The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

หลักศรัทธา หลักปฏิบัติอิสลาม จริยธรรม และการละหมาด

Keywords: อิสลาม,หลักศรัทธา,รุก่น

เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 50 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา صالَة ل َّ َ ا การละหมาด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 51 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การละหมาด การละหมาด เป็นรุก่น (หลักการ) ที่สองของรุก่นอิสลาม และเป็นสิ่งที่ส าคัญยิ่งรองลงมาจากการ ปฏิญาณตนเป็นมุสลิม เพราะการละหมาดคือเสาหลักของศาสนาที่มุสลิมทุกคนจะต้องช่วยกันรักษาและคงไว้ ตราบใดที่ชีวิตยังมีอยู่ อัลลอฮฺได้ก าชับและฝากฝังบรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายให้ช่วยกันรักษาและด ารงการละหมาดห้าเวลาไว้ ดังด ารัสของพระองค์ที่มีว่า َح َن افِ ُظ تِ ِ قَاف ِ ْ َِّللد قُوُموا َ ُ ْس َطى و و ْ ال َّص َلةِ ِت وال ا َ َو َّصل ََل ال وا )سورة البقرة:203 ْ )عَ “พวกเจ้าจงรักษาการละหมาดทั้งหลายไว้ และละหมาดที่อยู่กึ่งกลาง (คือ ละหมาดอัศริ) และจงยืน ละหมาดเพื่ออัลลอฮฺนดยนอบน้อม” (อัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัล-บะเกาะเราะฮฺ : 238) และ สิ่งสุดท้ายที่ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้ฝากไว้กับเหล่าเศาะหาบะฮฺของท่าน ก่อนที่ท่านจะจากนลกนี้ไปก็คือการละหมาด ห้าเวลา การละหมาดเป็นศาสนกิจอันหนึ่งที่จะช่วยสานสายสัมพันธ์อันดีงามและมั่นคงระหว่าง พระผู้เป็นเจ้า กับบ่าวของพระองค์ นับตั้งแต่เราเริ่มกล่าวตักบีรฺ(อัลลอฮุ อักบัรฺ) ก็แสดงให้เห็นได้ชัดเจนเลยว่า ขณะนี้บ่าว ก าลังเข้าเฝ้าอัลลอฮฺ พระองค์ผู้ทรงสร้าง เพราะว่าตั้งแต่ตักบีรจนถึงการให้สลาม เราจะเห็นได้ว่า กิริยามารยาทและทุกอิริยาบทที่ถูกแสดงออกมาในช่วงประกอบพิธี ละหมาดนั้น คืออิริยาบทของบ่าวผู้อ่อนแอ ที่ก าลังเข้าเฝ้าพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่ คือ พระองค์อัลลอฮฺ อีกหลักฐานหนึ่งที่จะช่วยบ่งชี้ว่า การละหมาดคือการเข้าเฝ้าอัลลอฮฺก็คือ เวลาที่ผู้ละหมาดอ่านสู เราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ ในทุกๆ ร๊อกอัตของการละหมาด ทุกๆ อายัตที่เขาได้อ่านในสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺนั้น อัลลอฮฺจะทรงตอบรับดังที่มีรายงานในหะดีษของท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม (รายงานนดย มุสลิม) ส่วนหนึ่งของประนยชน์ส าหรับผู้ที่รักษาไว้ซึ่งการละหมาดก็คือ การละหมาดจะช่วยช าระบาป และจะ ช่วยช าระจิตใจให้บริสุทธิ์ปราศจากสิ่งที่ไม่ดีต่างๆ หรือบาปอันเป็นสิ่งนสนครกที่ติดอยู่ให้หมดสิ้นไป ดัง หะดีษ ที่มีความว่า “พวก ท่านลองตอบสิว่า ถ้าหากว่าหน้าประตูบ้านของพวกท่านมีแม่น ้าไหลผ่าน เพื่อที่พวกท่านจะ ได้อาบน ้าช้าระร่างกายห้าครั งในทุกๆวัน แล้วท่านยังจะมีสิ่งสกปรกหรือกลิ่นตัวติดหรือค้างอยู่อีก ไหม?” บรรดาผู้ที่ฟังท่านอยู่ตอบว่า จะไม่มีสิ่งสกปรกลงเหลือเลย ท่านก็กล่าวอีกต่อไปว่า “ดังนั นการ ละหมาดห้าเวลาก็เช่นกัน อัลลอฮฺจะทรงช้าระบาปและความผิดต่างๆ ของพวกท่านด้วยการละหมาด” (รายงานโดย อัล-บุคอรีย์ และมุสลิม) ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวไว้ความว่า “การ ละหมาดห้าเวลาและการละหมาด ญุมอะฮฺ (ละหมาดวันศุกร์) หนึ่งไปยังอีกญุมอะฮฺหนึ่ง มีผลตอบแทนคืออัลลอฮฺจะทรงไถ่โทษ (ช้าระบาป) ในสิ่ง ที่ไม่ไช่บาปใหญ่” (รายงานโดย มุสลิม) การ ละหมาดมิใช่เพียงแต่สามารถช าระบาปและสิ่งนสนครกเท่านั้น แต่การละหมาดยังสามารถสร้าง เกราะป้องกันบาปอีกด้วย ดังด ารัสของอัลลอฮฺที่ว่า ََِر ُن م ْ ال َ َف ْحَشاء و ْ َّْنَيى َعِن ال َ َّص َلَة ت َّن ال ِ ا )سورة العنَبوت:43) “แท้จริงการละหมาดสามารถยับยั้งมิให้กระท าความนสมมและความชั่ว” (อัลกุรอาน สูเราะฮฺ อัล-อัน กะบูต : 45) นั่นเป็นเพราะว่าการละหมาดคือแสงสว่างที่จะช่วยส่องจิตใจของผู้ศรัทธาบนนลก นี้และในวันอาคิ เราะฮฺ ท่านรอซูลได้กล่าวไว้มีความว่า “การละหมาดนั่นคือแสงสว่าง” (รายงานโดยมุสลิม) ซึ่งใครก็ตามที่รักษาไว้ซึ่งการละหมาดเขาจะได้รับแสงสว่างและความส าเร็จในวันอาคิเราะฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 52 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความส าคัญของการละหมาด การละหมาด (อัศ-ศ่อลาฮฺ) ถือเป็นเครื่องส าแดงความเป็นอิสลามอันดับแรกในวิถีชีวิตของชนมุสลิม ดังนั้นเมื่อมุสลิมละทิ้งการละหมาด ก็เท่ากับว่ามุสลิมผู้นั้นก าลังน าพาตนเองไปสู่การปฏิเสธ (กุฟร์) ซึ่งท่านนบีฯ า่าวว่กล้ได( صَل هللا عليه وسَل) ِك ْ ْنَ ال ِرش د َ َّرُج ِل و ب ْنَ ال َ َّن ب ِ ا َّص َل ةِ َرَك ال ْ َُفِر ت ال َ و “แท้จริงระหว่างบุคคลและระหว่างการตั้งภาคี...กับการปฏิเสธนั้นคือการละทิ้งการ ละหมาด” (รายงานนดยมุสลิม -82-) ข้อชี้ขาดผู้ละทิ้งการละหมาด ผู้ละทิ้งการละหมาดมี 2 ประเภท คือ 1. บุคคลที่ละทิ้งการละหมาด นดยไม่เชื่อว่าการละหมาดเป็นสิ่งจ าเป็น (วาญิบ) หรือเห็นว่าการ ละหมาดเป็นสิ่งที่ไม่ส าคัญ บุคคลผู้นั้นถือเป็นผู้ตกศาสนา (มุรตัด) หรือสิ้นสภาพจากการเป็นมุสลิมแล้ว 2. บุคคลที่ละทิ้งการละหมาดนดยเชื่อว่าการละหมาดเป็นสิ่งจ าเป็น (วาญิบ) แต่ละทิ้งเนื่องจากความ เกียจคร้าน เป็นต้น บุคคลผู้นี้ถือเป็นผู้ประพฤติผิดบาปใหญ่และเป็นคนเลว (ฟาซิก) บทลงโทษผู้ละทิ้งการละหมาด ผู้ละทิ้งการละหมาดจะถูกใช้ให้ส านึกผิดและกลับตัว (เตาบะฮฺ) และท าการละหมาด แต่ถ้าหากเขายืน กรานที่จะละทิ้งการละหมาดก็จะต้องถูกลงนทษประหารชีวิต ถึงแม้จะเป็นการละหมาดเพียงเวลาเดียวก็ตาม ทั้งนี้มีหลักฐานจากอัลหะดีษระบุว่า : َ ُسوُ ِهللا ، َّن محمًد ار ََل اَل هللا ونأ ِ ْن ََلا َس َحدىت يَ ْشَهُدْواَأ َل النَّا ِ ُأقَات ْن ْرُت َأ ٰذ نأم ِ َِل ِ ْوا ُ َعل َّزََكَة ، ف اذافَ ُ ْؤتُواال َّص َلَة وي ُواال ْم ي ُقِ وي ْس ِ َلَِّ َِبدِق اَل ِ ا ْ ُهم َ َِِماَؤُهْ وَأموال ْ َِن د ُ ْوامِ ََل ِهللا َعَصم عَ ْ ِ ، وِحَساُِبُم َلم “ฉันได้ ถูกบัญชาให้รณรงค์กับผู้คนทั้งหลายจนกว่าพวกเขาจะปฏิญาณว่าไม่มี พระเจ้าองค์ใดนอกจาก อัลลอฮฺและแท้จริงมุฮัมมัดคือศาสนทูตของอัลลอฮฺ และจนกว่าพวกเขาจะด ารงการละหมาดและจ่ายซะกาต ดังนั้นเมื่อพวกเขาได้กระท าสิ่งดังกล่าวแล้ว พวกเขาก็ได้ปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของพวกเขาจากฉันแล้ว เว้นเสียแต่ด้วย สิทธิแห่งอิสลาม และการพิพากษาพวกเขาเป็นกิจของอัลลอฮฺ” (รายงานนดยบุคอรี -25-/ มุสลิม -22-) ผลที่เกิดขึ้นจากการลงโทษ ผู้ที่ละทิ้งการละหมาดอัน เนื่องจากเกียจคร้านเมื่อเขาถูกประหารชีวิตตาม นทษานุนทษแล้ว ก็ให้ปฏิบัติ กับศพของเขาเช่นเดียวกับชาวมุสลิมทั่วไปในเรื่องการจัดการศพและ การลงนทษประหารชีวิตกับผู้กระท าผิดไม่ มีผลแต่อย่างใดในเรื่องความสัมพันธ์ ทางเครือญาติ นดยญาติมีสิทธิสืบมรดกของเขาได้ และข้อก าหนดว่าด้วย การสมรสก็ยังคงด าเนินอยู่ส าหรับภรรยาของเขา ไม่ว่าจะเป็นการตั้งก าหนดเวลาครองตน (อิดดะฮฺ) และการไว้ ทุกข์ให้แก่สามี ฮาดิษเกี่ยวกับการละหมาด ฮาดิษอื่นๆ เช่น รายงานจากอบีฮุรอยเราะฮฺ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ แจ้งว่า ท่าน ร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า " แท้จริงสิ่งแรกที่มนุษย์จะถูกสอบถามในวันกิยามะฮฺจากการงาน ของเขา ก็คือ การละหมาด ...พระเจ้าของเราจะตรัสแก่มะลาอิกะฮฺ ทั้งๆที่พระองค์ทรงรอบรู้ดียิ่งว่า พวกเจ้า จงดูการละหมาดของบ่าว...ของข้าว่าเขาท าไว้อย่างสมบูรณ์หรือบกพร่องประการใด หากว่าการละหมาดของ เขาสมบูรณ์ ...ก็จะถูกบันทึกให้เขาอย่างสมบูรณ์ และหากว่าการละหมาดของเขาบกพร่องไปบ้าง พระองค์ก็จะ ตรัสว่าพวกเจ้าจงดูชิว่า ...ส าหรับบ่าวของข้าคนนี้มีละหมาดซุนนะฮฺบ้างไหม? ...หากว่าเขามีละหมาดซุนนะฮฺ ก็


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 53 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา จงท าให้การละหมาดฟัรฎฏ ของบ่าวผู้นี้สมบูรณ์ จากการละหมาดซุนนะฮฺของเขา แล้วกิจการงานอื่นๆ ก็จะถูก สอบสวนในท านองนี้( บันทึกนดยอบูดาวู๊ด อันนะซาอี อัตติรมีซี และอัลฮากิม) จากรายงานของท่านมาลิก อิบนิลฮุไวริซ กล่าวว่า ท่านรอซู้ล (ศ.ล.) กล่าวว่า " ท่านทั้งหลาย จง ละหมาดเหมือนกับที่พวกท่าน เห็นฉันละหมาด " ( บันทึกนดย บุคอรี และมุสลิม ) อิรฺบาด บิน ซารียะฮฺกล่าวว่า “ท่านศาสนทูตของอัลลอฮฺได้ขออภัยให้แก่คนที่อยู่แถวหน้าสามครั้งและ ให้คนที่อยู่แถวที่สองหนึ่งครั้ง” (บันทึกนดยนะซาอีและอิบนุมาญะฮฺ) “การนมาซร่วมกันนั้นดีกว่าการนมาซคนเดียว 27 เท่า” (บันทึกนดยบุคอรีและมุสลิม) “การนมาซในมัสญิดของฉัน(ที่มะดีนะฮฺ)นั้นดีกว่าการนมาซที่อื่นถึงหนึ่งพันเท่ายกเว้นที่มัสญิดอัลฮะ รอม(ในมักก๊ะฮฺ) และการนมาซในมัสญิดอัลฮะรอมนั้นดีกว่าแสนเท่าของการนมาซในที่อื่น” (บันทึกนดยอะหมัด และอิบนุมาญะฮฺ) " ท่านทั้งหลายจะเห็นเป็นประการใด? หากว่ามีล าน้ าสายหนึ่งอยู่ที่หน้าประตูบ้าน ของคนหนึ่งคนใด ในพวกท่าน ซึ่งเขาจะอาบน้ านั้นวันละ 5 ครั้งทุกวัน จะยังคงมีสิ่งสกปรกใดๆ หลงเหลืออยู่ที่เขาอีกไหม?....... เขาทั้งหลายตอบว่า จะไม่มีสิ่งสกปรกใดๆหลงเหลืออีกเลย ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ว่าในท านอง นั้นแหละการท าละหมาดทั้ง 5 ก็เช่นเดียวกัน ก็สามารถลบล้างความผิดทั้งปวงให้ด้วยการท าละหมาดเหล่านั้น " (หะดิษ บุคอรี และมุสลิม และคนอื่นๆ) ฮาดิษที่เกี่ยวกับคุณค่า และความส าคัญของการละหมาด เช่น ท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลลอลลอฮุ อลัยฮิ วสัลลัม) กล่าวว่า "ท่านทั้งหลายเห็นอย่างไรหากมีน้ าคลองสาย หนึ่งผ่านประตูบ้านของคนหนึ่งคนใดในจ านวนพวกท่านแล้วเขาอาบน้ าช าระล้างในคลองนั้น ทุกวันวันละ 5 ครั้ง มันจะมีเหงื่อไคลเหลืออยู่อีกไหม ? พวกเขา (เหล่าซอฮาบะฮ์) ตอบว่า คงไม่มีเหงื่อไคลเหลืออยู่เลย ท่าน รอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลลอลลอฮุ อลัยฮิ วสัลลัม) กล่าวว่า "ก็เช่นเดียวกัน อุปมาละหมาด 5 เวลา อัลลอฮ์ทรงลบล้าง ความผิดต่าง ๆ ด้วยละหมาดทั้ง 5 นั้นแหละ" (รายงานนดยบุคอรี - มุสลิม - ติรมีซี - นาซาอีย์) ท่านพูดว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลลอลลอฮุ อลัยฮิ วสัลลัม) เคยกล่าวว่า "อุปมาละหมาด 5 เวลา ดุจ ดังคลองที่ไหลผ่านหน้าประตูบ้านคนใดคนหนึ่งแล้วเขาอาบน้ า (ช าระล้าง) ในคลองนั้น 5 ครั้ง ทุกวัน (รายงาน นดยมุสลิม) เมื่อใดที่ท่านรอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลลอลลอฮุ อลัยฮิ วสัลลัม) มีความกังวลในเรื่องใดแล้ว ท่านจะรีบเข้าสู่ การละหมาด (รายงานนดย ท่านอะฮ์มัด อบูดาวุด) และมีรายงานจากท่านอับดุลลอฮ์ บุตรของท่านอบีเอาฟาฮ์ (รอดิยัลรอฮุ อันฮู) ว่าท่าน รอซูลุลลอฮ์ (ศ็อลลอลลอฮุ อลัยฮิ วสัลลัม) กล่าวว่า ผู้ใดที่มีความจ าเป็นเกี่ยวกับเรื่องอัลลอฮ์ หรือความต้องการเกี่ยวกับลูก อาด า (มนุษย์) เขาจงท าน้ าละหมาดนดยสมบูรณ์แล้วละหมาดสองรอกาอะฮ์แล้วกล่าวสรรเสริญอัลลอฮ์ และซอ ลาวัตให้แก่นบี แล้วเขาควรกล่าว ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์ ผู้ทรงอารีย์และเมตตาเสมอมหาบริสุทธิ์ พระองค์ผู้ทรงปกป้อง อรัชอันยิ่งใหญ่ การสรรเสริญเป็นสิทธิของอัลลอฮ์ ผู้อภิบาลสากลจักรวาล ข้าขอวิงวอน สู่จุดแห่งการได้รับความเมตตาจากพระองค์ และความหวังในความนปรดปรานของพระองค์ และให้มีผลก าไร แห่งความดี ตลอดจนปอดภัยจากปาบนทษด้วย ขอพระองค์กรุณาอย่าได้ทิ้งความชั่วไว้ให้แก่ข้าพเจ้าเลย ล้วน แล้วแต่พระองค์คงอภัยให้ และได้นปรดอย่าให้มีความทุกข์อันใด นอกจากพระองค์จะเปิดช่องทางให้ และไม่มี ความประสงค์อันใดที่พระองค์ทรงพอพระทัยแล้ว นอกจากพระองค์จะให้ได้รับผลส าเร็จ นอ้! พระผู้ทรงเมตตา กรุณายิ่ง ไม่มีข้อสงสัยแล้วในเรื่องละหมาดนั้นมันไม่เป็นสิ่งที่ท าให้มนุษย์ รอดพ้นจากความยุ่งเหยิงเดือดร้อนใจ ในวันกิยามะฮ์อย่างเดียวเท่านั้นแต่ละหมาดยังเป็นสิ่งที่ท าให้มนุษย์รอดพ้นจากความยุ่งยากเดือดร้อนในดุนยา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 54 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา นี้ด้วย ส่วนความชื่นจิตสบายใจ ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นด้วยการละหมาดนั้น เป็นสิ่งที่มุสลิมผู้มีบริสุทธิ์ใจใน ละหมาดทุกคนย่อมได้รับ ท่านอิบนุซิรีน ได้กล่าวว่า "หากเขาให้ฉันเลือกระหว่างการเข้าสวรรค์กับการละหมาดสองรอกาอัตฉัน จะเลือกละหมาด เพราะว่าการเข้าสวรรค์นั้นเป็นความต้องการของอารมณ์ ส่วนละหมาดนั้นมันเป็นความ บริสุทธิ์ใจเพื่ออัลลอฮ์ เงื่อนไขของการละหมาด มีการวางเงื่อนไขในการละหมาดดังต่อไปนี้ 1. ผู้ละหมาดต้องเป็นมุสลิมที่สะอาดปราศจากหะดัษเล็ก และหะดัษใหญ่ 2. ร่างกาย เครื่องแต่งกายและสถานที่ละหมาดต้องสะอาดปราศจากนะญิส3 ทั้งหลาย 3. ต้องเข้าเวลาละหมาดแล้ว 4. ต้องสวมใส่เสื้อผ้าที่ปกปิดมิดชิด 5. ต้องหันหน้าไปทางกิบละฮฺ4 6. ต้องตั้งเจตนา (เนียต) นดยการตั้งเจตนาในใจว่าจะละหมาดเวลาใด ก่อนตักบีเราะตุลอิหฺรอม นดยไม่จ าเป็นต้องกล่าวออกมาด้วยลิ้น เครื่องแต่งกายในการละหมาด สุนัตส าหรับมุสลิมที่จะละหมาดให้ละหมาดด้วยเครื่องแต่งการที่ดูดี สะอาด เพราะอัลลอฮฺนั้นคือผู้ที่ สมควรที่สุดที่จะต้องเข้าหาพระองค์ในสภาพที่ดูดีและสะอาด ส าหรับผ้าที่ใช้ใส่ ปลายผ้าข้างล่างให้ยาวอยู่ ในช่วงกลางระหว่างแข้งกับข้อพับ หรือไม่ก็ให้เหนือตาตุ่ม แต่อย่าให้พ้นตาตุ่มลงมา เพราะเป็นสิ่งต้องห้าม(หะ รอม)ในการที่จะสวมใส่เสื้อผ้าหรืออื่นๆ ด้วยการปล่อยให้ยาวพ้นตาตุ่มลงมา(อิสบาล)ทั้งในละหมาดและนอก ละหมาด ขอบเขตเอาเราะฮฺของผู้ชายและผู้หญิง เอาเราะฮฺ (อวัยวะพึงสงวน) ของผู้ชายนั้นอยู่ในระหว่างสะดือและหัวเข่า ส่วนของผู้หญิงนั้นทั่วทั้งร่าง เป็น (เอาเราะฮฺ) นอกจากใบหน้า สองฝ่ามือ และสองเท้า แต่หากอยู่ร่วมกับชายอื่นที่ไม่ใช่มะหฺรอม5 ต้องปิดให้ ทั่วทั้งร่างกาย วิธีการชดละหมาดส าหรับผู้เดินทางที่ไม่ทันตื่นละหมาดอัลฟัจญรฺ ส าหรับผู้ที่ก าลังอยู่ในการเดินทาง ด้วยความเหนื่อยท าให้นอนหลับสนิท ไม่ตื่นขึ้นมาละหมาด นอกจากหลังจากดวงอาทิตย์ขึ้นมาแล้ว สุนนะฮฺให้พวกเขารีบลุกจากที่นอน แล้วไปอาบน้ าละหมาด แล้วให้คน หนึ่งคนใดอะซาน แล้วละหมาดสุนัตสองเราะกะอะฮฺ แล้วอิกอมะฮฺ แล้วละหมาดอัลฟัจญ์รฺ 3 “นะญิส” หมายถึง สิ่งสกปรก 4 กิบละหฺ (อาหรับ: قبةل ( คือชุมทิศ ที่มุสลิมหันหน้าไปยามนมาซและขอดุอาอ์ นั่นคือกะอฺบะหฺ ในนครมักกะหฺ ประเทศซาอุดิอาระเบีย 5 "มะฮฺรอม" เป็ นบุคคลที่ห้ามแต่งงานด้วย และถือว่าเป็ นญาติใกล้ชิด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 55 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หุก่มการเปลี่ยนเจตนาในระหว่างละหมาดอยู่ 1. ในแต่ละการกระท าที่เป็นอิบาดะฮฺนั้นจ าเป็นต้องมีเจตนาเจาะจงไว้ และไม่สามารถอนุญาตให้ เปลี่ยนเจตนาไปมาจากการอิบาดะฮฺหนึ่งสู่อิบาดะฮฺหนึ่งได้ เช่นเปลี่ยนจากการละหมาดอัศรฺเป็นการละหมาด ซุฮรฺ และไม่อนุญาตเช่นกันที่จะเปลี่ยนจากอิบาดะฮฺที่ไม่เจาะจงไปเป็นอิบาดะฮฺที่เจาะจง เช่นเปลี่ยนจากการ ละหมาดสุนัตเป็นการละหมาดฟัจญ์รฺ แต่อนุญาตให้เปลี่ยนจากอิบาดะฮฺที่เจาะจงไปเป็นอิบาดะฮฺที่ไม่เจาะจง เช่นผู้ที่ก าลังละหมาดใดละหมาดหนึ่งของละหมาดห้าเวลาอยู่คนเดียว หลังจากนั้นเขาเปลี่ยนละหมาดเป็น ละหมาดสุนัต เพราะจะไปเข้าละหมาดพร้อมญะมาอะฮฺเป็นต้น 2. อนุญาตให้ผู้ละหมาดเปลี่ยนเจตนาของเขาในขณะที่ละหมาดอยู่ จากการเป็นมะอ์มูม หรือว่าจาก การละหมาดคนเดียวไปเป็นการละหมาดญะมาอะฮฺ หรือเปลี่ยนจากการเป็นมะอ์มูมไปเป็นการละหมาดคน เดียว หรือ จากการละหมาดวาญิบไปเป็นละหมาดสุนัต แต่ไม่อนุญาตในทางกลับกัน 3. หากผู้ละหมาดยกเลิกเจตนาของเขาในขณะที่ละหมาดอยู่ ถือว่าการละหมาดของเขาเป็นนมฆะ จะต้องเริ่มละหมาดใหม่จากจุดแรก ให้ผู้ละหมาดหันหน้าหรือกายตัวเองสู่สิ่งที่มีเกียรติยิ่งใหญ่ตามที่อัลลอฮฺก าหนด นั่นคือ หันไปทางอัลกะอฺบะฮฺ ส่วนจิตใจนั้นให้มุ่งสู่อัลลอฮฺ ลักษณะการแต่งกายในละหมาด มุสลิมผู้ละหมาดจะแต่งกายด้วยชุดใดก็ได้ที่ตนเองชอบ นดยไม่มีข้อห้ามใดๆ จากการแต่งกาย นอกจากด้วยสาเหตุที่มีข้อห้ามในตัวของเครื่องแต่งกายเอง เช่น ห้ามสวมใส่ผ้าไหมส าหรับผู้ชาย หรือห้ามสวม ใส่เสื้อผ้าที่มีรูปภาพของสิ่งที่มีชีวิตทั้งผู้ชายและผู้หญิง หรือด้วยสาเหตุที่มีข้อห้ามในลักษณะของเครื่องแต่งกาย เช่น การละหมาดของชายคนหนึ่งด้วยการสวมใส่เสื้อผ้าของผู้หญิง หรือการสวมใส่เสื้อผ้าที่ต่ ากว่าตาตุ่ม(อิส บาล)หรือด้วยสาเหตุที่มีข้อห้ามในการได้มาของเครื่องแต่งกาย เช่น สวมใส่เสื้อผ้าที่ปล้นหรือขนมยมาเป็นต้น สถานที่ละหมาด 1. พื้นแผ่นดินทุกแห่งนั้น อนุญาตให้ท าเป็นสถานที่ละหมาดได้นอกจาก ห้องน้ า ที่เผาขยะ สถานที่มี สิ่งปฎิกูล (นะญิส) คอกอูฐ และในสุสาน เว้นแต่จะละหมาดญะนาซะฮฺ ก็อนุญาตให้ละหมาดในสุสานได้ 2. สุนนะฮฺให้ผู้ละหมาดท าการละหมาดบนพื้นดิน และอนุญาตให้ละหมาดบนผ้าปู ผ้ารอง หรือเสื่อได้ 3. อนุญาตให้ละหมาดบนถนนได้หากมีความจ าเป็น เช่น เนื่องจากความคับแคบของมัสญิด ทั้งนี้ต้อง ค านึงถึงความต่อเนื่องของแถวละหมาดด้วย 4. ที่ดีที่สุดส าหรับบุคคลคนหนึ่งนั้นให้เขาละหมาดในมัสญิดที่ใกล้บ้านของเขานดยไม่จ าเป็นต้อง กระจายให้ทั่วทุกๆ มัสญิดนอกจากด้วยเหตุผลที่อนุญาตนดยศาสนา เมื่อคนบ้าหายจากอาการบ้า คนกาฟิรฺเข้ารับอิสลาม หรือคนที่หมดประจ าเดือน หลังจากเข้าเวลา ละหมาดหนึ่งละหมาดใดแล้ว พวกเขาจ าเป็นต้องละหมาดในเวลานั้นๆ ผู้ที่มีประจ าเดือนและผู้ที่มีญุนุบจะชดละหมาดอย่างไร ส าหรับผู้ที่มีประจ าเดือนนั้น หากหมดเลือดในเวลาละหมาดหนึ่งละหมาดใดแล้วเธอไม่ทันที่จะอาบน้ า นอกจากเวลานั้นๆ จะผ่านพ้นไป เธอจ าเป็นจะต้องอาบน้ าก่อนแล้วละหมาดถึงแม้ว่าจะหมดเวลาแล้วก็ตาม เช่นเดียวกันกับผู้ที่มีญุนุบ ซึ่งตื่นนอนสายหากเขาใช้เวลาอาบน้ ายกหะดัษ ดวงอาทิตย์ก็ขึ้นมาแล้ว(หมดเวลา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 56 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ละหมาดอัลฟัจญ์รฺ) ฉะนั้น ตามสุนนะฮฺแล้วเขาจะต้องอาบน้ าก่อนแล้วจึงละหมาดหลังจากดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว ทั้งนี้เพราะว่าเวลาละหมาดของผู้ที่นอนหลับนั้นเริ่มตั้งแต่ตอนที่เขาตื่น วิธีการละหมาดส าหรับคนที่ไม่รู้ทิศทางกิบละฮฺ วาญิบส าหรับมุสลิมให้ละหมาดนดยหันหน้าไปทางกิบละฮฺ แต่หากเขาไม่รู้ว่ากิบละฮฺอยู่ทางไหนและไม่ มีคนที่จะให้ถามเขาจะต้องใช้วิจารณญานตัดสินใจเองว่าทางไหน แล้วละหมาดหันไปทางที่เขามั่นใจว่าเป็นกิบ ละฮฺนดยที่เขาไม่จ าเป็นต้องละหมาดใหม่หากรู้ทีหลังว่าทางที่เขาหันไปนั้นไม่ใช่กิบละฮฺ ผู้ที่ขาดสติจะชดใช้ละหมาดอย่างไร ส าหรับผู้ที่ขาดสติอันเนื่องจากการนอนหลับ หรือเมา เขาจ าเป็นจะต้องชดละหมาดเมื่อมีสติ เช่นเดียวกันกับผู้ที่ขาดสติอันเป็นผลมาจากการกระท าที่อนุญาต เช่น กินพืชหรือกินยา เขาจ าเป็นจะต้องชด ละหมาด แต่หากเขาขาดสตินดยเหตุสุดวิสัย เช่น เป็นลมหมดสติไป เขาไม่จ าเป็นต้องชดละหมาด วิธีการชดละหมาดต่างๆ มีละหมาดบางประเภทซึ่งเมื่อมีเหตุสุดวิสัยไม่ทันละหมาดในเวลาที่ก าหนดก็จ าเป็นต้องชดเมื่อเหตุ สุดวิสัยเหล่านั้นหมดไป เช่นการละหมาดห้าเวลา และมีละหมาดอีกบางประเภทซึ่งไม่จ าเป็นต้องชดเมื่อไม่ทัน ละหมาดในเวลาที่ก าหนด เช่นการละหมาดญุมุอะฮฺ เมื่อไม่ทันก็ให้เปลี่ยนไปละหมาดซุฮรฺแทน และมีละหมาด อีกบางประเภทซึ่งไม่จ าเป็นต้องชดเมื่อไม่ทันละหมาดนอกจากในเวลาของมัน เช่น การละหมาดอีด วาญิบต้องชดละหมาดที่ขาดไปในทันทีและชดตามล าดับ แต่หากลืม ไม่รู้ หรือกลัวว่าเวลาของการ ละหมาดปัจจุบันจะหมดไป หรือกลัวว่าจะไม่ทันละหมาดญุมุอะฮฺ ก็ไม่จ าเป็นค านึงถึงการเรียงล าดับอีก ผู้ใดที่ก าลังละหมาดฟัรฎฏหนึ่งอยู่ แล้วนึกขึ้นได้ว่าตังเองยังไม่ได้ละหมาดฟัรฎฏก่อนหน้านั้น ให้เขา ละหมาดต่อไปให้เสร็จ แล้วจึงชดละหมาดที่ยังไม่ได้ละหมาดหลังจากนั้น เช่นผู้ที่ไม่ได้ละหมาดอัศรฺ เมื่อเขาไป ที่มัสญิดปรากฏว่ามีการอิกอมะฮฺละหมาดอัลมัฆริบแล้ว ให้เขาละหมาดอัลมัฆริบพร้อมอิมามก่อน แล้วจึง ละหมาดอัศรฺต่อไป หุก่มส าหรับผู้ที่เผลอหลับโดยไม่ทันละหมาด หรือลืมละหมาด ผู้ใดที่เผลอหลับหรือลืมละหมาดให้เขาละหมาดชดเมื่อนึกขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวว่า َر َها ْو ََنَم َعنْ هَا، فَ ََفَّا َس َصلًة، َأ َ »َم ْن نَِ كَر َ َها ا َذا ذ َ ي ِد ُ َصل تُ هَا َأ « ْن ي ความว่า “ผู้ใดที่ลืมละหมาดหรือเผลอหลับไปจนเลยเวลาละหมาดให้เขาละหมาดชดเมื่อนึกขึ้นได้” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 597 และมุสลิม เลขที่: 684ส านวนนี้เป็นของมุสลิม) มารยาทในการไปมัสญิด สุนัตให้มุสลิมออกไปมัสญิดด้วยความสงบเสงี่ยม ไม่รีบเร่ง มีรายงานจากอะบูฮุร็อยเราะฮฺ(เราะฎิยัลลอ ฮุอันฮุ) ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) กล่าวว่า َّس َِي ْ » ُُُك ال ي َ عَل َ ُتوَها و ائْ َ ْسَعوَن، و تَ ْ ُتـم َأفْ َ تُوَها و ْ فَل تَأ َّصلةِ ل ِ دِ َب ل َ َم ا ا َذا ثُو وا، و ُّ َصل فَ ْ ُتـم َكْ ا َأ ِْر َ َِ، فَم َ ن ِِف َصلةٍ َ فَهُو َّصلةِ َىل ال ْعِمُد ا ـ َ ا َذا ََكَن ي َحَدُكُْ َّنَأ وا، فَ ا ُّ ـم ِ فَاتَـ « ُ ُْك فَأَت


