The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lomanois, 2021-10-21 02:19:28

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

กลยทุ ธท ี่ 4 พัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการตามแนวทางการกระจายอํานาจตามห

โครงการ สารรกั สานสมั พนั ธช มุ ชน ตวั ช้วี ดั
วัตถปุ ระสงค

1. เพ่ือใหช มุ ชนไดมีสวนรว มในการจดั 1. ผูปกครอง ไดมีสว นรวมในกา

การศกึ ษาของโรงเรียน 2. ผูป กครองและชมุ ชน มีความ

2. เพอื่ ใหโรงเรยี นบรหิ ารจดั การศึกษา การศกึ ษาของโรงเรียน

ไดบรรลตุ ามมาตรฐานและเปาหมายที่

กาํ หนด

3. เพื่อใหช ุมชนเกิดความพึงพอใจ

ภาคภมู ใิ จศรัทธา และเชื่อม่ันในการ

จดั การศึกษาของโรงเรียน

๘๔

หลกั ธรรมาภบิ าล เนนการมีสวนรว มจากทกุ ภาคสวน

ด คาเปา หมายรอ ยละ /ปการศึกษา

ารจัดการศกึ ษา 2563 2564 2565
มพึงพอใจในการจัด 85
80 85 90
80 90

โครงการ ปรับปรุงอาคารสถานที่ ตัวชวี้ ดั
วตั ถปุ ระสงค

๑. เพอ่ื ใหอ าคารสถานที่ อาคาร 1. อาคารเรยี นไดรบั การดแู ลใ
ประกอบและส่งิ แวดลอม สิ่งอํานวย ในการจัดการเรียนการสอน
ความสะดวกของโรงเรียนและบริเวณ
โรงเรียนสะอาด รมรืน่ ปลอดภยั และ 2. ผปู กครอง นกั เรยี น ครู พึง
เอื้อตอการจัดการเรียนรู การปฏิบตั งิ าน สภาพแวดลอ มภายในโรงเรียน

ของบุคลากรในโรงเรยี น

2. เพอ่ื ใหส ภาพหอ งเรียนและอาคาร
สถานทไี่ ดรับการดแู ลพรอมใชงานไดอยู
เสมอ

3. เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมภายใน
โรงเรยี นใหเออ้ื ตอการเรยี นรู

๘๕

ด คา เปา หมายรอยละ /ปการศกึ ษา

2563 2564 2565

ใหอยูในสภาพดีเหมาะ 90 95 98

งพอใจตอ การจดั 80 85 90


โครงการ พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
วตั ถุประสงค
ตัวชวี้ ดั

1. เพอื่ พฒั นาระบบประกันคุณภาพ 1. สถานศกึ ษามมี าตรฐานการศ
ภายในตามกฎกระทรวงศึกษาธิการ วา
ดวยระบบหลักเกณฑ และวิธกี ารประกนั ครบถว น สมบรู ณ
คุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 2. สถานศกึ ษามีแผนพัฒนาการ
2. เพ่ือเตรียมการประเมินคณุ ภาพภายใน สถานศึกษาทม่ี ุง พฒั นาคณุ ภาพต
โดยตนสงั กัด ของสถานศกึ ษา ครบถวน สมบ
3. เพอ่ื เตรียมการประเมินคณุ ภาพ 3. สถานศกึ ษามขี อมูลสารสนเท
ภายนอกโดย สมศ. การบรหิ ารจัดการเพ่ือพฒั นาคณุ
4. เพื่อผดงุ รักษาระบบประกันคุณภาพ 4. สถานศกึ ษามแี ผนปฎบิ ัติการ
ภายในของโรงเรยี นที่พฒั นาขึ้น แผนพัฒนาการจดั การศึกษาของ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
5. สถานศึกษามรี ะบบตดิ ตามต
คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานกา
ท่มี คี วามเสถียรภาพ
6. สถานศกึ ษานาํ ผลการประเม
และภายนอกไปใชว างแผนพัฒน
คุณภาพการศึกษาอยา งตอเน่อื ง
7. สถานศกึ ษาจดั ทาํ รายงานป
ประเมนิ คณุ ภาพภายใน
8. สถานศกึ ษาจดั ใหม กี ารพฒั น
อยางตอเนอ่ื ง

๘๖

ด คาเปา หมายรอ ยละ /ปการศึกษา
2563 2564 2565
ศึกษาของสถานศึกษา 100 100 100

รจดั การศึกษาของ 100 100 100
ตามมาตรฐานการศกึ ษา 80 85 90
บูรณ 100 100 100
ทศและใชส ารสนเทศใน
ณภาพสถานศกึ ษา 100 100 100
รและดาํ เนนิ งานตาม 100 100
งสถานศึกษาที่มุงพฒั นา 100 100
าของสถานศึกษา 100 100
ตรวจสอบและประเมิน
ารศกึ ษาของสถานศกึ ษา

มนิ คุณภาพท้ังภายใน 100
นา
ง 100

ประจาํ ปท่ีเปนรายงานการ 100

นาคุณภาพการศกึ ษา

๘๗

3. การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา
ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เปนระบบทส่ี ถานศึกษารว มกับชุมชน

และหนว ยงานที่เก่ียวขอ ง ภายใตการกํากับ ดแู ลและสนบั สนุนสง เสริมของหนว ยงานตนสงั กดั เพื่อสรา งความ
ม่ันใจทต่ี ง้ั อยูบนพ้นื ฐานของหลักวิชา ขอมูลหลักฐาน ทตี่ รวจสอบได และการมสี วนรว มของทุกฝา ยทเ่ี กยี่ วขอ ง
วาผเู รยี นทุกคนจะไดร ับบริการดานการศึกษาที่มคี ุณภาพจากสถานศึกษา เพอื่ พัฒนาความรู ความสามารถและ
คุณลกั ษณะที่พึงประสงคตามทกี่ าํ หนดในมาตรฐานหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช
2551 (ปรบั ปรงุ 2560) และมาตรฐานการศึกษาและตัวบง ช้ี โรงเรียนอนุบาลวัดชอ งลม จึงไดจ ัดใหม ี
ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา เพ่อื สรางความมน่ั ใจใหแกผ ทู ี่เกี่ยวขอ งวา ผูเรยี นทกุ คน
จะไดร ับการศึกษาท่ีมคี ุณภาพจากสถานศึกษา เพือ่ พฒั นาความรู ความสามารถและคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค
ตามมาตรฐานการศกึ ษาและตัวบงช้ี เพอ่ื การประเมนิ คุณภาพภายนอก ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ทก่ี ําหนดใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ 2560) ระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษา เปนสว นหนึง่ ของการบริหารการศึกษา ซึ่งเปน กระบวนการพฒั นาคุณภาพ
การศกึ ษาอยางตอเนอ่ื ง โดยใหสถานศึกษายดึ หลกั การมีสว นรว มของชมุ ชนและหนวยงานท่ีเก่ยี วของโดยการ
สง เสริม สนับสนนุ และกํากบั ดแู ลของหนวยงานตนสังกัด ประกอบดว ย

1) การจดั ระบบบรหิ ารและสารสนเทศ ดวยการทาํ จัดโครงสรางการบรหิ ารจัดการใหเ อื้อตอ การ
ดาํ เนนิ งาน ทกุ คนมีสว นรว มและมีการประชาสัมพันธกับทุกฝา ยทเ่ี กีย่ วของ แตง ต้งั คณะกรรมการเพ่ือกาํ หนด
แนวทางใหความเห็นและขอเสนอแนะและแตงต้ังคณะบุคคลทําการตรวจสอบ ทบทวนและรายงานคุณภาพ
การศึกษา และจดั ใหมขี อมูลที่เพยี งพอในการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อนํามากําหนดวิสยั ทัศน
ภารกจิ และแผนพฒั นา

2) การพฒั นามาตรฐานการศึกษา โดยมุงเนน มาตรฐาน ผลการเรียนรขู องผเู รียนทส่ี อดคลอ งกับ
มาตรฐานชว งชน้ั ทห่ี ลกั สูตรกําหนด

3) การจัดทาํ แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ดว ยการจดั ทาํ แผนอยางเปนระบบพน้ื ฐานของขอมลู
สถานศกึ ษา ซงึ่ ประกอบดว ย เปา หมาย ยทุ ธศาสตร และแนวปฏิบตั ิทช่ี ดั เจน สมบรู ณ คลอบคลุมการพัฒนา
ทุกกจิ กรรมทีเ่ ปน สวนประกอบหลกั ของการจดั การศึกษาและเปนทย่ี อมรับรวมกนั ของทุกฝา ยทเี่ กยี่ วของนาํ ไป
ปฏบิ ัติ เพอื่ ใหบรรลตุ ามเปา หมายของแตล ะกิจกรรมที่กําหนดอยางสอดรับกบั วสิ ยั ทัศนและมาตรฐานหลกั สตู ร
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

4) การดาํ เนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกํากับ ติดตามการดําเนนิ งานอยา ง
ตอเนือ่ งใหบ รรลเุ ปาหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาที่กาํ หนดไวโดยจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ ารประจําปท่ี
ชดั เจนครอบคลุมงาน/โครงการของสถานศกึ ษา

5) การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา จะประกอบดว ยการตรวจสอบและทบทวนภายในโดย
บคุ ลากรในสถานศึกษาดําเนนิ การและการตรวจสอบและทบทวนจากหนวยงานตน สังกัด

6) การประเมินคณุ ภาพการศึกษา โดยมุงเนนการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ของผเู รยี นในระดับชั้นท่ีเปนตัว
ประโยค ไดแ กป ระถมศึกษาปที่ 3 และ 6 ในวิชาแกนรวมโดยใชแ บบทดสอบมาตรฐาน จากหนวยงาน
สวนกลางรวมกบั ตน สงั กัด (เขตพน้ื ท่ี) ดําเนินการ

7) การรายงานคุณภาพการศึกษาประจาํ ป เปน การนาํ ขอ มูลผลการประเมนิ มาตรฐานคุณภาพ การ
ตรวจสอบและทบทวนภายในและภายนอกไปประมวลรายงานผลการพัฒนาคุณภาพประจําปก ารศึกษา ซึง่ จะ
นําไปใชเ ปนขอมูลสาํ หรับการวางแผนพัฒนาคุณภาพตอไป 8) การผดุงระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

๘๘
เปน กลไกสวนหนึง่ ของระบบประกันคุณภาพภายใน เพอ่ื ใหขอมูลยอนกลับเพอื่ การสง เสริม พัฒนาและประเมนิ
ประสทิ ธภิ าพการดําเนินงานของระบบประกัน
4.มาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นอนุบาลวัดชอ งลม

ตามรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 ไดกาํ หนดใหมีการออกพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ ขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2545 เปนเร่ืองทม่ี คี วามสําคญั ตอการ
บริหารจดั การศกึ ษา และเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การประกนั คุณภาพการศึกษา มาตรา 47 บัญญัตไิ ววา
ใหม ีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบดว ย ระบบการประกนั
คุณภาพภายในและการประกันคณุ ภาพภายนอก มาตรา 48 บญั ญัติไวว า ใหห นว ยงานตน สังกดั และ
สถานศกึ ษาจัดใหมีระบบการประกนั คุณภาพในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสว น
หนง่ึ ของกระบวนการบริหารการศกึ ษาทีต่ องดาํ เนินการอยางตอ เนื่อง โดยมกี ารจัดทาํ รายงานประจาํ ปเสนอตอ
หนว ยงานตนสงั กัดและหนวยงานทเ่ี กี่ยวของและเปดเผยตอสาธารณชนเพ่ือนาไปสูการพฒั นาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาและเพอื่ รองรบั การประกันคุณภาพภายนอก ท้งั น้ีสถานศึกษาจึงไดกําหนดมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรียนอนุบาลวัดชองลม 4 ปขึน้ เพื่อวัตถุประสงคด ังกลาว ดังมรี ายละเอียดมาตรฐาน ดงั นี้

มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
1.1 มีพัฒนาการดานรางกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได :

เด็กมนี ํา้ หนัก สวนสงู ตามเกณฑม าตรฐาน เคลอื่ นไหวรา งกายคลองแคลว ทรงตวั ไดดี ใชม ือและตาประสาน
สัมพันธไดด ี ดูแลรักษาสขุ ภาพอนามยั สวนตนและปฏบิ ตั ิจนเปนนิสัย ปฏิบตั ิตนตามขอ ตกลงเกี่ยวกับความ
ปลอดภัย หลกี เลีย่ งสภาวะทีเ่ ส่ยี งตอ โรค สงิ่ เสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดลอม และสถานการณท่ี
เสี่ยงอันตราย

1.2 มพี ัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณได : เด็กรา เรงิ แจมใส
แสดงอารมณความรูสึกไดเ หมาะสม รจู ักยบั ยั้งช่งั ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ
และผลงานของตนเองและผอู ่ืน มจี ติ สํานกึ และคา นิยมทด่ี ี มคี วามม่นั ใจ กลาพูด กลาแสดงออก ชวยเหลือ
แบง ปน เคารพสิทธิ รูหนา ที่รับผิดชอบ อดทน อดกล้นั ซื่อสตั ยส จุ รติ มคี ุณธรรม จริยธรรมตามที่
สถานศึกษากาํ หนด ชน่ื ชมและมีความสุขกบั ศลิ ปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

1.3 มีพฒั นาการดา นสงั คม ชวยเหลอื ตนเอง และเปนสมาชกิ ทด่ี ีของสังคม : เดก็
ชวยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจาวนั มีวินัยในตนเอง ประหยดั และพอเพียง มีสว นรวมดูแลรกั ษา
สงิ่ แวดลอมในและนอกหองเรียน มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย เชน การไหว การยมิ้ ทักทาย และมีสัมมา
คารวะกบั ผูใ หญ เปน ตน ยอมรบั หรอื เคารพความแตกตางระหวา งบคุ คล เชน ความคิด พฤติกรรม
พน้ื ฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เปน ตน เลนและทาํ งานรวมกับผอู นื่ ได แกไขขอ ขัดแยง
โดยปราศจากการใชค วามรนุ แรง

1.4 มพี ัฒนาการดา นสตปิ ญ ญา ส่ือสารได มีทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรูไ ด : เดก็
สนทนาโตตอบและเลา เร่อื งใหผูอืน่ เขาใจ ต้งั คําถามในส่งิ ท่ีตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามคนหาคําตอบ
อา นนิทานและเลา เรื่องทต่ี นเองอานไดเหมาะสมกบั วยั มีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชิง
เหตุผลทางคณิตศาสตรแ ละวิทยาศาสตร การคิดแกป ญหาและสามารถตัดสนิ ใจ ในเรอ่ื งงา ยๆ ได สรางสรรค
ผลงานตามความคดิ และจนิ ตนาการ เชน งานศิลปะ การเคลอ่ื นไหวทาทาง การเลนอิสระ เปน ตน และใชส่อื

๘๙

เทคโนโลยี เชน แวน ขยาย แมเหล็ก กลอ งดจิ ติ อล เปนตน เปน เครอื่ งมอื ในการเรียนรูแ ละแสวงหาความรู
ได
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง 4 ดา น สอดคลอ งกับบรบิ ทของทองถนิ่ :
สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรสถานศึกษาทย่ี ืดหยนุ และสอดคลอ งกบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย โดยสถานศกึ ษา
ออกแบบการจัดประสบการณทเี่ ตรียมความพรอมและไมเ รงรดั วชิ าการ เนนการเรยี นรูผา นการเลน และการลง
มอื ปฏบิ ัติ ตอบสนองความตองการและความแตกตางของเดก็ ปกติและกลุมเปา หมายเฉพาะ และสอดคลอ ง
กับวิถชี ีวติ ของครอบครัว ชุมชนและทอ งถนิ่

2.2 จดั ครูใหเ พียงพอกบั ช้ันเรียน : สถานศึกษาจัดครใู หเหมาะสมกบั ภารกิจการเรยี นการสอน
หรือจัดครูทจี่ บการศึกษาปฐมวยั หรือผา นการอบรมการศึกษาปฐมวัยอยางพอเพยี งกบั ชนั้ เรียน

2.3 สง เสรมิ ใหครูมคี วามเช่ียวชาญดา นการจัดประสบการณ : พฒั นาครูและบุคลากร
ใหมคี วามรคู วามสามารถในการวิเคราะหแ ละออกแบบหลกั สตู รสถานศึกษา มที ักษะในการจดั ประสบการณ
และการประเมินพฒั นาการเด็ก ใชป ระสบการณสาํ คัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม มีการสังเกตและ
ประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน รายบุคคล มีปฏสิ ัมพันธทดี่ ีกับเด็กและครอบครัว

2.4 จัดสภาพแวดลอ มและส่อื เพื่อการเรยี นรู อยา งปลอดภยั และเพยี งพอ : สถานศึกษาจดั
สภาพแวดลอมภายในและภายนอกหองเรียนที่คาํ นึงถึงความปลอดภัย สงเสริมใหเ กดิ การเรียนรเู ปน รายบุคคล
และกลุม เลน แบบรวมมอื รวมใจ มมี มุ ประสบการณห ลากหลาย มสี อ่ื การเรียนรู เชน ของเลน หนงั สอื
นทิ าน สอื่ จากธรรมชาติ สื่อสาํ หรับเดก็ มุด ลอด ปน ปาย ส่อื เทคโนโลยี สอ่ื เพอ่ื การสืบเสาะหาความรู

2.5 ใหบ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรูเพอื่ สนับสนุนการจัดประสบการณ
สําหรับครู : สถานศึกษาอํานวยความสะดวก และใหบ ริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ วสั ดุ และอปุ กรณ
เพ่ือสนับสนนุ การจดั ประสบการณและพฒั นาครู

2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปด โอกาสใหผูเ ก่ียวของทุกฝา ยมีสวนรว ม : สถานศึกษากาํ หนด
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และอตั ลักษณทส่ี ถานศึกษา
กําหนด จดั ทําแผนพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษาทีส่ อดรับกบั มาตรฐานท่ีสถานศึกษากาํ หนดและ
ดาํ เนนิ การตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาํ เนินงาน
และจัดทํารายงานผลการประเมินตนเองประจาํ ป นําผล การประเมินไปปรบั ปรงุ และพฒั นาคณุ ภาพ
สถานศึกษา โดยผูปกครองและผูเก่ียวของทุกฝาย มีสว นรว มและจดั สงรายงานผลการประเมินตนเองให
หนวยงานตนสังกัด

๙๐

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท เี่ นนเดก็ เปนสาํ คญั
3.1 จดั ประสบการณท ี่สงเสรมิ ใหเ ด็กมีพฒั นาการทกุ ดานอยางสมดลุ เตม็ ศักยภาพ : ครู

วเิ คราะหขอมลู เด็กเปน รายบุคคล จดั ทาํ แผนการจดั ประสบการณ จากการวเิ คราะหม าตรฐานคุณลักษณะที่
พงึ ประสงคในหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยมกี ิจกรรมท่สี งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบทุกดาน ทงั้ ดานรา งกาย ดา น
อารมณ จติ ใจ ดา นสงั คม และดานสติปญ ญา ไมม ุง เนนการพัฒนาดานใด ดา นหนง่ึ เพียงดา นเดยี ว

3.2 สรา งโอกาสใหเด็กไดรบั ประสบการณตรง เลน และปฏิบตั ิอยา งมคี วามสุข : ครจู ัด
ประสบการณทีเ่ ชื่อมโยงกบั ประสบการณเดมิ ใหเด็กมโี อกาสเลอื กทาํ กจิ กรรมอยา งอิสระ ตามความตองการ
ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองตอวิธีการเรียนรูของเด็กเปนรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหลง
เรียนรทู ี่หลากหลาย เดก็ ไดเลือกเลน เรียนรู ลงมือ กระทาํ และสรางองคค วามรดู วยตนเอง

3.3 จัดบรรยากาศทเี่ อ้อื ตอการเรยี นรู ใชส่อื และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวัย : ครจู ัด
หอ งเรยี นใหส ะอาด อากาศถายเท ปลอดภยั มีพ้นื ที่แสดงผลงานเด็ก พนื้ ทส่ี ําหรับมุมประสบการณและการ
จดั กิจกรรม เด็กมีสว นรวมในการจดั สภาพแวดลอมในหอ งเรยี น เชน ปายนิเทศ การดแู ลตนไม เปนตน
ครูใชสือ่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั ชวงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรยี นรูข องเดก็ เชน กลอ ง
ดิจิตอล คอมพิวเตอรสําหรบั การเรียนรกู ลมุ ยอย สือ่ ของเลน ทก่ี ระตนุ ใหคดิ และหาคําตอบ เปน ตน

