The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lomanois, 2021-10-21 02:19:28

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3 ปี (พ.ศ.2563-2565) โรงเรียนอนุบาลวัดช่องลม

๔๖

ยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ : การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา
มีเปา หมาย ดงั นี้

๔.๑ ผูเรยี นทกุ คนไดร ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา ถึงการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ
๔.๒ การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา นเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษาสาํ หรับคนทกุ ชว งวยั
๔.๓ ระบบขอ มลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถกู ตองเปนปจจบุ ัน เพอ่ื
การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การติดตามประเมิน และรายงานผล

ยุทธศาสตรท่ี ๕ : การจัดการศึกษาเพ่ือสรางเสริมคุณภาพชวี ติ ที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม
มเี ปา หมาย ดงั น้ี

๕.๑ คนทุกชว งวยั มจี ิตสาํ นึกรกั ษส่งิ แวดลอ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาํ แนวคดิ ตาม หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู ารปฏิบตั ิ

๕.๒ หลกั สูตร แหลงเรยี นรู และสือ่ การเรียนรูท่สี งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ท่เี ปนมติ รกบั สิง่ แวดลอ ม
คณุ ธรรม จริยธรรม และการน าแนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู การปฏิบตั ิ

๕.๓ การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เปนมิตร กบั
สิ่งแวดลอ ม

ยทุ ธศาสตรท ี่ ๖ : การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา มเี ปาหมายดงั น้ี
๖.๑ โครงสรา ง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัวชัดเจน และ
สามารถตรวจสอบได
๖.๒ ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสงผลตอคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศึกษา
๖.๓ ทุกภาคสวนของสงั คมมสี วนรวมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของ
ประชาชนและพ้ืนที่
๖.๔ กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรบั ลักษณะท่ี แตกตาง
กนั ของผเู รยี น สถานศึกษา และความตองการกําลังแรงงานของประเทศ
๖.๕ ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามคี วามเปนธรรม สราง
ขวัญกําลงั ใจ และสงเสริมใหป ฏิบตั ิงานไดอ ยางเต็มตามศักยภาพ

3.1.2 นโยบายและจุดเนน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ. 2563
ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงบประมาณ

พ.ศ. 2563 มจี ุดประสงคใหการจดั การเรียนการสอนมีความสอดคลองกับยทุ ธศาสตรชาติ โดยเฉพาะนโยบาย
เรง ดว นเรอ่ื งการเตรียมคนสูศตวรรษที่ 21 กระทรวงศึกษาธิการจงึ ประกาศนโยบายและจุดเนนของกระทรวง
ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ดังน้ี

หลกั การ
1. ใหความสาํ คัญกับประเด็นคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพในทุกมิติ ท้ังบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ขา ราชการพลเรือน ผบู รหิ ารทุกระดับ ตลอดจนสถานศกึ ษาทกุ ระดับทกุ ประเภท และเปนการศึกษาตลอดชีวติ

๔๗
2. บูรณาการการทํางานรวมกนั ระหวางสว นราชการหลกั องคการมหาชนในกํากับของ
รัฐมนตรวี า การกระทรวงศึกษาธิการ ใหมีความคลองตัว รวมท้ังหนวยงานสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพื้นท่ี
ภมู ิภาคใหสามารถปฏิบัตงิ านรว มกนั ได เพอ่ื ดําเนนิ การปฏิรปู การศกึ ษารวมกบั ภาครฐั ภาคเอกชนและภาค
ประชาชนตามนโยบายประชารัฐ
ระดับอนบุ าล
เนนสรา งความรวมมอื กบั ผปู กครองและชุมชน เพ่ือออกแบบกิจกรรมการพฒั นาทักษะที่สาํ คัญ
ดา นตาง ๆ เชน ทักษะทางสมอง ทกั ษะความคิดความจํา ทักษะการควบคุมอารมณ ทักษะการรูจ ักและ
ประเมินตนเอง
ระดบั ประถมศึกษา
มงุ คํานึงถึงพหปุ ญญาของผเู รยี นรายบุคคลที่แตกตางกนั ตามศักยภาพ ดงั น้ี
1. ปลูกฝงความมีระเบยี บวินัย ทศั นคติที่ถูกตอง โดยใชกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด
2. เรียนภาษาไทย เนน เพอ่ื ใชเ ปนเคร่ืองมือในการเรยี นรวู ิชาอื่น
3. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพืน้ ถน่ิ (ภาษาแม) เนน เพ่ือการสื่อสาร
4. เรียนรูดว ยวธิ ีการ Active Learning เพื่อพฒั นากระบวนการคดิ การเรยี นรู จากประสบการณ
จรงิ หรอื สถานการณจ าํ ลองผานการลงมือปฏบิ ตั ิ และเปดโลกทัศนมมุ มองรว มกนั ระหวางผูเรยี นกับครดู วยการ
จดั การเรียนการสอนในเชิงแสดงความคดิ เห็นมากขน้ึ
5. สรางแพลตฟอรม ดิจทิ ัลเพ่อื การเรียนรู และใชดิจิทัลเปนเครอื่ งมือการเรยี นรู
6. จัดการเรียนการสอนเพื่อฝกทกั ษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน ขน้ั ตอน (Coding)
7. พัฒนาครใู หมีความชํานาญในการสอนภาษาอังกฤษและภาษาคอมพวิ เตอร (Coding)
8. จัดใหม โี ครงการ 1 ตาํ บล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ เนน ปรบั สภาพแวดลอ มทงั้ ภายในและภายนอก
บริเวณโรงเรียนใหเ อ้ือตอ การสรา งคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ

3.1.3 นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปง บประมาณ พ.ศ. 2563
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ไดกําหนดนโยบายประจําปง บประมาณ พ.ศ.

๒๕๖๓ ดงั น้ี
นโยบายที่ ๑ ดา นการจัดการศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของมนษุ ยและของชาติ
มาตรการและแนวทางการดาํ เนินการ
1.๑ พัฒนาผูเ รียนใหเ ปนพลเมอื งดีของชาติและเปนพลโลกที่ดี เปนมาตรการในการ

พฒั นาผเู รยี นใหมคี วามรกั ในสถาบนั หลักของชาตยิ ึดมน่ั ในการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข มที ัศนคตทิ ่ีดีตอ บานเมือง มหี ลักคิด ทถี่ กู ตอง เปนพลเมอื งดีของชาติและ
พลเมอื งโลกท่ีดีมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคา นิยมท่ีพึงประสงค มคี ณุ ธรรมอัตลักษณมีจติ สาธารณะ มจี ิตอาสา
รับผดิ ชอบตอ ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมและประเทศชาติ ซ่อื สัตยสจุ ริต มธั ยสั ถอ ดออม โอบออ มอารีมีวนิ ัย
และรักษาศีลธรรม

๔๘
หนาท่ีของสถานศึกษา
(๑) พัฒนาหลักสูตรของสถานศกึ ษา โดยนําพระบรมราโชบายดานการศึกษา ของ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจา อยหู วั และหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงไปบรู ณาการจดั กิจกรรมการเรียนรเู พื่อพฒั นาผเู รยี นมี คุณลักษณะอนั พึงประสงคตามที่
กําหนด
(๒) จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอ ม และจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใหผูเรียนแสดงออก ถงึ ความรกั ใน
สถาบนั หลักของชาติ ยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย ทรงเปนประมขุ มที ศั นคติ
ทด่ี ีตอบานเมอื ง มหี ลกั คิดท่ีถูกตอ ง เปน พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลก ที่ดีมีคุณธรรม จริยธรรม มคี านยิ ม
ทีพ่ งึ ประสงค มีคุณธรรมอตั ลักษณ มจี ติ สาธารณะ มีจิตอาสา รบั ผิดชอบตอ ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และ
ประเทศชาติซือ่ สตั ย สุจรติ มัธยัสถ อดออม โอบออ มอารี มีวินยั และรกั ษาศลี ธรรม

1.๒. พัฒนา ผูเรียนมคี วาม ใหมีความพรอมสา มารถรับมือกบั ภัยคุกคาม ทกุ รูปแบบ
ทุกระดับความรนุ แรง ท่มี ีผลกระทบตอความมน่ั คงของประเทศ เปน มาตรการในการพัฒนาผูเรยี นใหม ี
ความรูค วามสามารถในการรับมอื กับภยั คุกคาม รูปแบบใหมท กุ รปู แบบ ทุกระดบั ความรุนแรง เชน ภัยจากยา
เสพติด ภัยจากความรนุ แรง การ คุกคามในชีวติ และทรพั ยสนิ การคามนุษยอาชญากรรมไซเบอรและภัยพิบตั ิ
ตา ง ๆ เปน ตน ควบคูไ ปกบั การปองกันและแกไ ขปญ หาท่ีมีอยูในปจจุบนั และทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ ในอนาคต

หนา ทข่ี องสถานศกึ ษา
(๑) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู หผ ูเ รยี นมีความรู ความเขาใจ
เกีย่ วกับภยั คกุ คามท่ีมผี ลกระทบตอความม่นั คง ภยั จากยาเสพตดิ ความรนุ แรง การคุกคามในชวี ติ และ
ทรพั ยส ิน การคามนุษย อาชญากรรม ไซเบอร ภยั พบิ ัตแิ ละภาวะฉุกเฉนิ และภยั คุกคามรูปแบบใหม ตลอดจน
รูจ กั วิธีการปอ งกนั และแกไขหากไดรบั ผลกระทบจากภยั ดังกลาว
(๒) มีมาตรการและแนวทางการปองกันยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน
(๓) จดั สภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหม ีความม่นั คงปลอดภัย
(๔) มีระบบการดูแล ติดตาม และชว ยเหลอื ผเู รียน ในการแกป ญหาตาง ๆ ไดรับคําปรึกษา
ชแี้ นะและความชว ยเหลอื อยางทนั การณ ทันเวลา รวมทงั้ การอบรมบมนสิ ยั
1.๓ การจดั การศึกษาในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต
1.๔ การพฒั นาคณุ ภาพผเู รียนในเขตพน้ื ทีเ่ ฉพาะ
นโยบายที่ ๒ ดา นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เพมิ่ ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ
พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นเตม็ ตามศักยภาพ นาํ ไปสคู วามเปนเลิศดานวิชาการ ตามความสามารถ ความ
สนใจ มที ักษะท่จี าํ เปน ในศตวรรษที่ ๒๑ สรางขดี ความสามารถในการแขง ขัน ของประเทศ
หนา ท่ีของสถานศึกษา
๒.๑ ดําเนินการวัดแววผูเรยี น และพฒั นาขีดความสามารถของผูเ รียนตามศกั ยภาพ และ
ความถนัด โดยจดั การเรยี นรูผานกิจกรรมการปฏิบัตจิ รงิ ( Active Learning) เชน การจดั การเรยี นรตู าม
กระบวนการ ๕ ข้นั ตอนหรือบนั ได ๕ ขนั้ ( Independent Study : IS) การเรียนรู เชิงบรู ณาการแบบสห
วทิ ยาการ เชน สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM
Education) เปน ตน โดยสง เสริมใหค รูจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อพัฒนาผเู รยี นใหผ ูเ รยี นเรียนรูดวยตนเองผา น
ระบบดจิ ทิ ัล (Digital Learning Platform)

๔๙
๒.๒ ปรับเปลย่ี นอัตลกั ษณของสถานศึกษาใหมงุ เนนการจัดการเรียนรูใหผเู รียน มคี วามเปน
เลิศทางวิชาการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผูเรียน และจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาสุขพลานามัย
ใหเปนคนทส่ี มบรู ณแ ข็งแรงทง้ั รา งกายและจิตใจ
๒.๓ สถานศึกษา พัฒนาหลกั สูตรและการจดั กิจกรรมกระบวนการเรียนรูเพ่ือพฒั นา ผูเรียน
ใหมีความเปนเลศิ ทางวิชาการตามความสนใจ และความถนัดเต็มตามศักยภาพ
๒.๔ สงเสรมิ สนับสนุน ใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนา เพื่อปรับเปลี่ยน
กระบวนการจัดการเรียนรูใหแกผูเรียนโดยเนนการจัดการเรียนรูใหแกผูเรียน เปนรายบุคคลตามความตองการ
และความถนดั ของผเู รียน
๒.๕ จัดกิจกรรมการเรียนรู ใหผูเรียนมีความเปนเลิศในทักษะสื่อสารภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี ๓ เพิ่มเตมิ อยา งนอ ย ๑ ภาษา
๒.๖ ปรับเปลี่ยนวิธีการวัด ประเมิน ผลการเรียนของผูเรียน โดยมุง เนน การวดั ประเมนิ ตาม
สมรรถนะรายบุคคล โดยการจัดใหมีการวัดประเมินจากสวนกลางในชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ และชั้นมัธยมศึกษา
ปท ่ี ๖ ๒.๗ สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานตอสํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและหนวยงาน ทีเ่ กยี่ วของ
นโยบายที่ ๓ ดา นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
มุงเนนการพัฒนา ทรัพยากรมนุษยเร่ิมตั้งแตประชากรวัยเรียนทุกชวงวัย ตลอดจนการ
พัฒนา ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ดังน้ี พัฒนาประชากรวัยเรียนทุกคน ทุกชวงวัย ต้ังแตชวงปฐมวัย
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ผูเรียนที่มีความตองการดูแลเปนพิเศษ ใหมีความพรอมท้ังทางดานรางกาย
จิตใจ อารมณสังคม และสติปญญา มีศักยภาพ มีทักษะความรูเปนคนดีมีวินัย เรียนรูไดดวยตนเอง มี
ความสามารถในการวางแผนชวี ิตและการวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวติ อยางมีคุณคา โดย
การพัฒนาระบบการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มีการออกแบบระบบการเรียนรู
ใหม พัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต ผูเรียนสามารถกํากับการเรียนรู ที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเนื่อง
แมจะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมถึงความตระหนักถึง พหุปญญาของมนุษยที่หลากหลาย และการ
พัฒนาและรักษากลุมผูมีความสามารถพิเศษของพหุปญญา แตละประเภท เสริมสรางใหผูเรียนมีลักษณะนิสัย
มคี วามรักในสุขภาพและพลานามัย และพัฒนาทักษะ ดานกีฬาสคู วามเปน เลิศ และกีฬาเพ่ือการอาชพี ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหคนไทยเปนคนดี คนเกง มี
คณุ ภาพ พรอมสําหรับวถิ ชี ีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ตองตระหนักถงึ ความสาํ คัญใน
อาชีพและหนาที่ของตน โดย ครูตองมีจิตวิญญาณ ของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง และ
เปนตนแบบดานคุณธรรมและจริยธรรม พัฒนาตนเองทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง เพื่อประโยชนในการพัฒนา
ผูเรียน เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ใหเปนครูยุคใหม โดยปรับบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” หรือ
ผูอํานวยการการเรียนรูทําหนาที่ กระตุน สรางแรงบันดาลใจ แนะนําวิธีเรียนรูและวิธีจัดระเบียบการสราง
ความรู ออกแบบกิจกรรม และสรางนวัตกรรมการเรียนรูใหผูเรียน และมีบทบาทเปนนักวิจัยพัฒนา
กระบวนการเรยี นรูเพื่อผลสมั ฤทธิ์ ของผูเรียน
มาตรการและแนวทางการดําเนนิ การ
๑. พฒั นาหลักสตู รทกุ ระดบั การศกึ ษา เปนมาตรการสนบั สนนุ ใหม กี ารพัฒนาหลักสตู ร
แกนกลางใหเปนหลกั สตู ร เชิงสมรรถนะ สอดคลองกับทักษะทจ่ี ําเปน ในศตวรรษที่ ๒๑ เออ้ื ตอการพัฒนา
สมรรถนะผูเรียน เปนรายบคุ คลอยา งเหมาะสมทกุ ดานทัง้ ทางดา นรางกาย จิตใจ อารมณส ังคม และสติปญญา
มีทักษะสื่อสารภาษาไทย

๕๐
หนาท่ีของสถานศึกษา คือ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง เนน
การพฒั นาผูเ รียนเปนรายบคุ คล
(หลกั สูตรเชิงสมรรถนะ) และปรับเปลี่ยนการจดั การเรยี นรู ใหตอบสนองตอความตอ งการของผูเรียนและบริบท
ของพ้นื ที
๒. การพฒั นาศักยภาพ และคณุ ภาพของผูเ รยี น

๒.๑ การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของผูเรียนระดับปฐมวัย เด็กปฐมวัยไดรับการพัฒนา
เหมาะสมกับวัยในทุกดาน ท้ังทางดานรางกาย จิตใจ อารมณสังคม และสติปญญา มีวินัย มีทักษะสื่อสาร
ภาษาไทย และมที ักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ (ฟง พูด) และทักษะดานดจิ ิทัล พรอมท่ีจะไดรบั การพัฒนาในระดับ
การศกึ ษาทีส่ ูงข้นึ

(1) จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในรูปแบบท่ีหลากหลาย จัดสภาพแวดลอมท้ังใน
และนอกหองเรียนใหเ ออ้ื ตอ การพฒั นาการเรยี นรู

(๒) จัดการเรยี นรู สรา งประสบการณ เนน การเรยี น เปนเลน เรียนรูอ ยา งมคี วามสุข
(๓) ปรับปรุงอาคารสถานที่ ส่ิงอํานวยความสะดวก สนามเด็กเลนใหไดมาตรฐาน มี
ความปลอดภัย สามารถจดั กจิ กรรมพัฒนาผูเรียนไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ
(๔) จดั หาส่ือ อปุ กรณ ทม่ี คี ุณภาพเหมาะสม มมี าตรฐาน และความปลอดภยั
(๕) อภิบาลเด็กปฐมวยั ใหม ีสขุ ภาวะท่ดี ี รางกายสมบรู ณ แข็งแรง ปราศจากโรค ภยั ไข
เจบ็
(๖) สรางความรูความเขาใจแกผูปกครองในการจัด การศึกษาปฐมวัย เพื่อการมีสวน
รวมและการสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานของสถานศึกษา
(๗) สรุปและรายงานผลการดาํ เนินงานตอสํานักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาและหนวยงาน
ท่เี ก่ยี วขอ ง
๒.๒ การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผูเรียนระดับประถมศึกษา ผูเรียนระดับประถมศึกษา
ไดรบั การพัฒนาทางดานรา งกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสติปญ ญา มวี นิ ัย มที กั ษะทจ่ี าํ เปน ในศตวรรษท่ี ๒๑
(๑) จัดการเรยี นรทู ใี่ หผ เู รียนไดเรียนรูผานกจิ กรรม การปฏบิ ตั ิจรงิ (Active Learning)
(๒) จัดการเรียนรูอยางเปนระบบมุงเนนการใชฐานความรู และระบบความคิดใน
ลักษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) เชน ความรทู างวิทยาศาสตรและการตง้ั คําถาม ความเขาใจและ
ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความรูทางวิศวกรรม และการคดิ เพ่ือหาทางแกป ญหา ความรูแ ละทักษะใน
ดานศิลปะ ความรดู านคณติ ศาสตรแ ละระบบคิดของเหตุผล และการหาความสมั พันธ
(๓) จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเต็มตามศักยภาพสอดคลอง กับความสามารถ ความถนัด
และความสนใจ รวมถึงกิจกรรมการแนะแนวทั้งดานศึกษาตอ และดานอาชีพ เปนการวางพื้นฐานการเรียนรู
การวางแผนชวี ิต และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสม และนาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด
(๔) จัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน มีทักษะพ้ืนฐานในการ
ดํารงชีวิต มสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวติ อยางมคี วามสขุ
(๕) จัดกิจกรร มการเรียนรูและพัฒนาดานอารมณ และสังคม (Social and Emotional
Learning : SEL)
(๖) จดั การเรยี นการสอนเพ่ือเพ่มิ ทกั ษะการคดิ แบบมีเหตุผลและเปน ขั้นตอน (Coding)

๕๑
(๗) ดําเนนิ การใหผเู รียนไดร บั ประทานอาหารอยา งครบถว น ถกู ตองตามหลักโภชนาการ
เปน ไปดว ยความถกู ตองตามระเบียบและวินัยการคลงั
(๘) สรุปและรายงานผลการดําเนนิ งานตอสาํ นักงานเขต พ้ืนท่กี ารศกึ ษาและหนว ยงานที่
เกย่ี วของ
๒.๓ การพฒั นาศกั ยภาพ และคุณภาพผูเรียนระดับมัธยมศกึ ษา ผูเรียนระดับมัธยมศกึ ษา
ไดร บั การพฒั นาทางดา นรางกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา มีวนิ ยั มที ักษะที่จําเปน ในศตวรรษท่ี ๒๑
มที กั ษะดา นการคิดวิเคราะหสงั เคราะห มที กั ษะดา นภาษาไทยเพ่ือใชในการเรียนรูม ีทักษะส่อื สารภาษาอังกฤษ
และภาษาที่ ๓ มีความสามารถ ในการใชเ ทคโนโลยีไดร บั การพัฒนาทกั ษะการเรียนรทู ่เี ชื่อมโยงสอู าชีพและการ
มีงานทํา นาํ ไปสู การมีทกั ษะอาชีพท่ีสอดคลองกบั ความตองการของประเทศ มคี วามยดื หยุน ทางดา นความคดิ
สามารถทาํ งานรวมกับผูอ ่นื ไดภายใตสงั คมทเ่ี ปน พหวุ ัฒนธรรม มที ักษะพน้ื ฐานในการดาํ รงชีวติ มีสุขภาวะท่ีดี
สามารถดํารงชีวิตอยา งมคี วามสขุ
(๑) สง เสริมครใู หจดั การเรยี นรูท ใ่ี หผ ูเรียนไดเรียนรผู าน กิจกรรมการปฏบิ ตั จิ ริง (Active
Learning)
(๒) สง เสริมครูใหจ ัดการเรียนรูตามกระบวนการ ๕ ขัน้ ตอน หรือบนั ได ๕ ข้นั
(Independent Study : IS)
(๓) สง เสรมิ สนับสนุนครูใหจัดการเรยี นรูอยา งเปนระบบ มุงเนน การใชฐานความรูและ
ระบบความคิดในลกั ษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) เชน ความรูท างวิทยาศาสตรแ ละการตั้งคาํ ถาม
ความเขา ใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความรทู างวิศวกรรม และการคดิ เพ่ือหาทางแกปญ หา
ความรูและทักษะในดานศลิ ปะ ความรดู านคณิตศาสตรและระบบคิดของเหตุผลและ การหาความสมั พนั ธ
(๔) จัดกิจกรรมพฒั นาผเู รียนทีม่ คี วามรแู ละทักษะดาน วทิ ยาศาสตร เปน นักคิด นักปฏิบัติ
นักประดิษฐ เปนนวตั กรรม นําไปสูก ารพัฒนานวัตกรรมในอนาคต รวมทง้ั จัดกจิ กรรมกีฬา การออกกําลงั กาย
และสนบั สนนุ ใหผเู รียน มศี กั ยภาพในการจัดการสขุ ภาวะ ของตนเองใหมสี ุขภาวะที่ดี สามารถดาํ รงชวี ิตอยางมี
ความสขุ ท้ังดานรา งกายและจิตใจ เมือ่ ถึงชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษาตอหรือการ
ประกอบอาชีพไดตามความ ถนัด ความตอ งการ และความสนใจของตนเอง
(๕) สง เสรมิ การเรยี นรูและพัฒนาดานอารมณและสงั คม (Social and Emotional
Learning : SEL)
(๖) สรปุ และรายงานผลการดําเนนิ งานตอ สาํ นักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาและหนวยงานท่ี
เกีย่ วขอ ง
๒.๔ พฒั นาคุณภาพผเู รียนทม่ี คี วามตองการดแู ลเปนพิเศษ เปน การจัดการศกึ ษาและพฒั นา
สมรรถภาพสําหรบั เดก็ พิการและเดก็ ดอย โอกาส ในรปู แบบที่หลากหลาย เหมาะสมกับบริบท และความ
ตอ งการจําเปน พเิ ศษเฉพาะบุคคล
๓. นําเทคโนโลยีดิจิทลั (Digital Technology) มาใชส นับสนุนการเรยี นรูใหแก ผเู รยี นทกุ
ระดับการจดั การศกึ ษา เปน มาตรการในการประยุกตใชเทคโนโลยดี ิจิทลั ในการสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน
พัฒนาวิธกี ารเรียนรขู องตนเอง ตามความตองการ และความถนัด ของผูเ รยี นสามารถสรางสังคม ฐานความรู
(Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพ่ือใหเกดิ การเรยี นรอู ยางตอเนอื่ งตลอดชีวติ
(๑) ประยุกตใ ชขอมลู องคความรู สือ่ วิดีโอ และองคค วามรูประเภทตาง ๆ หนงั สอื
แบบเรยี นในรูปแบบของดจิ ิทัลเทคบุค (Digital Textbook) ตามเนื้อหาหลกั สูตรทกี่ าํ หนด

๕๒

( ๒ ) จัดการเรยี นรูผา นระบบดจิ ิทัล ( Digital Learning Platform) เพ่อื ตอบสนองตอ
การพัฒนาการเรยี นรูข องผเู รียนเปน รายบคุ คล

(๓) จดั กจิ กรรมการเรยี นรเู พื่อพัฒนาผูเรียน ใหผ เู รยี นเรยี นรดู ว ยตนเอง ผา นการเรยี นรู
ผา นระบบดจิ ิทลั

4. การพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรทางการ
๔.๑ การผลติ ครทู ่ีมีคณุ ภาพ การผลิตครทู ีม่ ีคณุ ภาพ เปนมาตรการการสรางความ

รว มมือกับสถาบัน การผลิตครู ใหผลติ ครทู ่มี จี ิตวญิ ญาณของความเปน ครู มีความรคู วามสามารถอยา งแทจริง
และเปนตนแบบดา นคณุ ธรรมและจริยธรรม

๔.๒ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
เปนมาตรการที่สาํ นักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน จะตอ งดําเนนิ การเพ่ือใหครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศึกษาตระหนกั ถึง ความสําคัญในอาชพี และหนาทีข่ องตน โดยพฒั นาใหเ ปนครูเปนครูยุคใหม ปรับบทบาทจาก
“ครผู สู อน” เปน “Coach” หรือ “ผูอาํ นวยการการเรียนรู” ปรบั วิธสี อน ใหเ ดก็ สามารถแสดงความคิดเห็น
แลกเปลี่ยน เรยี นรู และทํากิจกรรมในชน้ั เรียน ทําหนา ท่ีกระตนุ สรางแรงบนั ดาลใจ แนะนําวธิ ีเรยี นรูแ ละวธิ จี ดั
ระเบยี บ การสรา งความรู ออกแบบกจิ กรรม และสรา งนวตั กรรมการเรยี นรูใ หผูเรียน มีบทบาทเปนนักวิจยั
พฒั นากระบวนการเรยี นรเู พอ่ื ผลสัมฤทธข์ิ องผูเรียน

นโยบายที่ ๔ ดา นการสรา งโอกาสในการเขาถึงบรกิ ารการศึกษาท่ีมคี ุณภาพ มีมาตรฐานและลด
ความเหล่ือมล้าํ ทางการศกึ ษา

๑. สรางความรวมมือกบั องคกรปกครองระดับทองถ่ิน ภาคเอกชน หนว ยงาน ที่เกีย่ วของในการ
จัดการศึกษา

ใหส อดคลองกับบริบทของพ้นื ที่
๒. การยกระดับสถานศกึ ษาในสงั กัดทุกระดบั และทุกประเภท ใหม ีคณุ ภาพ และมาตรฐานตาม

บริบทของพน้ื ที่
3. จดั สรรงบประมาณสนบั สนุนผูเรียนทกุ กลมุ และสถานศึกษาทกุ ประเภท อยางเหมาะสม และ

เพยี งพอ
๔. การประยุกตใ ชเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Technology) เปนเครือ่ งมอื ในการ พฒั นาคณุ ภาพ

ของผเู รยี น
นโยบายที่ ๕ ดา นการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอม
ยทุ ธศาสตรช าติดา นการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน มติ รตอสงิ่ แวดลอม ไดนอมนํา ศาสตร

ของพระราชาสูการพัฒนาท่ยี ่ังยนื โดยยดึ หลัก ๓ ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล มภี ูมคิ ุมกนั ” มา
เปน หลกั ในการจดั ทํายุทธศาสตรชาติควบคูก บั การนาํ เปาหมายของการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื ทั้ง ๑๗ เปาหมาย มา
เปน กรอบแนวคิดที่จะผลักดันดําเนินการเพอ่ื นําไปสกู ารบรรลเุ ปาหมายการพฒั นา ทีย่ ่งั ยืนในทุกมิติทง้ั มิตดิ า น
สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอม ธรรมาภิบาล และความเปน หุนสว นความรวมมอื ระหวางกันทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศอยา งบูรณาการ โดยมีวิสัยทศั นเพื่อใหประเทศไทย “เปนประเทศพัฒนาแลว มคี ุณภาพชีวติ
และสิ่งแวดลอมทีด่ ีทส่ี ุดในอาเซยี นภายในปพ .ศ. ๒๕๘๐” ดังน้นั นโยบายดานการจดั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐานเพ่ือ
รองรับวสิ ัยทัศนด ังกลา ว จงึ ไดน อ มนาํ ศาสตรพระราชา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และเปาหมายของการ
พัฒนาทยี่ ่ังยนื ทงั้ ๑๗ เปาหมาย มาเปน หลักในการปรบั ปรุงหลักสตู ร การจัดกจิ กรรมการเรียนรูและการจัด

๕๓

สภาพแวดลอมของสถานศึกษา ใหส อดคลอ งกับหลกั การดังกลาว บนพน้ื ฐานความเช่อื ในการเติบโตรวมกัน ไม
วา จะเปนทางเศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอม และคณุ ภาพชีวิต โดยใหความสําคญั กับการสรา งสมดลุ ทัง้ ๓ ดาน ไมให
มากหรือนอยจนเกินไป อนั จะนาํ ไปสูค วามย่งั ยืนเพ่ือคนรนุ ตอ ไปอยางแทจ ริง

นโยบายที่ ๖ ดา นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา
นโยบายดานการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา เปน นโยบายจดุ เนน ทีส่ ําคัญ
เนือ่ งจากเปนนโยบายทกี่ ระจายอาํ นาจการจัดการศึกษาใหสถานศกึ ษา หรือกลุม สถานศึกษา มีความเปน อิสระ
ในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลมุ ท้งั ดานการบรหิ ารวชิ าการ ดานการบรหิ าร งบประมาณ ดานการ
บริหารงานบุคคล และดา นการบรหิ ารงานทัว่ ไป และปรบั บทบาทภารกจิ ของหนว ยงานทงั้ ระดับสาํ นักงานท้ัง
สว นกลาง และระดับภูมภิ าค โดยปรับโครงสรา งของหนว ยงาน ทุกระดบั ตั้งแตส ถานศกึ ษา สาํ นักงานเขตพ้นื ท่ี
การศกึ ษา และสํานักงานสวนกลาง ใหม คี วามทนั สมัย พรอมที่จะปรบั ตัวใหทันตอ การเปลยี่ นแปลงของโลกอยู
ตลอดเวลา หนวยงานสาํ นักงานเปนหนวยงาน ทมี่ หี นา ทสี่ นบั สนนุ สงเสรมิ ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อให
สถานศกึ ษาสามารถจัดการศึกษาได อยา งมปี ระสิทธภิ าพ นาํ เทคโนโลยดี จิ ิทลั Digital Technology เชน
Cloud Technology Big Data Technology และ Communication Technology เปนตน มาใชในการเพม่ิ
ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงาน ท้ังระบบ มีความโปรงใส ตรวจสอบได พรอมทั้งปลูกฝง คา นยิ มความซ่ือสตั ยสจุ ริต
ความมัธยสั ถ และเปด โอกาสใหท ุกภาคสว นเขา มามีสวนรว มเพ่ือตอบสนองความตอ งการของประชาชน ได
อยางสะดวก รวดเร็ว
3.1.4 แผนพัฒนาจงั หวัดชลบรุ ี4 ป( พ.ศ.2561 – 2564)

เปา หมายการพัฒนาจงั หวัดชลบรุ ี ระยะ 5 ป
“เมืองนวัตกรรม เศรษฐกจิ ชน้ั นาํ ของอาเซียน
ตวั ชวี้ ดั ความสาํ เรจ็ ตามเปา หมายการพัฒนาจังหวัดชลบรุ ี
ตัวชี้วดั ๑.1 มูลคาผลติ ภณั ฑม วลรวมสาขาอตุ สาหกรรมจังหวดั ชลบุรเี พ่ิมขน้ึ
ตัวชว้ี ัด 1.2 รายไดจ ากการทองเทย่ี วจังหวดั ชลบุรีเพ่มิ ขนึ้
ตวั ชว้ี ัด 1.3 มูลคาผลิตภัณฑม วลรวมภาคเกษตรจังหวดั ชลบุรเี พ่มิ ขึน้
ตวั ชีว้ ัด 1.4 จาํ นวนโครงการถนนที่กอสรา งและบํารงุ รกั ษาเพมิ่ ข้นึ
ตวั ชี้วดั 1.5 สถานพยาบาลไดรบั รองคณุ ภาพ HA เพมิ่ ขน้ึ เพื่อรองรบั เขตพฒั นาพิเศษ
ภาคตะวนั ออก
ตัวชี้วัด 1.6 เด็กและวัยแรงงานมีความรูและทักษะเปนไปตามความตองการของตลาดแรงงาน
ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ตวั ชว้ี ดั 1.7 สดั สว นของขยะมูลฝอยชมุ ชนไดรบั การจดั การอยางถกู ตอง
ตัวช้ีวัด 1.8 พน้ื ทปี่ า ตนน้ําเพม่ิ ข้นึ
ประเด็นการพฒั นาจังหวัดชลบุรี
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 ยกระดับการพฒั นานวัตกรรมอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่เปนมิตรกับ
สิง่ แวดลอม
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 ยกระดบั ใหเปน เมอื งทองเทย่ี วนานาชาติ มมี าตรฐานระดบั สากล
ประเด็นการพฒั นาที่ 3 สรางเสริมนวตั กรรมสเู กษตรปลอดภัย

๕๔

ประเด็นการพัฒนาท่ี 4 พัฒนาปรับปรุงดานผังเมือง โครงสรางพื้นฐาน ระบบ Logistics เปน
เมืองนวตั กรรมทีน่ าอยู

ประเด็นการพัฒนาที่ 5 พัฒนาคนและชุมชนใหมีคุณภาพและย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นการพัฒนาที่ 6 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหเกิดความสมดุล
อยา งมสี วนรวม

3.1.5 แผนพัฒนาการศกึ ษาของสํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 1
(พ.ศ.2563-2565)

วสิ ัยทศั น( Vision)
สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 1 เปนองคกรชั้นนําดานการบรหิ ารจดั
การศกึ ษาพัฒนาผูเ รียนใหม คี ุณภาพและมาตรฐานอยางยงั่ ยนื กา วไกลสูสากล
พันธกจิ (Mission)
1. สง เสรมิ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื เสริมสรา งความมั่นคงของสถาบันหลักของชาตแิ ละการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมขุ
2. พฒั นาศกั ยภาพผเู รยี นใหมสี มรรถนะตามหลกั สตู รและคุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑ เพอ่ื เพม่ิ
ขดี ความสามารถในการแขงขันและสรางนวตั กรรม
3. สง เสริมพฒั นาศักยภาพผเู รยี นทีม่ คี วามสามารถพิเศษใหมคี วามเปนเลิศเต็มตามศกั ยภาพ
4. สงเสริมการพฒั นาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหมสี มรรถนะตรงตามสายงาน
และมคี วามรับผิดชอบตอคณุ ภาพการจัดการศึกษาอยางมืออาชีพ
5.สรา งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหล่ือมล้าํ ใหผูเ รียนทุกคนไดรบั บริการทางการศึกษา
อยา งทัว่ ถึงและเทา เทยี ม
6. สง เสรมิ การจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ปนมติ รกับส่ิงแวดลอมยึดหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปา หมายการพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. พฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา และสงเสรมิ การจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
(Digital Technology) สอดคลอ งกับการพฒั นายุค Thailand 4.0
8. จดั การศึกษาเพื่อรองรับเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC)
คานยิ มองคก ร (CHON 1)
C : Commitment (มงุ มัน่ ทาํ งาน)
H : Happy service (บรกิ ารดว ยไมตรี)
O : Open Mind (มจี ติ สาธารณะ)
N : Non – Graded (ปฏบิ ตั เิ ทาเทยี ม)
1 : 1st in Service & Quality (ยอดเยี่ยมบรกิ ารและคณุ ภาพ)
“มุงมน่ั ทาํ งาน บริการดว ยไมตรี มีจิตสาธารณะ ปฏิบัตเิ ทาเทียม ยอดเยยี่ มบรกิ ารและคุณภาพ”

๕๕

วฒั นธรรมองคกร (Organisational Culture)
บรกิ ารและคุณภาพทเ่ี ปน เลศิ (Excellent in Service & Quality)
เปา ประสงค (Goal)
1. ผูเรยี นมีความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ มที ัศนคติที่ถูกตองตอบา นเมือง มีหลักคดิ ท่ีถูกตองเปนพลเมืองดีของชาติ
มีคุณธรรม จริยธรรม มคี า นิยมท่พี ึงประสงค มจี ิตสาธารณะ และรบั ผิดชอบตอ สังคม
2. ผูเรียนเปนบุคคลแหง การเรียนรู มคี วามคิดริเรมิ่ และสรา งสรรคน วตั กรรม มีความรู มที ักษะ
มีสมรรถนะตามหลกั สตู ร มีคุณลักษณะของผเู รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ มสี ุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวยั
มีความสามารถในการพงึ่ พาตนเองตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปนพลเมอื งพลโลกที่ดี
(Global Citizen) พรอมกาวสสู ากล นาํ ไปสูการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ
3. ผูเ รยี นทีม่ ีความสามารถพิเศษดา นวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ ดนตรี กฬี าภาษาและอื่น ๆ
ไดรบั การพฒั นาอยา งเต็มตามศกั ยภาพ
4. ผูบริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปนบุคคล แหงการเรยี นรู มีความรู จรรยาบรรณ
และมาตรฐานวชิ าชพี
5. ผเู รยี นทกุ คนไดร บั รกิ ารทางการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพไดมาตรฐาน
6. ผเู รยี นท่ีมคี วามตอ งการจําเปนพเิ ศษ (ผูพกิ าร) และกลมุ ผูด อยโอกาส ไดรบั การศึกษาอยาง
ทัว่ ถงึ เทา เทยี มและมคี ุณภาพ
7. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพ่อื การบรรลุเปาหมายการพัฒนาอยางย่ังยนื (Sustainable
DevelopmentGoals: SDGs) และสรา งเสริมคุณภาพชีวิตทีเ่ ปนมติ รกับสิ่งแวดลอ มตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
8. สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 และสถานศกึ ษาในสังกัด มีระบบ
ขอ มูลสารสนเทศ พฒั นาส่ือ นวัตกรรม และนาํ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ไปใชอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
9. สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาและสถานศึกษาบริหารจัดการเชงิ บรู ณาการ มกี ารกาํ กับ ตดิ ตาม
ประเมนิ ผล รายงานผลอยา งเปนระบบ ใชง านวิจยั และนวัตกรรมในการขับเคล่อื นคุณภาพการศกึ ษาอยางมี
ประสิทธภิ าพ
10. สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 และสถานศึกษาในสงั กดั จัด
การศกึ ษาเพอื่ รองรับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC)
กลยุทธ (Strategy)
กลยทุ ธท ่ี 1 การจัดการศึกษาเพอ่ื ความมัน่ คง
เปา ประสงคเชงิ กลยทุ ธ
1. ผเู รยี นทุกคนทีม่ ีพฤติกรรมท่แี สดงออกถึงความรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มนั่ การปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุข
2. ผเู รียนทุกคนมีทศั นคตทิ ี่ดตี อบา นเมือง มหี ลกั คดิ ท่ีถกู ตอง เปนพลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม
จริยธรรม มีคา นิยมที่พงึ ประสงค มจี ติ สาธารณะ มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบตอ ครอบครัว ผูอน่ื และสงั คมโดยรวม
ซ่ือสตั ย สจุ รติ มธั ยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินยั และรกั ษาศลี ธรรม
3. ผูเรียนทกุ คนมีความรู ความเขา ใจ และมีความพรอมสามารถรบั มือกับภัยคกุ คามทุกรปู แบบ