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 57 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “เมื่อเตรียมออกไปละหมาดท่านอย่าออกไปด้วยความรีบเร่ง แต่จงออกไปด้วยความสงบ เสงี่ยม ดังนั้น หากท่านทันได้ละหมาดพร้อมอิมามกี่ร็อกอะฮฺก็จงละหมาด ส่วนที่ท่านไม่ทันนั้นก็จงเพิ่มให้ สมบูรณ์ เพราะคนหนึ่งคนใดในหมู่พวกท่านนั้น เมื่อตั้งใจหรือมุ่งมั่นจะไปละหมาดแล้ว ก็ถือว่าเขาก าลัง ละหมาดอยู่” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 908 และมุสลิม เลขที่: 627ส านวนนี้ เป็นของมุสลิม) 1. สุนัตให้มุสลิมเมื่อเขาออกไปมัสญิดให้ก้าวเท้าขวาก่อนเข้ามัสญิด พร้อมกับกล่าวว่า َك َمتِ َ » ْحـ َب ر ا َ ْو أب ْح ِِل َ افْتَ َّ هُـم الل « َّ ค าอ่าน อัลลอฮุมมัฟตะหฺ ลี อับวาบะ เราะห์มะติก ความหมาย “นอ้ อัลลอฮฺ ขอทรงเปิดประตูแห่งความเมตตาของพระองค์ให้กับข้าพระองค์ด้วยเถิด” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 013) 2. เมื่อออกจากมัสญิดสุนัตให้ก้าวเท้าซ้าย พร้อมกล่าวว่า م ْن فَ ْضِ َْل ُِل » َ ِ َ ْسأ أ َ ا دّن ِ َّ هُـم الل « َّ ค าอ่าน อัลลอฮุมมะ อินนี อัสอะลุกะ มิน ฟัฎลิก ความหมาย “นอ้ อัลลอฮฺ แท้จริงข้าพระองค์ขอจากพระองค์ ซึ่งความประเสริฐแห่งพระองค์” (บันทึก นดยมุสลิม หมายเลข 013) เมื่อเข้าไปในมัสญิดมุสลิมควรท าสิ่งใด เมื่อเข้าไปในมัสญิดมุสลิมแล้วควรให้สลามแก่คนที่อยู่ในมัสญิดก่อนหน้านั้น แล้วละหมาดตะหัยยะ ตุลมัสญิดสองร็อกอะฮฺ และควรใช้เวลาในมัสญิดด้วยการซิกรฺระลึกถึงอัลลอฮฺ อ่านอัลกุรอาน และละหมาด สุนัตจนกว่าจะอิกอมะฮฺ ให้พยายามจนสุดความสามารถเพื่อที่จะอยู่ในแถวแรกด้านขวาของอิมาม ญะนาบะห์ ญะนาบะห์ คือ สิ่งสกปรกตามศาสนบัญญัติ ซึ่งจ าเป็นส าหรับมุสลิมจะต้องขจัดให้หมดไป พระองค์ ตรัสไว้ว่า ْ َن َطهِد ِري تَ ُ ب امل َُِي ُّ َ اِبْنَ و َّ ب التَو َّن َهللا َُِي ُّ اَ ความว่า “แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงรักบรรดาผู้ที่กลับตัว ทรงรักผู้ที่ท าความสะอาดอยู่เสมอ” ท่าน ร่อซูล ศ็อลฯ ได้กล่าวว่า ا ِن َ ْم ا َلي ُ َش ْطر ُ ْور ال َطهُ ความว่า “ความสะอาดนั้นเป็นกึ่งหนึ่งของการศรัทธา ชนิดต่างๆ ของสิ่งที่สกปรก 1-ซากสัตว์ตาย คือสัตว์ที่ตายนดยไม่ได้ เชือดตามหลักศาสนา รวมถึงชิ้นส่วนที่ถูกตัดออกมาจาก สัตว์เป็นๆ ก็ถือว่าเป็นซากสัตว์เช่นเดียวกัน ดังที่ท่าน ร่อซูล ศ็อลฯ กล่าวว่า ْتٌَِ َمي َ فَهُو ٌَِّ ِِهَ َحي َ و َِِ ْم َن الَِْبي َما قُ ِطَع مِ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 58 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความว่า “สิ่งถูกตัดออกมาจากสัตว์ ขณะที่มันยังเป็นอยู่นั้นก็ถือว่าเป็นซากสัตว์” ค าว่า “ซากสัตว์” ที่ก าลังกล่าวถึงนี้ มีข้อยกเว้น คือ (ก) ปลา และตั๊กแตน นดยมีหลักจากค าสอนของท่านร่อซูล ศ็อลฯ ที่ว่า ال ِطَحا ُ َ ََِبُد و ُن فَال َأَّما ا ََلَما َ ا ُِ و َ اجلَر َ ْوُت و تَتَا ِن فَاحلُ ْ ي َ ََِما ِن : َأَّما امل َ ْتَتَا ِن و َا َمي ن َ ِح ُّل ل ُأ ความว่า “เป็นที่อนุญาตแก่เรา สัตว์ตาย 2 ชนิด และเลือด 2 ชนิด สัตว์ที่ตายเอง 2 ชนิดก็คือ ปลา และตั๊กแตน , ส่วนเลือด 2 ชนิด ก็คือ ตับและม้ามของสัตว์ “ (ข) ซากสัตว์ที่ไม่มีเลือดไหล เช่น มด ผึ้ง หรืออื่นๆที่ คล้ายกับ 2 สิ่งนี้ (ค) กระดูก ขา เล็บ ขน และ หนังของซากสัตว์ รายงาน จาก อิบนิอับบาส (รฎ)ว่า “มีคนหนึ่งให้ แกะเป็นทาน แก่คนรับใช้ของท่าน หญิงมัยมุนะฮฺ แล้วต่อมาแกะตัวนั้นก็ตายลง” ท่าน ร่อซู้ล ศ็อลฯ ได้เดิน ผ่านไปเห็น ท่านจึงกล่าวว่า هَا َْكَ َ َّ َم أ َحر ا َ فَقَا َ : افَّم ْتٌَِ َِّنَا َمي ِ وا: ا ُ ِبهِ ؟ قَال ْغُتْ َ َهاَِبَا فََدب ِ . َه َّل َأ َخْذُتْ ا ความว่า “ท าไมพวกท่านจึงไม่เอาหนังของมันไปฟอก แล้วก็ใช้ประนยชน์จากมันละ” พวกเขาก็กล่าว ว่า แท้จริงมันเป็นซากสัตว์ที่ตายเอง ท่านนบี จึงตอบว่า อันที่จริง ห้ามรับประทานมันเท่านั้น 2- เลือด เลือดในที่นี้หมายถึง เลือดที่กระฉูดออกมา ขณะเชือด ส่วนเลือดที่ติดอยู่ตามในเส้นเลือดนั้น ไม่เป็นไร มีรายงานจากท่าน อาอิชะฮฺ (รฎ) กล่าวว่า ْدِر ََل القِ ا ََلَم ُخُطْوٌط عَ َ َ و ْحم َ ُ ُك الل ن نَّا فَأ . كُ ความว่า “พวกเราเคยกินเนื้อขณะที่เลือดที่ติดเป็นเส้นอยู่ในหม้อ 3-เนื้อหมูอัลลอฮฺ ซ.บ ตรัสว่า “จงกล่าวว่าเถิดมูฮ าหมัดว่า ฉันไม่พบบัญญัติที่ถูกประทานลงมา ให้แก่ฉันที่เป็นสิ่งต้องห้ามในการบรินภค นอกจาก ซากสัตว์ที่ตายเอง เลือดที่กระฉูดออกมาขณะเชือด หรือเนื้อ หมู เพราะมันเป็นสิ่ง สกปรก (ซูเราะ อัล –อันอาม อายะฮฺ ที่145) 4-สิ่งที่อาเจียนออกมา (ยกเว้นอาเจียนเพียงเล็กน้อย) 5-ปัสสาวะมนุษย์ (ยกเว้นปัสสาวะเด็กผู้ชายที่ยังไม่กินอาหารอื่น ๆ นอกจากนมเท่านั้น มีรายงาน จาก อุมก็อยส (รฎ) ว่า ْهِ ي َ َِبِد َصََّل ا ََُّّلل عَل ََّنَا َذا َك َِبَ ِِف ُح ْجِر الن ْ َّن اب َأ َ َم و ُ َك ال َطَعا ن َأ ْ َأن ي ُ ل ْ َب م ي َ هَا ل َ ْ ٍن ل ب ِ ِِب َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َِبَّ َصََّل ا ََُّّلل عَل هَا َأتَ ْت الن َ نأفد ْس ًل ْغِسَْلُ غَ َ ي ْ م َ ل َ و ْوِبهِ ََل ثَ فَنَ َض َحُه عَ اءٍ َ َ َسََّلَ بـِم و ْهِ ي َ َ ُسْوُ هللا َصََّل ا ََُّّلل عَل َ َسََّلَ فََدعَا ر و แท้จริงนางได้พาลูกของนาง ซึ่งเด็กนั้นยังไม่บรรลุที่จะรับ ประทานอาหารอื่นใด มาหาท่าน นบี ศ็อลฯ แล้วลูกของนางก็ได้ฉี่รดตักของท่านนบี ศ็อลฯ แล้วท่านนบีก็เรียกให้น้ ามา แล้วพรมลงผ้าของท่าน นดยที่ท่าน ไม่ซักแต่อย่างใด 6- อุจจาระมนุษย์ 7- น้ าวะดีย์ คือน้ าสีขาวข้น มักออกมาหลังปัสสาวะสุด 8- น้ ามะซีย์ คือน้ าใสๆ เป็นเมือกถูกขับออกมาขณะที่มีความรู้ทางเพศหรือขณะเล้านลม บางคน อาจจะไหลออกมานดยไม่รู้สึกตัว มีทั้งชายและหญิง น้ านี้เป็นนะญิสนดยมติของนักวิชาการอิสลาม ถ้าเปื้อน ร่างกายก็จ าเป็นต้องล้างถ้าเปื้อนเสื้อผ้าก็ให้เอาน้ าพรมรายงานจาก ท่านอาลีรอฏิยัลลอฮุอันฮุ َك َ كدر َ اغِس ْل ذ َ و ْ َّضأ َ َسأَ َ . فَقَا َ : تَو ْنَتَُه فَ ب ِ ََكِن ا َ م ِ َ َسََّلَ ل و ْهِ ي َ َِب َصََّل ا ََُّّلل عَل ْسأَ َ الن ْن يَ َ ُج ًل َأ ْرُت ر َم فَأَ ً َ ُج ًل َمَّذاء ْن ُت ر كُ ฉันเป็นคนที่มีน้ ามะซีญ์ออกมามากฉันจึงวาน ให้ชายคนหนึ่งคนไปถามท่านนบี ศ็อลๆ อันเนื่องมาจาก ลูกสาวของท่านเป็นภรรยาของฉัน ท่านได้ตอบว่า “จงอาบน้ าละหมาดนดยล้างอวัยวะเพศของท่านให้สะอาด เสียก่อน”


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 59 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หะดัษ َحَد ُث ) ษัหะด ْ ال ( คือ สภาพความไม่สะอาดของร่างกายที่มีผลท าให้ไม่สามารถปฏิบัติศาสนกิจบาง ประการได้ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. หะดัษเล็ก ( ُ َحَد ُث ا َْلْصغَر ْ ال ( คือ สภาพความไม่สะอาดของร่างกายที่เกิดขึ้นจากการถ่ายอุจาระ ถ่ายปัสสาวะ ผายลม ฯลฯ หะดัษเล็กนี้สามารถ ช าระได้ด้วยการอาบน้ าละหมาด ) ُ ُضْوء ُ ( الو 2. หะดัษใหญ่ ( ُبَْ كْ َحَد ُث اْلَ ْ ال ( คือ สภาพความไม่สะอาดของร่างกายที่เกิดขึ้นจากการหลั่งอสุจิ (ญะ นาบะฮ์) การมีเลือดระดูหรือเลือดประเดือน (เฮฎ) เลือดจากการคลอดบุตร (นิฟาส) หะดัษใหญ่นี้สามารถช าระ ได้ด้วย การอาบน้ าฆุสลฺ ( ل ُسْ ُغ ْ ال ( อาบน้ าช าระให้สะอาดหมดจดทั่วทั้งร่างกาย ตามลักษณะวิธีที่ศาสนา บัญญัติ ทั้งนี้การท าความสะอาดในขั้นตอนปกตินั้นจ าเป็นต้องใช้น้ า เพราะอัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ทรง ประทาน น้ าสะอาดลงมาเพื่อใช้ช าระสิ่งสก ปรกต่าง ๆ ให้สะอาด อัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ทรงมีรับสั่งไว้ ว่า ا ً َطهُور ً َماء اءِ َ َّسم َن ال َا مِ ن ْ َْزل َأن َ و “ และเราประทานน้้าที่สะอาด -มีประสิทธิภาพช าระสิ่งสกปรกได ้- ลงมาจากท้องฟ้า ” ซูเราะฮ์อัลฟุ รกอน อายะฮ์ที่ 48 แต่ในกรณีของบุคคลที่ไม่มีน้ าหรือไม่สามารถใช้น้ าช าระหะดัษทั้งสองประเภทด้วยลักษณะวิธีปกติได้ ก็ให้ใช้ วิธีท าตะยัมมุม( ُ م ُّ َم يَّالت ( ใช้ดินฝุ่น ท าความสะอาดช าระหะดัษแทนการใช้น้ าได้ ฮะดัสเล็ก หมายถึงผู้ที่มีสิ่งสกปรกเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น การถ่ายหนัก/เบา การผายลม การนอน หลับสนิทแบบไม่ได้นั่งหลับ การมึนเมา การมีของน้ าวะดีย์ และมะซีย์ การสิ้นสติ เช่นเป็นลม ผู้ที่อยู่ในสภาพ ดังกล่าว ถือว่าเป็นผู้มีฮะดัสเล็ก มีข้อห้ามคือไม่อนุญาตให้ท าการละหมาด ถ้ามีถือว่าเสียน้ าละหมาด หรือ ปฏิบัติศาสนกิจบางอย่างจนกว่าจะขจัดฮะดัสเล็กเหล่านี้ไปเสียก่อนด้วยการอาบน้ าละหมาด หรือในกรณี สุดวิสัยให้ท าการตะยัมมุม (การท าความสะอาดด้วยฝุ่น ถ้าไม่พบน้ า ตามเงื่อนไขที่ก าหนด) ฮะดัสใหญ่ ่หมายถึง ผู้ที่มีสภาพดังต่อไปนี้ 1. มีอสุจิเคลื่อนออกมา 2. การมีเพศสัมพันธ์ (ยูนุบ) 3. การมีประจ าเดือน (เฮด) 4. การคลอดบุตร (นิฟาส) ผู้ที่อยู่ในสภาพดังกล่าว ถือว่าเป็นผู้มีฮะดัสใหญ่ มีข้อห้ามคือไม่อนุญาตให้ท าการละหมาด หรือ ปฏิบัติศาสนกิจบางอย่างจนกว่าจะอาบน้ ายกฮะดัสใหญ่เสียก่อน หรือในกรณีสุดวิสัยให้ท าการตะยัมมุม (การ ท าความสะอาดด้วยฝุ่น ถ้าไม่พบน้ า ตามเงื่อนไขที่ก าหนด)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 60 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การอาบน าละหมาด การอาบน้ าละหมาด คือการท าความสะอาดใบหน้า มือและแขนทั้งสอง ศีรษะ และเท้าทั้งสองนดย การใชน้ า อัลลอฮฺทรงตรัสในซูเราะฮฺอัลมาอิดะฮฺ อายะฮฺที่ 6 ว่า ْ ِن َ ََْعب ْ َىل ال ِ ُ ُْك ا َ ْرُجل َأ َ ُ ْوِس ُ ُْك و ُء َس ُحْوا ِبر اْم َ ِق و افِ َ َر م ْ َىل ال ِ ُ ُْك ا َ ِدي ْ َأي َ ُ ُجْوَهُ ُْك و ْوا و ُ فَا ْغِسل َّص َلةِ َىل ال ِ ا ُتْ ْ َذا قُم ِ ْوا ا َمنُ ْ َن أ ي ََّّلِ َيَا ا ََيَأُّ ความว่า : นอ้บรรดาผู้ศรัทธาแล้วทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลาย จะไปท าการละหมาด พวกท่านจงล้าง ใบหน้าของพวกท่านและมือของพวกท่านจนถึงข้อศอก และท่านทั้งหลาย จงลูบศีรษะ ของพวกท่านและจงล้าง เท้าทั้งสองจนถึงตาตุ่ม. กฎเกณฑ์(หุก่ม) ของการอาบน้ าละหมาด การอาบน้ าละหมาด เป็นสิ่งจ าเป็นแก่ผู้ที่ต้องการจะละหมาดหรือท าการตอว๊าฟ หลักฐานที่บ่งบอกถึง ความจ าเป็น คืออายะฮฺของอัลกุรอานที่กล่าวมาข้างต้น มีรายงานจากท่าน อบีฮุรอยเราะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ แท้จริงท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า َ َّضأ َ َتَو ْحَد َث َحَّىت ي َ َذا أ ِ ا َحِدُكُْ َ ُل اهللاُ َص َلَة أ َ ْقب َ ََلي ความว่า : อัลลอฮฺจะไม่ทรงรับการละหมาดของคนหนึ่งคนใดในพวกท่าน เมื่อเขามีฮะดัษ จนกว่าเขา จะอาบน้ าละหมาดเสียก่อน. (บันทึกนดยท่านอัลบุคอรียฺและมุสลิม อบูดาวูด ติรมีซียฺ อะฮฺหมัด) ฟัรฎู(องค์ประกอบที่ส าคัญ) ของการอาบน้ าละหมาด ส าหรับการอาบน้ าละหมาด มีองค์ประกอบที่ส าคัญๆที่ไม่สามารถจะขาดได้ เรียกว่า ฟัรฎฏ ของการ อาบน้ าละหมาด ดังนั้นเมื่อบกพร่องหรือขาดตกไปอย่างหนึ่งอย่างใด การอาบน้ าละหมาดถือว่าไม่สมบูรณ์และ ขณะเดียวกันจะไม่ถูกนับว่าเป็นบทบัญญัติ ฟัรฎูของการอาบน้ าละหมาด คือ 1. ล้างหน้าจากส่วนที่อยู่บนใบหน้า เช่น ปาก จมูก ฉะนั้นการบ้วนปาก การสูดน้ าเข้าจมูกแล้วสั่ง ออก จึงเป็นสิ่งจ าเป็นตามความเห็นที่มีน้ าหนักของบรรดานักปราชญ์ ขอบเขตของใบหน้าเริ่มจากตีนผมบน หน้าผาก จนถึงใต้คางและอยู่ระหว่างติ่งหูทั้งสองข้าง 2. ล้างมือทั้งสองจนถึงข้อศอก 3. เช็ดศีรษะ และส่วนที่นับว่าเป็นส่วนหนึ่งของศีรษะ คือหูทั้ง 2 ดังนั้นการเช็ดหูทั้งสอง จึงเป็น สิ่งจ าเป็นตามความเห็นที่มีน้ าหนักของบรรดานักปราชญ์ เนื่องจากมีฮะดีษบ่งชี้ว่า หูทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของ ศีรษะ บันทึกนดยท่านอะฮฺหมัดและอบูดาวูด 4. ล้างเท้าทั้งสองจน ถึงตาตุ่มทั้งสอง 5. การเรียบเรียงตามล าดับ เริ่มจากการล้างหน้า ล้างมือทั้งสองจนถึงข้อศอก การเช็ด ศีรษะ การล้างเท้าทั้งสองถึงตาตุ่มทั้งสอง 6. การท าอย่างต่อเนื่อง จะต้องไม่ล่าช้าหรือขาดตอน วิธีการอาบน้ าละหมาด 1. ต้องมีน้ าที่สะอาด 2. การตั้งเจตนาที่จะอาบน้ าละหมาด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 61 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 3. การกล่าว “บิสมิลลาฮิรเราะห์มานิรรอฮีม” 4. การล้างมือทั้งสอง 3 ครั้ง (ข้างขวาก่อนข้างซ้าย) 5. การบ้วนปาก พร้อมกับสูดน้ าเข้าจมูก แล้วสั่งออก 3 ครั้ง 6. การล้างใบหน้าให้ทั่ว 3 ครั้ง 7. การล้างมือทั้งสองของเขาจนถึงข้อศอก 3 ครั้ง (ข้างขวาก่อนข้างซ้าย) 8. เช็ดศีรษะพร้อมกับเช็ดหูทั้งสอง 1 ครั้ง 9. ล้างเท้าทั้งสองจนถึงตาตุ่ม 3 ครั้ง และถูซอกนิ้วเท้าด้วยน้ าให้ทั่ว (ข้างขวาก่อนข้างซ้าย) บทขอพร(ดุอา)หลังอาบน ้าละหมาด(นมาซ) م َّ ه َّ ، الل ول ه س َ ر َ و ه د ْ ب َ ا ع ً َ َّمد ن ُم أَ َّ د َ ْشه أَ َ ، و َك لَه ََل َشِري ه َ د ْ َح و ه َّ َل الل َِّ إ َ لَه ِ ْن ََل إ أَ د َ أَ لِْي ْشه َ ل ْ اع ِ واب َّ َّ الت َ ن ِ م َ هِرين َطَِّ ت الْم َ ن ِ ْلِي م َ ل ْ اع َ َني و ค้าอ่าน : อัชฮะดุอัน ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ วะฮฺดะฮูลาชะรีกะละฮฺ วะอัชฮะดุอันนา มุฮัมมะดัน อับดุฮูวะรอซูลุฮฺ อัลลอฮุมมัจอันนี มินัตเตาวาบีน วัจอันนี มินัล มุตะตอฮฺ ฮิรีน ความว่า “ข้าพระองค์ ขอปฏิญาณว่า ไม่มีพระเจ้าใด ๆ ที่เป็นที่เคารพสักการะอย่างแท้จริงนอกจาก อัลลอฮฺเพียงองค์เดียวเท่านั้น ไม่มีภาคีใด ๆ ร่วมกับพระองค์ และข้าพระองค์ขอปฏิญาณว่ามุหัมมัด เป็นบ่าว และศาสนฑูตของพระองค์ โอ้ อัลลอฮฺ ขอพระองค์ได้โปรดให้ข้าพระองค์เป็นผู้หนึ่งในหมู่ผู้ที่ส านึกผิดต่อ พระองค์ และขอได้โปรดให้ข้าพระองค์เป็นหนึ่งในหมู่ผู้ที่รักษาความสะอาดด้วยเถิด” สิ่งที่ท าให้เสียน้ าละหมาด สิ่งต่างๆที่ท าให้เสียการอาบน้ าละหมาดมีดังนี้ คือ 1. ทุกๆ สิ่งที่ออกมาจากทวารเบาและทวารหนัก ไม่ว่าจะเป็นปัสสาวะ อุจจาระ ผายลม 2. มะนียฺ ( อสุจิ) คือน้ าสีขาวข้น จะออกมา เนื่องจากเกิดอารมณ์ และการมีเพศสัมพันธ์ 3. มะซียฺคือน้ าขาวๆ ใสๆ จะออกมา เนื่องจากเกิดอารมณ์ หรือการเล้านลม 4. วะดียฺ คือน้ าเมือกขาวๆ จะออกมาหลังจากปัสสาวะ มีรายงานจากอิบนุอับบาส รอฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า น้ ามะนียฺที่หลั่งออกมานั้นจ าเป็นต้องอาบน้ าญะ นาบะฮฺ. ส่วนน้ ามะซียฺและวะดียฺนั้น ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า َّص َل ةِ ل ِ َك ل َ ُضْوء ُ و ْ َّضأ َ تَو َ َك و َ كَر َ ْغِس ْل ذ ِ ا ความว่า : จงล้างอวัยวะเพศของท่านและจงอาบน้ าละหมาดเช่นเดียวกับท่านท าเพื่อละหมาด. (บันทึกนดยอัลบัยหะกิม) 5. การขาดสติหรือสติถูกครอบง า ด้วยความมึนเมา ลมบ้าหมู การนอนหลับสนิทนดยก้นไม่แนบกับ พื้น และเป็นบ้า มีรายงานจากท่านซ็อฟวาน บินอัชชาล รอฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า َِْن َ ل ٍَِ ْن َجنَاب مِ َلَّ ِ ْْيِ َّن ا ِ ال َ ي َ ل َ ٍ و ََّيم فَْنِ َع ِخَفافَنَا ثَ َلثََِ َأ ا َأَلَّ ً َسـَفر نَّا َذاكُ ِ ََنا ُ ُمر ْ َأ َ َسََّلَ ي و ْهِ ي َ َ ُسْوُ اهللاِ َصََّل اهللاُ عَل ََكَن ر ٍ ْوم فَ َ َْوٍ و ب َ ٍط و ِ ْن غَائ مِ ความว่า : ปรากฏว่าท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ใช้เราขณะเมื่อเราเดินทางนดยอย่าได้ ถอดรองเท้าหุ้มส้นของพวกเราออกเป็นเวลา สามวัน สามคืน เว้นแต่มีญะนาบะฮฺ แต่เนื่องมาจากถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ และการนอนหลับ( ไม่ต้องถอด )(บันทึกนดยอะฮฺหมัด นะซาอี ติรมีซียฺ)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 62 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ดังนั้นหากเป็นการนอนเพียงเล็กน้อย หรือเป็นการหลับในสภาพท่านั่งที่ก้นของเขาแนบกับพื้นนดย ก าลังรอละหมาด ถือว่าไม่เสียการอาบน้ าละหมาด มีรายงานจากท่านอนัส รอฎิยัลลอฮุอันฮุ กล่าวว่า “ปรากฏว่าบรรดาซอฮาบะฮฺ ของท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ก าลังรอละหมาดอีซาในช่วงเวลาดึกๆ จนกระทั่งหลับหัวของเขาผงก หลังจาก นั้นเขาเหล่านั้นลุกขึ้นละหมาด นดยไม่มีการอาบน้ าละหมาดใหม่” (บันทึกนดยมุสลิม ติรมีซียฺ และอบูดาวูด) 6. การกระทบอวัยวะเพศ นดยมีอารมณ์ 7. การรับประทานเนื้ออูฐ มีรายงานจากท่าน ญาบิร บิน สะมุเราะฮฺ ว่า แท้จริงชายคนหนึ่ง ถามท่านร่อซูล ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะซัลลัม “พวกเราจะต้องอาบน้ าละหมาดเนื่องจากการรับประทานเนื้อแกะหรือเปล่า” ? ท่าน ตอบ ว่า หากว่าท่านประสงค์ท่านก็จงอาบน้ าละหมาดเถิด และถ้าหากท่านประสงค์(จะไม่อาบน้ าละหมาด) จง อย่าอาบ (ชายคนนี้)กล่าวถามต่อว่า “พวกเราจะต้องอาบน้ าละหมาดเนื่องมาจากการรับประทานเนื้ออูฐ หรือไม่? ท่านตอบว่า “ใช่ ท่านจงอาบน้ าละหมาด เนื่องมาจากการรับประทานเนื้ออูฐ”ชายคนนั้นถามต่อ ว่า “ฉันจะละหมาดในคอกแกะได้หรือไม่ ?” ท่านตอบว่า ได้ ชายคนนั้นถามต่อว่า “ฉันจะละหมาดในคอก อูฐ ได้หรือไม่ ? ท่านตอบว่า “ไม่ได้” (บันทึกนดยมุสลิม และอะฮฺหมัด) การสงสัยในความสะอาด 1. ผู้ใดที่แน่ใจว่าเขามีความสะอาด แล้วสงสัยในการมี ฮะดัษ ของเขา ดังนั้นให้คงอยู่บนความ สะอาดของเขาและไม่มีเหตุผลใดๆ ต่อความสงสัย เพราะความสะอาดนั้นคือสิ่งที่ท าให้เขามีความแน่ใจ 2. ผู้ใดที่แน่ใจเขามีฮะดัษ แล้วสงสัยในการมีความสะอาดของเขา ให้เขาคงอยู่บนความแน่ใจว่าเขามี ฮะดัษ และไม่มีเหตุผลใดๆ ต่อความสงสัย เพราะว่าการมี ฮะดัษ นั้นคือสิ่งที่ท าให้เขามีความแน่ใจ มีรายงาน จากท่านอบีฮุรอยเราะฮฺ รอฎิยัลลอฮุอันฮุ จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า َ َع َصْوًَت ْسـم َ ْسِجِد َحَِّت يَ م ْ َن ال ُ َجَّن مِ ْم ََل ؟ فَ َل ََْير َأ ٌ ء ْ نْ ُه َش ي َ َج مِ َأ ْخر ْهِ ي َ َشيْئًا فَأَ ْش َ َك عَل ْطنِهِ َ ِ ِْف ب َحُدُكُْ َ َجَد َأ َذاو ِ ا ْو َُِيَد ِرًَْيا َأ ความว่า : เมื่อคนหนึ่งคนใดพบว่าในท้องของเขามีบางสิ่งบางอย่าง แล้วท าให้เกิดสงสัยแก่เขา ว่ามี สิ่งหนึ่งสิ่งใดออกมาจากท้องของเขาหรือไม่?” เขาจงอย่าออกจากมัสยิดเป็นอันขาดจนกว่าเขาจะได้ยินเสียง หรือได้กลิ่น .(บันทึกนดยมุสลิม อบูดาวูด และติรมีซียฺ) การอาบน ้าญะนาบะฮ์ การอาบน้ าญะนาบะฮ์( อัลฆุสลู่ ) คือ การอาบน้ าเพื่อช าระฮะดัษใหญ่อันเกิดจากการมีอสุจิเคลื่อน ออกมาทั้งเพศหญิงและชาย ไม่ว่าจะด้วยกรณีหรือสาเหตุใดก็ตาม เช่น การฝัน,การร่วมเพศ,การส าเร็จความ ใคร่ ฯลฯ การอาบน้ าญะนาบะฮ์ (ยกฮะดัษ) เป็นวาญิบ (กรณีจ าเป็น) อัลลอฮ์ทรงมีพระด ารัสว่า ُوا ا فَا َّطهَّر ً ْنُتْ ُجنُب ْن كُ ِ ا َ و ความหมาย “ และหากพวกเจ้าเป็นผู้มีญะนาบะฮ์ ( ฮะดัษ ) พวกเจ้าจงช าระ ( อาบน้ า ) ท าความ สะอาดเถิด ” จากบทอัลมาอิดะฮ์ นองการที่ 6 และอัลลอฮ์ทรงมีพระด ารัสอีกตอนหนึ่งว่า ْوا ُ ٍل َحَّىت تَ ْغتَ ِسل ْ عَاِب ِرْي َسِبي َلَّ ِ ا ا ً ََل ُجنُب َ و ความหมาย “ และขณะที่พวกเจ้ามีญะนาบะฮ์ ( ญู่นุบ ) ยกเว้นกรณีของผู้สัญจรผ่านไปเท่านั้น ทั้งนี้ จนกว่าพวกเจ้าจะอาบน้ า ( ช าระร่างกายให้สะอาด) เสียก่อน ” จากบทอันนิซาอ์ นองการที่ 43