3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง และนําผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรุง
การจัดประสบการณแ ละพฒั นาเด็ก : ครปู ระเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันดว ย
เคร่ืองมอื และวิธีการที่หลากหลาย ไมใชแบบทดสอบวเิ คราะหผ ลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ โดยผูปกครองและ
ผูเ กยี่ วของมีสว นรวม และนาํ ผลการประเมินทีไ่ ดไปพฒั นาคณุ ภาพเด็กและแลกเปลี่ยนเรยี นรูการจดั
ประสบการณที่มปี ระสทิ ธภิ าพ

๙๑

มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู รยี น
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผูเรยี น
1) มีความสามารถในการอาน การเขียน การส่อื สาร และการคดิ คํานวณ : ผูเรยี นมี
ทกั ษะในการอา น การเขียน การสอ่ื สาร และการคดิ คํานวณตามเกณฑท่ีสถานศึกษา กาํ หนดในแตล ะ
ระดบั ช้นั
2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห คิดอยา งมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน
ความคิดเหน็ และแกปญหา : ผูเรียนมคี วามสามารถในการคดิ จําแนกแยกแยะ ใครครวญไตรต รอง
พิจารณาอยางรอบคอบ โดยใชเ หตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และ
แกป ญ หาอยางมเี หตุผล
3) มคี วามสามารถในการสรา งนวัตกรรม : ผูเรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู ด
ท้ังดวยตัวเองและการทํางานเปนทีม เช่ือมโยงองคความรูแ ละประสบการณมาใชในการสรา งสรรคสิง่ ใหมๆ
อาจเปนแนวความคิด โครงการ โครงงาน ช้นิ งาน ผลผลติ
4) ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร : ผูเรยี น มี
ความสามารถในใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คมในดาน การเรียนรู
การส่อื สาร การทํางานอยางสรางสรรค และมคี ุณธรรม
5) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา : ผูเ รียนบรรลุและ มี
ความกา วหนาในการเรียนรูตามหลกั สตู รสถานศึกษาจากพื้นฐานเดมิ ในดานความรู ความเขาใจ ทักษะ
กระบวนการตางๆ รวมท้ังมีความกา วหนา ในผลการทดสอบระดบั ชาติหรือผลการทดสอบอ่นื ๆ
6) มคี วามรู ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคติท่ีดตี อ งานอาชีพ : ผเู รยี นมีความรู ทักษะ
พน้ื ฐานในการจดั การ เจตคติที่ดพี รอมท่ีจะศึกษาตอในระดับชน้ั ที่สงู ขึ้น การทํางานหรืองานอาชพี
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของผูเรียน
1) มคี ุณลกั ษณะและคานิยมที่ดีตามทส่ี ถานศึกษากาํ หนด : ผเู รียนมพี ฤติกรรม เปนผูท่ีมี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีคา นิยมและจติ สํานึก ตามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดโดยไมขดั กับ
กฎหมายและวฒั นธรรมอันดีของสังคม
2) มคี วามภูมใิ จในทองถน่ิ และความเปนไทย : ผเู รยี นมีความภมู ิใจในทอ งถน่ิ เหน็
คุณคาของความเปน ไทย มีสว นรวมในการอนุรักษว ฒั นธรรมและประเพณไี ทย รวมทง้ั ภูมปิ ญญาไทย
3) ยอมรบั ที่จะอยูร วมกนั บนความแตกตางและหลากหลาย : ผูเรียนยอมรบั และอยู
รว มกันบนความแตกตา งระหวางบุคคลในดา นเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี
4) มสี ขุ ภาวะทางรา งกาย และจิตสังคม : ผเู รยี นมกี ารรกั ษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต
อารมณ และสังคม และแสดงออกอยา งเหมาะสมในแตละชว งวัย สามารถอยูรว มกับ คนอนื่ อยางมีความสุข
เขาใจผอู ่ืน ไมม ีความขัดแยงกับผอู ืน่

๙๒

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
2.1 มีเปา หมาย วสิ ัยทัศน และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากําหนดชัดเจน : สถานศกึ ษากําหนด
เปา หมาย วิสยั ทัศน และพนั ธกจิ ไวอยา งชดั เจน สอดคลองกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา ความตองการของ
ชมุ ชน ทอ งถ่นิ วตั ถุประสงคของแผนการศึกษาแหงชาติ นโยบายของรฐั บาล และของตนสังกัด รวมทงั้ ทนั
ตอ การเปล่ยี นแปลงของสังคม
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา : สถานศกึ ษาสามารถบริหารจัดการ
คณุ ภาพของสถานศึกษาอยางเปน ระบบ ท้ังในสวนการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาํ แผน
ไปปฏิบตั เิ พื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา ง
ตอเนอื่ ง มีการบรหิ ารอตั รากําลัง ทรัพยากรทางการศกึ ษา และระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน มีระบบการ
นเิ ทศภายใน การนําขอ มลู มาใชใ นการพัฒนา บคุ ลากรและผทู ่เี กย่ี วของทุกฝายมีสว นรวมการวางแผน
ปรบั ปรงุ และพฒั นา และรว มรับผิดชอบตอ ผลการจัดการศกึ ษา
2.3 ดําเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เนนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดา นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและ ทุก
กลุมเปา หมาย : สถานศึกษาบรหิ ารจดั การเกี่ยวกับงานวิชาการ ท้งั ดานการพฒั นาหลักสตู ร กจิ กรรมเสริม
หลักสูตรทเี่ นนคุณภาพผูเ รียนรอบดา น เช่ือมโยงวถิ ีชีวิตจริง และครอบคลุม ทุกกลมุ เปาหมาย
หมายรวมถึงการจดั การเรยี นการสอนของกลมุ ทเ่ี รียนแบบควบรวมหรือกลุม ท่เี รยี นรวมดวย
2.4 พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม ีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ : สถานศึกษาสงเสริม สนบั สนนุ
พัฒนาครู บุคลากร ใหมคี วามเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ และจดั ใหม ชี มุ ชนการเรียนรู ทางวิชาชีพ มาใชใน
การพัฒนางานและการเรยี นรูของผเู รยี น
2.5 จดั สภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อตอ การจัดการเรียนรู : สถานศกึ ษาจัด
สภาพแวดลอ มทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกหองเรยี น และสภาพแวดลอ มทางสงั คมที่เอ้อื ตอการ
จัดการเรยี นรู และมีความปลอดภัย
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นร:ู
สถานศึกษาจัดระบบการจดั หา การพฒั นาและการบริการ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ ใช ในการบรหิ าร
จดั การและการจัดการเรียนรู ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา

๙๓

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนนผูเ รียนเปน สาํ คัญ
3.1 จดั การเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใช ในการ
ดาํ เนินชวี ติ : จดั กจิ กรรมการเรียนรตู ามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชวี้ ัดของหลักสูตรสถานศึกษาท่เี นน ใหผ ูเ รียน
ไดเรียนรโู ดยผา นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ มีแผนการจดั การเรียนรูท ่ีสามารถนาํ ไปจัดกจิ กรรมไดจริง มี
รูปแบบการจัดการเรียนรเู ฉพาะสําหรบั ผูท่ีมีความจําเปน และตอ งการความชวยเหลอื พิเศษ ผูเ รียนไดรบั การ
ฝก ทกั ษะ แสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรุป องคค วามรู นาํ เสนอผลงาน และสามารถนําไป
ประยกุ ตใชใ นชีวิตได
3.2 ใชส ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง เรยี นรทู ่ีเอื้อตอ การเรยี นรู : มีการใชส ือ่ เทคโนโลยี
สารสนเทศ และแหลง เรยี นรู รวมทั้งภมู ิปญญาทองถน่ิ มาใชใ นการจดั การเรยี นรู โดยสรา งโอกาสให
ผเู รียนไดแสวงหาความรดู วยตนเองจากส่อื ทหี่ ลากหลาย
3.3. มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก : ครผู ูส อนมกี ารบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเนน
การมีปฏสิ มั พันธเชงิ บวก ใหเดก็ รักครู ครรู กั เด็ก และเดก็ รกั เดก็ เด็กรักทีจ่ ะเรียนรู สามารถเรยี นรูรวมกัน
อยางมีความสขุ
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเรียนอยา งเปนระบบ และนาํ ผลมาพัฒนาผเู รยี น : มีการ
ตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจดั การเรียนรอู ยา งเปนระบบ มขี ัน้ ตอนโดยใชเครื่องมือ และวิธกี ารวัดและ
ประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกับเปา หมายในการจัดการเรียนรู และใหขอมลู ยอนกลบั แกผูเ รยี นเพื่อ
นาํ ไปใชพ ฒั นาการเรยี นรู
3.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรแู ละใหข อ มลู ปอนกลบั เพ่ือปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู : ครแู ละ
ผมู สี วนเกีย่ วขอ งรวมกันแลกเปลยี่ นความรแู ละประสบการณร วมทง้ั ใหขอมูลปอนกลับเพ่ือนาํ ไปใช ในการปรับปรงุ
และพฒั นาการจัดการเรียนรู

๙๔

สว นท่ี 4
การแปลงแผนสกู ารปฏบิ ัติและการกาํ กับติดตาม
การแปลงแผนสูการปฏบิ ัติ
บทบาทของผเู กีย่ วของกับการจัดการศึกษา
บทบาทหนา ท่ีของผูเ ก่ียวของกบั การจัดการศึกษา ไดแ ก คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผบู ริหาร ครู
ผปู กครอง ซึ่งมีบทบาท ดังนี้
1. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน
คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มหี นา ท่ีเปนไปตามระเบยี บของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวาดวยหนาทข่ี อง
คณะกรรมการและมีบทบาท ดงั นี้
1. กําหนดนโยบายและพฒั นาของสถานศึกษา
2. ใหความเห็นชอบแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปของสถานศึกษา
3. ใหค วามเหน็ ชอบในการจัดทาํ สาระหลกั สูตรใหส อดคลองกบั ความตองการของทองถ่ิน
4. กํากบั ตดิ ตามการดาํ เนินงานตามแผนงานของสถานศกึ ษา
5. สงเสรมิ สนบั สนุนใหเด็กทุกคนไดร ับการศึกษาอยา งท่ัวถึง มีคณุ ภาพและไดมาตรฐาน
6. สง เสริมใหม กี ารพิทักษส ทิ ธเิ ดก็ ดแู ลเด็กพกิ าร เดก็ ดอยโอกาส และเด็กทีม่ ีความสามารถพเิ ศษ ให
ไดร ับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
7. เสนอแนวทางและมสี วนรวมในการบรหิ ารจัดการดา นวิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงานบคุ คล และ
ดา นบรหิ ารทวั่ ไปของสถานศึกษา
8. สงเสรมิ ใหมกี ารระดมทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและภมู ิปญญาทอ งถน่ิ
เพื่อเสริมสรางพัฒนาการของนกั เรียนทกุ ดาน รวมทัง้ สบื สานจารีตประเพณี ศิลปวฒั นธรรมของทองถ่นิ และ
ของชาติ
9. เสรมิ สรา งความสมั พนั ธระหวา งสถานศกึ ษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคกรทง้ั ภาครัฐ
และเอกชน เพื่อใหสถานศกึ ษาเปนแหลง วทิ ยการของชมุ ชนและมสี วนในการพัฒนาชุมชนและทองถ่นิ
10. ใหค วามเห็นชอบรายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําปข องสถานศึกษากอนเสนอตอสาธารณชน
11. แตงต้ังท่ปี รึกษา และหรืออนุกรรมการเพื่อการดําเนนิ งานตามระเบยี บ ตามทีเ่ ห็นสมควร
12. ปฏิบตั กิ ารอ่ืนตามทีร่ ับมอบหมายจากหนวยงานตนสังกัดของสถานศกึ ษา
2. ผูบริหารสถานศกึ ษา
2.1 บทบาทของผูอาํ นวยการสถานศกึ ษา
2.1.1 บรหิ ารงานตามนโยบายที่กาํ หนดไวใ นแผนปฏิบัติราชการประป / แผนกลยทุ ธ และ
นโยบายตน สงั กัด
2.1.2 นิเทศ ควบคุม กาํ กับการจัดการเรยี นการสอนใหครบตามขั้นตอนของกระบวนการ
เรียนการสอน
2.1.3 รวมวางแผนและใชแ ผนในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาตามสภาพปญหาและนโยบาย
ดา นคุณภาพของหนวยงานตนสงั กัด

๙๕
2.1.4 ควบคมุ ดแู ลการใชอาคารสถานท่ีและบริเวณโรงเรียนใหคมุ คา โดยดูแลรักษาให
สะอาดเปน ระเบยี บถกู สขุ ลักษณะ ตลอดจนการจดั บรรยากาศใหรม รื่น สวยงาม นาอยูอาศัย
2.1.5 จดั ใหมเี อกสารประกอบหลักสตู ร สอ่ื และวัสดอุ ปุ กรณการเรยี นการสอนอยาง
เพียงพอตามความเหมาะสม
2.1.6 จัดประชมุ ประจําเดือน ประชุมทางวิชาการ และประชมุ ของฝา ย / งาน / กจิ กรรม
ตา ง ๆ เพ่ือชีแ้ จงขอราชการ หาแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนการจดั อบรม สมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือ
เพมิ่ พนู ความรแู ละประสบการณใหแ กบ ุคลากรในโรงเรียน
2.1.7 ควบคมุ กาํ กับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลกการดาํ เนินงานตามโครงการ/กจิ กรรมตา งๆ
ใหบรรลุวัตถปุ ระสงคต ามโครงการ
2.1.8 ควบคมุ กาํ กบั การปฏิบัตงิ านของครู ยกยองเชิดชคู ุณครทู ่ีปฏบิ ตั ิงานดีเดน และ
เผยแพรผ ลงานใหประจักษโ ดยท่ัวไป ตลอดท้ังสงเสริม สนบั สนุนใหค รูสรา งผลงานทางวิชาการเพื่อเลอ่ื นระดับ
และเงินเดือนใหส ูงขึ้น
2.1.9 ปฏบิ ัติงานนอกสถานทเ่ี ทาทจ่ี าํ เปน เพ่ือประสานงานกับบคุ คล และหนวยงานท่ี
เกีย่ วขอ งในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
2.1.10 สรปุ ผลการปฏบิ ัติงานของโรงเรยี นตอสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
ชลบุรี เขต ๒ และหนวยงานท่ีเกี่ยวของเพื่อเผยแพร ประชาสัมพนั ธผ ลงาน
2.1.11 ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ท่ีไดรับมอบหมายจากสํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา
ชลบรุ ี เขต ๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน และงานท่สี นองนโยบายของหนวยเหนือ
2.2 บทบาทของหัวหนา งานบริหารวชิ าการ
2.2.1 ปฏิบัตงิ านดานวิชาการ
2.2.2 รว มจดั ทาํ แผนพฒั นา แผนปฏบิ ตั ิราชการ และปฏทิ ินปฏิบัติงานประจาป
2.2.3 ดาํ เนนิ งานตามแผนนโยบายการบรหิ ารจัดการตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
2.2.4 จัดบุคลากรปฏิบัติหนาท่คี รผู ูสอนประจําชนั้ และประจําวชิ า มอบหมายหนา ท่คี วาม
รบั ผดิ ชอบงานตาง ๆ ตามความเหมาะสม เพ่ือใหก ารดําเนินการจัดการเรยี นการสอนบรรลุผลตามหลกั สตู ร
2.2.5 ใหค าํ แนะนา ปรกึ ษา ชวยเหลือในการดาํ เนนิ งานตาง ๆ
2.2.6 กาํ กบั ติดตาม นเิ ทศและประสานงานกับคณะครใู นการจัดการเรยี นการสอนโดยใช
กระบวนการทีห่ ลากหลาย
2.2.7 ควบคุม ตรวจสอบเอกสารธุรการประจําช้นั ของครูใหถ กู ตองเปนปจจุบันอยูเสมอ
2.2.8 จดั ใหมกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551
2.2.9 พฒั นาคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค
2.2.10 จัดสง บุคลากรเขารวมประชมุ อบรมทางวชิ าการกับหนวยงานตา ง ๆ
2.2.11 จัดเวทีวิชาการเพ่ือใหค รแู ลกเปล่ียนเรียนรูตามความถนัด ความสามารถของแตละ
บุคคล
2.2.12 สง เสริมใหค รูใชแ หลงเรียนรทู งั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน รวมถึงการใชภมู ิปญญา
ทอ งถนิ่ มาใชใ นการจัดการเรยี นรู

๙๖
2.2.13 สนบั สนนุ ใหค รูผลติ สอ่ื เอกสาร แบบฝกหัด เพือ่ ประกอบการจดั การเรยี นรู
2.2.14 สนบั สนุนใหบ คุ ลากรครูใชร ปู แบบการสอนท่หี ลากหลายโดยเนน ใหนกั เรียน ปฏบิ ัติ
จริง รจู กั คิด วเิ คราะห คนควาความจรงิ ดวยตนเอง โดยครเู ปนผูแนะนํา
2.2.15 ประสานงานกับกลุมบรหิ ารอน่ื ๆ เพื่อรับการสนับสนนุ ใหเกิดความคลองตวั ในการ
บริหารงานวิชาการ
2.2.16 ใหบรกิ ารและอํานวยความสะดวกแกครูผสู อนในทุกดา น เพ่ือเสรมิ สรา งการจดั การ
เรียนรู
2.2.17 ปฏิบตั ิงานอน่ื ๆ ตามทีผ่ ูอ าํ นวยการโรงเรยี นมอบหมาย
2.3 บทบาทของหวั หนางานกลุม บริหารท่วั ไป
2.3.1 งานธรุ การ รบั – สงหนังสอื ราชการ เอกสารตา งๆตามระเบยี บงานสรรบรรณงานเกบ็
รักษาและรวบรวมกฎหมาย ขอบังคบั ประกาศ
2.3.2 งานพฒั นาระบบและเครอื ขายขอ มูลสารสนเทศ จดั ระบบขอมลู สถานศึกษาเพ่ือใชใ น
การบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษาใหส อดคลองกับระบบ
2.3.3 งานประสานและพัฒนาเครือขายการศึกษา ประสานงานกบั เครือขายการศึกษาเพอื่
แสวงหาความรวมมอื
2.3.4 งานจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองคกร จัดระบบบรหิ ารใหเ ปนไปตามโครงสรา ง
การแบง สว นราชการท่ีกําหนด
2.3.5 งานจดั อาคารสถานที่ สํารวจความตอ งการเก่ียวกบั อาคารสถานทที่ ่ีพจิ ารณาถงึ สภาพ
ของอาคารทมี่ ีอยู
2.3.6 งานการใชอ าคารสถานที่ วางแผนการใชอาคารสถานม่ใี หเ กดิ ประโยชนสูงสดุ
กําหนดการใชอาคารสถานท่ใี หเหมาะสมกบั กจิ กรรมการเรียนการสอน
2.3.7 งานการบํารงุ รกั ษาอาคารสถานทแ่ี ละสิง่ แวดลอ ม สงเสริมใหบ คุ ลากรทกุ ฝายใน
โรงเรยี นไดม สี วนรวมในการบํารงุ รักษาอาคารสถานที่
2.3.8 งานการควบคุมดูแลอาคารสถานท่ีและส่ิงแวดลอ ม แตง ตั้งคณะกรรมการควบคมุ ดแู ล
อาคารสถานทีต่ ามระเบียบวาดวยการกั ษาความปลอดภัยเกย่ี วกับอาคารสถานที่
2.3.9 งานสาธารณปู โภค จัดบรกิ าร งานสาธารณปู โภค การใหบ รกิ ารนาด่ืม นาํ้ ใชแ ละไฟฟา
ภายในโรงเรยี น บาํ รุงรักษาซอมแซม
2.3.10 งานโสตทศั นปู กรณ ดาํ เนนิ การจัดซื้อโสตทศั นปู กรณทีจ่ ําเปนตอการสง เสรมิ ในการ
จัดการเรยี นการสอน
2.3.11 งานประเมินผลการใชอ าคารสถานที่และส่งิ แวดลอ ม จดั ทาแบบสาํ รวจในการ
ประเมินผลการใชอาคารสถานที่
2.3.12 งานประชาสมั พันธง านการศึกษา จัดทําวารสาร สิ่งพิมพเ ผยแพรขา วสารผลงานของ
โรงเรียน เพื่อสรางความเขา ใจอนั ดรี ะหวา งโรงเรียนและชุมชน
2.3.13 งานบริการสาธารณะ จัดบรกิ ารขอมลู ขาวสาร ตอ นรับ อํานวยความสะดวกแกผมู า
ศึกษาดูงานและตรวจเยยี่ มสถานศึกษา จัดกจิ กรรมสมั พันธชมุ ชน
2.3.14 งานประสานราชการกับเขตพน้ื ที่การศึกษาและหนวยงานอน่ื การใหความรว มมือ
ดานขา วสารแกหนว ยงานอน่ื ๆ