๕๖
ทม่ี ีผลกระทบตอความม่ันคง เชน ภยั จากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชวี ติ และทรัพยส ิน การคา
มนษุ ย อาชญากรรมไซเบอร และภัยพิบตั ิตา ง ๆ

ตัวชว้ี ัด
1. รอยละของผูเรยี นท่ีมีพฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถึงความรกั ในสถาบนั หลักของชาตยิ ึดมั่นการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมขุ
2. รอยละของผูเรียนทม่ี พี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถงึ การมที ัศนคติท่ดี ตี อบานเมอื ง มีหลกั คดิ
ท่ีถกู ตองเปน พลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม จริยธรรม มีคานยิ มทพ่ี งึ ประสงค มคี ุณธรรม อตั ลักษณ มจี ติ
สาธารณะมีจติ อาสา รับผดิ ชอบตอ ครอบครวั ผอู นื่ และสังคมโดยรวม ซอ่ื สตั ย สุจริต มธั ยัสถ อดออม โอบออม
อารี มีวนิ ยั และรักษาศีลธรรม
3. รอ ยละของผูเรียนมคี วามรู ความเขาใจ และมคี วามพรอมสามารถรับมือกับภยั คุกคามทุก
รปู แบบท่มี ผี ลกระทบตอความมั่นคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรนุ แรง การคุกคามในชวี ติ และทรัพยส นิ
การคา มนุษยอ าชญากรรมไซเบอร และภยั พิบัติตา ง ๆ เปน ตน
4. จาํ นวนสถานศกึ ษาท่ีนอ มนาํ พระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ
ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทร มหาวชริ าลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจาอยูหัว และหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งไปพัฒนาผูเ รียนใหมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต ามทีก่ าํ หนดไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
5. จาํ นวนสถานศึกษาท่จี ดั บรรยากาศสง่ิ แวดลอ ม และจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หผเู รียนแสดงออก
ถึงความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดม่นั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน
ประมุขมที ัศนคติทด่ี ีตอ บานเมือง มหี ลักคดิ ที่ถูกตอง เปน พลเมืองดีของชาติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
มาตรการและแนวทางการดําเนินการ
1. พัฒนาผูเ รียนใหเ ปน พลเมืองดีของชาติและเปนพลโลกท่ีดี
เปนมาตรการในการพฒั นาผูเรยี นใหมคี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมั่นในการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข มที ศั นคติทีด่ ีตอบา นเมือง มีหลักคิดท่ีถกู ตอง เปน
พลเมืองดขี องชาติ และพลเมืองโลกทดี่ ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีคานยิ มทีพ่ ึงประสงค มคี ุณธรรมอัตลกั ษณ มีจติ
สาธารณะมีจิตอาสา รบั ผิดชอบตอครอบครัว ชมุ ชน และสังคมและประเทศชาตซิ ื่อสัตย สุจรติ มัธยัสถ อดออม
โอบออ มอารีมีวินัย และรกั ษาศลี ธรรมโดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดงั น้ี

1.1 สาํ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สงเสริม สนบั สนุน กาํ กบั ตดิ ตาม และประเมินสถานศึกษา
ตามมาตรการท่ีกําหนด

1.2 สถานศึกษา
1) พฒั นาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนาํ พระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาท

สมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลาเจา อยูหัว และหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งไปบรู ณาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู เพื่อพัฒนาผเู รียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคตามที่
กาํ หนด

(2) จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอม และจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผ เู รยี นแสดงออกถงึ ความรัก
ในสถาบนั หลกั ของชาติ ยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข มี
ทศั นคติทดี่ ตี อ บา นเมือง มหี ลักคดิ ท่ีถกู ตอง เปนพลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
มีคา นิยมทพี่ งึ ประสงค มีคุณธรรมอตั ลกั ษณ มจี ิตสาธารณะ มีจิตอาสา รบั ผิดชอบตอ ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
และประเทศชาติ ซ่ือสัตย สจุ ริต มธั ยสั ถ อดออม โอบออ มอารี มีวินัย และรักษาศลี ธรรม

๕๗
2. พฒั นาผูเรยี นมีความใหม คี วามพรอมสามารถรับมือกับภัยคกุ คามทุกรูปแบบ ทกุ ระดบั
ความรนุ แรง ทมี่ ีผลกระทบตอความมัน่ คงของประเทศ
เปนมาตรการในการพฒั นาผูเรยี นใหมีความรู ความสามารถในการรบั มือกับภยั คกุ คาม รูปแบบ
ใหมทุกรูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เชน ภยั จากยาเสพติด ภยั จากความรุนแรง การคกุ คามในชวี ติ และ
ทรพั ยสนิ การคามนุษย อาชญากรรมไซเบอร และภัยพบิ ตั ิตาง ๆ เปนตน ควบคไู ปกับการปอ งกันและแกไ ข
ปญ หาท่ีมีอยูในปจจุบัน และทอี่ าจจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมแี นวทางการดําเนินการ ดังนี้

2.1 สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาสงเสรมิ สนบั สนุน กํากบั ตดิ ตาม และประเมินสถานศึกษา
ตามมาตรการท่กี ําหนด

2.2 สถานศึกษา
(1) พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา และจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หผ เู รียนมคี วามรู ความเขาใจ

เก่ียวกบั ภัยคกุ คามท่มี ผี ลกระทบตอ ความมัน่ คง ภยั จากยาเสพติด ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ และ
ทรัพยสิน การคามนษุ ย อาชญากรรมไซเบอร ภัยพบิ ัติและภาวะฉกุ เฉนิ และภยั คกุ คามรูปแบบใหม ตลอดจน
รูจกั วธิ ีการปอ งกัน และแกไขหากไดร ับผลกระทบจากภยั ดังกลา ว

(2) มมี าตรการและแนวทางการปอ งกันยาเสพติดในสถานศึกษาและชมุ ชน
(3) จดั สภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหมีความมัน่ คงปลอดภยั
(4) มีระบบการดูแล ตดิ ตาม และชวยเหลอื ผูเรยี น ในการแกปญ หาตา ง ๆ ไดรับ
คาํ ปรกึ ษาชีแ้ นะและความชวยเหลืออยางทนั การณ ทันเวลา รวมทงั้ การอบรมบมนิสยั
กลยุทธท่ี 2 การจดั การศึกษาเพอื่ เพ่มิ ความสามารถในการแขงขน้ั
เปา ประสงคเ ชงิ กลยทุ ธ
1. ผูเรียนทกุ ระดับมคี วามเปน เลศิ มที กั ษะที่จาํ เปนในศตวรรษที่ 21
2. ผูเรยี นมคี วามเปนเลศิ ตามความถนดั และความสนใจ นาํ ไปสกู ารพฒั นาทักษะวชิ าชพี
3. ผูเ รียนเปนนักคิดสามารถสรางนวตั กรรมและนําไปใชประโยชนไ ด
4. ผูเ รียนไดรบั โอกาสเขาสเู วทกี ารแขง ขนั ระดับนานาชาติ
ตวั ชีว้ ดั
1. รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ีความเปนเลิศทางดานวิชาการ
2. จํานวนสถานศกึ ษาทสี่ งเสรมิ ใหผเู รยี นมีความเปนเลิศทางดา นวิชาการ
3. รอ ยละของผเู รยี นทม่ี ที กั ษะความรทู ี่สอดคลอ งกับทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษท่ี 21
4. จํานวนสถานศกึ ษาที่สง เสรมิ ใหผ เู รียนมีทกั ษะทจี่ าํ เปนในศตวรรษที่ 21
5. รอ ยละของผูเรยี นระดับมัธยมศึกษาท่ีผานการประเมินสมรรถนะทีจ่ ําเปน ดา นการรเู รอ่ื งการ
อา น(Reading Literacy) ดานการรูเ รอ่ื งคณติ ศาสตร (Mathematical Literacy) และดานการรเู รอ่ื ง
วิทยาศาสตร(Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA
6. รอ ยละของผเู รียนท่ีมคี วามเปน เลิศตามความถนดั และความสนใจ นาํ ไปสูการพัฒนาทกั ษะ
วิชาชีพ
7. รอ ยละของผูเ รยี นที่เปน นกั คดิ สามารถสรางนวตั กรรมและนาํ ไปใชประโยชนไ ด
8. รอยละของผเู รยี นทีเ่ ขารวมการแขงขันระดับนานาชาติ

๕๘
มาตรการและแนวทางการดําเนนิ การ
พฒั นาคุณภาพผเู รยี นเต็มตามศกั ยภาพ นาํ ไปสคู วามเปน เลศิ ดานวิชาการตามความสามารถ ความ
สนใจ มีทักษะท่จี าํ เปนในศตวรรษท่ี 21 สรา งขดี ความสามารถในการแขง ขันของประเทศ
โดยมีแนวทางดําเนินการ ดงั นี้
สถานศกึ ษา
1. สถานศึกษาดาํ เนินการวดั แววผเู รียนตามเครือ่ งมอื ทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ข้ันพื้นฐานกาํ หนด และพัฒนาขีดความสามารถของผเู รยี นตามศกั ยภาพ และความถนดั โดยจัดการเรียนรู
ผานกิจกรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning) เชน การจัดการเรียนรูตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนหรอื
บันได 5 ข้ัน (Independent Study : IS) การเรียนรเู ชงิ บรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ เชน สะเตม็ ศึกษา
(Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education) เปน ตน โดย
สงเสรมิ ใหค รูจดั กิจกรรมการเรียนรูเพื่อพฒั นาผเู รียนใหผูเรียนเรยี นรดู ว ยตนเองผา นระบบดิจิทัล (Digital
Learning Platform)
2. ปรบั เปลย่ี นอัตลักษณของสถานศึกษาใหม งุ เนนการจดั การเรยี นรใู หผ เู รยี นมีความเปนเลศิ ทาง
วชิ าการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผเู รียน และจัดกิจกรรม เพื่อพฒั นาสขุ พลานามยั
ใหเปนคนท่ีสมบรู ณแ ข็งแรงทั้งรา งกายและจิตใจ
3. สถานศกึ ษา พัฒนาหลกั สตู รและการจดั กจิ กรรมกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรยี นใหมี
ความเปน เลิศทางวชิ าการตามความสนใจ และความถนดั เต็มตามศักยภาพ
4. สง เสรมิ สนับสนนุ ใหครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ไดรบั การพฒั นาเพ่อื ปรับเปล่ียนกระบวนการ
จัดการเรียนรูใหแกผ เู รียนโดยเนนการจัดการเรียนรใู หแกผ เู รยี นเปนรายบุคคลตามความตองการ และความ
ถนัดของผูเรยี น
5. จัดกิจกรรมการเรียนรูใหผ เู รียนมีความเปนเลศิ ในทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาท่ี ๓ เพม่ิ เติมอยางนอย 1 ภาษา
6. ปรบั เปล่ียนวธิ ีการวัด ประเมนิ ผลการเรียนของผูเรียน โดยมุงเนน การวัดประเมินผลตาม
สมรรถนะรายบุคคล โดยการใชเครือ่ งมือวดั ประเมนิ ผลจากสวนกลางในช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3
7. สรปุ และรายงานผลการดําเนนิ งานตอสาํ นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาและหนว ยงานท่ีเกยี่ วของ
กลยุทธทท่ี 3 การพฒั นาและสรางเสริมศักยภาพของทรัพยากรมนุษย
เปาประสงคเ ชิงกลยุทธ
1. ผเู รยี นไดร บั การพัฒนาตามจดุ มุงหมายของหลักสตู ร และมีทักษะความสามารถที่สอดคลองกับ
ทกั ษะทจี่ ําเปน ในศตวรรษท่ี ๒๑ อยางเหมาะสมในแตล ะชวงวยั และนาํ ไปปฏบิ ัติได
2. ผูเรียนไดรบั การพัฒนาใหมคี วามรแู ละทักษะนาํ ไปสกู ารพัฒนานวัตกรรม
3. ผูเรียนไดร ับการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ เชื่อมโยงสูอาชีพและการมงี านทาํ มีทกั ษะอาชีพท่ี
สอดคลอ งกบั ความตอ งการของประเทศ
4. ผูเรียนไดร บั การพัฒนาใหมีศกั ยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหม สี ขุ ภาวะที่ดี สามารถ
ดาํ รงชีวติ อยา งมีความสุขท้งั ดานรางกายและจติ ใจ
5. ครู เปล่ียนบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” ผูใหคําปรกึ ษาขอเสนอแนะการเรยี นรู
หรือผูอํานวยการการเรียนรู
6. ครู มีความรูความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน และดานคณุ ธรรมและจริยธรรม

