The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lomanois, 2021-10-21 02:19:28

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

การใหค วามเหน็ ชอบ
แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา
โรงเรยี นอนุบาลวัดชองลม
................................................................................................
ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานโรงเรียนอนุบาลวดั ชองลม ครั้งท่ี 2/2563
เมื่อวันที่ 12 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2563 ไดพิจารณาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา (ปการศึกษา 2563-
2565 ) ซึ่งปรับปรุงจากฉบบั เดิมเพ่ือใหเ ขากับบรบิ ทการทํางานของสถานศกึ ษาทม่ี งุ เนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ของนักเรียนและ คุณภาพชีวิตท่ีดีของนักเรียนในทุกมิติ คณะกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลวัดชองลม ได
พจิ ารณาแลว
เหน็ ชอบใหด ําเนนิ การตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษา ฉบับนี้ ได

(ลงชื่อ) ........................................................
(นายกาํ พล วงศทรายทอง)

ประธานคณะกรรมการการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
โรงเรยี นอนุบาลวัดชอ งลม

คาํ นาํ

ตามบทบัญญัติในพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธกี ารบริหารกจิ การบานเมอื งท่ีดี พ.ศ. 2546
กําหนดวา การบริหารราชการจะตองวางแผนโดยกําหนดระยะเวลา ข้ันตอนการปฏิบัติงาน งบประมาณ
เปาหมาย และตัวช้ีวัด จัดใหมีการประเมินและตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ ใหมีการพัฒนา องคความรูภายใน
องคกรอยางสมํ่าเสมอและใหทุกสวนราชการปฏิบัติตามแผนท่ีกําหนด ซ่ึงโรงเรียนเปนสวนราชการตาม
บทบญั ญัติในพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และ มีรายละเอียดภารกิจ
ท่ีตองปฏิบัติกําหนดไวในประกาศสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เรื่อง การกระจายอํานาจการ
บริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานไปยงั คณะกรรมการ สาํ นักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2550 พรอม
ข้ันตอนการปฏิบัติการจัดทําและการบริหารแผนพัฒนาการศึกษาประกอบกับกฎกระทรวงศึกษาธิการ วาดวย
ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ขอ 14 (2) ไดกําหนดใหโรงเรียนจัดทํา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุงคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา พรอมทั้งกําหนดองคประกอบของแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาไวในขอ 16 โรงเรียนอนุบาลวัดชองลม จึงจัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 3 ป คือ
ปการศึกษา 2563-2565 นี้ข้ึน เพื่อเปนกรอบทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามภารกิจและตามตองการ
ของผูปกครองและชุมชนกําหนด โดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานแลว เมื่อวันท่ี
12 มิถุนายน 2563 ขอขอบคุณคณะผูจัดทํา คณะครู นักเรียนและผูที่มีสวนเก่ียวของทุกฝายที่อํานวยความ
สะดวกในการจัดทํา และรว มดาํ เนนิ การจนแผนพฒั นาการจดั การศึกษาฉบับน้ีสาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ยดี

นางสาวนภาพกั ตร วงศมณนี ิล
(ผูอาํ นวยการโรงเรยี นอนุบาลวดั ชองลม)

สารบัญ

สว นที่ 1 1
ขอ มลู ขัน้ พื้นฐานของสถานศกึ ษา ……………………………………………………………………………………
ขอมลู ทว่ั ไป/ขอมลู ผูบริหาร / ขอ มลู บคุ ลากรของสถานศึกษา................................................... 1
ขอมูลนักเรยี น / ขอ มลู สภาพชุมชนโดยรวม.............................................................................. 4
โครงสรางการบรหิ ารจัดการศึกษา/แผนภูมิการบริหารจัดการศึกษา......................................... 7
โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา.................................................................................................. 9
ผลการประเมินพฒั นาการ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย........................................................ 10
ผลการประเมนิ ระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน................................................................................. 11
ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค................................................................................. 13
ผลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะหและเขียน................................................... ………………... 14
ผลการประเมินสมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน 5 ดา น ................................................................... 15
ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น......................................................................................... 17
ผลการประเมินความสามารถดา นการอาน (RT)………………….................................................... 18
ผลการประเมินความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ(NT) ................................................ 22
ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-NET) .......................................................... 24
สรุปผลการประเมินจากหนว ยงานภายนอกและขอเสนอแนะ .................................................. 26
สว นที่ 2
ผลการศึกษาสถานภาพของโรงเรยี น......................................................................................... 40
ผลการวเิ คราะหสภาพแวดลอมภายนอก.................................................................................. 41
ผลการวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายใน....................................................................................... 42
สรปุ ผลการวิเคราะห/ประเมินศักยภาพของโรงเรยี นอนุบาลวัดชอ งลม..................................... 43
สว นท่ี 3
ทศิ ทางการบรหิ ารจัดการศึกษา................................................................................................. 44
กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน................................................................... 44
แนวทางในการพฒั นาโรงเรียนอนุบาลวัดชองลม....................................................................... 70
วิสัยทัศน/ พันธกจิ / เปาหมาย /อัตลกั ษณของสถานศึกษา /เอกลกั ษณของสถานศึกษา..... 70
กลยุทธในการพฒั นา…………………………………………………………………………………………………. 70
การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา................................................................................... 87
สว นท่ี 4
การแปลงแผนสกู ารปฏบิ ตั ิและการกํากบั ติดตาม....................................................................... 94
บทบาทหนาที่ของผูท ่ีเกี่ยวของกบั การจัดการศึกษา................................................................... 94
การกาํ กบั ติดตาม ประเมนิ ผล ตรวจสอบและรายงานผล......................................................... 103
ขอบขายและภารกจิ การบรหิ ารงาน/งานวชิ าการ /การเงินและงบประมาณ/ 105
งานบคุ คล/การบริหารงานทั่วไป.................................................................................................
สว นที่ 5 125
แนวทางการตดิ ตาม วัด และประเมนิ ผล.................................................................................... 125
ภาคผนวก...................................................................................................................................





สวนท่ี ๑
ขอมลู ขั้นพน้ื ฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ขอมลู ทั่วไป

โรงเรียนอนุบาลวดั ชอ งลม ต้ังอยู 44 หมูท่ี 2 ตาํ บลบางทราย อําเภอเมือง จังหวัดชลบรุ ี
รหัสไปรษณีย 20000 โทรศัพท 038 – 274902 หมายเลขโทรสาร 038 – 274902 อีเมล
watchonglom @gmail.com เวบ็ ไซด https://www.facebook.com/ChonglomFC

ประวตั ิความเปนมา
เดิมชื่อ โรงเรียนประชาบาลตําบลบางทรายตําบลบางทราย1(วัดชองลม) ต้ังข้ึนเมื่อวันท่ี 1 กันยายน
พ.ศ. 2465 โดยนายอําเภอเมืองชลบุรีเปนผูจัดต้ังตามพระราชบัญญัติประถมศึกษา เปดทําการสอนต้ังแตช้ัน
ประถมศึกษาปท่ี 1-4 แบบสหศึกษา ใชศาลาวัดเปนสถานที่เรียนมีนักเรียนประมาณ 100 คนเศษๆ 30
มิถนุ ายน พ.ศ. 2495 กระทรวงศึกษาธิการใหเ ปล่ยี นชื่อเปน “โรงเรยี นอนุบาลวดั ชองลม” (ศึกษาราษฎรนกุ ูล)
27 มถิ ุนายน พ.ศ. 2543 สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดชลบรุ ีไดอนุมัติใหเ ปลยี่ นช่ือ เปนโรงเรยี นอนุบาล
วดั ชองลม
พ.ศ. 2492 สรางอาคารเรยี นตามแบบ ป.02 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ยาว 45 เมตร กวาง 9 เมตร
ใชเ ปน หอ งเรียนได 10 หอ งเรยี น สรางดวยเงนิ งบประมาณกระทรวงศึกษาธกิ ารและชาวตําบลบางทรายรวม
บรจิ าค(อาคาร1) พ.ศ. 2506 สรางอาคารเรยี นหลงั ท่ี 2 (อาคาร2) แบบ 017 กรมสามัญ ช้นั ลา งกอ อิฐถือ
ปนู โดยผมู จี ิตศรทั ธาบรจิ าคเพิม่ อกี 2 หองหอ งเรียน พ.ศ. 2513 สภาจังหวดั ชลบรุ อี นมุ ตั เิ งนิ สมทบกบั
เงนิ ผบู ริจาค อาคาร 2 - สุขาภิบาลตาํ บลบางทราย ดาํ เนินการประปาให พ.ศ. 2514 นายแสงทอง ศิริ
วัฒนาการ บริจาคที่ดิน 1 แปลง โฉนดเลขที่ 7088 หมทู ี่ 2 ตาํ บลบางทราย อําเภอเมือง จงั หวดั ชลบุรี เนอื้
ที่ 2 ไร 1 งาน 56 ตารางวา ใหเ ปน สมบัตขิ องโรงเรยี น ตอ มาไดข ึน้ ทะเบยี นเปน ท่ีราชพสั ดุ (ปจ จบุ นั จาํ หนว ย
ทงั้ หมดเนื่องจากยายทตี่ ง้ั โรงเรียน)
พ.ศ. 2542 ไดรับงบประมาณพิเศษ ปลายป 2541 ใหส รางอาคารเรยี นแบบ สปช. 2/28
จาํ นวน 15 หองเรียน 3 ช้ัน เปน เงิน 5,380,000 บาท โดยสรา งในท่ดี ินท่นี ายแสงทอง ศิรวิ ัฒนาการ
บริจาคไวเ มื่อ พ.ศ. 2514 สรางเสรจ็ เรียบรอยเมือ่ วันท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. 2542 ( เปนอาคาร 3 )
พ.ศ. 2542 ไดรบั งบประมาณตามมาตรการเพิม่ การใชจ ายภาครฐั เพื่อกระตุนเศรษฐกจิ (งบมิบา
ซาวา) ใหสรา งสว มแบบ สปช. 601/26 จํานวน 1 หลงั 4 หอ ง งบ 110,000 บาท เสร็จเรยี บรอย
เม่ือวนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2542
พ.ศ. 2543 ไดรับงบประมาณสรา งสวม แบบ สปช. 601/26 ขนาด 4 ทนี่ งั่ จาํ นวนเงนิ
101,000 บาท สรา งเสรจ็ เมือ่ 25 มิถนุ ายน 2543
พ.ศ. 2545 โรงเรยี นไดรับงบประมาณ ดงั นี้
1. โครงการสมทบคากอ สรางโรงอาหารโรงเรียนอนุบาลวัดชองลม 264,000 บาท
2. งบกอสรา งลานกฬี าเอนกประสงค แบบกรมพลศึกษาจํานวน 1 สนาม เปน เงนิ 100,000
บาท เริ่มต้งั แต 14 มกราคม 2545 ถงึ วันที่ 12 กรกฎาคม 2545
พ.ศ. 2549 สรางหอพระ แบบทรงไทย (สรางเอง) งบประมาณ 120,000 บาท
จากการรบั บรจิ าค



พ.ศ. 2552 สรา งหอ งสว ม แบบ สปช. 601/26 งบประมาณ 242,000 บาท
จากงบประมาณการสนับสนนุ จาก ส.ส.

พ.ศ. 2553 สรางอาคารเอนกประสงค งบประมาณ 625,700จากงบประมาณสนบั สนนุ จาก สส.
พ.ศ. 2558 โรงเรียนไดร บั การสนบั สนุนจากเทศบาลตาํ บลบางทราย เพิม่ เติมดังนี้

1. กอสรางอาคารศนู ยเดก็ เลก็ รงเรยี นอนุบาลวดั ชองลมตามแบบ สถ.สพต.1 ดวยเงินอดุ หนุนเฉพาะ
กจิ ของเทศบาลตําบลบางทราย จํานวน 1,524,000 บาท

2. ปรบั ปรงุ หลงั คาคลมุ ลานอเนกประสงค ดว ยเงนิ ในโครงการตามนโยบายของรัฐบาล มาตรการ
สงเสรมิ ความเปนอยูร ะดบั ตําบล ของเทศบาลตําบลบางทราย จํานวน 1,480,000 บาท

พ.ศ 2563 ไดดําเนินการปรับปรงุ สง่ิ กอสราง ดงั นี้
- ปรบั ปรุงหองนํ้า สปช.605/26 จํานวน 2 หลัง ปูกระเบ้ือง บรเิ วณผนงั ดานใน

ดานนอก หองนํ้า ซอมแซมหลังคา และทาสีใหม จํานวนเงิน 100,000 บาท ดว ยเงนิ บรจิ าค
-ติดก้นั ลกู กรงทุกชองอาคารเรียน 3 เพ่ือใหน กั เรียนเกิดความปลอดภยั จํานวนเงิน

80,000 บาท ดวยเงนิ บริจาค
-ติดกน้ั สาดทางเดินรอบบริเวณโรงเรยี น จาํ นวน เพ่ือใหนกั เรียนปลอดภัยในหนา ฝน

จํานวน 300,000 บาท ดวยเงนิ บรจิ าค
- ตดิ ต้งั ฝา จํานวน 45,000 บาท ดว ยเงนิ บริจาค (รายไดส ถานศึกษา) และ

อุปกรณเครื่องเสยี ง โปรเจคเตอร ณ อาคารเอนกประสงค ดว ยเงินรายหวั จํานวน 45,000 บาท
- ไดรบั บริจาคคอมพิวเตอร จํานวน 5 เครอื่ ง เปน เงินมูลคา 80,000 บาท จากเจา

อาวาสวดั ชองลม
- ไดรบั บรจิ าคกลองวงจรปด 1 ชดุ จาํ นวน 4 จดุ จํานวนเงนิ 26,500 บาท
- ปรบั ปรุงบรเิ วณหอพระ จํานวน 18,000 บาท ดวยเงินบริจาค
- ปรับปรุงเวทีโรงอาหาร จาํ นวน 30,000 บาท ดว ยเงินบรจิ าค

1.๒ ขอมูลผูบรหิ าร

มีผบู ริหารมาดาํ รงตาํ แหนงดังตอไปน้ี ตาํ แหนง วนั เดอื นปท ม่ี า วนั เดือนปทีไ่ ป หมายเหตุ
ลําดับที่ ชอื่ -ชอ่ื สกลุ 31 ต.ค 2482 เกษยี ณ
1 นายทวธิ สุวรรณกลุ ครูใหญ 1 ก.ย 2465 31 ต.ค 2484 เกษียณ
2 นายพร จนั ทรโชติ ครใู หญ 1 พ.ย 2482 31 ธ.ค 2498 เกษยี ณ
3 นายทวธิ สวุ รรณกลุ ครูใหญ 1 พ.ย 2484 30 ก.ย 2528 ยา ย
4 นายวสิ ิทธิ์ ปยะพสิ ทุ ธ์ิ อาจารยใ หญ 1 ม.ฅ 2499 30 ก.ย 2543 ลาออก
5 นายปรดี า อังคะนาวนิ อาจารยใ หญ 26 ธ.ค 2528 30 ก.ย 2545 เกษียณ
6 นายสมบรู ณ สุขอุดม ผูอาํ นวยการ 24 ต.ค 2540 29 พ.ย 2555
7 นายสมหมาย นาควเิ ชยี ร ผอู ํานวยการ 1 ต.ค 2545 2 ต.ค 2557
8 นายศกั ดา จินายน ผอู ํานวยการ 29 พ.ย 2555 1 ต.ค 2562
9 นายสายัณห อนนั ตชาติ ผูอ ํานวยการ 1 ธ.ค 2557
10 นางสาวนภาพกั ตร ผูอํานวยการ 25 ต.ค 2562 ปจ จบุ นั
วงศม ณีนิล



ปจจบุ ันบริหารสถานศกึ ษาโดย นางสาวนภาพักตร วงศม ณีนลิ วฒุ ิการศึกษาสงู สดุ กศ.ม สาขา
การบรหิ ารการศึกษา โทรศัพท ๐๘๖-๘๔๗๗๓๗๙ e-Mail: [email protected]
ดาํ รงตําแหนง ทีโ่ รงเรยี นน้ตี ั้งแต 25 ตลุ าคม ๒๕62

๑.๓ ขอมลู บคุ ลากรของสถานศกึ ษา
๑) จาํ นวนบคุ ลากร
บคุ ลากร ผบู รหิ าร ครผู ูสอน พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจา ง เจา หนาท่ีอื่นๆ
ปการศกึ ษา 2563 ๑ 10 2 3 2

๒) วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสดุ ของบุคลากร จาํ นวน

ชื่อ-สกลุ บคุ ลากร ตํา่ ปวส. ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
กวา ปวส
๑. น.ส.นภาพักตร วงศม ณนี ิล - - - ๑ -
๒. น.ส พรทพิ ย ชลนาํ สวุ รรณ - - ๑ - -
๓. น.ส กนิษฐา ตุมปส ุวรรณ - - ๑ - -
๔. น.ส อจั ฉราวรรณ จฬุ านันท - - - ๑ -
๕. นางสาวอญั ชลี นพเกา -- ๑ - -
๖. นางสาวจารุวรรณ ใจวงค -- ๑ - -
๗. นางสาวพิมพราํ ไพ ลายระยะพงษ - - ๑ - -
๘. นายธรี พงษ สถิรถาวรกลุ - - ๑ - -
๙. นางสาวอารียา เข็มทอง -- ๑ - -
10.นางสาวกมลนารถ รอบคอบ - - ๑ - -
11.นางสาวจิรชั ญา บวั ซอน -- ๑ - -
12.นางปน อนงค อะโนมา -- ๑ - -
13.นางสาวจิดาภา กลิน่ จ๋วิ -- ๑ - -
14.นางสาวนงลักษณ เทพโภชน - - ๑ - -
15.นางสาวพรวดี แตงออน -- ๑ - -
16.นางสาวพวงเพช็ ร มเี งนิ ลาด - - ๑ - -
17.นางสาวรตั นา โสภิตประสาน - - ๑ - -
18 นายเสถยี ร ทาทราย 1- - - -
รวม 1- 15 2 -



๓) สาขาวิชาทจี่ บการศึกษาและภาระงานสอน/ภาระงาน
กลมุ สาระท่ี
ชื่อ-สกลุ บุคลากร สาขาวิชาท่ีจบ สอน/ภาระ ชั้นทีส่ อน ภาระงานสอน
งาน อ.2 -ป.6 (ชม./สัปดาห)
๑. น.ส.นภาพกั ตร วงศม ณีนิล กศ.ม(การบริหาร) ทุกวชิ า ป.1-6
๒. น.ส พรทิพย ชลนําสุวรรณ ศึกษาศาสตร(พล พลศกึ ษา ๖

๓. น.ส กนษิ ฐา ตุมปส ุวรรณ ศึกษา) ป.1-3
ครุศาสตร( สงั คมฯ) สังคมฯ ป.4-6
๔. น.ส อัจฉราวรรณ จุฬานันท กศ.ม(การบริหาร) คอมพิวเตอร ป.4-6
๕. นางสาวอัญชลี นพเกา ศกึ ษาศาสตร สงั คมฯ
(สังคม)
๖. นางสาวจารุวรรณ ใจวงค (คบ)ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ ป.4-6
๗. นางสาวพิมพราํ ไพ ลายระยะพงษ กศบ.(การ คณิตศาสตร ป.4-6
ประถมศกึ ษา)
๘. นายธีรพงษ สถริ ถาวรกุล วทบ.เทคโนโลยีทาง ภาษาไทย ป.1
การศึกษา ภาษาองั กฤษ
๙. นางสาวอารยี า เข็มทอง คบ(ภาษาไทย) ภาษาไทย ป.4-6
10.นางสาวกมลนารถ รอบคอบ คบ.(วิทยฯ ท่ัวไป) วทิ ยาศาสตร ป4-6
11.นางสาวจิรชั ญา บัวซอ น กศบ.(ปฐมวยั ) ทกุ วิชา ปฐมวยั
12.นางปน อนงค อะโนมา วทบ.เทคโนโลยที าง ภาษาไทย ป.2
การศึกษา ภาษาอังกฤษ
13.นางสาวจดิ าภา กลนิ่ จิว๋ รัฐศาสตร ภาษาไทย ป.1
14.นางสาวนงลักษณ เทพโภชน คบ.(คณติ ศาตร) คณติ ศาสตร ป1-3
15.นางสาวพรวดี แตงออน คบ (ปฐมวยั ) ทกุ วชิ า ปฐมวัย
16.นางสาวพวงเพ็ชร มีเงนิ ลาด คบ.(พลศึกษา) ทุกวิชา ปฐมวัย
17.นางสาวรตั นา โสภติ ประสาน นเิ ทศศาสตร งานธุรการ
18 นายเสถียร ทาทราย ป.6 งานบริการ
ทว่ั ไป



๑.๔ขอ มูลนักเรยี น

๑)จํานวนนกั เรียนปการศึกษา ๒๕62 รวม ๑๖๑ คน

ช้นั จํานวนนักเรียน หมายเหตุ
ชาย หญงิ รวม
อนบุ าลปท ี่ 2 20 12 32
อนุบาลปที่ 3 12 16 28
ประถมศึกษาปท ่ี 1 8 19 20
ประถมศกึ ษาปที่ 2 12 8 20
ประถมศึกษาปท ี่ 3 13 12 25
ประถมศึกษาปท ี่ 4 15 11 26
ประถมศึกษาปท่ี 5 7 8 15
ประถมศึกษาปท ี่ 6 9 11 20
96 97 193
รวม

1.5 ขอมลู สภาพชมุ ชนโดยรวม
1. สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมลี ักษณะ เปน ชุมชนท่ีอาศัยตวั เองและหองเชาขนาดเล็ก และ
ชุมชนดั้งเดมิ ประกอบอาชีพประมง บรเิ วณใกลเคียงโดยรอบโรงเรยี นไดแก โรงงานอุตสาหกรรม และสถานท่ี
ราชการ เชน โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพเทศบาลบางทราย ธนาคารกรุงเทพ ตลาดใหม สํานกั งานเทศบาล
ตาํ บลบางทราย ทะเลบางทราย เปน ตน
2. จาํ นวนประชากรประมาณ 11,440 คน
3. จํานวนเดก็ ในวัยเรียน 2,000 คน
4. อาชีพสาํ คัญ เกษตรกรรม อาชพี ประมง คาขายและทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม
5. ศาสนา ประชากรสว นใหญ นบั ถอื ศาสนาพุทธ
6. รายไดเฉลย่ี ตอครอบครวั ตอป 17,000 บาท
7. โอกาสของสถานศึกษากบั ความรวมมือในดานตา ง ๆของชมุ ชน โรงเรียนอยูใกลว ัด ใกลชั ุมชน
วดั ใหการสนบั สนุนทุนการศกึ ษาทุกป เนื่องจากมกี องทนุ หลวงพอ แดง
8. ขอจาํ กัดของสถานศึกษากับความรวมมือของชมุ ชน สงั คมเมือง มสี ภาพสังคมตางคนตางอยู
เดก็ นักเรยี นเปน เด็กตางถ่ิน หรือลกู คนงานในชุมชน ฐานะยากจน



๑.6 โครงสรางการบริหารจัดการศกึ ษา

แผนภูมกิ ารบรหิ ารจดั การศึกษาโรงเรียนอนบุ าลวดั ชอ งลม
ผอู าํ นวยการโรงเรยี น
คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

คณะคร/ู บุคลากรทางการศึกษา

คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รฯ คณะกรรมการเครือขายผูปกครอง
สภานกั เรียน

แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารท่ัวไป

1. การพฒั นาหรือการ 1. การจัดทาํ แผน 1. การวางแผนอตั รากาํ ลงั 1, การพฒั นาระบบ
ดําเนินการเกยี่ วกบั การให งบประมาณและคําขอต้งั 2. การจดั สรรอตั รากาํ ลงั เครือขายขอมูลสารสนเทศ
ความเหน็ การพฒั นาสาระ งบประมาณ เพื่อเสนอตอ ขาราชการครูและบุคลากร 2. การประสานงานและ
หลกั สูตรทองถิ่น เลขาธิการสํานกั งาน ทางการศกึ ษา พัฒนาเครือขา ยสถานศึกษา
2. การวางแผนดานการ คณะกรรมการศกึ ษาข้นั 3. การสรรหาและบรรจุ 3. การวางแผนการ
วิชาการ พน้ื ฐาน แตง ตงั้ บริหารงานการศึกษา
3. การจดั การเรียนการสอน 2. การจัดทําแผนการใช 4. การเปล่ียนตาํ แหนง ให 4. งานวิจยั เพื่อการพัฒนา
ในสถานศกึ ษา จา ยเงนิ ตามที่ไดรบั จดั สรร สูงขนึ้ การยายขาราชการครุ นโยบายและแผน
4. การพัฒนาหลักสูตรใน งบประมาณจากสํานักงาน และบคุ ลากรทางการศึกษา 5. การจดั ระบบการบรหิ าร
สถานศกึ ษา คณะกรรมการศกึ ษาข้นั 5. การดําเนินการเกีย่ วกบั และพฒั นาองคก ร
5. การพฒั นากระบวนการ พืน้ ฐานโดยตรง การเลอื่ นขัน้ เงินเดือน 6. การพัฒนามาตรฐานการ
เรียนรู ปฏบิ ัติงาน
6. การวัดผล ประเมนิ ผล 7. งานเทคโนโลยีเพื่อ
และดาํ เนินการเทยี บโอนผล การศึกษา
การเรียน



1.6.โครงสรางการบริหารจัดการศกึ ษา(ตอ )

แผนงานวิชาการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารทว่ั ไป
7. การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาใน 3. การอนุมตั ิการจา ย 6. การลาทุกประเภท 8. การดําเนนิ งานธรุ การ
สถานศึกษา งบประมาณที่ไดร บั จัดสรร 7. การประเมินผลการ 9. การดแู ลอาคารสถานที่
8. การพฒั นาและสงเสริม 4. การขอโอนและการขอ ปฏบิ ัติงาน และสิ่งแวดลอ ม
ใหม แี หลง เรยี นรู เปล่ยี นแปลงงบประมาณ 8. การดําเนนิ การทางวนิ ยั 10. การจดั ทาํ สาํ มะโน
9. การนเิ ทศการศึกษา 5. การรายงานผลการ และการลงโทษ ประชากร
10. การแนะแนว เบิกจายงบประมาณ 9. การส่ังพักราชการและ 11. การรับนกั เรยี น
11. การพฒั นาระบบ 6. การตรวจสอบ ติดตาม การสง่ั ใหอ อกจากราชการไว 12. การเสนอความคิดเห็น
ประกนั คุณภาพภายในและ และรายงานการใช กอน เกยี่ วกับการจัดต้ัง ยบุ รวม
มาตรฐานการศึกษา งบประมาณ 10. การรายงานการ หรือเลิกสถานศกึ ษา
12. การสงเสรมิ ชมุ ชนใหม ี 7. การตรวจสอบ ตดิ ตาม ดําเนินการทางวนิ ยั และการ 13. การประสานงานจัด
ความเขม แข็งทางวชิ าการ และรายงานการใชผ ลผลติ ลงโทษ การศึกษาในระบบ นอก
13. การประสานความ จากงบประมาณ 11. การอุทธรณและการ ระบบและตามอัธยาศยั
รวมมือในการพัฒนาวชิ าการ 8. การระดมทรัพยากรและ รองทุกข 14. การระดมทรพั ยากร
กบั สถานศึกษาและองคกร การลงทุนเพือ่ การศึกษา 12. การจดั ระบบและการ เพือ่ การศึกษา
อ่นื 9. การปฏิบัตงิ านอนื่ ใดตามท่ี จดั ทาํ ทะเบยี นประวตั ิ 15. การทัศนศกึ ษา
14. การสง เสรมิ และ ไดร ับมอบหมายเกย่ี วกับ 13. การจดั ทําบญั ชรี ายชอื่ 16. การสง เสริมงานกิจการ
สนับสนนุ งานวิชาการแก กองทนุ เพ่ือการศึกษา และการใหความเหน็ นักเรยี น
บุคคล ครอบครวั องคก ร 10. การการบริหารจดั การ เก่ยี วกบั การเสนอขอ 17. การประชาสมั พันธง าน
หนวยงาน สถานศกึ ษาและ ทรัพยากรเพื่อการศกึ ษา พระราชทาน การศึกษา
สถานประกอบการอนื่ ที่จดั 11. การวางแผนพสั ดุ เคร่ืองราชอิสริยาภรณ 18. การสง เสรมิ สนบั สนนุ
การศึกษา 12. การกาํ หนดรปู แบบ 14. การสง เสริมการ และประสานงานการจดั
15. การจดั ทําระเบยี บและ รายการ หรอื คุณลกั ษณะ ประเมนิ วิทยฐานะ การศึกษา ของบุคคล
แนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั งานดา น เฉพาะของครุภัณฑห รือ ขา ราชการครูและบุคลากร องคกร หนวยงานและ
วิชาการของสถานศึกษา สิง่ กอสรางท่ีใชง บประมาณ ทางการศึกษา สถาบนั สงั คมอน่ื ท่จี ดั
16. การคัดเลือกหนังสือ เพ่ือเสนอตอเลขาธกิ าร 15. การสง เสริมและยก การศกึ ษา
แบบเรยี นเพ่ือใชใน คณะกรรมการการศึกษาข้นั ยองเชิดชเู กียรติ 19. งานประสานราชการ
สถานศกึ ษา พืน้ ฐาน 16. การสงเสรมิ มาตรฐาน สวนภมู ภิ าคและสว นทองถิ่น
17. การพฒั นาส่ือ และใช 13. การพัฒนาระบบขอมูล วิชาชีพและจรรยาบรรณ
ส่ือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา สารสนเทศเพื่อการจดั ทาํ และ วิชาชีพ 20. การรายงานผลการ
จดั หาพสั ดุ 14. การจดั หา 17. การสง เสริมวนิ ัย ปฏบิ ัติงาน
พัสดุ คณุ ธรรมจริยธรรมสาํ หรบั 21. การจัดระบบการ
15. การควบคมุ ดูแล ขาราชการครูและบุคลากร ควบคุมภายในหนวยงาน
บํารุงรกั ษาและจําหนา ยพัสดุ ทางการศกึ ษา



1.6.โครงสรา งการบริหารจัดการศึกษา(ตอ)

แผนงานวชิ าการ แผนงานงบประมาณ แผนบุคลากร แผนงานบรหิ ารท่วั ไป
16. การจดั หาผลประโยชน 18. การรเิ ริม่ สง เสริมการ 22. แนวทางการจดั
จากทรัพยสิน ขอรบั ใบอนุญาตประกอบ กิจกรรมเพอ่ื ปรับเปล่ียน
17. การรบั เงนิ การเก็บ วชิ าชพี ครูและบุคลากร พฤติกรรม
รักษาเงิน และการจายเงนิ ทางการศึกษา ในการลงโทษนักเรยี น
19. การจัดทาํ บัญชีการเงิน 19. การพัฒนาขาราชการ
20. การจัดทํารายงาน ครูและบคุ ลากรทางการ
ทางการเงนิ และงบการเงนิ ศกึ ษา
21. การจัดทาํ หรอื จดั หา
แบบพิมพบัญชี ทะเบยี นและ
รายงาน



๑.7 โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลวดั ชองลม พุทธศกั ราช ๒๕63
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง 2560)

กลมุ สาระการเรยี นรู/กจิ กรรม เวลาเรยี น ป.๖
กลุมสาระการเรยี นรู ระดบั ชนั้ ประถมศึกษา
ภาษาไทย ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑๖๐
คณิตศาสตร ๑๖๐
วิทยาศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
สงั คมศึกษา ศาสนา ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๘๐
และวัฒนธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๔๐
ประวัตศิ าสตร ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาตา งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐
รวมเวลาเรยี น (พ้ืนฐาน) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐
เวลาเรยี นเพ่มิ เตมิ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๔๐
๔๐
หนาท่ีพลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐
หลักสตู รตานทจุ รติ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๔๐
๑.กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐
๒.ลกู เสือ-เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๐
๓.กจิ กรรมชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
๔.กจิ กรรมเพื่อสังคม และ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
สาธารณประโยชน
รวมเวลาเรียนท้ังหมด ๑,๐4๐ชว่ั โมง/ป