๙๗
2.3.15 ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ตามทผี่ อู ํานวยการโรงเรยี นมอบหมาย
2.3.16 จดั โครงการและกจิ กรรมการเรยี นรูเพื่อปลูกฝง ใหนักเรยี นรกั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริยแ ละเปนผมู ีคุณธรรม จรยิ ธรรม
2.3.17 จัดโครงการและกิจกรรมสงเสริมการเรยี นรูเก่ียวกับการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ
2.3.18 จดั โครงการสงเสริมใหน ักเรียนตระหนักในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และวฒั นธรรม
ไทย
2.3.19 ปลูกฝงใหน ักเรียนมีความตระหนักในการดํารงชีวิตโดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
และหลกั การสหกรณ
2.3.20 จดั กจิ กรรมสงเสริมการเรียนรูใหส อดคลองกับการเรียนการสอนในช้ันเรียนตาม
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
2.3.21 จดั กิจกรรมสนับสนนุ การเรยี นรูส คู วามเปน เลิศทางวิชาการ
2.3.22 จัดโครงการสนบั สนุนการเรยี นรูห ลากหลายรูปแบบทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน
2.3.23 จัดโครงการแนะแนวการศกึ ษาและอาชีพรวมถงึ การดูแลชว ยเหลอื นักเรยี นให
ประสบความสําเรจ็ ในการเรยี น
2.3.24 สงเสรมิ และสนบั สนุนใหน ักเรียนแสดงความสามารถในการรว มประกวด แขงขัน
และรวมงานกับหนว ยงาน สถานศึกษา และองคกรตางๆทีจ่ ัดขึน้ เพ่ือประเมนิ สมรรถภาพและคุณภาพนกั เรยี น
2.3.25 จัดกจิ กรมสรา งจติ สํานกึ ใหนักเรยี นตระหนักถึงพิษภยั ของยาเสพตดิ
2.3.26 จัดสนบั สนุนทุนการศึกษาสําหรับนักเรยี นเรียนดี ขาดแคลน และนกั เรียนที่ประสบ
ปญ หาดา นตา งๆ
2.3.28 จัดใหนกั เรียนกินดี อยดู ี มสี ุข มีสขุ ภาพพลานามัยท่ีแขง็ แรงดว ยโครงการอาหาร
กลางวันและโครงการโรงเรยี นสง เสรมิ สขุ ภาพ
2.3.29 จดั กจิ กรรมสงเสริมใหนักเรียนเปนผมู ีจิตอาสา
2.3.30 ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆตามทีผ่ อู าํ นวยการโรงเรียนมอบหมาย
2.4 บทบาทของหวั หนางานบรหิ ารงบประมาณ
2.4.1 ปฏบิ ัตงิ านดา นการเงิน บญั ชี พัสดุ
2.4.2 รวมจัดทาํ แผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจําป และปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ านประจาํ ป การ
จัดทําและเสนอของบประมาณ กํากบั ตดิ ตาม
2.4.3 ควบคุม การเบกิ จายเงินทุกประเภทใหถ ูกตองตามระเบยี บเปนปจ จุบนั สามารถ
ตรวจสอบไดตลอดเวลา
2.4.4 ควบคุม ติดตาม กาํ กับงานพสั ดุ การจัดซ้อื จดั จา ง การใช การรกั ษา การลงทะเบียน
การจาํ หนา ย และอืน่ ๆ ท่ีเกีย่ วของใหถ ูกตองตามระเบยี บ
2.4.5 ควบคมุ ดแู ล ตรวจสอบ การจดั ทาํ บัญชเี งินนอกงบประมาณ/เวนรายไดส ถานศึกษา
2.4.6 การเลือ่ นขนั้ เงินเดอื น
2.4.7 งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
2.4.8 ปฏิบัตงิ านอ่ืนๆตามท่ีผูอ ํานวยการโรงเรียนมอบหมาย
2.5 บทบาทของหัวหนา งานบริหารงานบคุ คล

๙๘
2.5.1 รวมทําแผนกลยุทธ แผนปฏบิ ัตกิ ารและปฏทิ นิ ปฏิบัตงิ านประจาํ ป
2.5.2 งานวางแผนอัตรากาํ ลังและการกาํ หนดตําแหนง
2.5.3 งานสรรหาและบรรจุแตงตัง้ ลูกจางชั่วคราว
2.5.4 การเสริมสรา งประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านราชการและขวญั กําลงั ใจ
2.5.5 งานสง เสรมิ วิทยฐานะใหข าราชการของบุคลากร
2.5.6 งานประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากร
2.5.7 งานอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวของกับขา ราชการครูและบุคลากรในโรงเรยี น
2.5.8 ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ตามทีผ่ อู าํ นวยการโรงเรียนมอบหมาย
3. บทบาทของครูผสู อน
1. เตรยี มการสอน (แผนการจัดการเรยี นรู สอนซอมเสริม ใชส ่อื การตรวจสอบมาตรฐานการ
เรียนรูของนักเรียน การวัดผล ประเมนิ ผล ฯลฯ)
2. สอนตามแผนการจดั การเรียนรู โดยสอนเต็มเวลา เต็มหลกั สตู ร และเตม็ ความสามารถ
3. กวดขนั และตดิ ตามใหน กั เรยี นมาเรยี นอยางสมํา่ เสมอ
4. จัดบรรยากาศในหองเรียนใหเ ออ้ื ตอ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5. จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทีเ่ นนนกั เรยี นเปนสําคญั
6. จดั กิจกรรมท่ีเหมาะสมท้ังในและนอกเวลาเรียนเพื่อปลูกฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม วินัย จติ สา
นึกดานประชาธปิ ไตยและการอนรุ ักษสง่ิ แวดลอม
7. ผลิตและใชส อ่ื แสวงหานวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใชในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
8. วดั ผลและประเมินผลการเรียนรูส อดคลองกับสภาพจรงิ ของนักเรียนโดยเนนการสะสม
ผลงานและตรวจผลงานของนักเรยี น
9. วัดและประเมนิ ผลความกาวหนา ของนักเรียนตามสภาพทแ่ี ทจ รงิ อยา งตอเน่ืองและ
สมํา่ เสมอ โดยปฏิบัติตามระเบยี บของกระทรวงศึกษาธิการ
10. จัดทาํ เอกสารงานธุรการประจําชนั้ ใหถูกตอ งเปน ปจ จบุ นั และสงฝายวิชาการตรวจสอบ
ตามกําหนด
11. จัดทําขอมลู นกั เรียนทร่ี บั ผดิ ชอบใหเปน ปจจบุ ัน เชน ประวตั สิ ว นตวั สถติ กิ ารมาเรียน
พฤติกรรมดา นตางๆ สุขภาพอนามยั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เปน ตน
12. มแี ผนปรบั ปรุง แกไขปญหาดา นการเรยี นการสอนทส่ี อดคลองกบั สภาพปญหาของ
นกั เรยี น
13. ปฏิบัตงิ านตามแผน โครงการ/กิจกรรมที่ไดร ับมอบหมาย/รับผิดชอบ ใหส าํ เรจ็ ตาม
วตั ถุประสงคแ ละเปาหมายทว่ี างไว
14. นิเทศ และใหคาํ ปรึกษาแนะนําซึ่งกันและกัน
15. ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ บังคับของทางราชการ และขอตกลงของโรงเรยี นอยาง
เครงครัด
16. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านท่ไี ดร ับมอบหมาย/รบั ผดิ ชอบ/ ตามสายงานจนถึงผูอํานวยการ
สถานศึกษา
17. ปฏิบตั งิ านอ่ืนๆทไี่ ดร บั มอบหมายจากผูอ ํานวยการสถานศกึ ษา

๙๙

4. บทบาทของนกั การภารโรง ลูกจา งชั่วคราว
1. ปด เปด หองเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ หองปฏบิ ัตกิ ารตา งๆและประตโู รงเรียน

ปด กวาด เช็ด ถู อาคารเรียน อาคารประกอบ หองปฏบิ ตั กิ ารตา งๆ และประตูโรงเรียน
2. นําถังขยะตามอาคารเรยี น อาคารประกอบและบรเิ วณท่ัวไป ไปทง้ิ และกาํ จัด
3. ดแู ลน้ําด่ืม นํา้ ใชตามอาคารตา งๆ ตลอดจนนํ้าใชหองนา หองสวมของครูและนกั เรียน

อยา งทว่ั ถึงและเพียงพอ
4. ดแู ล ปรบั ปรงุ ตกแตงสวนหยอ มตามบริเวณตางๆ ทไ่ี ดรับมอบหมายใหส ดชื่น สวยงามมี

ชวี ติ ชวี าอยเู สมอ
5. ดูแล รักษาความปลอดภยั สถานที่ราชการ และทรพั ยสมบตั ขิ องทางราชการ
6. อยูเวรยามรกั ษาความปลอดภยั ของโรงเรียน ภาคกลางคืนทุกคืน
7. บรกิ ารครู และนกั เรียนตามความเหมาะสม
8. ดูแล รกั ษา ปรบั ปรุง ซอมแซมอาคารสถานท่ี และวสั ดุ ครุภัณฑข องโรงเรยี นใหส ามารถใช

งานไดต ามควรแกสภาพ/ ตามความเหมาะสม
9. ปฏิบัตงิ านตามท่ีผูอ ํานวยการสถานศึกษา และครผู สู อนมอบหมายตามความเหมาะสมกับ

หนา ที่
10. ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ตามที่โรงเรียน สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 2

และหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ งมอบหมาย
5. ผปู กครองและชุมชน
ผปู กครองและชุมชนมบี ทบาทเปน ผสู นบั สนนุ และมสี ว นรวมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ของโรงเรยี น มหี นา ทดี่ งั นี้
1. ศึกษาระเบยี บ ขอ บังคบั ของโรงเรยี น
2. สนับสนุนการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น
3. ใหความรว มมือในการจดั กิจกรรมของโรงเรียน
4. รว มมือกับทางโรงเรยี น ควบคุม ดูแล กวดขันความประพฤตแิ ละการแตง กายของนักเรียน
5. รว มมอื กับทางโรงเรียน ควบคุม ดูแล กวดขันการเรยี นและหนาท่ีของนักเรยี น
6. ชว ยเผยแพร ชอื่ เสียง เกยี รตคิ ณุ และประชาสมั พนั ธผลงานของนักเรียน
7. ใหค วามรวมมือกับสมาคม และมลู นธิ ทิ ใ่ี หก ารสนบั สนนุ โรงเรียน
8. ใหความรว มมือกับคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานท่ใี หการสนบั สนนุ โรงเรยี น

6. แนวปฏิบตั ิสําหรบั นักเรยี น
โรงเรยี นอนบุ าลวัดชอ งลม ไดก ําหนดแนวทางปฏิบตั สิ ําหรับนกั เรียน

ซ่งึ เปน ขอตกลงรว มกนั ระหวางครกู บั นักเรียน ไวดงั น้ี
1. แนวทางปฏิบัติวา ดวยเครื่องแตงกายของนักเรียน
1.1 นกั เรียนหญิง
1.1.1 แตง เครื่องแบบตามระเบยี บของโรงเรยี น
1.1.2 ผม ความยาวจรดปกเสือ้ พอดี ถา ยาวเกนิ กวา นีใ้ หตัดหรือรวบ ถาไวผ มยาว

๑๐๐
ตองรวบใหเ รยี บรอ ย หากใชส ายรัดที่ทาแทนหนังยางตองใชสีดาเทาน้ัน ริบบนิ้ สีขาวผกู ผม ตอ งเนอ้ื เรยี บไมมี
ลวดลายเทาน้นั

1.1.3 หา มประดบั อาภรณอ ันมคี า และอาภรณไมสมสภาพนักเรียน เชน กาํ ไล ลูก
ประคําคอ สรอย นอกจากนาฬกิ าขอ มือ

1.1.4 ตา งหใู หใ สเ พื่อปอ งกันรตู ัน เพยี งขา งละ 1 รูเทานั้น ลักษณะตางหู เปนหวงสี
ทองหรือเงนิ

1.1.5 สายสรอ ย อนุญาตใหใสส าหรบั ผตู อ งการมีพระตดิ ตัวไว เปน สายสรอ ยเงิน
หรือ สแตนเลสเทา นั้น ไมอ นุญาตใหส วมสายสรอ ยทม่ี รี าคาแพง

1.1.6 ไมอ นญุ าตใหสวมแวน ทุกชนิด (ยกเวนแวนสายตา )
1.1.7 หา มสวมหมวกทกุ ชนิด ยกเวนการแตง กายท่โี รงเรยี นนดั หมาย
1.2 นักเรียนชาย
1.2.1 แตงเครอื่ งแบบตามระเบียบของโรงเรียน
1.2.2 ผมใหใชท รงนักเรยี นหรือรองทรงสงู ผมดานหนายาวไมเกนิ 4 ซม.
1.2.3 เหมอื นขอ 1.1.3 – 1.1.7
2. แนวปฏบิ ัตวิ าดว ยเรื่องการปฏิบตั ติ นเพือ่ เสริมสรา งวนิ ยั ในตนเอง
2.1 การมาโรงเรยี นและการใชยานพาหนะ
ก. นักเรียนตองมาถงึ โรงเรยี นกอนเวลา 08.00 น.
ข. นักเรียนทกุ คนตองลงรถท่ีหนา ประตโู รงเรยี น ไมใหรถเขามาสง ในโรงเรียน ยกเวน
กรณจี ําเปน และไดร บั อนญุ าตจากครูเวร
ค. ใหนักเรียนทุกคนเดนิ เรียงแถวชิดขวาเขาโรงเรียน เมื่อพบครูใหห ยดุ ทาํ ความ
เคารพและยกมือไหว
2.2 การออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น ถานักเรยี นมีความประสงคจ ะออกนอกบริเวณ
โรงเรยี นกอนเวลาทก่ี าํ หนดใหปฏิบัติ ดงั น้ี ขอแบบฟอรม ทธ่ี ุรการ โดย ใหผ ูป กครองกรอกแบบฟอรม และใหขอ
อนุญาตจากผทู ี่ไดรบั มอบหมาย
3. แนวปฏิบตั วิ าดวยการทาํ ความเคารพ การวางตนและกริยามารยาท
3.1 ในหอ งเรียน
3.1.1 ใหห ัวหนา ช้ันใชค ําบอกวา “นักเรยี น เคารพ”
3.1.2 ถามีผมู าตรวจเย่ียมหรือผูที่ควรเคารพอ่ืนๆ เขา มาในหองเรยี น ใหห ัวหนา
นักเรียนประจาํ ช้ันเปนผบู อกกระทําความเคารพ
3.2 นอกหองเรียน (ในบรเิ วณโรงเรยี น)
3.2.1 เวลาพบครูหรือเดนิ สวนทางกบั ครู กบั นักเรียนชายใหย นื ตรงหรือคํานบั
นักเรียนหญงิ ไหว
3.2.2 เม่ือจาํ เปน ตองเดินแซงออกหนา ครูใหพ ูด “ขอประทานโทษ” และเดนิ กม
หนา เลก็ นอ ย
3.2.3 ถา ครูอยูกบั ท่ใี หกม หลังเล็กนอ ยพองาม เม่ือเวลาจะเดินผานไป
3.2.4 ในกรณีท่ีพบผตู รวจเยี่ยม ใหท ําความเคารพเชนเดยี วกบั ที่ทาํ ความเคารพครู
ในบรเิ วณโรงเรยี น
3.3 นอกบรเิ วณโรงเรียนเมือ่ พบครู ใหทาํ ความเคารพดว ยการยกมือไหว และกลาว

๑๐๑
คาํ วา “สวสั ดีคะ /ครับ ”

3.4 การแสดงความเคารพเวลาเขา พบครู
3.4.1 นกั เรยี นชาย ใหหยุดยนื หา งจากครูพอประมาณ คาํ นบั แลวยืนตรง ถาครนู ง่ั
อยูใหค ํานับแลว กมตัวลงคุกเขา เวลาจะกลบั ออกไปใหล กุ ขึ้น ยนื คํานับแลวถอยไป
3.4.2 นกั เรยี นหญิง ใหหยุดยืนหา งจากครูพอประมาณ ไหวแลวยืนตรง ถา ครนู ั่งอยู
ใหน กั เรียนยอตัวลงคุกเขา เวลาจะกลับออกไปใหลุกยนื ไหวแลวถอยไป
4. แนวปฏิบัตวิ า ดวยการพจิ ารณาลงโทษ
เพอื่ แกไขพฤติกรรมนักเรียน เพ่ือใหนักเรยี นมีความ
รับผิดชอบ มีความเปนระเบียบเรียบรอ ย มคี ุณธรรมจริยธรรมสามารถใชชีวติ ในโรงเรยี นไดอ ยางมีความสุข
รวมถงึ การสง เสริมวนิ ยั ของนักเรียน จงึ ไดกาํ หนดระเบียบวาดว ยการพจิ ารณาลงโทษเพ่ือแกไขพฤตกิ รรม
นกั เรยี น ดงั ตอ ไปน้ี
ขอ 1 “นกั เรียน” หมายถึง นกั เรยี นของโรงเรียนอนุบาลวัดชอ งลม
“ครู” หมายถึง ครู ท่ีทาํ การสอนอยูในโรงเรยี นอนุบาลวัดชอ งลม
ขอ 2 นกั เรยี นทป่ี ระพฤติขัดตอระเบยี บนี้ถือวา มคี วามผดิ
1.1 ชนิดของพฤติกรรมที่กระทาํ ผิดระดบั ที่ 1
1.1.1 มาสาย
1.1.2 ไมเ ขา แถวกอนเขา เรยี น
1.1.3 เขาหอ งเรยี นสายหรือชาเกิน 15 นาที
1.1.4 สงเสียงอกึ ทึก กอความราํ คาญในหองเรยี นและนอกหองเรียน
1.1.5 ไมรักษาความสะอาดในหอ งเรียนและบรเิ วณโรงเรยี น
1.1.6 ขาดเรียนระหวางช่วั โมง
1.1.7 เลน ในท่ีทีโ่ รงเรียนหวงหา ม
1.1.8 แตง กายผิดระเบียบขอบงั คับของโรงเรยี น
1.1.9 ไวผมผดิ ระเบยี บตามท่ีโรงเรียนกําหนดหรอื ไวห นวดเครา
1.1.10 นกั เรยี นมีพฤติกรรมหรอื การแสดงออกท่ีไมเ หมาะสมกบั สภาพนักเรียน
1.1.11 ใชเคร่ืองประดบั ท่ไี มมคี วามจําเปน
1.1.12 แตงกายไมเ หมาะสมเขา มาในโรงเรียน
1.1.13 ใชวาจาหยาบคาย
1.1.14 ไมรวมกิจกรรมของโรงเรยี นโดยไมมีเหตุผลอันควร
1.1.15 กลบั บานและมาโรงเรียนไมตรงตามเวลาท่ีโรงเรยี นกาํ หนด
1.2 ชนดิ ของพฤติกรรมท่ีกระทําผิดระดับที่ 2
1.2.1 ขาดโรงเรียนโดยไมแ จงเหตผุ ลใหโรงเรียนทราบ
1.2.2 ออกนอกบริเวณโรงเรยี นโดยไมไดรบั อนุญาต
1.2.3 หนีโรงเรยี น
1.2.4 นาํ หนงั สอื /สิ่งอนาจารเขา มาในโรงเรยี น
1.2.5 ปลอมตน หรอื เอกสารเพอื่ แสวงหาประโยชนเ พ่อื ตนเองและผอู นื่
1.2.6 แอบอา งช่ือโรงเรยี นหรอื ครู เพ่อื กระทาํ การใดๆ โดยไมไ ดร ับอนญุ าตหรอื
กระทาํ การใดๆ ที่อาจนาํ มาซ่ึงความเสียหายแกทางโรงเรียน