๕๙
ตัวช้ีวดั
1. ผูเ รียนทกุ ระดับมีสมรรถนะสําคัญตามหลักสูตร มีทักษะการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3R8C)
2. รอ ยละของผเู รียนชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3 ทมี่ คี ะแนนผลการทดสอบความสามารถพื้นฐาน
ระดบั ชาติ NT ผา นเกณฑที่กําหนด
3. รอยละของผเู รยี นชัน้ ประถมศึกษาท่ี 6 ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ
ขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) มากกวา รอยละ 50 เพ่ิมขนึ้ จากปการศึกษาท่ผี านมา
4. รอ ยละของผูเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาที่ 3 ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ
ขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) มากกวา รอ ยละ 50 เพ่มิ ข้ึน จากปการศึกษาที่ผา นมา
5. รอยละของผูเรียนทีจ่ บการศึกษาชั้นประถมศึกษาปท ี่ 6 มีทักษะการเรยี นรทู ี่เชอ่ื มโยงสอู าชีพและ
การมีงานทํา สอดคลองกับเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
6. รอยละผูเ รยี นทจ่ี บการศกึ ษาช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 มีทักษะการเรียนรู ท่ีเชื่อมโยงสูอาชพี และ
การมงี านทาํ ตามความถนัด และความตองการของตนเอง สอดคลอ งกับความตอ งการของประเทศ
7. รอยละของผเู รยี นท่มี ที ักษะพืน้ ฐานในการดาํ รงชวี ติ อยูในสงั คมไดอ ยางมคี วามสุข สามารถ
ทาํ งานรวมกับผูอ่ืนไดภ ายใตสังคมท่เี ปนพหวุ ัฒนธรรม
8. รอยละของผเู รยี นที่มีสุขภาวะ สามารถดํารงชวี ติ อยา งมีความสุขทง้ั ดานรา งกายและจติ ใจ
9. รอยละของครทู ี่มีการเปล่ยี นบทบาทจาก “ครูผูส อน” เปน “Coach” ผูใหคําปรกึ ษา ขอ เสนอแนะ
การเรียนรู หรือผูอาํ นวยการการเรียนรู
10. รอ ยละของครทู ่ีมีความรคู วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอนและเปน แบบอยา งดาน
คุณธรรมและจริยธรรม
มาตรการและแนวทางการดาํ เนนิ การ
1. พัฒนาหลักสตู รทุกระดบั การศึกษา มีแนวทางดาํ เนินการ ดงั น้ี

1.1 สํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา สงเสริมใหครูปรับเปลย่ี นการจดั การเรยี นรู “ครผู สู อน” เปน
“Coach” ผอู าํ นวยการการเรียนรู ผใู หคาํ ปรึกษา หรอื ใหขอเสนอแนะการเรียนรู และปรบั ระบบการวดั
ประเมนิ ผลสมั ฤทธผิ์ ูเรยี นใหสอดคลองกบั หลกั สตู ร

1.2 สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหส อดคลองกบั หลักสตู รแกนกลาง เนน การพัฒนา
ผเู รยี นเปน รายบคุ คล (หลกั สตู รเชงิ สมรรถนะ) และปรับเปล่ียนการจัดการเรียนรใู หตอบสนองตอ ความตองการ
ของผเู รียนและบรบิ ทของพนื้ ที่

2. การพัฒนาศกั ยภาพ และคณุ ภาพของผูเรยี น
2.1 การพฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพของผเู รียนระดับปฐมวัย
1. จัดกิจกรรมพฒั นาเด็กปฐมวัยในรปู แบบทห่ี ลากหลาย จดั สภาพแวดลอมทัง้ ในและนอก

หองเรยี นใหเ อื้อตอการพัฒนาการเรยี นรู
2. จดั การเรียนรู สรา งประสบการณ เนน การเรียนเปน เลน เรียนรูอยา งมคี วามสุข
3. ปรับปรุงอาคารสถานที่ สิง่ อํานวยความสะดวก สนามเด็กเลน ใหไ ดมาตรฐาน มีความ

ปลอดภยั สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นไดอยา งมีประสิทธิภาพ
4. จดั หาส่อื อปุ กรณ ท่มี คี ณุ ภาพเหมาะสม มีมาตรฐาน และความปลอดภัย
5. อภิบาลเดก็ ปฐมวัยใหมสี ขุ ภาวะทด่ี ี รา งกายสมบูรณแ ข็งแรง ปราศจากโรคภยั ไขเจ็บ
6. สรางความรูความเขาใจแกผปู กครองในการจดั การศึกษาปฐมวยั เพอ่ื การมสี ว นรวมและ

การสนับสนุนการดาํ เนนิ งานของสถานศกึ ษา

๖๐
7. สรปุ และรายงานผลการดําเนินงานตอ สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาและหนว ยงานท่ี
เก่ยี วของ
2.2 การพฒั นาศกั ยภาพ และคณุ ภาพผเู รียนระดบั ระถมศกึ ษา
ผเู รียนระดบั ประถมศึกษาไดรับการพฒั นาทางดานรา งกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และ
สตปิ ญ ญา มวี ินยั มที กั ษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 โดยมแี นวทางดาํ เนินการ ดังนี้
1. สาํ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาสง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจดั การศึกษาพัฒนาผเู รียน
ใหมีพฒั นาการทส่ี มวยั ในทุกดานทัง้ ทางดานรางกาย จติ ใจ อารมณ สังคม และสติปญ ญา ใหมคี ุณลักษณะ
- เปนไปตามหลกั สตู ร
- มีทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑
- มที ักษะการเรยี นรูท่ีเชื่อมโยงสูอาชีพและการมงี านทาํ สอดคลองกับความตองการของ
ประเทศ
- มีความรู และทักษะดา นวิทยาศาสตรน าํ ไปสูการพฒั นานวัตกรรม
- มคี วามรคู วามสามารถดานดิจทิ ลั (Digital) และใชด จิ ิทลั เปน เครื่องมอื ในการเรียนรูได
อยางมปี ระสทิ ธิภาพ
- มีทักษะทางดา นภาษาไทย เพื่อใชเ ปน เคร่ืองมือในการเรียนรู มีนสิ ยั รักการอานมีทักษะ
สอ่ื สารภาษาองั กฤษ และภาษาที่ 3
2. จัดทาํ เครื่องมือประเมินความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) นกั เรยี นช้ันประถม
ศึกษาปที่ 3 และดําเนนิ การประเมนิ รวมทงั้ ประสานการดําเนนิ งาน เพอื่ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปท ่ี 6 วิเคราะหผ ลการประเมินเพ่ือเปนฐานการพัฒนา
นกั เรยี นทุกระดบั ชนั้
3. สงเสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจัดกจิ กรรมพฒั นาผูเรียนเตม็ ตามศักยภาพสอดคลอง กับ
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถงึ การวางพ้ืนฐานการเรยี นรเู พื่อการวางแผนชวี ติ และวางแผน
ทางการเงินท่ีเหมาะสมและนําไปปฏิบัติได
4. สรา งกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษา เพื่อสงเสริมกระบวนการเรยี นรตู าม
สมรรถนะรายบุคคลและเตรยี มความพรอมสูการประกอบสัมมาอาชพี
5. ดาํ เนนิ การติดตาม และตรวจสอบใหผูเรียนไดรับประทานอาหารอยา งครบถวนถกู ตองตาม
หลกั โภชนาการ
6. กาํ กับ ติดตาม และใหค วามชวยเหลอื สถานศกึ ษาในการจดั การศึกษาภาพรวม รวมทั้ง
สรปุ และรายงานผลการดําเนินงาน
สถานศกึ ษา
1. จดั การเรียนรทู ่ีใหผเู รียนไดเรยี นรผู านกิจกรรมการปฏิบตั จิ ริง (Active Learning)
2. จัดการเรียนรอู ยา งเปน ระบบมงุ เนนการใชฐ านความรู และระบบความคิดในลักษณะ
สหวทิ ยาการ (STEAM Education) เชน

- ความรทู างวิทยาศาสตรและการตั้งคําถาม
- ความเขา ใจและความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
- ความรูทางวิศวกรรม และการคดิ เพื่อหาทางแกป ญหา
- ความรูและทกั ษะในดา นศลิ ปะ
- ความรดู า นคณติ ศาสตรแ ละระบบคิดของเหตุผลและการหาความสมั พนั ธ

๖๑
3. จดั กิจกรรมพัฒนาผูเ รียนเต็มตามศักยภาพสอดคลอ งกับความสามารถ ความถนัดและ
ความสนใจ รวมถงึ กจิ กรรมการแนะแนวทง้ั ดา นศึกษาตอและดา นอาชีพ เปน การวางพน้ื ฐานการเรยี นรู การ
วางแผนชวี ติ และวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาํ ไปปฏิบัติได
4. จดั กจิ กรรมการเรียนรูเ พื่อสง เสริมสนบั สนุนใหผูเรียนมีทกั ษะพ้ืนฐานในการดาํ รงชีวติ
มีสุขภาวะทด่ี ี สามารถดาํ รงชีวิตอยางมีความสขุ
5. จัดกจิ กรรมการเรียนรูและพัฒนาดานอารมณและสงั คม (Social and Emotional
Learning : SEL)
6. จัดการเรียนการสอนเพอ่ื เพิม่ ทักษะการคิดแบบมเี หตุผลและเปน ข้นั ตอน (Coding)
7. ดําเนินการใหผเู รยี นไดรับประทานอาหารอยางครบถวนถูกตองตามหลักโภชนาการ
เปนไปดวยความถูกตองตามระเบยี บและวนิ ยั การคลงั
8. สรุปและรายงานผลการดาํ เนินงานตอสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาและหนว ยงานท่ี
เกี่ยวของ
2.3 การพัฒนาศักยภาพ และคณุ ภาพผูเรียนระดับมัธยมศึกษา
ผเู รยี นระดับมธั ยมศึกษา ไดร ับการพัฒนาทางดา นรางกาย จติ ใจ อารมณ สงั คม และ
สติปญ ญา มวี นิ ยั มที กั ษะที่จําเปน ในศตวรรษท่ี 21 มีทกั ษะดา นการคดิ วิเคราะห สังเคราะห มที ักษะดาน
ภาษาไทยเพอ่ื ใชในการเรยี นรู มที ักษะสอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยี
ไดร บั การพัฒนาทักษะการเรียนรทู ่เี ชอื่ มโยงสูอ าชีพและการมีงานทํา นาํ ไปสกู ารมีทักษะอาชีพทีส่ อดคลองกับ
ความตองการของประเทศ มีความยืดหยนุ ทางดานความคิด สามารถทาํ งานรวมกับผอู นื่ ได ภายใตส ังคมทีเ่ ปน
พหุวัฒนธรรม มีทกั ษะพื้นฐานในการดาํ รงชวี ติ มสี ขุ ภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวติ อยางมีความสขุ
โดยมแี นวทางดําเนนิ การ ดังนี้
1. สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สง เสรมิ สนบั สนุนใหสถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นา
ผเู รยี นใหม พี ฒั นาการทีส่ มวยั ในทกุ ดานท้ังทางดานรา งกาย จิตใจ อารมณ สงั คม และสติปญญา มีความ
ยดื หยุนทางดานความคิด สามารถทาํ งานรว มกับผูอน่ื ได ภายใตส ังคมท่เี ปน พหวุ ฒั นธรรม ใหม คี ณุ ลักษณะ

- เปน ไปตามหลักสตู ร
- มที ักษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21
- มีทกั ษะทางดานภาษาไทย มที กั ษะสือ่ สารภาษาองั กฤษและภาษาท่ี 3 เพือ่ ใชเปนเคร่ืองมือ
ในการประกอบอาชีพ
- มคี วามรู และทักษะดานวทิ ยาศาสตรนําไปสูก ารพัฒนานวัตกรรม
- มคี วามสามารถดา นดิจิทัล (Digital) และใชดจิ ทิ ลั เปนเครื่องมือในการเรยี นรูไดอ ยา งมี
ประสิทธภิ าพ
- มที ักษะทางดา นภาษาไทย เพือ่ ใชเปน เคร่ืองมือในการเรียนรู มีนสิ ยั รักการอาน มีทักษะ
ส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3
2. สง เสริม สนับสนุน สถานศึกษาจัดกิจกรรมพฒั นาผเู รียนเตม็ ตามศักยภาพสอดคลองกับ
ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพื้นฐานการเรยี นรูเ พ่ือการวางแผนชีวติ และ วางแผน
ทางการเงินท่เี หมาะสมและนําไปปฏิบตั ิได
3. จัดทาํ แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมเพิม่ ศักยภาพผเู รียนท่ีมีความรูและทักษะดาน
วทิ ยาศาสตร เปน นักคิด นักปฏิบตั ิ นักประดษิ ฐ เปน นวตั กรรม นําไปสกู ารพฒั นานวตั กรรมในอนาคต รวมทั้ง
จดั กจิ กรรมกฬี า การออกกาํ ลังกาย และสนบั สนุนใหผ เู รยี น มีศักยภาพในการจดั การสขุ ภาวะของตนเองใหม ี

๖๒
สุขภาวะท่ีดี สามารถดํารงชีวิตอยางมีความสขุ ท้ังดา นรางกายและจติ ใจ

4. กํากบั ติดตาม และใหความชวยเหลอื สถานศึกษา
สถานศึกษา

1. สงเสรมิ ครูใหจ ัดการเรียนรูท่ีใหผ เู รยี นไดเรยี นรูผา นกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active
Learning)

2. สงเสรมิ ครูใหจดั การเรียนรตู ามกระบวนการ 5 ข้ันตอนหรอื บนั ได 5 ข้ัน (Independent
Study : IS)

3. สง เสรมิ สนับสนุนครูใหจดั การเรยี นรูอยา งเปน ระบบ มุงเนนการใชฐานความรแู ละระบบ
ความคิดในลักษณะสหวิทยาการ (STEAM Education) เชน