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 63 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ท่านหญิงอาอิชะฮ์ภรรยาของท่านรอซูล ได้รายงานลักษณะวิธีการอาบน้ าญะนาบะฮ์ของท่านรอซูล อย่างคร่าวๆ ไว้ว่า “ แท้จริงเมื่อท่านรอซูลอาบน้ าญะนาบะฮ์ ท่านจะเริ่มด้วยการล้างมือทั้งสองข้างก่อน จากนั้นท่านจะใช้มือขวาวักน้ าใส่มือซ้ายเพื่อใช้ช าระล้างทวารหน้า ( อวัยวะเพศ ) จากนั้นท่านจึงอาบน้ า ละหมาดเช่นเดียวกับที่ท่านอาบไปละหมาด เสร็จแล้วน าน้ ามาราดลงบนเส้นผม ( ศรีษะ ) และใช้มือเสยสอด และขยี้นคนผมให้เปียกน้ าทั่ว จนกระทั่งมั่นใจว่าน้ าเปียกทั่วหนังศรีษะหมดแล้ว ท่านวักน้ ามาราดลงบนศรีษะ อีก 3 ครั้ง จากนั้นราดน้ าจนทั่วร่างกาย เสร็จแล้วจึงล้างเท้าทั้งสองข้างของท่าน ) จากบันทึกของอัลบุคอรีย์ และมุสลิม อิสลามให้มีบัญญัติให้มีการอาบน้ าเพื่อช าระฮะดัสใหญ่ อันได้แก่ การมีญะนาบะฮฺ การมีประจ าเดือน หลังคลอดบุตรหลังมีเพสสัมพันธ์ หลังมีอสุจิเคลื่อน หลังการคลอดบุตร และเกี่ยวกับจะปฎิบัติศาสนกิจ บางอย่าง เช่น อาบน้ าวันศุกร์ และก่อนจะครองเอี๊ยะรอมในพิธีฮัจญ์เป็นต้น ขั้นตอนการอาบน้ าญะนาบะฮ์ดังนี้ 1. เริ่มด้วยการล้างมือทั้งสองข้างพร้อมกล่าวบิสมิ้ลลาฮฺ 2. ใช้มือซ้ายล้างทวาร(อวัยวะเพศ)จนเกลี้ยง 3. เริ่มท าการอาบน้ าละหมาด 4. ล้างมือทั้งสองข้าง 3 ครั้ง 5. เอามือขวาวักน้ าใส่ปากครั้งหนึ่งเหลือไว้เล็กน้อยสูดเข้าจมูก (เอามือซ้ายจับที่จมูกสั่งทิ้ง)ส่วนที่อยู่ใน ปากให้กลั้วปากและคอ บ้วนทิ้ง ท าเช่นนี้ 3 ครั้ง 6. ล้างใบหน้าให้ทั่ว 3 ครั้ง 7. ล้างแขนขวาจรดข้อศอก 3 ครั้ง 8. ล้างแขนซ้ายจรดข้อศอก 3 ครั้ง 9. เอามือทั้งสองจุ่มน้ าเช็ดศีรษะและใบหู 1 ครั้ง 10. เอาน้ าราดศีรษะ ใช้นิ้วขยี้และถูที่รากผมให้เปียกให้ทั่วถึงหนังศีรษะ 11. เอาน้ ารดศีรษะ 3 ครั้ง 12. เอาน้ ารดร่างกายด้านขวา พร้อมใช้มือถูตามผิวหนัง 13. เอาน้ ารดร่างกายด้านซ้าย พร้อมใช้มือถูตามผิวหนัง 14. ล้างเท้าขวา 3 ครั้ง 15. ล้างเท้าซ้าย 3 ครั้ง 16. เมื่ออาบน้ าญะนาบะฮ์เสร็จแล้วให้กล่าวบทขอพร ข้อความที่ใช้กล่าวเมื่ออาบน้ าละหมาดเสร็จ หลังจากอาบน้ ายกฮะดัสแล้วก็สามารถละหมาดได้ ไม่จ าเป็นต้องอาบน้ าละหมาดอีก "ท่านร่อซูล ศอลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม มิได้อาบน้ าละหมาดอีกครั้งหลังจากอาบน้ ายกฮะดัสแล้ว" บันทึกนดยนักบันทึกฮะดีษทั้งห้า (อัตติรฺซีย์ ,อันนะซาอีย์,อิบนุมาญะฮฺ อบูดาวูด, อะหมัด) ข้อห้ามของผู้ที่มีญานาบะห์ ผู้ที่มีญะนาบะห์ ห้ามปฏิบัติสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้จนกว่าจะได้อาบน้ าฆุสล์(อาบน้ ายกฮะดัษ) เสียก่อน 1.ห้ามละหมาด 2.ห้ามจับต้อง และอ่านอัลกรุอ่าน 3.ห้ามฏอว๊าฟบัยตุลลอห์ 4.ห้ามพักอยู่ในมัสยิด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 64 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การตะยัมมุม การตะยัมมุม คือ การใช้ดินฝุ่นสะอาดลูบใบหน้าและมือทั้งสอง แทนการอาบน้ าละหมาดและ การ อาบน้ าวาญิบ อัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ทรงมีบัญญัติเรื่องการตะยัมมุมแทนการอาบน้ าละหมาดและ การ อาบน้ าวาญิบไว้ในอัลกุรอาน เพื่อให้เป็นที่สะดวกและง่ายดายในการปฏิบัติศาสนกิจ เมื่อไม่มีน้ าหรือไม่ สะดวก ที่จะใช้น้ า อัลลอฮ์ซุบฮานะฮูวะตะอาลาทรงมีรับสั่งว่า غَ ْ َن ال ُ ُْك مِ نْ َحٌد مِ َأ َ ْوَجاء ََل َسَفٍر َأ ْو عَ ْرََض َأ ْنُتْ َم ْن كُ ِ ا َ ً و ا ب د يًدا َطِي َصعِ ُوا َّم َم فَتَي ً َماء ََتِ ُدوا فَََلْ َ َساء د ِ الن ُتُ ْ ْو ََلَمس ِطِ َأ ائ ا ً ا غَُفور ًّ ََّنَََّّلل ََكَن َعُفو ِ ُ ُْك ا ِدي ْ َأي َ ُ ُجوِهُ ُْك و َس ُحوا ِبو فَاْم "...และหากพวกท่านเจ็บไข้ได้ป่วยหรืออยู่ในระหว่างเดินทาง หรือเสร็จจากการถ่ายทุกข์ หรือมี เพศสัมพันธ์กับสตรี และพวกท่านไม่มีน ้า พวกท่านจงตะยัมมุมด้วยดินฝุ่นที่สะอาดแทน ฉะนั นพวก ท่านจงลูบ ใบหน้าของพวกท่านและมือของพวกท่าน" (ซูเราะฮ์อันนิซาอฺ อายะฮ์ที่ 43) และอัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา ทรงมีรับสั่งอีกว่า ْوَج ََل َسَفٍر َأ ْو عَ ْرََض َأ ْنُتْ َم ْن كُ ِ ا َ ً و ا ب د يًدا َطِي َصعِ ُوا َّم َم فَتَي ً َماء ََتِ ُدوا فَََلْ َ َساء د ِ الن ُتُ ْ ْو ََلَمس ِطِ َأ غَائ ْ َن ال ُ ُْك مِ نْ َحٌد مِ َأ َ اء نْ ُه ُ ُْك مِ ِدي ْ َأي َ ُ ُجوِهُ ُْك و َس ُحوا ِبو فَاْم "...และหากพวกท่านเจ็บไข้ได้ป่วยหรืออยู่ในระหว่างเดินทาง หรือเสร็จจากการถ่ายทุกข์ หรือมี เพศ สัมพันธ์กับสตรี และพวกท่านไม่มีน้้า พวกท่านจงตะยัมมุมด้วยดินฝุ่นที่สะอาดแทน ฉะนั้นพวกท่าน จงลูบใบหน้าของพวกท่านและมือของพวกท่านจากดินฝุ่นนั้น " (ซูเราะฮ์อัลมาอิดะฮ์ อายะฮ์ที่ 6) ท่านหุซัยฟะฮ์อิบนุลยะมาน ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ รายงานว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะซัลลัม กล่าวว่า َ اء َ م ْ ََنِ ْد ال ْ م َ َذال ِ ا ا ً َا َطُهور ن َ ُْتَا ل َ ْرب ُ ْت ت َ ل َ ُجعِ ْسِجًدا و هَا َم َا ا َْلْرُض َُكُّ ن َ ْت ل َ ل َ ُجعِ و ความว่า และพื้นดินทุกแห่งถูกท้า(บัญญัติ) ให้เป็นมัสยิดส้าหรับพวกเรา(ใช้เป็นที่ละหมาดได้) และ ดินฝุ่นบนพื้น ดินนั้นถูกท้าให้เป็นสิ่งใช้ท้าความสะอาดได้(คือส าหรับตะยัมมุม)เมื่อพวกเราไม่มี(ขาดแคลน) น้้า (บันทึกนดยมุสลิม) และท่านอาบอุมามะฮ์อัลบาฮิลีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ รายงานอีกว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะซัลลัม กล่าวว่า َّص َلُة ُأَّمِِت ال ْن َ ُج ًل مِ ْت ر َكَ ا َأ ِْر َ َم ْن ِعْنَدُه َطُهوُرُه فَأَي َ ْسِجُدُه و ْنَدُه َم فَعِ ดังนั้นไม่ว่าบริเวณใดก็ตามที่การละหมาดถึงเวลาแก่ผู้หนึ่งจากประชาชาติของฉัน ตรงที่เขาอยู่นั้น มี ทั้งมัสยิดและมีทั้งสิ่งที่ใช้ท้าความสะอาด (หมายถึงดินฝุ่น) บันทึกนดยอะหมัด ลักษณะวิธีการตะยัมมุม การตะยัมมุมถูกบัญญัติครั้งแรก ในปี ฮ.ศ.ที่ ๖ หลังจากท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม เดินทาง กลับจากสงครามบะนิลมุสฏอลิก ท่านหญิงอาอิชะฮ์รายงานว่า " ครั้งหนึ่งฉันท าสร้อยคอที่ขอยืมมา จากอัสมาอ ฺพี่สาวของฉันหายระหว่างการเดินทาง ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม จึงใช้ให้สาวก ของท่าน กลุ่มหนึ่งออกค้นหาตามเส้นทาง ระหว่างทางได้เวลาละหมาด พวกเขาไม่มีน้ าส าหรับอาบน้ าละหมาด จึงพากัน ละหมาดนดยไม่มีน้ าละหมาด เมื่อพวกเขากลับมาถึงมะดีนะฮ์ จึงรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้ท่าน รอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมรับทราบ อัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลาจึงทรงประทานนองการอัลกุ รอานอนุญาต ให้ท าตะยัมมุมแทนการอาบน้ าละหมาดได้ และท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมก็


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 65 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา มิได้ต าหนิหรือ ใช้ให้พวกเขาท าละหมาดใหม่แต่อย่างใด ท่านอุซัยด์อิบนุหุฎ็อยร์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุได้กล่าวกับ ฉันว่า ِك َخْر َجَز ً ا يهِ ِِم َن فِ ُ ْسل م ْ ل ِ ل َ َجَع َل ُهللا َذِ ِِل َِلِ و َلَّ ِ َُه ا ِهين َ ر ََْ ٌر ت أْم ِك َ ََزَ ِب ِهللا َمان َ ُهللا َخْرًا، فَو ขออัลลอฮ์ทรงโปรดตอบแทนความดีแก่เธอด้วย ขอสาบานต่ออัลลอฮ์ไม่ว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่พึง ประสงค์แก่เธออย่างไรหรือครั้งใดก็ตาม อัลลอฮ์จักต้องโปรดประทานโอกาสและทางออกที่ราบ รื่นแก่เธอ เสมอทุกครั้งไป และเรื่องนั้นกก็ลายเป็นบะรอกะฮ์ความจ าเริญแก่มุสลิมทวั่ไปอีกด้วย วิธีการท าตะยัมมุม วิธีการท าตะยัมมุม คือ ให้เอาฝ่ามือทั้งสองข้างตบลงบนพื้นดินที่เป็นฝุ่นสะอาด นดยให้ฝุ่นติดฝ่ามือ พอประมาณ และหากมีฝุ่นติดมือมากก็ให้เป่าฝุ่นหรือสะบัดมือให้ฝุ่นหลุดออกบ้าง แล้วจึงลูบใบหน้าให้ทั่ว เสร็จแล้วลูบมือ ทั้งสองข้างจนถึงข้อมือให้ทั่ว นดยเอามือซ้ายลูบมือขวาก่อน จากนั้นจึงเอามือขวาลูบมือซ้าย หรืออาจท า สลับกัน นดยลูบมือทั้งสองข้างก่อนแล้วจึงลูบใบหน้าเป็นบางครั้งก็ได้ และรายงานหะดีษที่เกี่ยวกับ ลักษณะวิธีการ ตะยัมมุมที่ถูกต้องและชัดเจนจากท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมคือรายงานของ ท่านอัมมาร บินยาซิร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุซึ่งมีปรากฏในบันทึกของอัลบุคอรีย์,มุสลิมและนักบันทึกหะดีษระดับ แนวหน้าอีกหลาย ท่าน ท่านอัมมารบินยาซิร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุรายงาน ว่า ي ِد ََكَ َّصعِ ْغ ُت ِِف ال َّ َر َفتَم َ اء َ َأ ِجِد امل ََلْ ُت َف ْ ْجنَب َفأَ َجٍِ َ ُسْوُ ِهللا صَل هللا عليه وسَلِِف َحا ِِنْ ر ُِ َعثَ َّ ُغ ا ََّلاب َّ َر َتم ا ََك َ فَّم ِ لنَِّبِد صَل هللا عليه وسَل فَقَا َ : ا ِ ْرُت َذِ َِل ل كَ َ فَذ َّ فََف َضهَا ََل ا َْلْرِض ثُ ًِ عَ َ َضْب ََفِدهِ ََع َه َََذا، فَ َُّضَ َب ِب ْن تَ ْصن ي َك َأ َْفِ َ َن ي َْْجُه َ ا و َ َسَح ِِِبم َّ َم ََفِدهِ ثُ ِب ِِشَاَِلِ َ ْوَظهْر َأ اَِلِ َ ِشم ِب فِدهِ َ كَ ا َظهْر َ َسَح ِِِبم َّ َم ثُ "ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมส่งฉันไปปฏิบัติหน้าที่บางประการ(ในต่าง แดน) ระหว่าง นั้นฉันเกิดมีญะนาบะฮ์(หะดัษใหญ่) แต่ฉันไม่มีน้้าเลย ฉันจึงกลิ้งเกลือกบนพื้น (เพื่อให้ฝุ่นสัม ผิวทั่วทั้งตัว) เหมือนที่สัตว์เกลือกกลิ้งบนพื้น ภายหลังฉันได้เล่าเหตุการณ์ทั้งหมดให้ท่านนาบีศ็อลลัลลอ ฮุอะลัย ฮิวะซัลลัมรับทราบ ท่านจึงกล่าวกับฉันว่า "อัมมารเอ๋ย ท่านเพียงใช้มือทั้งสองของท่านท้าแบบนี้ แทน ก็ใช้ได้แล้ว" แล้วท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมก็สาธิตโดย 1. เอาฝ่ามือ (ทั้งสองข้าง) ตบลงบนพื้นหนึ่งครั้ง แล้วสะบัดมือให้ฝุ่นที่ติดอยู่นั้นหลุดออกเล็กน้อย แล้วจึงใช้มือทั้งสองลูบกันเอง โดยใช้มือซ้ายลูบหลังมือขวา แล้วเอามือขวาลูบหลังมือซ้าย จากนั้นจึงใช้ มือทั้งสองลูบใบหน้า “บันทึกนดยอัลบุคอรีย์และมุสลิม ท่านอัมมารบินยาซิร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ รายงานอีกว่า ُّ صَل هللا عليه وسَل فَ َُّضَ َب النَِّب َ ا َْلْرَض و ْهِ ََفَّي ِب ْهِ فَّي َكَ َْْجُه و َ ا و َ َسَح ِِِبم َّ َم ا ثُ َ ِْيم فََف َخ فِ " ดังนั้นท่านนาบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมจึงใช้ฝ่ามือทั้งสอบตบลงบนพื้นดิน แล้วเป่าฝุ่นที่ติด มือ ทั้งสองออกเล็กน้อย จากนั้นใช้มือทั้งสองลูบใบหน้าและฝ่ามือทั้งสองข้าง" กรณีที่อนุโลมให้ท าตะยัมมุมแทนการอาบน้ าละหมาดและการอาบน้ าญะนาบะห์ 1. เมื่อเจ็บป่วย ไม่สามารถใช้น้ าได้เช่น มีบาดแผลหรือเกรงว่าเมื่อใช้น้ าแล้วอาจท าให้อาการก าเริบ หนักขึ้น หรือหายช้าลง ท่านญาบิรอิบนุอับดิลลาฮ์ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุรายงานว่า (ในระหว่างที่พวกเราเดินทางนั้น มีชายคน หนึ่งประสบอุบัติเหตุศีรษะแตกเป็นแผลฉกรรจ์ และในคืนนั้นเขาฝันเปียก ต้องอาบน้ ายกหะดัษเขา


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 66 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา จึงสอบถาม จากเพื่อน ๆ ที่ร่วมเดินทางว่า เขาสามารถท าตะยัมมุมแทนการอาบน้ าได้หรือไม่ ? ทุกคนพากัน ตอบว่าไม่สามารถ ท าตะยัมมุมแทนได้เพราะมีน้ า เขาจึงต้องอาบน้ าและอาการก าเริบทรุดหนักและเสียชีวิตใน ที่สุด เมื่อท่าน รอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมทราบเรื่องที่เกิดขึ้น ท่านจึงกล่าวต าหนิพวกเขาและ ชี้แจงว่า ْغِس َل َ ي َ ْْيَا و َ ْ َسَح عَل َم َّ ي ََل ُجْرِحهِ ِخْرقًَِ ثُ َْع ِص َب عَ ْوي َأ َْعُِصَ ي َ َ و َّم َم َتَي ْن ي َأ يهِ َْفِ َ ا ََكَن ي َ فَّم ِ َ َجَسِد ا ِر َساِئ هِ ย่อมเป็นการเพียงพอแล้วที่เขาจะท าตะยัมมุมแทน และคาดผ้าปิ ดบาดแผลไว้ แล้วใช้น ้าลูบบนผ้า นั้นแทน จากนั้นก็อาบน ้าให้ทั่วร่างกายตามปกติ บันทึกนดยอาบูดาวูด6 2. เมื่อไม่มีน้ าหรือขาดแคลนน้ า หรือมีน้ าเหลือไว้เฉพาะบรินภคดื่มกินเท่านั้นไม่เพียงพอส าหรับ อาบน้ าละหมาด หรืออาบน้ าฆุสลฺ ท่านอิมรอนอิบนุหุศ็อยน ฺร่อฎิยัลลอฮุอันฮุได้รายงานไว้ว่าว่าในระหว่างที่ พวกเราเดินทางไป พร้อมกับรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมมีชายคนหนึ่งไม่ได้ร่วมละหมาดญะ มาอะฮ์ด้วย เพราะมีหะดัษ ใหญ่ (ญะนาบะฮ์) แต่เขาไม่มีน้ าพอส าหรับอาบยกหะดัษ เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมทราบ จึงกล่าวว่า ي َك َْفِ َ فَُّه ي ِ ي ِد فَا َّصعِ َك ِِبل ْ ي َ عَل ท่านต้องใช้ดินฝุ่นแทนดินฝุ่นถือว่าพอเพียงส้าหรับให้ท่านใช้ท้าความสะอาดตัวแล้ว บันทึกนดยอัล บุคอรีย์และมุสลิม ท่านอาบูซัรรฺอัลฆิฟารีย์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุรายงานว่า ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า َن نِ َع ْرشَ س ِ َ اء َ م ْ ِجْد ال َ ْي م َ ْن ل ِ ا َ ِ و ُ ْسَِل م ْ ال ُ د َب َطهُور يَد ال َّطِي َّصعِ َّن ال ِ ا แท้จริงดินฝุ่นที่สะอาดนั้นใช้ท้าความสะอาดแทนน้้าได้ส้าหรับมุสลิม แม้ว่าเขาจะไม่มีน้้าเป็น ระยะเวลา ถึง 10 ปีก็ตาม บันทึกนดยอะหมัด,อาบูดาวูด,อัดติรมิซีย์และอันนะซาอีย์ 3. เมื่อไม่สามารถใช้น้ าได้ตามปกติ เช่น เมื่อน้ านั้นร้อนจัดหรือเย็นจัด เกรงว่าจะได้รับอันตรายหาก ใช้น้ านั้น ท่านอัมรุบนุลอาศร่อฎิยัลลอฮุอันฮุรายงานว่า " คืนหนึ่งในระหว่างสงครามซาตุสซะลาซิล( ฮ.ศ.ที่ 8 ) ฉันฝันเปียก และคืนนั้นอากาศหนาวจัดมาก ฉันเกรงว่าถ้าหากฉันอาบน้ าวาญิบในคืนนั้นแล้วฉันต้องล้มป่วย อย่างแน่นอน ฉันจึงท าตะยัมมุมแทนและออกไปน าละหมาดซุบหฺในตอนเช้ามืด เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะ ซัลลัมทราบเรื่อง ท่านจึงสอบถามฉันว่าท าไมฉันจึงท าเช่นั้น ฉันตอบว่า ก็เพราะอัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลา สั่งใช้ไว้ว่า ِحميًا َ ُ ُْك ر َّن َهللا ََكَنِب ِ َسُ ُْك ا ُوا َأفُْف ََل تَْقُتل َ و และพวกท่านอย่าฆ่าตัวเอง แท้จริงอัลลอฮ์นั้นทรงเมตตากรุณาต่อพวกท่านยิ่งนัก"ซูเราะฮ์อันนิ ซาอฺ อายะฮ์ที่ 29 ฉันจึงตัดสินใจท้าตะยัมมุม เมื่อท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ยิน เช่นนั้น จึงหัวเราะข้า และไม่พูดต้าหนิอะไรฉันเลยแม้แต่น้อย บันทึกนดยอะหมัด,อาบูดาวูดและอัลฮากิม ข้อควรระวัง 1. ฝุ่นที่ใช้ท าตะยัมมุม(ตามทรรศนะที่ถูกต้อง) ต้องเป็นฝุ่นจากดินที่สะอาดและแห้งเท่านั้น ท่านหุ ซัยฟะฮ์ อิบนุลยะมาน ร่อฎิยัลลอฮุอันฮ ุรายงานว่าท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า َ اء َ م ْ ََنِ ْد ال ْ م َ َذا ل ِ ا ا ً َا َطُهور ن َ ُْتَا ل َ ْرب ُ ْت ت َ ل َ ُجعِ و 6 นักวิชาการส่วนหนึ่งวิจารณ์หะดีษบทนี้ว่า ฎออีฟ คืออ่อนไม่ผ่านเกณฑ์หรือมาตรฐานการพิจารณาหะดีษ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 67 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา และดินฝุ่นบนพื้น )ดิน (นั้นถูกบัญญัติให้เป็นสิ่งที่ใช้ท้าความสะอาดได้ เมื่อพวกท่านไม่มีน้้า บันทึก โดยมุสลิม ยกเว้นกรณีพื้นที่หรือภูมิประเทศนั้นๆไม่มีดินฝุ่น จึงจะอนุนลมให้ใช้ทราย,ลูกรัง,กรวดหรืออื่นๆแทนได้ ท่านอา บูฮุรอยเราะฮ์ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุรายงานว่า มีชายชาวอาหรับ(เบดูอิน)คนหนึ่งถามท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ว่า ََي ر ُج َ ُسْوَ ِهللا ْ ال َ ُض و ِ َحائ ْ ال َ ُ و َساء َف ُّ َا الن ْن ي َُْوُن فِ ْو ََْخ َسَِ َأ ْشهُ ٍرفَتَ ََعَِ َأ ْشهُ ٍر َأ ْرب ْم ِل َأ َّ َُْوُنِ ِْف الر َ ََّن ن ِ ا ى ؟ َ َر ات َ ُب، فَم ُن ِد ْ ي َّصعِ ُ ُْك ِِبل ْ ي َ قَا َ : عَل โอ้ท่านศาสนทูตของอัลลอฮ์ พวกเราไปอาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่เป็นทรายล้วน ๆไม่มีน ้าเลย ตลอด ระยะเวลา 4-5 เดือนและในหมู่พวกเราบางคนเกิดมีนิฟาส,เฮฎ,และญะนาบะฮ์ขึ น ท่านเห็นว่าพวก เราควร ต้องท้าอย่างไร ? ท่านรอซูลุลลอฮ์ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมตอบว่า " เมื่อเป็นเช่นนั นพวกท่าน จงท้าที่พื น (คือใช้อะไรก็ได้ที่มีอยู่ที่พื้นบริเวณนั้น) บันทึกโดยอัลบัยฮะกีย์ 2. ตบฝุ่นเพียงครั้งเดียว นดยลูบทั้งใบหน้าและมือทั้งสองข้างจนถึงข้อมือเท่านั้น เพราะการตบฝุ่น เพียงครั้งเดียว นั้น มีปรากฏในรายงานที่ถูกต้องที่สุด และได้รับการยอมรับจากบรรดานักวิชาการทั้งหมด ดัง รายงานของ ท่านอัมมาร บินยาซิร ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ ในบันทึกของอัลบุคอรีย์และมุสลิม ว่า "ท่านนาบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเอามือตบลงบนฝุ่นหนึ่งครั้ง "ท่านอัมมารร่อฎิยัลลอฮุอันฮุยังกล่าว ยืนยันอีกว่า ْ ل ِ ِحَدًة ل ا َ ًِ و َ ِّن َضْب َ َمر فَأَ ِ م ُّ َم ُت النَِّبَّ صَل هللا عليه وسَل َع ْن التَّي ْ ََفَّْ ِن َسأَل ْ ال َ و َ ْجهِ و ฉันถามท่านนาบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ถึงวิธีการตะยัมมุม ท่านจึงใช้ให้ฉันตบฝุ่นเพียง เพียง ครั้งเดียวลูบทั้งใบหน้าและฝ่ามือ บันทึกนดยอาบูดาวูด 3. เมื่อพบน้ าภายหลังจากท าตะยัมมุมแล้ว (ก่อนปฏิบัติละหมาด) การตะยัมมุมนั้นถือเป็นนมฆะทันที และจ าเป็นต้องอาบน้ าละหมาดหรืออาบน้ าฆุสลฺตามปกติ ทั้งนี้เพราะสามารถใช้น้ าได้ตามปกติ ส่วนกรณีพบน้ า หลังจากท าตะยัมมุมและปฏิบัติละหมาดเรียบร้อยแล้วนั้น ไม่จ าเป็นต้องอาบน้ าละหมาดหรือท าละหมาดใหม่ ท่านรอซูลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวกับท่านอาซัรร์ว่า َ اء َ م ْ َ َجْد َت ال َذا و ِ َن فَا نِ َىل َع ْرشِ س ِ ِ ا َ اء َ م ْ ََتِ ْد ال ْ م َ ْن ل ِ ا َ د َب َطهُوٌر و يَد ال َّطِي َّصعِ َّن ال ِ ا د َِب َذٍر ََي َأ َّسُه ِجْلَ فَأَمِ โอ้อาบีซัรร์เอ๋ย แท้จริงดินฝุ่นที่สะอาดนั้นใช้ท้าความสะอาดได้(ท าตะยัมมุม) ตลอดเวลาที่ท่านไม่มี (ขาดแคลน)น้้า แต่เมื่อท่านมีน้้าเมื่อใดท่านจงให้น้้าสัมผัสโดนผิวของท่านตามเดิม บันทึกนดยอะหมัดและ อาบูดาวูด 4. กรณีไม่มีทั้งน้ าและดินฝุ่น ไม่สามารถอาบน้ าละหมาด,อาบน้ าฆุสล์และท าตะยัมมุมได้ อนุญาต ให้ละหมาดในสภาพนั้นได้เลย ถึงแม้ว่าร่างกายจะไม่สะอาด มีหะดัษเล็กและใหญ่อยู่ก็ตาม ห้ามทิ้งละหมาด นดยเด็ดขาด อัลลอฮ์ ซุบฮานะฮูวะตะอาลาทรงมีรับสั่งว่า ُ ْسَعَها ًسا اَلَّ و ُف ُهللا فَْف َِكد ُ ََل ي อัลลอฮ์มิทรงบังคับผู้ใดเกินกว่าก้าลังความสามารถของเขา คุณสมบัติของผู้ที่ต้องละหมาด 1. เป็นมุสลิม 2. บรรลุศาสนภาวะ 3. มีสติสัมปชัญญะ 4. ปราศจากหัยฎฺ นิฟาส หรือ วิลาดะฮฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 68 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ส่วนเด็กที่ยังไม่เข้าเกณฑ์ละหมาดนั้น ท่านนบี มีค าสั่งว่า ท่านอับดุลลอฮฺ บิน อัมรฺ บิน อัล-อาศ ได้รายงานจากท่านร่อซูลุลลอฮฺ ว่า “จงใช้บุตรหลานของพวก ท่านให้ละหมาดเมื่อพวกเขาอายุ 7 ขวบ และจงตีพวกเขาเมื่ออายุ 10 ขวบ และจงแยกที่นอนของพวก เขา” (อบูดาวูด) อะซาน การอะซาน คือ การประกาศเชิญชวนให้ปฏิบัติละหมาด เมื่อเข้าเวลาละหมาดนดยใช้ถ้อยค าที่เฉพาะ การอะซาน: เป็นการท าอิบาดะฮฺนดยการประกาศให้รู้ถึงการเข้าสู่เวลาละหมาดด้วยค ากล่าวที่เฉพาะ เริ่มมีการบัญญัติการอะซานครั้งแรกนั้นในปีแรกของการฮิจญ์เราะฮฺ วิทยปัญญาการบัญญัติการอะซาน 1 – การอะซานเป็นการประกาศให้รู้ถึงเวลาท าละหมาดแล้ว และยังหมายถึงการเรียก การเชิญชวน ให้ไปร่วมท าละหมาดในสถานที่เดียวกัน หรือละหมาดญะมาอะฮฺ ซึ่งจะท าให้เกิดประนยชน์อันมากมาย 2 – การอะซานเป็นการแจ้งเตือนต่อผู้ที่เผลอจากการละหมาด และเป็นการระวังเตือนต่อผู้ที่หลงลืม ละหมาดเพื่อให้ท าการละหมาดเสีย ซึ่งเป็นนิอฺมัตที่ยิ่งใหญ่ เป็นสิ่งที่จะน ามาซึ่งความใกล้ชิดระหว่างบ่าว กับอัลลอฮฺ และการอะซานนั้นเป็นการเรียกร้องส าหรับมุสลิมเพื่อไม่ให้พลาดนิอฺมัตอันนี้ ความประเสริฐของการอะซาน เป็นสิ่งที่สุนัตส าหรับผู้อะซานให้ขึ้นเสียงให้ดังเมื่อท าการอะซาน เพราะว่าไม่มีผู้ใดที่ได้ยินเสียงอะซาน ของเขา ไม่ว่าจะเป็นญินหรือมนุษย์หรือสิ่งใดก็ตาม เว้นแต่ผู้ได้ยินนั้นจะเป็นพยานให้เขาในวันกิยามะฮฺ ผู้อะ ซานจะได้รับการอภัยนทษเท่ากับระยะคลื่นเสียงของเขาไปถึง และเขาจะได้รับการรับรองจากผู้ที่ได้ยินเสียงของ เขาไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต และเขาจะได้ผลบุญเหมือนกับผลบุญของผู้ที่มาละหมาดพร้อมกับเขา 1. รายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ) ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ(ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวว่า ُم ْع َلْستَ هَـ ـ َ ْو ي َ »ل ـهِ ْ ي َ ُوا عَل ْستَ هِـم ْنيَ ََّلَأ ِجُدوا ا َ ي ْ ـم َ َّ ل ِ ، ثُ َّ ا َْلو َّصدف ِ ال َ َداءِ و ِ ُس َما ِِف الند النَّا ُ ـم ل وا« َ ความว่า “หากผู้คนได้รับรู้ถึงผลบุญที่มีอยู่ในการอะซานและแถวแรกของการละหมาด แต่ ไม่อาจไขว่คว้าสิ่งนั้นได้นอกจากต้องจับฉลากก่อน พวกเขาต้องแย่งกันจับฉลากแน่นอน” (มุตตะฟะ กุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 615 และมุสลิม เลขที่: 437 ส านวนนี้เป็นของมุสลิม) 2. รายงานจากมุอาวิยะฮฺ บิน อบู สุฟยาน เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา กล่าวว่าฉันได้ยินท่าน เราะสูลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม)กล่าวว่า « اَمِِ َ ي َوَم القِ ي ً َاقا ُ النَّاِس َأ ْعن َ َؤِدذفُوَنَأ ْطو امل « ُ ความว่า “บรรดาผู้อะซาน(มุอัซซิน) นั้น คือผู้ที่มีคอยาวกว่าผู้อื่นในวันกิยามะฮฺ(หมายถึงเป็นผู้ที่มีผล บุญมากที่สุดในวันกิยามะฮฺ)” (บันทึกนดยมุสลิม : 387)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 69 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ค ากล่าวอะซาน มีทั้งหมด 15 ประนยค ดังนี้ อัลลอฮุอักบัรฺ อัลลอฮุอักบัรฺ (อัลลอฮฺผู้ทรงยิ่งใหญ่) ُبَْ كْ َ َْب ُهللا أ ُ كْ َ ُهللا أ อัลลอฮุอักบัรฺ อัลลอฮุอักบัรฺ ُبَْ كْ َ َْب ُهللا أ ُ كْ َ ُهللا أ อัชฮะดุอัลลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ (ข้าปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) أ هللا ْن َ أ ْشهَ ُد ََّل َ ـ َه ا َ َل ال อัชฮะดุอัลลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ هللا لََّ ـ َه ا َ ْن َل ال أ َ أ ْشهَ ُد َ อัชฮะดุอันนะ มุหัมมะดัร เราะซูลุลลอฮฺ (ข้าปฏิญาณว่า มุหัมมัดนั้นเป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ) َ ُسوُ هللا َّداً ر َحـم َّن ُم أ َ أ ْشهَ ُد َ อัชฮะดุอันนะ มุหัมมะดัร เราะซูลุลลอฮฺ هللاُ سوَ ُ َّداً ر َحـم َّن ُم أ َ أ ْشهَ ُد َ หัยยะ อะลัศ เศาะลาฮฺ (มาละหมาดกันเถิด) ِلةَصَّ ََل ال عَ َحَّ หัยยะ อะลัศ เศาะลาฮฺ ِلةَصَّ ََل ال عَ َحَّ หัยยะ อะลัล ฟะลาหฺ (มาสู่ความส าเร็จกันเถิด) َلحِ ََل الَف عَ َحَّ หัยยะ อะลัล ฟะลาหฺ لَ ََل الَف عَ َح حِ َّ อัลลอฮุอักบัรฺ อัลลอฮุอักบัรฺ ُبَْ كْ َ َْب ُهللا أ ُ كْ َ ُهللا أ ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ (ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) َ هللا لََّ َل الـ َه ا การตอบรับค าอะซาน ส าหรับผู้ที่ได้ยินเสียงอะซานไม่ว่าจะชายหรือหญิง ดังนี้ 1. ให้กล่าวเหมือนกับผู้อะซานกล่าวทุกประนยค ยกเว้นเมื่อรับประนยค “หัยยะอะลัศเศาะลาฮฺ” กับ “หัยยะอะลัลฟะลาหฺ” ให้กล่าวว่า (بهللِِلََّ َة ا َّ ََل قُو َ ََل َحْوَ و ) (อ่านว่า ลาเหาละ วะลา กุ๊ว์วะตะ อิลลา บิลลาฮฺ) ทั้งนี้เพื่อที่จะได้รับผลบุญเหมือนกับผู้อะซาน 2. หลังจากเสร็จสิ้นการอะซานแล้ว สุนัตให้ผู้อะซานและผู้ที่ได้ยินค าอะซานกล่าว เศาะละวาต แก่ ท่านนบี (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ด้วยเสียงค่อย 3. สุนัตให้กล่าวดุอาอ์ดังที่มีรายงานนดยท่านญาบิรฺ บิน อับดุลลอฮฺ (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา) ว่าท่าน เราะสูลุลลอฮฺ (ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม) ได้กล่าวว่า »َم ْن قَا َ ِح َن ، أ ِت الَقاََِِ َّصلةِ ال َ ، و التَّاَّمِِ ةِ َ ا ََّلعو ِ َ َّب َهِذه َّ ر هُـم َّ : الل َ َداء ِ َ ُع الند ْسم يَ ـ ُه َ ْت ل َّ َعَ ْدتَـ ُه، َحل ََِّّلي و ا ُوِاً ْحـم َم ً َْعثُْه َمَقاما اب َ َةلَ، و الَف ِضي َ َةلَ و ي ِ َس الو َّداً َحـم ُم اَمِِ َ ي َوَم القِ َشَفا َعِِت « ي ความว่า “ผู้ใดกล่าวเมื่อเขาไดยินเสียงอะซานว่า “อัลลอฮุมมะ ร็อบบะ ฮาซิฮิด ดะอฺวา ติตตามมะฮฺ วัศศอลาติล กออิมะฮฺ อาติ มุหัมมะดะนิล วะสีละฮฺ วัลฟะฎีละฮฺ วับอัษฮุ มะกอมัม มะหฺมูดะนิลละซี วะอัด ตะฮฺ” (ความหมาย นอ้อัลลอฮฺ พระเป็นเจ้าแห่งการเชิญชวนอันสมบูรณ์ และการละหมาดที่ก าลังจะปฏิบัติอยู่นี้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 70 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ขอพระองค์ทรงนปรดประทานความดี ประเสริฐ และขอพระองค์ทรงนปรดน ามุหัมมัดสู่ต าแหน่งที่ได้รับการ สรรเสริญ ซึ่งพระองค์ได้ทรงสัญญาไว้ด้วยเถิด) เขาจะได้รับการชะฟะอะฮฺจากฉันในวันกิยามะฮฺ” (บันทึกนดย อัล-บุคอรีย์ หมายเลข 614) การอิกอมะฮฺ การอิกอมะฮฺ เป็นการท าอิบาดะฮฺนดยการประกาศให้รู้ถึงเริ่มเข้าสู่การท าละหมาดแล้ว ด้วยค ากล่าวที่ เฉพาะ ค ากล่าวอิกอมะฮฺ อัลลอฮุอักบัรฺ อัลลอฮุอักบัรฺ (อัลลอฮฺผู้ทรงยิ่งใหญ่) ُبَْ كْ َ َْب ُهللا أ ُ كْ َ ُهللا أ อัชฮะดุอัลลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ (ข้าปฏิญาณว่าไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) ََّل هللا ـ َه ا َ ْن َل ال أ َ أ ْشهَ ُد َ อัชฮะดุอันนะ มุหัมมะดัร เราะซูลุลลอฮฺ (ข้าปฏิญาณว่า มุหัมมัดนั้นเป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ) َ ُسوُ هللا َّداً ر َحـم َّن ُم أ َ أ ْشهَ ُد َ หัยยะ อะลัศ เศาะลาฮฺ (มาละหมาดกันเถิด) ِلةَصَّ ََل ال عَ َحَّ หัยยะ อะลัล ฟะลาหฺ (มาสู่ความส าเร็จกันเถิด) َلحِ ََل الَف عَ َحَّ ก็อดกอมะติศ เศาะลาฮฺ (การละหมาดได้เริ่มแล้ว) ةُصلَّ قَ ْد قَاَم ِت ال ก็อดกอมะติศ เศาะลาฮฺ ةُصلَّ قَ ْد قَاَم ِت ال อัลลอฮุอักบัรฺอัลลอฮุอักบัรฺ ُبَْ كْ َ َْب ُهللا أ ُ كْ َ ُهللا أ ลาอิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ (ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) َ هللا لََّ َل الـ َه ا อิริยาบทของการนมาซ 1. ยืนผินหน้าไปทางกิบลัต (ทิศที่ตั้งกะบะห์ นครมักกะห์) ด้วยความส ารวมและสงบ ตั้งใจนมาซเพื่อ สักการะต่ออัลลอฮฺในลักษณะตัวตรง เท้าทั้งสองข้างห่างจากกันพอสมควร มือทั้งสองข้างปล่อยข้างล าตัวตาม ธรรมชาติ 2. ยกมือตักบีรอตุลอิห์รอม (เข้าสู่การละหมาด) กล่าวตักบีรว่า َْب كْ َ أ هللا" ُอัลลอฮุอักบัร" (แปล อัลลอฮฺผู้ทรงยิ่งใหญ่) พร้อมยกมือทั้งสองเสมอไหล่ (ปลายนิ้วเสมอหูส่วนบน และหัวแม่มือเฉียงกับติ่งหู) ฝามือหันไปทางด้านหน้า สายตามองพื้น 3. ลดมือวางราวทับนม การวางมือ วางทับที่ราวนมนั้นต้องให้อยู่ในลักษณะ "ฝ่ามือขวาทับข้อมือซ้าย 4. อ่านค าวิงวอน ขณะยืนนี้ให้อ่านค าวิงวอนตามล าดับไป นดยสายตามองอยู่ที่ พื้นตลอดเวลา ค าวิงวอนที่กล่าวมีดังนี้...