๑๐๒
1.2.7 ขดั ขวางการปฏิบตั หิ นาที่ของครทู ป่ี ฏิบัตหิ นาทโี่ ดยชอบ
1.2.8 แอบอางชื่อโรงเรยี นหรอื ครูเพอื่ กระทาการใดๆโดยไมไดรับอนญุ าตหรือ
กระทําการใด ๆ ทอี่ าจนาํ มาซ่ึงความเสยี หายแกทางโรงเรียน
1.2 ชนดิ ของพฤติกรรมท่ีกระทาํ ผิดระดบั ท่ี 3
1.3.1 เลนการพนนั ซง่ึ ตองหามตามกฎหมายการพนันทุกชนดิ
1.3.2 แสดงกรยิ าวาจาไมสภุ าพ ขาดความเคารพครู – อาจารย
1.3.3 แสดงกรยิ ากาวราว ยุยง เสียดสี กอใหเกิดความเสยี หายแกค รู – อาจารย ทง้ั
วาจาและขีดเขียน
1.3.4 ทาํ ลายหรอื ขโมยทรัพยส ินของผูอนื่
1.3.5 นําวตั ถรุ ะเบิด จดุ ประทดั หรือวตั ถุอืน่ ๆ ทําใหเ กดิ เสียงดงั กอ ความราํ คาญ
จนเปน อันตรายตอผูอ่นื
1.3.6 เขา ไปมัว่ สมุ ในทส่ี าธารณหรือในสถานเริงรมย
1.3.7 กอ การทะเลาะวิวาทหรอื มสี ว นในการทะเลาะวิวาททั้งในและนอกโรงเรยี น
1.3.8 เสพ พกพา จาํ หนาย จา ยแจก แลกเปลยี่ นสิ่งเสพติดหรอื ของมนึ เมา เชน
บุหรี่ กัญชา ยาบา ฯลฯ
1.3.9 ประพฤติช่ัวหรือกระทําการใดๆ ทส่ี รางความเส่ือมเสียแกชอ่ื เสียงเกยี รติยศ
ของโรงเรยี น
1.3.10 บบี บงั คบั หรือขูเข็ญเพ่อื นักเรยี นดว ยกนั หรือผอู นื่ เพ่ือประสงคทรพั ยห รือ
เจตนาอน่ื ๆท่ีไมไมรับการยนิ ยอม
1.3.11 ถูกลงโทษ ฐานประพฤตผิ ดิ กฎหมายบานเมือง
1.3.12 นาํ พาหรือชกั นําบุคคลภายนอกเขา มากอ ความเสียหาย และความเดือดรอน
ภายในโรงเรยี น
ขอ ท่ี 4 เกณฑการพจิ ารณาลงโทษท่กี ระทาํ ผิดระเบยี บ
4.1 การพจิ ารณาลงโทษพฤติกรรมทีก่ ระทําผิดระดบั ท่ี 1
4.1.1 วา กลา วตกั เตอื น
4.1.2 ลงโทษสถานเบาตามสมควร
4.1.3 กระทาความผิดระดับที่ 1 รวม 5 ครั้ง เชิญผูปกครองมาพบ
4.1.4 เชญิ ผปู กครองพบ 3 ครั้ง แลว ไมเ ปลย่ี นพฤติกรรม จะเชิญผปู กครองมาทํา
ทัณฑบ น
4.2 การพจิ ารณาลงโทษพฤติกรรมท่ีกระทาํ ผิดระดับที่ 2
4.2.1 ลงโทษสถานเบา เชน การทาํ ความดที ดแทน
4.2.2 เชญิ ผูปกครองมาทาทัณฑบ น
4.3 การพจิ ารณาลงโทษพฤติกรรมท่ีกระทาํ ความผดิ ระดบั ที่ 3
4.3.1 หากพฤติกรรมแกไขไมไ ดจะสงตวั ใหเจาหนาทตี่ าํ รวจดาํ เนินคดตี อไปหรือ
ขอใหผูปกครองยา ยนักเรียนเขา สถานกักกันเด็ก
ขอ 5 ผูม ีอํานาจพิจารณาโทษ ผูอ าํ นวยการสถานศึกษา มอบหมายใหค รลู งโทษนักเรยี น ได
ดงั ตอ ไปน้ี
- ครทู ี่ปรึกษา ครูประจําวชิ า ตลอดจนครู ทุกทานในโรงเรียน วา กลา วตกั เตือน

๑๐๓
ขอ 6 การพจิ ารณาเม่ือนักเรียนกระทาํ ความผิด
การพิจารณาเมื่อนกั เรยี นกระทําผดิ ถงึ แมว าจะเปน ความผดิ ครั้งแรกแตเปนความผดิ รา ยแรงท่ี
จงใจกระทํา หรือกรณที ่ีมกี ารกระทําผิดรายแรงนอกเหนือจากท่ีกลาวในระเบยี บน้ี ครูประจาํ ชนั้ มอี าํ นาจการ
พิจารณาลงโทษตามความรา ยแรงแหง การกระทาํ ความผดิ
ขอ 7 การแจง โทษใหผ ูปกครองทราบ นกั เรียนท่ปี ระพฤตผิ ดิ ไมวาจะเปนกรณีใดๆก็ตามเม่อื
ตอ งแจง ใหผ ปู กครองใหปฏิบัตดิ ังน้ี
ครั้งท่ี 1 กาํ หนดใหมาพบภายใน 7 วนั คร้ังที่ 2 กาํ หนดใหมาพบภายใน 5 วนั ครัง้ ที่ 3
กําหนดใหมาพบภายใน 3 วนั ถาผปู กครองไมม าพบตามกาํ หนด 3 คร้ัง แลว ใหค รูประจาํ ช้ันทาํ เรอ่ื งเสนอ
ผอู าํ นวยการสถานศึกษา
5. แนวปฏิบัติท่ัวๆไป สาํ หรับนกั เรียน
5.1 นักเรียนตอ งปฏิบัติตนใหเหมาะสมกับบทบาทหนา ที่ เพศ วยั และมีความสภุ าพออนโยน
ทงั้ กาย วาจา ใจ
5.2 นกั เรียนตองมาโรงเรียนใหท นั เวลา ไมขาดเรียน ไมหนีเรยี น และเขา เรียนตรงเวลา
5.3 นักเรียนตองตั้งใจศึกษา เลาเรียนจนจบหลักสตู ร
5.4 นกั เรียนตอ งไมสบู บหุ ร่ี ไมด ม่ื สรุ า ไมเ สพยาเสพตดิ และสิ่งเสพตดิ ทุกชนดิ ไมเลน การ
พนนั ทุกชนดิ ท้งั ตอหนาและลับหลงั /ท้งั ในและนอกโรงเรียน
5.5 นกั เรยี นตอ งมีความซื่อสัตย รกั ความสามัคคี ไมก อเหตุทะเลาะววิ าท หรือรวมกลมุ กันกอ
ความเสอ่ื มเสยี แกต นเอง ผูอ ่นื และโรงเรยี น
5.6 นักเรียนตอ งรวมรบั ผดิ ชอบรว มกนั ในการดแู ล รกั ษาความสะอาดของหองเรียน อาคาร
เรียน อาคารประกอบ สถานที่ บรเิ วณทัว่ ไป และสภาพแวดลอมภายในโรงเรยี นใหเ ปนปจจุบันม่นั คง ปลอดภยั
สะอาด เปนระเบียบเรยี บรอย รม ร่นื สวยงาม นา อยูอ าศัย
5.7 นักเรยี นตองเขารวมกจิ กรรมตา งๆ ทีท่ างโรงเรยี นจัดข้ึนอยางสมํ่าเสมอ
5.8 นักเรียนตองชวยกันสรางและรกั ษาชื่อเสยี ง เกียรตคิ ุณของโรงเรยี น
การกาํ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ตรวจสอบและรายงานผล
แนวทางการกํากับติดตาม ประเมนิ ผล ตรวจสอบและรายงานผลการปฏิบัตงิ านการดําเนินงานและ
แผนงานเปน ระบบการปฏบิ ตั ิงาน คอื กอ นเริ่มงานระหวา งปฏบิ ัตงิ านและปฏิบตั ิงานสําเร็จเรยี บรอยแลว
ผปู กครองนักเรียน และสังคม เปนการแสดงถึงความรับผิดชอบของโรงเรยี นซง่ึ อาจกระทําดงั นี้
1. การกํากบั ตรวจสอบขั้นตอนของงานทีจ่ ะทาํ และผลการดาํ เนินงานตามเปาหมายวามีความ
เหมาะสมหรือไมเ พียงใด เพือ่ ใหเ ปน ไปตามจุดประสงคท ี่ตง้ั ไว และนาํ ขอมลู ไปวางแผนการพัฒนาการทํางาน
ครง้ั ตอ ไปใหด ีข้ึน
2. ผทู ่มี ีบทบาทหนา ที่ในการกํากบั ตดิ ตาม ผอู าํ นวยการ หัวหนา สายชั้น ครูผูสอน ผปู ฏบิ ัติงาน
3. การจัดทาํ รปู แบบการกํากับ และตดิ ตามงาน
4. จัดผูรบั ผิดชอบในการกาํ กับ ตดิ ตามงาน
5. การตรวจสอบ เปน การตรวจสอบผลงานทไ่ี ดกระทําไปแลวหรือขณะท่กี ําลังทาํ อยูโดยถูกตองตาม
เปา หมายหรือจดุ ประสงคทีต่ งั้ ไว อาจทําไดโ ดยการตรวจดูผลงานที่ทาํ การรายงานผลตอ คณะกรรมการหรือ
สรุปผลงานเสนอตอสว นรวม

๑๐๔
การตรวจสอบแบงเปน 2 ระดับ
1. การตรวจสอบคุณภาพภายใน หรือการประเมินตนเองของโรงเรยี นมขี ้ันตอนการทางาน ดังนี้

1.1 ข้ันเตรียมการ
1.1.1 ตระหนักถงึ ความสําคัญของการประเมนิ ตนเองท่ีจะสงผลตอการพฒั นางาน

ในหนาท่รี บั ผิดชอบใหกาวหนา ประสบผลสําเร็จ
1.1.2 ทาํ ความเขา ใจกับการประเมนิ ผลตนเองและวางแผนการประเมนิ ควบคูไปกับ

การทาํ งานเปน เวลาทต่ี อเนื่องตลอดภาคเรยี นหรือตลอดปการศกึ ษา
1.1.3 กาํ หนดสภาพความคาดหวังของการทํางานแตล ะงานพรอมการดําเนนิ งานไว

อยางเปน ระบบ
1.1.4 กาํ หนดเวลาและจํานวนคร้งั ทจี่ ะตรวจสอบการทํางานของตนเองตาม

แผนงานหรอื ปฏิทนิ การปฏบิ ัติงาน
1.2 ขัน้ ดาํ เนนิ การ
1.2.1 ตรวจสอบการปฏิบัตงิ านจรงิ ของตนเองและรายงานการปฏิบัตงิ านท่ีกาํ หนด

ไวลว งหนา วาการปฏิบัติงานอยใู นข้นั ใดมปี ญหาอปุ สรรคในการทาํ งานอะไรบา งมวี ธิ ีการแกไขดาํ เนนิ การอยางไร
โดยตั้งคณะกรรมการโรงเรยี นตรวจสอบประเมินผลการปฏิบตั ิงานเพ่ือเสนอแนะแนวทางแกไขปญ หาอุปสรรค
และหาทางชวยเหลือสนบั สนุน

1.2.2 บันทึกผลการตรวจสอบตามสภาพทเ่ี ปนจริงเพ่ือเปน การเกบ็ รวบรวมขอมลู
และประเมินความกา วหนาของการทาํ งาน

1.2.3 ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานเปนระยะตอ เน่ืองตามระยะเวลาและจํานวนคร้ังท่ี
กาํ หนดไวเพ่ือตดิ ตามผลการดําเนนิ งานของคณะผปู ฏบิ ตั งิ าน

1.3 ขน้ั สรุปผล
1.3.1 ถา มีความคิดเหน็ เก่ียวกับการปฏบิ ตั ิงานรายการใดเพ่ิมเตมิ ควรบันทกึ ไวใน

ชอง หมายเหตุ
1.3.2 รวบรวมบนั ทกึ การปฏบิ ตั ิงานมาประมวลเปน การทางานจริง เมอื่ สิ้นภาค

เรยี นและ ส้นิ ปการศึกษา
1.3.3 สรุปบันทึกการปฏบิ ตั งิ านจรงิ โดยพจิ ารณาแตละรายการกบั เกณฑการ

ประเมินการทาํ งาน
2. การตรวจสอบคุณภาพภายนอก
2.1 เปนการตรวจสอบคุณภาพจากภายนอกโรงเรยี นโดยคณะกรรมการโรงเรียน ผปู กครอง

ชมุ ชนและผทู ่ีเก่ยี วของ โดยวธิ ตี อบแบบประเมินหรอื แบบสอบถาม เพ่ือนาขอมลู ไปวางแผนพฒั นาการทํางาน
ใหด ีข้ึนตอไป

2.2 การประเมนิ คุณภาพภายนอกตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติซงึ่ กําหนดใหเ ปน หนาทข่ี อง
การรับรองและประเมินมาตรฐานการศกึ ษา (สมศ.) ท้ังนี้ โดยมวี ิธกี ารประเมินตามรูปแบบที่ สมศ. กาํ หนด

3. การรายงานผล
เปนการรายงานความสาํ เร็จของงานท่ีปฏิบตั ิวาไดผลเชน ไรในการปฏิบัติงานนนั้ ๆ มอี ุปสรรค

ปญ หาอยา งไรบา ง เพอ่ื ทจี่ ะไดหาทางแกไ ขในคราวตอไป เปนการแนวทางในการขอความรวมมือจากบุคคล
อ่ืนๆ และจะไดวางแผนพฒั นางานในโอกาสตอไป

4. สงิ่ ท่ตี องรายงาน

๑๐๕
4.1 รายงานผลความสาํ เร็จ ปญ หา อปุ สรรค การปฏบิ ตั งิ านหรือโครงการโดยการจดั ทาํ
เอกสารสรปุ เปนรูปเลม
4.2 บคุ คลหรอื กลมุ บคุ คลทต่ี องรายงานใหผูทไี่ ดรับมอบหมายหรือหัวหนา กลมุ วชิ า หวั หนา ผู
เสนอรายงานโครงการ เปนผรู ายงานความสําเร็จ ปญ หา และอปุ สรรคของงานหรือโครงการ
4.3 ระยะเวลาของการายงานในแตล ะเรื่อง ใหร ายงานระยะเวลาของงงานหรือโครงการท่ี
ปฏิบตั ิสน้ิ สุด ระยะเวลาท่ีดําเนินการแลวและใหส รปุ ผลงานทงั้ หมดเมื่อสนิ้ ปการศกึ ษา

5. แนวทางในการายงาน
5.1 รายงานดว ยวาจา
5.2 รายงานเปน ลายลกั ษณอักษร
5.3 รายงานดวยผลงานเอกสาร

ขอบขา ยและภารกจิ การบริหารงาน การบริหารงานวิชาการ
1) การพัฒนาหรือการดาเนินการเกีย่ วกบั การใหความเปนการพัฒนาสาระหลกั สูตรทองถ่นิ

1.1วิเคราะหก รอบสาระการเรยี นรูทอ งถนิ่ ทสี่ ํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา
จดั ทาํ ไว

1.2 วเิ คราะหห ลกั สูตรสถานศกึ ษาเพื่อกาํ หนดจดุ เนนหรือประเดน็ ที่สถานศึกษาให
ความสาํ คัญ

1.3. ศกึ ษาและวเิ คราะหข อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาและชมุ ชนเพื่อนํามาเปน ขอ มูล
จดั ทาํ สาระการเรียนรทู องถ่ินของสถานศึกษาใหส มบรู ณย ิง่ ขนึ้

1.4 จัดทําสาระการเรียนรูทองถิน่ ของสถานศึกษาเพื่อนาํ ไปจัดทาํ รายวชิ าพ้ืนฐานหรอื
รายวิชาเพิ่มเติมจัดทาํ คําอธบิ ายรายวชิ า หนวยการเรยี นรู แผนการจัดการเรียนรู เพือ่ จดั ประสบการณและ จดั
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหแกผูเ รยี น ประเมนิ ผลและปรับปรงุ

1.5 ผบู ริหารสถานศึกษาอนุมัติ
2) การวางแผนงานดา นวชิ าการ

2.1 วางแผนงานดานวิชาการโดยการรวบรวมขอ มูล และกํากับ ดแู ล นิเทศและติดตาม
เกย่ี วกบั งานวิชาการ ไดแ ก การพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การพัฒนากระบวนการเรยี นรู การวดั ผล
ประเมินผล และการเทยี บโอนผลการเรียน การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพัฒนาและ
ใชส่อื และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา การพัฒนาและสง เสริมใหมีแหลง เรยี นรู การวจิ ัยเพ่ือ พัฒนาคณุ ภาพ
การศกึ ษา และการสง เสริมชมุ ชนใหม คี วามเขมแขง็ ทางวิชาการ

2.2 ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั ิโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
3) การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษา

3.1 จัดทาํ แผนการเรยี นรูทกุ กลมุ สาระการเรียนรู
3.2 จดั การเรยี นการสอนทุกกลุมสาระการเรยี นรูทกุ ชวงช้ัน ตามแนวปฏิรปู การเรียนรโู ดย
เนนผูเรียน เปน สาํ คญั พฒั นาคณุ ธรรมนาํ ความรู ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3.3 ใชส ่อื การเรยี นการสอนและแหลงการเรียนรู
3.4 จัดกิจกรรมพัฒนาหองสมุด หองปฏบิ ัติการตาง ๆ ใหเ อ้ือตอการเรยี นรู

๑๐๖
3.5 สง เสริมการวิจยั และพัฒนาการเรยี นการสอนทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู
3.6 สง เสริมการพฒั นาความเปน เลศิ ของนกั เรยี นและชว ยเหลอื นักเรยี นพิการ ดอ ยโอกาส
และมคี วามสามารถพิเศษ
4) การพัฒนาหลักสตู รของสถานศกึ ษา
4.1 จดั ทาํ หลกั สูตรสถานศกึ ษาเปน ของตนเอง โดย

4.1.1จัดใหมีการวิจัยและพัฒนาหลกั สตู รขึน้ ใชเ องใหท นั กับการเปลย่ี นแปลง
ทางดา นเศรษฐกจิ และสังคมและเปนตนแบบใหกบั โรงเรียนอื่น

4.1.2 จัดทําหลกั สูตรท่ีมุงเนนพัฒนานักเรยี นใหเปน มนุษยทส่ี มบูรณท ั้งรา งกาย
จิตใจ สตปิ ญ ญา มคี วามรูและคุณธรรม สามารถอยรู วมกับผูอ่ืนไดอยางมคี วามสขุ

4.1.3 จดั ใหม ีวชิ าตา งๆ ครบถวนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

4.1.4 เพม่ิ เตมิ เน้ือหาสาระของรายวชิ าใหสงู และลึกซึง้ มากขน้ึ สําหรับกลุมเปาหมาย
เฉพาะ ไดแก การศึกษาดา นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป กีฬา อาชีวศกึ ษา การศึกษาที่สง เสริมความเปน เลศิ ผู
บกพรอง พกิ ารและการศึกษาทางเลอื ก

4.1.5 เพม่ิ เติมเน้ือหาสาระของรายวิชาทสี่ อดคลอ งสภาพปญหา ความตองการของ
ผูเรยี น ผปู กครอง ชมุ ชน สงั คมและโลก

4.2. สถานศกึ ษาสามารถจัดทําหลักสตู ร การจัดกระบวนการเรยี นรู การสอนและอื่น ๆ ให
เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรยี นตามกลมุ เปาหมายพิเศษ

4.3 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานใหค วามเห็นชอบหลกั สตู รสถานศกึ ษา
4.4 นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให
สาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษารบั ทราบ
5) การพฒั นากระบวนการเรียนรู
5.1 จดั เน้อื หาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเ รียน โดย
คาํ นึงถึงความแตกตา งระหวางบคุ คล
5.2 ฝก ทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยกุ ตความรมู า
ใชเพ่ือปองกันและแกไขปญหา
5.3 จัดกจิ กรรมใหผูเรยี นไดเรยี นรจู ากประสบการณจ ริงฝกการปฏิบตั ใิ หท ําได คิดเปน ทํา
เปน รกั การอานและเกิดการใฝร อู ยา งตอเน่ือง
5.4 จัดการเรยี นการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตา งๆ อยา งไดส ัดสว นสมดุลกัน
รวมทง้ั ปลูกฝงคุณธรรม คานิยมท่ีดีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคไวในทกุ วชิ า
5.5 สง เสริมสนบั สนุนใหผสู อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ ม สอื่ การเรยี น และ
อํานวยความสะดวกเพ่ือใหผ เู รยี นเกิดการเรียนรแู ละมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวจิ ยั เปน สวนหน่ึงของ
กระบวนการเรียนรู ทั้งนี้ ผูส อนและผเู รียนอาจเรียนรูไปพรอมกนั จากส่ือการเรยี นการสอนและแหลง วิทยาการ
ประเภทตางๆ
5.6 จัดการเรยี นรใู หเกิดข้ึนไดท กุ เวลาทกุ สถานท่ี มีการประสานความรวมมือ กบั บิดา
มารดา และบุคคลในชมุ ชนทุกฝา ย เพื่อรว มกนั พฒั นาผูเรียนตามศักยภาพ
5.7 ศกึ ษาคนควาพฒั นารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรียนรูทีก่ าวหนา เพ่อื เปนผู
นําการจัดกระบวนการเรยี นรู เพอ่ื เปน ตน แบบใหกบั สถานศึกษาอ่ืน