๑๐

๑.8 ผลการประเมินพฒั นาการ ตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั (ขอ มูล ณ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๒)

นักเรียนชัน้ อนบุ าลปท่ี ๒-๓ ทเ่ี ขา รบั การประเมิน จาํ นวน ๕๘ คน

ผลการประเมินพฒั นาการ

พฒั นาการ ดี พอใช ปรบั ปรงุ

จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ

ดา นรา งกาย ๕๓ ๙๑.๓๘ ๕ ๘.๖๒ - -

ดานอารมณและจติ ใจ ๕๐ ๘๖.๒๑ ๘ ๑๓.๗๙ - -

ดา นสตปิ ญญา ๔๒ ๗๒.๔๑ ๑๖ ๒๗.๕๙ - -

ดา นสงั คม ๔๒ ๗๒.๔๑ ๑๖ ๒๗.๕๙ - -

รวมเฉลีย่ ๘๐.๖๐ ๑๙.๔๐ -

๑๑

จากขอมูลจะเห็นไดวาผลพัฒนาการท้ัง ๔ ดาน ทุกระดับช้ันของการศึกษาปฐมวัย ตั้งแตระดับชั้นอนุบาล ๒ ถึงช้ัน
อนบุ าล ๓ ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖๒

ผลการประเมินดานรางกาย อยูในระดับดี คิดเปนรอยละ ๙๑.๓๘ อยูในระดับพอใช คิดเปนรอยละ ๘.๖๒ ระดับ
ปรบั ปรงุ คิดเปนรอยละ ๐.๐๐

ผลการประเมนิ ดานอารมณแ ละจิตใจ อยใู นระดบั ดี คดิ เปน รอยละ ๘๖.๒๑ อยใู นระดับพอใช คดิ เปนรอ ยละ ๑๓.๗๙
ระดบั ปรับปรงุ คดิ เปนรอ ยละ ๐.๐๐

ผลการประเมินดานสังคม อยูในระดับดี คิดเปนรอยละ ๗๒.๔๑ อยูในระดับพอใช คิดเปนรอยละ ๒๗.๕๙ ระดับ
ปรบั ปรงุ คิดเปน รอ ยละ ๐.๐๐

ผลการประเมินดานสติปญ ญา อยใู นระดับดี คิดเปนรอยละ ๗๒.๔๑ อยใู นระดบั พอใช คดิ เปนรอยละ ๒๗.๕๙ ระดับ
ปรบั ปรุง คดิ เปนรอ ยละ ๐.๐๐

สรปุ ผลการประเมินรวมทั้ง ๔ ดาน ระดับดี คิดเปนรอยละ ๘๐.๖๐ ระดับพอใช คิดเปนรอ ยละ ๑๙.๔๐ และระดับ
ปรบั ปรุง คดิ เปนรอยละ ๐.๐๐

๑.9 ผลการประเมนิ ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน (ขอมลู ณ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๒)

ขอมูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ๘ สาระการเรยี นรู
จํานวนนักเรียนท้ังหมดแตละช้ัน ๒๗ ๒๐ ๒๕ ๒๖ ๑๕ ๒๐ ๑๓๓

คะแนนเฉล่ยี

วิชา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ เฉล่ยี

ภาษาไทย ๗๘.๖๗ ๗๒.๒๔ ๖๓.๕๒ ๖๒.๕๔ ๗๔.๘๕ ๗๐.๒๕ ๗๐.๓๔

คณิตศาสตร ๗๖.๕๖ ๗๑.๒๔ ๖๕.๗๒ ๖๒.๔๒ ๖๗.๖๒ ๖๒.๗๕ ๖๗.๗๒

วิทยาศาสตร ๗๒.๔๘ ๗๑.๖๗ ๖๗.๑๖ ๕๙.๕๘ ๗๒.๐๘ ๖๕.๘๐ ๖๘.๑๓

สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๖๔.๑๙ ๖๒.๗๔ ๖๙.๔๐ ๖๘.๘๕ ๗๙.๔๖ ๗๒.๐๓ ๖๙.๔๔

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๗๘.๗๔ ๗๒.๐๕ ๗๒.๑๒ ๗๖.๖๘ ๘๕.๑๕ ๘๐.๙๐ ๗๗.๖๑

ศลิ ปะ ๗๖.๑๑ ๗๓.๕๒ ๗๓.๘๐ ๗๓.๒๗ ๘๗.๓๑ ๗๘.๘๐ ๗๗.๑๔

การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ๗๘.๒๒ ๗๓.๓๓ ๗๔.๘๘ ๗๔.๐๘ ๗๘.๓๘ ๗๖.๘๐ ๗๕.๙๕

ภาษาองั กฤษ ๗๔.๔๑ ๖๔.๒๔ ๖๙.๔๔ ๖๒.๘๘ ๗๐.๓๑ ๖๗.๔๐ ๖๘.๑๑

เฉลยี่ รวม ๗๔.๙๒ ๗๐.๑๓ ๖๙.๕๑ ๖๗.๕๔ ๗๖.๘๙ ๗๑.๘๔ ๗๑.๘๐

๑๒

จากตาราง พบวา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเฉล่ียรอยละ กลมุ สาระการเรียนรูทุกระดับชัน้ ตั้งแตชั้นประถมศึกษาปท่ี
๑ – ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ รวมเฉล่ียรอ ยละ ๗๑.๘๐ อยูในคุณภาพระดับ ดเี ลิศ

เมื่อพิจารณาเปนรายระดับช้ัน พบวา ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เฉล่ียรอยละ ๗๔.๙๒ อยูในระดับคุณภาพดีเลิศ ชั้น
ประถมศึกษาปท ่ี ๒ เฉล่ียรอ ยละ ๗๐.๑๓ อยใู นระดับคุณภาพ ดีเลศิ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ เฉลีย่ รอยละ ๖๙.๕๑ อยูในระดับ
คุณภาพ ดี ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔ เฉล่ียรอยละ ๖๗.๕๔ อยูในระดับคุณภาพ ดี ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ เฉลี่ยรอยละ ๗๖.๘๙
อยใู นระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ เฉลีย่ รอยละ ๗๑.๘๔ อยูในระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ

เมื่อพิจารณาเปนรายวิชา พบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย รอยละ ๗๐.๓๔ อยูในระดับคุณภาพ ดีเลิศ กลุม
สาระการเรียนรูคณิตศาสตร รอยละ ๖๗.๗๒ อยูใ นระดับคุณภาพ ดี กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร รอยละ ๖๘.๑๓ อยูใน
ระดบั คณุ ภาพ ดี กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รอ ยละ ๖๙.๔๔ อยใู นระดับคณุ ภาพ ดี กลมุ สาระการ
เรียนรูสุขศึกษาพลศึกษา รอยละ ๗๗.๖๑ อยูในระดับคุณภาพ ดีเลิศ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ รอยละ ๗๗.๑๔ อยูในระดับ
คณุ ภาพ ดีเลศิ กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี รอยละ ๗๕.๙๕ อยูในระดับคณุ ภาพ ดีเลศิ และกลุมสาระการ
เรยี นรูภาษาตา ง ประเทศ รอยละ ๖๘.๑๑ อยูในระดับคุณภาพ ดี

รอยละของนกั เรยี นทม่ี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแตล ะรายวิชาในระดบั ๓ ข้นึ ไป

๑๓

จากตารางพบวา รอยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตละกลุมสาระการเรียนรู ในระดับ ๓ ขึ้นไป
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ ถงึ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ รวมเฉลยี่ คิดเปนรอ ยละ ๖๙.๐๑ อยใู นระดบั คณุ ภาพ ดี

เมื่อพิจารณาเปนรายช้ัน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตละกลุมสาระการเรียนรู ในระดับ ๓ ข้ึนไป
ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ คาเฉล่ียรอยละ ๗๙.๑๗ อยูในระดับคุณภาพดีเลิศ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๒ มีคาเฉลี่ยรอยละ ๗๙.๐๖
อยูในระดับคณุ ภาพดีเลิศ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ มีคาเฉลยี่ รอยละ ๕๘.๗๕ อยูในระดับคุณภาพ ปานกลาง ช้ันประถมศึกษาปท่ี
๔ มีคาเฉลี่ยรอยละ ๕๖.๙๗ อยูในระดับคุณภาพ ปานกลาง ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ มีคาเฉล่ียรอยละ ๗๐.๔๒ อยูในระดับ
คุณภาพดเี ลิศ และช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ มีคาเฉลีย่ รอ ยละ ๖๙.๖๙ อยูในระดบั คุณภาพ ดี

เมื่อพิจารณาเปนรายกลุมสาระการเรยี นรู พบวา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีคา เฉลี่ยรอยละ ๖๒.๓๒ อยูใน
ระดับคุณภาพ ดี กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร มีคาเฉลี่ยรอยละ๕๗.๘๑ อยูในระดับคุณภาพ ดี กลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร มีคา เฉลี่ยรอยละ ๕๕.๗๙ อยูในระดับคุณภาพปานกลาง กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษาศาสนาและ มีคาเฉลี่ย
รอยละ ๖๐.๐๕ อยูในระดับคุณภาพ ดี กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา มีคาเฉล่ียรอยละ ๘๗.๐๖ อยูในระดับ
คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ มคี าเฉลยี่ รอยละ ๘๔.๘๙ อยใู นระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม กลุมสาระการเรยี นรู
การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีคาเฉลี่ยรอยละ ๙๓.๘๒ อยูในระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม และกลุมสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ มีคาเฉล่ียรอยละ ๕๐.๓๓ อยใู นระดบั คุณภาพ ปานกลาง

๒) ผลประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค

๑๔

จากตาราง พบวา รอยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑
ถึง ประถมศึกษาปท่ี ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๒ รวมระดับดีเย่ียม คิดเปนรอยละ ๔๗.๒๖ รวมระดับดี คิดเปนรอยละ ๔๒.๙๑
รวมระดบั ผานเกณฑ คดิ เปนรอ ยละ ๕.๓๒ และรวมระดับไมผานเกณฑ คดิ เปน รอยละ ๔.๕๑

สรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค รวมต้ังแตระดับดีขึ้นไป คิดเปนรอยละ ๙๐.๑๗ อยูในระดับ
คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
๓) ผลการประเมนิ การอาน คดิ วิเคราะหแ ละเขียน

จากตาราง พบวา รอยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑
ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ ปการศึกษา ๒๕๖๒ รวมระดับดเี ยี่ยม คิดเปน รอยละ ๔๗.๑๑ รวมระดับดี คิดเปน รอ ยละ ๓๓.๖๙
รวมระดับผานเกณฑ คิดเปนรอยละ ๑๔.๗๐ และรวมระดับไมผ านเกณฑ คิดเปนรอยละ ๔.๕๑ โดยการประเมินการอาน คิด
วิเคราะหแ ละเขียน รวมระดับดีขน้ึ ไป คดิ เปนรอยละ ๘๐.๘๐ อยใู นระดับคุณภาพ ยอดเยยี่ ม

๑๕

๔) ผลการประเมนิ สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน ๕ ดา น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒

สมรรถนะ ๑.ความสามารถ ๒.ความสามารถใน ๓.ความสามารถใน ๔.ความสามารถใน ๕.ความสามารถใน รอยละ
ผูเรยี น ในการส่อื สาร
การคิด การแกปญ หา การใชท กั ษะชีวิต การใชเทคโนโลยี จํานวน ของ
นักเรียน จาํ นวน

ต้ังแต นักเรยี น

ชน้ั ดี ดี ผาน ปรับ ดี ดี ผา น ปรบั ดี ดี ผาน ปรบั ดี ดี ผา น ปรับ ดี ดี ผา น ปรับ ระดบั ดี ตัง้ แต
เยย่ี ม ปรุง เยย่ี ม ปรงุ เยย่ี ม ปรงุ เยี่ยม ปรุง เยี่ยม ปรงุ ข้นึ ไป ระดับดี

ขึ้นไป

ป.๑(๒๗) ๑๗ ๕ ๒ ๓ ๑๗ ๕ ๔ ๑ ๑๙ ๗ - ๑ ๑๘ ๕ ๓ ๑ ๑๗ ๖ ๓ ๑ ๑๑๖ ๘๕.๙๓

ป.๒(๒๐) ๔ ๙ ๕ ๒ ๖ ๑๐ ๓ ๑ ๓ ๑๔ ๒ ๑ ๔ ๑๔ ๑ ๑ ๒ ๑๗ - ๑ ๘๓ ๘๓.๐๐

ป.๓(๒๕) ๑๑ ๗ ๖ ๑ ๒๔ - - ๑ ๑๑ ๗ ๖ ๑ ๒๔ - - ๑ ๒๔ - - ๑ ๑๐๘ ๘๖.๔๐

ป.๔(๒๖) ๑๐ ๖ ๘ ๒ ๙ ๗ ๘ ๒ ๖ ๑๐ ๘ ๒ ๑๑ ๕ ๘ ๒ ๗ ๙ ๘ ๒ ๘๐ ๖๑.๕๔

ป.๕(๑๕) ๖ ๑ ๗ ๑ ๖ ๔ ๔ ๑ - ๕ ๙ ๑ ๗ ๗ - ๑ ๖ ๘ - ๑ ๕๐ ๖๖.๖๗

ป.๖(๒๐) ๑๑ ๖ ๒ ๑ ๑๙ - - ๑ ๑๙ - - ๑ ๑๙ - - ๑ ๑๗ ๒ - ๑ ๙๓ ๙๓.๐๐

จาํ นวน

นกั เรียน ๙๓ ๑๐๗ ๑๐๑ ๑๑๔ ๑๑๕
ต้ังแตร ะดบั

ดขี นึ้ ไป

รอ ยละของ ๖๙.๙๒ ๘๐.๔๕ ๗๕.๙๔ ๘๕.๗๑ ๘๖.๔๗
จํานวน
นักเรียน
ตง้ั แตระดับ
ดขี ้นึ ไป

๑๖

รอยละผลการประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๕ ดา น ปการศกึ ษา ๒๕๖๒

จาํ นวน จํานวนนกั เรยี นท่ไี ดรับผลการประเมิน จํานวน รอยละ เฉลยี่
นกั เรยี น นกั เรียน ของ รอ ยละ
สมรรถนะ (คน) ต้ังแต จาํ นวน ของ
ของผเู รียน ระดบั ดี นกั เรยี น จาํ นวน
ขึน้ ไป ต้งั แต นักเรยี น
ดีเยี่ยม รอย ดี รอย ผาน รอ ย ปรบั รอ ย ระดบั ดี ตงั้ แต
ละ ละ ละ ปรุง ละ ข้ึนไป ระดับดี
ขึน้ ไป