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 71 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 4.1. ดุอาอิฟติตาห์(ค าวิงวอนเริ่มการละหมาด) ُسِِك نُ َ َّن َص َلِِت و ِ َن، ا ْرشِكِ ُ م ْ َن ال أََن مِ َ َما َ يًفا و ِ ا َْلْرَض، َحن َ ِت و ا َ أنو َ َّسم ال َ ََِِّّلي فَ َطر َي ل ِْْجي َ َّْْج ُت و َ و ِِم َن ُ ْسل م ْ َن ال أََن مِ َ َ ْرُت و أمِ ِب َذِ َِل ُ َ َِم َن، ََل َ ِْشي َك ََلُ و َعال ْ ِدب ال َ اِِتِ َِّلل ر َ َ َمم َي و ا َ َم ْحي َ و ค าอ่าน "วัจญะห์ตุ วัจฮียา ลิลลาซีย์ ฟาตอรอซซามา วาติวัลอัรฎอ ฮะนีฟามุสลีมา ว่ามาอานา มินัลมุชรีกีน อินนาซอลาตี วานูซูกี วามะห์ยายา วามามาตี ลิลลาฮิ ร็อบบิลอาละมีน ลาซะรีกาละฮู วาบิ ซาลิกา อุมิรตุ ว่าอานา มีนัลมุสลีมีน " ความว่า : “ข้าพระองค์ได้ผินหน้าของข้าพระองค์มุ่งยังผู้สร้างชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดิน ในฐานะผู้ น้อมรับความจริง และผู้นอบน้อมและข้าพระองค์มิได้เป็นผู้หนึ่งในหมู่ผู้ตั้งภาคี แท้จริงการท าละหมาดของข้า พระองค์ก็ดี การท าอิบาดะห์ หรือการเชือดสัตว์ของข้าพระองค์ก็ดี การมีชีวิตของข้าพระองค์ก็ดี และการตาย ของข้าพระองค์ก็ดี ล้วนแล้วแต่เพื่ออัลลอฮฺ ผู้เป็นพระเจ้าองค์เดียวแห่งจักรวาล ไม่มีผู้ใดเป็นภาคีกับพระองค์ นดยสิ่งเหล่านั้น ข้าพระองค์จึงเป็นผู้หนึ่งในหมู่มุสลิม” 4.2. ตะเอาวุซ (กล่าวขอความคุ้มครอง) أ َ ْو ُع ِِب ُذ ي َطا ِن ْ م َن ال َّش ِهلل ِ ْي الرِج َّ "อะอูซุบิลลาฮิ มินัช ชัยฏอนิร เราะญีม" (แปล ข้าขอความคุ้มครองต่ออัลลอฮฺ จากชัยฏอน ผู้ถูกสาปแช่ง) 4.3. อ่านบิสมิลลาห์ « ِ ـم ْ ِحي َّ َّ ْحـم ِن الر ِ هللا الر ْسم » بِบิสมิลลาฮิร เราะห์มา นิรรอหีม (ความหมาย “ด้วยพระนามของอัลลอฮฺผู้ทรงเมตตาปรานียิ่งเสมอ) 4.4. อ่านสูเราะฮฺ อัล-ฟาติหะฮฺ " 1. ُ َ َني ا ْل الَمِ َ ب الْل ِّ َ ر ِ ه َّ ل ِ ل د ْ م อัลฮัมดุลิลลาฮิร๊อบบิล อาละมีน ความหมาย “การสรรเสริญทั้งหลายนั้น เป็นสิทธิของอัลลอฮฺผู้เป็นพระเจ้าแห่งสากลนลก” ي ِم .2 حِ َّ َٰ ِن الر َّ ْحَ الر อัร เราะ มาน นิรเราะฮีม ความหมาย “ผู้ทรงกรุณาปราณี ผู้ทรงเมตตาเสมอ” ا .3 َ دي ِن م ال ِّ ِ م ْ و َ ِ ِك ي ل มาลิกิ เยามิดดีน ความหมาย “ผู้ทรงอภิสิทธิ์แห่งวันตอบแทน” ني .4 ِ ل َ ت ْ َس َّا َك ن ي ِ إ َ و د ب ْ َل َّا َك ن ي ِ إ อี้ยากา นะบูดูวะ อี้ยาก้า นัสตะอีน ความหมาย “เฉพาะพระองค์เท่านั้นที่พวกข้าพระองค์เคารพอิบาดะฮฺ และเฉพาะพระองค์เท่านั้นที่พวกข้า พระองค์ขอความช่วยเหลือ” 5. َ يم ِ ق َ ت ْ س ا َط الْم َ صر ِّ ا ال َ ن ْدِ اه อิห์ดินัสซิรอ ต้อล มุสตะกีม ความหมาย “ผู้ทรงอภิสิทธิ์แห่งวันตอบแทน” َني .6 ِّ ضال ََل ال َّ َ و ْ ِهم ْ لَي َ ْ ضو ِب ع غ َ الْم ِ ْ َغْي ْ ِهم ْ لَي َ ْ َت ع م َ ْل أَن َ ين ذِ َّ ا َط ال َ صرِซิรอ ตอล ละซีนะอัลอัมตะอะลัยฮิม ฆอยริล มัฆดูบิอะลัยฮิม วะลัด ดอล ลีน ความหมาย “คือ ทางของบรรดาผู้ที่พระองค์ได้ทรงนปรดปราณแก่พวกเขา มิใช่ในทางของพวกที่ถูก กริ้ว และมิใช่ทางของพวกที่หลงผิด” ْ ن ي ِ آم อามีน ความหมาย “ขอพระองค์ทรงนปรดรับค าวิงวอนนี้ด้วยเทอญ”


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 72 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 4.5. อ่านอัลกุรอาน ให้อ่านอัลกุรอานบทใดบทหนึ่ง เช่น "กุ้ลยาอัยยูฮัลกาฟีรูน ลาอ๊ะบูดูมา ตะบูดูน ว่าลาอันตุม อาบี้ดูน่ามาอันตุม ว่าลาอาน่าอ่าบีดุมมาอ้าบัดตุม วาลาอันตุม อาบี้ดูน่ามาอะบุด ล่า กุมดีนุกุม วาลี่ยาดีน " 5. รุกุอฺ (โค้ง) กล่าวตักบีร بَْ كْ َ أ هللا" ُอัลลอฮุอักบัร" (แปล อัลลอฮฺ ผู้ทรงยิ่งใหญ่) พร้อมกับยกมือในท่าตักบีร แล้วนค้งมือยันเข่า แยกนิ้วจากกัน ให้หลังอยู่แนวเดียวกับเอว ศีรษะยกขึ้นเล็กน้อย สายตามองดูท่กราบซึ่งอยู่ เลยศีรษะออกไปเล็กน้อย จากนั้นกล่าวสดุดี يْظِعَ َ ِدَب ال َن ر ْ َحا ُ ب س" ซุบฮา นะ ร็อบ บิยัลอะซีม" ความว่า “มหาบริสุทธิ์ พระเจ้าผู้ทรงยิ่งใหญ่แห่งข้า พระองค์” (๓ ครั้ง) 6. เงยจากรุกุอฺ (โค้ง) กล่าว دهَ َ ْن َِحِ م ِ ل هللا ُعَس" َ ِْสะมิอัลลอฮุ ลิมัน หะมิดะห์" ความว่า “พระองค์ อัลลอฮฺทรงได้ยินผู้ที่กล่าวสรรเสริญพระองค์เสมอ”๑ ครั้ง กล่าวพร้อมกับยืนขึ้น และยกมือตักบีร สิ้นสุดเมื่อ ยืนตรงลดมือทั้งสองไว้ข้างล าตัว 0. อิอฺติดาล การยืนตรงปล่อยมือข้างล าตัว ขณะให้กล่าว "ร็อบบะนา ละ กัลฮัมดุ" ความว่า โอ้ พระผู้เป็นเจ้าของข้าพระองค์ การสรรเสริญทั้งหลายนั้น เป็น กรรมสิทธิ์ของพระองค์ (๑ ครั้ง) 8. สุญูด (กราบ) กล่าวตักบีร "อัลลอฮุอักบัร" พร้อมเอาฝ่ามือทั้งสองลูบรูดลงตั้งแต่ขาอ่อนผ่านหัวเข่า ย่อเข่าคุกลงบนพื้นราบ ฝ่ามือทั้งสองวางนาบกับพื้น นิ้วมือเรียงเหยียดตรงไป ข้างหน้า ปลายนิ้วไม่ล้ าเกินหู ฝ่ามืออยู่ระดับเดียวกับหัวไหล่ หน้าผากและ จมูกจรดพื้นซึ่งเป็นการสิ้นสุดตักบีร ปลายนิ้วยันพื้น ในลักษณะปลายนิ้ว ทั้งหมดหันไปทางกิบลัต ขณะสุญูด (กราบ) ให้อ่านดุอา "สุบฮานะร็อบ บิยัล อะอฺลา" ความว่า “มหาบริสุทธิ์ พระผู้เป็น ผู้ทรงสูงส่งแห่งข้าพระองค์” (๓ ครั้ง) 9. ญุลุส (การนั่งระหว่างสุญุด) กล่าวตักบีร "อัลลอฮุอักบัร" ขณะเงยขึ้นจากการกราบ มานั่งตัวตรง กับเท้าซ้าย เท้าขวายันพื้น มือทั้งสองข้างวางบนเข่า นิ้วมือเสมอเข่าทั้งสองข้าง นิ้วเรียงชิดติดกัน และเหยียด ตรงไปทางกิบลัต ระหว่างนั่งระหว่างสุญูดให้อ่านดุอา "ร็อบ บิฆ ฟิรลี" (๓ ครั้ง) 17. สุญูดครั้งที่ ๒ กล่าวตักบีร "อัลลอฮุอักบัร" พร้อมกับก้มลงกราบบน พื้น (สุญูด) เช่นเดียวกับสุญูดครั้งแรก ให้อ่านดุอาเช่นเดียวกัน "สุบฮานะร็อบ บิยัล อะอฺลา" (๓ ครั้ง) 11. นั่งตะหิญาตครั้งแรก คือการนั่งเมื่อครบ ๒ ร็อกอะห์ เพื่อจะท าใน ร็อกอะห์ที่ ๒ และ ๔ ต่อไป กล่าวตักบีร "อัลลอฮุอักบัร" เงยขึ้นจากการสุญูต (กราบ) ครั้งที่ ๒ ขึ้นมานั่งตัวตรงพับบนเท้าซ้ายปลายเท้าขวายันพื้น ขณะนั่ง "ตะหิยาต ครั้งแรก" ให้อ่าน ِ ا ُتَِّللَّ َ ب د ا ُت ا َّطِي َ َو َّصل ََك ُت ال َ ار َ ُب م ْ ا ُت ال َ ِحي َِْحُِ ا َلتَّ َ َر َيَا النَِّبُ و أُّ َك َ ْ ي َ َّس َلم عَل ل اَ ََل َعَ َا و ن ْ ي َ َّس َلم عَل ل ََكتُُه اَ َ َر ب َ َّن ِهللا و َ أ ْشهَ ُدَأ َ ُهللا و َلَّ ِ ََلَ ا ِ ْن َل ا أ َ أ ْشهَ ُد َ ِ ِحْنَ َّصال اِِ ِهللا ال َ ِعب َ ُسْوَُلُ َر ُدُه و ْ ًدا َعب َّ ُم َحم - อัตตะหิยา ตุลมุบารอกาตุศ ศอละวา ตุตตัยยิบา ตุลิลลาห์ - อัสลามุ อะลัยกะ อัยยุฮันนะบียุ วาเราะห์ตุลลอฮิ วะบะรอกาตุห์


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 73 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา - อัสสลามุ อะลัยนา วะอะลา อิบาดิลลา ฮิสศอลิฮีน - อัชฮะดุ อัลลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ - วะอัชฮะดุ อันนา มุฮัมมะดัน อับดุฮู วะรอซูลุฮ์ ค าแปล 1. “การเคารพภักดี ความจ าเริญ และสิ่งดีงามทั้งหลายนั้นล้วนเป็นกรรมสิทธิ์ของพระองค์อัลลอฮฺ (เพียงผู้เดียวเท่านั้น), 2. ขอความสันติสุข, ความเมตตา และความจ าเริญจากพระองค์อัลลอฮฺจงประสบแด่ท่าน นอ้ผู้ เป็นนบี 3. ขอความสันติสุขจงประสบแด่พวกเรา และแด่ปวงบ่าวที่ทรงไว้ซึ่งคุณธรรมของพระองค์อัลลอฮฺ ด้วยเถิด, 4. ฉันขอปฏิญาณตนว่า ไม่มีการเคารพภักดีใด นอกจากพระองค์อัลลอฮฺ เพียงองค์เดียวเท่านั้น และฉันขอปฏิญาณตนว่าแท้จริงมุหัมมัดนั้นเป็นบ่าวของพระองค์และเป็นศาสนทูตของ พระองค์” 12. ตะฮิยาตสุดท้าย กล่าว "อัลลอฮุอักบัร" พร้อมกับเงยขึ้นจากการสุญูด (กราบ) ครั้งที่ ๒ ขึ้นมานั่ง พับเพียบ การนั่งในท่าพับเพียบนี้ อยู่ในลักษณะเท้าขวาตั้งตรง นิ้วยันพื้น เท้าซ้าย สอดใต้ขาขวา มือวางบนเข่า ปลายนิ้วมือเสมอปลายเข่า มือขวาก านิ้วชี้ ชี้เหยียด ตรงไปทางกิบลัต กระดิกนิ้วขึ้นลงขณะอ่านตะชะฮุด ขณะนี้ให้อ่าน ِ ا ُتَِّللَّ َ ب د ا ُت ا َّطِي َ َو َّصل ََك ُت ال َ ار َ ُب م ْ ا ُت ال َ ِحي ا َلتَّ َيَا النَِّبُ أُّ َك َ ْ ي َ َّس َلم عَل ل اَ ََك َ َر ب َ َِْحُِ ِهللا و َ َر َّ و َّن ُم َحم أ أ ْشهَ ُدََ َ ُهللا و َلَّ ِ ََلَ ا ِ ْن َل ا أ َ أ ْشهَ ُد َ ِ ِحْنَ َّصال اِِ ِهللا ال َ ََل ِعب َعَ َا و ن ْ ي َ َّس َلم عَل ل ُدُه تُُه اَ ْ ًدا َعب َ ُسْوَُلُ َر و - อัตตะหิยา ตุลมุบารอกาตุศ ศอละวา ตุตตัยยิบา ตุลิลลาห์ - อัสลามุ อะลัยกะ อัยยุฮันนะบียุ วาเราะห์ตุลลอฮิ วะบะรอกาตุห์ - อัสสลามุ อะลัยนา วะอะลา อิบาดิลลา ฮิสศอลิฮีน - อัชฮะดุ อัลลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ - วะอัชฮะดุ อันนา มุฮัมมะดัน อับดุฮู วะรอซูลุฮ์ ***ถ้ากรณีที่ละหมาดนั้นมี 2 เราะกะอัต ให้อ่านบทซอละวาตนบีนี้ต่อจาก บทดุอาอ์ตะชะฮู้ดเลย*** แต่ถ้าละหมาดนั้นมีมาก 2 เราะกะอัต ให้อ่านแต่ดุอาอ์ตะชะฮู้ดแรก บทซอละวาตนบี اَ َّ للهُ َّ َّ ُم َح ََل م َص ِدل عَ ٍدم ََل أ ِ ُم َح َ َّ وعَ ٍدم َص ََكَ َّ ل ْ ََل يتَ عَ ِ ا ْ ب ََل أ ِ َ ِهَْي َوعَ را ْر اِب ِه َْي ا فَّ ِ ا َك َِحِ يٌد َّم ِج ْ ْ ا هُ يٌد َ َّ لل َّ ٍد ُم َح ََل م َِبِرْك عَ َّ ََل أ ِ ُم َح ٍد َ م َّ وعَ َر ََك م َ َِب ْ ََل كتَ عَ ِ ا ْ ب َ ِهَْي فَّ ْرا ََل أ ِ اِب ِهَْي َوعَ را ِ ا َك َِحِ يٌد َّم ِج ْ يٌد ْ - อัลลอฮุมมะ ศ็อลลิ อะลา มุฮ าหมัด วะอะลา อาลิ มุฮ ามัด - กะมาศ็อลลัยตะ อะลา อิบรอฮีม วะอะลา อาลิ อิบรอฮีม - อินนะกา หะมีตุม มะญีด - อัลลอฮุมมะ บาริก อะลา มุฮ ามัด วะอะลา อาลิ มุฮัมมัด - กะมา บาร็อกตะ อะลาอิบรอฮีม วะอะลา อาลี อิบรอฮีม - อินนะกะ หะมีดุม มะญีด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 74 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ความหมาย “นอ้อัลลอฮฺ ขอพระองค์ทรงนปรดเมตตา (สดุดี) แด่(นบี)มุหัมมัด และวงศ์วานของท่าน(นบี) มุหัมมัด เสมือนที่พระองค์ทรงเมตตา แก่วงศ์วานของท่าน(นบี) อิบรอฮีม และวงศ์วานของท่าน(นบี)อิมรอฮีม, แท้จริง พระองค์ทรงเป็นที่สดุดีสรรเสริญ ทรงเป็นที่สรรเสริญพระเกียรติยิ่ง” “นอ้อัลลอฮฺขอพระองค์ทรงประทานความจ าเริญให้แด่(นบี)มุหัมมัด และวงศ์วานของ(นบี)มุหัมมัด, เสมือนที่พระองค์ทรงประทานความจ าเริญให้แก่(นบี)อิบรอฮีม และวงศ์วานของ(นบี)อิบรอฮีม , แท้จริง พระองค์ทรงเป็นที่สดุดีสรรเสริญ ทรงเป็นที่สรรเสริญพระเกียรติยิ่ง” ๑๓. ให้สลาม กล่าว َا ل َسَّ ُم َ ل ع َ ل ْ ُ ُْك ي َ ยัอะลุ สลามัอ "رَِْحُِ ِهللا َو กุม วะเราะห์ มะตุลลอฮ" พร้อมกับหันหน้าไปทางขวาจัด และกล่าว "อัสลา มุ อะลัยกุม วะเราะห์ มะตุลลอฮ" พร้อมกับหันหน้าไปทางซ้ายสุด ดุอาอ์หลังละหมาดฟัรฎู ُ َهللا ْ تَ ْغفِر أس َ (3 ครั้ง) อัสเตาว์ ฟิรุลลอฮฺ “ฉันขออภัยนทษต่ออัลลอฮฺ” نْ َك ا َمِ َّسَلُم ، و أفْ َت ال َ َّ اللهُم ْ َت ََي َذا ال َكْ ار َ َّسَلُم ، تَب ل ِ اَلْ َ َج ِم َلِ و ا َ كْر อัลลอฮุมมา อัลตัสสะลาม วะมินกัสสะลาม ตะบาร็อกตะ ยาซัลญะลาลี วัลอิกรอม ความว่า : นอ้อัลลอฮฺ พระองค์ทรงสันติ และความสันติมาจากพระองค์ พระองค์ทรงเปี่ยมล้นด้วย ความจ าเริญ นอ้พระผู้ทรงยิ่งใหญ่ มีเกียรติยิ่ง ٌر ، اَ ََل قَ ِدي ََل ُكِد ََشْ ءٍ عَ َ ُهو َ ُد و ْ َحم ْ ََلُ ال َ ْْلُ و ُ م ْ َ ْحَدُه ََل َْشِي َك ََلُ ، ََلُ ال ا ََُّّلل و َلَّ ِ ََلَ ا ِ ا َّ للهُ َّ َع ف ِ م ََل َما ِ ل أ ْعَط َ ْ ما َ يتَ ، د ُّ َج ْ نْ َك ال َجِدد مِ ْ ُع َذا ال َْنَف ََل ي َ ا َمنَْع َت ، و َ م ِ ل َ ََل ُمْعِطي َ و ลาอิลาฮา อิลลัลลอฮฺ วะห์ดะฮู ลาชะรี่กะละห์ ละฮุลมุลกุ วะละฮุลฮัมดุ วะฮุวา อะลากุลลิชัย อิน กอดีร อัลลอฮุมมา ลามานิอา ลิมาอะอ์ตัยตะ วะลามุอ์ติยา ลิมามะนะอ์ตะ วะลายันฟะอุ ซัลญัดดิ มิงกัลป์ ญัดดุ ความว่า : ไม่มีพระเจ้าอื่นใด (ที่ควรแก่การเคารพภักดี) นอกจากอัลลอฮฺเพียงพระองค์เดียว ปราศจากการตั้งภาคีใดๆ พร้อมพระองค์ การปกครองดูแลเป็นของพระองค์ และมวลการสรรเสริญก็เป็นของ พระองค์ และพระองค์ทรงปรีชาสามารถเหนือทุกๆ สิ่ง นอ้พระผู้อภิบาลแห่งข้าพระองค์ ไม่มีผู้ใดที่สามารถสกัด กั้นสิ่งที่พระองค์ประทานให้ และไม่มีผู้ใดที่สามารถให้ในสิ่งที่พระองค์สกัดห้ามไว้ และความมั่งมีมิอาจให้ ประนยชน์แก่เจ้าของผู้มั่งมีนั้น ณ พระองค์ได้เลย َن هللا ُ َحا ب ْ س ซุบฮานัลลอฮฺ (33 ครั้ง) ความว่า : มหาบริสุทธิ์ยิ่งแด่อัลลอฮ )00 مرة ( اَ ْ ُد هلل َحْم ل อัลฮัมดุลิลลาห์ (33 ครั้ง) ความว่า : บรรดาการสรรเสริญ เป็นของอัลลอฮฺ كْ هللا أ َْب ن อัลลอฮุอักบัร (33 ครั้ง) ความว่า : อัลเลาะห์ทรงยิ่งใหญ่ ََل ِ ََل ا َ ِ َُل ا َك ََل َ ْ ِْشي ُهللا َوْحدَ ُه ََل َ َلَّ ْ ال ُ ْْل م ُ َ وُ ََل ْ ُد َحْم ال َ َوُه ء قَ ِد َْشٍ ِدك َ ََل ُ ْ و عَ ير