๑๐๗
6) การวัดผล ประเมนิ ผล และดําเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน

6.1 กําหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสตู รสถานศึกษาโดยให
สอดคลองกบั นโยบายระดบั ประเทศ

6.2 จัดทําเอกสารหลกั ฐานการศึกษาใหเ ปน ไปตามระเบียบการวัดและประเมนิ ผลของ
สถานศึกษา

6.3 วัดผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ ผลการเรียนและอนุมตั ผิ ลการเรยี น
6.4 จดั ใหม ีการประเมินผลการเรยี นทุกชว งช้นั และจัดใหมีการซอมเสรมิ กรณที ่ีมผี ูเรียนไม
ผา นเกณฑการประเมิน
6.5 จดั ใหม กี ารพัฒนาเครื่องมอื ในการวดั และประเมินผล
6.6 จัดระบบสารสนเทศดา นการวดั ผลประเมินผลและการเทยี บโอนผลการเรียนเพ่อื ใชใ น
การอางอิง ตรวจสอบและใชประโยชนใ นการพฒั นาการเรียนการสอน
6.7 ผบู รหิ ารสถานศึกษาอนุมตั ิผลการประเมนิ การเรียนดานตา ง ๆ รายป/รายภาคและ
ตัดสนิ ผลการเรยี นการผา นชวงชน้ั และจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
6.8 การเทียบโอนผลการเรยี นเปนอํานาจของสถานศกึ ษาท่จี ะแตงตง้ั คณะกรรมการ
ดาํ เนินการเพื่อ กาํ หนดหลักเกณฑว ธิ ีการ ไดแ ก คณะกรรมการเทียบระดับการศกึ ษาทั้งในระบบ นอกระบบ
และตามอธั ยาศัย คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวชิ าการ
พรอมทั้งใหผูบริหารสถานศกึ ษาอนุมัติการเทยี บโอน
7) การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา
7.1 กําหนดนโยบายและแนวทางการใชการวจิ ยั เปน สว นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรแู ละ
กระบวนการทาํ งานของนักเรียน ครูและผเู กย่ี วของกับการศกึ ษา
7.2 พัฒนาครแู ละนักเรียนใหมีความรเู กยี่ วกับ การปฏิรปู การเรยี นรูโดยใชกระบวนการวิจัย
เปน สําคัญในการเรียนรทู ีซ่ บั ซอนขนึ้ ทาํ ใหผ ูเรยี นไดฝ กการคิด การจัดการ การหาเหตผุ ลในการตอบปญหา การ
ผสมผสานความรูแบบสหวิทยาการและการเรยี นรูใ นปญหาทตี่ นสนใจ
7.3 พฒั นาคุณภาพการศึกษาดวยกระบวนการวิจัย
7.4 รวบรวม และเผยแพรผลการวิจัยเพอ่ื การเรียนรูแ ละพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้ง
สนบั สนุนใหครูนาํ ผลการวจิ ัยมาใชเพ่ือพฒั นา การเรยี นรูและพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา
8) การพัฒนาและสง เสริมใหมีแหลง เรยี นรู
8.1 จัดใหม ีแหลง เรียนรูอยา งหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาใหพอเพยี งเพื่อ
สนับสนนุ การแสวงหาความรูดวยตนเองกับ การจดั กระบวนการเรียนรู
8.2 จดั ระบบแหลงการเรยี นรูภ ายในโรงเรยี นใหเ ออ้ื ตอการจัดการเรยี นรูของผเู รียน เชน
พัฒนาหองสมดุ ใหเ ปนแหลงการเรียนรู จัดใหม หี องสมดุ หองสมุดเคลือ่ นที่ มุมหนังสือในหองเรียน หอ ง
คอมพิวเตอร อินเตอรเ น็ต สวนสมุนไพร หอ งบอล
8.3 จดั ระบบขอมูลแหลง การเรยี นรใู นทอ งถ่นิ ใหเออ้ื ตอการจดั การเรียนรูของผเู รียนของ
สถานศึกษาของตนเอง เชน จดั เสนทาง/แผนทแ่ี ละระบบการเชื่อมโยงเครือขา ยหองสมดุ ประชาชน หอ งสมุด
สถาบนั การศึกษา พิพิธภณั ฑ พพิ ธิ ภณั ฑวิทยาศาสตร ภูมปิ ญญาทองถน่ิ ฯลฯ
8.4. สง เสรมิ ใหค รูและผเู รียนไดใชแหลง เรยี นรู ทัง้ ในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการ
เรียนรู และนเิ ทศ กํากับตดิ ตาม ประเมนิ และปรบั ปรุงอยางตอ เน่ือง
9) การนเิ ทศการศึกษา

๑๐๘
9.1 สรา งความตระหนักใหแ กค รแู ละผูเก่ียวของใหเขาใจกระบวนการนเิ ทศภายในวาเปน
กระบวนการทางานรว มกนั ทใ่ี ชเ หตุผลการนเิ ทศเปนการพัฒนาปรับปรงุ วิธีการทาํ งานของแตละบุคคลใหมี
คุณภาพ การนเิ ทศเปน สวนหนงึ่ ของกระบวนการบริหาร เพ่ือใหทุกคนเกิดความเชอ่ื ม่ันวา ไดป ฏิบตั ถิ ูกตอง
กา วหนา และเกิดประโยชนส ูงสดุ ตอ ผูเรยี นและตวั ครูเอง
9.2 จัดการนิเทศภายในสถานศึกษาใหมคี ุณภาพ ทั่วถึงและตอ เนื่องเปนระบบและ
กระบวนการ
9.3 จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหเ ช่อื มโยงกับระบบนเิ ทศการศกึ ษาของสํานกั งาน
เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
10) การแนะแนว
10.1 กําหนดนโยบายการจดั การศึกษาท่ีมกี ารแนะแนวเปนองคป ระกอบสาํ คัญ โดยใหท ุก
คนในสถานศึกษาตระหนักถงึ การมีสว นรว มในกระบวนการแนะแนวและการดแู ลชว ยเหลอื นักเรียน
10.2 จดั ระบบงานและโครงสรา งองคกรแนะแนวและดูแลชวยเหลือนกั เรียนของสถานศึกษา
ใหชดั เจน
10.3 สรา งความตระหนักใหครทู ุกคนเหน็ คณุ คาของการแนะแนวและดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน
10.4 สง เสริมและพัฒนาใหค รไู ดรับความรเู พมิ่ เติมในเรื่องจติ วิทยาและการแนะแนวและ
ดูแลชวยเหลอื นักเรียนเพื่อใหสามารถบูรณาการในการจัดการเรียนรูและเชื่อมโยงสกู ารดํารงชวี ิตประจําวัน
10.5 คัดเลือกบุคลากรทม่ี คี วามรู ความสามารถและบุคลกิ ภาพทเ่ี หมาะสม ทําหนา ทค่ี รูแนะ
แนว ครูท่ีปรกึ ษา ครูประจําช้ัน และคณะอนุกรรมการแนะแนว
10.6 ดแู ล กาํ กบั นเิ ทศ ติดตามและสนับสนนุ การดําเนินงานแนะแนวและดูแลชวยเหลอื
นกั เรียนอยา งเปน ระบบ
10.7 สง เสรมิ ความรวมมือและความเขาใจอันดีระหวางครู ผปู กครองและชมุ ชน
10.8 ประสานงานดานการแนะแนว ระหวางสถานศกึ ษา องคกรภาครฐั และเอกชน บา น
ศาสนา สถาน ชมุ ชน ในลักษณะเครือขาย การแนะแนว
10.9 เชอ่ื มโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน
11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
11.1 กําหนดมาตรฐานการศึกษาเพ่ิมเติมของสถานศึกษาใหสอดคลอ งกบั มาตรฐาน
การศึกษาชาติ มาตรฐานการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน มาตรฐานสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาและความตองการของ
ชมุ ชน
11.2 จัดระบบบรหิ ารและสารสนเทศ โดยจดั โครงสรางการบริหารทเ่ี อ้ือตอ การพฒั นางาน
และ การสรางระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศใหเ ปนหมวดหมู ขอ มูลมีความสมบรู ณเรียกใช
งาย สะดวก รวดเร็ว ปรับใหเปนปจ จุบนั อยเู สมอ
11.3 จัดทาํ แผนสถานศึกษาท่มี ุงเนนคุณภาพการศึกษา(แผนกลยทุ ธ/แผนยทุ ธศาสตร)
11.4 ดาํ เนินการตามแผนพัฒนาสถานศกึ ษาในการดาํ เนินโครงการ/กจิ กรรมสถานศกึ ษาตอง
สรางระบบการทางานที่เขมแข็งเนน การมีสว นรว มและวงจรการพฒั นาคณุ ภาพ ของเดมมิ่ง (Deming Cycle)
11.5 ตรวจสอบและทบทวนคณุ ภาพการศึกษา โดยดาํ เนินการอยา งจริงจงั ตอ เนือ่ งดวยการ
สนับสนนุ ใหครู ผปู กครองและชมุ ชนเขา มามีสวนรวม
11.6 ประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานทกี่ ําหนดเพื่อรองรบั การ
ประเมินคุณภาพภายนอก

๑๐๙
11.7 จัดทํารายงานคุณภาพการศึกษาประจาํ ป (SAR) และสรปุ รายงานประจําป โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เสนอตอ หนวยงานตน สังกดั และเผยแพรต อสาธารณชน
12) การสงเสริมชุมชนใหม คี วามเขมแขง็ ทางวชิ าการ
12.1 จดั กระบวนการเรยี นรูรว มกบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคก รชมุ ชน องคกรปกครอง
สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถานบนั อื่น
12.2 สงเสริมความเขมแขง็ ของชุมชนโดยการจดั กระบวนการเรยี นรภู ายในชุมชน
12.3 สงเสรมิ ใหชุมชนมีการจดั การศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู ขอ มูล ขาวสารและ
รูจกั เลือกสรรภมู ิปญ ญาและวิทยาการตาง ๆ
12.4 พฒั นาชุมชนใหส อดคลอ งกบั สภาพปญ หาและความตอ งการรวมทั้งหาวิธกี ารสนับสนุน
ใหม ีการแลกเปลี่ยนประสบการณร ะหวา งชุมชน
13) การประสานความรวมมือในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองคกรอ่ืน
13.1 ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและ ภูมิปญญาทองถน่ิ เพอ่ื
เสริมสรา งพัฒนาการของนักเรียนทุกดา น รวมทงั้ สบื สานจารตี ประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมของทอ งถ่ิน
13.2 เสรมิ สรา งความสมั พนั ธระหวา งสถานศึกษากบั ชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองคกร
ทง้ั ภาครัฐและเอกชน เพ่ือใหสถานศกึ ษาเปนแหลงวิทยาการของชุมชน และมีสวนในการพัฒนาชุมชนและ
ทองถิน่
13.3 ใหบ ริการดา นวิชาการท่สี ามารถเชอื่ มโยงหรือแลกเปลี่ยนขอมลู ขาวสารกับแหลง
วิชาการในทีอ่ ่ืน ๆ
13.4 จัดกจิ กรรมรวมกับชุมชน เพ่ือสงเสริมวฒั นธรรมการสรางความสัมพนั ธอันดกี ับศิษย
เกา การประชมุ ผปู กครองนักเรยี น การปฏิบตั งิ านรวมกับชุมชน การรวมกิจกรรมกบั สถาบนั การศึกษาอื่น
14) การสง เสรมิ และสนบั สนุนงานวิชาการแกบุคคล ครอบครัว องคกร หนว ยงาน สถานประกอบการ
และสถาบนั อน่ื ท่ีจัดการศึกษา
14.1 ประชาสัมพนั ธส รา งความเขาใจตอบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคก รชุมชนองคกร
ปกครองสว นทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั
สังคมอ่นื ในเรือ่ งเกย่ี วกบั สทิ ธิในการจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานการศกึ ษา
14.2 จัดใหมีการสรา งความรูความเขา ใจ การเพิ่มความพรอมใหกบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ เอกชน เอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ
และสถาบันสังคมอืน่ ทีร่ วมจัดการศึกษา
14.3 รว มกบั บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชมุ ชนองคกรปกครองสว นทองถน่ิ เอกชน
องคกรเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอนื่ รว มกันจัดการศกึ ษา
และใชท รัพยากร รวมกันใหเ กิดประโยชนสงู สุดแกผ เู รียน
14.4 สง เสรมิ สนบั สนุนใหม กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรูรว มกนั ระหวา งสถานศกึ ษากับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชนองคกรปกครองสว นทองถน่ิ เอกชน องคก รเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบัน
ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสงั คมอนื่
14.5 สงเสริมสนับสนนุ ใหบ ุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคกรชุมชนองคก รปกครองสว นทองถ่ิน
เอกชน องคก รเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่ืน ไดรบั ความ
ชว ยเหลอื ทางดานวิชาการตามความเหมาะสมและจําเปน
14.6 สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียนรู ท้ังดา นคณุ ภาพและปรมิ าณเพ่ือการเรียนรตู ลอดชีวิต

๑๑๐
อยา งมปี ระสิทธิภาพ

15) การจดั ทาํ ระเบียบและแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั งานดา นวชิ าการของสถานศกึ ษา
15.1 ศึกษาและวิเคราะหระเบียบและแนวปฏิบัติเก่ียวกับงานดา นวิชาการของสถานศึกษา

เพ่อื ใหผ ูทเ่ี ก่ียวของทุกฝายรับรแู ละถือปฏบิ ตั เิ ปน แนวเดียวกัน
15.2 จดั ทํารางระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ กี่ยวกับงานดา นวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือใหผ ูท่ี

เกยี่ วขอ งทกุ ฝา ยรบั รแู ละถือปฏบิ ตั ิเปน แนวเดียวกนั
15.3 ตรวจสอบรา งระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับงานดานวชิ าการของสถานศึกษาและ

แกไขปรบั ปรงุ
15.4 นาํ ระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั งานดานวิชาการของสถานศกึ ษาไปสูการปฏบิ ตั ิ
15.5 ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใชระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกบั งานดานวชิ าการของ
สถานศึกษาและนําไปแกไ ขปรบั ปรุงใหเ หมาะสมตอไป

16) การคัดเลอื กหนังสือ แบบเรียนเพ่ือใชในสถานศึกษา
16.1 ศึกษา วิเคราะห คดั เลอื กหนังสือเรยี น กลุม สาระการเรียนรูต าง ๆ ทมี่ คี ุณภาพ

สอดคลอ งกับหลกั สตู รสถานศึกษาเพือ่ เปนหนังสอื แบบเรียนเพื่อใชในการจดั การเรยี นการสอน
16.2 จัดทําหนังสือเรยี น หนงั สือเสริมประสบการณ หนังสอื อานประกอบ แบบฝกหัด ใบ

งาน ใบความรเู พอ่ื ใชประกอบการเรียนการสอน
16.3 ตรวจพิจารณาคุณภาพหนงั สือเรียน หนงั สอื เสริมประสบการณ หนังสืออานประกอบ

แบบฝก หดั ใบงาน ใบความรเู พอื่ ใชประกอบการเรียนการสอน
17) การพฒั นาและใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา
17.1 จัดใหม ีการรว มกันกาํ หนดนโยบาย วางแผนในเร่ืองการจดั หาและพฒั นาส่ือการเรียนรู

และเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ของสถานศึกษา
17.2 พัฒนาบคุ ลากรในสถานศกึ ษาในเรอื่ งเกยี่ วกบั การพัฒนาสอื่ การเรยี นรแู ละเทคโนโลยี

เพ่อื การศึกษา พรอมทัง้ ใหมีการจัดต้งั เครอื ขายทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพือ่ เปน แหลงการเรยี นรูของ
สถานศึกษา

17.3 พฒั นาและใชส ือ่ และเทคโนโลยที างการศึกษา โดยมงุ เนนการพฒั นาสื่อและเทคโนโลยี
ทางการศกึ ษาท่ใี หขอเทจ็ จรงิ เพื่อสรา งองคความรูใหม ๆ เกิดขึน้ โดยเฉพาะหาแหลงสื่อท่ีเสริมการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาใหมีประสทิ ธิภาพ

17.4 พฒั นาหองสมดุ ของสถานศึกษาใหเ ปน แหลงการเรียนรขู องสถานศึกษา และชุมชน
17.5 นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรในการจดั หา ผลติ ใชแ ละ
พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา
การบริหารงานงบประมาณ
1. การจัดทาํ แผนงบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณ เพ่อื เสนอตอเลขาธกิ ารคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
1.1 วิเคราะหสภาพแวดลอมของสถานศึกษา (SWOT Analysis) โดยตอ งเชื่อมโยงกับ
แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา และกลยุทธของสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและยทุ ธศาสตรข องกระทรวงศึกษาธกิ าร
1.2จัดทําขอมูลสารสนเทศทางการเงนิ ของสถานศึกษา ไดแ ก แผนช้ันเรียน ขอ มลู ครู

๑๑๑
นกั เรยี นและสิ่งอํานวยความสะดวกของสถานศึกษา เพอ่ื ใชกําหนดเปา หมาย ผลผลิต เปา หมายกจิ กรรม
หลักสูตรและสนบั สนุน

1.3ทบทวนประสิทธภิ าพการใชจ ายตามแผนปฏิบตั กิ ารในปท่ีผานมา เพื่อจัดทํางบประมาณ
และลว งหนา 3 ป ของงบบุคลากร งบดาํ เนินงาน งบเงินอุดหนุน งบลงทุน และงบรายจายอ่ืน ๆ

1.4 ประมาณการคา ใชจายกิจกรรมหลักและกิจกรรมสนบั สนนุ ของแตล ะผลผลิต
2. การจดั ทาํ แผนการปฏิบตั ิการใชจายเงิน ตามที่ไดรบั จัดสรรงบประมาณจากสาํ นักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโดยตรง

2.1 จัดทําแผนปฏิบตั ิการประจาํ ปแ ละแผนการใชจา ยงบประมาณ
2.2 ขอความเห็นชอบแผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจายงบประมาณตอคณะกรรมการ
สถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
3. การอนุมัติการใชจา ยงบประมาณที่ไดรับจัดสรร
3.1 ผอู ํานวยการสถานศึกษาอนุมตั โิ ครงการใชจายงบประมาณตามงาน / โครงการที่กําหนด
ไวใ นแผนปฏิบตั ิราชการประจาปแ ละแผนการใชจ า ยเงิน
4. การขอโอนและการขอเปล่ียนแปลงงบประมาณ
4.1 ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณทจ่ี าเปน ตองขอโอนและเปลี่ยนแปลง เสนอ
ขอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
4.2 ขอโอน / เปล่ยี นแปลงงบประมาณทไ่ี มต องทําความตกลงกบั สํานักงบประมาณใหเ สนอ
ผวู าราชการจงั หวัดเพ่อื พจิ ารณาอนุมัติ กรณีทยี่ งั ไมไดเปนผูเบกิ เงนิ จากคลงั ใหเสนอผูวา ราชการจังหวดั ผาน
สํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
5. การรายงานผลการเบกิ จายงบประมาณ
5.1 รายงานผลการใชจา ยเงินงบประมาณประจําปไปยงั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานและหนว ยงานที่เก่ียวขอ งแลวแตกรณี
6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชง บประมาณ
6.1 กรณสี ถานศึกษาทย่ี งั ไมไดร ับการอนุมตั ใิ หเ ปน ผเู บิกเงินจากคลงั