- ความรูทางวทิ ยาศาสตรแ ละการตงั้ คาํ ถาม
- ความเขา ใจและความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- ความรูทางวศิ วกรรม และการคิดเพ่ือหาทางแกป ญหา
- ความรแู ละทกั ษะในดานศิลปะ
- ความรดู า นคณติ ศาสตรและระบบคิดของเหตผุ ลและการหาความสมั พันธ
4. จัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนทม่ี ีความรูแ ละทักษะดา นวิทยาศาสตร เปนนกั คดิ นกั ปฏิบัติ
นกั ประดิษฐ เปน นวตั กรรม นําไปสกู ารพฒั นานวตั กรรมในอนาคตรวมท้ังจัดกิจกรรมกีฬา การออกกาํ ลังกาย
และสนบั สนุนใหผเู รียน มศี ักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะท่ดี ี สามารถดํารงชวี ิตอยาง
มคี วามสุขทั้งดานรางกายและจติ ใจเมื่อถงึ ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษาตอหรอื การ
ประกอบอาชีพไดตามความถนดั ความตอ งการ และความสนใจของตนเอง
5. สง เสรมิ การเรียนรแู ละพฒั นาดานอารมณและสังคม (Social and Emotional Learning
:SEL)
6. สรุปและรายงานผลการดาํ เนนิ งานตอสาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาและหนวยงานทีเ่ ก่ยี วขอ ง
3. นาํ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology) มาใชสนบั สนนุ การเรียนรูใ หแกผูเรียนทกุ ระดบั
การจัดการศกึ ษา
เปนมาตรการในการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทลั ในการสงเสริมสนบั สนุนใหผ เู รยี นพัฒนา
วิธกี ารเรียนรูของตนเองตามความตองการและความถนัดของผเู รียนสามารถสรางสงั คมฐานความรู
(Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพื่อใหเกดิ การเรียนรอู ยางตอเนอ่ื งตลอดชีวติ
โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดังน้ี
3.1 สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา
1. จดั หา พัฒนา ขอมลู องคความรู สอื่ วดิ โี อ และองคความรูป ระเภทตา ง ๆ หนงั สือ
แบบเรยี นในรูปแบบของดจิ ิทัลเทคบคุ (Digital Textbook) ตามเนอ้ื หาหลักสูตรที่กําหนด
2. พัฒนารูปแบบการเรยี นรูผานระบบดิจิทลั (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนอง
ตอ การพฒั นาการเรยี นรูข องผเู รียนเปนรายบคุ คล
3. สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหผเู รยี นมีอปุ กรณดิจิทัล (Digital device) เพ่ือเปนเครื่องมอื ในการ
เขา ถึงองคความรู และการเรยี นรผู านระบบดจิ ทิ ลั อยา งเหมาะสมตามวยั
4. สง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรยี นรเู พื่อพฒั นาผูเรยี นใหผเู รียนเรียนรู
ดว ยตนเองผานการเรียนรผู า นระบบดิจทิ ลั

๖๓
3.2 สถานศึกษา

1. ประยุกตใ ชขอ มูลองคความรู ส่ือ วิดีโอ และองคความรปู ระเภทตา ง ๆ หนังสอื แบบเรียน
ในรูปแบบของดิจทิ ลั เทคบคุ (Digital Textbook) ตามเน้อื หาหลักสูตรท่ีกาํ หนด

2. จัดการเรยี นรูผา นระบบดิจทิ ัล (Digital Learning Platform) เพ่อื ตอบสนองตอการ
พัฒนาการเรียนรูของผูเรยี นเปน รายบคุ คล

3. จัดกจิ กรรมการเรียนรเู พื่อพฒั นาผเู รียน ใหผ ูเรยี นเรยี นรดู วยตนเองผา นการเรียนรผู า น
ระบบดจิ ิทัล

4. การพัฒนาคุณภาพครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
4.1 พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เปนมาตรการท่สี ํานกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน จะดาํ เนินการใหค รูและบคุ ลากรทางการศึกษาตระหนักถงึ ความสําคญั ในอาชีพและ
หนาทข่ี องตน โดยพฒั นาใหเ ปน ครู เปนครยู ุคใหม ปรับบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” หรอื
“ผอู าํ นวยการการเรยี นรู” ปรับวิธีสอน ใหเ ดก็ สามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลย่ี นเรียนรู และทาํ กจิ กรรม
ในชัน้ เรยี น ทําหนา ทกี่ ระตนุ สรางแรงบนั ดาลใจ แนะนําวธิ ีเรียนรแู ละวิธีจดั ระเบียบการสรางความรู ออกแบบ
กจิ กรรม และสรางนวตั กรรมการเรียนรใู หผ ูเรยี น มบี ทบาทเปน นักวจิ ยั พฒั นากระบวนการเรียนรเู พื่อ
ผลสมั ฤทธ์ิของผูเ รยี นโดยมีแนวทางการดาํ เนินการ ดังน้ี

1. สง เสริม สนับสนุนใหค รู ศกึ ษาวิเคราะห ความตองการจาํ เปนในการพัฒนาตนเอง
(Need Assessment) เพื่อวางแผนการพฒั นาอยา งเปน ระบบและครบวงจร

2. จดั ใหมีหลกั สูตรและกรอบแนวทางในการพัฒนาครูท่เี ชอ่ื มโยงกบั ความกา วหนา ในวิชาชพี
(Career Path)

3. ประสานความรว มมอื กับสถาบนั การศึกษา สถาบนั ครุ ุพัฒนา หรอื หนวยงานอ่ืน ๆ จัดทาํ
หลักสตู รการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหตรงตามความตองการและความขาดแคลน

4. สนบั สนุนใหค รแู ละบุคลากรทางการศึกษาวางแผนและเขารับการพัฒนาตามหลกั สูตร
ทก่ี าํ หนดทเ่ี ช่ือมโยงความกา วหนาในวิชาชีพ (Career Path)

5. สงเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในรปู แบบชุมชนแหงการเรียนรูทาง
วชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC)

6. สง เสริม และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมคี วามรูท ักษะดานการรูด ิจทิ ัล
(Digital Literacy) การสอนดิจิทลั (Digital Pedagogy) ทักษะส่ือสารภาษาองั กฤษ ทักษะสื่อสารภาษาท่ี 3
สอดคลองกับภารกจิ และหนา ท่ีของตน

7. สงเสรมิ พฒั นา และยกระดบั ความรูภ าษาอังกฤษของครูท่สี อนภาษาอังกฤษ โดยใชระดบั
การพัฒนาทางดา นภาษา (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR)
ตามเกณฑท ่ีกําหนด

8. สง เสรมิ และพฒั นาครูใหส ามารถออกแบบการเรยี นรู การจัดการเรยี นรใู หส อดคลอ งกบั
การวดั ประเมนิ ผลท่ีเนน ทกั ษะการคิดขนั้ สูง (Higher Order Thinking) ผา นกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ รงิ
(Active Learning)

9. สง เสริมและพัฒนาครูใหม ีความรแู ละทักษะในการจดั การเรยี นรสู าํ หรับผูเรยี นทม่ี คี วาม
แตกตาง (Differentiated Instruction)

10. สง เสริมและพัฒนาครูใหม ีความรแู ละทักษะในการสรา งเครื่องมือการวดั และประเมนิ ผล

๖๔
การเรยี นรดู านทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking)

11. สง เสรมิ และพัฒนาครู ใหมีความรูค วามสามารถจัดการเรียนรใู นโรงเรียนขนาดเลก็ ได
อยางมีประสิทธิภาพ

12. สงเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรูสําหรบั ผเู รยี นทม่ี คี วามตองการจาํ เปน พเิ ศษ
ตามศักยภาพของผูเรียนแตละบุคคล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร

13. สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหครูและบคุ ลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองผานระบบ Online
และแบบ Face - to - Face Training

14. ปรับปรงุ ระบบตรวจสอบ ติดตาม และประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประเมนิ ประสทิ ธิผล
ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหส อดคลอ งกับความมงุ หมาย และหลักการจัดการศึกษาขอกาํ หนดดาน
คณุ ภาพ และแผนการศกึ ษาแหงชาติ

15. นาํ เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology) มาเปนเครื่องมอื ในการบริหารจดั การครู
และบคุ ลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ตัง้ แตการจัดทาํ ฐานขอ มูลครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จนถงึ การ
พฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดังนี้

1. พัฒนารปู แบบการพัฒนาครูผา นระบบดจิ ทิ ัล เพ่ือใชใ นการพฒั นาผบู ริหาร ครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททง้ั ระบบ

2. พฒั นาหลกั สูตร เนอ้ื หาดิจิทลั (Digital Content) ในสาขาทีข่ าดแคลน เชน การ
พัฒนาทกั ษะการคิดขั้นสูง การจัดการศึกษาสาํ หรบั ผูเรยี นท่ีมคี วามตองการจาํ เปนพเิ ศษ และผูเรียนทีม่ ีความ
แตกตา ง เปนตน

3. สง เสริม สนับสนนุ ใหผ ูบรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภทพัฒนาตนเอง
อยางตอเนอ่ื งผานระบบดจิ ิทัล

4. พฒั นาแพลตฟอรม ดจิ ทิ ลั ระบบบริหารจัดการผูบรหิ ารครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ทกุ ประเภททั้งระบบ

5. พัฒนาครูใหม ีความชํานาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร (Coding)
กลยุทธท ี่ 4 การสรางโอกาสในการเขา ถงึ บริการการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลด
ความเหลื่อมลาํ้ ทางการศึกษา
เปา ประสงคเ ชิงกลยุทธ
1. สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาเพื่อใหบ รรลเุ ปาหมายโลกเพือ่ การพัฒนาอยางยั่งยืน (Global Goals
for Sustainable Development)
2. สถานศกึ ษากบั องคกรปกครองทอ งถิน่ ภาคเอกชน และหนวยงานทเี่ ก่ยี วของในระดับพืน้ ที่
รว มมือในการจัดการศึกษา
3. สถานศกึ ษามคี ุณภาพ และมีมาตรฐานตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี
4. งบประมาณ และทรพั ยากรทางการศึกษามเี พียงพอ และเหมาะสม สอดคลอ งกับสภาพ
ขอเทจ็ จรงิ โดยคํานงึ ถึงความจาํ เปน ตามสภาพพ้นื ที่ภูมิศาสตร สภาพทางเศรษฐกิจ และทต่ี ง้ั ของสถานศกึ ษา
5. จดั สรรงบประมาณเพื่อเปน คาใชจาย และงบลงทุนแกส ถานศึกษาอยางเหมาะสมเพ่ือให
สถานศึกษาบริหารงานจัดการศึกษาอยา งมปี ระสิทธภิ าพ
6. นาํ เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Technology) มาเปนเคร่ืองมือใหผ ูเรยี นไดมีโอกาสเขา ถึงบริการ
ดา นการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ

๖๕
7. พัฒนาระบบการตดิ ตาม สนับสนุนและประเมนิ ผลเพือ่ สรางหลักประกันสิทธิ การไดรับ
การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพของประชาชน
ตัวช้ีวดั
1. รอยละของผเู รยี นท่ไี ดเขาเรียนในสถานศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐานใกลเคียงกนั
2. รอยละของสถานศกึ ษาที่ไดรบั ความรว มมือในการจดั การศกึ ษาจากองคกรปกครองสวนทอ งถ่ิน
ภาคเอกชนและหนว ยงานทเี่ ก่ียวขอ งในระดบั พ้ืนที่
3. จาํ นวนสถานศึกษาที่ไดร ับการพัฒนาใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
4. รอยละของผูเรยี นท่ไี ดรับการสนับสนนุ วัสดุอุปกรณ และอุปกรณด ิจิทัล (Digital Device) เพือ่
ใชเปนเคร่อื งมือในการเรยี นรูอยางเหมาะสม เพยี งพอ
5. รอ ยละของครูทไี่ ดรับการสนับสนนุ วัสดุ อปุ กรณ และอุปกรณดจิ ทิ ลั (Digital Device) เพอื่ ใช
เปนเครอ่ื งมือในการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หแกผูเ รียน
6. จํานวนสถานศึกษาที่ไดร ับจดั สรรงบประมาณอดุ หนนุ อยางเพียงพอและเหมาะสม สอดคลอ ง
กับสภาพขอเทจ็ จรงิ โดยคาํ นึงถงึ ความจาํ เปน ตามบรบิ ทและความตองการจําเปนพิเศษของสถานศึกษา
7. จาํ นวนสถานศึกษาท่ีนําเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Technology) มาใชเปนเครอ่ื งมอื ในการจัด
กิจกรรมการเรยี นรูใหแ กผูเรยี นไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ
8. จาํ นวนสถานศึกษาท่ีมรี ะบบการดูแลชว ยเหลอื และคุมครองนักเรียนและการแนะแนวทม่ี ี
ประสิทธิภาพ
9. จาํ นวนสถานศึกษาที่มีระบบฐานขอ มูลประชากรวยั เรียนและสามารถนํามาใชในการวางแผน
จดั การเรียนรูใ หแ กผเู รยี นไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ
มาตรการและแนวทางการดําเนินการ
1. สรา งความรวมมือกบั องคก รปกครองระดับทองถน่ิ ภาคเอกชน หนว ยงานทีเ่ กย่ี วของใน
การจัดการศึกษาใหสอดคลองกับบริบทของพ้นื ที่
โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดงั นี้
1. สงเสริม สนบั สนุนใหม ีความรวมมือกับองคกรปกครองระดบั ทอ งถิน่ ภาคเอกชน หนว ยงาน
ท่เี กี่ยวของในการจดั การศกึ ษาใหสอดคลองกบั บริบทของพื้นที่ ตลอดจนการกาํ กบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
2. จดั ทําฐานขอมูลประชากรวยั เรียน เพ่ือเกบ็ รวบรวม เชือ่ มโยงขอมูล ศึกษา วิเคราะห เพื่อ
วางแผนการจดั บรกิ ารการเรียนรใู หแกผเู รียน
สถานศึกษา
1. รว มกบั องคกรปกครองระดับพืน้ ที่ หนว ยงานท่ีเก่ยี วของ และภาคเอกชน วางแผนการจดั
การศกึ ษาใหสอดคลองเหมาะสมกบั บริบทของพนื้ ท่ีรับผิดชอบ
2. รว มมือกับองคกรปกครองสวนทองถิน่ ชุมชน เอกชน และหนวยงานทเ่ี กี่ยวขอ งระดับพ้ืนที่
จัดทําแผนการรับนักเรียนทกุ ระดับ ตงั้ แตร ะดบั ปฐมวยั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา
3. รว มกับองคกรปกครองระดับพื้นท่ี จดั ทาํ สาํ มะโนประชากรวัยเรียน (อายุ ๐ - ๖ ป) เพอ่ื ใน
ไปใชใ นการวางแผนการจดั การศกึ ษา
4. รว มกบั องคกรปกครองระดับพนื้ ท่ี ตดิ ตาม ตรวจสอบ เด็กวยั เรยี นไดเ ขาถงึ บรกิ ารการเรียนรู
ไดอ ยางท่ัวถงึ ครบถวน
5. รวมมอื กับองคกรปกครองระดบั พน้ื ที่ ชุมชน ภาคเอกชน และทกุ ภาคสว นบริหารจัดการ
ทรัพยากรในชมุ ชนใหส ามารถใชร ว มกบั ไดอยางมีประสิทธภิ าพ