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 75 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ลาอิลาฮา อิลลัลลอฮฺ วะห์ดะฮู ลาชะรี่กะละห์ ละฮุลมุลกุ วะละฮุลฮัมดุ วะฮุวา อะลากุลลิชัย อิน กอดีร ความว่า: ไม่มีพระเจ้าอื่นใด(ที่ควรแก่การเคารพภักดี)เว้นแต่อัลลอฮฺองค์เดียว ไม่มีภาคีใดๆ เสมอ พระองค์ เป็นสิทธิของพระองค์ซึ่งการครอบครองและการสรรเสริญสดุดี และพระองค์ทรงยิ่งด้วยเดชานุภาพ เหนือทุกๆ สิ่ง ِحْي َّ َِْح ِن الر َّ ِهللا الر ِ ْسم ِب บิสมิลลา ฮิรรอห์มา นิรรอฮีม ความว่า: ด้วยพระนามแห่งพระองค์อัลลอฮฺ ผู้ทรงกรุณาผู้ทรงเมตตาเสมอ ِدب َ ُد ِهلل ر ْ َحم ْ ل َّص اَ ال َ َِمْن و َعال ل ْ َّس ا ال َ َلُة و ََل فَِبِيد َلُم عَ نَاُم َحم ْن َّ أ ََْجعِ َ َْصِْبهِ َ و ََل أ َِلِ َعَ د و อัลฮัมดุลิลลาฮิ ร็อบบิลอาละมีน วัซซอลาตุ วัสสะลามุ อะลานะบียินา มุฮัมมัด วะอะลาอาลิฮี วะ ซอห์บิฮี อัจมะอีน ْرًا اِ ْن َصغِ َ َّي ب َ ََكَ ر ا َ ْرَ ِْحهُم ا َ اََِلَّى و َ ِو ل َ ْوِ ِْب و ُذفُ ْرِىلْ ا ْغفِ َّ للهُم اَ อัลลอฮุมมัฆฟิรลี ซุนูบี วะลิวาลิดัยยา วัรฮัมฮุมา กะมาร็อบบะยานี ซอฆีรอ ความว่า: โอ้อัลลอฮฺ ขอพระองค์ทรงโปรดอภัยโทษให้แก่ฉัน และบิดา มารดาของฉัน และขอพระองค์ ทรงโปรดเมตตาแก่ท่านทั้งสองเสมือนที่ท่าน ทั้งสองเคยเลี้ยงดูฉันมาตั้งแต่เยาว์วัย َك ِ اَِت َ َ ُحْس ِن ِعب ِرَك، و ُشَْ َ ِرَك، و كْ ََل ذِ ِعَِن د عَ أ َ َّ هُم َّ الل อัลลอฮุมมา อะอินนี อะลาซิกริกา วะชุกริกา วะฮุสนี อิบาดะติกา ความว่า: โอ้อัลลอฮฺ ได้โปรดทรงช่วยเหลือข้าพระองค์ในการที่จะร าลึกถึงพระองค์ ขอบคุณ พระองค์และปฏิบัติอิบาดะฮ์อย่างดีต่อพระองค์ ََْن أ ْخَطأ َ ْو أ ن نَِّسينَا َ ِ ِخْذََن ا ََل تُ َؤا َا َّن ب َ ر ร็อบบะนา ลาตุอาคิซนา อินนาซีนา เอาอัคตออ์นา ความว่า: โอ้พระเจ้าของพวกเรา! โปรดอย่าเอาโทษแก่เราเลย หากพวกเราลืมหรือผิดพลาดไป َب النَّاِر َذا نَا عَ قِ َ ًِ و َ ن َ َحس ةِ َ ِِف اْلْ ِخر َ ًِ و َ ن َ ا َحس َ َا ِِف ا َُّلفْي ن ِ َا أ ت َّن ب َ ر ร็อบบะนา อาตินา ฟิดดุนยา ฮะซานะห์ วะฟิลอาคิรอติ ฮะซะนะห์ วะกินาอะซาบันนาร ความว่า: โอ้พระเจ้าของเรา โปรดประทานให้แก่พวกเรา ซึ่งสิ่งดีงามในโลกนี้ และสิ่งดีงามในปรโลก และโปรดคุ้มครองพวกเราให้พ้นจากลงโทษแห่งไฟนรกด้วยเถิด มารยาทละหมาด การละหมาด เป็นอะมานะฮฺ (ภาระหน้าที่) อันยิ่งใหญ่ และมีผลท าให้ผู้ปฏิบัติห่างไกลจากการชั่วทั้ง ปวงได้ แต่ทั้งนี้ต้องรักษาระเบียบวินัยและมารยาทของการละหมาดให้เคร่งครัดและครบถ้วนด้วย และนี่คือ มารยาทบางส่วนของการละหมาดที่มุสลิมควรปฏิบัติ 1. มุ่งสู่การละหมาดอย่างตั้งใจ กระตือรือร้น และด้วยความรักอย่างแท้จริง เพื่อเข้าเฝ้าอัลลอฮฺพระผู้ ทรงอภิบาลแห่งสากลจักรวาล 2. ก่อนเข้าพิธีละหมาด ส ารวจความเรียบร้อยในการแต่งกาย นดยต้องแต่งกายให้เรียบร้อยเหมาะสม ถูกต้อง สะอาด และสวยงาม รวมทั้งควรแปรงฟัน และใส่ของหอมด้วย 3. ปฏิบัติภารกิจจ าเป็นให้แล้วเสร็จก่อนท าการละหมาด เพื่อขณะละหมาดจะได้ไม่มีใจพะวงกับสิ่ง ต่าง ๆ นอกจากอัลลอฮฺเท่านั้น


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 76 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 4. ขณะเดินสู่การละหมาดอย่ารีบร้อน ลนลาน แต่ต้องเดินไปส ารวมและด้วยการสงบ 5. เข้าสู่การละหมาดด้วยหัวใจมุ่งตรงยังอัลลอฮฺ ทุกส่วนของร่างกายต้องสงบเสงี่ยม และจิตต้องมี สมาธิ นดยทุกส่วนต้องส ารวมในการเข้าเฝ้าอัลลอฮฺ 6. ขณะด ารงละหมาด อย่าหันซ้ายแลขวา หัวร่อต่อกระซิก และใช้มือชี้นั่นชี้นี่หรือขยับเสื้อผ้า 7. อย่ามองขึ้นฟ้า แต่ให้มอง ณ ที่สุญูด 8. ต้องสนใจ และใช้ปัญญาพิจารณาสิ่งที่ได้กล่าวและอ่านในละหมาด อย่าลืมเลือนเสมือนใจไม่อยู่กับ การละหมาด 9. ต้องมีความนิ่ง สุขุม ไม่รีบร้อนและเร่งด่วนตลอดการเคลื่อนไหวอิริยาบถในทุกขั้นตอนของการ ละหมาด 10. ไม่ควรไอ หาว จาม เรอ ขณะด ารงละหมาด หากไม่อาจอดกลั้นได้ ก็ต้องพยายามท าเสียงให้เบา ที่สุดเท่าที่จะกระท าได้ 11. รีบปฏิบัติละหมาดเมื่อเข้าเวลาอย่าล่าช้านดยไม่มีเหตุจ าเป็น 12. เมื่อแล้วเสร็จจากการละหมาด ให้นั่งอยู่ที่เดิมเพื่อกล่าวร าลึกถึงอัลลอฮฺ ขอรับการอภัยนทษและ ขอพรต่อพระองค์ (อ่านวิริดหลังการละหมาด) อย่างน้อย 13. หลังละหมาดควรรอเพื่อละหมาดในเวลาต่อไป เช่น หลังละหมาดมัฆริบแล้วรอละหมาดอิซาอฺ ในช่วงที่รอนั้นควรซิกรุลลอฮฺ หรืออ่านอัลกุรอาน หรือรับฟังการอบรม เป็นต้น 14. ควรละหมาดสุนัตขนาบฟัรดู (รอวาติบ) ไม่ควรละเลยเป็นอันขาด เพราะจะเพิ่มกุศลให้แก่ผู้ปฏิบัติ และยังอาจเสริมส่วนฟัรดูที่บกพร่องได้ด้วย 15. ควรอย่างยิ่งที่จะละหมาดฟัรดูรวมกันที่มัสยิดใกล้บ้าน เพราะการละหมาดรวมกันนั้นจะได้กุศล เป็นทวีคูณมากกว่าละหมาดคนเดียวถึง 27 เท่า 16. ผลแห่งการละหมาดต้องท าให้ผู้ปฏิบัติระลึกถึงอัลลอฮฺ อย่างถาวร และท าให้พ้นจากการท าบาป อีกด้วย เหตุที่ท าให้เสียละหมาดมี11 ประการ 1. กล่าววาจาโดยเจตนา ( ทั้งที่รู้ว่าเป็นข้อห้ามและรู้ว่าตนอยู่ในละหมาดด้วย ) 2. การเคลื่อนไหวมากๆ ซึ่งต่อเนื่องกัน ( เช่นเดิน 3 ก้าวติดๆกัน จะมีเจตนาหรือไม่ก็ตาม ) 3. ปรากฏว่ามีฮ่าดัสเล็ก หรือใหญ่เกิดขึ้น ( เช่น รู้ว่าเสียน้ าละหมาดมีอสุจิหรือเฮตเคลื่อนไหล ออกมาขณะที่ละหมาด ) 4. มีน่ายิส ที่ศาสนาไม่ยอมอภัยให้ ปรากฎขึ้นที่เสื้อผ้า ร่างกายหรือสถานที่ๆ ละหมาดนั้น 5. เปิดส่วนหนึ่งของร่างกายที่กฎเกณฑ์ให้ปิดโดยเจตนา ( หากถูกเปิดด้วยสิ่งอื่นแต่สามารถปิดได้ นดยฉับพลันละหมาดนั้นไม่เสีย ) 6. เปลี่ยนการเนียตเป็นอื่น ( เช่น นึกเลิกละหมาด หรือนึกเลิกละหมาดเพื่อเหตุใดเหตุหนึ่ง อาทิ เด็ก ร้องให้ ฝนตก เป็นต้น ) 7. ผินหน้าอกออกจากกิบละห์นดยเจตนาหรือถูกบังคับก็ตามแม้จะผินกลับมาทันทีทันใด ( การ ละหมาดนั้นก็ใช้ไม่ได้ หากลืม หรือไม่รู้ว่าจะเสียละหมาด และผินกลับนดยเร็วก็ไม่เสียละหมาด ) 8. การกิน ( จะมากหรือน้อยก็ตาม แม้แต่การกลืนน้ าลายที่มีสิ่งอื่นเจือปน ก็เสียละหมาดเช่นเดียวกัน แต่น้ าลายที่สะอาดยอมให้กลืนได้ ) 9. การดื่ม ( จะมากหรือน้อยก็ตาม แม้แต่การกลืนน้ าลายที่มีสิ่งอื่นเจือปน ก็เสียละหมาดเช่นเดียวกัน แต่น้ าลายที่สะอาดยอมให้กลืนได้ )


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 77 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 10. การหัวเราะ ( คือการเปล่งเสียหัวเราะออกมา ซึ่งปรากฏตั่งแต่ 2 อักษรขึ้นไป หรืออักษรเดียวที่ เข้าใจความหมายได้แต่การหัวเราะเพียงเล็กน้อยที่ไม่สามารถอดกลั้นไว้ได้ ไม่เสียละหมาด 11. ตกมุรตัด ( คือ สินสภาพจากการนับถือศาสนาอิสลาม จะด้วยกิริยา วาจาหรือจิตใจก็ตาม ) การละหมาดญะมาอะฮฺ ค าว่า “อัลญะมาอะฮฺ” (ِامجلاع (หมายถึง กลุ่มคน , หมู่คน และคณะบุคคลที่มีจ านวนตั้งแต่ 2 คนขึ้น ไป การละหมาดอัล-ญะมาอะฮฺ จึงหมายถึงการปฏิบัติละหมาดร่วมกันของกลุ่มคณะบุคคลที่มีจ านวนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีผู้น าในการปฏิบัติละหมาดเรียกว่า อิมาม (لمام َا (และมีผู้ตามในการปฏิบัติละหมาดเรียกว่า มะอฺมูม (املأنموم) หุก่มการละหมาดญะมาอะฮฺ วาญิบส าหรับชายมุสลิมที่บรรลุศาสนภาวะแล้ว และมีความสามารถทุกคนละหมาดญะมาอะฮฺ ในการ ละหมาดห้าเวลาไม่ว่าจะอยู่บ้านหรือเดินทาง อยู่ในภาวะปกติหรือภาวะตื่นตระหนก 1. อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َذ ِ فَا ْ َحَْتُم ِ ْسل أ ْ ُخُذوا َ أ َ ي ْ ل َ َّْنُم َّمَع َك و َفٌِ دمِ ِ َطائ ْ ُقم تَ ْ َّصَلَة فَل ال ُ هُم َ َت ل ْ قَم َ فَأ ْ ِْيم ن َت فِ َذا كُ ِ ا َ ِ ُ ُْك )و اِئ َ َر َُوفُوا مِن و َ ي ْ َسَ ُدوا فَل ا ْ َحَْتُم ِ ْسل أ َ َ ُهْ و َ ِحْذر ْ ُخُذوا أ َ ي ْ ل َ َمَع َك و وا ُّ ُ َصل ي ْ وا فَل ُّ ُ َصل ي ْ م َ ٰى ل َ أ ْخر َفٌِ ُ ِ ْ ِت َطائ تَأ ْ ل َ و ( ]النساء/ 032.] ความว่า “และเมื่อเจ้าอยู่ในหมู่พวกเขา และเจ้าได้ให้มีการละหมาดขึ้นแก่พวกเขา ดังนั้น กลุ่มหนึ่ง จากพวกเขาก็จงยืนละหมาดร่วมกับเจ้า และพวกเขาจงเอาอาวุธของพวกเขาถือไว้ด้วย ครั้นเมื่อพวกเขาก้มลง กราบพวกเขาก็จงไปอยู่เบื้องหลังของพวกเจ้า และอีกกลุ่มหนึ่งที่ยังมิได้ละหมาดก็จงมา และจงละหมาดร่วมกับ เจ้า และพวกเขาจงระมัดระวังพร้อมอาวุธของพวกเขา” (อัน-นิสาอ์ : 102) 2. มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวว่า َّ « هَا، ثُ َ ُ َؤَّذَن ل فَي َّصَلةِ ِِبل َ ُمر َّ أ ُ ْحَط َب، ثُ ِ َِبَط ٍب فَي َ ُمر ْن أ أ َ ُت ْ قَ ْد َُهَم َ ، ل ِ ِده َ ََّّلِي فَْف ِس ِبي ا َ و ُج َ َ ر ُمر ُؤَّم أ َ ًل فَي َحُدُهْ أ َ َْعََلُ ْو ي َ ل ِ ِده َ ََّّلِي فَْف ِس ِبي ا َ ْ، و ُوَِتُم ُي ب ْ ْْيِم َ ِ َ عَل د َحر ُ َىل ِرَجا ٍ فَأ ِ َف ا ِ أ َخال ُ َّ َس، ثُ ْو النَّا أ ًا َ ا َ ِْسين ً نأفَُّه َُِيُد َعْظم َ َشاء عِ ْ َشهِ َد ال َ َتَْ ِن ل ن َ ْرَماتَْ ِن َحس م « ِ ความว่า “ขอสาบานด้วยผู้ที่ชีวิตของข้าอยู่ในมือของพระองค์ว่า ความจริงฉันมีความตั้งใจที่จะใช้ผู้คน ให้หาฟืนเพื่อเป็นเชื้อเพลิง แล้วใช้ให้กลุ่มหนึ่งละหมาดญะมาอะฮฺ โดยให้อะซานเพื่อละหมาด แล้วใช้ให้อีกคน เป็นอิมามน าผู้คนละหมาด หลังจากนั้นฉันก็จะพาคนกลุ่มหนึ่งออกไปหาคนบางกลุ่มที่ไม่ได้ร่วมละหมาดญะ มาอะฮฺ แล้วฉันจะสั่งให้เผาบ้านพวกเขา ขอสาบานด้วยผู้ที่ชีวิตของข้าอยู่ในมือพระองค์ว่า หากผู้ใดคนหนึ่งใน หมู่ของพวกเขารู้ว่าจะได้รับกระดูกที่ติดเนื้อและมัน หรือสองชิ้นเนื้อที่อยู่ระหว่างสองกระดูกซี่โครงแล้ว แน่นอนเขาย่อมมาละหมาดอิชาอ์ร่วมกับญะมาอะฮฺ" (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ โดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ 644 ซึ่งส านวนนี้เป็นของอัล-บุคอรีย์ และมุสลิม เลขที่ 651) 3. มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 78 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา أ َت وَ َ ُس َ َْمعى فَقَا َ ََي ر أ َ ُجٌل َ َّ صَل هللا عليه وسَل ر َ َ النَِّب ا٬ َسأ َ ْسِجِد، فَ م ْ َىل ال ِ ُقوُِِّن ا َ ٌِد ي َس ِِل قَائ يْ َ فَُّه ل ِ ا ُه فَقَا َ : َّىل َِعَا َ ا و َّ م َ َّخَص ََلُ، فَل َ فَر ِهِ َيْت ِِف ب َ ُ َصدِل ِ َص ََلُ فَي دخِ َ ُر ْن ي أ َ ُسوَ َهللا َ ر » َّصَلةِ ِِبل َ َداء ِ َ ُع الند ْسم قَا َ َه ْل تَ « : ْ، قَا َ : َ ِج « ْب فَ » َعم فَأ ความว่า “มีชายตาบอดคนหนึ่งได้มาหาท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แล้วกล่าวว่า โอ้ท่าน เราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม แท้จริง ฉันไม่มีผู้ช่วยประคองฉันเวลาฉันจะไปไปมัสญิด หลังจาก นั้น เขาจึงขอท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม อนุโลมให้เขาละหมาดที่บ้าน แล้วท่านก็อนุโลมให้ แต่พอ ชายคนนั้นหันหลังไปเพื่อจะกลับบ้าน ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ก็เรียกเขามาอีกครั้งแล้วถามว่า “ท่านได้ยินเสียงอะซานเรียกมาละหมาดหรือไม่?” ชายคนนั้นตอบว่า ใช่ ได้ยิน ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ก็กล่าวว่า “ถ้าเช่นนั้นท่านจ าเป็นต้องตอบรับเสียงอะซาน” (บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 653) ความประเสริฐของการละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสญิด 1. มีรายงานจากท่านอิบนุ อุมัร เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า « ٍ ْع ب َ تَْف ُض ُل َصلَة الَف دِذِبس اعَِِ َ َ َجًِ َصلُة اجلَـم َن َِر ِع ْرشِي َ و «. ความว่า “การละหมาดญะมาอะฮฺนั้นประเสริฐกว่าละหมาดคนเดียวถึง 27 เท่า” และอีกสายรายหนึ่งกล่าวว่า َ » َجًِ َن َِر ِع ْرشِي َ ٍس و ِب َخـم « ْ ความว่า “ประเสริฐกว่าละหมาดคนเดียวถึง 25 เท่า” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ โดยมีบันทึกในอัล-บุคอ รีย์ เลขที่ : 645 และ 646ซึ่งส านวนนี้เป็นของอัล-บุคอรีย์ และมุสลิม เลขที่: 649 และ 650) 2. มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า َ » ـ ي ِ ُوِت هللا، ل ُي ْن ب َيْ ٍت مِ َىل ب َّ َم ََش ا ، ثُ ـهِ ِ ت ْ َي ِِف ب َ ََت َم ْن ُه تَ َطهَّر َ ِ ِض هللا، ََكفَ ْت َخْطو ائ َ ْن فَر ِري َضًِ مِ ْق ِِض فَ َ َجًِ ُع َِر ْرفَ َ َى ت ا ُْل ْخر َ ًِ، و ُحطُّ َخِطيئَ ا تَ َ ا « ْحَدا ُهـم ความว่า “ผู้ใดก็ตามที่อาบน้ าละหมาดมาจากบ้านของเขา แล้วเดินไป ณ มัสญิดใดมัสญิดหนึ่งเพื่อท า การละหมาด ถือว่าในสองก้าวเดินของเขานั้น ก้าวหนึ่งเขาจะได้ลบบาป และอีกก้าวหนึ่งเขาจะได้ผลบุญ” (บันทึกโดยมุสลิม หมายเลข 666) 2. มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า ُ » ن ـُه ِِف اجلَنَِِّ َ أعََّد هللا ل َح، َ ا َ ْو ر أ َ ْسِجِد َ َح َىل امل َم ْن غَ َدا ا ا َ ْو ر أ ا غَ َدا َ َ م ُز « ًَل ََكَّ ความว่า “ใครก็ตามที่ไปกลับมัสญิดทุกๆเช้าหรือบ่ายเพื่อละหมาดญะมาอะฮฺแล้ว อัลลอฮฺจะเตรียมที่ อยู่หนึ่งให้แก่เขาในสวรรค์ในทุกๆเช้าหรือบ่าย” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ โดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 669 และมุสลิม เลขที่: 669ซึ่งส านวนนี้เป็นของมุสลิม) สถานที่ใดที่ใช้ให้ละหมาดญะมาอะฮฺ สถานที่ที่ประเสริฐที่สุดส าหรับมุสลิมคนหนึ่งจะละหมาดฟัรฎูของเขานั้นคือมัสญิดในพื้นที่ที่เขาอาศัย อยู่ รองลงมาก็ให้ละหมาดในมัสญิดที่มีคนละหมาดญะมาอะฮฺมากกว่า และรองลงมาอีกคือมัสญิดที่ห่าง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 79 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ออกไป ความประเสริฐทั้งหมดนี้คือความประเสริฐนอกเหนือไปจากการละหมาดในมัสญิดหะรอม มัสญิดนบี และมัสญิดอัล-อักศอ เพราะว่าการละหมาดในมัสญิดเหล่านี้มีความประเสริฐมากที่สุดกว่าที่อื่นๆ อนุญาตให้มีการละหมาดญะมาอะฮฺในมัสญิดที่มีการละหมาดพร้อมอิมามเสร็จสิ้นไปแล้วในเวลา ละหมาดนั้นๆ สุนัตให้ผู้ที่อยู่สนามรบร่วมละหมาดในมัสญิดเดียว แต่หากกลัวว่าเมื่อรวมกันแล้วศัตรูจะจู่โจมก็ให้ต่าง คนต่างละหมาดในที่ที่ตัวเองอยู่ หุก่มการออกไปละหมาดที่มัสญิดส้าหรับผู้หญิง อนุญาตให้ผู้หญิงออกไปละหมาดญะมาอะฮฺที่มัสญิดโดยแยกห่างจากกลุ่มผู้ชายและมีการปิดกั้นอย่าง สมบูรณ์ ไม่ว่าอิมามละหมาดจะเป็นผู้หญิงด้วยกันเองหรือเป็นผู้ชาย ซึ่งการออกไปละหมาดของผู้หญิงนั้นออก ในเวลากลางคืนนั้นดีกว่าออกกลางวัน มีรายงานจากอิบนุ อุมัร จากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ว่า » ْس َ َىل امل ِل ا ْ ي َّ ِِبلل َساُؤُكُْ ِ ُ ُْك ن َ َْذن ْ تَأ َّن ا َذا اس هُ َ َْذفُوا ل ِج « ِد فَأ ความว่า “หากบรรดาสตรีของท่านขออนุญาตท่านเพื่อไปละหมาดที่มัสญิดในเวลากลางคืน พวกท่าน ก็จงอนุญาตให้พวกหล่อนเหล่านั้น” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ โดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 865 ซึ่งส านวน นี้เป็นของอัล-บุคอรีย์ และมุสลิม เลขที่: 442) จ้านวนขั นต่้าในการละหมาดญะมาอะฮฺ การญะมาอะฮฺนั้นอย่างน้อยต้องมีสองคนขึ้นไป หากผู้ละหมาดยิ่งมากก็จะท าให้การละหมาดนั้น สมบูรณ์และเป็นที่รักของอัลลอฮฺมากขึ้น มัสบู๊ก ( ٌ ُ ْو ْ ب (َمس มัสบู๊ก ( ٌوُ ْ ْ ب مس (َทางภาษา หมายถึง ผู้ที่ถูกน าหน้าไปก่อนแล้ว ดังนั้นคนที่มาร่วมละหมาดแล้วไม่ทัน การตักบีเราะตุลอิหฺรอมของอิหม่ามน าละหมาดก็เรียกว่า “มัสบู๊ก” หน้าที่ของมัสบู๊ก 1. เมื่อมาถึงที่ละหมาด อิหม่ามก าลังอยู่ในอิริยาบถใดก็ตาม เช่น ก าลังสุญูด ให้ตักบีรอตุลเอี๊ยะรอม กอดอก แล้วตักบีรอีกครั้งหนึ่ง จึงเริ่มเปลี่ยนอิริยาบถตามอิหม่าม 2. เมื่ออีหม่ามให้สลามแล้ว มัสบู๊กไม่ต้องให้สลามตามอิหม่าม แต่เขาจะต้องยืนละหมาดต่อไปจน ครบจ านวนที่เขาละหมาดไม่ทัน การเข้าแถวของมัสบู๊ก 1. ให้เข้าต่อแถวที่มีอยู่เดิม 2. ถ้าหากว่าขณะนั้นมีมะอฺมูมคนเดียว มะอฺมูมคนนั้นต้องยืนใกล้เบื้องขวาของอิหม่ามในระดับ เดียวกัน มัสบู๊กจะเลือกกระท าได้ 2 วิธี คือ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 80 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ก. ให้ยืนเบื้องหลังอิหม่าม แต่ไม่ชิดอีหม่าม ตั๊กบีรดังพอให้มะอฺมูมคนแรกได้ยิน มะอฺมูมผู้นั้นจะ ถอยหลังทีละก้าวๆ ช้าๆ จนมาอยู่ในระดับเดียวกับมะอฺมูมคนหลัง ถ้าตักบีรแล้วมะอฺมูมยังไม่ถอยลงมาเขาอาจ เอื้อมมือไปดึงเบาๆ ให้ลงมาได ข. ในกรณีที่เบื้องหลังอีหม่ามคับแคบ ให้ยืนชิดหลังอิหม่าม เบื้องซ้ายของมะอฺมูมคนแรก ตักบีร ให้ดังพอได้ยิน อิหม่ามจะก้าวไปข้างหน้าช้าๆ ทีละก้าวแต่ไม่เกิน 3 ก้าว 3. แถวเต็มพอดี ถ้ามีคนหนึ่งมาเพิ่มอีก ให้ผู้ที่มาใหม่ตั้งแถวใหม่ นดยยืนตรงกลาง เมื่อตักบีรแล้วให้ เอื้อมมือดึงมะอฺมูมคนหนึ่งจากแถวหน้าลงมายืนคู่กับตน มะอฺมูมผู้ถูกดึงจะค่อยๆ ก้าวถอยลงมา ส าหรับ ช่องว่างนั้นให้มะอฺมูมทั้งสองข้างขยายแถวปิดช่องว่างนั้นเสีย เพราะคนหนึ่งจะละหมาดแต่ผู้เดียวในแถวหลัง ไม่ได้ ผู้ใดละหมาดละหมาดเช่นนั้นเขาจะต้องละหมาดใหม่ ดังหลักฐานจากความหมายของฮะดิษต่อไปนี้ จากรายงานของวาบิเศาะห์ กล่าวว่า “แท้จริงท่านรอซูล ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ได้เห็นชายคน หนึ่งท าละหมาดคนเดียวหลังแถว ดังนั้นท่านจึงใช้ให้ชายผู้นั้นละหมาดอีกครั้งหนึ่ง (บันทึกของอิหม่ามทั้ง 5) 4. หรือถ้าหากว่าในแถวสุดท้ายยังมีช่องว่างอยู่ พอที่จะหาทางเข้าไปปิดช่องว่างในแถวนั้น จะเป็น ด้านขวาหรือด้านซ้ายก็ตาม อนุญาตให้กระท าได้ 5. ถ้าผู้มาใหม่เป็นหญิงแม้เพียงคนเดียว ให้นางตั้งแถวใหม่หลังสุด (จากบันทึกของอิหม่ามบุคอรี และมุสลิม) ร๊อกอัตที่ 1 ในการละหมาดผู้ละหมาดจะต้องทราบว่า การนับเป็นหนึ่งร๊อกอัตนั้นเริ่มตั้งแต่ไหน ทั้งนี้เพื่อจะได้ ทราบว่าตนละหมาดไม่ทันกี่ร๊อกอัต จะได้ละหมาดต่อให้ครบในภายหลัง กฎเกณฑ์การพิจารณาในกรณีนี้คือ ผู้ใดมาถึงที่ละหมาดขณะที่อิหม่ามก าลังยืนอยู่ และผู้ที่เป็นมะอฺมูม มีเวลาอ่านฟาติหะฮฺก่อนที่อิหม่ามจะก้มลงรุกั๊วะ ในกรณีนี้ให้ถือว่าเขาทันร๊อกอัตนั้นและให้นับเป็นร๊อกอัตแรก ของเขา หากมะอฺมูมมาถึงขณะที่อิหม่ามก าลังยืนอยู่และเขาไม่มีเวลาอ่านฟาติหะฮฺจบ ในกรณีนี้ไม่ถือว่าเขา ทันร๊อกอัตและไม่นับว่าเป็นร็อกอัตแรกของเขา วิธีละหมาดมัสบู๊ก 1. ละหมาด 4 ร็อกอัต ถ้ามัสบู๊กละหมาดไม่ทัน 3 ร็อกอัต อีหม่ามให้สลามแล้วเขาท าละหมาดต่อ ครั้งแรกละหมาด 1 ร็อกอัตและร็อกอัตนี้ ถ้าเป็นละหมาดอ่านดัง ก็ให้อ่านดัง ถ้าเป็นละหมาดอ่านค่อย ก็ให้ อ่านค่อย เสร็จแล้วจึงนั่งตะฮียาตครั้งแรก เสร็จแล้วให้ท าละหมาดต่ออีก 2 ร็อกอัต ท าตามปกตินั่งตะฮียาต ครั้งสุดท้าย จึงให้สลาม 2. ละหมาด 4 ร็อกอัต มัสบู๊กละหมาดไม่ทัน 2 ร็อกอัต อิหม่ามสลามแล้ว เขาต้องละหมาดต่ออีก 2 ร็อกอัต นั่งตะฮียาตครั้งสุดท้าย จึงให้สลาม


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 81 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา การสุหญูดซะฮฺวี สุหญูดซะฮฺวีคือ การสุหญูด 2 ครั้งที่ต้องท าเพิ่มจากสุหญูดตามปกติ เป็นกรณีพิเศษ ด้วยเหตุ หลงลืมหรือพลั้งพลาด เช่น 1. สงสัยในขณะละหมาดว่าขาดหรือเกิน เช่น ละหมาดนั้นมี 4 ร็อกอะฮฺ แต่ท าไปเพียง 3 ร็อกอะฮฺ คิดว่าครบแล้วจึงให้สลาม มีรายงานจากท่านอิมรอน บินหุซอยนฺ ว่า أفَُّه هللاُ َصََّل ا َ كَ َ ََلُ فَذ َّ َِ َخ َل َمْنِ َع ُْصَ ثَ َلًًث ثُ ْ َ َسََّلَ َصََّل ال و ْهِ ي َ َعل َّ َعًِ ثُ َكْ ْ ر َص ََّل ِِِبم َ َج فَ ُس فَ َخر َ ُه النَّا ر َسََّلَ َّ َسَ َد َسْ َدتَْ ِن ثُ َّ َسََّلَ ثُ ความว่า : ท่านร่อซูลุลลอฮฺ ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ละหมาดอัศริ 3 ร็อกอะฮฺ แล้วเดิน เข้าบ้าน จากนั้นมีคนเตือนท่าน ท่านก็ออกมาน าละหมาดอีกร็อกอะฮฺหนึ่งแล้วให้สลาม ต่อจากนั้นท่านหสุญูด อีกสองครั้งแล้วจึงให้สลามอีก บันทึกโดยมุสลิม 2. การละหมาดเกินจ านวน เช่น ละหมาด 4 ร็อกอะฮฺ แต่ท าไป 5 ร็อกอะฮฺ มีรายงานจากท่านอับ ดุลลอฮฺ บินมัสอูด ร่อฎิยัยลอฮุอันฮุ ว่า َ ُسْوَ ا َّن ر أ هللاِ ا ََّل َ َ َ َسََّل َص هللاُ و ْهِ ي عَل ؟ فَقَا َ َ َّص َلةِ ْ َدِ ِْف ال أِزي َل ََلُ َ ْ ي ََْخ ًسا فَقِ َ ََّل ال ُّظهْر َ َما َذا َك َص و َسََّلَ َْعَدَما َس َجَد َسْ َدتَْ ِن ب َت ََْخ ًسا فَ ْ ي َّ ؟ قَا َ َصل ความว่า : แท้จริงท่านร่อซูลุลลอฮฺ ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้ละหมาดซุฮฺริ 5 ร็อกอะฮฺ แล้ว มีคนทักว่า ท่านจะละหมาดเพิ่มร็อกอะฮฺหรือ ท่านก็ถามว่า เรื่องเป็นอย่างไรเล่า ผู้ท้วงก็บอกว่า ท่านได้ ละหมาด 5 ร็อกอะฮฺ ท่านร่อซูลุลลอฮฺ จึงได้ก้มสุหญูด 2 ครั้งเมื่อให้สลามแล้ว (บันทึกโดยอัลบุคอรียฺและ มุสลิม) 3. ลืมนั่งตะชะฮฺฮุดครั้งแรก คือในร็อกอะฮฺที่ 2 เขาลืมนั่งตะชะฮฺฮุดและได้ลุกขึ้นท าร็อกอะฮฺ ที่ 3 เรื่องนี้ถ้านึกขึ้นได้ภายหลังจากยืนตัวตรงแล้ว ไม่ต้องย้อนลงนั่งใหม่ ให้ละหมาดต่อไป จะย้อนกลับไป นั่งอีกไม่ได้ จะต้องสุหญูดซะฮฺวีก่อนจะให้สลาม แต่ในกรณีที่ก าลังจะลุก ขึ้นยืนยังไม่ถึงกับยืนตรง นึกขึ้นได้ จึงนั่งลง เช่นนี้ให้นั่งลงไปใหม่ได้ และไม่ต้องสุหญูดซะฮฺวีรายงานจากท่านอับดุลลอฮฺ บิน บุหัยนะฮฺ ได้บอก ว่า َصََّل ا أفَُّه هللاُ ْ َدتَ َ َض َص َلتَُه َسَ َد َس ا قَ َّ م َ ا فَل َ َيََّْنُم ُس ب ِ َُْيل ْ م َ ل َ َن ال ُّظهْ ِر و َتَْ ِن مِ َن اثْن َم مِ َ َسََّلَ قَا و ْهِ ي عَل ْ ِن َ َْعَدَذِ َِل َسََّلَ ب َّ ثُ ความว่า : แท้จริงท่านร่อซูลุลลอฮฺ ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ลืมนั่งตะชะฮฺฮุดครั้งแรกใน ละหมาดซุฮฺริ เมื่อละหมาดเสร็จแล้วท่านสุหญูด 2 ครั้ง แล้วจึงให้สลามหลังจากนั้น (บันทึกโดยอัลบุคอรียฺ และมุสลิม) การสงสัยจ านวนร็อกอะฮฺ เช่น เมื่อท าละหมาด 4 ร็อกอะฮฺ เกิดสงสัยขึ้นระหว่างที่ก าลังท าอยู่ว่า ที่เป็นร็อกอะฮฺที่เท่าไหร่ 3 หรือ 4 ครบ หรือยัง จะถามใครก็ไม่ได้ ในกรณีเช่นนี้ให้นึกเอาจ านวนน้อยไว้ ก่อน เช่น ที่ท าไป 4 ร็อกอะฮฺ ให้คิดว่าละหมาดไปแล้ว 3 ร็อกอะฮฺ ให้ท าเพิ่มอีก 1 ร็อกอะฮฺ เสร็จ แล้วสุหญูดซะฮฺวีแล้วให้สลาม วิธีสุหญูดซะฮฺวี การสุหญูดซะฮฺวี เหมือนสุหญูดทั่วไปทั้งค าอ่านและวิธีการ คือท าการสุหญูด2 ครั้ง แล้วให้ สลามทันที นดยไม่ต้องอ่านตะฮียาต