ความสามารถ ๑๓๓ ๕๙ ๔๔.๓๖ ๓๔ ๒๕.๕๖ ๓๐ ๒๒.๕๖ ๑๐ ๗.๕๒ ๙๓ ๗๓.๒๓
ในการสอ่ื สาร

ความสามารถ ๑๓๓ ๘๑ ๖๐.๙๐ ๒๖ ๑๙.๕๕ ๑๙ ๑๔.๒๙ ๗ ๕.๒๖ ๑๐๗ ๘๔.๒๕
ในการคดิ

ความสามารถ

ในการ ๑๓๓ ๕๘ ๔๓.๖๑ ๔๓ ๓๒.๓๓ ๒๕ ๑๘.๘๐ ๗ ๕.๒๖ ๑๐๑ ๗๙.๕๓

แกป ญ หา ๘๓.๔๖
ความสามารถ

ในการใช ๑๓๓ ๘๓ ๖๒.๔๑ ๓๑ ๒๓.๓๑ ๑๒ ๙.๐๒ ๗ ๕.๒๖ ๑๑๔ ๘๙.๗๖

ทกั ษะชวี ิต

ความสามารถ

ในการใช ๑๓๓ ๗๓ ๕๔.๘๙ ๔๒ ๓๑.๕๘ ๑๑ ๘.๒๗ ๗ ๕.๒๖ ๑๑๕ ๙๐.๕๕

เทคโนโลยี

รวม/เฉลี่ย ๑๓๓ ๓๕๔.๐๐ ๕๓.๒๓ ๑๗๖.๐๐ ๒๖.๔๗ ๙๗.๐๐ ๑๔.๕๙ ๓๘.๐๐ ๕.๗๑ ๕๓๐.๐๐ ๘๓.๔๖

จากตาราง พบวา นักเรียนมีความสามารถในการส่ือสาร ระดับดีเย่ียม รอยละ ๔๔.๓๖ ระดับดี รอยละ ๒๕.๕๖
ระดับผา น รอยละ ๒๒.๕๖ ความสามารถในการคิด ระดับดีเยี่ยม รอยละ ๖๐.๙๐ ระดับดี รอยละ ๑๙.๕๕ ระดับผาน รอยละ
๑๔.๒๙ ความสามารถในการแกปญหา ระดับดีเยี่ยม รอยละ ๔๓.๖๑ ระดับดี รอยละ ๓๒.๓๓ ระดับผาน รอยละ ๑๘.๘๐
ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ระดับดีเยี่ยม รอยละ ๖๒.๔๑ ระดับดี รอยละ ๒๓.๓๑ ระดับผาน รอยละ ๙.๐๒
ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ระดับดีเยี่ยม รอ ยละ ๕๔.๘๙ ระดับดี รอยละ ๓๑.๕๘ ระดับผา น รอ ยละ ๘.๒๗

ผลการประเมนิ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๕ ดา น ประจําปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดับดีเปน ตนไป รอ ยละ ๘๓.๔๖ อยู
ในระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

๑๗

๕) ผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒

จากกราฟจะเห็นไดวา ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ พบวา นกั เรยี นผา นการประเมนิ
กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น รอยละ ๙๕.๔๙ ไมผ า นการประเมิน รอ ยละ ๔.๕๑

๑๘

๑.10 ผลการประเมินความสามารถดา นการอานของผูเรยี น (Reading Test : RT)

๑) ผลการประเมินความสามารถดานการอา นของผูเ รยี น (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๖๒

จากตาราง พบวา ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ ปการศึกษา
๒๕๖๒ โรงเรยี นอนุบาลวัดชองลม มีผลสมรรถนะดา นการอานออกเสยี ง รอ ยละ ๙๒.๒๓ สูงกวา กวา ระดับเขตพื้นที่ และสงู กวา
ระดับประเทศ สมรรถนะดานการอานรูเร่ือง รอยละ ๘๑.๗๖ สูงกวาระดับเขตพ้ืนท่ี และสูงกวาระดับประเทศ รวม ๒
สมรรถนะ คิดเปนรอยละ ๘๖.๙๙ สูงกวา ระดบั เขตพน้ื ท่ี และสงู กวาระดบั ประเทศ

๑๙

จากตาราง พบวา รอยละของจํานวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ช้ัน
ประถมศึกษาปท่ี ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๒ ดานการอานออกเสียงอยูในระดับดีมาก จํานวน ๒๓ คน (รอยละ ๘๘.๔๖)
ระดับดี จํานวน ๓ คน (รอ ยละ ๑๑.๕๓)

ดานการอา นรูเ รอื่ ง อยูในระดบั ดีมาก จํานวน ๑๙ คน (รอ ยละ ๗๓.๐๗) ระดบั ดี จาํ นวน ๔ คน (รอยละ ๑๕.๕๓)
ระดับพอใช จาํ นวน ๒ คน (รอ ยละ ๗.๖๙) ระดับปรับปรงุ จํานวน๑ คน (รอ ยละ ๓.๘๔)

รวม ๒ สมรรถนะ อยูในระดับดีมาก จํานวน ๒๒ คน (รอยละ ๘๔.๖๑) ระดับดี จํานวน ๓ คน (รอยละ
๑๑.๕๓) ระดับพอใช จํานวน ๑ คน คดิ เปน รอ ยละ ๓.๘๔

สรุปไดวานักเรียนมีผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ต้ังแตระดับคุณ ภาพ
ดีขึ้นไป รอ ยละ ๙๖.๑๔ อยใู นระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม

๒๐

๒) ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรยี น (RT) ปการศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

๒.๑) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ และรอยละของ
ผลตางระหวางปการศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

สมรรถนะ ปก ารศึกษา ปการศึกษา รอยละของผลตาง
๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ระวางปการศกึ ษา
การอา นออกเสียง ๖๓.๐๒ ๙๒.๒๓
การอานรูเร่อื ง ๗๕.๖๑ ๘๑.๗๖ ๒๙.๒๑
รวม ๒ สมรรถนะ ๖๙.๓๒ ๘๖.๙๙ ๖.๑๕
๑๗.๖๗

จากตาราง พบวา ปการศึกษา ๒๕๖๒ ดานการอานออกเสียง มีคะแนนเฉล่ียสูงกวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ รอยละ
๒๙.๒๑ ดา นการอา นรูเรื่อง มีคะแนนเฉลยี่ สูงกวา ปการศกึ ษา ๒๕๖๑ รอ ยละ ๖.๑๕ และรวมทง้ั ๒ สมรรถนะ มีคะแนน
เฉลี่ยสงู กวาปการศึกษา ๒๕๖๑ รอ ยละ ๑๗.๖๗

๒.๒) เปรียบเทยี บผลการประเมินความสามารถดานการอา นของผูเรียน (RT) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ และรอ ยละของ
ผลตา งระหวางปการศกึ ษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒ จาํ แนกตามรอ ยละของระดับคณุ ภาพ

จากแผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดานการอานออกเสียง ปการศึกษา ๒๕๖๑ –
๒๕๖๒ จําแนกตามรอยละของระดับคณุ ภาพ พบวา ระดับดีมากปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมนิ สูงกวา ป
การศึกษา ๒๕๖๑ ระดับดี ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินต่ํากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับพอใช ป
การศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินตํ่ากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับปรับปรุง ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการ
ประเมนิ เทา กับปการศกึ ษา ๒๕๖๑

๒๑

จากแผนภูมิเปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดานการอานรูเรื่อง ปการศึกษา ๒๕๖๑ –
๒๕๖๒ จําแนกตามรอยละของระดับคุณภาพ พบวา ระดับดีมาก ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินสูงกวา
ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับดี ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินตํ่ากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับพอใช
ปการศึกษา ๒๕๖๒ มผี ลการประเมินตํ่ากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดบั ปรบั ปรงุ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ มีผลการ
ประเมนิ สงู กวา ปก ารศึกษา ๒๕๖๑

จากแผนภูมิเปรยี บเทยี บผลการประเมนิ รวมสองสมรรถนะ ปการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒ จําแนกตาม
รอยละของระดบั คณุ ภาพ พบวา ระดบั ดมี าก ปการศึกษา ๒๕๖๒ มผี ลการประเมินสูงกวา ปการศึกษา ๒๕๖๑
ระดับดี ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินต่ํากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับพอใช ปการศึกษา ๒๕๖๒
มีผลการประเมินตํ่ากวา ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระดับปรับปรุง ปการศึกษา ๒๕๖๒ มีผลการประเมินเทากับ
ปการศึกษา ๒๕๖๑

๒๒

๑.11 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผูเ รียนระดบั ชาติ (National Test :

NT)
๑) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู รียนระดับชาต(ิ NT) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ ปการศกึ ษา

๒๕๖๒

จากตาราง ผลประเมินคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ ปการศึกษา ๒๕๖2 พบวา คะแนนเฉลี่ย
ความสามารถดานภาษาไทย รอยละ 45.05 ต่าํ กวา คะแนนเฉลี่ยระดบั เขตพ้นื ที่ ระดับสงั กัด สพฐ. ระดับประเทศ

คะแนนเฉล่ียความสามารถดานคณิตศาสตร รอยละ 49.94 ตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ สูงกวาระดับสังกัด
สพฐ. ระดับประเทศ

คะแนนเฉล่ียรวมสองความสามารถ รอยละ 47.50 ต่ํากวาคะแนนเฉล่ียระดับเขตพ้ืนที่ สูงกวาระดับสังกัด สพฐ.
ระดับประเทศ

๒๓

จ า ก แ ผ น ภู มิ พ บ ว า ร อ ย ล ะ ข อ ง จํ า น ว น นั ก เรี ย น ที่ มี ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ ผู เรี ย น (NT )
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 ประจาํ ปก ารศกึ ษา 2562 จําแนกตามระดบั คณุ ภาพ มรี ายละเอยี ดดังน้ี

ความสามารถดานภาษาไทยอยูในระดับดีมาก จํานวน 3 คน (รอยละ 15.78) ระดับดี จํานวน 6 คน (รอย
ละ 31.57) ระดบั พอใช จํานวน 2 คน (รอยละ 10.52) ระดับปรบั ปรุง จํานวน 8 คน (รอยละ 42.10) ดา นคณิตศาสตรอ ยู
ในระดบั ดีมาก จาํ นวน 3 คน (รอยละ 15.78) ระดับดี จํานวน 4 คน (รอยละ 21.05) ระดบั พอใช จํานวน 8 คน (รอยละ
42.10) ระดบั ปรับปรุง จาํ นวน 4 คน (รอยละ 21.05)

สรุปไดวานักเรยี นมีผลการประเมนิ คุณภาพผูเรียนอยใู นระดบั ปานกลาง

๒๔

๑.12 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET)

๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ปการศกึ ษา ๒๕๖๒

จากตาราง พบวาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ ประจําป
การศกึ ษา ๒๕๖๒

คะแนนเฉล่ียวิชาภาษาไทย คิดเปนรอยละ ๔๖.๘๔ ตํ่ากวาคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ ตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยระดับ
สงั กัด สพฐ. ตํ่ากวาคะแนนเฉลย่ี ระดับเขตพ้นื ท่ี

คะแนนเฉล่ียวิชาคณิตศาสตร คดิ เปน รอ ยละ ๓๒.๓๕ ต่าํ กวาคะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ สูงกวา คะแนนเฉลย่ี ระดับ
สงั กัด สพฐ. ตํา่ กวา คะแนนเฉลย่ี ระดบั เขตพ้ืนที่

คะแนนเฉล่ียวิชาวิทยาศาสตร คดิ เปน รอ ยละ ๓๓.๕๐ ต่าํ กวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยระดับ
สังกัด สพฐ. ต่าํ กวา คะแนนเฉลีย่ ระดับเขตพนื้ ท่ี

๒๕

คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาอังกฤษ คิดเปนรอยละ ๒๖.๐๓ ตํ่ากวาคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ ต่ํากวาคะแนนเฉลี่ย
ระดับสังกัด สพฐ. ตา่ํ กวา คะแนนเฉลี่ยระดับเขตพนื้ ท่ี

คะแนนเฉล่ียรวมทั้ง ๔ กลุมสาระการเรียนรู คิดเปนรอยละ ๓๔.๖๘ ตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ตํ่ากวา
คะแนนเฉลีย่ ระดบั สงั กดั สพฐ. ตา่ํ กวาคะแนนเฉลย่ี ระดบั เขตพนื้ ท่ี

๒)เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน(O-NET) ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒

จากตาราง พบวาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ ปการศึกษา
๒๕๖๑ ถึง ๒๕๖๒ คะแนนเฉลี่ยวิชาภาษาไทย มีคาเฉล่ียต่ําลง รอยละ ๙.๒๘ คะแนนเฉล่ียวิชาคณิตศาสตร มีคาเฉล่ียตํ่าลง
รอยละ ๙.๖๑ คะแนนเฉลี่ยวิชาวิทยาศาสตร มีคาเฉล่ียต่ําลง รอยละ ๓.๔๒ และคะแนนเฉล่ียวิชาภาษาอังกฤษ มีคาเฉล่ีย
ต่ําลง รอยละ ๑๕.๘๙ รวมทงั้ ๔ กลุม สาระการเรียนรูม คี า เฉลยี่ ตํา่ ลง รอ ยละ ๙.๕๕

๒๖

1.๑3 สรปุ ผลการประเมินจากหนวยงานภายนอกและขอเสนอแนะ
ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสองประเมินวันที่ 4-6 กุมภาพันธ 2551
๑) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย (รอบสอง)
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ปรบั ปรุ
เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอก ง พอใช ดี ดีมาก

ดา นผูเรียน 
มาตรฐานที่ ๑ผเู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงค
มาตรฐานที่ ๒ผูเรยี นมสี ุขนสิ ัย สขุ ภาพกาย และสุขภาพจติ ที่ดี 

มาตรฐานที่ ๓ผเู รียนมีความสนใจกจิ กรรมดานศลิ ปะ ดนตรี และการ 

เคลื่อนไหว
มาตรฐานท่ี ๔ผูเ รียนมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ แกป ญหา และคิด
รเิ ริม่ สรา งสรรค 

มาตรฐานท่ี ๕ผูเรยี นมีความรูทกั ษะพ้ืนฐานตามพฒั นาการทกุ ดา น 
มาตรฐานที่ ๖ผเู รียนสนใจใฝร ู รักการอาน และพฒั นาตนเอง
มาตรฐานท่ี ๗ผูเ รียนเลน/ทํากิจกรรมรวมกนั กบั ผูอน่ื ไดและช่ืนชมในผลงานของ
ตนเอง
ดานครู
มาตรฐานที่ ๘ครูมคี ุณวุฒิ/ความรู ความสามารถตรงกบั งานท่ีรับผิดชอบและมี
ครเู พียงพอ 

มาตรฐานท่ี ๙ครมู ีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยา งมีประสทิ ธิภาพ 
และเนน ผเู รยี นเปนสําคญั
ดานผบู ริหาร 

มาตรฐานท่ี ๑๐ผบู รหิ ารมภี าวะผูน ําและมีความสามารถในการบริหารจดั
การศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑สถานศกึ ษามีการจดั องคกร โครงสราง และบริหารงานอยาง 

เปนระบบครบวงจรใหบรรลเุ ปา หมายการศึกษา 
มาตรฐานท่ี ๑๒สถานศึกษามกี ารจดั กจิ กรรมและการเรียนการสอนโดยเนน
ผูเรียนเปน สําคัญ
มาตรฐานท่ี ๑๓สถานศกึ ษามีหลักสตู รทเ่ี หมาะสมกับผเู รียนและทองถ่ิน มีส่ือ 

การเรียนการสอนท่เี อ้อื ตอการเรียนรู 
มาตรฐานท่ี ๑๔สถานศกึ ษาสงเสริมความสมั พันธและความรวมมือกับชมุ ชนใน
การพัฒนาการศึกษา
สรปุ โรงเรียนมีผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง ระดบั การศึกษาปฐมวยั อยูในระดับ
คุณภาพ ดี
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รบั รอง ไมร บั รอง

๒๗

๒) ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (รอบสอง) ระดับคุณภาพ
มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
เพ่อื การประเมนิ คุณภาพภายนอก ปรบั ปรุง พอใช ดี ดมี าก

ดานผูเรียน 
มาตรฐานที่ ๑ผูเ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มท่ีพึงประสงค 
มาตรฐานที่ ๒ผูเรียนมีสุขนสิ ยั สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจิตที่ดี

มาตรฐานท่ี ๓ผูเรยี นมีสุนทรียภาพ และลกั ษณะนสิ ัยดานศลิ ปะ ดนตรี และ 
กีฬา 

มาตรฐานที่ ๔ผเู รียนมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห คดิ สังเคราะห มี 
วิจารณญาณ มีความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรค คิดไตรต รอง และมี
วิสัยทศั น

มาตรฐานท่ี ๕ผเู รยี นมคี วามรทู กั ษะทีจ่ าํ เปน ตามหลกั สูตร

มาตรฐานท่ี ๖ผเู รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรูด ว ยตนเอง รักการเรียนรู 

และพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง 
มาตรฐานท่ี ๗ผูเรยี นมที กั ษะในการทาํ งาน รกั การทาํ งาน สามารถทาํ งาน
รวมกบั ผูอนื่ ได และมเี จตคติทด่ี ตี ออาชพี สุจริต
ดา นครู 
มาตรฐานที่ ๘ครูมีคณุ วฒุ ิ/ความรู ความสามารถตรงกบั งานทีร่ ับผดิ ชอบและมี
ครูเพยี งพอ
มาตรฐานท่ี ๙ครมู ีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยางมี 