6.1.1 จัดใหมกี ารตรวจสอบและติดตามให กลมุ ฝา ย งาน ในสถานศึกษา รายงาน
ผลการปฏิบัติงาน และผลการใชจา ยงบประมาณ เพอ่ื จดั ทํารายงานผลการปฏบิ ัตงิ านและผลการใชจาย
งบประมาณตามแบบทีส่ ํานักงบประมาณกาํ หนด แลวจดั สงไปยงั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ี การศึกษาทกุ ไตรมาส
ภายในระยะเวลาทสี่ านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษากาํ หนด

6.1.2 จดั ทํารายงานประจาํ ปท่แี สดงถึงความสาํ เรจ็ ในการปฏิบัตงิ าน ทกุ ส้นิ
ปงบประมาณ แลว จัดสงใหส าํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ภายในระยะเวลาท่สี ํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
กาํ หนด

6.2 กรณสี ถานศกึ ษาที่ไดรับการอนุมัตใิ หเ ปน ผูเบกิ เงินจากคลัง
6.2.1 จัดใหม กี ารตรวจสอบและติดตามให กลมุ ฝา ย งานในสถานศกึ ษา รายงาน

ผลการปฏิบัตงิ าน และผลการใชจายงบประมาณ เพอ่ื สถานศกึ ษาจดั ทาํ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านและผลการใช
จายงบประมาณตามแบบทีส่ าํ นกั งบประมาณกาํ หนด แลว จดั สงไปยังสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พืน้ ฐานทกุ ไตรมาส ภายในระยะเวลาทีส่ ํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

6.2.2 จดั ทํารายงานประจําปท่แี สดงถึงความสาํ เรจ็ ในการปฏิบตั งิ านทกุ ส้ิน

๑๑๒
ปง บประมาณ แลวจัดสง ใหสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐานภายในคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานภายในระยะเวลาทส่ี ํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาํ หนด

7. การตรวจสอบ ตดิ ตามและรายงานการใชผ ลผลติ จากงบประมาณ
7.1 ประเมนิ คณุ ภาพการปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย
7.2 วางแผนประเมินประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลการดาํ เนินงานของสถานศึกษา
7.3 วเิ คราะหและประเมนิ ความมีประสิทธภิ าพประหยัด และคุมคา ในการใชท รพั ยากรของ

หนว ยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรัพยากรและการลงเพ่อื การศึกษา
8.1 วางแผน รณรงคสงเสริมการระดมทนุ การศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา
8.2 จัดทาํ ขอมลู สารสนเทศ และระบบการรบั จา ยทุนการศึกษาและทนุ เพ่ือพฒั นาการศึกษา

ใหด าํ เนนิ งานไดอยางมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล คมุ คา และมคี วามโปรงใส
8.3 สรุป รายงาน เผยแพรและเชิดชเู กยี รติผูส นบั สนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา

สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
9. การปฏิบตั ิงานอน่ื ใดตามท่ีไดรับมอบหมายเกย่ี วกับกองทุนเพ่ือการศกึ ษา
9.1 สํารวจความตองการของนกั เรยี นและคัดเลือกผเู สนอกูยมื ตามหลกั เกณฑทกี่ ําหนด
9.2 ประสานการกูยืมเพือ่ การศึกษากับหนวยปฏบิ ตั ิท่เี กย่ี วขอ ง
9.3 สรางความตระหนักแกผ ูก ยู ืมเงินเพอ่ื การศึกษา
9.4 ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงาน
10. การบริหารจดั การทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษา
10.1 จัดทํารายการทรพั ยากรเพ่ือเปน สารสนเทศ ไดแก แหลง เรยี นรภู ายในสถานศึกษา

แหลง เรียนรใู นทองถนิ่ ทั้งทเี่ ปนแหลงเรยี นรูธ รรมชาตแิ ละภูมิปญญาทองถิ่น แหลง เรยี นรูท่ีเปน สถาน
ประกอบการ เพื่อการรบั รขู องบคุ ลากรในสถานศึกษา นกั เรยี นและบคุ ลากรทัว่ ไปจะไดเ กิดการใชทรัพยากร
รวมกนั ในการจดั การศึกษา

10.2 วางระบบหรอื กาํ หนดแนวปฏิบตั ิการใชท รพั ยากรรว มกันกับบุคคล หนวยงานรฐั บาล
และเอกชนเพื่อใหเกิดประโยชนสงู สดุ

10.3 กระตนุ ใหบ ุคคลในสถานศึกษารวมใชท รพั ยากรภายในและภายนอก รวมทัง้ ใหบริการ
การใชบ รกิ ารทรัพยากรภายในเพ่ือประโยชนต อ การเรียนรู และสง เสรมิ การศกึ ษาในชมุ ชน

10.4 ประสานความรวมมือกับผูร บั ผิดชอบ แหลงทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรที่ มนษุ ย
สราง ทรัพยากรบุคคลที่มศี ักยภาพใหการสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา

10.5 ดาํ เนินการเชิดชเู กียรติบคุ คลและหนว ยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชนทส่ี นับสนุนการใช
ทรพั ยากรรว มกันเพอื่ การศึกษาของสถานศึกษา

11. การวางแผนพัสดุ
11.1 กรณีสถานศึกษาท่ียงั ไมไดรับการอนมุ ัติใหเ ปนผเู บิกเงนิ จากคลัง
11.1.1 การวางแผนพัสดุลว งหนา 3 ป ใหดาํ เนนิ การตามกระบวนการของการ

วางแผนงบประมาณ
11.1.2 การจดั ทําแผนการจัดหาพสั ดุ ใหฝ า ยทท่ี าํ หนา ท่จี ัดซือ้ จัดจาง เปน

ผูด าํ เนนิ การโดยใหฝายท่ีตองการใชพสั ดุ จัดทาํ รายละเอยี ดพัสดุทีต่ องการ คือรายละเอียดเก่ยี วกับปรมิ าณ
ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรอื แบบรูปรายการและระยะเวลาทีต่ องการใชพ ัสดุ (ทัง้ น้รี ายละเอียดพัสดุท่ีตองการ

๑๑๓
นตี้ อ งเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจาํ ป (แผนปฏิบัติงาน) และตามท่ีระบุไวในเอกสารประกอบ
พระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจายประจาป) สง ใหฝา ยที่ทําหนา ท่ีจดั ซ้ือ จดั จางเพ่ือจัดทําแผนการจัดหาพสั ดุ

11.1.3 ฝา ยท่จี ัดทําแผนการจัดหาพัสดทุ าํ การรวบรวมขอมลู รายละเอยี ดจากฝายท่ี
ตอ งการใชพ สั ดุ โดยมกี ารสอบทานกับแผนปฏิบัตงิ านและเอกสารประกอบพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจาย
ประจาํ ป และความเหมาะสมของวธิ กี ารจัดหาวาควรเปนการซือ้ การเชา หรอื การจดั ทาเอง แลว จงึ นาํ ขอมลู ที่
สอบทานแลว มาจดั ทาํ แผนการจัดหาพัสดใุ นภาพรวมของสถานศึกษา แลวสง แผนท่จี ัดทาํ นไี้ ปใหส ํานักงานเขต
พ้ืนทีก่ ารศกึ ษา แลวสงแผนท่ีจดั ทาํ น้ไี ปใหส าํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อจัดทาํ เปน ภาพรวมของสาํ นักงาน
เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

11.2 กรณีสถานศกึ ษาท่ีไดรับการอนุมตั ใิ หเปนผเู บกิ เงนิ จากคลัง
11.2.1 การวางแผนพัสดลุ ว งหนา 3 ป ใหดาํ เนินการตามกระบวนการของการ

วางแผนงบประมาณ
11.2.2 การจัดทําแผนการจัดหาพสั ดุ ใหฝา ยท่ีทําหนา ท่จี ัดซือ้ จดั จา งเปน

ผดู ําเนินการโดยใหฝ ายทตี่ องการใชพ ัสดุจดั ทํารายละเอียดพัสดทุ ่ตี องการ คอื รายละเอยี ดเก่ียวกบั ปรมิ าณ
ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือแบบรปู รายการและระยะเวลาท่ตี อ งการใชพ สั ดุ ทงั้ นร้ี ายละเอียดพสั ดทุ ่ีตองการ
นต้ี องเปน ไปตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป (แผนปฏบิ ตั งิ าน) และตามท่รี ะบุไวใ นเอกสารประกอบ
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจา ยประจําป สงใหฝา ยทท่ี ําหนา ทีจ่ ัดซ้ือจดั จางเพ่ือจดั ทําแผนการจัดหาพสั ดุ

11.3 ฝา ยท่จี ัดทําแผนการจัดหาพสั ดุทําการรวบรวมขอมูลรายละเอยี ดจากฝายทต่ี องการใช
พสั ดุ โดยมกี ารสอบทานกบั แผนปฏิบตั งิ านและเอกสารประกอบพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา ยประจาํ ป
และความเหมาะสมของวธิ กี ารจดั หาวา ควรเปนการซือ้ การเชา หรือการจัดทาํ เอง แลว จึงนาํ ขอ มูลทสี่ อบทาน
แลวมาจัดทําแผนการจดั หาพัสดใุ นภาพรวมของสถานศึกษา

12. การกําหนดแบบรปู รายการ หรอื คุณลกั ษณะเฉพาะของครุภณั ฑหรือส่ิงกอสรา งทใี่ ชเงิน
งบประมาณเพ่ือเสนอตอเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

12.1 กาํ หนดแบบรปู รายการหรอื คณุ ลักษณะเฉพาะ เพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ สง
ใหส ํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

12.2 กรณที ี่เปน การจัดหาจากเงนิ นอกงบประมาณใหกาํ หนดแบบรปู รายการหรือคุณ
ลักษณะเฉพาะได โดยใหพ ิจารณาจากแบบมาตรฐานกอนหากไมเหมาะสมกใ็ หกาํ หนดตามความตองการ โดย
ยึดหลกั ความโปรงใส เปนธรรมและเปนประโยชนก ับทางราชการ

13. การพฒั นาระบบขอมูลและสารสนเทศเพอื่ การจัดทาํ แผนและจดั หาพสั ดุ
13.1 พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ เพื่อการจัดหาพสั ดุ เชน สมดุ โทรศพั ทห นาเหลือง การ

จดั ทาํ บญั ชีผขู ายหรอื ผรู บั จา ง เพื่อสาํ หรับการดาํ เนนิ การจัดซือ้ จดั จา งและการประเมินผลผขู ายและ ผูรับจา ง
เปน ตน

14. การจดั หาพสั ดุ
14.1 การจดั หาพัสดุถือปฏิบัตติ ามระเบยี บวา ดวยการพสั ดุของสวนราชการและคาํ สั่งมอบ

อํานาจของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
14.2 การจัดทําพสั ดถุ ือปฏบิ ตั ติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาวาดวยการใหส ถานศึกษารบั จัดทาํ

รับบริการ รบั จา ง ผลติ เพอื่ จําหนา ย พ.ศ. 2533
15. การควบคุมดแู ล บาํ รุงรักษาและจําหนา ยพัสดุ
15.1 จดั ทาํ ทะเบยี นคุมทรพั ยส นิ และบัญชีวสั ดุ

๑๑๔
15.2 ควบคุมพัสดุใหอ ยูในสภาพพรอมการใชงาน
15.3 ตรวจสอบพัสดปุ ระจําป และใหมีการจาํ หนายพัสดุทีช่ าํ รดุ เสือ่ มสภาพหรือไมใชใ น
ราชการอกี ตอไป
15.4 พสั ดทุ ่ีเปน ที่ดินหรอื สง่ิ กอสราง กรณีท่ีไดม าดว ยเงินงบประมาณใหด าํ เนนิ การข้นึ
ทะเบยี นเปนทรี่ าชพัสดุ กรณีทไ่ี ดม าจากการรับบริจาคหรือจากเงนิ รายไดสถานศึกษาใหขึน้ ทะเบยี นเปน
กรรมสทิ ธ์ขิ องสถานศึกษา
6. การจดั หาผลประโยชนจากทรัพยส นิ
16.1 จัดทาํ แนวปฏิบตั ิหรอื ระเบยี บของสถานศึกษาในการดําเนนิ การหารายได โดยไมขัดตอ
กฎหมายและระเบียบท่เี กี่ยวของ
16.2 การจัดหาประโยชนเ ก่ียวกบั ราชพัสดแุ ละอสงั หาริมทรัพยท ่ีอยใู นความครอบครองของ
สถานศกึ ษา ภายในของวัตถุประสงคแ ละภารกจิ แลวของสถานศกึ ษาเทาน้นั
16.3 เงินรายไดท ่ีเกิดข้นึ ถอื เปนเงนิ นอกงบประมาณประเภทเงินรายได สถานศกึ ษาจงึ ตองใช
จา ยใหเ ปนไปตามระเบียบทีเ่ กีย่ วของ
16.4 การจดั หาผลประโยชนจากทรัพยสนิ ตามขอ 1-3 ในสวนทอี่ ยใู นความรบั ผิดชอบของ
สถานศกึ ษาตอ งไดรบั ความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
17. การเบกิ เงนิ จากคลัง
17.1 สถานศึกษาท่ยี งั ไมไดรับการอนุมัตใิ หเปนผเู บิกเงนิ จากคลัง ใหย ่นื หลักฐานการ เบิกเงิน
ทุกรายการใหส าํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาดําเนนิ การ
17.2 สถานศึกษาที่ไดร บั อนุมัตใิ หเ ปน ผูเ บิกเงินจากคลงั ใหจัดทาํ และตรวจสอบเอกสาร
หลกั ฐานขอเบิกใหถ ูกตองตามระเบยี บท่เี กยี่ วขอ งแลว ดําเนินการ เบกิ เงินจากสาํ นักงานคลงั จังหวัดหรือ
สาํ นักงานคลงั จงั หวดั ณ อําเภอ แลว แตก รณี
18. การรบั เงนิ การเก็บรกั ษาเงิน และการจายเงนิ
18.1 กรณสี ถานศึกษาที่ยงั ไมไ ดร ับการอนมุ ัติใหเ ปนผเู บิกเงนิ จากคลัง

18.1.1 การปฏบิ ัติเก่ียวกับการรบั เงนิ และการจายเงนิ ใหปฏิบตั ติ ามระเบยี บท่ี
กระทรวงการคลังกาํ หนด คอื ระเบยี บการเก็บรกั ษาเงินและการนาํ เงินสง คลงั ในหนา ทีข่ องอําเภอและ ก่งิ
อาํ เภอ พ.ศ.2520 โดยสถานศึกษาสามารถกําหนดวิธีปฏบิ ตั ิเพ่ิมเติมไดตามความเหมาะสม แตต อ งไมขัดหรือ
แยงกบั ระเบยี บดังกลาว

18.1.2 การปฏบิ ัตเิ กีย่ วกับการเก็บรักษาเงนิ ใหป ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ที่
กระทรวงการคลังกาํ หนด คอื ระเบียบการเกบ็ รกั ษาและการนาํ เงินสง คลังในของสวนราชการ พ.ศ.2520 โดย
อนโุ ลม

18.2 กรณสี ถานศึกษาทไี่ ดรับการอนุมัตใิ หเปน ผูเบิกเงนิ จากคลัง ใหป ฏิบตั ิเชนเดียวกับ
สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา คอื การปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการรับเงิน การเกบ็ รักษาเงนิ และการจา ยเงินตอ งปฏิบตั ิ
ตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด คือ ระเบยี บการเก็บรักษาเงนิ และการนําเงินสง คลังของสวนราชการ
พ.ศ.2520

19. การนําเงนิ สง คลงั
19.1 กรณสี ถานศึกษาท่ยี ังไมไ ดร บั การอนมุ ัติใหเ ปน ผเู บิกเงนิ จากคลงั การนําเงินสงคลังให

๑๑๕
นาํ สงตอ สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาภายในระยะเวลาท่กี ําหนดไวตามระเบียบการเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนํา
เงินสงคลังในหนาที่ของอาํ เภอและกิ่งอําเภอ พ.ศ.2520 หากนาํ สงเปนเงนิ สดใหต้ังคณะกรรมการนาํ สง เงิน
ดวย

19.2 กรณีสถานศกึ ษาท่ีไดรับการอนุมัตใิ หเปน ผเู บิกเงนิ จากคลงั
19.2.1 การนาํ เงนิ สงคลงั ใหนําสง ภายในระยะเวลาท่ีกาํ หนดไวต ามระเบียบการเกบ็

รักษาเงินและการนําเงนิ สง คลังของสวนราชการ พ.ศ. 2520 และท่แี กไขเพ่มิ เติม
19.2.2 ขนั้ ตอนและวิธีการนําสง เงนิ คลงั ใหเปน ไปตามกําหนด

20. การจัดทาํ บัญชกี ารเงนิ
20. 1 กรณีสถานศึกษาท่ยี งั ไมไดรบั การอนมุ ัติใหเ ปน ผูเบกิ เงนิ จากคลงั ใหจดั ทําบัญชกี ารเงนิ

ตามระบบทเี่ คยจัดทําอยูเดิม คือ ตามระบบที่กาํ หนดไวใ นคูมอื การบญั ชีหนวยงานยอย พ.ศ.2515 หรอื ตาม
ระบบการควบคมุ การเงินของหนวยงานยอ ย พ.ศ.2544 แลว แตกรณี

20.2 กรณสี ถานศกึ ษาที่ไดร ับการอนุมัติใหเ ปน ผูเ บิกเงินจากคลัง การจดั ทาํ บัญชีการเงินให
บันทึกบัญชีและทะเบยี นทีเ่ ก่ียวของ

21. การจัดทาํ รายงานทางการเงนิ และงบการเงนิ
21.1 กรณสี ถานศกึ ษาทย่ี งั ไมไ ดร บั การอนมุ ัตใิ หเปน ผูเบกิ เงนิ จากคลัง
21.1.1 จดั ทํารายงานตามที่กําหนดในคูมอื การบญั ชีสําหรับหนว ยงานยอ ย

พ.ศ.2515 หรอื ตามระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว ยงานยอย พ.ศ.2544 แลวแตก รณี
21.1.2 จดั ทาํ รายงานการรับจา ยเงินรายไดสถานศึกษา ตามท่ีสาํ นกั งาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาํ หนด คอื ตามประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานวา
ดว ยหลกั เกณฑ อตั ราและวิธกี ารนาํ เงิน 21.2 กรณสี ถานศึกษาท่ีไดรบั การอนุมัตใิ หเปนผเู บกิ เงนิ จากคลัง

21.2.1 จัดทํารายงานทางการเงินและงบการเงนิ เปน ไปตามระบบบญั ชี
21.2.2 จดั ทาํ รายงานการรับจา ยเงินรายไดสถานศึกษา ตามทีส่ าํ นกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานกาํ หนด คือ ตามประกาศสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐานวา
ดวยหลกั เกณฑ อัตราและวธิ ีการนําเงินรายไดสถานศึกษาไปจายเปน คา ใชจา ยในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาท่เี ปนนิติบุคคลในสังกดั เขตพืน้ ท่ีการศึกษา
22. การจัดทําหรือจัดหาแบบพิมพบ ัญชี ทะเบยี นและรายงาน
22.1 สถานศกึ ษาท่ียงั ไมไดรับการอนุมัติใหเปน ผเู บกิ เงนิ จากคลงั แบบพมิ พบญั ชี ทะเบียน
และแบบรายงานใหจดั ทาํ ตามแบบท่ีกําหนดในคูมือการบญั ชีสาหรับหนวยงานยอ ย พ.ศ.2515 หรือตามระบบ
การควบคมุ การเงนิ ของหนวยงานยอย พ.ศ.2544
การบรหิ ารงานบุคคล
1. การวางแผนอัตรากาลงั
1.1 รวบรวมและรายงานขอมลู ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตอ สํานักงานเขต
พ้นื ทีก่ ารศกึ ษา - จํานวนขา ราชการครู จาํ แนกตามสาขา - จํานวนลกู จางประจําในสถานศึกษา - จํานวน
ลกู จางชั่วคราว - จํานวนพนักงานราชการ
1.2 วิเคราะหความตอ งการอัตรากําลงั
1.3 จดั ทําแผนอัตรากําลังสถานศึกษา
1.4 เสนอแผนอตั รากาลงั ของสถานศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพ้นื ฐานไปยังสาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

๑๑๖
2. การจดั สรรอตั รากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

2.1 รวบรวมและรายงานขอมลู ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ สํานักงานเขต
พน้ื ท่กี ารศึกษาเกย่ี วกับจํานวนขา ราชการครู จาํ แนกตามสาขา