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 82 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับการสุหญูดซะฮฺวี 1. ถ้าอิมามสุหญูดซะฮฺวีจ าเป็นส าหรับมะอฺมูมจะต้องสุหญูดตาม 2. ถ้าอิมามลืมสุหญูดซะฮฺวีจ าเป็นส าหรับมะอฺมูมที่นึกได้จะต้องสุหญูดซะฮฺวีในกรณีที่อิมามลืม และ ละหมาดเสร็จแล้ว จ าเป็นส าหรับมะอฺมูมให้บอกอิมามเพื่อท าการสุหญูดซะฮฺวี 3. ถ้าผู้เจตนาไม่สุหญูดซะฮฺวี จ าเป็นจะต้องท าการละหมาดใหม่ เพราะถือว่าการละหมาด ใช้ไม่ได้ การละหมาดวันศุกร์ (ญุมุอะฮฺ) วิทยเหตุผลที่ได้บัญญัติการละหมาดวันศุกร์(ญุมุอะฮฺ) อัลลอฮฺได้บัญญัติการชุมนุมส าหรับบรรดามุสลิมหลายวาระด้วยกัน ทั้งนี้เพื่อสานสัมพันธ์ เสริมความ ผูกพัน รักใคร่ปรองดองกันระหว่างพวกเขา ซึ่งการชุมนุมนั้นมีทั้งระดับหมู่บ้าน เช่นประชุมเพื่อละหมาดห้า เวลา ระดับจังหวัด เช่นประชุมเพื่อละหมาดญุมุอะฮฺและละหมาดอีด ระดับนานาชาติ เช่นประชุมเพื่อท าหัจญ์ ที่มักกะฮฺ ซึ่งการประชุมเหล่านี้ถือว่าเป็นการประชุมของบรรดามุสลิมในระดับ เล็ก ปานกลาง และใหญ่ ความประเสริฐของวันศุกร์ มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ กล่าวว่า ـهِ » ْ ي فِ َ َِ، و ُأ ِْ ِخ َل ا َجلنَّ ـهِ ْ ي فِ َ َق أ َُِم، و ِ ُخل ـهِ ْ ي ، فِ ُ َعِِ َْوُم ا ُجلـم ْ ُس ي ال َّشم ـهِ ْ ي َ َع ْت َعل َ َطل ٍ َ ْوم ُأ ْخِرَج َخْرُ ي نْ هَا، مِ ُ َعِِ اجلُـم ِ َْوم ََّلِِف ي ُِ ا َّساعَ ََل تَُقوُم ال و « ความว่า “วันที่ดีที่สุดในบรรดาวันที่มีอยู่คือวันศุกร์ เพราะเป็นวันที่อาดัมถูกสร้าง เป็นวันที่อาดัมเข้า สวรรค์ เป็นวันที่อาดัมถูกขับออกจากสวรรค์ และวันกิยามะฮฺ(วันสิ้นนลก)จะไม่เกิดขึ้นนอกจากในวันศุกร์” (บันทึกนดยมุสลิม หมายเลข 854) หุก่มการละหมาดญุมุอะฮฺ 1- การละหมาดญุมุอะฮฺมีสองร็อกอะฮฺ วาญิบส าหรับชายมุสลิมทุกคน ที่บรรลุศาสนภาวะ มี สติสัมปชัญญะ เป็นเจ้าของพื้นที่หรือชุมชน ฉะนั้นจึงไม่วาญิบส าหรับผู้หญิง ผู้ป่วย เด็ก ผู้เดินทาง แต่หากพวก เขาเหล่าละหมาดญุมุอะฮฺก็ถือว่าใช้ได้ ส่วนผู้เดินทางหากหยุดพักอยู่ และได้ยินเสียงอะซานก็ต้องไปละหมาดญุ มุอะฮฺ 2- การละหมาดญุมุอะฮฺถือว่าเป็นการแทนละหมาดซุฮฺริ ฉะนั้นจึงไม่อนุญาตให้ผู้ที่ละหมาดญุมุอะฮฺ ละหมาดซุฮฺริอีกหลังญุมุอะฮฺ และวาญิบต้องรักษาการละหมาดญุมุอะฮฺเป็นประจ า ผู้ใดที่ขาดญุมุอะฮฺติดต่อกัน สามครั้งนดยเจตนาด้วยความมักง่ายอัลลอฮฺก็จะทรงผนึกหัวใจของเขา เวลาละหมาดญุมุอะฮฺ เวลาละหมาดญุมุอะฮฺช่วงที่ประเสริฐที่สุดคือ หลังจากตะวันคล้อยจนถึงช่วงท้ายสุดของเวลาละหมาด ซุฮฺริ และอนุญาตให้ละมาดญุมุอะฮฺก่อนตะวันคล้อยได้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 83 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เงื่อนไขการด าเนินการละหมาดญุมุอะฮฺ วาญิบต้องละหมาดญุมุอะฮฺในเวลาของมันและมีผู้ร่วมละหมาดไม่ต่ ากว่าสามคนจากบรรดาเจ้าของ พื้นที่และต้องมีสองคุฏบะฮฺก่อนละหมาด ความประเสริฐของการอาบน้ าในวันศุกร์และการไปมัสญิดตั้งแต่เนิ่นๆ 1- มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺเราะ ฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัม ได้กล่าวว่า َّساعَِِ » َح ِِف ال ا َ َ َم ْن ر َدفًَِ، و َ َّ َب ب ا َقر َ َح فَ ََكَفَّم ا َ َّ ر ، ثُ َِِ َاب ْس َل اجلَن ُغ ُ َعِِ َْوَم اجلُـم َس َل ي َ َم ْن َم ْن ا ْغتَ ًة، و َ َقَر َّ َب ب ا َقر َ فَ ََكَفَّم َِِ ي ِ الثَّاف َّس َح ِِف ال ا َّ ر َب َِ َج َ ا قَر َ فَ ََكَفَّم َعِِ اِبـ َّ الر َّساعَِِ َح ِِف ال ا َ َ َم ْن ر َ َن، و َأ ْقر ً بْشا َّ َب كَ ا َقر َ فَ ََكَفَّم ثَِِ ِ الثَّال اعَِِ َّساعَِِ َح ِِف ال ا َ َ َم ْن ر َجًِ، و ا ْستَـِم ِ ََُِ يَ َلِئ ِت امل ُم َحَُّضَ َ َج ا َلَما َضًِ، فَ اَذا َخر ْ َي َّ َب ب ا قَر َ فَ ََكَفَّم َسِِ اخلَامِ َ ُعوَن « ا دَِّلكْر ความว่า “ผู้ใดที่อาบน้ าในเช้าวันศุกร์เหมือนกับอาบน้ าญุนุบ หลังจากนั้นก็ไปมัสญิดตั้งแต่เนิ่นๆ ผล บุญของเขาเสมือนว่าเขาได้รับอูฐหนึ่งตัว และผู้ใดไปในหนึ่งชั่วนมงถัดไปเสมือนว่าเขาได้รับวัวหนึ่งตัว และผู้ใด ไปในหนึ่งชั่วนมงถัดไปเสมือนว่าเขาได้รับแกะตัวผู้ที่มีเขาสวยงามหนึ่งตัว และผู้ใดไปในหนึ่งชั่วนมงถัดไปก็ เสมือนว่าเขาได้รับไก่หนึ่งตัว และผู้ใดไปในหนึ่งชั่วนมงถัดไปก็เสมือนว่าเขาได้รับไข่หนึ่งใบ เมื่อใดที่อิมามออก มากล่าวคุฏบะฮฺแล้ว บรรดามะลาอิกะฮฺก็จะมานั่งฟังค าตักเตือนของอิมามด้วย” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมี บันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 881 ส านวนนี้เป็นของอัล-บุคอรีย์ และมุสลิม เลขที่: 850) 2- มีรายงานจากท่านเอาสฺ อิบนุ เอาสฺ อัษ-ษะเกาะฟียฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่าท่านได้ยินท่านเราะสู ลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า ُ ْ َل َوَم ا ي َّس َل ي ْ » َم ْن َغ ـم َ ل َ َ َع و ْستَـم فَا ِ َن ا َلَمام َََِن مِ َ ْب، و َْركَ ي ْ ـم َ ل َ َ َم ََش و َ ، و ََر ْتَـ اب َ َ و َََّر د ب َس َل، ثُ ا ْغتَ َ و ُ َعِِ ـ ُه ِب ُك ُجلـم ِد َ ، ََكَن ل هَا امِ َ ي قِ َ هَا و امِ َ ِصي ُ ْجر َأ ٍَِ َ ن ةٍ ََمع ُل س َ َخ « ْطو ความว่า “ผู้ใดตั้งใจที่จะอาบน้ าในวันศุกร์และอาบน้ าแต่เช้าหลังจากนั้นตั้งใจที่จะไปมัสญิดแต่เช้าแล้ว เขาก็ไปเช้านดยเดินเท้าไปไม่ได้ขี่พาหนะ เมื่อไปถึงเข้าประชิดใกล้อิมาม แล้วตั้งใจฟังคุฏบะฮฺไม่เผลอเลื่อนลอย เขาจะได้ในแต่ละๆก้าวที่เขาก้าวไปเท่ากับผลบุญการถือศีลอดและการละหมาดกิยามหนึ่งปี” (เป็นหะดีษ เศาะฮีหฺ บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 345 ส านวนนี้เป็นของท่าน และอิบนุ มาญะฮฺ 850) เวลาอาบน้ าในวันศุกร์ เวลาอาบน้ าในวันศุกร์เริ่มตั้งแต่ฟัจญ์รฺ (แสงอรุณ) ขึ้นในวันศุกร์จนถึงใกล้จะละหมาดวันศุกร์เล็กน้อย สุนัตให้ผลัดเวลาการอาบน้ าออกไปจนกว่าจะถึงเวลาก่อนออกไปละหมาดญุมุอะฮฺ เวลาออกไปละหมาดญุมุอะฮฺที่ดีที่สุด 1- เวลาที่สุนัตออกละหมาดญุมุอะฮฺเริ่มตั้งแต่ตะวันขึ้น ส่วนเวลาที่วาญิบคือเวลาอะซานครั้งที่สอง กล่าวคือเป็นเวลาที่อิมามเข้ามาเพื่อกล่าวคุฏบะฮฺ 2- มุสลิมสามารถที่จะรู้ถึงช่วงเวลาทั้งห้าที่ระบุในหะดีษข้างต้น นดยการแบ่งเวลาตั้งแต่ตะวันขึ้น จนถึงอิมามมาออกเป็นห้าส่วน ชึ่งก็จะได้ทราบว่าแต่ละช่วงเวลานั้นมีระยะห่างเท่าใด


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 84 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา (อัลมัสบูก)ผู้ที่มาสายในการละหมาดญุมุอะฮฺมาช่วงไหนถึงจะเรียกว่าได้ญุมุอะฮฺ ผู้ใดที่ทันละหมาดญุมุอะฮฺพร้อมอิมามได้หนึ่งร็อกอะฮฺ แล้วเพิ่มอีกร็อกอะฮฺก็จะถือว่าละหมาดญุมุอะฮฺ ของเขาสมบูรณ์ แต่หากทันละหมาดพร้อมอิมามน้อยกว่าหนึ่งร็อกอะฮฺให้เขาเปลี่ยนเจตนาละหมาดให้เป็นซุฮฺริแล้ว ละหมาดสี่ร็อกอะฮฺแทน การละหมาดญุมุอะฮฺนั้นวาญิบหรือไม่ส าหรับผู้เดินทาง? หากผู้เดินทางผ่านไปยังเมืองที่จะละหมาดญุมุอะฮฺ และได้ยินเสียงอะซานซึ่งเขาต้องการพักอยู่เมืองนี้ ชั่วคราว เขาต้องละหมาดญุมุอะฮฺ หรือหากเขาจะเป็นผู้กล่าวคุฏบะฮฺแล้วเป็นอิมามน าละหมาดญุมุอะฮฺของคน ในที่นั้น ก็ถือว่าการละหมาดของทุกคนใช้ได้ เนื้อหาของคุฏบะฮฺญุมุอะฮฺ เนื้อหาที่ท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และบรรดาเศาะหาบะฮฺของท่านได้กล่าวคุฏบะฮฺไว้จะ ครอบคลุมถึงการอธิบายเกี่ยวเตาฮีดและการศรัทธา มีกล่าวถึงคุณลักษณะของอัลลอฮฺ หลักการศรัทธา มี กล่าวถึงความนปรดปรานของอัลลอฮฺที่มอบให้แก่สิ่งถูกสร้างของพระองค์ มีกล่าวถึงวันกิยามะฮฺเพื่อให้กลัวใน อ านาจของอัลลอฮฺ มีการใช้ให้ระลึกถึง และชุนกรฺต่ออัลลอฮฺ มีการต าหนิเรื่องดุนยา มีการค านึงถึงความตาย สวรรค์ นรก มีการส่งเสริมให้ภักดีต่ออัลลอฮฺและเราะสูลของพระองค์ และมีการตักเตือนให้ห่างจากมะอฺศิยะฮฺ และอื่นๆ ฉะนั้น ผู้กล่าวคุฏบะฮฺควรจะกล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺ นามและคุณลักษณะและบรรดานิอฺ มะฮฺของพระองค์ที่มีต่อบ่าว ใช้ให้มีการฏออะฮฺต่ออัลลอฮฺ ชุนกรฺและซิกิรฺต่อพระองค์ และสิ่งที่อัลลอฮฺชอบให้ บ่าวปฏิบัติต่อพระองค์ แล้วหลังจากนั้นผู้คนที่ฟังก็จะกลับบ้านด้วยใจที่รู้สึกรักอัลลอฮฺและเป็นที่รักของอัลลอฮฺ เต็มไปด้วยอีมานและความกลัวซึ่งจะน าพวกเขาไปสู่การระลึกถึงอัลลอฮฺ ภักดีและเต็มใจท าอิบาดะฮฺต่อ พระองค์ ลักษณะการละหมาดญุมุอะฮฺ การละหมาดญุมุอะฮฺมีสองร็อกอะฮฺ สุนัตให้อ่านดังนดยในร็อกอะฮฺแรกหลังจากฟาติหะฮฺให้อ่านสู เราะฮฺ อัล-ญุมุอะฮฺ และในร็อกอะฮฺที่สองให้อ่านสูเราะฮฺ อัล-มุนาฟิกูน หรือในร็อกอะฮฺแรกให้อ่านสูเราะฮฺ อัลญุมุอะฮฺ และในร็อกอะฮฺที่สองให้อ่านสูเราะฮฺ อัล-ฆอชิยะฮฺ หรือในร็อกอะฮฺแรกให้สูเราะฮฺ อัล-อะอฺลาและใน ร็อกอะฮฺที่สองให้อ่านสูเราะฮฺ อัล-ฆอชิยะฮฺ แต่หากอ่านในทั้งสองร็อกอะฮฺด้วยสูเราะฮฺที่นอกจากที่กล่าวมาก็ เป็นที่อนุญาต เมื่อละหมาดครบสองร็อกอะฮฺแล้วก็ให้สะลาม ลักษณะการละหมาดสุนัตญุมุอะฮฺ สุนัตให้ละหมาดสุนัตหลังละหมาดญุมุอะฮฺเสร็จนดยละหมาดที่บ้านสองร็อกอะฮฺ และบางครั้งอาจ ละหมาดสี่ร็อกอะฮฺสองสะลามก็ได้ แต่หากละหมาดที่มัสญิดให้ละหมาดสี่ร็อกอะฮฺสองสะลาม และไม่มีสุนนะฮฺ ก่อนญุมุอะฮฺ แต่อาจจะละหมาดสุนัตทั่วไปกี่ร็อกอะฮฺก็ได้ตามต้องการ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 85 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หุก่มการพูดคุยของบรรดามะอ์มูมในขณะอิมามกล่าวคุฏบะฮฺ การพูดคุยในขณะคุฏบะฮฺนั้นท าให้ผลบุญเสีย ซ้ ายังอาจท าให้มีบาป ฉะนั้นจึงไม่อนุญาตพูดคุยใน ขณะที่อิมามกล่าวคุฏบะฮฺอยู่ นอกจากอิมามและผู้ที่อิมามใช้ให้เขาพูดเพื่อประนยชน์บางประการ และผู้ที่ต้อง ตอบรับสะลาม ตอบรับการจาม และอนุญาตให้พูดก่อนและหลังคุฏบะฮฺได้ ผู้ที่เข้ามัสญิดในขณะที่อิมามกล่าวคุฏบะฮฺอยู่เขาจะปฏิบัติอย่างไร? ผู้ใดที่เข้ามัสญิดในขณะที่อิมามคุฏบะฮฺอยู่เขาจะนั่งไม่ได้จนกว่าเขาจะละหมาดสองร็อกอะฮฺก่อน และ ส าหรับผู้ใดรู้สึกง่วงในขณะที่อยู่ในมัสญิดอนุญาตให้เขาเปลี่ยนที่นั่งจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้ หุก่มการอาบน้ าในวันศุกร์ 1- การอาบน้ าส าหรับละหมาดญุมุอะฮฺเป็นสิ่งที่สุนัตมุอักกะดะฮฺ(ส่งเสริมอย่างยิ่งให้ท า) และวาญิบ ต้องอาบน้ าส าหรับผู้ที่มีกลิ่นตัวรบกวนบรรดามะลาอิกะฮฺและคนอื่นๆ ทั้งนี้เนื่องจากหะดีษของท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ที่ว่า « ٍ ـم ِ ْحتَل ُم ََل ُكِد ا ِج ٌب عَ َ و ُ َعِِ َوَم اجلُـم ال ُغ « ْس ُل ي ความว่า “การอาบน้ าในวันญุมุอะฮฺนั้นเป็นสิ่งจ าเป็นส าหรับผู้ที่บรรลุศาสนภาวะทุกคน” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดยมีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ : 858 และมุสลิม เลขที่: 846) 2- หลังจากอาบน้ าแล้วมีสุนัตให้ท าความสะอาดร่างกายส่วนอื่นๆ และให้ใส่น้ าหอม และสวมใส่เสื้อผ้า ที่สวยงาม แล้วออกไปมัสญิดตั้งแต่เนิ่นๆ แล้วให้เข้าไปอยู่ในที่ที่ใกล้อิมาม และละหมาด ดุอาอ์และอ่านอัลกุ รอานให้มากๆ - อิมามคือผู้ที่ท าหน้าที่ในการกล่าวคุฏบะฮฺและน าละหมาดพร้อมกันด้วย แต่อนุญาตให้มีผู้กล่าว คุฏบะฮฺคนหนึ่ง และมีผู้น าละหมาดอีกคนหนึ่งเพราะเหตุผลบางอย่างได้ สิ่งที่สุนัตให้อ่านในวันศุกร์ มีสุนัตให้อ่านสูเราะฮฺ อัล-กะฮ์ฟฺ ในคืนหรือวันศุกร์ ซึ่งผู้อ่านสูเราะฮฺ อัล-กะฮ์ฟฺในวันศุกร์ อัลลอฮฺจะให้ ความสว่างจากรัศมีเฉพาะแก่เขาในระหว่างสองญุมุอะฮฺ สิ่งที่สุนัตให้อ่านในละหมาดศุบหฺของวันศุกร์ มีสุนัตให้อิมามอ่านในร็อกอะฮฺแรกของละหมาดศุบหฺในเช้าวันศุกร์ด้วยสูเราะฮฺ อัส-สัจญ์ดะฮฺและใน ร็อกอะฮฺที่สองด้วยสูเราะฮฺ อัล-อินซาน หุก่มการดุอาอ์ในขณะคุฏบะฮฺ ไม่มีบัญญัติส าหรับอิมามและบรรดามะอ์มูมให้ยกมือขณะดุอาอ์ในคุฏบะฮฺ นอกจากในกรณีที่อิมามดุ อาอ์ขอฝน ซึ่งให้อิมามยกมือและมะอ์มูมยกมือตาม ส่วนการกล่าวอามีนต่อการดุอาอ์นั้นมีบัญญัติไว้ด้วยการ กล่าวเสียงค่อยๆ มีสุนัตส าหรับอิมามให้ดุอาอ์ในคุฏบะฮฺ ที่ดีที่สุดให้ดุอาอ์เพื่อศาสนาอิสลามและบรรดามุสลิม ขอ ให้อัลลอฮฺคุ้มครอง ช่วยเหลือพวกเขา ให้พวกรักใคร่ปรองดองซึ่งกันและกัน และสุนัตให้อิมามชี้นิ้วชี้ในขณะดุ อาอ์ ไม่ใช่ยกมือทั้งสองข้าง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 86 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ช่วงเวลาที่ดุอาอ์จะถูกตอบรับ ช่วงเวลาที่จะถูกตอบรับน่าจะเป็นช่วงท้ายของวันศุกร์ นั่นคือหลังจากละหมาดอัศรฺ ซึ่งมีสุนัตให้ซิกิรฺ ดุ อาอ์ให้มากๆ ในช่วงดังกล่าว ฉะนั้นการดุอาอ์ในช่วงนี้จึงเป็นการดุอาอ์ที่น่าจะถูกตอบรับมากที่สุด ทั้งที่มันเป็น ช่วงสั้นๆ มีรายงานจากท่านอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า แท้จริงท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะ ลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวถึงวันศุกร์ว่า ََّيُه ُه ا ََّل » َأ ْعَطا ا ً َىل َشيْئا َعا ْسأَ ُ هللا تَ ُ َصدِل ِ يَ ٌ ي قَائِ َ ُهو َ ٌ و ـم ِ ْسل ٌد ُم ْ افِ ُقهَا َعب َ ُو َساعٌَِ َل ي يهِ ف « ِ ความว่า “ในวันศุกร์มีช่วงเวลาหนึ่ง บ่าวมุสลิมคนไหนที่ยืนละหมาดแล้วขอดุอาอ์ต่ออัลลอฮฺให้เขาได้สิ่งหนึ่งสิ่ง ใด นดยตรงกับช่วงเวลาดังกล่าวพอดี อัลลอฮฺก็จะทรงให้แก่เขาตามที่เขาได้วอนขอ” (มุตตะฟะกุน อะลัยฮฺ นดย มีบันทึกในอัล-บุคอรีย์ เลขที่ 935 ซึ่งส านวนนี้เป็นของอัล-บุคอรีย์ และมุสลิม เลขที่: 852) หุก่มการละเลยการละหมาดญุมุอะฮฺ ผู้ใดที่ไม่ได้ละหมาดญุมุอะฮฺให้เขาละหมาดชดด้วยละหมาดซุฮฺริสี่ร็อกอะฮฺ ซึ่งหากขาดละหมาดญุ มุอะฮฺเพราะเหตุจ าเป็น ก็จะไม่มีบาปใดๆ แต่ถ้าไม่มีเหตุจ าเป็นใดๆ เขาจะมีบาปเพราะเขาได้ละเลยการ ละหมาดญุมุอะฮฺ มีรายงานจากท่านอบู อัล-ญะอฺดิ เราะฎิยัลลอฮุอันฮุ ว่า ท่านเราะสูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะสัลลัมได้กล่าวว่า « ِبـهِ ْ ََل قَل َع هللا عَ ـ َ ًَن ِب هَا َطب ُ تَ َهاو ٍ َع َك ثَل َث ُجـم َ َر َم ْن «. ت ความว่า “ผู้ใดขาดละหมาดญุมุอะฮฺสามครั้งติดๆ กันนดยเจตนา อัลลอฮฺจะตีตราบนหัวใจของเขา” (เป็นหะดีษหะสันเศาะฮีหฺที่บันทึกนดยอบู ดาวูด หมายเลข 1052 และอัต-ติรมิซีย์ หมายเลข 500) หุก่มการละหมาดเมื่อวันอีดตรงกับวันศุกร์ หากวันอีดตรงกับวันศุกร์ อนุนลมส าหรับผู้ที่ละหมาดอีดแล้วให้ขาดละหมาดญุมุอะฮฺได้ นดยให้เขา ละหมาดซุฮฺริแทน นอกจากผู้ที่เป็นอิมามซึ่งไม่อนุนลมให้ขาดได้ เช่นเดียวกันกับผู้ที่ยังไม่ได้ละหมาดอีดก็ไม่ อนุนลมให้ขาดละหมาดญุมุอะฮฺ แต่หากผู้ที่ละหมาดอีดแล้วไปละหมาดญุมุอะฮฺอีกก็ถือว่าการละหมาดของเขา ใช้ได้นดยไม่ต้องละหมาดซุฮฺริอีกแล้ว การละหมาดในเวลาเดินทาง อัลเลาะห์ตาอาลาตรัสว่า : "และพระองค์ไม่ได้ก าหนดให้เกิดความล าบากเหนือพวกท่านในศาสนา" (อัลฮัจย : คืออัลเลาะห์ตาอาลา ไม่ได้บัญญัติข้อก าหนดต่าง ๆ ของศาสนาที่จะท าให้เกิดความยุ่งยากและสับสน วุ่นวายแก่พวกท่านขณะที่มุสลิมตกอยู่ในความคับแคบ อัลเลาะห์ตาอาลาจะเปิดทางที่กว้างขวางให้แก่พวก เขา เพื่อให้ข้อก าหนดต่าง ๆ ของศาสนาเป็นที่ยอมรับและสามารถที่จะปฏิบัติได้ การเดินทางถือเป็นส่วนหนึ่งของการลงนทษ ขณะเดินทางอยู่นั้นมนุษย์จะสูญเสียความสงบและ ความสุขสบายไป ไม่ว่าจะใช้พาหนะชนิดใดในการเดินทางก็ตาม และไม่ว่าจะเดินทางไปเพื่อกิจการใดก็ ตาม ด้วยเหตุนี้อัลเลาะห์ตาอาลาจึงยอมผ่อนผันข้อก าหนดต่าง ๆ ของศาสนาแก่ผู้เดินทางอย่างมากมาย อาทิ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 87 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เช่น ละหมาดเป็นต้น ดังนั้นในบทนี้เราจะได้ศึกษาวิธีการผ่อนผัน เงื่อนไขในการผ่อนพันและวิธีการที่จะ ได้รับประนยชน์จากการผ่อนผันนั้น ละหมาดของคนเดินทางเป็นอย่างไร : อัลเลาะห์ตาอาลา ได้ผ่อนผันแก่คนเดินทางในเรื่องละหมาดของเขาสองประการคือ : หนึ่ง : ย่อจ านวนรอกาอัตของละหมาด เรียกว่า "กอสร์" สอง : รวมสองละหมาดมาปฏิบัติในเวลาละหมาดเดียวกัน เพื่อให้คนเดินทางมีเวลาในการเดินทาง และมีเวลาว่างมากขึ้น เรียกว่า "ญัมอฺ" หนึ่ง : ย่อละหมาด คือการย่อละหมาดชนิดที่มีสี่รอกาอัต เช่น ดุห์ริ , อัสริ , และอิชาอฺ เหลือเพียงสองรอกาอัต ดังจะ ได้อธิบายต่อไป หลักฐานในการบัญญัติกอสร์ คือ ค าด ารัสของอัลเลาะห์ตาอาลาที่ว่า : "และเมื่อท่านทั้งหลาย เดินทางไปใหนหน้าแผ่นดิน จะไม่มีบาปใด ๆ ตกอยู่กับพวกท่าน การที่ท่านทั้งจะย่อละหมาด" ( อันนิซาอฺ : 101) มุสลิม (686) และผู้อื่น ได้รายงาน จากยะอฺลา บุตร อุมัยยะห์ ได้กล่าวว่า : ฉันได้ถามอุมัร บุตร ค๊อตต๊อบ (ร.ด.) ว่า : (ที่อัลกุรอานกล่าวว่า : ) "จะไม่มีบาปใด ๆ ตกอยู่กับพวกท่าน การที่ท่านทั้งหลายจะย่อ ละหมาด ถ้าหากพวกท่านกลัวว่า พวกผู้ไร้ศรัทธาจะสร้างความปั่นป่วนกับพวกท่าน" และบัดนี้ประชาชนมี ความปลอดภัยดีแล้ว? อุมัรตอบว่า ฉันก็แปลกใจเช่นเดียวกับที่ท่านแปลกใจ ฉันได้ถามท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ (ซ.ล.) ถึงเรื่องดังกล่าว และท่านก็ตอบว่า : "เป็นซอดาเกาะห์ (ทาน) ที่อัลเลาะห์มอบให้พวกท่านดังนั้นพวก ท่านทั้งหลายจงรับซอดาเกาะห์ของพระองค์เถิด" ฮะดิษนี้ชี้ว่าการย่อละหมาดไม่ได้จ ากัดอยู่แต่เพียงในกรณีที่กลัวเท่านั้น และเพื่อให้การย่อละหมาด ใช้ได้จ าเป็นจะต้องรักษาเงื่อนไขต่าง ๆ ต่อไปนี้ : 1. ละหมาดนั้นตกหนักอยู่กับตัวเขาขณะเดินทาง , และเขาจะต้องน าละหมาดนั้นมาปฏิบัติในขณะ เดินทางอีกด้วย : ดังนั้นจะไม่เข้าอยู่ในเงื่อนไขดังกล่าว ละหมาดที่เข้าเวลาแล้วก่อนที่จะเดินทาง และเขาได้เดินทางไป ก่อนจะท าละหมาดนั้น , ดังนั้นจะไม่ยินยอม ให้ผู้เดินทางย่อละหมาดดังกล่าว เพราะเขายังไม่ได้เป็นผู้ เดินทาง ขณะที่ละหมาดนั้นวาญิบเหนือตัวเขาและขณะที่ละหมาดนั้นตกหนักอยู่กับตัวเขา และไม่เข้าอยู่ในเงื่อนไขดังกล่าวอีกเช่นกัน ละหมาดที่เข้าเวลาแล้วขณะที่เขาเป็นผู้เดินทาง แต่เขา ไม่ได้ท าละหมาดนั้น จนกระทั่งกลับสู่ภูมิล าเนาของเขา ก็ไม่ยินยอมให้เขาย่อละหมาดนั้น เพราะขณะที่น า ละหมาดนั้นมาปฏิบัติเขาไม่ใช่เป็นผู้เดินทางแล้ว และเพราะการย่อละหมาดนั้นยินยอมให้แก่ผู้ที่เดินทาง เท่านั้น 2. เขาจะต้องพ้นเขตก าแพงเมืองที่เขาเดินทางออกไป หือพ้นเขตชุมชน ถ้าหากเมืองนั้นไม่มีก าแพง เพราะถือว่าผู้ที่ยังอยู่ในก าแพงหรืออยู่ในเขตชมชนไมใช่เป็นผู้เดินทาง หมายความว่า การเดินทางจะเริ่มต้น ตั้งแต่พ้นเขตดังกล่าว เช่นเดียวกับการสิ้นสุดการเดินทาง เมื่อผู้เดินทางกลับมาถึงเขตดังกล่าว เขาก็จะย่อ ละหมาดไม่ได้ นอกจากละหมาดที่ตกหนักอยู่กับตัวเขา แต่ต้องกระท าในช่วงนี้