ดา นผบู ริหาร ประสทิ ธภิ าพและเนน ผเู รียนเปนสําคญั 

มาตรฐานที่ ๑๐ผบู ริหารมีภาวะผูนาํ และมีความสามารถในการบรหิ ารจดั
การศึกษา
มาตรฐานที่ ๑๑สถานศกึ ษามีการจัดองคกร โครงสราง และบรหิ ารงานอยา ง
เปน ระบบครบวงจรใหบรรลเุ ปา หมายการศกึ ษา 

มาตรฐานที่ ๑๒สถานศกึ ษามีการจดั กจิ กรรมและการเรยี นการสอนโดยเนน 
ผูเ รียนเปน สําคัญ
มาตรฐานที่ ๑๓สถานศึกษามีหลักสูตรทเ่ี หมาะสมกับผเู รยี นและทองถน่ิ มสี ่ือ
การเรียนการสอนทเ่ี อ้อื ตอการเรียนรู 

มาตรฐานที่ ๑๔สถานศกึ ษาสงเสริมความสมั พนั ธแ ละความรวมมอื กับชมุ ชนใน 
การพฒั นาการศึกษา
สรุปโรงเรยี นมีผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
อยใู นระดบั คณุ ภาพ ดี
ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รบั รอง ไมรบั รอง

๒๘

ขอเสนอแนะเพือ่ พฒั นาสถานศกึ ษา
1.ดานผเู รียน
สถานศึกษาความพฒั นาผูเรยี นระดบั ประถมศกึ ษาใหม ีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นในกลมุ สาระ

การเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร และภาษาตา งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สูงขีน้ โดยจดั
กจิ กรรมทดสอบความรพู น้ื ฐานของผูเรยี นแตล ะคน เพ่อื ปรับความรูพ ้ืนฐานของผูเรยี นในแตล ะกลมุ สาระการ
เรยี นรู จดั กิจกรรมการสอนซอมเสริม ฝก ใหผูเรียนไดเ รียนรจู ากการฝก ปฏิบตั ิจริงในการทดลอง การฝกการใช
ภาษาเพ่ือการสื่อสาร และกจิ กรรมเขาคา ยทางวิชาการ เปน ตน

2. ดานครู
สถานศึกษาควรประสานความรวมมือกบั หนว ยงานตนสงั กัด ผูน าํ ชมุ ชน และองคกรปกครอง

สว นทองถิ่น ในการจดั จางครูในระดบั การศึกษาปฐมวยั และระดบั ประถมศึกษาเพ่มิ ใหมีจาํ นวนครูเพียงพอ
3. ดานผูบรหิ าร
สถานศกึ ษาควรจัดใหม ีการประชมุ คณะกรรมการอยางสม่ําเสมอ และเปด โอกาสใหมีสวนรว ม

ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เชน การจดั ทาํ แผนกลยุทธ หลักสูตรทอ งถน่ิ และมบี ทบาทในการกาํ หนด
ทิศทางและการจดั การศกึ ษาใหเ ดนชดั มากขน้ึ
นวตั กรรมหรือการปฏิบตั ิทีเ่ ปนเลศิ ของสถานศึกษา

1.โครงการโรงเรียนสง เสรมิ สุขภาพ
2. โครงการหนง่ึ โรงเรยี นหนงึ่ นวัตกรรม (การประดษิ ฐดอกไมจ ันทน)
ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานของสถานศกึ ษาในอนาคต
1. สถานศกึ ษาประสานความรว มมอื กบั ชมุ ชน องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ และผปู กครองนักรียน
ใหเขามามสี วนรวมในการพฒั นาคุณภาพผเู รียน ดานมสี ุขนิสัย สขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตทดี่ ี รวมทัง้ สงเสรมิ
ใหผ ูเรยี นมีความสนใจและเขา รวมกิกจรรมดา นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า และรว มสบื สานกิจกรรมดา น
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณที องถ่ินใหย ่งั ยนื สบื ไป
2. สถานศกึ ษาประสานความรวมมือกบั กรรมการสถานศึกษา หนว ยงานตนสังกดั และหนว ยงานที่
เก่ยี วขอ ง เพอ่ื ใหค รูไดรบั การอบรมสมั มนา ศึกษาดูงานเพ่ือพฒั นาประสทิ ธิภาพการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน
ผเู รียนเปน สาํ คญั อยางตอเนื่อง
3. ผูบ รหิ ารใชภ าวะผูนําและความสามารถในการบริหารจัดการ ประสานความรวมมือชุมชน
ผูปกครองนักเรยี น ผูน ําชุมชน องคก รปกครองสวนทองถิ่นและหนว ยงานตนสังกดั เพอ่ื รวมจดั กิจกรรมการ
เรยี นการสอนทเ่ี นน ผูเรียนเปนสําคญั รว มกนั ทําและพฒั นาหลกั สตู รทองถ่นิ ใหเ หมาะสมกับผูเ รียนและทอ งถ่ิน
ย่งิ ข้ึน

๒๙

ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสามประเมนิ วันที่ 4-6 กุมภาพนั ธ 2556
๑) ระดบั การศึกษาปฐมวัย (รอบสาม)
ระดบั คุณภาพ
การศึกษาพน้ื ฐาน ระดับการศึกษาปฐมวัย ตอง ปรับป พอใ
ปรับปรงุ รงุ ช ดี ดีมาก

กลุมตัวบง ช้พี ืน้ ฐาน 

ตัวบงชที้ ่ี ๑เดก็ มีพัฒนาการดานรางกายสมวัย 
ตวั บง ชีท้ ่ี ๒เดก็ มพี ฒั นาการดานอารมณแ ละจิตใจสมวยั

ตัวบง ชี้ที่ ๓เดก็ มีพฒั นาการดานสังคมสมวัย 
ตัวบง ช้ที ่ี ๔เด็กมีพัฒนาการดานสติปญญาสมวยั 
ตวั บง ชท้ี ี่ ๕เดก็ มีความพรอ มศกึ ษาตอในขั้นตอไป
ตัวบง ชท้ี ี่ ๖ ประสิทธิผลการจดั ประสบการณการเรียนรูท ี่เนนเดก็ เปน 
สาํ คญั
ตัวบงชี้ที่ ๗ประสิทธิภาพของการบริหารจดั การและการพัฒนา 

สถานศกึ ษา 
ตวั บงชี้ที่ ๘ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน 

กลุม ตวั บงชอ้ี ตั ลักษณ 
ตวั บง ชที้ ี่ ๙ ผลการพัฒนาใหบ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสยั ทศั น 

พันธกิจ และวัตถุประสงคของการจดั ตัง้ สถานศกึ ษา 
ตัวบงช้ีที่ ๑๐ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจดุ เดน ที่สงผลสะทอนเปน

เอกลักษณของสถานศึกษา
กลุมตวั บงช้ีมาตรการสงเสริม
ตวั บงชี้ท่ี ๑๑ผลการดําเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่ือสงเสรมิ บทบาทของ

สถานศกึ ษา
ตัวบงชที้ ่ี ๑๒ผลการสงเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน

รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสูความเปนเลศิ ท่ีสอดคลองกบั
แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

สรุปโรงเรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศกึ ษาปฐมวยั
อยใู นระดับคณุ ภาพ ด (87.00)

 สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา ไมสมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

๓๐

๒) ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน(รอบสาม) ตอง ระดับคุณภาพ ดี
การศกึ ษาพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ปรบั ปรงุ มา
กลมุ ตวั บงชพ้ี ้ืนฐาน ปรบั ป พอใ ดี ก
ตัวบง ชี้ท่ี ๑ ผูเรยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี รุง ช
ตวั บง ชีท้ ่ี ๒ผูเรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพงึ ประสงค




ตัวบง ชี้ที่ ๓ผเู รียนมีความใฝรูและเรยี นรอู ยางตอ เน่ือง 

ตัวบงชท้ี ่ี ๔ ผูเรยี นคดิ เปนทาํ เปน 

ตัวบง ชี้ท่ี ๕ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเรยี น 

ตวั บง ชีท้ ่ี ๖ ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนนผูเรยี นเปน
สาํ คัญ 
ตวั บง ชี้ที่ ๗ ประสทิ ธภิ าพของการบริหารจัดการและการพัฒนา 

สถานศึกษา 
ตัวบง ชี้ท่ี ๘พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา
และตน สังกดั
กลุมตัวบง ชี้อัตลกั ษณ 

ตวั บงชี้ท่ี ๙ผลการพัฒนาใหบรรลุตามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสัยทศั น พนั ธ
กิจ และวตั ถปุ ระสงคของการจัดตั้งสถานศึกษา
ตวั บงชท้ี ี่ ๑๐ผลการพฒั นาตามจุดเนนและจุดเดนทส่ี งผลสะทอนเปน 

เอกลกั ษณของสถานศึกษา 
กลมุ ตวั บงชม้ี าตรการสง เสริม
ตัวบงชท้ี ่ี ๑๑ผลการดําเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือสงเสริมบทบาทของ
สถานศกึ ษา
ตัวบง ชี้ที่ ๑๒ผลการสงเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน 

รักษามาตรฐาน และพฒั นาสูความเปน เลิศทส่ี อดคลอง
กับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
สรุปโรงเรยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
อยูใ นระดบั คณุ ภาพ ดี (75.26)

สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา  ไมสมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา

กรณีท่ีไมร บั รองเนอ่ื งจาก ผลคะแนนนอยกวา รอยละ 80 และมตี ัวบง ชี้ทต่ี องปรบั ปรงุ เรงดว น
แตมกี ารปรบั ปรุงและไดร บั การรบั รองเมื่อ ..................................

๓๑
๓) ขอเสนอแนะของการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม : ระดบั ปฐมวัย
จดุ เดน
1. เดก็ มีพฒั นาการดานรางกาย มีสขุ ภาพสมวัย เนอ่ื งจากเด็กทุกคนไดร บั ประทานอาหารครบ 5
หมู ดื่มนมและดม่ื นํา้ สะอาดที่มีประโยชนต อ รางกายอยางเพียงพอ จดั กจิ กรรมออกกําลงั กายยามเชา ดว ยการ
เตน ฮูลาฮปู ทกุ วนั
2. เด็กมีพัฒนาการดานอารมณจิตใจ มสี ุนทรียภาพสมวัย เนื่องจากเด็กมีความสุขและชนื่ ชอบ
ตอบสนองตอศิลปะ เสยี งดนตรี ทา ทางและจงั หวะของการเคลอ่ื นไหว และแสดงความชนื่ ชอบตอธรรมชาติ จน
ไดรับรางวลั เหรียญทอง การแขง ขันการฉกี ตัด ปะ การปน ดนิ น้ํามัน และกจิ กรรมการเลานิทานประกอบสื่อ ใน
การแขง ขันกลุม สาระการเรยี นรูปฐมวนั 4 ปซอ น
3. เดก็ มีความพรอมศึกษาตอ ในข้ันตอไป เนอ่ื งจากครปู ฐมวัยมีความรูความสามารถในการจัด
ประสบการณการเรยี นรูใหกบั เดก็ มพี ัฒนาการครบทกุ ดาน และเด็กไดร บั การจัดประสบการณก ารเรยี นรู
เรื่องราวครบทุกสาระทคี่ วรเรียนรแู ละประสบการณส ําคัญ
4. สถานศกึ ษามีประสิทธผิ ลของระบบประกนั คุณภาพภายใน เน่อื งจากสถานศึกษากําหนด
มาตรฐานการศึกษา จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา จดั ระบบการบริหารจัดการสารสนเทศ ดําเนนิ งาน
คณุ ภาพตามแผนตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา ประเมินคุณภาพภายใน จดั ทํารายงานประเมนิ ตนเอง
และพฒั นาคณุ ภาการศกึ ษาอยา งตอ เน่ือง โดยไดร บั การสนับสนนุ ความรูจากสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1
จดุ ทค่ี วรพฒั นา
1. เดก็ บางสวนยังไมไ ดร บั การพัฒนาดานสงั คมในเรื่องวินยั รูผดิ ชอบ และการปรบั ตัวเขากับสังคม
เนื่องจากเดก็ ไมม วี นิ ัย ไมมคี วามรับผิดชอบ ไมร ูจักรอคอย ไมประหยัด ไมรจู ักการเปนผูนาํ และผูตามที่ดี
2. เดก็ บางสวนยงั ไมไดรับการพัฒนาดา นสตปิ ญ ญาในเรื่องการเรยี นรูดว ยตนเอง เนอ่ื งจากเดก็ ไม
สามารถจาํ ส่ิงตา ง ๆ ได และการเชื่อมโยงประสบการณเดิม การเคยไดร ับกลิ่น การเคยทดลองมาแลว
3. ครขู าดทักษะในการสงเสริมการเรียนรเู พ่ือพฒั นาการดานรางกายในเรื่องสรา งเสรมิ สขุ นิสัยทด่ี ี
ในการรกั ษาความสะอาด ปอ งกนั โรค และความปลอดภยั แกรา งกาย เน่ืองจากเด็กไมมรี ะวังถงึ ความปลอดภัย
ของตนเอง การสงเสรมิ การเรียนรูเพื่อพัฒนาการดานสังคมในเรอ่ื งการเปน ผูนําและผูต ามทดี่ ีเน่ืองจากเด็กไมมี
โอกาสไดส บั เปลย่ี นหนาท่ีกันเปน ผนู าํ แลผูต ามทดี่ ี การสงเสรมิ การเรยี นรูเ พื่อพฒั นาการดานสติปญ ญา ในเรอ่ื ง
เด็กไดไดเลา ถึงสงิ่ ท่ีทํา ทบทวนประสบการณเม ทบทวนเร่ืองทเ่ี ด็กควรรหู รอื เหตุการณท่ีนา สนใจ เน่ืองจากเด็ก
ไมส ามารถจาํ สิง่ ตา ง ๆ ได และเช่ือมโยงประสบการณเ ดมิ ไมไ ดต ามประสบการณการเรียนรกู ารสงเสรมิ การ
เรียนรูทต่ี อบสนองตอ ธรรมชาติและพฒั นาการของเด็กในเร่ืองการนาํ ผลการประเมินไปพัฒนาการเด็กทกุ ดา น
ไปใชเ พื่อพัฒนาเด็กและพฒั นาแนวทางการจดั ประสบการเรยี นรู เน่อื งจากครูขาดความตอเนือ่ งในการนาํ ผล
การประเมินไปพฒั นาการของเดก็ บางสว นดานสติปญญาในระดับอนบุ าล 2
4. สถานศึกษามคี รู 1 คนตอเด็ก 21 คน ครูจบปรญิ ญาตรแี ตไมใชว ุฒทิ างดา นการศึกษาปฐมวยั
ปลั๊กไฟติดอยสู ูงจากพื้น 1.40 เมตร ซ่ึงไมเ ปนไปตามเกณฑ และกิจกรรมเพอ่ื แกป ญ หา และปอ งกันความ
ปลอดภัย ยงั ไมครอบคลมุ ในเร่ืองระบบฉุกเฉิน คอื ไมม ีแผนฝกซอมการปองกันภัย และฝก การกูชีพ
5. ผูบรหิ ารสถานศึกษาขาดการพัฒนาสง เสริมใหผ ลการดําเนินงานพัฒนาคุณลักษณะของเดก็ ใหม ี
ผลผลิตเปน ทีย่ อมรับของชมุ ชนตามปรชั ญา วิสัยทัศน พนั ธกิจ และวตั ถปุ ระสงคของการจัดตงั้ สถานศึกษา

๓๒

6. ผูบรหิ ารสถานศึกษาขาดการประชาสมั พันธการดําเนินงานตามจดุ เนน และจดุ เดนของโรงเรยี น
เน่ืองจากเด็กมผี ลงานเกี่ยวกบั ผลการดาํ เนนิ งานดา นผลผลิตในระดับสถานศึกษา แตย ังไมเปนทีย่ อมรับจาก
องคกรภายนอกสถานศึกษา

