดังนี้ 1 . ละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์ก่อนละหมาดซุบฮิ ท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา ได้กล่าวว่า ََل نْ ُه عَ ِل َأ َشَّد ُمَعا َهَدًة مِ افِ َ ْن النَّو مِ ََل ََشْ ءٍ َُْن عَ َ ي ْ م َ َ َسََّلَ ل و ْهِ ي َ َأ ْ ِن َّن النَِّبَّ َصََّل ا ََُّّلل عَل َعتَ َكْ ْ ِح ر صب ُّ َل ال ْ قَب “แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยท าสิ่งหนึ่งจากบรรดาสิ่งที่เป็นสุนัตอย่างเป็น ประจ าที่สุดมากไปกว่าสองร็อกอะฮ์ก่อนซุบฮิ” รายงานนดยอัลบุคอรีย์ (หะดีษล าดับที่ 1196) และมุสลิม (หะ ดีษล าดับที่ 724) ท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวเช่นกันว่า َ َما فِْيَا ا و َ ْن ا َُّلفْي َف ْجِر َخٌْر مِ ْ َعتَا ال َكْ َ َسََّلَ قَا َ ر و ْهِ ي َ َع ْن النَِّبِد َصََّل ا ََُّّلل عَل “จากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ท่านได้กล่าวว่า สองร็อกอะฮ์ (ก่อน) ซุบฮิประเสริฐกว่าดุน ยาและสิ่งที่อยู่ในดุนยา” รายงานนดยมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 725) 2 . ละหมาดสองร็อกอะฮ์ก่อนละหมาดซุฮ์ริและละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์หลังละหมาดซุฮ์ริ ท่านอิบนุอุมัร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา ได้กล่าวว่า َل ال ُّظهْ ِر َسْ َدتَ ْ َ َسََّلَ قَب و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوِ ا ََّّللِ َع ر ُت َم ْ ي َّ َسْ َدتَْن َص ِ ل َْعَدَها ب َ ْ ِن و “ฉันเคยละหมาดพร้อมกับท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก่อนละหมาดซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์ และหลังซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์” รายงานนดยอัลบุคอรีย์ (หะดีษล าดับที่ 1165) และมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 729) 3 . ละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์หลังละหมาดมัฆริบ ท่านอิบนุอุมัร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา ได้กล่าวว่า َْع ب َ َسْ َدتَْ ِن و َْعَدَها ب َ َل ال ُّظهْ ِر َسْ َدتَْ ِن و ْ َ َسََّلَ قَب و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوِ ا ََّّللِ َع ر ُت َم ْ ي َّ ْغِرِب َسْ َدتَْن َص ِ ل َ م ْ َد ال “ฉันเคยละหมาดพร้อมกับท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก่อนละหมาดซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์ และหลังซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์และหลังละหมาดมัฆริบสองร็อกอะฮ์” รายงานนดยอัลบุคอรีย์ (หะดีษล าดับที่ 1165) และมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 729) 4 . ละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์หลังละหมาดอิชาอฺ ท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา ได้กล่าวว่า َيْ ْدُخ ُل ب َ ي َ َ و َشاء عِ ْ ِِبلنَّاِس ال ُ َصِِل د ي َ ْ ِن و َعتَ َكْ ُ َصِِل د ر ْدُخ ُل فَي َ َّ ي ْغِرَب ثُ َ م ْ ِِبلنَّاِس ال ُ َصِِل د ْ ِن ََكَن ي َعتَ َكْ ُ َصِِل د ر ِِت فَي “ท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ท าการละหมาดมัฆริบพร้อมผู้คนทั้งหลาย หลังจากนั้น ท่านเข้ามา (ในบ้านของฉัน) แล้วท่านละหมาดสองร็อกอะฮ์ และท่านละหมาดอิชาอฺพร้อมผู้คนทั้งหลายและ ท่านก็เข้ามาในบ้านของฉัน แล้วละหมาดสองร็อกอะฮ์” รายงานนดยมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 730)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 133 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ละหมาดสุนัตร่อวาติบไม่มุอั๊กกั๊ด ละหมาดสุนัตร่อวาติบไม่มุอั๊กกั๊ด คือละหมาดสุนัตที่ท่านนะบีย์ท าไม่เป็นประจ าหรือสั่งให้ผู้อื่นกระท า เท่านั้น มีดังนี้ 1 . ละหมาดสุนัตก่อนซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์และละหมาดสุนัตหลังซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์ กล่าวคือ ละหมาดสุนัตร่อวาติบมุอั๊กกั๊ดก่อนซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์และละหมาดร่อวาติบที่ไม่มุอั๊กกั๊ดก่อน ซุฮ์ริอีกสองร็อกอะฮ์ รวมเป็นสี่ร็อกอะฮ์ และละหมาดสุนัตร่อวาติบมุอั๊กกั๊ดหลังซุฮ์ริสองร็อกอะฮ์และละหมาด ร่อวาติบที่ไม่มุอั๊กกั๊ดหลังซุฮ์ริอีกสองร็อกอะฮ์ รวมเป็นสี่ร็อกอะฮ์ ดังนั้นถ้าหากบุคคลหนึ่งละหมาดร่อวาติบที่มุ อั๊กกั๊ดเพียงแค่สองร็อกอะฮ์ก่อนและหลังซุฮ์ริ ถือว่าตามซุนนะฮ์นะบีย์แล้ว แต่ถ้าหากเพิ่มละหมาดสุนัตอีกสอง ร็อกอะฮ์ที่ไม่มุอั๊กกั๊ดก่อนและหลังซุฮ์ริ ก็ถือว่าประเสริฐยิ่ง ท่านหญิงอุมมุหะบีบะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า ْل ال ُّظهْر ، َعا ٍت قَب َكَ َع ر ْرب ََل َأ َ َسََّلَ: َم ْن َحافَظَ عَ و ْهِ ي َ َ ُسْوُ ِهللا َصَِّل ُهللا عَل ََل قَا النَّار َ ر َّ َمُه ا ََّّلل عَ َحر َْعدَها َع ب ْرب َأ َ و “ท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า ผู้ใดที่รักษาละหมาดสี่ร็อกอะฮ์ก่อนซุฮ์ริ และอีกสี่ร็อกอะฮ์หลังซุฮ์ริ แน่นอนอัลเลาะฮ์จะห้ามเขาจากไฟนรก” รายงานอะบูดาวูด (หะดีษล าดับที่ 1269) และอัตติรมีซีย์ (หะดีษล าดับที่ 427, และท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะดีษหะซันซอฮิห์) ส าหรับละหมาดสุนัตร่อวาติบญุมุอะฮ์ (ละหมาดวันศุกร์) นั้น ท่านอิหม่ามอันนะวาวีย์ กล่าวว่า “หลังจากละหมาดญุมุอะฮ์แล้ว ก็ให้ละหมาดสุนัตร่อวาติบสี่ร็อกอะฮ์และก่อนละหมาดญุมุอะฮ์นั้น สุนัตให้ ละหมาดสุนัต (เหมือนกับหลักของ) การละหมาดสุนัตก่อนละหมาดซุฮ์ริ (คือให้ท าละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์ ก่อนซุฮ์ริ) ” (อันนะวาวีย์, มินฮาจญ์ อัฏฏอลิบีน, หน้า 14) 2 . ละหมาดสุนัตสองหรือสี่ร็อกอะฮ์ก่อนละหมาดอัสริ ท่านอะลีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า ُّ ََكَن النَِّب َ م ْ ََل ال عَ ِ ِي ْسل َيََّْنُ َّن ِِبلتَّ ْف ِص ُل ب َ َعا ٍت ي َكَ ََع ر ْرب َأ َع ُْصِ ْ َل ال ْ قَب ُ َصِِل د َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َ َص َم ْن ََّل ا ََُّّلل عَل َن و ِب َّ ُقَر م ْ ال ََِِ ِ َلِئ َن ِ ن ْؤمِ ُ م ْ ال َ ِِم َن و ُ ْسل م ْ ْن ال مِ ْ َعهُم تَِب “ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ละหมาด (สุนัต) สี่ร็อกอะฮ์ก่อน (ละหมาด) อัสริ นดยท่าน แบ่งระหว่างสี่ร็อกอะฮ์ (คือท าทีละสองร็อกอะฮ์) ด้วยการให้สลาม (หลังอ่านตะชะฮุด) ต่อบรรดามะลาอิกะฮ์ผู้ ใกล้ชิดและผู้ที่เจริญรอยตามพวกเขา (ในการศรัทธาต่ออัลเลาะฮ์เพียงหนึ่งเดียว) จากบรรดามุสลิมและมุอฺมิน” รายงานนดยอัตติรมีซีย์ (หะดีษล าดับที่ 429, และท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะดีษนี้หะซัน) และรายงานจากท่านอะลีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ อีกเช่นเดียวกัน ความว่า ْ ِن َعتَ َكْ َع ُْصِ ر ْ َل ال ْ قَب ُ َصِِل د ََكَن ي َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َّن النَِّبَّ َصََّل ا ََُّّلل عَل َأ “แท้จริงท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ท าการละหมาดสองร็อกอะฮ์ก่อนอัสริ” รายงาน นดยอะบูดาวูด (หะดีษล าดับที่ 1272) ท่านอิบนุอุมัร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ ได้กล่าวว่า َ ْرب َأ َع ُْصِ ْ َل ال ْ َصََّل قَب ً نأ َ ا ََُّّلل اْمر َ ِحم َ َ َسََّلَ ر و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوُ ا ََّّللِ ًع قَا ا َ ر “ท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า ขออัลเลาะฮ์ทรงเมตตาบุคคลหนึ่งที่ ละหมาด (สุนัต) สี่ร็อกอะฮ์ก่อนอัสริ” รายงานอะบูดาวูด (หะดีษล าดับที่ 1271) และอัตติรมีซีย์ (หะดีษล าดับที่ 430, และท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะดีษนี้หะซัน)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 134 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 3 . ละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์ก่อนมัฆริบ รายงานจากท่านอับดุลเลาะฮ์ อัลมุซะนีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ ความว่า َ َ ْن َشاء م ِ ل ثَِِ ِ ْغِرِب قَا َ ِِف الثَّال َ م ْ ال َل َصَلةِ ْ وا قَب ُّ َ َسََّلَ قَا َ َصل و ْهِ ي َ َع ْن النَِّبِد َصََّل ا ََُّّلل عَل “จากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ท่านได้กล่าวว่า พวกท่านจงละหมาด (สองร็อกอะฮ์) ก่อนละหมาดมัฆริบ ท่านนะบีย์ได้กล่าวครั้งที่สามว่า ส าหรับผู้ที่ประสงค์ (จะละหมาดเท่านั้น) ” รายงาน นดยอัลบุคอรีย์ (หะดีษล าดับที่ 1183) 4 . ละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮ์ก่อนอิชาอฺ รายงานจากท่านอับดุลเลาะฮ์ บิน มุฆ็อฟฟัล อัลมุซานีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ ความว่า َ َ ْن َشاء م ِ َلًًث ل ُكِد َأ َذافَْ ِن َصَلٌة ثَ ْنَ َ َ َسََّلَ قَا َ ب و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوَ ا ََّّللِ َّن ر َأ “แท้จริงท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า ระหว่างสองอะซาน (คืออะซานกับ อิกอมะฮ์) นั้น มีละหมาด ท่านกล่าวถึงสามครั้ง (ครั้งที่สามท่านนะบีย์กล่าวว่า) ส าหรับผู้ที่ประสงค์ (จะ ละหมาด) ” รายงานนดยอัลบุคอรีย์ (หะดีษล าดับที่ 627) และมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 729) เวลาเข้าละหมาดร่อวาติบ 1 . เวลาละหมาดสุนัตร่อวาติบก่อนละหมาดฟัรฎู (สุนัตก็อบลียะฮ์) คือเมื่อเข้าเวลาละหมาดฟัรฎฏ และสิ้นสุดเวลาละหมาดร่อวาติบก็อบลียะฮ์เมื่อหมดเวลาละหมาดฟัรฎฏ (มินฮาจญ์ อัฏฏอลิบีน, หน้า 14 .) แต่อนุญาตให้ล่าช้าละหมาดสุนัตร่อวาติบก็อบลียะฮ์ไปท าหลังละหมาดฟัรฎฏ ได้ เพราะถือว่ายังอยู่ในเวลา เพราะเวลาเข้าละหมาดร่อวาติบก็อบลียะฮ์นี้ คือเริ่มเข้าเวลาละหมาดฟัรฎฏและ เวลายังคงยืดยาวเรื่อยไปจนกระทั่งหมดเวลาละหมาดฟัรฎฏ แต่บางครั้งสุนัต (ส่งเสริม) ให้ละหมาดสุนัตร่อวาติบ ก็อบลียะฮ์หลังละหมาดฟัรฎฏแล้ว เช่น กรณีของผู้ที่มาละหมาดซุบฮิ แล้วปรากฏว่าก าลังอิกอมะฮ์ละหมาดซุบฮิ หรือใกล้จะอิกอมะฮ์แล้ว ซึ่งถ้าหากเขามัวสนใจจะท าละหมาดสุนัตร่อวาติบก็อบลียะฮ์ก่อน ก็จะไม่ทันการ ตักบีรของอิหม่าม ดังนั้นก็ให้เขาท าการละหมาดฟัรฎฏก่อน หลังจากนั้นก็ให้ท าการละหมาดสุนัตร่อวาติบก็อบลี ยะฮ์... (ดู อิอานะฮ์อัฏฏอลิบีน, เล่ม 1 หน้า 248 .) 2 . เวลาละหมาดร่อวาติบหลังละหมาดฟัรฎู (สุนัตบะอฺดียะฮ์) คือเมื่อละหมาดฟัรฎฏเสร็จเรียบร้อยแล้ว และสิ้นสุดละหมาดร่อวาติบเมื่อหมดเวลาละหมาดฟัรฎฏ (มิน ฮาจญ์ อัฏฏอลิบีน, หน้า 14) และไม่อนุญาตให้ท าละหมาดร่อวาติบบะอฺดียะฮ์ก่อนละหมาดฟัรฎฏ (ดู อิอานะฮ์ อัฏฏอลิบีน เล่ม 1 หน้า 248) วิธีละหมาดร่อวาติบ 1 . ละหมาดคนเดียว ไม่ต้องท าเป็นญะมาอะฮ์ฮาชียะฮ์. (มินฮาจญ์ อัฏฏอลิบีน, หน้า 14) 3 . ในละหมาดร่อวาติบก่อนซุบฮินั้น หลังจากอ่านซูเราะฮ์อัลฟาติหะฮ์แล้ว ก็ให้อ่านอายะฮ์ที่ 136 ซู เราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ในร็อกอะฮ์แรกและอ่านอายะฮ์ที่ 64 ซูเราะฮ์อาลิอิมรอนในร็อกอะฮ์ที่สอง หรืออ่านซู เราะฮ์อัลกาฟิรูนในร็อกอะฮ์แรก และซูเราะฮ์อัลอิคลาศในร็อกอะฮ์ที่สอง อายะฮ์ที่ 136 ซูเราะฮ์อัลบะเกาะเราะฮ์ คือ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 135 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َْعُقو َب ي َ ْسَاَ و ِ ا َ ِعي َل و ْْسَا ِ ا َ ِه َي و ا َ ْر ب ِ َىل ا ِ ْ ِزَ ا َ َما ُأن َا و ن ْ ي َ ل ِ ْ ِزَ ا َ َما ُأن و َمنَّا ِِبََّّللِ َ وا أ ُ قُول عي َس َ َ و ِ َ َما ُأوِ َِت ُموَس و ِط و ا َ ْ ب َس اْلْ ُوَن م ِ ْسل ُن ََلُ ُم ََنْ َ ْ و َّْنُم َحٍد مِ َأ ْنَ َ ُ ب د ََل فَُفِر ْ ِدِِبم َ ْن ر وَن مِ ُّ َ َما ُأوِ َِت النَِّبي و อายะฮ์ที่ 64 ซูเราะฮ์อาลิอิมรอน คือ نَنَا ْ َي ب اءٍ َ َسو ٍَِ َىل ََِكم ِ ْوا ا َ َعال َِتَا ِب تَ ْ ََي َأ ْه َل ال َْع قُ ْل ًضا َا ب َْع ُضن ِخَذ ب َتَّ ََل ي َ َشيْئًا و ََل نُ ْرشِ َك ِبهِ َ ََّل ا َََّّلل و ِ َد ا ُ ْعب ََّل فَ ُ ُْك َأ َيْنَ ب َ و ُوَن م ِ ْسل وا ا ْشهَ ُدوا ِبأَََّن ُم ُ ْوا فَُقول َّ ل َ ْن تَو ِ فَا ْن ُِوِن ا ََّّللِ ْرَِبًِب مِ َأ ท่านอิบนุอับบาส ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุมา ได้รายงานว่า َ ُسو ََكَن ر َ ل ِ ْ ِزَ ا َ َما ُأن و َمنَّا ِِبََّّللِ وا أ ُ َف ْجِر: قُول ْ ال َعَِتْ َكْ ُأ ِِف ر َ ْقر َ َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل ُ ا ََّّللِ ْوا َ َعال َن: تَ ا َ ِِت ِِف أ ِ ِمعْر َّ ال َ َا. و ن ْ ي ُ ُْك َيْنَ ب َ نَنَا و ْ َي ب اءٍ َ َسو ٍَِ َىل ََِكم ِ ا “แท้จริงท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้อ่านในละหมาดสุนัตสองร็อกอะฮซุบฮิ ซึ่งใน ร็อกอะฮ์ ว่า “กูลู อามันนา บิลลาฮิ วะมา อุนซิละ อิลัยนา”...จนจบและอายะฮ์ที่อยู่ในซูเราะฮ์อาลิอิมรอน ว่า “ตะอาเลา อิลา กะลิมะติน สะวาอิน บัยนะนา วะบัยนะกุ้ม...จนจบอายะฮ์” รายงานนดยมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 727) ท่านอะบูฮุร็อยเราะฮ์ ได้รายงานว่า قُ ْل َ ُوَن و ََكفِر ْ َيَا ال َف ْجِر قُ ْل ََي َأُّ ْ ال َعَِتْ َكْ َأ ِِف ر َ َ َسََّلَ قَر و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوَ ا ََّّللِ َح َأ ٌد َّن ر ا ََُّّلل َأ َ ُهو “แท้จริงท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้อ่าน กุลยาอัยยุฮัลกาฟิรูน และกุลฮุวัลลอ ฮุอะหัด ในละหมาด (สุนัต) สองร็อกอะฮ์ของซุบฮิ” รายงานนดยมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 726) ท่านอิบนุอุมัร กล่าวว่า َف ْجِرِبُق ْل ََي ْ َل ال ْ ْ ِن قَب َعتَ كْ َّ ُأ ِِف الر َ ْقر َ ا فَ ََكَن ي ً َشهْر َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َحٌد ََمْق ُت النَِّبَّ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ر ا ََُّّلل َأ قُ ْل ُهو َ ُوَن و ََكفِر ْ َيَا ال َأُّ “ฉันเห็นท่านร่อซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ละหมาดหนึ่งเดือน แล้วท่านก็อ่านในละหมาด สุนัตสองร็อกอะฮ์ซุบฮิ ด้วยกุลยาอัยยุฮัลกาฟิรูนและกุลฮุวัลลอฮุอะหัด” รายงานนดยอัตติรมีซีย์ (หะดีษล าดับที่ 417, และท่านอัตติรมีซีย์กล่าวว่า หะดีษนี้หะซัน) ส่วนละหมาดร่อวาติบอื่นจากซุบฮิ ก็ให้อ่านซูเราะฮ์อัลฟาติหะฮ์ หลังจากนั้นอ่านซูเราะฮ์ที่สะดวก แต่ ที่ดีให้อ่านซูเราะฮ์อัลกาฟิรูนในร็อกอะฮ์แรกและซูเราะฮ์อัลอิคลาศในร็อกอะฮ์ที่สอง 4 . ละหมาดร่อวาติบทั้งหมดที่กล่าวมานี้ให้อ่านค่อยๆ ดังนั้นละหมาดร่อวาติบมุอั๊กกั๊ดที่เน้นให้กระท านั้นมีสิบร็อกอะฮ์ด้วยกัน คือ สองร็อกอะฮ์ก่อนซุบฮิ, สองร็อกอะฮ์ก่อนซุฮ์ริและสองร็อกอะฮ์หลังซุฮ์ริ, สองร็อกอะฮ์หลังมัฆริบ, และสองร็อกอะฮ์หลังอิชาอฺส่วน ละหมาดร่อวาติบที่ไม่มุอั๊กกั๊ดนั้นมีสิบสองร็อกอะฮ์คือ สองร็อกอะฮ์ก่อนซุฮ์ริและสองร็อกอะฮ์หลังซุฮ์ริ, สี่ ร็อกอะฮ์ก่อนอัสริ, สองร็อกอะฮ์ก่อนมัฆริบ, และสองร็อกอะฮ์ก่อนอิชาอฺ อย่างไรก็ตาม ขอให้ผู้อ่านที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการท าอิบาดะฮ์ ท าการละหมาดสุนัตในวันหนึ่งกับ คืนหนึ่งให้ได้อย่างน้อยสิบสองร็อกอะฮ์ เพราะท่านหญิงอุมมุหะบีบะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮา กล่าวว่า ٍَةل ْ ي َ ل َ ٍ و َْوم َعًِ ِِف ي َكْ َة ر َع ْرشَ ُقوُ َم ْن َصََّل اثْنََِتْ َ َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َصََّل ا ََُّّلل عَل َ ُسوَ ا ََّّللِ َ ِْسْع ُت ر َجنَِِّ ْ َيْ ٌت ِِف ال ََلُ ِِِبَّن ب ُِِنَ ب “ฉันได้ยินท่านร่อซูลลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า ผู้ใดละหมาด (สุนัต) สิบสอง ร็อกอะฮ์ภายในวันหนึ่งกับคืนหนึ่งนั้น จะถูกสร้างบ้านหลังหนึ่งให้แก่เขาในสวรรค์ด้วยสาเหตุของบรรดา ละหมาดดังกล่าว” รายงานนดยมุสลิม (หะดีษล าดับที่ 728)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 136 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ละหมาดกลางคืน ละหมาดกลางคืน คือละหมาดซุนนะห์ หรือ ละหมาดตะเฎาวั๊วะ ค าว่า ละหมาดกลางคืน เป็นค ารวมที่ หมายถึงละหมาด 3 ประเภท 1. ละหมาดตะฮัจญุด َتَْال ج ُّدُـــ หรือละหมาดกลางคืน لِ ْ ي َ ل ْ ُم ال يــَا قِ 2. ละหมาดตะรอเวะหฺ حُ ْ اِوي َ َر الت 3. ละหมาดวิตรฺ ُ ال ِوتْر การละหมาดตะฮัจญุด หุก่มกิยามุลลัยลฺ กิยามุลลัยลฺ คือการละหมาดสุนัตมุฏลักซึ่งเป็นสุนัตมุอักกะดะฮฺ ซึ่งอัลลอฮฺได้ใช้ให้เราะสูลของ พระองค์ปฏิบัติเป็นประจ า 1- อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ) ِّمل ز َّ ا الْم َ ه ُّ ا أَي َ ًال ي ( 1( ي ِ ل َ َل ق َِّ إ َ ْل ي َّ ِم الل ًال ق ( 2 ( ي ِ ل َ ق ْه ن ِ ْص م أَِو انق َه ْصف ِِّل ا ( 3 ( ت ِّ ن َ ر َ و ِ ه ْ لَي َ ْ ع ِزد ْ َن و آ ْ ر لْق ًال ي ِ ت ْ َر .]4-0 / املزمل ) ) ]4 ) ت ความว่า “นอ้ผู้คลุมกายอยู่นั้น จงยืนขึ้น(ละหมาด)ในเวลากลางคืนเว้นแต่เพียงเล็กน้อย(ไม่ใช่ตลอดคืน) ครึ่งหนึ่งของกลางคืน หรือลดน้อยกว่านั้นเพียงเล็กน้อย หรือมากกว่านั้น และจงอ่านอัลกุรอานช้าๆเป็น จังหวะ” (อัล-มุซซัมมิล : 1-4) 2- และอัลลอฮฺได้ตรัสว่า ( ا ً ود ُمْم ا َّ ً ام َ ق َ َك م ُّ ب َ َ َك ر ث َ ل ْ ب َ أَن ي َٰ ى َ َس َك ع َّ ل ً لَة ِ اف َ ن ِ ه ِ جْد ب َّ َ َه ت َ ِل ف ْ ي َّ الل َ ن ِ م َ و ) ]ا َلْساء/29.] ความว่า “และจากบางช่วงของกลางคืน เจ้าจงตื่นขึ้นมาละหมาด เป็นการสมัครใจส าหรับเจ้า หวังว่า พระผู้อภิบาลของเจ้าจะให้เจ้าได้รับต าแหน่งที่ได้รับการสรรเสริญ” (อัล-อิสรออ์ :79) 3- และอัลลอฮฺได้กล่าวถึงลักษณะของผู้ที่เกรงกลัวอัลลอฮฺว่า وَن ( ل َ ْج ه َ ا ي َ ِل م ْ ي َّ الل َ ًال ِّمن ي ِ ل َ وا ق َكان وَن ُُ ر ِ ْف غ َ ت ْ َس ي ْ م اِر ه َ ْح اْْلَس بِ َ و ) ]اَّلارَيت/02 -03.] ความว่า “พวกเขาได้หลับนอนเพียงนิดหน่อยในเวลากลางคืน และในยามรุ่งสาง พวกเขาได้ขออภัย นทษจากอัลลอฮฺ” (อัซ-ซาริยาต : 17-18) ความประเสริฐของการละหมาดกิยามุลลัยลฺ กิยามุลลัยลฺเป็นอิบาดะฮฺที่ประเสริฐที่สุดอย่างหนึ่ง และประเสริฐกว่าการละหมาดสุนัตกลางวัน เพราะมันจะเกิดความอิคลาศเพื่ออัลลอฮฺมากกว่าเนื่องจากเป็นช่วงที่ลับจากสายตาผู้คน และเนื่องจากความ ล าบากอดนอนหรือตื่นนอนเพื่อท าการละหมาดนั้นเป็นสิ่งที่น้อยคนจะท าได้ และเนื่องจากมันการละหมาดที่ได้ รสชาติในการเข้าพบอัลลอฮฺมากที่สุด และในช่วงท้ายของกลางคืนนั้นเป็นเวลากิยามุลลัยลฺที่ประเสริฐที่สุด 1- อัลลอฮฺได้ตรัสว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 137 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ًال ( ي ِ ق م َ ْو أَق َ ا و ً طْئ َ د و ُّ َش أَ َ ي ِ ِل ه ْ ي َّ الل َ ة َ ئ اشِ َ ن ن َّ ِ إ ) ]املزمل/3.] ความว่า “แท้จริงการตื่นขึ้นในเวลากลางคืนนั้นเป็นเป็นที่ประทับใจและการอ่านที่ชัดเจนยิ่ง” (อัล-มุซ ซัมมิล : 6) 2- และมีรายงานจากท่านอัมฺรุ อิบนุ อับสะฮฺเราะฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่าท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัมได้กล่าวว่า َّم مـ َُوَن ِ ْن تَـ َطْع َت َأ ْس تَ ْن ا ْ » ِل اْل ِخِر، فَ ا ي َّ ِد َجْوَف الل ْ َعب َن ال َ َج َّل مِ ب َعَّز و ُّ َّ َُوُن الر َ َ َب َما ي َ َج ا َّل َّن َأ ْقر ُ هللا َعَّز و كُر ْ َذ ْن ي َّساعَِِ ِ ْْلَ ال ِِف ت ِس.. ْ ال َّشم ُوعِ َىل ُطل ٌة َم ْشهُوٌَِة ا َ ْحُضور َّصلَة َم َّن ال فَ « َُْن، فَ ا ความว่า “แท้จริงช่วงที่อัลลอฮฺจะอยู่ใกล้กับบ่าวของพระองค์มากที่สุดคือช่วงท้ายของกลางคืน ฉะนั้น หากท่านท าจะท าตัวเป็นคนที่ซิกฺรุระลึกถึงอัลลอฮฺในช่วงดังกล่าวได้ก็จงท า เพราะการละหมาดในช่วงนี้มะลาอิ กะฮฺจะคอยเป็นสักขีพยานตลอดจนกระทั่งเช้า” (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺ บันทึกนดยอัต-ติรมิซีย์3579 และอัน-นะ สาอีย์ 572 ซึ่งส านวนนี้เป็นส านวนของท่าน) 3- และมีคนถามท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่าการละหมาดใดที่ประเสริฐที่รองลงมาจาก ละหมาดห้าเวลา? ท่านตอบว่า ْ » ِل ي َّ َّصلُة ِِف َجْوِف الل ، ال َِِ َ َُْتوب امل َّصلةِ ْعَد ال ـ َ ب َّصلةِ َأفْ « َض ُل ال ความว่า “การละหมาดที่ประเสริฐที่สุดรองลงมาจากละหมาดห้าเวลาคือการละหมาดในช่วงท้ายของ กลางคืน” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 1163) ช่วงเวลากลางคืนที่ดุอาอ์จะถูกตอบรับ 1- มีรายงานจากท่านญาบิรฺเราะฎิยัลลอฮุอันฮุว่า ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้กล่าวว่า ََّل » ، ا ةِ َ اْل ِخر َ ا و َ ْن َأْمِر ا َُّلفْي ْسأَ ُ هللا َخْراً مِ يَ ٌ ـم ِ ْسل َ ُجٌل ُم افِ ُقهَا ر َ ُو ًِ َل ي َساعَ َ ِل ل ْ ي َّ َّنِِف الل ٍَةل ا ْ ي َ َذِ َِل ُ َّك ل َ ََّيُه، و ُه ا َأ ْع « َطا ความว่า “แท้จริงในเวลากลางคืนนั้นมีช่วงหนึ่งที่ไม่มีมุสลิมคนไหนที่ขอดุอาต่ออัลลอฮฺให้เขาได้สิ่งหนึ่ง จากประการทางนลกหรืออาคิเราะฮฺซึ่งตรงกับช่วงดังกล่าวพอดี นอกจากอัลลอฮฺจะให้สิ่งที่เขาขอแน่นอน และ ช่วงที่ว่านี้จะมีอยู่ทุกคืน” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 757) 2- และมีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า ـ ُقو َ ُ » ي ِل اْل ِخر ْ ي َّ ُ ُث الل قَى ثُل ْ َب ا ِحْنَ ي َ ا َُّلفْي َىل َْسَاءِ ٍَةل ا ْ ي َ َىل ُ َّك ل َعا تَ َ َك و َ ار َ َا تَـب ن ُّ ب َ ُ ر ْنِ َ ـ ُه ُ ؟ : َم ْن ي َ َب ل ْستَ ِجي ْدُعوِّن فَأَ َ ي ـ ُه؟ َ ل َ ُ ِّن فَأَغْفِر ْ تَ ْغفِر ـ ُه؟، َم ْن يَس َ ُ ْعِطي ِِن فَأ ُ ْسأَل َم ْن « يَ ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺจะลงมาสู่ฟ้าชั้นที่หนึ่งในทุกๆคืนในช่วงหนึ่งในสามสุดท้ายของคืน แล้ว พระองค์จะกล่าวว่า มีผู้ใดวิงวอนขออะไรจากข้าไหม แล้วข้าตอบรับค าขอนั้น มีผู้ใดขออะไรจากข้าไหม แล้วข้า จะให้เขาในสิ่งที่เขาขอ มีผู้ใดที่ขออภัยนทษต่อข้าไหม แล้วข้าจะอภัยให้แก่เขา” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมี บันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1145 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 758) มีสุนัตให้มุสลิมนอนในสภาพที่สะอาดจากหะดัษและนอนแต่เนิ่นๆ หลังจากละหมาดอิชาอ์ เพื่อจะได้ ตื่นละหมาดกลางคืนอย่างกระฉับกระเฉง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 138 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ท่านเราะสูลลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า ِدك ُِّضُب عَل مَكن ُ ْ َ َ » ََنَم ثَل َث ُعقَ ٍد، ي ا َذا ُهو َحِدُكُْ أ َ ِس أ ْ َ ر َِِ ي ََل قَافِ ُن عَ َطا ْ ُد ال َّش ي ْعقِ ـ ي ٌل َ ْ ي َ َك ل ْ ي َ : عَل ُعْقَدةٍ ْرقُ ْد. ْت ُع َط ْقَدٌة، ِوي ٌل فَا َّ َْنَل ْن َصََّل ا ْت ُعْقَدٌة، فَ ا َّ َْنَل َ ا َّضأ َ ْن تَو ْت ُعْقَدٌة، فَ ا َّ َْنَل َ هللا ا كَر َ ْقَظَ فَذ ْستَي فَ ا ِن ا ْسلَن ْف ِس كَ َث النَّ ْ َح َخِبي َ أ ْصب ََّل َ ا َ ْف ِس، و َب النَّ ِ د ً َطي ْطا ي ِ َح نَش َ « ْصب َ فَأ ความว่า “ชัยฏอนจะสะกดจุดที่ต้นคอคนหนึ่งคนใดเมื่อนอนหลับสามจุดด้วยกัน แต่ละจุดจะมีการย้ า ค ากล่าวว่า ท่านยังมีเวลาหลับอีกยาวนาน ฉะนั้นจงหลับต่อไป หากเขาตื่นในตอนนั้นแล้วระลึกถึงอัลลอฮฺจุด หนึ่งก็จะถูกคลายไป และหากเขาไปอาบน้ าละหมาดอีกจุดหนึ่งก็จะถูกคลายไปและเมื่อเขาไปละหมาดอีกจุด สุดท้ายก็จะถูกคลายไป ในที่สุดเขาก็จะมีความกระฉับกระเฉง รู้สึกสบายกาย มิฉะนั้นแล้วเขาจะรู้สึกไม่ดี ขี้ เกียจ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1142 ส านวนนี้เป็นท่าน และมุสลิม เลขที่: 776) ความเข้าใจเกี่ยวกับกิยามุลลัยลฺ มุสลิมควรที่จะขยันละหมาดกิยามุลลัยลฺให้มากเป็นพิเศษอย่าละเลยมัน เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอ ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ละหมาดกิยามุลลัยลฺจนกระทั่งส้นเท้าทั้งสองของท่านแตก แล้วท่านหญิงอาอิชะฮฺก็ถามท่าน ว่า ท าไมท่านต้องท าถึงขนาดนี้ ทั้งที่อัลลอฮฺได้อภัยนทษทุกอย่างแก่ท่านแล้วทั้งบาปที่ผ่านมาและบาปที่ยังมาไม่ ถึง ท่านเลยตอบว่า ا ا َش َُورً بدً ْ كوَن َع ُ « َ ْن أ ب َأ َأفَل ُأ « ِح ُّ ความว่า “ฉันอยากเป็นบ่าวที่รู้จักชุกูรฺ(ขอบคุณ)ต่ออัลลอฮฺมากๆ ไม่ได้หรือ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 4837 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 2820) จ านวนร็อกอะฮฺในการละมาดตะฮัจญุด สิบเอ็ดร็อกอะฮฺพร้อมวิตรฺ หรือสิบสามร็อกอะฮฺพร้อมวิตรฺ ช่วงเวลาในการละมาดตะฮัจญุด เวลาที่ประเสริฐที่สุดคือหนึ่งในสามช่วงแรกในส่วนที่สองของกลางคืน ทั้งนี้ให้แบ่งกลางคืนออกเป็น สองส่วนแล้วลุกขึ้นละหมาดช่วงหนึ่งในสามช่วงแรกในส่วนที่สองของกลางคืน แล้วนอนในช่วงท้าย มีรายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อัมฺริน อิบนุ อัลอาศ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า َّس » ال ـهِ ْ ي َ َِ عَل ُ َىل هللا َصلُة َِاو ا َّصلةِ ب ال َح ُّ ـُقوُم َأ َ ي َ ِل، و ْ ي َّ ْصَف الل ِ ُم ف َا َن ََكَن ي َ َِ، و ُ ُم َِاو ا َ َىل هللا ِصي ا ِ ام َ ي دصِ ب ال َح ُّ َأ َ لم، و ً َوما ي ُ ْف ِطر ُ ي َ ً، و َوما َُصوُم ي ي َ ُسُدَسُه، و ُم َا َن ي َ ثَُه، و ثُل « ُ ความว่า “การละหมาดที่อัลลอฮฺนปรดมากที่สุดคือการละหมาของดดาวุด อะลัยฮิสลาม และการถือ ศีลอดที่อัลลอฮฺนปรดมากที่สุดก็คือการถือศีลอดของดาวุดอาลัยฮิสลามเช่นกัน ซึ่งท่านจะนอนหนึ่งในสองส่วน แรกของกลางคืน แล้วลุกขึ้นมาละหมาดหนึ่งในสามช่วงแรกของส่วนที่สองของกลางคืน แล้วนอนอีกครั้งใน หนึ่งในหกช่วงท้ายของของส่วนที่สองของกลางคืน และท่านจะถือศีลอดวันหนึ่ง แล้วหยุดวันหนึ่งตลอด” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1131 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 1159)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 139 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ลักษณะการละหมาดตะฮัจญุด 1- สุนัตให้ตั้งเจตนาก่อนนอนว่าจะลุกขึ้นละหมาดกิยามุลลัยลฺ ซึ่งถ้าหากเขาหลับนดยไม่ตื่นเขาก็จะ ได้ผลบุญในสิ่งที่ได้เจตนาไว้ ถือว่าการหลับสนิทของเขาเป็นเศาะดะเกาะฮฺจากอัลลอฮฺที่ให้แก่เขา และหากเขา ตื่นขึ้นมาให้ขจัดอาการง่วงออกไปนดยเอามือลูบหน้าแล้วอ่านสิบอายะฮฺจากส่วนท้ายของสูเราะฮฺอาละอิมรอน ตั้งแต่อายะฮฺที่ว่า َال ِف ) ِ ت ْ اخ َ ِض و ْ اْْلَر َ ِت و ا َ او َ َّسم ْلِق ال َ ن ِِف خ َّ ِ ِب إ ا َ ِّْل وِِل اْْلَلْب ٍت ا َ اِر ََلي َ َّ ه الن َ ِل و ْ ي َّ الل ...( แล้วให้เขาแปรงฟัน แล้วให้เขาอาบน้ าละหมาด หลังจากนั้นให้เขาเริ่มละหมาดตะฮัจญุด ด้วยสอง ร็อกอะฮฺสั้นๆ ทั้งนี้เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า ْ » ِل ي َّ َن الل مِ َحُدُكُْ َم َأ َفتَ ا ْ ِن َذا قَا ْ ي َعتَ ِن َخفِ كْ َ ح َصلتَـ ُه ِبر ِ ْفتَت َ ي فَل « ْ ความว่า “เมื่อคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านได้ลุกขึ้นละหมาดในเวลากลางคืน ให้เขาเริ่มต้นเป็นปฐม ละหมาดก่อนสองร็อกอะฮฺสั้นๆ” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 768) 2- หลังจากนั้นให้ละหมาดทีละสองร็อกอะฮฺ นดยให้สลามในทุกๆ สองร็อกอะฮฺ ทั้งนี้เพราะมีรายงาน จากท่านอับดุลลอฮฺ อิบนุ อุมัรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่า َسوَ ا ان ر ٬هلل، كيف صلة الليل؟ قا : » َ ُج ًل قا : َي ر ِحَدةٍ ا َ ْرِبو ِ ْوت َح فَأَ ْ صب ُّ ِخْف َت ال َمثََْن « َمثََْن، فَ اَذا ความว่า “มีชายคนหนึ่งได้ถามท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมว่านอ้ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การละหมาดกลางคืนนั้นละหมาดอย่างไร? ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็ตอบว่า ละหมาดครั้งละสองร็อกอะฮฺ เมื่อกลัวว่าจะเข้าศุบหฺแล้วให้ละหมาดวิตรฺหนึ่งร็อกอะฮฺ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1137 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 749) 3- บางครั้งอาจละหมาดตะฮัจญุดสี่ร็อกอะฮฺรวดด้วยสลามเดียวก็ได้ 4- และมีสุนัตให้ผู้ละหมาดรู้จ านวนร็อกอะฮฺที่ละหมาดประจ าด้วย หากนอนไม่ตื่น ให้ชดด้วยจ านวนคู่ เนื่องจากมีรายงานว่า ُ ئلت َرشَة ْحَدى َع ْ ا َو ْسٌع، ت َوِ بٌع، ْ َس س عائشِ ريض هللا عَّنا عن َصلة رسوِ هللا٬ صَل هللا عليه وسَل ِبلليل فقالت: َعَِت الَف ْجِر َكْ َى ر ِسو ความว่า “มีคนถามท่านหญิงอาอิชะฮฺถึงการละหมาดกลางคืนของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ท่านหญิงตอบว่า เจ็ด เก้า สิบเอ็ดร็อกอะฮฺนอกเหนือจากสองร็อกอะฮฺสุนัตก่อนศุบฺหิ” (บันทึก นดยอัล-บุคอรีย์ หมายเลข 1139) 5- และสุนัตให้ละหมาดตะฮัจญุดที่บ้าน ปลุกให้สมาชิกในลุกขึ้นมาละหมาดด้วยและให้น าละหมาด พวกเขาเป็นบางครั้ง และสุนัตสุญูดให้นานจนเท่ากับอ่านอัลกุรอานได้ห้าสิบอายะฮฺ ถ้าหากง่วงก็ให้งีบหลับสัก พัก และมีสุนัตให้ยืนกิยามให้นานและอ่านให้ยาว นดยให้อ่านอัลกุรอานญุซอ์หนึ่งหรือมากกว่า บางครั้งให้อ่าน ด้วยเสียงดังและบางครั้งให้อ่านด้วยเสียงค่อย เมื่ออ่านถึงอายะฮฺที่เกี่ยวกับความเมตตาก็ให้ขอดุอาอ์ให้ได้รับมัน เมื่ออ่านถึงอายะฮฺเกี่ยวกับการลงนทษให้ขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺให้พ้นจากมัน และเมื่ออ่านถึงอายะฮฺที่ สรรเสริญความบริสุทธิ์ของอัลลอฮฺให้กล่าวตัสบีหฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 140 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 6- หลังจากนั้นให้จบการละหมาดตะฮัจญุดด้วยละหมาดวิตรฺ เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า ُ ُْك ت َ » َصلِ ُوا أ ِخر ْجَعل ا ِل ِوتْراً ْ ي ِِبلل « َّ ความว่า “ท่านจงจบท้ายละหมาดกลางคืนของท่านด้วยวิตรฺ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึก ในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 998 และมุสลิม เลขที่: 751) การละหมาดตะรอวีหฺ หุก่มการละหมาดตะรอวีหฺ การละหมาดตะรอวีหฺเป็นสุนัตมุอักกะดะฮฺ ซึ่งมีตัวบทว่าเป็นการกระท าของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม และจัดอยู่ในจ าพวกละหมาดสุนัตที่บัญญัติให้ละหมาดเป็นญะมาอะฮฺในเดือนเราะมะฎอน สาเหตุที่เรียกชื่อการละหมาดว่าตะรอวีหฺเพราะผู้ละหมาดต่างนั่งพักกันหลังจบสี่ร็อกอะฮฺ เนื่องจากมี การอ่านยาว และละหมาดนาน เวลาของการละหมาดตะรอวีหฺ ให้ละหมาดตะรอวีหฺในเดือนเราะมะฎอนหลังจากละหมาดอิชาอ์จนกระทั่งออกฟัจญ์รฺ เป็นสิ่งที่สุนัต ส าหรับทั้งชายและหญิง ซึ่งท่านนบีได้เน้นให้กระท าเป็นพิเศษ มีรายงานจากท่านว่า م ْن َذفْ ـ ُه َما تَقَ َّدَم ِ َ َ » ل ًِب غُفِر َسا ِ ْحت ا َ ًَن و َن اميَا ََم َضا َم ر َم ْن قَا ِبـه« ِ ความว่า “ผู้ใดละหมาดในเดือนเราะมะฎอน ด้วยใจที่ศรัทธาและหวังในความนปรดปรานของอัลลอฮฺ เขาจะได้รับการอภัยนทษจากความผิดของเขาที่ผ่านมา” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1137 ส านวนนี้เป็นของอัล-บุคอรีย์และมุสลิม เลขที่: 749) ลักษณะของการละหมาดตะรอวีหฺ หนึ่ง ตามสุนนะฮฺแล้ว ในการละหมาดตะรอวีหฺให้อิมามน าละหมาดบรรดามุสลิมสิบเอ็ดร็อกอะฮฺ ซึ่ง ถือว่าเป็นจ านวนร็อกอะฮฺที่ดีที่สุด หรือบางครั้งอาจน าละหมาดถึงสิบสามร็อกอะฮฺก็ได้ นดยละหมาดครั้งละสอง ร็อกอะฮฺ ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการที่ดีที่สุด และบางครั้งอาจละหมาดครั้งละสี่ร็อกอะฮฺก็ได้ ดังนั้นบางครั้งอาจ ละหมาดด้วยวิธีหนึ่งบางครั้งอีกวิธีหนึ่งทั้งนี้เพื่อฟื้นฟูสุนนะฮฺ 1- มีรายงานว่า َ ُسوُ هللا س ئلت عائشِ ريض هللا عَّنا كيف َكفت صلة رسو هللا صَل هللا عليه وسَل ِف رمضان؟ فقالت: َما ََكَن ر َّن ن هِ ْسأَ ْ َع ْن ُحْسِ ا َفل َت بـعً ْرَ دِل َأ َصِ كَعًِ، ُي َرْ َرشَة ْحَدى َع ْ ه َعََل ا ِرِ َن َوَلِِف َغْ ي ِزْي ُد ِِف َرَم َضا َ صَل هللا عليه وسَل ُ َصدِل ِ ثَل ًًث... َّ ي َّن، ثُ هِ ِ ُطْول َ َّن و هِ ِ ْسأَ ْ َع ْن ُحْسن فَل تَ ً ـعا َ ْرب ُ َصدِل ِ َأ د ي َّن، ثُ هِ ِ ُطْول َ و ความว่า “ครั้งหนึ่งมีคนถามท่านหญิงอาอิชะฮฺว่าลักษณะการละหมาดของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ในเดือนเราะมะฎอนเป็นอย่างไร? ท่านตอบว่า ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ไม่เคยละหมาดเกินสิบเอ็ดร็อกอะฮฺเลยไม่ว่าในเดือนเราะมะฎอนหรือเดือนอื่นๆ ท่านละหมาดสี่ร็อกอะฮฺซึ่งไม่ ต้องบอกถึงความสละสลวยและความยาวนานของมัน แล้วท่านละหมาดอีกสี่ร็อกอะฮฺซึ่งไม่ต้องบอกถึงความ สละสลวยและความยาวนานของมันเช่นกัน แล้วท่านก็ละหมาดอีกสามร็อกอะฮฺ” (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์ หมายเลข 1147) 2- มีรายงานจากท่านอิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 141 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา عًِ َكْ َة ر ِل ثَل َث َع ْرشَ ْ ي َّ َن الل ُ َصدِل ِ مِ َ ُسوُ هللا صَل هللا عليه وسَل ي ََكَن ر ความว่า “ปรากฏว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ละหมาดในตอนกลางคืนสิบสาม ร็อกอะฮฺ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1138 และมุสลิม เลขที่: 764 ซึ่งส านวนนี้ เป็นของมุสลิม) 3- มีรายงานจากท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า ْحَدى َع ْرشَ َىل الَف ْجِر ا ا َشاءِ العِ ْن َصلةِ َغ مِ ُ ْفر َ ْن ي َأ ْنَ َ ا ب َ ـم ْ ي ُ َصدِل ِ فِ َ ُسوُ هللا صَل هللا عليه وسَل ي ََكَن ر ْنَ َ َسِدَلُ ب َعًِ، يُ َكْ َة ر ِحَدةٍ ا َ ِبو ُ ِر ُْوت ي َ ْ ِن، و َعتَ َكْ ُكِد ر ความว่า “ปรากฎว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมได้ละหมาดหลังจากเสร็จ ละหมาดอิชาอ์จนกระทั่งออกฟัจญฺริสิบเอ็ดร็อกอะฮฺ ท่านจะให้สลามในทุกๆ สองร็อกอะฮฺแล้วละหมาดวิตฺริ หนึงร็อกอะฮฺ” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 736) สอง ตามสุนนะฮฺในการละหมาดตะรอวีหฺให้อิมามละหมาดสิบเอ็ดร็อกอะฮฺหรือสิบสามร็อกอะฮฺ ไม่ว่า จะเป็นช่วงต้นหรือช่วงท้ายเราะมะฎอน แต่มีให้เน้นเฉพาะในสิบวันสุดท้ายให้ละหมาดให้นาน ยืนนาน รุกูอฺ และสุญูดนาน ทั้งนี้เพราะท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นั้นละหมาดตลอดทั้งคืน ดังนั้น หากจะ ละหมาดน้อยกว่าหรือมากกว่าที่กล่าวมาก็ได้ การละหมาดวิตรฺ หุก่มการละหมาดวิตรฺ การละหมาดวิตรฺเป็นสุนัตมุอักกะดะฮฺ ซึ่งท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ส่งเสริมให้กระท า ทั้งนี้ ได้มีรายงานกล่าวว่า ِدك ُم ََل ُ ق عَ ُ » َحل ال ِوتْر ٍ ـم ِ ْس « ل ความว่า “การละหมาดวิตรฺเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคน” (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข1422 ซึ่งส านวนนี้เป็นส านวนของท่าน และบันทึกนดยอัน-นะสาอีย์ หมายเลข 1712) เวลาของการละหมาดวิตรฺ เวลาละหมาดวิตรฺคือหลังจากละหมาดอิชาอ์จนถึงออกฟัจญฺริที่สอง(คือถึงเวลาละหมาดศุบหฺ) และช่วง ท้ายของกลางคืนเป็นเวลาที่ดีที่สุดส าหรับผู้ที่เชื่อใจตัวเองว่าจะตื่นละหมาดได้ ทั้งนี้มีรายงานจากท่านหญิงอาอิ ชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า ْ ي َّ ِ الل َّ ْن َأو َ ُسوُ هللا صَل هللا عليه وسَل مِ َ ر َر ْوت ِل قَ ْد َأ ْ ي َّ ْن ُكِد الل َّس م َحِر ِ َىل ال ُ ُه ا ، فَافْتَ هَيى ِوتْر أ ِخِرهِ َ ، و ْوَس ِطهِ َأ َ ِل، و ความว่า “ในตลอดทั้งคืนเป็นช่วงเวลาที่ท่านเราะสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เคยละหมาด วิตรฺทั้งสิ้นบางครั้งในช่วงแรก ในช่วงกลาง และในช่วงท้าย จนกระทั่งจบวิตรฺในเวลาสุหูรฺ” (มุตตะฟะกุน อะ ลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 996 และมุสลิม เลขที่: 745 ซึ่งส านวนนี้เป็นของมุสลิม) ลักษณะการละหมาดวิตรฺ บางครั้งอาจมีร็อกอะฮฺเดียว บางครั้งสาม ห้า เจ็ด หรือเก้า หากต่อกันรวดเดียวด้วยสลามเดียว (บันทึกนดยมุสลิมหมายเลข 746 และอัน-นะสาอีย์ หมายเลข 1713)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 142 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา จ านวนร็อกอะฮฺของละหมาดวิตรฺอย่างน้อยที่สุดและมากที่สุด 1- อย่างน้อยที่สุดของคือหนึ่งร็อกอะฮฺการละหมาดวิตรฺ และมากที่สุดคือไม่เกินสิบสามร็อกอะฮฺ ให้ ละหมาดครั้งละสองร็อกอะฮฺสองร็อกอะฮฺ แล้วจบท้ายด้วยหนึ่งร็อกอะฮฺ และวิตรฺที่สมบูรณ์แบบนั้นอย่างต่ า ต้องไม่น้อยกว่าสามร็อกอะฮฺ นดยมีสลามสองครั้ง หรือมีสลามเดียวและตะชะฮฺฮุดครั้งเดียวตอนท้ายก็ได้ และ สุนัตให้อ่านสูเราะฮฺ อัล-อะอฺลาในร็อกอะฮฺแรกหลังจากฟาติหะฮฺ ในร็อกอะฮฺที่สองอ่านสูเราะฮฺ อัล-กาฟิรูน และในร็อกอะฮฺที่สามอ่านสูเราะฮฺ อัล-อิคลาศ 2- ถ้าหากละหมาดห้าร็อกอะฮฺให้ตะชะฮฺฮุดครั้งเดียวในตอนท้ายแล้วให้สลาม และหากละหมาดเจ็ด ร็อกอะฮฺก็ให้ท าเช่นเดียวกัน แต่หากจะตะชะฮฺฮุดในร็อกอะฮฺที่หก แล้วเริ่มร็อกอะฮฺที่เจ็ดอีกหนึ่งร็อกอะฮฺก็ท า ได้ มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า يِِل ِبثَل ِ ْوَصاِّن َخل ََل ِوتْ ٍر نأ ٍ عَ ْوم فَ َ ض َحى و ال ُّ َ َصلةِ ْن ُكِد َشهْ ٍر، و ٍ مِ ََّيم نأ ثَلثَِِ ِ َصْوم َّن َحَّىت نأُموَت: ٍث، َل نأ َُِعهُ ความว่า “ผู้เป็นที่รักยิ่งของฉันได้สั่งเสียฉันสามอย่างด้วยกัน นดยไม่ให้ฉันละเลยสามอย่างนี้จนกว่าฉัน จะตายไป คือการถือศีลอดสุนัตสามวันต่อเดือน การละหมาดฎุฮา และการละหมาดวิตรฺก่อนนอน” (มุตตะฟะ กุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1137 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 749) หากละหมาดวิตรฺเก้าร็อกอะฮฺให้ตะชะฮฺฮุดสองครั้ง ครั้งแรกในร็อกอะฮฺที่แปดแต่อย่าเพิ่งให้สลาม ให้ ลุกขึ้นมาท าร็อกอะฮฺที่เก้าแล้วตะชะฮฺฮุดแล้วจึงให้สลาม แต่ที่ดีคือให้จบท้ายด้วยหนึ่งร็อกอะฮฺที่เอกเทศเสมอ หลังจากนั้นให้กล่าวหลังจากสลามว่า دْوِس( ُقُّ ْ ِ ِْل ال َ م ْ َن ال ْ َحا ُ ب )س สุบหานัล มะลิกิล กุดดูส นดยให้กล่าวสามครั้ง และให้ยืดเสียงในครั้งที่สาม เวลาในการละหมาดวิตรฺ ให้มุสลิมละหมาดวิตรฺหลังจากละหมาดตะฮัจญุด แต่หากกลัวว่าไม่ตื่น ก็ให้ละหมาดก่อนนอน เพราะมี รายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า ْر أ ِخ ت ُ » وِ ي ْ َ ُه فَل ـُقوَم أ ِخر َ ْن ي َ َم ْن َطِمَع َأ ـ ُه، و َ ل َّ ْر َأو ِ ُوت ي ْ ِل فَل ْ ي َّ ْن أ ِخِر الل ـُقوَم مِ َ ْ َم ْن َخاَف َأ ِل ْن َل ي ي َّ َّن َصلَة أ ِخِر الل ِل، فَ ا ْ ي َّ الل َ ر َض ُل َذِ َِل َأفْ َ َم « ْشهُوٌَِة، و ความว่า “ผู้ใดที่กลัวว่าตัวเองจะไม่ตื่นในช่วงท้ายของกลางคืน ให้เขาละหมาดวิตรฺในช่วงแรกๆและ ผู้ใดที่มั่นใจว่าจะตื่นในช่วงท้ายให้ละหมาดวิตรฺในช่วงท้าย เพราะการละหมาดวิตรฺในช่วงท้ายนั้นมลาอิกะฮฺจะดู เป็นสักขีพยาน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นสิ่งที่ดีกว่า” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 755) ผู้ใดที่ได้ละหมาดวิตรฺในช่วงแรกของกลางคืนแล้วตื่นขึ้นมาในช่วงท้ายอีก ให้เขาละหมาดคู่นดยไม่ต้อง วิตรฺ ทั้งนี้มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า ٍَةل »َل ِوتْ ْ ي َ ا ِنِِف ل َ ر « ความว่า “ไม่มีการละหมาดวิตรฺสองครั้งในคืนเดียว” (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 1439 และอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข 470)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 143 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หุก่มการอ่านกุนูตในการละหมาดวิตรฺ การกุนูตในวิตรฺนั้นให้ท าได้เป็นบางครั้ง ผู้ใดชอบที่จะท าก็ให้เขาท า ส่วนผู้ใดที่ไม่อยากท าก็ไม่ต้องท า และที่ดีที่สุดคือไม่ท ามากกว่าท า เพราะไม่มีรายงานที่ยืนยันได้จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า ท่านอ่านกุนูตในวิตรฺ ลักษณะการดุอาอ์ในกุนูตวิตรฺ ในกรณีที่ละหมาดวิตรฺสามร็อกอะฮฺ ให้ยกมือดุอาอ์หลังจากยืนในร็อกอะฮฺที่สามหรือก่อนรุกูอฺหลังจาก อ่านสูเราะฮฺจบ นดยให้สรรเสริญ(ตะหฺมีด)อัลลอฮฺ(คือกล่าว อัลหัมดุลิลลาฮฺ) และกล่าวชมเชยอัลลอฮฺ แล้วกล่าว เศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ต่อจากนั้นให้ขอดุอาอ์ตามที่ใจปรารถนา จากบรรดาดุ อาอ์ที่มีรายงานมาจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เช่น ف َ » َِبِرْك ِِل ِ َت، و ْ ي َّ ل َ َ ْن تَو ـم ْ ي ِِن