2.2 เสนอความตองการจาํ นวนและอัตราตาํ แหนงของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศึกษาในสถานศึกษาจําแนกตามสาขา ตามเกณฑที่ก.ค.ศ.กําหนดตอ สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา

3. การสรรหาและบรรจุแตงตั้ง
3.1 เสนอความตองการขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตอสํานักงานเขตพน้ื ที่

การศกึ ษา โดยผา นความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
3.2 สถานศกึ ษาที่มคี วามพรอมดาํ เนนิ การสรรหาเพื่อบรรจุและแตงตั้งบคุ คล เขารบั ราชการ

เปน ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาตามเกณฑท ี่ ก.ค.ศ. กําหนด
3.3 ดําเนินการสรรหาและจัดจา งบุคคลเพอ่ื ปฏิบัติงานในตําแหนง อัตราจางประจําหรืออัตรา

จา งช่วั คราวและพนักงานราชการ
3.4 แจงภาระงาน มาตรฐานคณุ ภาพงานมาตรฐานวชิ าชีพ จรรยาบรรณวิชาชพี และเกณฑ

การประเมินผลการปฏบิ ัติงานใหแกขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทราบเปนลายลกั ษณอกั ษรแจง
ภาระงานใหแ กอ ตั ราจางประจาํ หรืออตั ราจา งชว่ั คราวและพนักงานราชการ

3.5 ดําเนนิ การทดลองปฏิบตั ิหนาที่ราชการสาหรับบุคลากรทางการศกึ ษาหรอื เตรยี มความ
พรอมและพัฒนาอยางเขมสาํ หรับผูไดรบั การบรรจุเขา รบั ราชการในตําแหนง “ครผู ชู วย” ตามเกณฑและวิธกี าร
ที่ ก.ค.ศ. กําหนด

3.6 ติดตามประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านในตาํ แหนงครูผูชว ยเปนระยะๆ ทกุ สามเดอื นตามแบบ
ประเมินท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด และในการประเมนิ แตละคร้งั ใหประธานกรรมการแจงผลการประเมินใหครผู ชู วย
และผมู อี ํานาจตามมาตร 53 ทราบ และในสวนของพนักงานราชการตอ งจัดใหม ีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ปละ 2 ครั้ง

3.7 รายงานผลการทดลองปฏบิ ตั ิหนา ที่ราชการหรอื การเตรยี มความพรอมและพัฒนาอยา ง
เขม แลวแตก รณตี อสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

3.8 ดาํ เนนิ การแตงตงั้ หรือสงั่ ใหพนจากสภาพการเปนขา ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาตามอํานาจหนา ที่กฎหมายกาํ หนด

4. การเปล่ยี นตําแหนง ใหส งู ข้ึน การยา ยขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4.1 การเปลีย่ นตาํ แหนง ขาราชการครแุ ละบุคลากรทางการศกึ ษา
4.1.1 ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาเสนอความประสงคแ ละเหตุผล

ความจําเปน ในการขอเปลยี่ นตาํ แหนงกรณีสมคั รใจ กรณเี พือ่ ประโยชนข องทางราชการและกรณีถกู เพกิ ถอน
ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ตอผูบรหิ ารสถานศกึ ษาเพ่ือสง ใหสํานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาพิจารณาดาํ เนินการ
ตามหลักเกณฑและวิธกี ารที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด

4.2 การยายขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาภายในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
4.2.1. การยา ยผบู ริหารสถานศกึ ษาหรือผูบริหารสถานศึกษาในหนวยงานการศกึ ษา

ที่เรียกชือ่ อยางอืน่
4.2.1.1 ผูบริหารสถานศกึ ษาเสนอความประสงคแ ละเหตุผลความจาํ เปน

ในการขอยา ยไปยงั สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาตน สังกดั
4.2.2. การยายขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

๑๑๗
4.2.2.1 ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาเสนอความประสงคและเหตุผลความจาํ เปน
ในการขอยายตอสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาเพอื่ ดําเนนิ การตอไป
4.2.2.2 รวบรวมรายช่อื และขอมูลขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษาท่ปี ระสงคจะ ขอยายและใหค วามเห็นเสนอไปยังสถานศึกษาทขี่ าราชการครแู ละบุคลากรทางงการศกึ ษา
ประสงคจ ะขอยา ยไปปฏิบตั งิ าน
4.2.2.3 พจิ ารณาใหความเห็นชอบขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาท่ีประสงคจ ะขอยายมาปฏบิ ตั ิงานในสถานศึกษา
- ในกรณีทเ่ี หน็ ชอบการรับยา ยขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหเสนอเร่ือง
ไปยังเขตพ้ืนที่การศึกษา
- ในกรณใี หความเห็นวา ไมส มควรรับยายใหแ จงเรอ่ื งไปยงั ผูบริหารสถานศึกษาตน
สังกดั ของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท่ปี ระสงคจ ะขอยา ยทราบ
4.2.2.4 ส่งั ยายและสง่ั บรรจุแตงตั้งขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษาแลวแตกรณีตามอาํ นาจหนา ท่กี ฎหมายกําหนด
4.3 การยายขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาตา งเขตพนื้ ที่การศึกษา
4.3.1 การยายผบู รหิ ารสถานศึกษาหรือผูบรหิ ารสถานศึกษาในหนวยงานการศึกษา
ทเ่ี รยี กชือ่ อยางอน่ื
4.3.1.1 ผบู รหิ ารสถานศึกษาหรอื ผูบ รหิ ารสถานศึกษาในหนวยงาน
การศกึ ษาทีเ่ รียกชอื่ อยางอื่น เสนอความประสงคแ ละเหตุผลความจําเปน ในการขอยายไปยังเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาตน สงั กัดและเขตพ้ืนที่การศึกษาที่ประสงคจะขอยา ยไปปฏิบัติงาน
4.3.2 การยายขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4.3.2.1 รวบรวมรายช่ือและขอมูลขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาท่ีประสงคจะ ขอยายและใหค วามเหน็ เสนอไปยังสถานศกึ ษาท่ีขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประสงคจะขอยา ยไปปฏบิ ัตงิ าน
4.3.2.2 สถานศกึ ษาพจิ ารณาใหค วามเห็นชอบขาราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษาทปี่ ระสงคจ ะขอยา ยมาปฏิบัติงานในสถานศึกษา
- ในกรณที เี่ หน็ ชอบการรับยา ยขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหเสนอเร่ือง
ไปยังสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา
- ในกรณีใหความเหน็ วาไมส มควรรับยา ยใหแจงเรื่องไปยังผบู ริหารสถานศึกษาตน
สังกดั ของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาทปี่ ระสงคจ ะขอยายทราบ
4.3.2.3 สั่งยา ยและสง่ั บรรจุแตง ต้งั ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศึกษาแลว แตก รณีตามอาํ นาจหนา ทที่ ่กี ฎหมายกําหนด
5. การดําเนินการเกยี่ วกบั การเลอ่ื นขั้นเงินเดือน
5.1 การเลื่อนขั้นเงนิ เดือนปกติ
5.1.1 ประกาศเกณฑก ารประเมนิ และแนวปฏบิ ัติในการพิจารณาความดีความชอบ
ใหแ กขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษาทราบโดยทว่ั ไป
5.1.2 แตงต้ังคณะกรรมการพจิ ารณาเล่ือนข้นั เงินเดือนระดบั สถานศึกษาตาม
หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารทีก่ ฎหมายกําหนดใหฐ านะผูบังคับบัญชา
5.1.3 รวบรวมขอ มลู พรอมความเหน็ ของผมู ีอํานาจในการประเมินและใหค วามเห็น

๑๑๘
ในการเลอ่ื นข้ันเงินเดือนของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาเสนอคณะกรรมการตามขอ 2 พิจารณา

5.1.4 แจง คาํ สั่งไมเล่ือนขนั้ เงินเดือนใหแกข า ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ในฐานะผบู ังคับบัญชาทราบพรอ มเหตผุ ลทไี่ มเ ลอ่ื นขนั้ เงนิ เดือน

5.1.5 สง่ั เล่อื นขน้ั เงินเดือนใหแกข าราชกรครูและบุคลากรทางการศึกษา ในฐานะผู
มอี ํานาจส่งั บรรจุและแตง ต้ัง

5.2 การเลอ่ื นขั้นเงินเดือนกรณีพิเศษ กรณถี งึ แกค วามตายอันเน่อื งมาจากการปฏบิ ัติหนาท่ี
ราชการ

5.2.1 เสนอเรื่องพรอมทัง้ ขอเท็จจริงและความเหน็ ทเ่ี ปน ขอยตุ ิและรายละเอยี ด
ตางๆ ทเ่ี กี่ยวของไปยงั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา

5.2.2 ดาํ เนินการดานสวสั ดิการใหแ กครอบครัวผูถึงแกกรรมอนั เน่ืองมาจากการ
ปฏิบตั หิ นาทรี่ าชการตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนดตามความเหมาะสม

6. การลาทุกประเภท
6.1 อนุญาตหรือเสนอขออนุญาตการลาตามนโยบายหลักเกณฑและวิธกี ารของสาํ นักงานเขต

พนื้ ท่ีการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและกระทรวงศึกษาธิการตามกฎหมายกําหนด
6.2 เสนอเรอ่ื งการอนญุ าตใหขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาตอใหสาํ นักงานเขต

พน้ื ทกี่ ารศึกษาพจิ ารณาตามอํานาจหนาที่ทก่ี ฎหมายกําหนดหรือเพื่อทราบแลว แตก รณี
7. การประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน
7.1 กาํ หนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงานและดชั นชี วี้ ดั ผลการปฏบิ ตั ิงานของขา ราชการครแู ละ

บคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาใหสอดคลองกับมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของขา ราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศึกษาของเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาและท่ี ก.ค.ศ. กําหนด

7.2 ดําเนินการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศกึ ษา ตามหลกั เกณฑและวธิ ีการตามขอ 1

7.3 นาํ ผลการประเมินไปใชประโยชนใ นการบรหิ ารงานบคุ คลของสถานศึกษา
7.4 รายงานผลการประเมนิ การปฏบิ ัติงานในสวนที่สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษารอ งขอได
รับทราบ
8. การดําเนนิ การทางวินยั และการลงโทษ
8.1 การกระทาํ ผดิ วินัยไมร า ยแรง

8.1.1 กรณีมีมูลความผดิ วินัยไมรายแรง ใหแ ตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนการ
กระทาํ ผดิ วนิ ัย ไมรา ยแรงในฐานะผูบ ังคับบัญชา

8.1.2 พิจารณาลงโทษทางวนิ ยั หากปรากฏผลการสอบสวนวาผใู ดบังคับบัญชา
กระทําผิดวินยั ไมร ายแรงตามอํานาจท่ีกฎหมายกาํ หนด

8.1.3 รายงานผลการพิจารณาลงโทษทางวินยั ไปยงั เขตพ้ืนที่การศึกษา สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และ ก.ค.ศ. พจิ ารณาตามลําดับแลว แตก รณี ภายในระยะเวลาที่กาํ หนด

8.2 การกระทาํ ผดิ วนิ ัยอยางรา ยแรง
8.2.1 ดําเนินการสบื สวนขอ เท็จจรงิ เบื้องตน ในกรณีที่มีมลู ทีค่ วรกลาวหาวากระทํา

ผดิ วนิ ัยอยางรา ยแรงไมชัดเจน
8.2.2 กรณีมมี ลู การกระทําผิดวินยั อยางรายแรงของครูผชู วยและครูท่ยี ังไมม ีวทิ ย

๑๑๙
ฐานะใหแ ตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนการกระทําผิดวินยั อยางรายแรงในฐานะผูม อี าํ นาจสง่ั บรรจุและแตง ตัง้
หรือรายงานตอผูมีอํานาจแลวแตก รณี

8.2.3 ประสานกับหนว ยงานการศกึ ษาอนื่ และกรรมการสอบสวน กรณีทีการกระทํา
ผดิ วนิ ัยรว มกนั

8.2.4 พจิ ารณาสถานโทษหรือสั่งลงโทษตามอาํ นาจหนาท่ีท่ีกฎหมายกาํ หนดกรณี
ความผิดวินยั ไมร า ยแรง

8.2.5 รายงานสํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาหรอื เสนอสถานโทษไปยงั สํานักงานเขต
พน้ื ทก่ี ารศึกษากรณีเปนความผดิ วินัยอยางรา ยแรงของครผู ูช ว ยและครูทย่ี ังไมมวี ทิ ยฐานเพอ่ื เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา
พิจารณา

9. การส่งั พักราชการและการสั่งใหอ อกจากราชการไวก อน
9.1 เมือ่ มีการสง่ั แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีกระทําผิดวินยั อยา งรา ยแรงและมีเหตสุ งั่

พักราชการหรือสง่ั ใหออกจากราชการไวกอนใหดําเนินการภายในของเขตอํานาจตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดในกรณี
ตําแหนง ครูผูช ว ยและตาํ แหนงครูท่ยี ังไมมวี ทิ ยฐานะ

10. การรายงานการดาํ เนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ
10.1 เสนอรายงานการดําเนินการลงโทษทางวินยั และการลงโทษทไี่ ดดําเนินการแก

ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาไปยงั ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา พจิ ารณาตาม
หลกั เกณฑและวธิ กี ารท่ี ก.ค. ศ. กําหนด

11. การอุทธรณแ ละการรองทุกข
11.1 การอุทธรณ
11.1.1 รบั เรอ่ื งอทุ ธรณคาส่ังลงโทษทางวนิ ยั ของขาราชการครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษาในสถานศึกษา แลว เสนอไปยงั ผูมอี าํ นาจตามกฎหมายกําหนดเพื่อพจิ ารณาในกรณีทีข่ าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาเสนอเรอ่ื งอุทธรณผ า นหวั หนา สถานศกึ ษา

11.2 การรอ งทกุ ข
11.2.1 รบั เร่ืองรองทุกขของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใน

สถานศึกษา แลว เสนอไปยังผมู ีอาํ นาจตามกฎหมายกําหนดเพ่ือพิจารณาในกรณีท่ขี า ราชการครแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษาเสนอเร่ืองรอ งทุกขผานหวั หนา สถานศึกษา

12. การออกจากราชการ
12.1 อนุญาตการลาออกจากราชการของขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในฐานะผู

มอี าํ นาจสัง่ บรรจแุ ละแตงตั้งตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารทีกฎหมายกําหนดหรือรับเร่อื งการลาออกจากราชการ
ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ในฐานะผูบ งั คบั บัญชา แลว เสนอไปยงั ผูมอี ํานาจสัง่ บรรจุและ
แตงตั้งพจิ ารณาแลวแตกรณี

12.2 ส่งั ใหข า ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาออกจากราชการในฐานะผูมีอาํ นาจสั่ง
บรรจแุ ละแตงต้ังหรอื เสนอให อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ท่ีการศึกษาพจิ ารณาแลวแตกรณี

13. การจดั ระบบและการจัดทาํ ทะเบยี นประวัติ
13.1 จดั ทําขอมูลทะเบียนประวัติขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และลูกจา ง
13.2 ดําเนินการในสว นทเี่ กี่ยวขอ งกับการเกษยี ณอายรุ าชการของขา ราชการครแู ละบคุ ลากร

ทางการศึกษาและลูกจา งในสถานศึกษา
13.3 รบั เรอ่ื งการแกไขวัน เดือน ปเกดิ แลวเสนอใหผ ูมอี ํานาจตามกฎหมายพิจารณา

๑๒๐
14. การจัดทาํ บัญชรี ายชอ่ื และใหความเหน็ เก่ียวกบั การเสนอขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ

14.1 ดาํ เนนิ การในการขอเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณใหแกข า ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษาและลูกจางประจาํ ในสถานศกึ ษาไปยังเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา เพ่อื เสนอผมู อี ํานาจตามหลกั เกณฑและวธิ กี าร
ทางกฎหมายกําหนด

14.2 จดั ทําทะเบียนผูไ ดร บั เคร่ืองอสิ รยิ าภรณข องขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
และลูกจา งประจาํ ในสงั กัด

15. การสงเสรมิ การประเมินวิทยฐานะขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
15.1 สํารวจและรวบรวมขอ มูลการขอใหม ีและเลอื่ นวทิ ยฐานนะของขา ราชการครแู ละ

บคุ ลากรทางการศึกษา
15.2 ประชมุ ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพอ่ื ชี้แจงทาํ ความเขาใจหลักเกณฑ

และวธิ กี ารใหขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามวี ิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด
15.3 รวบรวมแบบเสนอขอรับการประเมนิ และรายงานผลงานท่เี กดิ จากการปฏิบัตหิ นา ท่ี

ของผเู สนอขอใหมเี ล่ือนวทิ ยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสง ไปยงั สํานักงานเขตพ้นื ท่ี
การศึกษาเพ่ือดาเนนิ การตอไป

16. การสงเสรมิ และยกยองเชิดชเู กยี รติ
16.1 สง เสริมการพัฒนาตนเองของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการ

ปฏบิ ตั งิ านใหมคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพ เพื่อนําไปสกู ารพัฒนามาตรฐานวชิ าชพี และคุณภาพการศกึ ษา
16.2 สรา งขวญั และกําลังใจแกข าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยการยกยองเชดิ

ชูเกียรติ ผมู ีผลงานดเี ดนและมคี ุณงามความดีตามหลักเกณฑและวธิ ีการท่ีกําหนดหรือกรณอี ืน่ ตามความ
เหมาะสม

17. การสง เสรมิ มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชพี
17.1 ดาํ เนนิ การพฒั นาขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหประพฤติปฏิบตั ติ าม

ระเบียบวนิ ัย มาตรฐาน และจรรยาบรรณของวชิ าชพี ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
17.2 ควบคมุ ดแู ล และสง เสรมิ ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาใหม ีการประพฤติ

ปฏบิ ัตติ ามระเบียบวินยั มาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชีพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
18. การสง เสริมวนิ ัย คุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรบั ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
18.1 เปนตัวอยางทดี่ ีแกขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
18.2 เสรมิ สรา งและพัฒนาใหผใู ตบังคับบญั ชามวี นิ ยั ในตนเอง
18.3 ปอ งกันไมใหผูใหบังคบั บญั ชากระทําผิดวนิ ยั
19. การริเริ่มสง เสรมิ การขอรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
19.1 ดาํ เนนิ ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพและการขอตอ ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพของ

ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาเพอ่ื เสนอไปยงั สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ให
ดําเนนิ การตอไป

20. การพัฒนาขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
20.1 วเิ คราะหค วามจาํ เปน และความตองการในการพัฒนาขา ราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษาในสถานศกึ ษา
20.2 จดั ทาํ แผนพฒั นาขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาของสถานศึกษา
20.3 ดาํ เนินการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

๑๒๑
20.4 สรา งและพัฒนาความรวมมอื กบั เครือขา ยสงเสริมประสทิ ธภิ าพการศกึ ษาในการพัฒนา
ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
การบริหารท่วั ไป
1. การพฒั นาระบบและเครือขา ยขอมลู สารสนเทศ
1.1 จัดระบบฐานขอมูลของสถานศึกษาเพื่อใชในการบรหิ ารจดั การภายในสถานศึกษา ให
สอดคลอ งกับระบบฐานขอมลู ของเขตพื้นท่กี ารศึกษา
1.2จดั ระบบเครือขา ยขอมลู สารสนเทศเชื่อมโยงกบั สถานศึกษาอืน่ เขตพ้ืนที่
การศกึ ษาและสว นกลาง
1.3นาํ เสนอและเผยแพรข อมลู และสารสนเทศเพอ่ื การบริหาร การบริการและการ
ประชาสัมพนั ธ
2. การประสานงานและพัฒนาเครือขายการศกึ ษา
2.1 ประสานงานกบั เครือขายการศกึ ษาเพื่อแสวงหาความรว มมอื ความชวยเหลือ เพือ่
สงเสรมิ สนับสนนุ งานการศึกษาของสถานศึกษา
2.2 เผยแพรข อมลู เครือขายการศกึ ษาใหบุคลากรในสถานศกึ ษาและผเู ก่ยี วของทราบ
2.3 กําหนดแผนโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือการแลกเปลย่ี นเรียนรรู ะหวา งเครือขายการศึกษา
ทเี่ กยี่ วของกบั สถานศึกษา
2.4 ใหความรวมมือและสนับสนนุ ทางวิชาการแกเครือขา ยการศึกษาของสถานศกึ ษาและเขต
พืน้ ท่ีการศึกษาอยางตอเนอื่ ง
3. การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา
3.1 จดั ทาแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาใหส อดคลอ งกับเปาหมายและทิศทางของ
เขตพ้นื ที่การศึกษาและสนองความตอ งการของชมุ ชนและสงั คมโดยการมสี ว นรว มของบุคคล ชมุ ชน องคกร
สถาบันและหนวยงานทเ่ี ก่ียวของกบั การจดั และพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษา
3.2 เสนอแผนพัฒนาการศึกษาใหสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษารบั ทราบ
3.3 การดาํ เนนิ การโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
4. งานวจิ ัยเพื่อพฒั นานโยบายและแผน
4.1 ศกึ ษา วิเคราะห วิจยั การจดั และพฒั นาการศึกษาของสถานศกึ ษาตามกรอบ ทิศทางของ
เขตพน้ื ที่การศึกษา และตามความตอ งการของสถานศึกษา
4.2 แจง ผลการศึกษาวจิ ยั ของสถานศกึ ษาใหเ ขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษารบั ทราบ
4.3 เผยแพรผ ลการศึกษาวิจัยของสถานศึกษาใหบุคลากรในสถานศึกษาและสาธารณชน
ทราบ
5. การจดั ระบบการบรหิ ารและพฒั นาองคกร
5.1 ศกึ ษาวเิ คราะหจัดทาแผนกลยุทธพ ัฒนาสถานศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการพฒั นา
สถานศกึ ษา
5.2 กําหนดตวั ชีว้ ดั ความสําเร็จของการบริหารจดั การ
5.3 จดั ระบบการบรหิ ารและพัฒนาสถานศึกษาใหเ ปนองคกรทีท่ ันสมยั และมีประสิทธิภาพ
5.4 ประเมนิ ผลงานและรายงาน
5.5 ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบการบริหารงานสถานศึกษาอยางตอเนอื่ ง
6. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัติงาน