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 88 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา บุคอรี ( 1039) และมุสลิม (690) ได้รายงานจากอะนัส (ร.ด.) ว่า : ฉันได้ละหมาดดุห์ริกับท่านนบี (ซ.ล.) ที่มะดีนะฮ์สี่รอกาอัต และละหมาดอัสริที่ซุ้ลฮุลัยฟะห์สองรอกาอัต" ซุ๊ลฮุลัยฟะห์อยู่นอกเขตชุมชนของ มะดีนะห์ 3. ผู้เดินทางจะต้องไม่ตั้งเจตนาพ านักอยู่เป็นเวลาสี่วัน นอกจากวันที่เดินทางเข้าและเดินทาง ออก ในถิ่นที่เขาเดินทางไป ถ้าหากเขาตั้งเจตนาเช่นนั้น เมื่อที่เขาเดินทางไปนั้นก็จะกลายเป็นภูมิล าเนาและถิ่นพ านักของเขาที่จะ ไม่ยินยอมให้เขาย่อละหมาดในเมืองนั้น สิทธิการย่อละหมาดส าหรับเขาจะคงอยู่เฉพาะขณะเดินทางเท่านั้น ส าหรับกรณีที่ผู้เดินทางตั้งเจตนาจะพ านักอยู่น้อยกว่าสี่วัน หรือเขาไม่รู้จะพ านักอยู่ในเมืองนั้นกี่ วัน เพื่อท างานบางอย่างที่เขาก็ไม่รู้ว่าจะท าเสร็จเมื่อไหร่ ให้เขาย่อละหมาดได้ในกรณีแรกจนกว่าเขาจะกลับ เข้าเขตชุมชนในถิ่นเดิมของเขา และย่อละหมาดได้ในกรณีที่สองเป็นเวลาสิบแปดวันนอกจากวันที่เขาเดิน ทางเข้าและเดินทางออก อบูดาวูด (1229) ได้รายงาน จากอิรอน บุน อุซอยน์ (ร.ด.) ได้กล่าวว่า : "ข้าพเจ้าได้ ออกไปท าสงครามร่วมกับท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ (ซ.ล.) และได้มาปรากฏตังพร้อมกับท่นในการเข้าพิชิตมักกะห์ (อัลฟัตฮ์) ท่านได้พ านักที่มักกะห์เป็นเวลาสิบแปดคืน นดยท่านไม่ได้ละหมาดใดนอกจากละหมาดสองรา กาอัต" เพราะท่านนบี (ซ.ล.) ได้พ านักในเวลาดังกล่าวนี้ที่มักกะฮ์ในปีที่เข้าพิชิตมักกะฮ์ เพื่อรบกับพวกฮาวา ซิน ท่านจึงย่อละหมาด นดยท่านไม่รู้ก าหนดเวลาที่จะต้องอยู่ที่มักกะห์ว่าเป็นเวลากี่วัน 4. จะต้องไม่ละหมาดตามผู้ที่ไม่ได้เดินทาง ดังนั้นถ้าหากผู้ที่เดินทางละหมาดตามผู้ไม่ได้เดินทาง เขา ก็จ าเป็นจะต้องละหมาดให้ครอบสมบูรณ์จะย่อละหมาดไม่ได้ ส่วนในกรณีกลับกัน ไม่มีข้อห้ามที่เขาจะย่อละหมาด คือผู้เดินทางเป็นอิมามน าละหมาดผู้ไม่ได้ เดินทาง ยินยอมให้ผู้เดินทางย่อละหมาดได้และสุนัตให้ผู้เดินทางที่เป็นอิหม่าม เมื่อได้สลามในรอกาอัตที่สอง แล้ว รีบบอกแก่ผู้ที่ตามนดยกล่าวแก่พวกเขาว่า : "พวกท่านจงละหมาดให้ครบสมบูรณ์เถิด เพราะฉันเป็นคน เดินทาง" หลักฐานในเรื่องนี้ก็คือฮะดิษที่อะห์มัด ได้รายงานด้วยสายรายงานที่ซอเฮียะห์ จากอิบนุอับบาส (ร.ด.) ว่าเขาถูกถามว่า : "ท าไมคนเดินทางจึงละหมาดสองรอกาอัต เมื่อละหมาดคนเดียวและสี่รอกาอัตเมื่อ ละหมาดตามผู้ที่ไม่ได้เดินทาง? เขาตอบว่า : "นั่นคือซุนนะห์" และได้ปรากฏในฮะดิษ อิมรอน (ร.ด.) ที่ผ่าน มาแล้ว และท่านนบีจะกล่าวว่า : "ชาวเมืองเอ๋ย พวกท่านจงละหมาดสี่รอกาอัตเถิด เพราะพวกเราเป็นพวก ที่เดินทาง" สอง : รวมละหมาด ซึ่งความหมายของการรวมละหมาดได้กล่าวมาแล้ว บุคอรี (1056) ได้รายงานจาก อิบนิอับบาส (ร.ด.) ได้กล่าวว่า : ท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ (ซ.ล.) ได้รวมละหมาดดุห์ริ กับละหมาดอัสริเมื่อท่านอยู่ระหว่าง เดินทาง และรวมละหมาดมัฆริบกับอิชาอฺ" และมุสลิม (705) ได้รายงานจากเขา (อิบนุอับบาส) ว่า : ท่านนบี (ซ.ล.) ได้รวมละหมาดในการ เดินทางครั้งที่พวกเราได้เดินทางในสงครามตะบูก และท่านได้รวมละหมาดดุห์ริกับละหมาดอัสริ , และมัฆริบ กับอีชาอ์ , สะอีด บุตร ญุบัยร์ รอฮิมะฮุ้ลลลอฮ์ได้กล่าวว่า : ข้าพเจ้าได้ถามอิบนุอับบาสว่า : อะไรท าให้ท่าน กระท าเช่นนั้น? เขาตอบว่า "ท่านนบีปรารถนา ไม่ให้เกิดความคับแคบกับประชากรของท่าน" การละหมาดแบ่งออกเป็นสองแผนก : รวมก่อน คือ น าละหมาดที่อยู่ในเวลาถัดไปมารวมไว้ในเวลาแรก และรวมหลัง คือ น าละหมาดที่อยู่ในเวลาแรกไปรวมละหมาดไว้ในเวลาที่สอง


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 89 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา อบูดาวูด (1208) ติรมีซี (553) และผู้อื่น ได้รายงาน จากมุอ๊าซ (ร.ด.) ว่า : ท่านนบี (ซ.ล.) ขณะอยู่ ในสงครามตะบูก , เมื่อท่านออกเดินทางก่อนตะวันขึ้น ท่นาจะร่นละหมาดดุห์ริออกไป จนน าไปรวมกันกับ ละหมาดอัสริ และท่านได้ละหมาดทั้งอัสริรวมในเวลาเดียวกัน และเมื่อท่านจะออกเดินทางหลังจากตะวัน คล้อย ท่านได้ละหมาดดุห์ริและอัสริรวมในเวลาเดียวกัน แล้วจึงออกเดินทาง และเมื่อท่านจะเดินทาง ก่อนมัฆริบ ท่านจะร่วมมัฆริบออกไปจนน าไปละหมาดรวมกับละหมาดอิชาอฺ และเมื่อได้เดินทางหลัง ละหมาดมัฆริบ ท่านได้รีบน าละหมาดอิชาอฺมา และได้น าอิชาอฺมาละหมาดรวมในเวลามัฆริบ ละหมาดที่น ามารวมในเวลาเดียวกันได้ : เป็นที่ทราบก่อนแล้วว่า ละหมาดที่จะน ามารวมในเวลาเดียวกันได้ก็คือ ละหมาดดุห์ริกับอัสริ , มัฆ ริบกับอิชาอฺ ดังนั้นจะน าละหมาดซุบฮิไปรวมกับละหมาดที่อยู่ก่อน (คืออิชาอฺ) หรือกับละหมาดที่อยู่หลัง (คือ ละหมาดดุห์ริ) ไม่ได้ เช่นเดียวกับที่จะรวมละหมาด อัสริกับมัฆริบไม่ได้ ในการละหมาดรวม ไม่ว่าจะเป็นรวมก่อน และรวมหลัง มีเงื่อนไขหลายประการที่จะต้องรักษา ดังต่อไปนี้ เงื่อนไขของรวมก่อน : หนึ่ง : ต้องเรียบเรียงระหว่างละหมาดทั้งสองตามล าดับ : นดยต้องเริ่มที่ละหมาดประจ าเวลาก่อน , แล้วจึงน าอีกละหมาดหนึ่งมารวม สอง : ต้องรวมละหมาดที่สองกับละหมาดแรกก่อนละหมาดแรกเสร็จ สาม : ต้องปฏิบัติละหมาดทั้งสองติดต่อกัน นดยต้องรีบละหมาดที่สองทันทีที่ละหมากแรกเสร็จ และสลามจากละหมาดแรกแล้ว , จะต้องไม่ให้มี สิ่งใด ไม่ว่าจะเป็นซิเกร หรือละหมาดสุนัต หรืออื่น ๆ มาคั่นระหว่างละหมาดทั้งสอง และถ้าหากมีสิ่งหนึ่งที่ ยาวนานตามประเพณีมาคั่นระหว่างละหมาดทั้งสอง หรือร่นละหมาดที่สองออกไป นดยตัวเองไม่ได้ยุ่งพะวง อยู่กับสิ่งใดก็ถือว่าเสียการรวมนั้น และจ าเป็นต้องร่นละหมาดที่สองไปปฏิบัติในเวลาของมัน ซึ่งทั้งหมดนั้น เป็นการปฏิบัติตามท่านนบี (ซ.ล.) บุคอรี (1041) ได้รายงาน จากอิบนุอุมัร (ร.ด.) ได้กล่าวว่า : ฉันเห็นท่านนบี (ซ.ล.) ขณะที่ท่านต้อง เร่งรีบในการเดินทาง ท่านร่นละหมาดมัฆริบออกไป และน าไปละหมาดสามรอกาอัต หลังจากนั้นท่านจะสะ ลาม , นิ่งอยู่ไม่นานท่านจะหยุด แต่จะอิกอมะห์ละหมาดอิชาอฺ และท่านก็จะละหมาดอิชาอฺสองรอ กาอัต แล้วท่านจึงให้สลาม สี่ : การเดินทางจะต้องยังคงมีอยู่ จนกว่าจะได้ปฏิบัติละหมาดที่สอง , หมายความว่า จะไม่มีผลเสีย ถ้าหากเขาเข้าเขตเมือง ขณะที่ก าลังละหมาดที่สองอยู่ เงื่อนไขการรวมหลัง : หนึ่ง : จะต้องเหนียตเอาละหมาดแรกไปรวมไปเวลาหลัง นดยการเหนียตนั้นจะต้องอยู่ในเวลา แรก ถ้าหากหมดเวลาดุห์รินดยที่เขาไม่ได้เหนียตเอาละหมาดดุห์ริไปรวมกับละหมาดอิสริในเวลาอิสริ แล้ว ละหมาดดุห์ริก็จะตกหนักอยู่บนเขา และต้องน ามาปฏิบัติเป็นละหมาดกอดออฺ และมีบาปที่ท าให้ ละหมาดออกนอกเวลาของมัน สอง : การเดินทางจะต้องยังมีอยู่จนกว่าจะเสร็จละหมาดทั้งสองนดยสมบูรณ์ ถ้าหากเขาหมดสภาพ การเป็นคนเดินทางก่อนเสร็จละหมาดทั้งสอง ละหมาดที่สองนั้นตกเป็นละหมาดกอดออฺ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 90 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา ส าหรับในกรณีของการรวมหลังนี้ ไม่มีเงื่อนไขว่าจะต้องปฏิบัติเรียบเรียงกันไป แต่เขาจะเริ่มด้วย ละหมาดใดก่อนก็ได้และเช่นเดียวกับการกระท าอย่างต่อเนื่อง - ในที่นี้ - ก็ถือว่าเป็นสุนัต ไม่ใช่เป็นเงื่อนไขที่ จะท าให้การรวมละหมาดใช้ได้ เงื่อนไขการเดินทางที่อนุญาตให้ย่อและรวมละหมาด : เงื่อนไขที่หนึ่ง : การเดินทางจะต้องเป็นการเดินทางไกลถึงระยะทาง 81 กินลเมตร หรือเกินกว่านั้น จะไม่พิจารณาระยะทางที่ต่ ากว่านั้น บุคคอรีได้รายงานเป็นหะดิษ มุอัลลัก (ในเรื่องการย่อละหมาด , ในบทที่ว่าด้วย : ระยะทางเท่าไหร่จึง ย่อละหมาด) ว่า : อิบนุอุมัร และอิบนุอับบาส (ร.ด.) ได้ย่อละหมาดและได้ละศีลอด ในระยะทางสี่บะรีด คือ สิบหกฟัรซัค ซึ่งเท่ากับ 81 กินลเมตร นดยประมาณ และการกระท าของบุคคลเช่นคนทั้งสองนั้น เป็นการ กระท าตามความรู้ที่ได้รับมาจากท่านนบี (ซ.ล.) เงื่อนไขที่สอง : การเดินทางนั้นจะต้องมีจุดหมายปลายทางที่แน่นอน ดังนั้นจะไม่พิจารณาการ เดินทางของคนที่ไม่มีจุดหมายปลายทาง และไม่พิจารณาการเดินทางของผู้ที่ติดตามผู้น า ซึ่งไม่รู้ว่าผู้น าจะไป ที่ใหน และที่กล่าวนี้หมายความว่า ก่อนที่เขาจะเดินทางในระยะทางที่ไกล แต่ถ้าหากเขาเดินทางได้ระยะทาง ที่ไกลแล้ว เขาก็ย่อละหมาดได้ เพราะมั่นใจแล้วว่าเป็นการเดินทางไกล เงื่อนไขที่สาม : การเดินทางนั้นจะต้องไม่มีเป้าหมายในทางที่เป็นความชั่ว ถ้าหากเป็นการเดินทาง เพื่อเป้าหมายดังกล่าว ก็ไม่ถือเป็นการเดินทางที่อนุญาตให้รวมและย่อละหมาด เช่น คนที่เดินทางเพื่อ ค้าขายสุรา หรือเพื่อกิจการที่มีดอกเบี้ย (ริบา) หรือเพื่อปล้นสดมภ์ตามทาง เพราะการย่อละหมาดนั้นเป็นข้อ ผ่อนผันและข้อผ่อนผันนั้นบัญญัติขึ้นมาเพื่อการภักดี ด้วยเหตุนี้จึงไม่เกี่ยวข้องกับความชั่วต่าง ๆ การรวมละหมาดในขณะฝนตก ยินยอมให้รวมสองละหมาด กระท าในเวลาแรก ในขณะฝนตก บุคอรี (518) และมุสลิม (705) ได้รายงาน จากอิบนุอับบาส (ร.ด.) ว่า : ท่านนบี (ซ.ล.) ได้ละหมาดที่ มะดีนะฮ์ เจ็ดและแปด : ดุห์ริกับอัสริ , และมัฆริบ กับอิชาอฺ มุสลิมได้รายงานเพิ่มเติมว่า นดยไม่อยู่ในยาม หวาดกลัว และไม่ใช่อยู่ในการเดินทาง และที่บุคอรี : อัยยูบ ผู้รายงานคนหนึ่ง ได้กล่าวว่า อาจเป็นไปได้ว่า เป็นคืนที่มีฝนตก? เขาตอบว่าเป็นไปได้ และที่มุสลิม : อิบนุอับบาส (ร.ด.) ได้กล่าวว่า : ท่านประสงค์ไม่ให้คน ใดจากประชากรของท่านตกอยู่ในความคับแค้น และไม่ยินยอมให้การรวมละหมาดในเวลาของละหมาดที่สอง เพราะฝนอาจจะหยุดตกก็ได้ ก็จะเป็น ว่าเขาท าให้ละหมาดนอกเวลานดยไม่มีความจ าเป็นใด ๆ และเงื่อนไขในการรวมละหมาด มีดังต่อไปนี้ 1. ต้องเเป็นละหมาดญะมาอะฮ์ ในมัสยิดที่อยู่ห่างไกลตามประเพณีที่มุสลิมจะต้องได้รับความเดือน ร้อน ด้วยน้ าฝนขณะเดินตามทางไปมัสยิด 2. ฝนจะต้องตกอยู่ในตอนเริ่มต้นของละหมาดทั้งสอง และขณะที่สลามจากละหมาดแรก


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 91 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา วันอีด วันอีด เป็นวันส าคัญทางศาสนาวันหนึ่งที่เราไม่สามารถก าหนดขึ้นเองได้นอกจากได้รับการถ่ายทอดมา จากท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เท่านั้น ทั้งด้านวันเวลา พิธีกรรม และวิธีการต้อนรับและเฉลิมฉลอง ในศาสนาอิสลามมีวันส าคัญอยู่ 2 วัอ ซึ่งพอสังเขปได้ดังนี้คือ 1. อีดิลฟิฏรฺ อีดิลฟิฏรฺ เป็นวันแรกของการออกจากเทศกาลถือศีลอดของชาวมุสลิม (วันที่ 1 ของเดือนเชาวาล) เป็นวันแห่งรางวัลและการตอบแทนส าหรับผู้ที่ผ่านการทดสอบประจ าปีในเดือนเราะมะฎอน ด้วยการบังคับ ตัวเองด้วยจิตศรัทธาที่มุ่งมั่น จากการกินดื่ม อยู่ในความส ารวมตนลดละกิเลสตัณหา และยืนฟังการอ่านอัลกุ รอ่านในละหมาดตะรอวีหฺเป็นเวลาเกือบหนึ่งชั่วนมงเต็มตลอดค่ าคืนของเดือนเราะมะฎอน พร้อมทั้งฝึกฝนด้านความนอบอ้อมอารีและความมีจิตเมตตาและกรุณาต่อผู้ที่ด้อยนอกาสและอ่อนแอ กว่า ในช่วงเดือนเราะมะฎอนเป็นเวลาหนึ่งเดือนเต็ม เพื่อขัดเกลาตนเองทั้งกายใจ ดังนั้นหลังจากที่พวกเขาส าเร็จออกจากเบ้าหลอมแห่งการทดสอบพร้อมกับจิตส านึกแห่งมนุษยธรรมที่ เปี่ยมล้น อิสลามจึงประกาศให้วันนี้เป็นวันอีด(วันแห่งเทศกาลการเฉลิมฉลอง)ที่ยิ่งใหญ่ของพวกเขาพร้อมกับสั่ง ให้มีการบริจาคทานแก่บรรดาผู้ที่ขัดสน ซึ่งเป็นที่รู้จักในนามของ “ซะกาตฟิฏเราะฮฺ” ควบคู่ไปกับการละหมาด อีด อัลลอฮฺได้ตรัสว่า َٰ ى َّ ل َ َص ف ِ ِّه ب َ ر َ م ْ اس َ ذََكر َ َٰ و َّكى ََز ن ت َ م َ ْلَح َْد أَف ق ความว่า “แท้จริง ย่อมประสบความส าเร็จแล้ว นั่นคือผู้ที่ขัดเกลาตัวเองให้บริสุทธิ์(ด้วยการถือศีลอด และบริจาคทาน) และกล่าว (สรรเสริญ)พระนามของอัลลอฮฺ พร้อมทั้งด ารงการละหมาด (อีดิลฟิฏรฺ)”7 2. อีดิลอัฎฮา อีดิลอัฎฮาคือวันที่ 10 ของเดือนซุลหิจญะฮฺซึ่งเป็นวันที่ถัดจากวันอะเราะฟะฮฺหนึ่งวัน และเป็นวันส่ง ท้ายของสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺที่การปฏิบัติศาสนกิจในวันดังกล่าวจะมีความประเสริฐที่สุด และอัลลอ ฮฺจะพึงพอใจที่สุด เพราะเป็นวันหัจญ์อักบัรฺ (หัจญ์ใหญ่) นบีมุหัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “ไม่มีวันใดๆที่การปฏิบัติ(ความดีและศาสนกิจ)จะเป็นที่ชอบใจของอัลลอฮฺมากกว่าการปฏิบัติในสิบ วัน(แรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ)...”8 “วันที่ประเสริฐที่สุด ณ อัลลอฮฺคือวันนะหัรฺ(วันอีดิล-อัฎฮา)”9 “วันนะหัรฺคือวันหัจญ์อักบัรฺ” 10 ถึงแม้ว่าอีดิลอัฎฮาจะตรงกับวันที่ 10 ของเดือนซุลหิจญะฮฺก็ตาม แต่ด้วยความยิ่งใหญ่ของอีดิลอัฎฮา (ซึ่งเป็นอีดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบปี และยิ่งใหญ่กว่าวันอีดิลฟิฏรฺ) 11 อิสลามจึงได้ผนวกเอาวันที่ 9 ซุลหิจญะฮฺ 7 อัล-อะอฺลา (14-15) และดูค าอธิบายของอบูสะอี๊ด อัล-คุดรีย์และ อิบนุอุมัรฺ ใน ญามิอุลบะยาน 20/156-157, มะอาลิมุล ตันซีล 4/477 8 อัล-บุคอรีย์1:246, อบูดาวูด (2438), อัต-ติรฺมิซีย์(757) 9 อะหฺมัด 4/350, อบูดาวูด (1765), อิบนุคุซัยมะฮฺ4/294, อิบนุหิบบาน (2800) 10 มุสลิม (1347) 11 ดูค าพูดของอิบนุรอญับ ใน ละฏออิฟ อัล-มะอาริฟ (482)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 92 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา หรือวันอะเราะฟะฮฺ และวันที่ 11-13 ซุลหิจญะฮฺ หรือวัน ตัชฺรีก เข้ากับวันอีดิลอัฎฮาด้วย ดังนั้นเทศกาลวัน อีดิลอัฎฮาจึงมีทั้งหมด 5 วัน ด้วยกัน12 ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กล่าวว่า “วันอะเราะฟะฮฺวันเชือดกุรบาน(วันอีดิลอัฎฮา) และ วันตัชฺรีกทั้งสามเป็นวันอีดของเราชาวมุสลิม เป็นวันแห่งการกินและดื่ม” 13 เพียงแต่อิสลามส่งเสริมให้ชาวมุสลิมที่ไม่ได้ท าหัจญ์ถือศีลอดในวันอะเราะฟะฮฺ14 นอกจากบรรดา ฮุจญาตที่ก าลังท าพิธีกรรมอยู่ ณ ทุ่งอะเราะฟะฮฺเท่านั้นที่ส่งเสริมให้กินดื่มในวันนี้ เพื่อที่จะได้มีแรงในการ ปฏิบัติศาสนกิจอันหนักหน่วงในพิธีกรรมหัจญ์15 การปฏิบัติตนในวันอีด 1. ห้ามถือศีลอดในวันอีด อบูสะอี๊ด อัล-คุดรีย์กล่าวว่า “ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ-วะสัลลัม ห้ามไม่ให้ถือศีลอดในวันอีดิลฟิฏรฺและวันนะหัรฺ(วันอีดิล-อัฎฮา)”16 อุมัรฺอิบนุอัล-ค็อฏฏอบ กล่าวในคุฏบะฮฺอีดว่า “นอ้พวกท่านทั้งหลาย แท้จริง ท่านรอซูล ศ็อลลัลลอ ฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้ห้ามพวกท่านไม่ให้ถือศีลอดในสองวันอีด วันแรกเป็นวันที่พวกท่านออกจากการถือศีลอด และอีกวันหนึ่งเป็นวันที่พวกท่านกินเนื้อกุรบาน” 17 อิมาม อัน-นะวะวีย์กล่าวว่า “บรรดาอุละมาอฺต่างมีมติเป็นเอกฉันท์ว่าห้ามถือศีลอดในวันอีดทั้งสอง อย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นการถือศีลอดนะซัรฺ (การบนบานต่อพระผู้เป็นเจ้า) หรือสุนัต หรือชดเชย (กัฟฺฟา เราะฮฺ) หรืออื่นๆ ก็ตาม ถึงแม้ว่าเขาจะเจาะจงนะซัรฺถือศีลอดในสองวันนี้ก็ตาม ตามทัศนะของมัซฮับชาฟิอีย์ และอุละมาอฺส่วนใหญ่ไม่ถือว่าการนะซัรฺของเขามีผลบังคับให้เขาต้องถือศีลอด และไม่จ าเป็นต้องถือศีลอด ชดเชยด้วย” 18 เช่นเดียวกับวันตัชฺรีกทั้งสาม เพราะมันรวมอยู่ในบรรดาวันอีดิลอัฎฮาด้วย ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวไว้ความว่า “พวกเจ้าจงอย่าถือศีลอดในวันเหล่านี้ (หมายถึง วันตัชฺรีก) เพราะแท้จริงวันเหล่านั้นเป็นวันแห่งการกินดื่มและวันกล่าวร าลึกถึงอัลลอฮฺ” 19 2. กล่าวตักบีรฺ ตักบีรฺเป็นค ากล่าวหลักของวันอีดทั้งสอง ดังนั้นจึงต้องกล่าวตักบีรฺให้มากๆ ในคืนวัน อีดทั้งสอง ทั้งที่บ้าน ในมัสญิด และตามถนนหนทาง เพื่อเป็นการป่าวประกาศไปทั่วทุกซอกซอย ถึงชัยชนะ และความต้อนรับการมาเยือนของวันอีด นดยเฉพาะในวันอีดิลฟิฏรฺ20 เพราะ อัลลอฮฺได้มีด ารัสว่า ْ كم ا َ د َ ا ه َ م َٰ لَى َ ع َ ه َّ وا الل ر ِّ َكب ت ِ ل َ و ความว่า “และเพื่อที่พวกเจ้าจะได้กล่าวตักบีรฺ (ประกาศความเกรียงไกร) แด่อัลลอฮฺ ในสิ่งที่พระองค์ ได้ทรงชี้ทางแก่พวกเจ้า” 21 12 ด้วยเหตุนี้วันตัชฺรีกจึงเป็นวันที่ไม่อนุญาตให้ถือศีลอด และเป็นวันที่อนุญาตให้ท าการเชือดสัตว์กุรบานต่อเนื่องจากวันอีดหรือวันนะหัรฺอีกด้วย (ชัรหฺ เศาะฮีหฺ มุสลิม 6/184) 13 อะหฺมัด 4/152, อบูดาวูด (2419), อัต-ติรฺมิซีย์(773), อัน-นะสาอีย์5/252 (33) อัล-บุคอรีย์2/702, มุสลิม 2/791 จากหะดีษฺของอุมมุลฟัฎลฺ บินตุอัล-หาริษฺ 14 ดูบทความของห้องสมุดอิกเราะอฺเรื่อง “ซุลหิจญะฮฺเดือนแห่งการแสวงหา” ใน www.iqraOnline.org และ www.muslimthai.com 15 อัล-บุคอรีย์2/702, มุสลิม 2/791 จากหะดีษฺของอุมมุลฟัฎลฺ บินตุอัล-หาริษฺ 16 อัล-บุคอรีย์(1991), มุสลิม (827) 17 อัล-บุคอรีย์(4519) 18 ชัรหฺ เศาะฮีหฺ มุสลิม 8/15 19 (39) อะหฺมัด (10286) และซิลซิละตุล อะหาดีษ อัศ-เศาะฮีหะฮฺของ อัล-อัลบานีย์(3573) 20 อัล-มุฆนีย์3/278, อิรวาอุลเฆาะลีลฺ3/122


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 93 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 2.1 ตักบีรฺในวันอีดิลฟิฏรฺ การกล่าวตักบีรฺในวันอีดิลฟิฏรฺ จะเริ่มต้นเมื่อตะวันลับขอบฟ้าของวันสุดท้ายของเดือนเราะมะฎอน และจะสิ้นสุดลงเมื่อเริ่มท าการละหมาดอีด ซึ่งจะส่งเสริมให้กล่าวตักบีรฺในทุกๆสถานที่ นดยเฉพาะในช่วงเช้า ของวันอีด ตลอดระยะทางสู่สนามละหมาด ส่วนการกล่าวตักบีรฺหลังละหมาดฟัรฎฏหรือตักบีรฺมุก็อยยัดนั้นไม่ส่งเสริมให้กระท าในวันอีดิลฟิฏรฺ ตาม ทัศนะของอุละมาอฺส่วนใหญ่ และมัซฮับชาฟิอีย์ เพราะไม่ปรากฏหลักฐานจากท่านนบี ศ็อลลัลลอฮุ-อะลัยฮิ วะสัลลัม และบรรดาสะลัฟรุ่นแรกว่ามีการปฏิบัติกันเช่นนั้น 2.2 ตักบีรฺในวันอีดิลอัฎฮา เนื่องในนอกาสวันอีดิลอัฎฮา จะเริ่มตั้งแต่วันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ ตามทัศนะที่ถูกต้อง และจะด าเนินไปจนถึงเย็นของวันที่ 13 ซุลหิจญะฮฺซึ่งเป็นวันสุดท้ายของวันตัชฺรีก มี หลักฐานจากพระด ารัสของอัลลอฮฺว่า ٍت ا َ ل وم ْ مل َّ َّامٍ ِِف أَي ِ ه َّ الل َ م ْ وا اس ْذ كر َ ي َ و ความว่า “และเพื่อพวกเขาจะได้ร่วมกล่าวพระนามของอัลลอฮฺในบรรดาวันที่เป็นที่รู้กัน” 22 ค าว่า “บรรดาวันที่เป็นที่รู้กัน” ในที่นี้หมายถึง 10 วันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺ ตามทัศนะของอิบนุ อับบาส ซึ่งปัจจุบันเราแทบจะพูดได้ว่าซุนนะฮฺนี้ถูกลืมไปแล้วและมีมุสลิมน้อยคนที่ปฏิบัติกัน มีรายงานจากหะดีษฺมุอั๊ลลัก (หะดีษฺที่ไม่ระบุสายรายงาน) ของอัล-บุคอรีย์ว่า “อิบนุ อุมัรฺและอบู ฮุร็อยเราะฮฺ ได้เดินออกไปยังตลาดในสิบวันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺพร้อมกับกล่าวตักบีรฺ และผู้คนต่างก็กล่าว ตักบีรฺตามทั้งสองคน” อัลลอฮฺได้ตรัสว่า ٍت ا َ ود ْد مل َّ َّامٍ ِِف أَي َ ه َّ وا الل اذْ كر َ و “และพวกเจ้าจงกล่าวระลึกถึงอัลลอฮฺในบรรดาวันที่ถูกนับไว้” 23 ค าว่า “บรรดาวันที่ถูกนับไว้” ในที่นี้หมายถึง วันที่ 11-13 หรือวันตัชฺรีก ตามทัศนะของอุละมาอฺส่วน ใหญ่24 ส่วนการกล่าวตักบีรฺมุก็อยยัดหรือตักบีรฺหลังละหมาดฟัรฎฏในวันอีดิลอัฎฮานั้น จะเริ่มต้นตั้งแต่เช้าของ วันอะเราะฟะฮฺจนถึงเย็นของวันที่ 13 ซุลหิจญะฮฺ (หลังละหมาดอัศริในวันสุดท้ายของวันตัชฺรีก) 25 เพราะท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวไว้มีความว่า “บรรดาวันตัชฺรีก เป็นวันของการ กินดื่มและวันแห่งการกล่าวร าลึกถึงอัลลอฮฺ” 26 2.3 การตักบีรฺของสตรี ส่วนสตรีก็ส่งเสริมให้กล่าวตัรบีรเช่นเดียวกับบุรุษ แต่ควรกล่าวตักบีรฺด้วยน้ าเสียงที่พอเหมาะกับพวก นาง 27 21 อัล-บะเกาะเราะฮฺ (185) 22 อัล-หัจญ์(28) 23 อัล-บะเกาะเราะฮฺ (203) 24 ดูทัศนะของอุละมาอฺใน ญามิอุล บะยาน 2/176-177, อัล-ญามิอฺลิอะหฺกามิลกุรอาน 1/3, อัล-บะหฺรุลมุหีฏ 2/109-110, อัหกามุลกุรอาน ของ อิบนุล-อะเราะบีย์1/125,315 25 อัล-มัจญ์มูอฺ5/39-43 26 ดูหะดีษฺอุมมุอะฏิยะฮฺ ใน อัล-บุคอรีย์(971), มุสลิม (890) 27 ชัรหฺ เศาะฮีหฺ มุสลิม 8/15