7. สถานศึกษาขาดการประชาสมั พันธก ารดาํ เนินโครงการพิเศษ ในการแกไขปญ หาภายใน
สถานศกึ ษาเน่อื งจากผลการเปล่ยี นแปลงยังไมเปน แบบอยางทด่ี ใี นชุมชนรอบสถานศึกษา

8. สถานศกึ ษามีผลการรกั ษามาตรฐานของสถานศึกษาไมครอบคลมุ ในเร่ืองการประสานความ
รวมมอื กบั หนว ยงานตนสังกัดเพือ่ ขอความสนับสนุนบคุ ลากรระดับปฐมวยั เพ่ิม

ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑและวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. 2553

1. ดานผลการจดั การศึกษา

1) เด็กควรไดรบั การพัฒนาใหมีพัฒนาการดานรางกายสมวัยในเรื่องเด็กมีสุขนิสัยสมวัย ดวย
การจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการในเร่ืองความปลอดภัยในหองเรียน โดยการรวมกันวางแผนการ
จัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กไดมีความรูเร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เชน หนวยกิจวัตรประจําวันและการ
ปอ งกันอุบตั ิเหตุ ใหม ีเนอื้ หาเก่ยี วกบั ความปลอดภัยทีจ่ ะนาํ ไปสกู ารบาดเจบ็ ไดในหองเรียนใหมากที่สุด

2) เดก็ ควรไดรับการพฒั นาใหม พี ฒั นาการดานอารมณแ ละจิตใจสมวยั ในเรื่องเดก็ มีสุขภาพจิต
สมวัย ดวยการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเดก็ มีพัฒนาการในเรื่องความสามารถบอกจํานวนสมาชกิ ในครอบครัว
ของตนเองได โดยการรวมกันวางแผนการจัดประสบการณการเรียนรใู หเด็กไดมีความรูเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคล
และสิ่งแวดลอมตัวเด็ก เชน หนวยอารมณ ความรูสึก ความตองการ หนวยครอบครัว ใหมีเนื้อหาเกี่ยวกับการ
แสดงความยนิ ดี การใหกาํ ลงั ใจและจาํ นวนสมาชิกในครอบครวั ของตนเองใหม ากขนึ้

3) เด็กควรไดรบั การพัฒนาใหมพี ัฒนาการดานสังคมสมวัย ในเร่ืองเด็กมีวินัยและรรู ับผิดชอบ
สมวัยดวยการจัดกิจกรรมที่สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานสังคมสมวัย โดยการรวมกันวางแผนการจัด
ประสบการณการเรียนรูใหเด็กไดมคี วามรูเรื่องราวเก่ียวกับตัวเดก็ เชน หนวยกิจวัตรประจําวนั และการปองกัน
อุบัติเหตุ เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว เชน หนวยหนูทําได หนวยสุขนิสัยท่ีดี เรื่องราวเก่ียวกับส่ิงตางๆ
รอบตัวเด็ก เชน หนวยอาหาร ใหมเี น้ือหาเกยี่ วกับระเบียบวนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ การเขาแถวรอคอยตามลาํ ดับ
การประหยัดเห็นประโยชนอยางคุมคาใหมากข้ึน และเด็กไดมีความรูเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
แวดลอมตัวเด็ก เชน หนวยครอบครัว หนวยบุคคลสําคัญ ใหมีเนื้อหาเกี่ยวกับบทบาทหนาที่การเปนผูนําและ
ความสําคัญของหัวหนาครอบครัว หัวหนาช้ันเรียน และกลุมยอยของกิจกรรมตางๆ ในโรงเรียน และชุมชนให
มากขนึ้

4) เด็กควรไดรับการพัฒนาใหมีพัฒนาการดานสติปญญาสมวัย ในเร่ืองเด็กมีการเรียนรูดวย
ตนเองสมวัย ดวยการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการในเรื่องการเรียนรูดวยตนเอง โดยการรวมกัน

๓๓

วางแผนการจัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กไดมีความรูเร่ืองราวเกี่ยวกับส่ิงตางๆ รอบตัวเด็ก เชน หนวยนัก
ประดิษฐน อย หนวยหัวใจนกั คิด โครงงานตามหนวยการสอนใหคลอบคลุมครบ 4 เรื่องราวตอ ปการศกึ ษา ใหมี
เน้ือหาเก่ียวกับการทดลอง สามารถจําสิ่งตางๆ ได การเชื่อมโยงประสบการณเดิมตามประสบการณการเรียนรู
ใหเ พ่มิ มากขน้ึ

5) เด็กควรไดรับการพัฒนาความพรอมศึกษาตอในข้ันตอไปในเรื่องเด็กมีทักษะตาม
พัฒนาการทุกดานสมวยั และเด็กมคี วามรูพ้ืนฐานสมวัย ดว ยการวางแผนการจดั ประสบการณก ารเรียนรูใหเด็ก
มพี ฒั นาการครบทกุ ดาน และมคี วามรูพ้นื ฐานครบถวนท้ัง 4 เรือ่ งราว เพ่ือใหเ ดก็ พฒั นาความพรอมศกึ ษาตอ ใน
ข้ันตอ ไปใหมากย่งิ ข้นึ และใหคงอยูต อ ไปอยางตอเนอื่ ง

6) ผูบริหารสถานศึกษาควรพัฒนาสงเสริมใหเด็กมีผลงานเกี่ยวกับผลการดําเนินงานดาน
ผลผลิตโดยสนับสนุนใหเด็กปซมวัยไดเขารวมประกวดในกิจกรรมตอบคําถามความรูงายๆ เกี่ยวกับภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ความรู ความสามารถในการคิดแกปญหา เชน การทดลองโครงการบานวิทยาศาสตร
นอย และการนําเสนอดวยตนเอง การตอบปญหาความรู ความสามารถตางๆ ท่ีเหมาะสมตามวัย ในโครงการ
จัดงาน วันวิชาการ การใชเทคโนโลยี เชน ฝกทักษะใหเด็กเรียนรูเก่ียวกับโปรแกรมวาดภาพ ระบายสีหรือ
โปรแกรมกราฟกดวยคอมพิวเตอร มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถ่ิน เชน การรําไทย
รําอวยพร แตงกายและไหวแบบไทย การรองเพลงไทย เปนตน กิจกรรมวิถีทางประชาธิปไตย เชน การเดิน
รณรงคแหกลองยาว สนับสนุนการออกมาใชส ิทธิ์เลือกต้ังในทองถิน่ รอบชุมชน การอนุรกั ษส่ิงแวดลอ ม เชน จัด
ประกวดอนรุ ักษส ่งิ แวดลอมสะอาดในโรงเรียนและนอกชมุ ชนรวมกบั เทศบาลตาํ บลบางทราย ในระดับเขตพนื้ ท่ี
การศึกษาและระดับสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 2 ในปการศึกษา 2556 และนําเสนอผลงานของเด็กตอชุมชน
อยางตอเนือ่ ง

7) ผูบริหารสถานศึกษาควรพัฒนาสงเสริมใหสถานศึกษาไดมีโอกาสเขาประกวดแขงขันใน
โครงการประชาธิปไตยในชั้นเรียนปฐมวัย กิจกรรมจัดเวรทําความสะอาดหองเรียนและบริเวณโรงเรียน
โครงการอนุรักษและพัฒนาสิ่งแวดลอมของโรงเรียนและชุมชนกิจกรรมโรงเรียนสวยชุมชนงานของการจัด
สภาพแวดลอมและบริการท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ท้ังในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี 2
เทศบาลตําบลบางทราย ภาครัฐและภาคเอกชนในปการศึกษา 2556 เพ่ือใหเปนการยอมรับจากองคกร
ภายนอกสถานศกึ ษาตามจุดเนนและจุดเดน ของสถานศึกษา

8) สถานศึกษาควรพัฒนาโครงการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอมของโรงเรียนและชุมชน
เพ่ือใหเปนแบบอยางของการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึนในชุมชนรอบสถานศึกษา ดวยการประชาสัมพันธโครงการให
หนวยงานที่สนใจมาศึกษาดูงาน เชน กิจกรรมมาชวยกันลดภาวะโลกรอนกันดีกวา กิจกรรมหองเรานาเรียน
กจิ กรรมโรงเรยี นสวยชุมชนงาน กจิ กรรมบานนาเรยี น และกิจกรรมปลกู ปา ชายเลน เปน ตน

๓๔

2. ดานการบริหารจัดการศึกษา

1) สถานศึกษาควรจัดใหมีครู 1 คนตอเด็ก 15 คนและจัดครูที่มีวุฒิทางดานการศึกษา
ปฐมวัย โดยขอความรวมมือจากหนวยงานตนสังกัดเพ่ือขอบุคลากรระดับปฐมวัยเพิ่ม ปรับแตงปลั๊กไฟใหมี
ความสูงตามเกณฑมาตรฐาน คือ ติดต้ังอยูสูงจากพ้ืนมากกวา 1.50 เมตร พรอมมีฝาปดเพื่อปองกันเด็กเลน
และประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อขอรับการสนับสนุนการฝกซอมการปองกันภัยและฝก
การกูชพี ใหแกครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

2) สถานศึกษาควรพัฒนาใหมีผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือรักษามาตรฐานท่ี
สอดคลองกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา เชน การประสานความรวมมือกับหนวยงานตนสังกัดเพื่อขอความ
สนบั สนนุ บุคลากรระดบั ปฐมวัยเพิ่ม

3. ดานการจดั การเรยี นการสอนที่เนนผเู รยี นเปน สําคัญ

1) ครูควรพัฒนาทักษะในการสงเสริมการเรียนรูเพื่อพัฒนาการดานรางกาย ในเร่ืองสราง
เสริมสุขนสิ ัย ท่ีดใี นการรักษาความสะอาด ปองกันโรค และความปลอดภัยแกรางกาย เนื่องจากเดก็ บางสวนไม
ระวังถึงความปลอดภัยของตนเอง เชน วิ่งเลน ไมทันระวังตัวเอง หกลมหัวเขาแตกหลังรับประทานอาหาร
กลางวัน ครูควรรวมการวางแผนการจัดประสบการณเรียนรู ใหเด็กไดมีความรูเร่ืองราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เชน
หนวยกิจวัตรประจําวนั และการปองกันอุบัติเหตุ ใหมีเน้ือหาเก่ียวกบั ขอควรนะมัดระวังถึงความปลอดภัย ท่ีจะ
นาํ ไปสกู ารบาดเจ็บใหม ากขนึ้

2) ครูควรพัฒนาทักษะในการสงเสริมการเรียนรูพัฒนาการดานสังคม ในเรื่องการเปนผูนํา
และผูต ามท่ีดี เน่อื งจากมเี ดก็ บางสว นยงั ไมมีโอกาสไดส ับเปลีย่ นกนั เปน ผนู าํ และผตู ามที่ดี เชน เลอื กเด็กใหเ ปน
หวั หนากลุมสี หัวหนาเดินนําแถวไปรวมทํากิจกรรมตางๆ ในกิจวตั รประจําวัน เปนตัวแทนนอยเขารวมประชุม
สภานักเรียนบาง เปนตน ครูควรรวมกันแผนการจัดประสบการณเรียนรูใหเด็กไดมีความรูเร่ืองราวเกี่ยวกับ
บุคคลและสถานที่แวดลอมตัวเด็ก เชนหนวยบุคคลสําคัญหนวยครอบครัว ใหมีเนื้อหาเก่ียวกับบทบาทหนาท่ี
เปนผูนํา ความสําคัญของหัวหนาครอบครัว และการปฏิบัติตนในการมีสวนรวมกิจกรรมในกิจวัตรประจําวันให
มากข้ึน

3) ครูควรพัฒนาทักษะในการสงเสริมการเรียนรูเพื่อพัฒนาการดานสติปญญา ในเรื่องเด็กได
เลาถึงส่ิงที่ทํา ทบทวนประสบการณเดิม ทบทวนเร่ืองที่เด็กควรรูหรือเหตุการณที่นาสนใจ เน่ืองจากเด็กไม
สามารถจําสิ่งตางๆ ได และเช่ือมโยงประสบการณเดิมไดตามประสบการณการเรียนรู เชน กิจกรรมเสริม
ประสบการณ ครูและเด็กรวมกันสนทนาหนว ยผักสดสะอาด ครรู วมกนั วางแผนการจัดประสบการณการเรยี นรู
ใหเด็กไดมีความรูเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งตางๆ รอบตัวเด็ก เชน หนวยนักประดิษฐนอย หนวยหัวใจนักคิด
โครงงานตามหนวยการสอนใหครอบคลุมครบ 4 เรื่องราวตอปการศึกษา ใหมีเน้ือหาเกี่ยวกับการทดลอง ที่
สามารถทําสิง่ ตา งๆ ไดโ ดยการเช่ือมโยงประสบการณเดมิ ตามประสบการณก ารเรยี นรใู หมากข้นึ

๓๕

4) ครูควรพัฒนาทักษะในการสง เสริมการเรียนรทู ่ีตอบสนองตอธรรมชาติและพัฒนาการของ
เด็กในเร่ืองการนําผลการประเมินไปพัฒนาการเด็กทุกดานไปใช เพ่ือพัฒนาเด็กและพัฒนาแนวทางการจัด
ประสบการณการเรียนรู เนื่องจากครูขาดความตอเนื่องหลักการนําผลการประเมินไปพัฒนาการเด็กบางสวน
ดานสติปญญาในระดับอนุบาล 2 และกูจากหนวยการสอนท่ีมีเนื้อหาสาระท่ีควรรูซ้ําซอนมากเกินไปในระดับ
อนุบาล 1 ในเรื่องราวเกยี่ วกบั บคุ คลและสถานที่แวดลอ มตัวเด็ก

4. ดานการประกนั คุณภาพภายใน

สถานศึกษาควรพัฒนาประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ดวยการขอรับการ
สนับสนุนจากสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 เรื่องจัดอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานของ
บุคลากรติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอยางมีคุณภาพและตอเนื่อง เพื่อใหมีผลการ
ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยตนสังกัด และมีพัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพภายในทั้ง
8 ขอ ของสถานศึกษาท่มี ีประสทิ ธภิ าพและมคี ุณภาพระดับดเี ยยี่ ม

ขอเสนอแนะท้ัง 4 ดาน สถานศึกษาควรปรับปรุงแกไขโดยจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพและดําเนินงาน
ตามแผนภายใน 2 ป

๓๖

4) ขอ เสนอแนะของการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม : ระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
จุดเดน

๑. ผูเรยี นมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี เนอื่ งจากผูเ รยี นมีน้ําหนักสวนสูง มีสมรรถภาพทาง
กาย รูจักดูแลตนเองใหปลอดภัย ปลอดจากปญหายาเสพติด ดวยการไดรับการดูแลอยางใกลชิดจากพอแม
ผปู กครอง ผูบ รหิ าร ครูประจาํ ช้ัน เจาหนา ทีจ่ ากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบางทราย สาธารณสุขจังหวัด
ชลบุรี เทศบาลตําบลบางทราย สถานีตํารวจภูธรเมืองชลบุรี ทําใหผูเรียนไดรับความอบอุนมีสุขภาพกาย
สขุ ภาพจิตทด่ี ี

๒. ผเู รยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา นยิ มที่พงึ ประสงค เน่อื งจากผเู รยี นเปน ลกู ทด่ี ขี องพอ
แม ผปู กครอง เปน นกั เรยี นทด่ี ีของโรงเรียน และมกี ารบาํ เพ็ญประโยชนต อ สงั คมอยางตอเน่ือง

๓. สถานศกึ ษามีประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา เนื่องจากมี
ผูบริหารและ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานรวมกันจัดการบริหารตามบทบาทอยางมีประสิทธิภาพใน
ดานวิชาการ ดานงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล ดานบริหารงานทั่วไป ปฏิบัติงานตามระบบบริหาร
คุณภาพ และจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการเรียนรู ปลอดภัย สะอาด สวยงาม และถูก
สุขลกั ษณะ