๑๒๒
6.1 กําหนดมาตรฐานและตัวบงช้ผี ลการปฏบิ ัติงานแตล ะดานของสถานศึกษา
6.2 เผยแพรม าตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษาใหผูรับผิดชอบและผูทเี่ กี่ยวขอ งทราบ
6.3 ติดตามประเมนิ ผลการปฏิบัติงานตามาตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา
6.4 ปรับปรงุ และพัฒนาท้ังมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านและระบบการประเมินมาตรฐานการ
ปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา
7. งานเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา
7.1 วางแผนและดําเนนิ การนํานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษามาใชในการบริหาร
และพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
7.2 ระดมจดั หาเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาในงานดานตางๆของสถานศกึ ษา
7.3 สนบั สนุนและพฒั นาใหบ ุคลากรสามารถนานวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษามาใช
ในการบรหิ ารและพัฒนาการศึกษา
7.4 สงเสรมิ ใหมกี ารวิจยั และพฒั นาการผลิตการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
7.5 ติดตามประเมินผลการใชเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา
8. การดาํ เนินงานธุรการ
8.1 ศกึ ษาวเิ คราะหสภาพระบบงานธุรการและระเบยี บ กฎหมายทเ่ี ก่ยี วของ
8.2 วางแผนออกแบบระบบงานธุรการ โดยนําเทคโนโลยมี าชว ยเพือ่ ลดข้นั ตอนการ
ปฏิบัตงิ าน
8.3 จัดบุคลากรรบั ผดิ ชอบและพฒั นาใหมีความรูความสามารถในการปฏบิ ัติงานธรุ การ
8.4 จดั หาเทคโนโลยที ท่ี ันสมัยทสี่ ามารถรองรับการปฏิบตั ิงานดานธรุ การไดตามระบบงานท่ี
กําหนดไว
8.5 ดาํ เนนิ งานธุรการตามระบบทีก่ าํ หนดไว โดยยึดหลกั ความถูกตอง รวดเรว็ ประหยดั และ
คมุ คา
8.6 ตดิ ตามประเมนิ ผลและปรับปรงุ งานธุรการใหม ีประสทิ ธภิ าพ
9. การดูแลอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดลอม
9.1 กาํ หนดแนวทางวางแผนการบริหารจัดการอาคารสถานทีแ่ ละสภาพแวดลอ ม
9.2 บาํ รุง ดูแล และพฒั นาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมของสถานศกึ ษาใหอยูใ นสภาพ
พรอมใช ม่นั คง ปลอดภัย และสวยงาม
9.3 ติดตามและตรวจสอบการใชอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมของสถานศกึ ษา
10. การจดั ทาํ สํามะโนผูเรียน
10.1 ประสานกับชมุ ชนและทอ งถนิ่ ในการสาํ รวจและจดั ทําสํามะโนผเู รยี นทจ่ี ะเขา
รับบรกิ ารทางการศึกษาของสถานศึกษา
10.2 เสนอสํามะโนผูเ รียนใหเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษารบั ทราบ
10.3 จดั ระบบขอมลู สารสนเทศจากการสาํ มะโนผูเรียน
10.4 เสนอขอ มลู สารสนเทศการสาํ มะโนผูเ รยี นในเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
11. การรับนักเรียน
11.1 รวมกับสํานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษากาํ หนดเขตพน้ื ท่ีบรกิ ารการศึกษาของแตละ
สถานศกึ ษาโดยประสานงานกับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา
11.2 กาํ หนดแผนการรบั นักเรียนของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกบั เขตพื้นที่การศึกษา

๑๒๓
11.3 ดาํ เนนิ การรับนักเรียนตามแผนท่กี ําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน
12. การเสนอความเหน็ เกี่ยวกับเรื่องการจัดตั้ง ยบุ รวมหรอื เลิกสถานศึกษา
12.1 เสนอขอ มูลและความตองการในการยุบรวมเลิกหรือเปล่ียนสภาพสถานศกึ ษาไปยังเขต
พื้นทกี่ ารศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
13. การประสานการจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศยั
13.1 สาํ รวจความตองการในการเขา รบั บริการการศึกษาทุกรูปแบบท้งั ในระบบ นอกระบบ
และ ตามอัธยาศัย
13.2 กาํ หนดแนวทางและความเชอ่ื มโยงในการจดั และพัฒนาการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทง้ั
การศกึ ษาในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาในระบบการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามความตองการของ
ผเู รยี นและทองถน่ิ ท่ีสอดคลองกับแนวทางของเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
13.3 ดาํ เนินการจดั การศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงหรือทง้ั 3 รูปแบบตามความ
เหมาะสมและศักยภาพของสถานศกึ ษา รวมท้ังเช่อื มโยงประสานความรวมมือและสงเสรมิ สนับสนุนการจดั
การศึกษาของบุคคล ชุมชน องคกร หนว ยงานและสถาบนั ตางๆทจ่ี ดั การศึกษา
14. การระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา
14.1 กาํ หนดแนวทางการระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษาของสถานศกึ ษา
14.2 ระดมทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาของสถานศึกษาในทกุ ดา น ซ่งึ ครอบคลมุ ถึงการประสาน
ความรว มมอื กับบุคล ชมุ ชน องคกรเอกชน องคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน หนวยงานสถานประกอบการ สถาบนั
สงั คมอน่ื และสถานศกึ ษาในการใชทรพั ยากรเพ่ือการศึกษารว มกัน
14.3 ดําเนนิ การโดยความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
15. การทศั นศึกษา
15.1 วางแผนการนํานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษานอกสถานศกึ ษา
15.2 ดําเนินการนานักเรยี นไปทศั นศึกษานอกสถานศึกษา ตามหลักเกณฑและวิธีการ
กําหนด
16. การสงเสรมิ งานกิจการนักเรยี น
16.1 ดําเนนิ การจัดกจิ กรรมนักเรยี นและสงเสริมสนับสนุนใหน กั เรยี นไดมสี ว นรว มในการจัด
กจิ กรรมอยางหลากหลายตามความสนใจและความถนดั ของนักเรียน สรุปและประเมินผลเพอ่ื ปรบั ปรุง
17. การประชาสัมพนั ธง านการศึกษา
17.1 วางแผนการประชาสมั พนั ธงานการศกึ ษาของสถานศึกษา
17.2 ดําเนินการประชาสัมพันธง านการศึกษาตามแนวทางทก่ี าํ หนด
17.3 ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ปรบั ปรงุ และพฒั นาการประชาสมั พนั ธก ารศึกษาของสถานศึกษา
18. การสงเสริม สนับสนนุ และประสานการจัดการศึกษาของบุคคลชมุ ชน องคก ร หนวยงานและ
สถาบันสงั คมอน่ื ท่จี ัดการศึกษา
18.1 ใหคาํ ปรึกษา แนะนาํ สงเสรมิ สนับสนนุ และประสานความรวมมือในการจัดการศึกษา
รว มกบั บุคคล ชมุ ชน องคก ร หนว ยงาน และสถาบนั อน่ื ทีจ่ ัดการศึกษา
19. งานประสานราชการกับสว นภูมิภาคและสวนทอ งถ่นิ
19.1 ประสานความรวมมือกับหนว ยงานราชการสว นภูมิภาคในการจัดและพัฒนาการศึกษา
ของสถานศกึ ษา

๑๒๔
19.2 ประสานความรว มมือกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และสถานศึกษาขององคก ร
ปกครองสว นทองถน่ิ ในการจดั และพัฒนาการศึกษารว มกนั
20. การรายงานผลการปฏบิ ัติงาน
20.1 จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและการรายงานผลการพัฒนาการศึกษา
ของสถานศึกษา
20.2 จัดทําเกณฑม าตาฐาน ตัวบงช้ี และเกณฑก ารติดตาม ตรวจสอบและแระเมนิ ผลการ
พัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
20.3 ดําเนนิ การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
ตามระบบทก่ี ําหนดไว
20.4 รายงานผลการพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษาใหส ํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ และสาธารณชนทราบ
20.5 ปรับปรงุ และพฒั นาระบบการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และการรายงานผลการ
พัฒนาการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
21. การจดั ระบบควบคมุ ภายในหนวยงาน
21.1 วิเคราะหกําหนดมาตรการในการปองกันความเสีย่ งในการดาํ เนินงานของสถานศึกษา
21.2 วางแผนการจัดระบบการควบคมุ ภายในสถานศึกษา
21.3 ดําเนนิ การควบคุมตามหลกั เกณฑและวิธกี ารทีส่ าํ นักงานตรวจเงนิ แผน ดนิ กําหนด
21.4 ตดิ ตามและประเมินผลการควบคุมภายในและรายงานใหเขตพ้นื ที่การศกึ ษาทราบ
22. แนวทางการจัดกิจกรรมเพ่อื ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมในการลงโทษนกั เรียน
22.1 ศกึ ษาสภาพปญหาเกยี่ วกับพฤติกรรมของนักเรยี น ระเบยี บ กฎหมายที่เกยี่ วของ
22.2 การวางแผนงานปกครองนกั เรยี น
22.3 การบรหิ ารงานปกครองนกั เรยี น การกําหนดหนาที่ความรบั ผดิ ชอบการประสานงาน
ปกครอง
22.4 การสง เสริมพฒั นาใหนักเรยี นมนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม ไดแก การจัดกจิ กรรมสง เสริม
พฒั นาดานความรบั ผดิ ชอบตอสงั คม การจัดกจิ กรรมสงเสริมพัฒนาการใชเวลาวางใหเปนประโยชนก ารยกยอง
ใหก าํ ลังใจแกน กั เรียนผูประพฤตดิ ี
22.5 การปอ งกันและแกไขพฤติกรรมทีไ่ มเหมาะสมของนกั เรยี น ไดแ ก การปอ งกันและแกไ ข
พฤติกรรมท่ีไมเ หมาะสม การดําเนนิ งานปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ ในโรงเรยี น การดาํ เนนิ งานปองกนั
และแกไขปญหาโรคเอดสในโรงเรยี น
22.6 การประเมินผลงานปกครองนักเรยี น

๑๒๕

บทท่ี 5
แนวทางการติดตาม วดั และประเมนิ ผล

เพือ่ ใหแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาสัมฤทธิผ์ ลตามเปาหมาย พันธกจิ และวสิ ัยทัศนท่ีกาํ หนด
ควรมีการสรางเคร่ืองมือ กลไกบุคคล/คณะบุคคลติดตามวัดและประเมินผลการดําเนนิ งาน ดังนี้

1. การจดั ใหมีสว นรวมจากคณะครู ผูแทนนักเรยี น/ผูป กครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษาในการรา งและจดั ทาํ แผนพัฒนาการจดั การศึกษาอยางท่ัวถึงและครอบคลุมทุกกลมุ คณะ

2. การจดั ใหม ีกลไกการประสานแผนงานและกลยุทธต างๆภายในแผน การ
กําหนดบุคคลหรือคณะบุคคลรว มรับผิดชอบการดําเนินงานในแตล ะกลยุทธ

3. การสรา งหรือทบทวนความรู การสรางความเขาใจในการวางแผน การจดั ทาํ
แผนการดาํ เนนิ งานตามแผนและการประเมินตนเองพรอมท้ังรายงานผลการดําเนนิ งานในสวนทีร่ บั ผดิ ชอบแก
คณะครู

4. การจดั ใหม ีการประชาสัมพนั ธใหผูม สี ว นเกี่ยวขอ งทกุ ฝา ยไดทราบ
สาระสําคญั อยา งงา ยๆของแผน ตลอดท้งั ภาพแนวทางการดําเนนิ งานที่ชัดเจน

5. การจดั ใหม ีการพฒั นาระบบฐานขอมลู ใหเ ปน ปจจบุ นั เพื่อใชประโยชนใ น
การปรบั ปรงุ กิจกรรม โครงการ กจิ กรรมหลกั เปา หมายและตวั ชีว้ ดั ความสาํ คัญ ใหส อดคลอ งและทนั กับสภาพ
ทม่ี อี ยูแลวจรงิ

6. มีการพฒั นาสมรรถนะและศักยภาพของคณะครูในการนําแผนสูการปฏบิ ตั ิ
7. มีเวทีหรือจัดใหมีการประชมุ ทางวชิ าการหรอื ประชุมยอยท่ีมีการนาํ และเปด
โอกาสใหม ีการพดู คุยและแลกเปล่ียนขอมูล ปญ หา และแนวปฏิบัตใิ นการแกไขปญ หาทเี่ กดิ ข้ึนระหวา งการ
ปฏบิ ตั งิ านตามแผน
8.มกี ารปรับปรงุ เชอ่ื มโยงกบั นโยบายและแผนพฒั นาการศึกษาของหนว ยงานตนสงั กดั หรอื
สว นราชการท่เี กยี่ วขอ งรายปเ สมอ
9.มกี ารปรับปรุงพฤตกิ รรมของผูบรหิ าร ใหมีคุณลักษณะตามวสิ ัยทัศนทก่ี าํ หนด
และมีความเปน ผนู าํ ทีจ่ ะนาํ โรงเรยี นไปสูวิสัยทศั นไ ดจรงิ พรอมท้ังเปน ผนู ําการเปลย่ี นแปลงในรปู แบบการคดิ
ริเร่ิมตัวอยา งงานหรือวิธีการทํางานอยางงา ยและเกดิ ผลดีในทางปฏิบัตแิ กคณะครูเสมอ
10.มีความพยายามหรือมีการปฏิบัติงานตามบทบาทหนาที่ท้งั สวนของผูบริหาร
และคณะครูตามที่กําหนดไวในแผน
11.มคี วามพยายามหรือมีการชักจูง กํากับใหนักเรยี นเกิดการปฏิบตั ิหนา ท่ีตามที่
กาํ หนดไวใ นแผน
12.มกี ารประสาน การสนับสนุน การจดั การหวานลอมใหเ กิดความรวมมือหรือ
ขอตกลงในการปฏบิ ตั ิตามบทบาทหนา ท่ขี องผปู กครอง ชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน องคกร
ปกครองสวนทองถนิ่ และองคกรสถาบันอืน่ ตามที่กาํ หนดไวในแผน
13.มีการติดตาม วัดและประเมนิ ผลแผนพฒั นาการจดั การศึกษา ดังน้ี

๑) การกํากับติดตามกระบวนการ PDCA โรงเรียนวัดชองลม
กําหนดการกาํ กบั ติดตามการดําเนนิ งานโครงการตามกลยุทธโดย ผูบ รหิ าร และหวั หนา งาน ซึง่ การกํากับ
ตดิ ตามการดําเนนิ งานยดึ หลัก PDCA : DEMING CYCLE - วงจรคณุ ภาพ โดย Dr.Edward W. Deming

๑๒๖
- P : PLAN การวางแผนจัดทาํ โครงการ

- วัตถุประสงคเหมาะสม และสอดคลองกับแผนของพันธกจิ หรือไม
- มีการกําหนดผรู บั ผิดชอบหรอื ไม
- ระยะเวลาดาํ เนินการท่ีกาํ หนดไวเ หมาะสมหรือไม
- งบประมาณทก่ี าํ หนดเหมาะสมหรือไม
- มกี ารเสนอเพอ่ื ขออนมุ ตั ิกอนดาํ เนนิ การหรือไม
- D : DO การกํากับติดตามการปฏิบัติงานตามโครงการ
- มีการกําหนดข้ันตอนหรือวธิ กี ารดําเนินการหรือไม
- มผี ูรบั ผิดชอบดําเนนิ การไดตามทก่ี ําหนดไวหรอื ไม
- มกี ารประสานงานกับผทู ่ีเก่ียวขอ งมากนอ ยเพียงไร
- สามารถดาํ เนินการตามระยะเวลาทกี่ าํ หนดหรือไม
- สามารถดาํ เนนิ การไดตามงบประมาณท่กี ําหนดไวหรอื ไม
- C : CHECK ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนนิ งาน
- ไดมกี ารกําหนดวิธ/ี รูปแบบการประเมินหรือไม
- มรี ปู แบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม
- ผลของการประเมินตรงกับวัตถปุ ระสงคท่วี างไวห รือไม
- ปญ หา/จดุ ออนที่พบในการดาํ เนนิ การมีหรือไม
- ขอดี/จดุ แขง็ ของการดําเนินการมีหรอื ไม
- A : ACTION นําขอมลู ที่ไดจากการกาํ กับติดตามการดําเนนิ งานไปปรบั ปรุงตอไป
- มีการระดมสมองเพื่อหาทางแกปญ หา/จุดออนท่ีคน พบ
- มีการระดมสมองเพ่ือหาทางเสริมขอ ดี/จดุ แข็งเพมิ่ ขึน้
- มีการนาํ ผลท่ีไดจ ากการระดมสมองเสนอผบู รหิ ารเพื่อพจิ ารณาสําหรบั ใชว างแผน
จดั ทาํ โครงการในครง้ั ตอไป
- กาํ หนดกลยทุ ธในการจดั ทาํ แผนครงั้ ตอ ไป
2) ติดตามความกาวหนาประจาํ ป เปน การติดตามความกา วหนา ของตวั ช้ีวัด
ในแตละกลยุทธ เพ่อื ตรวจสอบถึงผลงานท่เี กิดข้ึนจรงิ เปรยี บเทยี บกบั เปาหมายที่กาํ หนด อนั จะนาํ ไปสูการ
ทบทวนปรับปรงุ แกไขเปาหมายและกลยทุ ธใ หมคี วามเหมาะสมตอไป การวัดและประเมนิ ผลเปนระยะ โดย
ประเมนิ ผลในชว งแรก ส้นิ สดุ ปการศึกษา 2563 เพื่อทบทวนผลความกาวหนา และปญ หาอุปสรรค รวมทงั้
ทบทวนกลยทุ ธ ตัวช้วี ดั เปา หมาย หรอื เพ่ือการปรบั เปลยี่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปการศึกษา 25๖4 และป
ตอ ไป
3) การประเมินผลเมอ่ื สิน้ สุดแผน เปน การประมวลผลแผนพัฒนาการจัด
การศึกษา 3 ป เมอื่ ส้นิ สุดปการศกึ ษา 2565 เพ่ือสรุปผลการพฒั นาการจัดการศกึ ษา พจิ ารณาผลสัมฤทธ์ิ
ของงานทีเ่ กิดข้ึนตลอดชว งเวลา 4 ปการศึกษา และเพอื่ ใชเปน ฐานขอมลู หลักในการจดั ทําแผนพฒั นาการจัด
การศึกษา ประจาํ ปก ารศึกษา 2566 -2568
14. การจัดทาํ รายงานผลการปฏิบตั งิ านประจาํ ปการศกึ ษาตามแผนปฏบิ ัติการ
ประจําปการศกึ ษา

๑๒๗

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version