فِ َّ ل َ تَو َ َت، و ْ َ ْن عَافَي ـم ْ ي ِِن فِ َعَافِ ْ َت، و َ ْن َهَدي ـم ْ ي ا ْهِدِّن فِ َّ هُـم َّ ِِن الل قِ َ َت، و ْ أ ْعَطي ا َ َ ـم ْ ي ُّ َم ْن ِذ َ فَُّه َل ي ا َ َك، و ْ ي َ ُـ ْق َض عَل ََل ي َْش َت َّ َما قَ َضيْ َت، افَّ َك تَْق ِِض و ْ ي َ َعال تَ َ َا و َّن ب َ َت ر َكْ ار َ َت، تَـب ْ ي َ ال َ و « (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 1425 และอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข 464) และบางครั้งให้เริ่มกุนูตด้วยดุอาอ์ที่ได้รับรายงานจากท่านอุมัรฺเราะฎิยัลลอฮุอันฮุ คือ َِل » َ فُ َ ُد، و ُ ْعب ََّيَك فَ ا َّ هُـم َّ َن الل ِري َك ِِبل ََكفِ َ َذاب َّن عَ ِ َك، ا َ َذاب ََنْ ََش عَ َ تَـ َك و َ َ ْحـم َْرُجو ر ُد، ن ََنْفِ َ ْسَعى و َك نَ ْ ي َ ل ا َ ْس ُجُد، و نَ َ َصدِل ِ و ََنْ َ ُن ِب َك و فُ ْؤمِ َ َك، و ُ َُْفر َ ََل ن َك اخلَْرَ و ْ ي َ ِِن عَل فُثْ َ َك، و ُ ْ تَ ْغفِر نَس َ ُن َك و ي ْ تَعِ اََّن نَس َّ هُـم َّ ِحٌق، الل ْ ُمل َض َك ُع َِلَ ُ َُْفر َ ُع َم ْن ي َ ََنْل َ ، و « (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอัล-บัยฮะกีย์ หมายเลข (3144 ดู อิรวาอ์ อัล-เฆาะลีล หมายเลข 428) และผู้ละหมาดสามารถที่จะเพิ่มดุอาอ์อะไรก็ได้ที่มีรายงานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม นดยที่ไม่ควรให้ยาวจนเกินไป เช่น ْح ِِل ل ْصِ َأ َّ َ »الل ِِت فِْيَا َمَعاَِش، و َّ َي ال ا َ ْح ِِل ُِفْي ِ ْصل َأ َ ُِ َأْمِري، و َ ِعْصم َ ََّّلِي ُهو ا ِِْنَ ْح ِِل ِِي ِ ْصل َأ َّ ِِ هُـم ي، ِِت فِْيَا َمَعا َّ ِ َِت ال َ أ ِخر ْن ُكِد َحًِ ِِل مِ ا َ ْوَت ر َ ْجَع ِل امل ا َ اَة ِزََيًَِة ِِل ِِف ُكِد َخْرٍ، و َ ْجَع ِل احلَي ا َ دٍْش« و َ (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 2720) َّ » أ هُـم َّ َذا ِب القَْْبِ، الل َعَ ِ و َم الهَر َ ْخِل، و ُ الب َ اجلُْ ِْب و َ َس ِل، و ََ ال َ َع ْجِز و َن ال ا دّن ِ َأ ُعوُذ ِب َك مِ َّ هُـم الل هَا َأفْ َت َّ َ َزكِد ا َها، و َ ِت فَْف ِس تَْقو َ َموَل ْيَا و ُّ ِ ل َ ُع َخ ، ْرُ َم ْن َزََّكَها، َأفْ َت و ـ َ ْن فَْف ٍس َل تَ ْشب َمِ ْخَشُع، و َ ٍب َل ي ْ ْن قَل َمِ ُع، و َْنَف ٍ َل ي ـم ْ ل ْن عِ ا دّن ِ َأ ُعوُذ ِب َك مِ َّ هُـم َّ َها، الل هَا َ َجا ُب ل ْستَ ةٍ َل يُ َ ْن َِ ْعو َمِ و « (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 2722) หลังจากนั้นกล่าวในตอนท้ายว่า م دّن َأ ُعوُذ ِب ِرَضا َك ِ َّ » اِ هُـم َ الل يْ َت َّ َك، َأفْ َت ََكَ َأثْن ْ ي َ عَل ً َاء ْحِِص ثَن نْ َك َل ُأ َأ ُعوُذ ِب َك مِ َ َتِ َك، و ْن ُعُقوب َك مِ ِ ُ َعافَات ِبم َ ْن ََسَ ِط َك، و عَ « ََل فَْف ِس َك (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 1427 ซึ่งส านวนนี้เป็นส านวนของเขาและบันทึก นดยอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข 3566) หลังจากนั้นให้จบกุนูตด้วยการเศาะละวาตต่อท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และไม่ต้องเอามือ ลูบหน้าหลังจบดุอาอ์ทั้งในกุนูตวิตรฺและอื่นๆ มักรูฮฺที่จะอ่านกุนูตในละหมาดอื่นนอกเหนือจากวิตรฺ เว้นแต่จะมีเหตุร้ายหรืออุบัติภัยต่อชาวมุสลิมที่ ใดที่หนึ่งก็อนุญาตให้อิมามกุนูตในละหมาดห้าเวลาหลังจากร็อกอะฮฺสุดท้าย หรือบางครั้งก็อาจจะก่อนรุกูอฺก็ได้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 144 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา กุนูตนะวาซิลหรือนาซิละฮฺ คือการดุอาอ์เพื่อให้ช่วยชาวมุสลิมที่อ่อนแอซึ่งถูกรังแกหรือดุอาอ์เพื่อให้ลงนทษ กาฟิรฺที่อยุติธรรมหรือทั้งสองอย่างพร้อมๆกัน ละหมาดที่ประเสริฐที่สุดส าหรับคนคนหนึ่งนั้นคือที่บ้านของเขา นอกจากละหมาดห้าเวลาและการ ละหมาดที่มีบัญญัติให้ละหมาดเป็นญะมาอะฮฺ เช่น ละหมาดกุสูฟ ละหมาดตะรอวีหฺ เป็นต้น เหล่านี้ให้ ละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสญิด การละหมาดกุสูฟและคุสูฟ คุสูฟ (จันทรุปราคา) คือ การที่แสงจันทร์หายไปหมดหรือหายไปบางส่วนในเวลากลางคืน กุสูฟ (สุริยุปราคา) คือ การที่แสงตะวันถูกบังไปหมดหรือหายไปบางส่วนในเวลากลางวัน หุก่มการละหมาดคุสูฟและกุสูฟ การละหมาดคุสูฟและกุสูฟเป็นสุนัตมุอักกะดะฮฺ ส าหรับมุสลิมและมุสลิมะฮฺทุกคน ไม่ว่าจะเป็นในยาม เดินทางหรือไม่ก็ตาม การรู้เวลากุสูฟและคุสูฟ คุสูฟและกุสูฟนั้นมีก าหนดเวลาที่ชัดเจนเหมือนกับการขึ้นของดวงตะวันและดวงจันทร์ ซึ่งมี ก าหนดเวลาที่ชัดเจน นดยปรกติแล้วอัลลอฮฺจะก าหนดให้กุสูฟนั้นปรากฏในท้ายของเดือน และก าหนดให้คุสูฟ นั้นปรากฎในระหว่างที่มันเต็มเดือนอยู่เรียกว่าวันบีฎ สาเหตุของการกุสูฟและคุสูฟ เมื่อเกิดกุสูฟหรือคุสูฟให้มุสลิมรีบไปละหมาดที่มัสญิด หรือที่บ้านก็ได้ แต่ที่มัสญิดนั้นดีกว่า ด้วยการ เกิดแผ่นดินไหวนั้นมีสาเหตุ ฟ้าแลบก็มีสาเหตุ ภูเขาไฟระเบิดก็มีสาเหตุ การกุสูฟและคุสูฟก็ย่อมมีสาเหตุ ที่อัลลอฮฺก าหนดให้เช่นกัน ซึ่งเคล็ดลับก็คือการเตือนบ่าวของอัลลอฮฺให้มีความกลัวในนทษของพระองค์และ มอบตัวเองและกลับคืนสู่อัลลอฮฺ ช่วงเวลาของการละหมาดกุสูฟและคุสูฟ เริ่มละหมาดได้เมื่อเริ่มมีปรากฏการณ์กุสูฟและคุสูฟจนกระทั่งกลับสู่สภาพปรกติ ลักษณะการละหมาดกุสูฟและคุสูฟ การละหมาดกุสูฟและคุสูฟไม่มีการอะซานและอิกอมะฮฺ แต่ว่ามีการเรียกให้มาละหมาดไม่ว่าจะเป็น กลางวันหรือกลางคืน นดยใช้ประนยคว่า )ِجامع الصلة )จะกล่าวครั้งเดียวหรือหลายครั้งก็ได้ หลังจากนั้นให้อิมามตักบีรฺแล้วอ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺที่ยาวด้วยเสียงดัง แล้วจึงรุกูอฺด้วยการรุกูอฺที่ นาน แล้วเงยขึ้นจากรุกูอฺพร้อมกับกล่าว )َ ِْسَع ُهللا ِ ل َ َ َ م ْن َِِحدَ َّن ه، رب َ ا و َ َِل ْ ُد( َحْم ال นดยไม่ต้องลงไปสุญูดก่อน แต่ให้เริ่มมือกอดอกเช่นเดิม แล้วอ่านฟาติหะฮฺใหม่อีกครั้ง ตามด้วยสูเราะฮฺ ที่สั้นกว่าครั้งแรก แล้วจึงรุกูอฺด้วยการรุกูอฺที่สั้นกว่าครั้งแรก แล้วเงยขึ้นจากรุกูอฺ แล้วจึงสุญูดด้วยการสุญูดที่ นานสองสุญูด นดยสุญูดครั้งแรกให้นานกว่าครั้งที่สองและให้นั่งระหว่างสองสุญูดด้วย หลังจากนั้นให้ลุกขึ้นท า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 145 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ร็อกอะฮฺที่สองนดยท าเหมือนกับร็อกอะฮฺแรกทุกประการ เพียงแต่ให้สั้นกว่านิดหน่อย แล้วจึงกล่าวตะชะฮฺฮุด แล้วจึงให้สลาม ลักษณะคุฏบะฮฺในการละหมาดกุสูฟ สุนัตให้อิมามกล่าวคุฏบะฮฺหลังจากละหมาด นดยมีเนื้อหาการสอนสั่งให้ผู้คนท าดี และกล่าวตักเตือน ให้นึกถึงปรากฎการณ์อันใหญ่หลวงที่เกิดขึ้นนี้เพื่อนน้มน้าวจิตใจ แล้วใช้ให้ผู้คนดุอาและอิสติฆฺฟารฺให้มากๆ มีรายจากท่านหญิงอาอิชะฮฺว่า ْ ُس َم َخَسَف ِت ال َّشم ا َ ي ُ َصدِل ِ ، فَأن َطا َ القِ َ ُسوُ هللا صَل هللا عليه وسَل ي َم ر َ ُسوِ هللا صَل هللا عليه وسَل ، فَقَا ِِف َعْه ِد ر َّ ا نْلو ِ ام َ ي ُِوَن القِ َ ُهو َ َم ِجدداً، و ا َ ي َسُه فَأن َطا َ القِ ْأ َ َع ر فَ َ َّ ر ُّكُوَع ِجدداً، ثُ َع فَأن َطا َ الر َكَ َّ ر ِجدداً، ثُ َكَ َّ ر ُ ِ ، ث وَع ِجدداً، ُّكُ َع فَأن َطا َ الر َسَ َد. َّ ِ ، ثُ َّ ا نْلو ُّكُوعِ ُِوَن الر َ ُهو َ و ا نْل ُّكُوعِ ُِوَن الر َ ُهو َ ُّكُوَع، و َع فَأن َطا َ الر َكَ َّ ر ِ ، ثُ َّ ا نْلو ِ ام َ ي ُِوَن القِ َ ُهو َ َم، و ا َ ي َم فَأن َطا َ القِ َّ قَا َم، فَأن َطا َ ُ َسُه فَقَا ْأ َر َع َرفَ ث َّ ِ ، ثُ َّ و َس الق َ َد. ِ َّ ِ ، ثُ َّ ا نْلو ُّكُوعِ ُِوَن الر َ ُهو َ ُّكُوَع، و َع فَأن َطا َ الر َكَ َّ ر ِ ، ثُ َّ ا نْلو ِ ام َ ي ُِوَن القِ َ ُهو َ َم، و ا َ ي َ ُسوُ هللا َف ر َّ افْ َُصَ ُ ث صَل هللا عليه وسَل َّ ، ثُ ـهِ ْ ي َ نأثََْن عَل َ َحـِمَد هللا و َس فَ ْ ُس، فَ َخَط َب النَّا َّ ِت ال َّشم َجل قَ ْد تَ َّن َ و قا : » ا ُوُه ُْتـم نأي َ ، فَ اَذا ر ـهِ ِ ات َ َحي ِ ََل ل َحٍد و َ ْوِت نأ ـم ِ َْن َخِسَفا ِن ل ا َل ي َ َُِّنـم ا َ ََي ِت هللا، و ْن أ مِ َ ر َ القَم َ ْ َس و ال َّشم وا ُّ َ َصل ا ُِْعوا هللا و َ دْب ُِوا، و ا فَََ َ ـم ْن َن هللا نأ َحٍد نأغَْرَ مِ ْن نأ ْن مِ ٍد! ا َّ َحـم َصَّدقُوا، ََي نأَّمَِ ُم تَ َ ُموَن َما ـ َ ْعل ْو و تَ َ َهللا! ل ٍد! و َّ َحـم َْزِ َّن نأَمُتـ ُه، ََي نأَّمَِ ُم ْو ت ُدُه نأ ْ ْزِ َّن َعب َ ي ْغ ُت؟ َّ َل يل، نأَل َه ْل ب ِ قَل ْ َض ِح َُْتـم َ ل َ ًرا و ثِ كَ ْ ُْتـم ََي َ ب َ ل ُ ـم نأعْل « َ ความว่า “ได้เกิด (กุสูฟ) สุริยุปราคาขึ้นในสมัยของท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ท่านจึงได้ออกไปละหมาดนดยยืนละหมาดนานมาก แล้วท่านจึงรุกูอฺเป็นเวลานาน เสร็จแล้วท่านได้เงยศรีษะ และได้ยืนขึ้น แล้วยืนละหมาดนานอีก แต่น้อยกว่าการยืนในครั้งแรก หลังจากนั้นท่านก็รุกูอฺนานอีก แต่น้อย กว่าการรุกูอฺในครั้งแรก หลังจากนั้นท่านก็สุญูด แล้วท่านก็ลุกขึ้นยืนละหมาดในร็อกอะฮฺที่สองนานอีก แต่น้อย กว่าการยืนในร็อกอะฮฺแรก หลังจากนั้นท่านจึงรุกูอฺเป็นเวลานาน เสร็จแล้วท่านได้เงยศรีษะและได้ยืนขึ้น แล้ว ยืนละหมาดนานอีก แต่น้อยกว่าการยืนในครั้งแรก หลังจากนั้นท่านก็รุกูอฺนานอีก แต่น้อยกว่าการรุกูอฺในครั้ง แรก หลังจากนั้นท่านก็สุญูด แล้วท่านจึงเสร็จละหมาด เมื่อดวงอาทิตย์เคลื่นออก หลังจากนั้นท่านก็ได้ยืนขึ้น กล่าวตัหฺมีดและชุกูรฺอัลลอฮฺ แล้วกล่าวแก่ผู้คนว่า แท้จริงดวงอาทิตย์และดวงจันทร์นั้นเป็นสัญญานแห่งความ ยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ ฉะนั้นการเกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคาไม่ใช่เกิดเพราะตายหรือการเกิดของผู้ใด เมื่อ พวกท่านเห็นมันก็จงกล่าวตักบีรฺ แล้วดุอาต่ออัลลอฮฺ และจงละหมาดและเศาะดะเกาะฮฺ นอ้ประชาชาติมุหัมมัด เอ๋ยไม่มีผู้ใดที่จะห่วงเกินไปกว่าอัลลอฮฺในการที่บ่าวชายของพระองค์จะซินาหรือบ่าวหญิงของพระองค์จะซินา นอ้ประชาชาติมุหัมมัดเอ๋ย หากพวกท่านรู้ในสิ่งที่ฉันรู้แน่นอนพวกท่านย่อมร้องไห้มากและย่อมหัวเราะน้อย นอ้ ท่านทั้งหลาย ฉันได้บอกจนประจักษ์แล้วหรือไม่ ?” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1044 และมุสลิม เลขที่: 901 ซึ่งส านวนนี้เป็นของมุสลิม) การชดละหมาดกุสูฟและคุสูฟ ถือว่าได้หนึ่งร็อกอะฮฺละหมาดกุสูฟส าหรับผู้ที่ทันในรุกูอฺแรกของทุกร็อกอะฮฺ และไม่จ าเป็นต้องชด ละหมาดกุสูฟ หากไม่ทันละหมาดเพราะปรากฏการณ์นั้นๆสิ้นสุดแล้ว เมื่อการกุสูฟและคุสูฟสิ้นสุดลงในขณะที่ผู้คนก าลังละหมาดอยู่ ให้รีบท าให้เสร็จนดยละหมาดสั้นๆ และ เมื่อละหมาดเสร็จแล้วแต่การกุสูฟและคุสูฟยังไม่สิ้นสุด ให้กล่าวดุอาอ์ ตักบีรฺและเศาะดะเกาะฮฺให้มากๆ จนกว่าจะสิ้นสุดการกุสูฟและคุสูฟ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 146 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความเข้าใจเกี่ยวกับกุสูฟ เป็นสิ่งที่ประจักษ์ว่าการกุสูฟนั้นท าให้จิตใจของคนนน้มเอียงไปสู่การเตาฮีดที่บริสุทธิ์ ยอมรับที่จะท าอิ บาดะฮฺ ห่างไกลจากอบายมุขและบาป ย าเกรงต่ออัลลอฮฺและกลับเข้าหาอัลลอฮฺ 1- อัลลอฮฺได้กล่าวว่า ( ا ً ِويف َل ََتْ َِّ ِت إ ا َ اَْلي ِ ب ل سِ ْ ر ا ن َ م َ و ) ]ا َلْساء/39.] ความว่า “และเรามิได้ส่งสัญญานต่างๆ เพื่ออื่นใด เว้นแต่เพื่อเป็นเตือนส าทับเท่านั้น” (อัล-อิสรออ์ : 59) 2- มีรายงานจากท่านอบู มัสอูด อัล-อันศอรีย์ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า َم لـ ََِسَفا ِن ِ َْن َما َل ي » َُِّنـ ا َ اَُِه، و َ ِعب ا َ ُف هللا ِب هِـم دِ ُ َخو ََي ِت هللا ي ْن أ َتَا ِن مِ أ ي َ ر َ القَم َ ْ َس و َّن ال َّشم َح ا م َن النَّاِس، فَ اَذا ٍد ِ وِت َأ ُ ُْك ََْشَف َما ِب ُ ا ُِْعوا هللا َحَّىت ي َ وا و ُّ َصل فَ ً ا َشيْئا َ نْ هُـم مِ ْ ُْتـم َأي ر « َ ความว่า “แท้จริงดวงอาทิตย์และดวงจันทร์นั้นเป็นสัญญานแห่งความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ เพื่อเป็นการ เตือนส าทับบรรดาบ่าวของพระองค์ ฉะนั้นการเกิดสุริยุปราคาหรือจันทรุปราคาไม่ใช่เกิดเพราะตายของผู้ใด เมื่อพวกท่านเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จงละหมาดและขอดุอาต่ออัลลอฮฺจนกว่ามันจะหายไป”(มุตตะฟะกุน อะ ลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1041 และมุสลิม เลขที่: 911 ซึ่งส านวนนี้เป็นของมุสลิม) หุก่มการละหมาดเมื่อเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ มีบัญญัติว่าการละหมาดเมื่อเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ มีทั้งหมดหกร็อกอะฮฺและสี่สุญูด ในทุกๆ ร็อกอะฮฺ มีสามรุกูอฺและสองสุญูด ส่วนสัญญานต่างๆ นั้นได้แก่ แผ่นดินไหว น้ าท่วม ภูเขาไฟระเบิด อุบัติภัย และอื่นๆ การละหมาดอิสติสกออ์ อิสติสกออ์คือ การดุอาอ์เพื่อขอฝนจากอัลลอฮฺด้วยลักษณะที่เฉพาะ หุก่มการละหมาดอิสติสกออ์ การละหมาดอิสติสกออ์เป็นสุนัตมุอักกะดะฮฺ ละหมาดได้ทุกเวลานอกจากเวลาห้ามละหมาดและที่ดี ที่สุดคือให้ละหมาดหลังจากตะวันขึ้นเท่าด้ามหอก เคล็ดลับในการบัญญัติการละหมาดอิสติสกออ์ เมื่อฝนไม่ตก พื้นดินแห้งแล้งมีบัญญัติให้ละหมาดอิสติสกออ์ นดยให้บรรดามุสลิมออกไปสู่ที่แจ้งด้วย ความอ่อนน้อม ใจสงบ ถ่อมตน ทั้งชายและหญิง ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ นดยให้อิมามนัดบรรดามะอ์มูมออกมา ละหมาดอิสติสกออ์ก่อนหน้านั้นวันสองวัน ประเภทของอิสติสกออ์ อิสติสกออ์อาจท าได้ นดยการละหมาดอิสติสกออ์ร่วมกัน การดุอาอ์ในคุฏบะฮฺญุมุอะฮฺ การดุอาอ์ หลังจากเสร็จละหมาดห้าเวลา หรือในขณะที่นั่งสงบจิตอยู่คนเดียวนดยไม่มีการละหมาดหรือคุฏบะฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 147 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ลักษณะการละหมาดอิสติสกออ์ อิมามขึ้นไปน าละหมาดผู้คนสองร็อกอะฮฺนดยไม่ต้องมีการอะซานและอิกอมะฮฺ ให้ตักบีรฺในร็อกอะฮฺ แรกเจ็ดตักบีรฺพร้อมตักบีเราะตุลอิหฺรอม แล้วให้อ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺหนึ่งสูเราะฮฺใดก็ได้ด้วยเสียงดัง แล้วรุ กูอฺและสุญูดตามล าดับ หลังจากนั้นลุกขึ้นท าในร็อกอะฮฺสองนดยให้ตักบีรฺในร็อกอะฮที่สองห้าตักบีรฺที่ นอกเหนือจากตักบีรฺลุกขึ้นกิยาม แล้วให้อ่านฟาติหะฮฺและสูเราะฮฺด้วยเสียงดัง เมื่อละหมาดได้สองร็อกอะฮฺ แล้วให้ตะชะฮฺฮุด แล้วให้สลาม ช่วงเวลาการกล่าวคุฏบะฮฺ ตามสุนนะฮฺแล้วให้อิมามกล่าวคุฏบะฮฺก่อนการละหมาดอิสติสกออ์ 1- มีรายงานจากท่านอับบ๊าด บิน ตะมีม จากอาของท่านว่า ُه َ رنأيت النب صَل هللا عليه وسَل يوم خرج يستسقي قا : َ ِرَِاء َّ َّ َحو ْدُعو، ثُ َ ي َةلَ ْ ب َل القِ َ ْقب ْ تَ اس َ َ ُه و َىل النَّاِس َظهْر َ ا َّ َحو فَ ةِ َ اء َ ا ِِبلقِر َ ِْيـم فِ َ ْ ِن ََْجر َعتَ َكْ َا ر ن َ َّ َصََّل ل ثُ ความว่า “ฉันเห็นท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในวันที่ท่านออกไปละหมาดอิสติสกออ์ แล้ว ท่านก็หันหลังให้แก่ผู้คนและหันหน้าไปทางกิบละฮฺแล้วขอดุอาอ์ แล้วพลิกกลับด้านผ้าคลุมร่างของท่าน แล้ว ละหมาดน าพวกเราสองร็อกอะฮฺ นดยให้อ่านเสียงดังทั้งสองร็อกอะฮฺ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัลบุคอรีย์ เลขที่ : 1025 ซึ่งส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 894) 2- มีรายงานจากท่านหญิงอาอิชะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮา ว่า خرج رسو هللا صَل هللا عليه وسَل حن بدا حاجب الشمس، فقعد عَل املنْب، فَْب صَل هللا عليه وسَل وِحد هللا ْ َجْد َب ََِِيِرُكُْ عز وجل، ث قا : » .. ُ ُْك َش ََْوتُـم ان « ... ث نأقبل عَل الناس ونز فصَل ركعتن َّ ความว่า “ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ออกไปละหมาดอิสติสกออ์เมื่อมีแสง ตะวันขึ้น แล้วท่านก็นั่งบนมิมบัรฺแล้วตักบีรฺ แล้วตะหฺมีด หลังจากนั้นได้กล่าวคุฏบะฮฺว่า “แท้จริงพวกท่านต่าง มาฟ้องกับฉันเกี่ยวความแห้งแล้งบ้านเมืองพวกท่าน” จนจบ .. แล้วท่านก็หันไปยังผู้คน และเดินลงมาจาก มินบัรฺแล้วก็ละหมาดสองร็อกอะฮฺ” (เป็นหะดีษหะสันที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข(1173) ลักษณะคุฏบะฮฺอิสติสกออ์ ให้อิมามกล่าวคุฏบะฮฺแค่คุฏบะฮฺเดียวนดยยืนคุฎบะฮฺ ตะหฺมีด ตักบีรฺ และอิสติฆฺฟารฺ แล้วกล่าวดังที่มี ตัวบทจากสุนนะฮฺ เช่น » ُ هللا َع َُكُ َم ر قَ ْد َأ َ ُ ُْك، و َعْن ـهِ ِ َِّبِن َزَماف َطِر َع ْن ا َ امل َ ئْ َخار ِ ْست ا َ ، و ْ َجْد َب ََِِيِرُكُْ ُ ُْك َش ََْوتُـم َّ ْن ان َأ َ عََدُكُْ َو ْن تَ ْدُعوُه، و َ َج َّل َأ دز و َ ُ ُْك ْ َب ل َني يَ «، ث يقو : ) ْستَ ِجي الَمِ َ ب الْل ِّ َ ر ِ ه َّ ل ِ ل د ْ م َ ا ْل َٰ ِن َّ ْحَ ي ِم الر َّحِ دي ِن الر ال ِّ ِ م ْ و َ ِ ِك ي ال َ َع ُل َما ْف َ ََّل م ( » هللا ي ـ َه ا َ َل ال ْجَع ا َ َث، و ْ َا الغَي ن ْ ي َ ْ ِزْ عَل ُ، نأن اء َ ُن الُفْقر ََنْ َ ِِنُّ ، و ََّل َأفْ َت الغَ ـ َه ا َ َأفْ َت هللا َل ال َّ هُـم َّ ُد، الل ْ ِري َىل ِح ي ٍن ُ ا ً َلغا ب َ ًة و َّ َا قُو ن َ َت ل ْ َْزل ْل « َما َأن ความว่า “แท้จริง พวกท่านต่างมาฟ้องกับฉันเกี่ยวความแห้งแล้งบ้านเมืองพวกท่านและความล่าช้า ของฝนฟ้ามาเป็นเวลานานแล้ว จริงๆ แล้วอัลลอฮฺได้ใช้ให้พวกท่านขอต่อพระองค์ แล้วสัญญาว่าจะตอบรับดุ อาอ์ของท่านนดยจะให้ในสิ่งที่พวกท่านขอทุกประการ” แล้วท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมก็กล่าวดุอาอ์ ว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 148 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َني : ( الَمِ َ ب الْل ِّ َ ر ِ ه َّ ل ِ ل د ْ م َ ي ِم ا ْل َّحِ َٰ ِن الر َّ ْحَ دي ِن الر ال ِّ ِ م ْ و َ ِ ِك ي ال َ َّ م ) » َأفْ َت هللا َل هُـم َّ ُد، الل ْ ِري ُ َع ُل َما ي ْف َ ََّل هللا ي ـ َه ا َ َل ال َا ن ْ ي َ ْ ِزْ عَل ُ، نأن اء َ ُن الُفْقر ََنْ َ ِِنُّ ، و ََّل َأفْ َت الغَ ـ َه ا َىل ِح ال ٍن َ ا ً َلغا ب َ ًة و َّ َا قُو ن َ َت ل ْ َْزل ْجَع ْل َما َأن ا َ َث، و ْ الغَي « (เป็นหะดีษหะสันที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 1173) หรือกล่าวดุอาอ์ว่า َر أ ِجٍل دٍر، عَا ِج ًل غَْ َر َضا ا غَْ فعً ا، ََنِ ا، َمِريعً ا، َمِريئً » يثً ً، ُمغِ ثا ْ نَا غَي ْسقِ ا َّ هُـم الل « َّ (เป็นหะดีษเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข1169) หรือกล่าวดุอาว่า د » ِ َت ي َ َلَ َك امل َ ب ْحِ نأ َ تَـ َك، و َ َ ْحـم انْ ُرشْ ر َ َك و َ م ِ ِب هَائ َ اَِ َك و َ ْس ِق ِعب ا َّ هُـم الل « َّ (เป็นหะดีษหะสันที่บันทึกนดยมาลิก ในอัล-มุวัฏเฏาะอ์ หมายเลข 449, อบู ดาวูด หมายเลข 1176 ซึ่ง ส านวนนี้เป็นของอบู ดาวูด) หรือกล่าวดุอาอ์ว่า َا ِغ » ثْن َأ َّ هُـم َّ َا، الل ِغثْن َأ َّ هُـم َّ َا، الل ِغثْن َأ َّ هُـم الل « َّ (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1014 และมุสลิม เลขที่: 987 ) หรือกล่าวดุอาอ์ว่า ق ْسِ َّ » ا هُـم َّ نَا، الل ْسقِ ا َّ هُـم َّ الل نَا ْسقِ ا َّ هُـم نَا، الل « َّ (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1013) เมื่อมีฝนตกหนักและรู้สึกหวาดกลัวความล าบากที่จะตามมา สุนัตให้กล่าวดุอาอ์ว่า َ » َمنَ ، و َِِ ا َْلْوِِي َ ا ِب و َ ال ِدظر َ ا ِ و َ ا ِجلب َ ِ و ََكم ََل اْل عَ َّ هُـم َّ َا، الل ن ْ ي َ ََل عَل َا و ن ْ ي َ ال َ َّ َحو هُـم اِب « ِت ال َّش َج الل ِر َّ (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกใน อัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1013 ส านวนนี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 897) ฝนที่เริ่มแรกตก เมื่อย่างเข้าฤดูฝน เมื่อมันตกลงมามีสุนัตให้ถลกผ้าเพื่อให้ฝนถูกส่วนหนึ่งของร่างกาย พร้อมๆ กับกล่าวดุอาอ์ว่า د » ِب اللهم َصي ً عا ََنفِ ا « ً (บันทึกนดยอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1032) และให้กล่าวหลังจากฝนตกลงมาแล้วว่า « ـهِ ِ ت َ َ ْحـم َر ُم « ِطْرََن ِبَف ْض ِل هللا و (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1038 และมุสลิม เลขที่: 71) เมื่ออิมามกล่าวดุอาอ์อิสติสกออ์มีสุนนะฮฺให้เขายกมือทั้งสองขึ้น และบรรดามะอ์มูมก็ท าตามด้วย แล้ว กล่าวอามีนในดุอาอ์ของอิมามในระหว่างที่คุฏบะฮฺอยู่ หลังจากคุฏบะฮฺอิมามจะท าอย่างไร? เมื่ออิมามกล่าวคุฏบะฮฺเสร็จแล้วให้เขาหันหน้าไปสู่กิบละฮฺแล้วให้ขอดุอาอ์ หลังจากนั้นให้เขาพลิก กลับด้านผ้าคลุมร่างของเขานดยให้เอาด้านขวาไปเป็นด้านซ้าย ด้านซ้ายเป็นด้านขวา แล้วบรรดามะอ์มูมก็ยก มือขอดุอาอ์เช่นกัน หลังจากนั้นให้เขาเริ่มน าบรรดามะอ์มูมละหมาดอิสติสกออ์สองร็อกอะฮฺตามลักษณะที่ กล่าวมา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 149 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การละหมาดฎุฮา การละหมาดฎุฮา เป็นการละหมาดที่เป็นสุนัต ซึ่งอย่างน้อยที่สุดต้องมีสองร็อกอะฮฺ แต่จะละหมาด มากเท่าใดก็ได้ไม่จ ากัด เวลาในการละหมาดฎุฮา คือหลังจากตะวันขึ้นเท่าด้ามหอก(ประมาณหนึ่งเมตร) หมายความว่า หลังจากตะวันขึ้นประมาณสิบห้านาที จนกระทั่งตะวันคล้อย และเวลาที่ดีที่สุดคือเมื่อแสงอาทิตย์ร้อนจัดท าให้ ทรายร้อน จนเท้าของลูกอูฐร้อนและอยู่ไม่นิ่ง ความประเสริฐของการละหมาดฎุฮา 1- มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺเราะฎิยัลลอฮุอันฮุว่า ْن َأ َ ض َح ى، و ال ُّ َعَِتِ َ كْ َر ْن ُكِد َشهْ ٍر، و ٍ مِ ََّيم َأ ثَلثَـِِ ِ ام َ يِِل صَل هللا عليه وسَلِبثَل ٍث: ِصي ِ ْوَصاِّن َخل َم َأ . ْنَأفَـا َل َأ ْ قَب َ ر ِ ْوت ُأ ความว่า “ผู้เป็นที่รักยิ่งของฉัน(หมายถึงท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้สั่งเสียแก่ฉันสาม อย่างด้วยกัน คือการถือศีลอดสุนัตสามวันต่อเดือนทุกเดือน การละหมาดสองร็อกอะฮฺในเวลาฎุฮา และการ ละหมาดวิตรฺก่อนที่ฉันจะนอนทุกครั้ง” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 1981 ส านวน นี้เป็นของท่าน และมุสลิม เลขที่: 721) 2- มีรายงานจากท่านอบูซัรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า َ » ُ ُّك تَ ، و َصَدقٌَِ َحٍِ ْسِبي ، فَ ُ ُّك تَ َصَدقٌَِ َحِدُكُْ ْن نأ ُسلَمى مِ ََل ُكِد ُح عَ ُ ْصِب ُّ ُك ي َ ، و ٍَةل َصَدقٌَِ ي ِ ُ ُّك تَ ْهل َ ، و َصَدقٌَِ ْحـِميَدةٍ َعتَا ِن َكْ ْن َذِ َِل ر ْجِزُئ مِ ُ ي َ ، و ََِر َصَدقٌَِ ْن ُ ٌي َعِن امل فَ هْي َ ، و ُو ِف َصَدقٌَِ ْعر َ ٌرِِبمل نأْم َ ، و َصَدقٌَِ ض َح تَـ ى َِْب َرةٍ َن ال ُّ ا مِ َ ُعهُـم َْركَ ي « ความว่า “ทุกๆ เช้า พวกท่านเริ่มเช้าขึ้นมาด้วยหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดชอบบริจาคเศาะดะเกาะฮฺต่อ (พระคุณของอัลลอฮฺที่ทรงประทาน)กระดูกทุกข้อของพวกท่าน ทุกครั้งที่กล่าว สุบหานัลลอฮฺ เป็นเศาะดะ เกาะฮฺหนึ่ง การกล่าว อัลหัมดุลิลลาฮฺ ก็เป็นเศาะดะเกาะฮฺ การกล่าว ลาอิลาฮะอิลลัลลอฮฺ ก็เป็นเศาะดะ เกาะฮฺ การกล่าว อัลลอฮุอักบัรฺ ก็เป็นเศาะดะเกาะฮฺ การใช้ให้ท าความดีเป็นเศาะดะเกาะฮฺ การห้ามปรามจาก ความชั่วเป็นเศาะดะเกาะฮฺ และเป็นการเพียงพอจากสิ่งต่างๆ ที่กล่าวมาด้วยการละหมาดฎุฮาเพียงสอง ร็อกอะฮฺ” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 720) การละหมาดอิสติคอเราะฮฺ อิสติคอเราะฮฺ คือ การขอทางเลือกจากอัลลอฮฺในการตัดสินใจเลือกเอาสิ่งหนึ่งจากหลายๆ สิ่งที่เป็นวา ญิบหรือสิ่งที่เป็นสุนัต เมื่อมันเป็นสองสิ่งที่ตรงกันข้ามกัน หรือสิ่งที่เป็นมุบาหฺ(อนุญาตให้ท าได้ทั้งสองอย่าง)เมื่อ ไม่รู้ว่าอย่างไหนมีประนยชน์มากกว่า หุก่มการละหมาดอิสติคอเราะฮฺ การละหมาดอิสติคอเราะฮฺเป็นการละหมาดสุนัตฺ ซึ่งมีสองร็อกอะฮฺ และการดุอาอ์อิสติคอเราะฮฺนั้นให้ ท าก่อนสลามหรือหลังก็ได้ แต่ก่อนสลามนั้นดีกว่า และอนุญาตให้ละหมาดอิสติคอเราะฮฺได้มากกว่าหนึ่งครั้ง ในเวลาที่หลากหลาย และให้เขาท าอะไรก็ได้ที่จะท าให้ใจของเขาบริสุทธิ์ สงบ สบายปราศจากอารมณ์ใฝ่ต่ า ก่อนที่จะละหมาดอิสติคอเราะฮฺ การอิสติคอเราะฮฺและอิสติชาเราะฮฺ(ขอค าปรึกษา)นั้น เป็นสิ่งที่ท าได้ส าหรับผู้ที่ปรารถนาจะท าในสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่สิ่งหะรอมและมักรูฮฺ ทั้งสองอย่างนี้เป็นสิ่งสุนัต ฉะนั้นจึงไม่น่าจะมีการเสียใจในภายหลัง


Click to View FlipBook Version