๖๖
6. รว มมอื กับองคกรปกครองระดับพ้นื ที่ จดั อาหาร อาหารเสริม (นม) ใหผูเ รยี นอยางเพียงพอ
มีคณุ ภาพ
7. รว มมอื กบั องคกรปกครองระดับพ้นื ที่ สนบั สนุนใหผูเ รียนทอี่ ยูหา งไกลไดเ ดินทางไปเรียน
อยางปลอดภัยท้งั ไปและกลบั
2. การยกระดบั สถานศกึ ษาในสังกัดทกุ ระดับและทกุ ประเภท ใหมคี ณุ ภาพและมาตรฐานตาม
บรบิ ทของพื้นท่ี
โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดงั น้ี
1. จดั ทาํ มาตรฐานสถานศกึ ษาใหม ีคณุ ภาพในดานตาง ๆ เชน 1) มาตรฐานดา นโครงสราง
พืน้ ฐานและสิง่ อํานวยความสะดวก 2) มาตรฐานดา นครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3) มาตรฐาน
ดา นระบบความปลอดภัยของสถานศกึ ษา 4) มาตรฐานดา นเทคโนโลยีดิจทิ ลั Digital Technology เปนตน
การกาํ หนดมาตรฐานสถานศึกษาดานตาง ๆ ดงั กลา วใหพ ิจารณาตามบรบิ ทของสภาพทางภูมศิ าสตร
ประเภท และขนาดของสถานศกึ ษา เปนสําคัญ
2. สง เสรมิ สนบั สนนุ พฒั นาสถานศึกษาระดับตําบล ระดับอาํ เภอ ระดับจงั หวดั โรงเรียนขนาดเล็ก
และสถานศึกษาประเภทอ่นื ใหมคี ณุ ภาพ และตามมาตรฐานท่ีกําหนด โดยเนนสถานศึกษาระดบั ตําบล
โรงเรียนขนาดเล็กในพน้ื ทหี่ า งไกล และโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามโครงการพิเศษ
3. การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) เปน เคร่ืองมือในการพัฒนาคณุ ภาพ
ของผูเรียน
โดยมแี นวทางการดําเนนิ การ ดังน้ี
1. สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษามรี ะบบโครงขายสือ่ สารโทรคมนาคมท่มี ีประสิทธภิ าพ
และมคี วามปลอดภัยสูง
2. สง เสรมิ สนับสนนุ ใหสถานศกึ ษามรี ะบบคอมพิวเตอร และอุปกรณทีใ่ ชเปนเครือ่ งมอื
ในการพัฒนาทักษะดานการรูดจิ ทิ ลั (Digital Literacy) แกผูเ รยี น
3. สงเสรมิ สนับสนนุ ใหส ถานศึกษาปรับปรุงพัฒนาหอ งเรียนใหเปน หองเรียนที่ประยุกตใ ช
เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Technology) ในการจดั การเรยี นรูแกผูเรยี น
4. สง เสริม สนบั สนุนอปุ กรณดจิ ทิ ลั (Digital Device) สาํ หรบั ผูเ รียนทุกระดับ ต้ังแตร ะดับ
ปฐมวยั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอยา งเหมาะสม เพือ่ เปนเคร่ืองมือในการพฒั นาการเรียนรขู องตนเอง
นาํ ไปสกู ารสรา งการเรยี นรูอยางตอเน่ืองตลอดชวี ติ
5. สงเสรมิ สนบั สนนุ อปุ กรณดจิ ทิ ัล (Digital Device) และพัฒนาการสอนทักษะดจิ ิทัล (Digital
Pedagogy) สําหรับครูอยางเหมาะสม เพ่ือเปน เครอ่ื งมือในการจดั กระบวนการเรยี นรู เพอ่ื พัฒนาผเู รียนได
อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. สงเสริม สนบั สนุน ใหส ถานศกึ ษาใชเทคโนโลยกี ารเรียนการสอนทางไกล เพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ผูเรียน (Distance Learning Technology: DLT)
กลยุทธท ี่ 5 การจัดการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม
เปาประสงคเชงิ กลยทุ ธ
1. สถานศึกษา นักเรียนไดรบั การสง เสรมิ ดานความรู การสรา งจติ สาํ นกึ ดานการผลิตและบริโภค
ที่เปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอม
2. สถานศึกษาสามารถนาํ เทคโนโลยีมาจดั ทาํ ระบบสารสนเทศการเกบ็ ขอมูลดานความรู

๖๗
เร่อื งฉลากสเี ขยี วเพื่อสิ่งแวดลอม ฯลฯ และสามารถนาํ มาประยุกตใชใ นทุกโรงเรยี นตามแนวทาง Thailand
4.0

3. สถานศึกษามีการจดั ทํานโยบายจัดซอื้ จดั จางทีเ่ ปน มิตรกบั สิง่ แวดลอม
4. สถานศึกษามีการบรู ณาการหลกั สตู ร กิจกรรมเรื่องวงจรชวี ิตของผลติ ภณั ฑการผลิตและ
บรโิ ภคสกู ารลดปรมิ าณคารบ อนในโรงเรยี นคารบอนตํ่าสูชุมชนคารบ อนต่ํา
5. สาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 เปนตน แบบสาํ นกั งานสเี ขียว (GREEN
OFFICE) และสถานศึกษาในสังกัด มีการปรบั ปรุงและพฒั นาเปน ตน แบบสถานศึกษาสเี ขยี ว (GREEN
SCHOOL) เพ่อื ใหมบี ริบทท่เี ปน แบบอยา งเอ้ือหรอื สนบั สนุนการเรยี นรขู องนักเรียนและชมุ ชน
6. สถานศึกษามีนโยบายสง เสริมความรู ความเขา ใจ สรา งจิตสํานกึ และจดั การเรยี นรกู ารผลิตและ
บริโภคที่เปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอม
7. สถานศกึ ษาตน แบบนําขยะมาใชประโยชนเ พื่อลดปรมิ าณขยะ
8. มีสถานศกึ ษานวัตกรรมตน แบบในการนาํ 3RS มาประยกุ ตใชใ นการผลติ และบริโภคที่เปน มติ ร
กับสง่ิ แวดลอม
9. สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 มีการทาํ นโยบายการจดั ซ้อื จดั จา งที่
เปนมิตรกับสง่ิ แวดลอม
ตัวช้ีวดั
1. จาํ นวนสถานศกึ ษาทม่ี นี โยบายและจัดกจิ กรรมใหค วามรูท่ีถกู ตอง สรา งจิตสาํ นึกดานการผลิต
และบริโภคท่ีเปนมติ รกบั สง่ิ แวดลอม นาํ ไปปฏบิ ตั ใิ ชทบ่ี านและชมุ ชน
2. รอยละของครูท่ีสามารถนาํ สื่อนวตั กรรมทผ่ี านกระบวนการคดิ มาใชใ นการจัดการเรียนรู
ประยกุ ตใชในชีวติ ประจําวันและชมุ ชนไดต ามแนวทาง Thailand 4.0
3. รอ ยละของผูเ รยี นทีน่ าํ สอื่ นวัตกรรมมาใชใ นการเรยี นรู ประยุกตใชในชีวติ ประจาํ วันและชุมชน
ไดต ามแนวทาง Thailand 4.0
4. จาํ นวนสถานศกึ ษาที่มีการปรับปรุง พฒั นาบคุ ลากรและสถานท่ีใหเปนสถานศึกษาสเี ขียว
ตนแบบ
5. จํานวนสถานศกึ ษาท่มี ีนโยบายและดําเนินการจดั ซือ้ จดั จางท่เี ปน มติ รกับส่ิงแวดลอม
6. จาํ นวนสถานศึกษาท่ีมีการนาํ ขยะมาใชป ระโยชนใ นรปู ผลิตภณั ฑแ ละพลังงาน เพอ่ื ลดปริมาณขยะ
มกี ารสง เสริมการคัดแยกขยะในชมุ ชนเพอ่ื ลดปริมาณคารบอนท่ีโรงเรียนและชุมชน
7. จาํ นวนสถานศึกษาทีม่ ีการบูรณาการเรอ่ื งการจดั การขยะแบบมีสวนรวมและการนําขยะมาใช
ประโยชน รวมทง้ั สอดแทรกในสาระการเรียนรทู ่เี กีย่ วของ
8. รอ ยละของผูเ รียนทมี่ ีการเรียนรดู า นการลดใชพลงั งาน การจัดการขยะและอนรุ กั ษสง่ิ แวดลอม
จากแหลง เรยี นรตู า ง ๆ
9. จาํ นวนสถานศกึ ษาที่มีการเก็บขอ มูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคารบ อนไดออกไซด และขอมูล
ของ Carbon Footprint ในสถานศกึ ษา ดว ยรปู แบบ QR CODE และ Paperless
10. รอยละของผเู รียนที่มกี ารเก็บขอมูลเปรียบเทยี บการลดปริมาณคารบ อนไดออกไซด และขอ มลู
ของ Carbon Footprint ในสถานศกึ ษาและที่บาน ดว ยรปู แบบ QR CODE และ Paperless
11. สํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 มีการปรับปรุง พฒั นาบคุ ลากรและ
สถานทใ่ี หเปน สาํ นักงานสีเขยี วตนแบบ
12. จาํ นวนสถานศกึ ษาที่มีการปรับปรุง พฒั นาบุคลากรและสถานท่ีใหเปนสถานศกึ ษาสีเขยี วตนแบบ

๖๘
13. จาํ นวนสถานศกึ ษาทีส่ ง เสรมิ ความรู ความเขาใจ สรา งจติ สาํ นึก รวมถงึ การจดั การเรียนรกู าร
ผลิตและบริโภคทเ่ี ปนมิตรกับสง่ิ แวดลอม
14. รอยละของครทู ี่มคี วามคดิ สรางสรรค สามารถพฒั นาส่ือ นวัตกรรม และจดั ทาํ งานวจิ ยั ดา น
การสรางสาํ นึก การผลิตและบริโภคท่เี ปน มิตรกับส่ิงแวดลอม
15. จาํ นวนสถานศึกษาท่เี ปนตน แบบการนําขยะไปใชป ระโยชนเ พื่อลดปรมิ าณขยะ
16. จาํ นวนสถานศกึ ษาตน แบบที่มนี วัตกรรมในการนาํ 3RS ไปประยุกตใชในการผลติ และ
บริโภคทเ่ี ปน มติ รกับสิ่งแวดลอม
17. สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 มนี โยบายการจัดซื้อจัดจา งท่เี ปน
มติ รกับส่ิงแวดลอ ม
มาตรการและแนวทางการดาํ เนินการ
1. สนับสนนุ สงเสรมิ พัฒนากระบวนการรณรงคใหม ีการจดั ซ้ือจดั จา งทเี่ ปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอม
และยกระดับสถานศกึ ษาดา นการบริหารจัดการสาํ นักงานสีเขยี วและสถานศึกษาทเี่ ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม
(Green office)
2. พฒั นา ยกระดับสถานศึกษานํารองขยายผล สงสถานศึกษาตนแบบดานการพัฒนา ดา นการ
ผลติ และบรโิ ภค ทีเ่ ปน มิตรกับสิง่ แวดลอ มทั้งระบบ เชน การเลือกซื้อผลิตภัณฑเบอร ๕ และผลิตภณั ฑท ี่มี
ฉลากและสัญลักษณเบอร ๕ เพื่อลดการใชท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละลดปริมาณขยะในสถานศกึ ษา
3. สงเสรมิ การพัฒนาส่ือนวตั กรรม และบรู ณาการสาระการเรยี นรูแ ละแผนการจดั การเรยี นรูเ รอ่ื ง
การผลติ และบรโิ ภคทเ่ี ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอมตอการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ
4. สง เสริม สนับสนนุ และพฒั นาใหนกั เรียน โรงเรียนไดศ ึกษา เรียนรจู ากแหลงเรียนรโู รงงาน
อตุ สาหกรรม การผลติ ที่เปน มิตรกับส่ิงแวดลอ ม ชมุ ชนเมืองนเิ วศ และหนวยงานสง เสรมิ การบรโิ ภคที่เปน
มิตรกับส่งิ แวดลอ มเพื่อนําความรูม าประยุกตใชและจัดทําโครงงานดานการอนุรักษส ิ่งแวดลอม
กลยุทธท ่ี 6 การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การศึกษา
เปา ประสงคเชงิ กลยทุ ธ
1. สถานศึกษามีความเปน อิสระในการบริหารและจัดการศึกษาครอบคลุมดา นการบรหิ ารวชิ าการ
ดานการบรหิ ารงบประมาณ ดานการบริหารงานบุคคล และดานการบรหิ ารงานท่วั ไป
2. สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 มกี ารปรับเปลยี่ นเปนหนวยงาน
ทมี่ คี วามทนั สมัย พรอมที่จะปรับตัวใหท ันตอ การเปล่ียนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา เปนหนวยงานท่มี หี นา ที่
สนับสนนุ สงเสริม ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพ่ือใหส ถานศกึ ษาสามารถจัดการศึกษาไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ
3. สาํ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 และสถานศึกษา มีความโปรง ใส
ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล
4. สาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 และสถานศึกษา พัฒนานวัตกรรม
และเทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Technology) มาใชใ นการเพ่ิมประสิทธิภาพ การบริหารและการจัดการเรียน
การสอนอยางเปนระบบ