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 94 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 2.4 ส านวนของตักบีรฺ ยังไม่พบรายงานที่น่าเชื่อได้เกี่ยวกับส านวนตักบีรฺของท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในวันอีด แต่ก็มีส านวนตักบีรฺที่มีสาย รายงานที่น่าเชื่อถือได้จากเศาะหาบะฮฺบางท่าน ดังนี้คือ ُد ْ َحم ْ ال ِ َِّللَّ َ َْبُ و كْ َ َْبُ ا ََُّّلل أ كْ َ ََُّّلل أ اَ َ ََّل ا ََُّّلل ، و ََلَ ا َْبُ ، ََل ا كْ َ َْبُ ا ََُّّلل أ كْ َ ا ََُّّلل أ อัลลอฮุอักบัร อัลลอฮุอักบัร ลาอิลาฮะ อัลลัลลอฮุ วัลลอฮุอักบัร อัลลอฮุอักบัร วะลิลลาฮิลฮัม ความว่า “อัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่ อัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่ (อัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่) 28 ไม่มีพระเจ้าที่แท้จริง นอกจากอัลลอฮฺ และอัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่ อัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่ และมวลการสรรเสริญทั้งหลายเป็นเอกสิทธิ ของอัลลอฮฺ” 29 อิมาม อัช-ชาฟิอีย์ได้เสนอให้น าเอาส านวนการตักบีรฺของท่านนบีศ็อลลัลลฮุอะลัยฮิวะสัลลัม บนเขา ซอฟาและมัรฺวะฮฺ30 นั่นคือ ُد ُ ْعب ََلفَ َ ََّل ا ََُّّلل و ََلَ ا ـ ًل ، ََل ا ْ ِصي أ َ َ ًة و َ ر َُْ َن ِهللا ب ْ َحا ُ ب َس ا ، و ً ْر ي ثِ كَ ِ ُدَِّللَّ ْ َحم ْ ال َ ا ، و ً ْر ِبي َْبُ كَ كْ َ ا ََُّّلل أ َهَزَم َ َدُه ، و ْ فَ َُصَ َعب َ ْعَدُه ، و َ َ ْحَدُه ، َصَدَ و ََّل ا ََُّّلل و ََلَ ا ُ ْوَن ، ََل ا ََكفِر ْ ال َ ِره ْوكَ َ ل َ ْ َن و ََلُ ا ََّلي ِ ِصْنَ ََّيُه ُم ْخل ِ ََّلا ا َْبُ كْ َ ََُّّلل أ اَ َ ََّل ا ََُّّلل و ََلَ ا َ ْحَدُه ، ََل ا ْحَزا ُب و َ اْلْ ความว่า “อัลลอฮฺคือผู้เป็นที่สุดแห่งความยิ่งใหญ่ และการสรรเสริญอย่างมากมายเป็นเอกสิทธิ ของอัลลอฮฺ มหาบริสุทธิ์แด่อัลลอฮฺทั้งเช้าและเย็น ไม่มีองค์อภิบาลใดๆ ที่ควรแก่การภักดีนอกจากอัลลอฮฺ และ เราจะไม่เคารพภักดีนอกจากพระองค์แต่เพียงผู้เดียว ด้วยความบริสุทธิ์ใจต่อพระองค์ถึงแม้ว่าบรรดาผู้ปฏิเสธ จะชิงชัง ไม่มีองค์อภิบาลใดๆ ที่ควรแก่การเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺแต่เพียงพระองค์เดียว พระองค์ทรงเป็น ผู้ที่สัจในสัญญา และทรงช่วยเหลือบ่าวของพระองค์และทรงท าให้กลุ่มศัตรูพ่ายแพ้ด้วยพระองค์เพียงผู้เดียว ไม่ มีองค์อภิบาลใดๆที่ควรแก่การเคารพภักดีนอกจากอัลลอฮฺและอัลลอฮฺคือผู้ยิ่งใหญ่” 31 3. จ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺและเชือดสัตว์กุรบาน 3.1 หุก่มซะกาตฟิฏเราะฮฺ ก่อนที่จะละหมาดอีดิลฟิฏรฺ ทุกคนวาญิบต้องช าระซะกาตฟิฏเราะฮฺเสียก่อนไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือ ผู้ใหญ่ ทาสหรือไท หญิงหรือชาย32 (ส าหรับตนเอง ภรรยา ลูก และผู้ที่อยู่ใต้การดูแล) 33 ด้วยอาหารประจ า ท้องถิ่น (ข้าวสาร) คนละ 4 ลิตร34หรือประมาณ 2.5 กินล 3.2 ก าหนดเวลาจ่ายซะกาต ส าหรับการจ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺมีอยู่สองเวลา 1. เวลาที่วาญิบและประเสริฐที่สุด ซึ่งจะเริ่มต้นหลังจากตะวันลับขอบฟ้าของวันสุดท้ายของ เดือนเราะมะฎอน จนกระทั่งเดินทางออกจากบ้านสู่สนามละหมาด35 แต่ถ้าสามารถจ่ายในเช้าวันอีด ก่อน ด าเนินการละหมาดถือว่าประเสริฐที่สุด36 28 อิบนุอบีชัยบะฮฺ2/165 (เป็นส านวนที่เพิ่มเติมจากรายงานอีกสายหนึ่ง) 29 อิบนุอบีชัยบะฮฺ2/165 เป็นส านวนรายงานที่เป็นที่รู้จักมากกว่าส านวนรายงานข้างต้น (อิรฺวาอุล เฆาะลีลฺ3/125) 30 อัล-อุมม์1/401 31 อัล-อุมม์1/241, มุฆนิล มุหฺตาจญ์1/315 32 อัล-บุคอรีย์1/382, มุสลิม 3/70 33 อัด-ดาเราะกุฏนีย์(220), อัล-บัยฮะกีย์4/161 34 อัล-บุคอรีย์(1503, 1510), มุสลิม (984,985), อิบนุคุซัยมะฮฺ4/80, อัล-หากิม 1/408,410 35 ตะฮฺซีบ อัล-บะเฆาะวีย์3/125, เราเฎาะฮฺอัน-นะวะวีย์2/153


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 95 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา 2. เวลาที่อนุญาต หมายความว่าอนุญาตให้จ่ายซะกาตก่อนถึงเวลาที่วาญิบได้ประมาณ 1 หรือ สองวันตามแบบอย่างที่บรรดาเศาะหาบะฮฺปฏิบัติกัน37 3.3 ท าไมต้องมีการจ่ายซะกาต ส่วนหนึ่งของเหตุผลที่มีบัญญัติให้มีการจ่ายซะกาต คือ 1. เพื่อเพิ่มความสมบูรณ์ของศีลอดที่อาจจะมีความบกพร่อง เนื่องจากความสะเพร่า และการ พูดจาที่ไม่ดีเป็นต้น 2. เพื่อเป็นการช่วยเหลือผู้ที่ขัดสนและช่วยพวกเขาให้ไม่ต้องขอทานในวันนั้น38 3. เพื่อแสดงความขอบคุณต่ออัลลอฮฺที่ท าให้เราสามารถถือศีลอดด้วยดีตลอดเดือนเราะมะฎอ 4. เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความเอื้ออาทรและประสานความเป็นมิตรไมตรีในสังคมให้แน่นแฟ้ นยิ่งขึ้น นดยเฉพาะระหว่างคนรวยกับคนจน 3.4 อนุญาตให้จ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺด้วยเงินหรือไม่? อุละมาอ์ส่วนใหญ่ (มัซฮับมาลิกีย์ ชาฟิอีย์ และหันบะลีย์) ไม่อนุญาตให้จ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺด้วยเงิน แทนอาหาร และผู้ใดจ่ายซะกาตฟิฏเราะฮฺด้วยเงิน ซะกาตฟิฏเราะฮฺของเขาจะไม่ถูกรับ เพราะไม่มีหลักฐาน บ่งชี้ถึงการอนุญาต (อัลอุมม์ เล่ม 3 หน้า 104, อัลมุฆนีย์ เล่ม 4 หน้า 295) 3.5 การเชือดสัตว์กุรบาน ส่งเสริมให้บรรดาผู้ที่มีความสามารถจัดเตรียมสัตว์ไว้เชือดกุรบานหลังเสร็จจากการละหมาดอีดแล้ว และอีกสามวันหลังจากนั้น39 ท่านนบีศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ได้กล่าวไว้ว่า “ผู้ใดที่มีความสามารถในการ เชือดอุฎฺหิยะฮฺ(สัตว์กุรบาน) แต่เขาไม่กระท า ก็จงอย่าเข้าใกล้สนามละหมาดของฉัน” 40 นดยมีข้อแม้ว่า นับตั้งแต่วันแรกของเดือนซุลหิจญะฮฺไปจนเสร็จจากการเชือดกุรบาน ผู้ที่ประสงค์จะ เชือดจะต้องไม่แตะต้องเส้นผม ขนและผิวหนังแต่อย่างใด41 หมายความว่าไม่อนุญาตให้ตัดผม นกนขนลับถอน ขนรักแร้และตัดเล็บ เป็นต้น 3.6 ท าไมต้องมีการเชือดกุรบาน บางคนเข้าใจว่าการเชือดกุรบาน หรืออุฎฺหิยะฮฺเป็นพิธีการบูชายัญหรือการเซ่นไหว้บวงสรวงต่ออัลลอ ฮฺประการหนึ่งในพิธีกรรมของชาวมุสลิม ความเชื่อเช่นนี้นับว่าอันตรายมากถ้ามีอยู่ในความคิดของชาวมุสลิม เพราะอัลลอฮฺประกาศอย่างชัดเจนถึงเป้าหมายของการเชือดที่แท้จริงว่า ْ ن كم ِ َٰى م َ ْو َّ ق الت ال ه َ ن َ ن ي كِ َٰ لَ َ ا و َ ه اؤ َ م ِ ََل د َ ا و َ ه وم ل َ ه َّ اَل الل َ ن َ لَن ي ความว่า “เนื้อและเลือดของมัน (หมายถึงสัตว์เชือด) จะไม่สามารถไปถึงอัลลอฮฺได้แต่สิ่งที่จะไปถึง พระองค์คือความย าเกรงของพวกเจ้า(ด้วยการปฏิบัติตามค า สั่งของพระองค์)”42 36 อัล-บุคอรีย์1/382, มุสลิม 3/70, ดูอัล-มัจญ์มูอฺ6/88 37 อัล-บุคอรีย์(1511), มุสลิม (986) , ส่วนมัซฮับ ชาฟิอีย์อนุญาตให้จ่ายซะกาตตั้งแต่วันแรกของเดือนเราะมะฎอนหรือวันที่เริ่มถือศีลอด (เรา เฎาะฮฺอัน-นะวะวีย์2/154 38 อบูดาวูด (1622), อัน-นะสาอีย์5/50 39 อัล-บุคอรีย์(5560), มุสลิม (1961) และ อะหฺมัด 4/8, อัล-บัยฮะกีย์5/295 40 อะหฺมัด 2:321 และอิบนุ มาญะฮฺ3123 41 มุสลิม (1977), อบูดาวูด (2791), อิบนุ มาญะฮฺ (3149) 42 อัลหัจญ์(37)


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 96 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา เหตุผลที่อัลลอฮฺได้ตรัสเช่นนี้ก็เพื่อจะลบล้างความเชื่อของบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีต่อพระองค์ในสมัยก่อน อิสลาม ซึ่งพวกเขามักจะเชือดสัตว์พลีและจะวางเนื้อสัตว์ดังกล่าวไว้รอบๆ กะอฺบะฮฺ เพื่อแสดงถึงความใกล้ชิด ต่ออัลลอฮฺ ดังนั้นพระองค์จึงปฏิเสธการกระท านั้นและชี้แจงให้บ่าวผู้ภักดีของพระองค์ทราบว่าเป้าหมายของ การเชือดอุฎฺหิยะฮฺหรือกุรบานที่แท้จริง เพียงเพื่อเป็นการแสดงออกถึงการยอมสินรราบและน้อมรับต่อค า บัญชาของพระองค์เท่านั้นเอง และส่วนหนึ่งของเหตุผลที่มีบัญญัติส่งเสริมให้ท าการเชือดสัตว์กุรบานส าหรับผู้ที่มีความสามารถในวัน อีดิลอัฎฮา คือ 1. เพื่อร าลึกถึงการเสียสละอันยิ่งใหญ่ของท่านนบีอิบรอฮีม ที่ตกลงยอมเชือดลูกชายอันเป็นสมบัติที่ ล้ าค่าและห่วงแหนที่สุดและไม่สามารถหาสิ่งใดมาทดแทนได้อีก เพียงเพื่อสนองค าบัญชาของอัลลอฮฺ ดังนั้นการเสียสละแพะเพียงหนึ่งตัวซึ่งราคาไม่กี่พันบาท หรือวัวหนึ่งตัวซึ่งราคาไม่ถึงสองหมื่นบาทจึง นับว่าเป็นการเสียสละที่น้อยมาก ถ้าจะเทียบกับการเสียสละของท่านนบีอิบรอฮีม 2. เพื่อกระจายความเอื้ออาทรและความห่วงใยต่อพี่น้องที่ขัดสนให้ทั่วถึงทั้งในระดับครอบครัว เครือ ญาติและสังคม ด้วยเหตุนี้อิสลามจึงส่งเสริมให้ท าการแบ่งปันเนื้อกุรบานให้หมดภายในสามวัน และจัดเลี้ยง อาหารแก่พี่น้องในหมู่บ้าน 3. เพื่อเป็นการขอบคุณต่อความนปรดปรานและริซกีที่อัลลอฮฺทรงประทานแก่เรา ในขณะที่มีพี่น้องอีก จ านวนมากที่ไม่มีนอกาสได้แสดงออกเช่นนั้น ข้อก าหนด (ฮุกุ่ม) ของอุดฮียะห์ : อุดฮียะห์เป็นสุนัตมุอักกะดะห์ แต่อาจกลายเป็นวาญิบได้ด้วยสาเหตุสองประการคือ : หนึ่ง : การที่บุคคลหนึ่ง ชี้ไปที่สัตว์ที่อยู่ในกรรมสิทธิ์ของเขาซึ่งเป็นสัตว์ที่ใช้ท าอุดฮียะห์ได้ แล้วกล่าวว่า : นี่คืออุดฮียะห์ของฉันหรือกล่าวว่า : ฉันจะใช้สัตว์นี้ท าอุดฮียะห์ เป็นต้น ดังนั้นเขาก็จ าเป็น (วาญิบ) ต้องเชือด สัตว์นั้นท าอุดฮียะห์ สอง : บนบาน (นะซัร) ว่าจะท าอุดฮียะห์ เช่น กล่าวว่า : ข้าพเจ้าท าอุดฮียะห์เพื่ออัลลอฮฺก็จะกลายเป็น วาญิบเหนือเขา เช่นเดียวกับการบนบาน (นะซัร) ในอิบาดะห์อื่น ๆ ใครที่ถูกก าหนดให้ท าอุดฮียะห์ : อุดฮียะห์เป็นสุนัตแก่ผู้ที่มีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ครบถ้วน : 1. อิสลาม ดังนั้นผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม จึงไม่ถูกก าหนดให้ท าอุดฮียะห์ 2. บรรลุศาสนภาวะและมีสติปัญญา ดังนั้นผู้ที่ไม่บรรลุศาสนภาวะและผู้ที่ขาดสติจึงไม่ถูกก าหนดให้ ท าอุดฮียะห์ 3. มีความสามารถ และที่จะเรียกว่าเป็นผู้มีความสามารถก็คือ มีทรัพย์สินที่จะซื้อสัตว์อุดฮียะห์เกิน กว่าค่าใช้จ่ายของตนและค่าใช้จ่ายของผู้ที่ตนรับผิดชอบ ทั้งที่เป็นอาหาร เครื่องนุ่งห่ม และที่พักอาศัยในช่วง วันอีดและวันตัชรีก สัตว์ที่ใช้ท าอุดฮียะห์ สัตว์ที่ใช้ท าอุดฮียะห์ได้นั้นต้องเป็น อูฐ หรือ วัว หรือ แกะ หรือ แพะ เพราะอัลลอฮฺ ตะอาลา ทรงตรัสไว้ ว่า : ِ َعام فْ َ اْلْ دن َِِبميَِِ َ َزقَهُم مِ ََل َما ر عَ ْْسَ ا ََّّللِ ُوا ا كُر ْ َذ ي ِ ل َسَكً َا َمن ن ْ َجَعل أَّمٍِ ِ ُكِد ُ ل َ و


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 97 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา “และส าหรับทุกประชาชาตินั้น เราได้ก าหนดศาสนพิธีไว้แล้ว เพื่อให้พวกเขากล่าวนามของอัลลอฮฺเหนือ สิ่งที่พระองค์ได้ประทานเป็นปัจจัยยังชีพแก่พวกเขา จากจ าพวกปศุสัตว์” (อัลฮัจย์ : 34) และค าว่าปศุสัตว์นั้นก็ไม่พ้นไปจากสัตว์ทั้งสามจ าพวกที่กล่าวมาแล้วนั้น และเพราะไม่เคยมีผู้ใดรายงาน จากท่านร่อซูลุลลอฮฺ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม และศ่อฮาบะห์ของท่านว่าได้ท าอุดฮียะห์ด้วยสัตว์อื่น และสัตว์ที่ดีที่สุดในการท าอุดฮียะห์ก็คือ อูฐ รองลงมาได้แก่ วัว และรองลงมาก็ได้แก่ แพะ แกะ อนุญาตให้ใช้อูฐและวัวหนึ่งตัว ท าอุดฮียะห์ได้เจ็ดคน มุสลิม (1318) ได้รายงาน َع ْن ِد ا ََّّللِ ْ ِن َعب ْ َجاِب ِر ب َ ُسوِ ا ََّّللِ َع ر ْرََن َم َ َسََّلَ قَا َ ََنَ و ْهِ ي َ َم ََّل ا ََُّّلل عَل عَا َص َِِ ِْبي ُحَدي ْ َِ ال َدفَ َ ب ْ َع ْن ال ْ َعٍِ َ ب َة َع ْن س َ قَر َ ب ْ ال َ و ْ َعٍِ َ ب س จาก ญาบิร (ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ) ได้กล่าวว่า : “เราได้เชือดพร้อมกับท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ในปีฮุดัยปียะห์ อูฐ หนึ่งตัวแก่เจ็ดคน และวัวหนึ่งตัวแก่เจ็ดคน” เงื่อนไขอุดฮียะห์ : อายุ : สัตว์ที่ใช้เชือดกุรบานต้องมีอายุครบตามเกณฑ์ก าหนด ดังนี้ 1. อูฐ ต้องมีอายุครบ 5 ปี 2. วัว ต้องมีอายุครบ 2 ปี (ตามทรรศนะของนักวิชาการส่วนมาก เช่น อาบีฮานีฟะฮ์,อัชชาฟิอีย์ และอะหมัด, ส่วนมาลิกมีทรรศนะว่าต้องมีอายุครบ 3 ปี ) 3. แพะ ต้องมีอายุครบ 1 ปี และแกะต้องมีอายุครบ 6 เดือน ต้องสมบูรณ์: เป็นเงื่อนไขของสัตว์ทั้งสามประเภทที่กล่าวมาแล้วว่า : ต้องปลอดจากต าหนิต่าง ๆ ที่เป็น เหตุให้เนื้อลดน้อยลง ดังนั้นแกะที่ผอม คือไม่มีไขมันเลยเนื่องจากผอมมาก และสัตว์ที่ขากะเผลกหรือตาบอด หรือเป็นนรค หูแหว่ง จึงใช้ท าอุดฮียะห์ไม่ได้ เพราะหะดีษที่รายงานนดยติรมีซีย์ (1497) และว่าเป็นหะดีษซอเฮียะห์และอะบูดาวูด (2802) ِيضَ ُهللا َ ِن عَاِزٍب ر ْ ب َْباَءِ ْ ِزُئ ِِف ا َْلَضا ِح َعِن : ال ٌَع ََل َُتْ ْرب أ َ َقا َ : َ َسََّلَ و ْهِ ي َ َعْنُه َعِن النَِّبِد َصَِّل ُهللا عَل َّ ء ال ُ َع ْجَفا ْ ال َ َُْجا و َ ِدنُ َعر َ ب ْ ال ُ ْرَجاء َع ْ ال َ ُضهَا و َ ِدنُ َمر َ ب َ ْ َضُِ ال ِري َ م ْ ال َ َها و ُ َر ِدنُ َعو َ الب ُ اء َ ْور َع ْ ل اَ ْ ْنقِي ِِت ََل تُ จาก อัลบะรออฺ บุตร อาซิบ (ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ) จากท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า : “สัตว์สี่ประเภทใช้ท าอุดฮียะห์ไม่ได้คือ สัตว์ตาบอดที่อาการบอดของมันแจ้งชัด สัตว์ที่เป็นนรคที่อาการป่วยของ มันปรากฏชัด สัตว์ขากะเผลกที่ปรากฏอาการกะเผลกอย่างแน่ชัด และสัตว์ผมที่ไม่มีไขมัน” ต าหนิทั้งสี่นี้ใช้เทียบ (กิยาส) กับต าหนิอื่น ๆ ที่ท าให้สัตว์ผอมและเนื้อน้อย เวลาเชือดอุดฮียะห์ : เวลา เชือดอุดฮียะห์ เริ่มตั้งแต่ตะวันขึ้นในวันอีดิ้ลอัดฮา และผ่านไปช่วงหนึ่งที่พอจะละหมาดสองรอ กาอัตและสองคุตบะห์ได้ เวลาการเชือดอุดฮียะห์นี้จะยังคงอยู่เรื่อยไปจนถึงตะวันตกในวันสุดท้ายของวัน ตัช รีก วันตัชรีกคือวันที่สิบเอ็ด สิบสอง และสิบสามของเดือนซุ้ลฮิจยะห์ เวลาที่ดีเลิศส าหรบัการเชือดอุดฮียะห์คือภายหลังละหมาดอีด และฮะดีษบุคอรี (5225) และมุสลิม (1961) ว่า : ُّ ََّل ا ََُّّلل َقا َ النَِّب َ َسََّل َص َ و ْهِ ي َ َعََل عَل ُ َم ْن فَ َ َحر َْرِجَع فَنَْن َّ ن َ ثُ َصِِل د ْن فُ أ نَا َهَذا َ َْومِ ِِف ي أ ِبهِ ُ َد ْ َ َما فَب َّ أو َ َّن ِ ا ْن َس مِ يْ َ ل قَ َّدَمُه ِ َْلْهَِلِ ٌ ْحم َ ل َ ا ُهو َ فَّم ِ ُل فَا ْ ََح قَب َ َم ْن َذب ُ نَّتَنَا و َصا َب س أ َ ُس ِك فَقَ ْد ُّ الن ِِف ََشْ ءٍ


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 98 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา “ท่านนะบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า แท้จริงสิ่งแรกที่เราได้เริ่มต้นในวันนี้ของเราคือ เรา ละหมาด จากนั้นเรากลับและเชือด ดังนั้นผู้ใดปฏิบัติดังกล่าว เขาก็ท าถูกต้องตามซุนนะห์ของเรา และผู้ใด เชือดก่อนดังกล่าวนั้น มันก็เป็นเนื้อที่เขาหยิบยื่นแก่ครอบครัวของเขา ไม่ใช่เป็นพิธีการศาสนาแต่อย่างใด” ค าที่ว่า “และผู้ใดเชือดก่อนดังกล่าวนั้น” หมายความว่า ก่อนเข้าละหมาดอีด และก่อนที่เวลาจะผ่านพ้น ไปเท่ากับช่วงที่จะสามารถละหมาดได้พอในช่วงนั้น และอิบนุฮิบบาน (1008) ได้รายงานจาก ญุบัยร์ บุตร มุตอิม (ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ) ได้กล่าวว่า : ท่านรอซูลุ้ลเลาะห์ ได้กล่าวว่า : ٌْح ْ ِق َذب التَّ ْرشِي ِ ََّيم أ ُ ُّك َ َ و “ทุกวันตัชรีกนั้นคือการเชือด” หมายความว่าเป็นเวลาเชือด สัตว์กุรบานสามารถแบ่งส่วนเพื่อให้กระจายทั่วถึงตามอัตราต่อไปนี้ อูฐ กระจายส่วนได้ 7 ส่วนตามทรรศนะของนักวิชาการส่วนมาก มีบางทรรศนะระบุว่า อูฐนั้น สามารถกระจาย ส่วนได้ถึง 10 ส่วน ( ในการนี้ท่านอิหม่ามอิบนุ ก็อยยิมอัลเญาซียะฮ์ได้อธิบายชี้แจง เพื่อมิให้ เกิดความขัดแย้งระ หว่างทรรศนะที่ประกอบด้วยการอ้างอิงตัวบทหลักฐานที่ถูกต้องไว้ว่า อูฐนั้นสามารถ กระจายเพิ่มเป็น 10 ส่วนได้ กล่าวคือ อูฐที่มีรูปร่างสัด ส่วนมาตรฐานทั่วไปกระจายได้เพียง 7 ส่วน และอูฐตัว ใหญ่ ๆ มีสัดส่วนทีใหญ่นตกว่า ปกติทั่ว ไปกระจายได้ 10 ส่วน นดยอาศัยหลักฐานต่อไปนี้ มีรายงานว่าท่านสะ อีดอิบนุลมุซัยยิบเคย กล่าวว่า َ قَر َ ب ْ ال َ َع ْن َع ْرشَةٍ و َ َجُزْور ْ َّن ال أ َ ْ َعٍِ َ ب َة َع ْن س “แท้จริงอูฐหนึ่งตัวกระจายส่วนได้ส าหรับ 10 คน และวัวหนึ่งตัวกระจายส่วนได้ส าหรับ 7 คน ” ท่านอิบนุอับบาสกล่าวว่า َع النَِّبْ نَّا َم كُ َجُزْوِر َع ْن َع ْرشَةٍ ْ َا ِ ِْف ال ن َحَُّضَ ا َْلْْضَى فَا ْشَتَكْ ِ ِْف ِ ِْف َسَفٍر فَ َ و ةِ َ قَر َ ب ْ َع ال ِ ْ َ ب َع ْن س “พวกเราร่วมเดินทางพร้อมกับท่านาบี เมื่อถึงวันอีดอัฎฮา พวกจึงเราร่วมกันเชือดกุรบานด้วยอูฐ 1 ตัว ส าหรับจ านวน 10 คน และเชือดวัวอีก 1 ตัวส าหรับ 7 คน ” จากบันทึกของอาบีดาวู้ด,อัตติรมิซีย์และอิบ นิมาญะฮ์ท่านรอฟิออฺเคยกล่าวว่า َّن أ َ ٍر النَِّبَّ قَ ْ َعِ ِبب ِ غََّن ْ َن ال ًة مِ َعَدَ َع ْرشَ فَ َ َسم “ท่านรอซูลทรงจัดสรรแบ่งปศุสัตว์ให้กับซอฮาบะฮ์ นดยก าหนดให้แพะและแกะ 10 ตัวเท่ากับอูฐ 1 ตัว ” จากบันทึกของอัลบุคอรีย์และมุสลิม และทรรศนะที่ท่านอิบนุลก็อยยิมน าเสนอเป็นทรรศนะที่ได้รับการยอมรับในหมู่นักวิชาการจ านวน มาก เพราะเป็น การรวมหลัก ฐานเข้าด้วยกัน 1.วัว กระจายส่วนได้ 7 ส่วน ตามหลักฐานข้างต้น 2. แกะหรือแพะ ตัวละ 1 ส่วน สัตว์กุรบานหนึ่งตัว สามารถเชือดให้กับสมาชิกในครอบครัวทั้งหมด ในกรณีที่สมาชิกในครอบครัวมีความพร้อมด้านทุนทรัพย์ สามารถเชือดสัตว์กุรบานด้วยส่วนของ ตนเองได้ เป็นการดีส าหรับเขา (อัฟฎ็อล) ที่จะเชือด สัตว์กุรบานด้วยส่วนของตนเองเป็นการเอกเทศ หาก สมาชิกในครอบครัว ไม่มีความพร้อมด้านทุนทรัพย์ ศาสนาเห็นชอบให้ผู้น าครอบครัวเชือดสัตว์กุรบานหนึ่งตัว ส าหรับแทนสมาชิก ทั้งหมด แม้เพียงแกะหรือแพะหนึ่งตัวก็ใช้ ได้และสามารถแทนคนทั้งหมดได้แม้จะมีจ านวน มากก็ตาม ดังหลักฐาน เหล่านี้ อาอิชะฮ์กล่าวว่า


เอกสารอบรมจริยธรรมอิสลาม ส าหรับมุสลิมใหม่ 99 มัสยิดบ้านนา ต าบลบ่อแสน อ าเภอทับปุด จังหวัดพังงา َّن أ َ ِر قَ َ ب ْ ِِبل ِهِ َسائ ِ َْضَّى َع ْن ن النَِّبَّ “ท่านนาบีทรงเชือดวัว 1 ตัวเป็นกุรบานให้กับภรรยาทั้งหมด ” ในบางรายงานจากพระนางอาอิชะฮ์ ระบุเพิ่มเติมว่า “ท่านรอซูลทรงเชือด แกะ 1 ตัวเป็นอุฎหิยะฮ์ให้ตัวเองและคนในครอบครัวทั้งหมด ” จาก บันทึกของอัลบุคอรีย์และมุสลิม และมีรายงานจากอิบนิชิฮาบว่า ِحَدًة ا َ ًة و َ َقَر ْو ب أ َ ِحَدًة ا َ َدفًَِ و َ ب َلَّ ِ ا ِهِ َيْت أ ْه ِل ب َ َ ُسْوُ ِهللا َع ْن َ ر ََنَر َما “ท่านรอซูลนั้นไม่เคยเชือดกุรบานให้กับครอบครัวนอกจากด้วยการเชือดอูฐหรือวัวเท่านั้น ” จาก บันทึกของมาลิก อับดุลลอฮ์อิบฮิชาม กล่าวอีกว่า َ ُسْوُ ِهللا ََكَن ر أ ْهَِلِ َ ِ ْع ي َع ْن ََجِ ِحِدةِ ا َ و ْ ال ِِبل َّشاةِ ْ ُ َض ِحدي ي “ท่านรอซูลทรงเชือดแกะ 1 ตัวเป็นอุฎหิยะฮ์ให้กับคนในครอบครัวทั้งหมด ” จากบันทึกของอัลฮา เก็ม จะปฏิบัติอย่างไรกับอุดฮียะห์ ภายหลังจากเชือดแล้ว : ถ้าหากอุดฮียะห์นั้นเป็นวาญิบ : นดยการบนบาน (นะซัร) ไว้ หรือนดยการระบุแน่นอนว่าสัตว์ดังนี้จะท า อุดฮียะห์ดังได้อธิบายมาแล้ว จะไม่อนุญาตให้ผู้ท าอุดฮียะห์ และคนใดในครอบครัวของเขาที่เขาจ าเป็นต้องจ่าย ค่าเลี้ยงดูให้ รับประทานอุดฮียะห์นั้น ถ้าหากผู้ใดรับประทานส่วนหนึ่งของอุดฮียะห์ ก็จะต้องถูกปรับเท่ากับที่ รับประทานไปหรือถูกปรับเป็นราคา และถ้าหากเป็นอุดฮียะห์ที่สุนัต ก็อนุญาตให้รับประทานได้ตามแต่เขาต้องการ นดยจะต้องบริจาคส่วนที่ เหลือทั้งหมด และยอมอนุญาตให้เขารับประทานได้หนึ่งในสามของอุดฮียะห์ และบริจาคหนึ่งในสามให้แก่คน ยากจน และอีกหนึ่งในสามมอบเป็นของขวัญ (ฮะดียะห์) แก่เพื่อน ๆ และเพื่อนบ้านแม้จะเป็นคนรวยก็ตาม แต่ สิ่งที่ให้คนรวยนั้นเป็นของขวัญมีจุดมุ่งหมายที่การรับประทานเท่านั้น ไม่ยินยอมให้พวกเขาน าไปขาย แลกเปลี่ยน ส่วนสิ่งที่ให้แก่คนอยากจนนั้นเป็นการให้ครอบครองเป็นกรรมสิทธิ์ ซึ่งคนจนอาจใช้รับประทาน หรือน าไปจับจ่ายตามความต้องการ หลักฐานในเรื่องดังกล่าวคือค าด ารัสของอัลลอฮฺตะอาลา ที่ว่า : ُ ُْك فِ َ ل ِر ا ََّّللِ ِ دن َشَعاِئ ُُك مِ َ َا َها ل ن ْ ْدَن َجَعل ُ ب ْ ال َ َِبا َ و ْت ُجنُوُ َ َجب َذا و ِ اَّف َفا َ َصو ْْيَا َ َعل ْْسَ ا ََّّللِ ُ وا ا كُر ْ ْيَا َخٌْر َفاذ ُ ْعَتَّ م ْ ال َ َع و ِ قَاف ْ ُوا ال م أ ْطعِ َ َ َّْنَا و فَ ُُكوا مِ “และ สัตว์ที่เชือดพลีทาน เราได้ก าหนดให้มันเป็นส่วนหนึ่งจากเอกลักษณ์ของอัลลอฮฺเพื่อพวกเจ้า ในนั้น มีความดีส าหรับพวกเจ้า ดังนั้นพวกท่านจงกล่าวพระนามของอัลลอฮฺบนมันขณะที่เชือดมัน นดยให้มันยืนสาม ขา และเมื่อสีข้างของมันล้มลงกับพื้น พวกเจาจงรับประทานบางส่วนของมันและจงให้บรินภคแก่ผู้มักน้อยและ ผู้ที่เสนอตัวขอ” ( 36 อัลฮัจย์) และยินยอมให้ผู้ท าอุดฮียะห์ บริจาคหนังสัตว์ของตนได้ หรือเอาไว้ใช้ประนยชน์เองก็ได้แต่ไม่ยินยอมให้ ขายหนังสัตว์อุดฮียะห์หรือให้แก่ผู้เชือดสัตว์เป็นค่าจ้างให้การเชือดของเขา เพราะการดังกล่าวนั้นเป็นการท าให้ อุดฮียะห์ลดหย่อน ซึ่งท าให้อุดฮียะห์มีผลใช้ไม่ได้ และเพราะฮะดีษที่บัยฮะกีได้รายงาน (9/294) จากท่านนะ บีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ได้กล่าวว่า : َِ ََلُ َ ْْضِ ي أ فَ َل ُ تِهِ َ ْْضِ ي أ َم ْن َِب َع ِجْلَ ُ “ผู้ใดขายหนังอุดฮียะห์ของตน ก็ไม่มีอุดฮียะห์ส าหรับผู้นั้น”


Click to View FlipBook Version