๔. สถานศึกษามีระบบการประกันคุณภาพภายใน เนอ่ื งจากไดก ําหนดมาตรฐานการศกึ ษา
จัดทําแผนพัฒนาการจัดการศึกษา จัดระบบการบริหารและสารสนเทศ ดําเนินงานคุณภาพตามแผน ติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประเมินคุณภาพภายใน จัดทํารายงานการประเมินตนเองและพัฒนา คุณภาพ
การศึกษาอยา งตอ เนอื่ ง โดยไดรบั การพัฒนาความรูจากสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต ๑

จุดทค่ี วรพฒั นา
๑. ผูเรยี นบางสวนขาดการคนควา หาความรูจากการอาน และใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

เนื่องจากผูเรยี น ขาดการมีนิสัยรกั การอา น
๒. ผูเรยี นบางสวนขาดทกั ษะการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห และคิดอยา งเปน ระบบ

เนอ่ื งจากผเู รียนขาดการเขา รว มกจิ กรรมเพิ่มทักษะการคดิ ทห่ี ลากหลาย
๓. ผเู รยี นมีผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ปก ารศึกษา ๒๕๕๔ มคี ณุ ภาพต่ํากวา ระดับดี

ทกุ กลมุ สาระ การเรยี นรู เน่ืองจากสถานศึกษามีครูสอนไมตรงวิชาเอกที่รบั ผิดชอบ ครูเกษียณอายกุ อนกําหนด
ครูโยกยายบอย ทําใหก ิจกรรมการเรียนการสอนไมตรงตามกลมุ สาระการเรียนรูและขาดความตอเน่ือง รวมทั้ง
ผูปกครองบางสวน มอี าชพี รับจา งทวั่ ไป ทาํ ใหผเู รียนขาดเรียนและโยกยา ยตามผปู กครอง

๔. สถานศกึ ษาไมไดน าํ ผลการประเมนิ การอบรม แผนการจัดการเรียนรู การจดั การเรยี นรู
และแบบทดสอบ มาประเมินครูแตละคนอยางเปนระบบ และครูบางสวนขาดการศึกษาคนควาวิจัยเพื่อพัฒนา
ส่ือและกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนนผูเ รยี นเปนสาํ คญั

๕. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานไมไดแตงตั้งทปี่ รกึ ษาหรือคณะอนุกรรมการ ทีม่ ี
ความสามารถ ทางดานการศกึ ษา มาชว ยสง เสรมิ สนบั สนุน และพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๖. ผบู รหิ ารสถานศึกษาขาดการพฒั นาสง เสริมใหผ ูเ รียนมผี ลงานเก่ยี วกับผลการดําเนนิ งาน
ใหเ ปน ทยี่ อมรับ ของชมุ ชนตามปรชั ญา วิสยั ทัศน พันธกิจ และวัตถุประสงคของการจดั ตั้งสถานศกึ ษา

๗. ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาขาดการประชาสมั พนั ธการดาํ เนินงานตามจดุ เนนและจดุ เดน ของ

๓๗
โรงเรียน เน่ืองจากผูเรียนมีผลงานเก่ียวกับผลการดําเนินงานดานผลผลิตในระดับสถานศึกษา แตยังไมเปนที่
ยอมรบั จากองคก รภายนอกสถานศกึ ษา

๘. สถานศึกษาขาดการประชาสมั พนั ธก ารดาํ เนินโครงการพิเศษ ในการแกไขปญหาภายใน
สถานศกึ ษา เนื่องจากผลการเปลีย่ นแปลงยงั ไมเปน แบบอยางทีด่ ใี นชมุ ชนรอบสถานศึกษา

๙. สถานศกึ ษามีผลการรักษามาตรฐานของสถานศึกษาไมครอบคลุมในเรื่องการพฒั นาให
ผเู รียน มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสงู ขึ้นในทกุ กลมุ สาระการเรียนรู เนอื่ งจากสถานศึกษามีครูสอนไมต รงวิชาเอก
ที่รับผดิ ชอบ ครเู กษียณอายุกอนกาํ หนด และครูโยกยา ยบอย ทําใหกจิ กรรมการเรยี นการสอนไมต รงตามกลุม
สาระการเรยี นรูและขาดความตอเน่ือง รวมท้ังผูปกครองบางสวนมอี าชีพรับจางท่วั ไป ทําใหผเู รยี นขาดเรียน
และโยกยา ยตามผูป กครอง
ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓

๑. ดา นผลการจดั การศกึ ษา
๑) ผูเ รียนควรไดรบั การพัฒนาใหม สี นุ ทรียภาพอยา งตอ เนื่องคงอยูต ลอดไป เชน กจิ กรรม

ดนตรีไทย กจิ กรรมดนตรีสากล กิจกรรมเชิญภูมิปญญาทอ งถิ่น และกิจกรรมจัดหาเครื่องดนตรไี ทยเพ่มิ ข้ึน เปน
ตน

๒) ผูเรยี นควรไดร บั การพัฒนาใหมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา นิยมทพ่ี ึงประสงคใหคงอยู
ตอเน่ืองตลอดไป เชน กิจกรรมวันพอแหงชาติ กิจกรรมวันแมแหงชาติ กิจกรรมวันไหวครู กิจกรรมบันทึก
ความดี กิจกรรมวันสําคัญ กิจกรรมสืบสานประเพณีไทย กิจกรรมสวดมนตทุกวันศุกร กิจกรรมยกยอง
ผปู ระพฤตดิ ี กจิ กรรมเขา คา ยคณุ ธรรม และกจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนท ้ังในและนอกสถานศกึ ษา เปน ตน

๓) ผูเ รียนควรไดรบั การพัฒนาใหค น ควา หาความรจู ากการอาน และมนี สิ ยั รกั การอา นอยาง
ตอเนื่อง สม่ําเสมอครอบคลุมทุกระดับชั้นใหคงอยูตลอดไป เชน กิจกรรมแขงขันนักอานดีเดน กิจกรรมบันทึก
สงิ่ ดีทหี่ นอู า น และกิจกรรมตอบปญ หาคลองสมองไวยามเชา เปนตน

4.) ผูเรยี นควรไดร บั การพฒั นาใหมีทักษะทางการคิดวิเคราะห คดิ สรา งสรรค และคดิ อยา ง
เปน ระบบ โดยรว มกิจกรรมสง เสรมิ การคิดทหี่ ลากหลายเพมิ่ มากขึ้น ครอบคลมุ ทุกระดบั ชั้น เชน กจิ กรรมเขยี น
แผนผัง มโนทัศน กิจกรรมโครงงาน และกิจกรรมตอบปญ หาชวนคิดพชิ ิตรางวัลของหองสมดุ เปนตน

5.) ผเู รียนควรไดรับการพฒั นาใหมีผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) ใหส งู ข้นึ ทกุ กลุมสาระ
การเรียนรู ไดแ ก กลุมสาระการเรยี นรูภาไทย เชน กจิ กรรมวิเคราะหขอทดสอบระดับชาติ (O-NET) ปท่ีผา นมา
กิจกรรมอานเอาเร่ืองประเทืองปญญา กิจกรรมเขียนคลองสมองไว เปนตน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
เชน กิจกรรมแขงขันแตงโจทยปญหา และกิจกรรมคิดคลองสมองไวยามเชา เปนตน กลุมสาระการเรียนรู
วทิ ยาศาสตร เชน กิจกรรมการทดลอง การสํารวจ และกิจกรรมสง่ิ ประดษิ ฐเชิงวทิ ยาศาสตร เปนตน กลุมสาระ
การเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เชน กิจกรรมผูกเน้ือเรื่องในบทเรียนเปนบทบาทสมมุติและบท
ละคร และกิจกรรมใชส่ือประกอบการสอน เปนตน กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เชน กิจกรรม
ผูส่ือขาว สุขภาพประจําหองเรียน และกิจกรรมแขงขันตอบปญหาสุขภาพหนาเสาธง เปนตน กลุมสาระการ
เรียนรูศิลปะ เชน กิจกรรมประกวดวาดภาพตามจินตนาการ กิจกรรมจัดหาเครื่องดนตรี และเชิญภูมิปญญา
ทองถิ่นเพิ่ม เปนตน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เชน กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ กิจกรรม

๓๘

แขงขันทักษะ การใชโปรแกรมคอมพิวเตอร เปนตน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เชน กิจกรรม
แขง ขันทองคําศัพท และกจิ กรรมแขง ขันตอบปญ หาภาอังกฤษ เปนตน

6.) ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาควรพฒั นาสง เสรมิ ใหผ เู รียนมีผลงานเกยี่ วกับผลการดําเนินงานดาน
ผลผลิต โดยสนับสนุนใหผูเรียนไดเ ขา รวมประกวดกิจกรรมตอบคําถามความรูเก่ียวกับภูมิภาคเอเชยี ตะวันออก
เฉียงใต กิจกรรมสงเสรมิ ปญ ญา ความรู ความสามารถในการคดิ แกปญ ญา เชน การทดลองวทิ ยาศาสตรเก่ียวับ
เครื่องรอนตางๆ การคิดเลขคณิตเร็วแบบอัจฉริยะ การตอบปญหาความรู ความสามารถตางๆในโครงการจัด
งานวันวิชาการ เชน ความรูเก่ยี วกับปญ หาสุขภาพและอนามยั เปน ตน กจิ กรรมวถิ ีทางประชาธิปไตย เชน การ
เดินรณรงคแหกลองยาวสนับสนุนการออกมาใชสิทธิ์เลือกต้ังในทองถ่ินรอบชุมชน การอนุรักษสิ่งแวดลอม
เชน จดั ประกวดอนุรักษส งิ่ แวดลอ มสะอาดในโรงเรยี นและรอบชุมชนรว มกับเทศบาลตําบลบางทราย ระดบั เขต
พืน้ ท่ีการศึกษา และระดบั สหวิทยาเขตเมืองชลบรุ ี ๒ ในปการศึกษา ๒๕๕๖ และนาํ เสนอผลงาน ของผเู รียนตอ
ชุมชนอยา งตอเน่อื ง

๗) ผูบริหารสถานศกึ ษาควรพฒั นาสงเสรมิ ใหส ถานศึกษาไดม ีโอกาสเขา ประกวดแขงขันใน
โครงการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอมของโรงเรียนและชุมชน กิจกรรมโรงเรียนสวยชุมชนงาม โครงการ จัด
สภาพแวดลอมและบริการท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ทั้งในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ระดับสหวิทยาเขตเมืองชลบุรี ๒
เทศบาลตําบลบางทราย ภาครัฐ และภาคเอกชน ในปการศึกษา ๒๕๕๖ เพื่อใหเปนการยอมรับจากองคกร
ภายนอกสถานศกึ ษาตามจดุ เนนและจดุ เดนของโรงเรยี น

๘) สถานศึกษาควรพฒั นาโครงการอนรุ ักษและพัฒนาส่งิ แวดลอมของโรงเรยี นและชุมชน
เพื่อใหเปนแบบอยางของการเปล่ียนแปลงที่ดีข้ึนในชุมชนรอบสถานศึกษา ดวยการประชาสัมพันธโครงการ
ใหแกหนวยงาน ท่ีสนใจมาศึกษาดูงาน เชน กิจกรรมมาชวยกันลดภาวะโลกรอนกันดีกวา กิจกรรมหองเรานา
เรียน กจิ กรรม โรงเรยี นสวยชมุ ชนงาม กิจกรรมบานนา เรียน และกิจกรรมปลูกปาชายเลน เปนตน

๒. ดา นการบรหิ ารจดั การศึกษา
๑) สถานศึกษาควรพัฒนาในเร่ืองประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา

สถานศึกษา ใหมีการปฏิบัติงานตามระบบบริหารงานใหมีคุณภาพอยางย่ังยืนและตอเนื่อง เชน จัดให
คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐานแตงตั้งท่ีปรึกษาหรือคณะอนุกรรมการ ท่ีมีความสามารถทางดาน
การศึกษามาชวยสงเสรมิ สนบั สนุน และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน

๒) สถานศึกษาควรพัฒนาใหมีผลการสงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อรักษามาตรฐาน
ท่ีสอดคลองกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา ดวยการพัฒนาใหผูเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นในทุก
กลุมสาระการเรียนรู เชน กิจกรรมวิเคราะหขอทดสอบระดับชาติ (O-NET) ปท่ีผานมา กิจกรรมอานเอาเร่ือง
ประเทืองปญญา กจิ กรรม คิดคลองสมองไวยามเชา กิจกรรมส่ิงประดิษฐเชิงวิทยาศาสตร กิจกรรมผูกเนื้อเรื่อง
ในบทเรียนเปนบทบาท สมมุติและบทละคร กิจกรรมผูส่ือขาวสุขภาพประจําหองเรียน กิจกรรมประกวดวาด
ภาพตามจนิ ตนาการ กิจกรรม ตลาดนดั อาชพี และกจิ กรรมแขง ขนั ตอบปญ หาภาษาอังกฤษ เปน ตน

๓. ดา นการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นนผเู รยี นเปน สาํ คญั
๑) สถานศึกษาควรนําผลประเมินจากการอบรม การประเมินแผนการจัดการเรียนรู

การประเมนิ การจัดการเรียนรูของครู การประเมินแบบทดสอบ และแบบประเมินผลผูเรียนไปพัฒนาครูแตละ
คนอยางเปน ระบบ โดยจัดทําแบบประเมินผลท่ีใชประเมินครูเรื่องการจัดการเรียนรูที่ใชประเมินครูใหชัดเจน

๓๙

และครอบคลุม แตงต้ังคณะทํางาน วางแผนการดําเนินงานตามปฏิทินการปฏิบัติงาน ติดตาม ประเมินผล นํา
ผลการประเมินไปปรับปรงุ พฒั นาในปตอ ไป

2) ครูบางสวนควรไดรับการพัฒนาใหศึกษาคนควาวิจัย เพื่อพัฒนาสื่อและกระบวนการ
จัดการเรียน การสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยการนําปญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในช้ันเรียนมาศึกษาคนควาอยาง
ตอเนอ่ื ง และนาํ ไปฝกทกั ษะผเู รียนอยา งสม่ําเสมอ

๔. ดานการประกนั คุณภาพภายใน
สถานศึกษาควรพฒั นาประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ดวยการขอรบั การ

สนับสนุนจากสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต ๑ เรื่องจัดอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานของ
บุคลากร ติตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาอยางมีคุณภาพและตอเน่ือง เพื่อใหมีการ
ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยตนสังกัด และมีพัฒนาการของระบบการประกันคุณภาพภายในท้ัง
๘ ขอ ของสถานศกึ ษาท่ีมีประสิทธภิ าพและมีคุณภาพระดับดเี ยยี่ ม

ขอเสนอแนะท้ัง ๔ ดาน สถานศึกษาควรปรับปรุงแกไขโดยจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพและดําเนินงานตามแผน
ภายใน ๒ ป

นวตั กรรมหรือตัวอยา งการปฏบิ ัติท่ีดี (Good Practice) ของสถานศึกษาท่เี ปน ประโยชนต อ สงั คม

ไมมี

๔๐

สวนที่ 2
ผลการศกึ ษาสถานภาพของโรงเรียน

โรงเรียนอนบุ าลวดั ชองลมไดศ ึกษาสภาพของโรงเรยี นเม่ือวนั ท่ี 12 มกราคม 2563 เปนสภาพปญ หา
จากการวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายในและภายนอกดว ยเทคนิค SWOT เพอ่ื นาํ ไปสูการกําหนดความตองการ
จาํ เปน ในการแกปญหา และพัฒนาภารกจิ หลกั และภารกจิ รองและงานตามนโยบายทเี่ กยี่ วของระดบั ตา ง ๆ
สรปุ ประเด็นสาํ คญั ไดด ังนี้
ผลการวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายนอก
ผลการวเิ คราะหสภาพแวดลอมภายนอก (STEP) ปรากฏวา มี “อุปสรรค” มากกวา
“ โอกาส” โดยสรุป ดงั นี้
โอกาส (Opportunities : O) อุปสรรค (Threats : T)
ดา นสงั คมและวัฒนธรรม S ดา นสังคมและวัฒนธรรม S
โรงเรียนตง้ั อยใู นเขตชุมชนทีม่ กี ารคมนาคม ผูปกครองสวนใหญห ยาราง ทิง้ บตุ รหลานไวก ับ
สะดวก ชมุ ชนมที ศั นคตทิ ่ีดี ใหก ารยอมรับโรงเรียน มี ญาติ บรเิ วณโรงเรียนมแี หลงบริการยั่วยุ เชน รา นเกม
การรว มมอื กันระหวางบาน วัด โรงเรียนในระดบั ปาน ชุมชนมปี จจยั เสย่ี งเร่ืองยาเสพตดิ
กลาง ผปู กครองใหความสําคัญตอ การศกึ ษาสง บุตร
หลานเขาเรยี น
ดา นเทคโนโลยี T ดานเทคโนโลยี T
หนวยงานภาครฐั และหนวยงานตน สังกัดให ชมุ ชนขาดการควบคุมดานการใหบรกิ ารเทคโนโลยี
ความสาํ คัญและมนี โยบายสนับสนุนความกาวหนา เชน รานเกม ทาํ ใหนกั เรยี นบางสว นติดเกม
ทางเทคโนโลยีการสื่อสารทําใหไ ดร ับขอมูลทรี่ วดเรว็ ผูป กครองไมมเี วลา โรงเรยี นไมมงี บบประมาณในการ
และทว่ั ถึง จัดหาสอ่ื เทคโนโลยี

ดานเศรษฐกจิ E ดา นเศรษฐกจิ E
ผูปกครองบางสว นมีปานกลาง ใหการสนบั สนุน ประชาชนสวนใหญม ีภาระหน้ีสิน หน้นี อกระบบ

ดา นการศึกษาและสง เสริมใหลกู ไดรบั การศกึ ษาเปน วิกฤติเศรษฐกจิ ของประเทศทําใหร าคาสนิ คา อุปโภค
อยางดี ชมุ ชนอยูอยางพอเพยี ง หารายไดเสรมิ บรโิ ภคมรี าคาสงู แตป ระชากรรายไดต ่ําผูปกครองมี
อาชพี เกษตรกรรม รับจางทั่วไป มรี ายไดนอย
ทาํ ใหน กั เรียนขาดอุปกรณที่ใชใ นการศกึ ษาเพราะบาง
คนมีบุตรท่ีอยูใ นวัยเรียนหลายคน

ดา นการเมอื งและกฎหมาย P ดา นการเมอื งและกฎหมาย P
ผปู กครองและชุมชนนยิ มและเคารพในระบอบ กฎหมายใหส ิทธิเสรภี าพ ทาํ ใหนักเรยี นเขา ใจ

ประชาธปิ ไตยพระราชบญั ญัติการศึกษาเปดโอกาสให คลาดเคลื่อน ใชสทิ ธใิ นทางที่ไมถ ูกตอง สงผลให
ชุมชนมสี ว นรว มในการจดั การศึกษาทําใหการจดั นกั เรียนมีพฤตกิ รรมไมเ หมาะสมผูป กครองบางสว นยัง
การศึกษาตรงกับความตองการของทองถ่นิ รฐั บาลมี ไมเหน็ ประโยชนและความสาํ คัญของการใหบุตร
นโยบายขยายโอกาสทางการศกึ ษาทาํ ใหนักเรียนได หลานเขารบั การศึกษา
ศึกษาตอในระดับทส่ี งู ขน้ึ

๔๑

ผลการวิเคราะหส ภาพแวดลอ มภายใน (2S 4M)

ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายใน ปรากฏวา มี “จุดแขง็ ” มากกวา “จุดออน” โดยสรุปดังนี้

จุดแข็ง (Strengths : S) จดุ ออน (Weaknesses : W)
ดานบคุ ลากร M1 ดา นบุคลากร M 1
ครมู ีความรักและศรทั ธาตอวิชาชพี ปฎบิ ัติหนา ทโี่ ดยไมตองอาศัย
คําส่งั ครูมกี ารนําเทคโนโลยมี าปรบั ใชในการจดั การเรยี นการสอน มีครไู มครบกลมุ สาระ และครูมี
และครูพัฒนาตนเองอยา งตอ เนื่องจนเปน ทยี่ อมรับจากชุมชน ภาระงานอื่น ๆ มาก การกระจายงานยงั
ผูป กครอง ไมเ ทาเทียมกนั

ดา นการเงิน M2
โรงเรยี นมีการัดทําแผนการใชจายเงินและใชเงนิ อยางเปน ระบบ ดานการเงิน M2
โปรงใส ตรวจสอบได งบประมาณทไ่ี ดรบั การสนบั สนุนยงั
ไมเพยี งพอ
การสนับสนนุ จากองคก รปกครองสว น
ทอ งถน่ิ ยงั นอยเกินไป
ดานวัสดุอปุ กรณ M3
โรงเรยี นปรบั ปรุงพฒั นาอาคารสถานท่ใี หพรอ มใชง าน
ดานวสั ดอุ ุปกรณ M3
โรงเรยี นไมม หี อ งเรียนพเิ ศษหลากหลาย
วสั ดุอปุ กรณประจําหอ งพเิ ศษ ไมม ี
ดา นการบริหารจัดการ M4 หอ งสมดุ หองคอมพวิ เตอร ขาดวัสดุ
ผบู ริหารสถานศกึ ษาบริหารจัดการโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล ครุภณั ฑอีกมาก
ทาํ ใหไ ดร บั ความเช่อื มั่นความศรทั ธาจากครูและบุคลากร มกี าร
นเิ ทศตดิ ตามงาน มีการประชาสัมพนั ธข า วสารของโรงเรียน มีการ
วางแผนงานอยางเปน ระบบ มีการประสานงานกับหนวยงานอน่ื ๆ ดา นการบริหารจัดการ M4
เพื่อพัฒนา มแี ผนงานโครงการทีต่ อเน่ืองสง ผลใหการบริหารจัดการ ขาดการใชฐานขอ มูลสารสนเทศ
มีประสิทธภิ าพ รวมกัน

๔๒

ตารางการสรปุ ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรยี นอนบุ าลวดั ชอ งลม โดยภาพรวม
ตาราง 1 การประเมนิ สถานภาพปจจัยสภาพแวดลอมภายนอก (STEP)

ประเด็นตัวชีว้ ัด คา คะแนน คะแนนจรงิ สรปุ
น้ําหนกั คะแนน โอกาส อุปสรรค ผลการ
โอกาส อปุ สรรค วิเคราะห
(+) (-) (+ ) (-)
-0.03
คะแนนเตม็ 1 1-5 1-5 1.28 1.31 -0.03
0.76 0.80 -0.36
ดา นสังคม-วัฒนธรรม (Social = S) 0.34 3.77 3.86 0.87 1.23 0.00
0.49 0.50
ดา นเทคโนโลยี (Technology = T ) 0.22 3.47 3.63 3.41 3.84 -0.43

ดา นเศรษฐกจิ ( Economic = E ) 0.31 2.81 3.97 -0.21

ดา นการเมืองและกฎหมาย (Politic = P) 0.13 3.79 3.81

คาเฉลีย่ คะแนนจริงประเมนิ สถานภาพปจ จยั สภาพแวดลอ มภายนอก (STEP)

สรุปการประเมินสถานภาพปจจยั สภาพแวดลอมภายนอก (STEP)

ตาราง 2 การประเมินสถานภาพปจจัยสภาพแวดลอ มภายใน (2S4M)

คา คะแนน คะแนนจริง

ประเดน็ ตวั ชวี้ ดั นํ้าหนักคะแนน จดุ จดุ ออน จดุ แขง็ ( จุดออน สรุป
คะแนนเตม็ 1 แข็ง ( (-) +) (-) ผลการ
ดานโครงสรางและนโยบาย +) วเิ คราะห
(Structure =S1 ) 0.77 0.70
ดานผลผลติ และการบริการ 1-5 1-5 0.52 0.48 0.08
(Service and Products = S2 ) 0.64 0.55 0.04
ดา นบคุ ลากร (Man = M1) 0.20 3.85 3.48 0.43 0.00 0.09
ดานประสิทธทิ างการเงนิ 0.36 0.41 0.43
(Money = M2) 0.14 3.70 3.40 1.14 0.84 -0.05
ดานวสั ดุ และอปุ กรณ 0.16 4.03 3.44 3.87 2.98 0.30
(Materials = M3 ) 0.12 3.60 0.00
ดานการบรหิ ารจดั การ 0.45 0.89
( Mannagement = M4 ) 0.10 3.65 4.15

0.28 4.06 3.00

สรปุ การประเมินสถานภาพปจจยั สภาพแวดลอ มภายใน (2S4M)

๔๓

สรปุ ผลการวเิ คราะห/ประเมินศกั ยภาพของโรงเรยี นอนบุ าลวัดชองลม

ปรากฏวา สภาพปจจัยภายนอกมีอปุ สรรค ชมุ ชน หนวยงานภายนอก ยงั ไมใ หความรว มมอื หรือ
สนบั สนนุ เทา ท่ีควร สว นภายในไดแก บคุ ลากรมจี ุดแข็ง คอื มีความรู เปน ทีมงานที่เขมแข็ง ดังน้นั ควร
พัฒนาภายในสถานศึกษาใหเ ปน ระบบ ใหบ คุ ลากรสามารถทาํ งานไดอยา งมอื อาชีพ

CASH COWS ววั แมลกู ออน หมายถึง โรงเรียนมสี มรรถนะภายในท่เี ข็มแข็งแตขาดการสนับสนุน
หรอื ไมไดร บั ความสนใจในการดําเนินงานจากหนวยงานภายนอก การพัฒนาสมรรถนะภายในโรงเรยี นเพอ่ื รอ
โอกาสทีเ่ หมาะสมในการดาํ เนินงานใหเจรญิ เติบโตตอ ไปเม่ือมโี อกาส

๔๔

สวนท่ี 3
ทิศทางการบริหารจัดการศกึ ษา

3.1 กรอบแนวคดิ ในการจัดทาํ แผนพฒั นาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

เพ่ือเปน กรอบในการจดั ทําแผนพฒั นาการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 4 ป (พ.ศ.2563-2566) โรงเรียน
อนุบาลวัดชอ งลม ไดน าํ กรอบทศิ ทางการจดั การศึกษาของหนว ยงานท่เี ก่ยี วของ ซ่ึงมสี วนสนบั สนุนหรอื เปน
สวนหน่ึงของแผนพฒั นาการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั น้ี

3.1.1 แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
วิสยั ทัศน
“คนไทยทุกคนไดรบั การศึกษาและเรยี นรูตลอดชีวิตอยา งมีคุณภาพ ดํารงชวี ิต อยา งเปน สุข

สอดคลองกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลงของ โลกศตวรรษท่ี ๒๑”
โดยมีวตั ถุประสงคใ นการจัดการศึกษา ๔ ประการ คือ
๑) เพื่อพฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
๒) เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเ ปนพลเมืองดมี ีคณุ ลกั ษณะทักษะและสมรรถนะท่สี อดคลองกบั บทบญั ญตั ิ

ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง ชาติและยุทธศาสตรช าติ
๓) เพ่ือพัฒนาสงั คมไทยใหเ ปน สังคมแหงการเรยี นรูแ ละคณุ ธรรม จรยิ ธรรม รูรักสามัคคแี ละ

รว มมือผนึกกําลงั มุงสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔) เพื่อนาํ ประเทศไทยกาวขามกบั ดักประเทศทีม่ รี ายไดป านกลาง และความเหล่ือมลาํ้

ภายในประเทศลดลง
เพื่อใหบรรลวุ ิสยั ทัศนและจดุ มงุ หมายในการจัดการศกึ ษาดงั กลาวขางตน แผนการศึกษา แหงชาติ

ไดวางเปา หมายไว ๒ ดา น คือ เปา หมายดานผูเรียน (Learner Aspirations) โดยมุงพัฒนาผเู รียนทุกคนใหมี
คณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี ๒๑ (3Rs8Cs) ประกอบดว ย ทักษะและ คณุ ลักษณะตอไปน้ี

- 3Rs ไดแ กการอานออก (Reading) การเขียนได( Writing) และการคดิ เลขเปน (Arithmetics)
- 8Cs ไดแ ก (1) ทกั ษะดา นการคดิ อยา งมวี ิจารณญาณ และทกั ษะในการแกปญหา (2) ทกั ษะ
ดานการสรา งสรรคแ ละนวตั กรรม (3) ทกั ษะดา นความเขาใจตา งวฒั นธรรมตา งกระบวนทัศน (4) ทักษะดาน
ความรว มมือ การทาํ งานเปนทมี และภาวะผนู ํา (5) ทกั ษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และการรูเ ทา ทนั ส่ือ
(6) ทักษะดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (7) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู
(8) ความมเี มตตา กรุณา มวี ินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
เปาหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations) ๕ ประการ
๑) ประชากรทกุ คนเขาถงึ การศึกษาท่ีมคี ุณภาพและมีมาตรฐานอยางทัว่ ถึง (Access)
๒) ผูเ รียนทุกคน ทกุ กลมุ เปา หมายไดร ับบริการการศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน อยางเทาเทยี ม
(Equity)
๓) ระบบการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาผูเรียนใหบรรลขุ ีดความสามารถ เตม็ ตามศกั ยภาพ
(Quality)

๔๕

4) ระบบการบรหิ ารจัดการศึกษาที่มปี ระสิทธิภาพ เพื่อการลงทุนทางการศกึ ษาที่ คมุ คาและบรรลุ
เปา หมาย (Efficiency)

๕) ระบบการศึกษาทส่ี นองตอบและกา วทนั การเปลย่ี นแปลงของโลกที่เปนพลวัตและ บรบิ ทท่ี
เปล่ยี นแปลง (Relevancy)

ยุทธศาสตรห ลักท่ีสอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรช าติ ๒๐ ป
ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ : การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ มี

เปา หมาย ดงั นี้
1.1 คนทุกชว งวยั มีความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ
๑.๒ คนทกุ ชวงวัยในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใตและพ้นื ท่ี พเิ ศษไดร ับ

การศกึ ษาและเรยี นรอู ยา งมคี ุณภาพ
๑.๓ คนทุกชวงวยั ไดรบั การศึกษา การดูแลและปองกนั จากภยั คกุ คามในชวี ติ รูปแบบใหม
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๒ : การผลิตและพัฒนากาํ ลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรรม เพ่ือสรา ง ขดี

ความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ มีเปา หมาย ดงั นี้
๒.๑ กําลงั คนมที กั ษะที่สาํ คัญจาํ เปน และมสี มรรถนะตรงตามความตองการของ ตลาดงานและ

การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
๒.๒ สถาบนั การศึกษาและหนว ยงานท่จี ดั การศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความ เช่ยี วชาญและเปน เลศิ

เฉพาะดา น
๒.๓ การวจิ ัยและพฒั นาเพื่อสรางองคความรู และนวัตกรรมที่สรา งผลผลิตและ มลู คาเพิ่มทาง

เศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตรท่ี ๓ : การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกชวงวัย และการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู

มีเปา หมาย ดงั น้ี
๓.๑ ผเู รยี นมที กั ษะและคุณลักษณะพนื้ ฐานของพลเมืองไทย และทกั ษะและคุณลกั ษณะที่

จาํ เปนในศตวรรษที่ ๒๑
๓.๒ คนทกุ ชวงวัยมีทักษะ ความรคู วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษาและ

มาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตไดต ามศักยภาพ
๓.๓ สถานศึกษาทุกระดบั การศกึ ษาสามารถจดั กจิ กรรม/กระบวนการเรียนรตู ามหลักสูตร อยา ง

มคี ุณภาพและมาตรฐาน
๓.๔ แหลงเรียนรู สือ่ ตําราเรยี น นวตั กรรม และส่ือการเรียนรมู ีคุณภาพและมาตรฐาน และ

ประชาชนสามารถเขา ถงึ ไดโ ดยไมจ ํากัดเวลาและสถานท่ี
๓.๕ ระบบและกลไกการวดั การตดิ ตาม และประเมินผลมปี ระสิทธภิ าพ
๓.๖ ระบบการผลติ ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดมาตรฐานระดบั สากล
๓.๗ ครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ไดรบั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน


Click to View FlipBook Version