ตัวชี้วดั
1. จํานวนสถานศกึ ษาท่ีไดร บั การกระจายอํานาจการบริหารจัดการศกึ ษาอยา งคลอ งตวั ครอบคลุม
ดา นการบรหิ ารวิชาการ ดานการบริหารงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และดานการบรหิ ารงานท่วั ไป

๖๙
2. สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ไดร บั การพัฒนาใหเปนหนว ยงานท่ีมี
ความทันสมยั ยืดหยนุ คลอ งตัวสงู พรอ มทจ่ี ะปรบั ตัวใหท ันตอการเปลีย่ นแปลงของโลกอยตู ลอดเวลา เปน
หนว ยงานทม่ี หี นาท่สี นับสนนุ สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือใหสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมี
ประสิทธภิ าพครอบคลุมทัว่ ถงึ
3. สํานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบรุ ี เขต 1 มีการดําเนนิ การ ผานการประเมิน
คุณธรรมและความโปรงใสในการดาํ เนนิ งานของหนวยงาน ภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment
: ITA)
4. จํานวนสถานศึกษาท่ีมีการดําเนนิ กร ผานการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการ
ดําเนินงานของหนวยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
5. สาํ นักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 1 มีการนาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ดิจทิ ัล (Digital Technology) ไปใชในการบริหารจดั การโดยใชดิจิทลั แพลตฟอรม (Digital Platform)
6. จํานวนสถานศึกษาที่มีการนาํ นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Digital Technology) ไปใชใ น
การบริหารจัดการ โดยใชดจิ ิทลั แพลตฟอรม (Digital Platform)

มาตรการและแนวทางการดาํ เนินการ
1. ใหส ถานศึกษา หรอื กลมุ สถานศึกษา มีความเปนอสิ ระในการบรหิ ารจัดการศึกษา
โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดงั นี้

1.1 สถานศึกษา หรือกลมุ สถานศกึ ษาไดร ับการกระจายอาํ นาจใหอ ยางเปนอิสระในการ
บรหิ ารและจดั การศึกษาครอบคลุม ดานการบริหารวิชาการ ดา นการบริหารงบประมาณ ดา นการบริหารงาน
บุคคลและดานการบริหารงานทั่วไป โดยดําเนินการเปนรายสถานศกึ ษาหรอื กลุมสถานศึกษา อาจดาํ เนินการ
เปนรายดานหรอื ทุกดา นได

1.2 สถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษา มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาของสถานศึกษา เพอ่ื ทาํ
หนา ท่สี งเสรมิ สนบั สนุน กํากับดแู ลกจิ การและการประกนั คุณภาพของสถานศึกษา

2. พฒั นาสํานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาเปน หนวยงานมีความทันสมยั อยางมีประสิทธิภาพ
โดยมแี นวทางการดําเนินการ ดงั นี้

2.1 บริหารจัดการทีม่ ุงเนนคณุ ธรรมและความโปรงใสในการทาํ งานตามหลักการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment
: ITA)

2.2 สงเสรมิ สนบั สนุน การนาํ นวตั กรรม และเทคโนโลยีดิจทิ ลั (Digital Technology) มาใช
ในการบริหารงาน

2.3 สงเสริม การมีสวนรวม จัดทําแผนบูรณาการจัดการศึกษาในระดับพืน้ ที่
2.4 สรางความเขม แข็งในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษารปู แบบเครือขาย ไดแ ก เครือขาย
สง เสรมิ ประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษา ศูนยพ ัฒนากลุมสาระการเรยี นรู สหวทิ ยาเขต
2.5 สงเสริมใหท กุ ภาคสวนของสงั คมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการที่ตอบสนอง
ความตอ งการของประชาชนและพ้นื ท่ี
2.6 สงเสริม สนับสนนุ ผปู กครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชนใหมคี วามรู ความเขาใจ และ
มสี ว นรว มรับผิดชอบ (Accountability) ในการบริหารจดั การศึกษา
2.7 สงเสรมิ ใหทกุ ภาคสวนของสังคมเขา มามีสว นรวมสนบั สนนุ ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา

๗๐

3.2 แนวทางในการพฒั นาโรงเรยี นอนบุ าลวดั ชอ งลม

จากกรอบดงั กลาวขางตน โรงเรียนนํามาเปนแนวทางในการกาํ หนดทศิ ทางของโรงเรียนอนบุ าลวัดชอง
ลมไดด ังน้ี

วสิ ัยทัศน (Vision)
โรงเรียนอนุบาลวัดชองลม มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษากําหนด ผูเรียนมีความรู
คณุ ธรรมจริยธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค และทักษะในศตวรรษที่ 21 พรอมนอมนาํ ศาสตรพ ระราชามา
ประยกุ ตใชใ นการพัฒนาและการดํารงชวี ติ ชุมชนมีสว นรว มในการจัดการศกึ ษา
พนั ธกจิ (Mission)
1.สง เสริมพฒั นาผูเ รยี นใหมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาทีส่ ถานศึกษากําหนด ในทุกมติ ิ
2. สงเสริมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูความสามารถในการจดั การศึกษา ตาม
มาตรฐานวิชาชพี
3. พัฒนารปู แบบการบริหารการจดั การศกึ ษาใหเ ปนระบบและมีคุณภาพ
4. ประสานความรวมมอื โดยใหชุมชนมีสว นรวมในการจัดการศกึ ษา
เปาประสงค (Goal)
1. ผเู รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาทส่ี ถานศึกษากําหนด
2. ผเู รียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรม และคานิยมทพ่ี ึงประสงค
3. ผเู รยี นมีทักษะในศตวรรษที่ 21
4. นอมนาํ ศาสตรพ ระราชาบูรณาการกับการจดั การเรยี นการสอน
5. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไดร บั การพัฒนาความรูและความสามารถอยา งมปี ระสิทธภิ าพและ
ประสิทธิผล
6. โรงเรยี นมีการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศึกษาท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพประสิทธผิ ล
7. ชมุ ชนเหน็ ความสาํ คัญของการศึกษาและเขา มามีสว นรวมในการจดั การศึกษา

อัตลกั ษณ
ยิม้ แยม มารยาทเดน เนน จติ อาสา ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

กลยุทธทจ่ี ะนํามาใชใ นการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา ดงั นี้
กลยทุ ธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสง เสรมิ
ความสามารถรอบดา น
กลยุทธท ี่ 2 ปลูกฝง คุณธรรม ความสํานกึ ในความเปน ชาตไิ ทยและวถิ ชี วี ิตตามหลักปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลยุทธท ี่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหส ามารถจัดการเรยี นการสอนไดอยางมีคณุ ภาพ

๗๑
กลยทุ ธท ่ี 5 พฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการตามแนวทางการกระจายอาํ นาจตามหลัก
ธรรมาภิบาล เนน การมสี วนรวมจากทุกภาคสว น
จากกลยุทธโรงเรียนอนบุ าลวัดชองลม ไดจดั ทาํ แผนปฎิบตั ิการเพื่อดาํ เนนิ งานสนองกลยุทธท ว่ี างไว
เพอ่ื ใหบรรลเุ ปาหมาย มงุ สวู สิ ัยทศั น ซึ่งการกําหนดคา เปาหมายในการพัฒนาคณุ ภาพ กําหนดไดด ังนี้

กลยทุ ธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลกั สตู รและสง เสรมิ คว
โครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น

วตั ถปุ ระสงค ตัวชี้ว

1. เพื่อพฒั นาใหนักเรยี นมี 1. คณุ ภาพดานผูเรียนตามมาตรฐานส
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 8 กลุม ๒.นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ริ ะดับชาติ O-n
สาระเพิ่มขึ้น ละ 50
2. เพอื่ ใหน ักเรียนมีทกั ษะที่จําเปน ๓.นกั เรียนอานภาษาไทยออก เขยี นภ
เหมาะสมกับเดก็ ในศตวรรษที่ 21 ตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด
3. เพ่อื พฒั นาใหน ักเรยี นมี ๔. นกั เรียนรคู าํ ศพั ทภาษาอังกฤษตาม
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดับชาติ สถานศกึ ษาตามเกณฑที่สถานศึกษากํา
เพิ่มขนึ้ 5.นกั เรียนสามารถคิดคํานวณไดคลอ ง
4. เพ่ือพัฒนาใหนักเรียนอานออก สถานศกึ ษากําหนด
เขยี นได 6. นักเรียนสามารถสรางนวตั กรรมให
5. เพื่อพฒั นาใหน ักเรียนสามารถ
คิดคาํ นวณ ไดค ลอง ตามชว งวัย
ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตามชวง
วยั

๗๒

วามสามารถรอบดาน

วดั คาเปาหมายรอ ยละ /ป
การศกึ ษา
2563 2564 2565
สถานศึกษา อยใู นระดับ 3 ขึน้ ไป 70 75 80
net , NT และ RT มากกวา รอย 50 55 58
70 75 80
ภาษาไทยได คลองตามชวงวยั
70 75 80
มเกณฑช วงวัยในหลกั สูตร
าหนด 70 75 80
งตามชว งวยั ตามเกณฑที่ 70 78 80

หมจ ากองคความรทู ี่ไดเรียน

โครงการ นักเรยี นไทยสุขภาพดี ตวั ชวี้ ดั
วตั ถปุ ระสงค

1. เพอ่ื พฒั นาใหน ักเรียนมี 1. นักเรยี นเขา รวมโครงการนักเรียนไทยส
สุขภาพกายแข็งแรง และ
สขุ ภาพจติ ท่ีดี 2. นกั เรยี น มีนํ้าหนักและสว นสูงตามเกณ
สุขภาพกายแขง็ แรงและสขุ ภาพจติ ที่ดี
2. เพ่อื พฒั นาใหนักเรียน
สามารถชว ยเหลือตนเองได 3. นกั เรียน สามารถดแู ลตนเองจากโรคภยั
ในการปองกันภยั จากโรค อบุ ตั ิเหตใุ กลตวั
และภยั อนั ตรายใกลต ัวท่ี
เกดิ ข้นึ

3. เพ่ือพัฒนาใหนักเรยี น
นาํ ความรไู ปประยกุ ตใชให
เกดิ ประโยชนแ กตนเอง
เพ่ือน และครอบครัว

4. เพื่อใหนกั เรยี นไดร ับ
สารอาหารทม่ี ีประโยชน มี
โภชนาการทีดี

๗๓

สุขภาพดี คา เปาหมายรอยละ /ปก ารศกึ ษา
ณฑอายุ อยใู นเกณฑดี 2563 2564 2565

100 100 100

80 85 90

ย และปอ งกันตนเองจาก 80 85 90

โครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ ตัวชีว้ ดั
วัตถุประสงค

1. เพอ่ื ใหนกั เรยี นหา งไกล ๑. โรงเรียนปลอดจากปญหายาเสพติด
จากปญหายาเสพตดิ
๒. โรงเรียนปลอดจากอบายมุข สือ่ ลามกอ
2. เพ่อื ใหนกั เรียนไมย ุง ววิ าท
เกี่ยวกับส่อื ลามกอนาจาร
และปจจยั เส่ยี ง

3. เพื่อใหนักเรียนหา งไกล
จากการพนนั

4. เพ่ือใหนักเรียนไมกอ เหตุ
ทะเลาะววิ าท

5. เพอื่ ใหโ รงเรยี นเปน
สถานศกึ ษาทป่ี ลอดจาก
ปญหายาเสพตดิ สอ่ื ลามก
อนาจาร การพนนั เหตุ
ทะเลาะววิ าท

๗๔

คา เปา หมายรอ ยละ /ปการศกึ ษา
2563 2564 2565

100 100 100

อนาจารและเหตุทะเลาะ 100 100 100

โครงการหองสมุดมชี ีวติ

วตั ถปุ ระสงค ตวั ชวี้ ัด

1. เพอื่ ใหครูและนักเรยี นมี 1. หอ งสมุดมีหนังสือเพียงพอตอ การคนควา หาค
แหลง เรยี นรูสําหรบั ศึกษา ภายในหองสมดุ เอ้ือตอการเรียนรู
คน ควาหาความรู 2. นักเรยี นมนี สิ ยั รักการอาน
2. เพ่อื ใหหอ งสมดุ เปนแหลง 3. นักเรยี น มที กั ษะการอา น โดยสามารถเลาเร่อื
เรียนรทู ี่เอ้ือตอ การจดั กิจกรรม 4. นักเรียนและครู เขาใชบ ริการหองสมดุ โรงเรยี น
การเรยี นการสอนท่เี นนให
นกั เรยี นไดศกึ ษาคน ควา ดวย
ตนเอง
3. เพอ่ื ปลกู ฝง นสิ ัยรกั การอาน
บรู ณาการรว มกับกลมุ สาระการ
เรยี นรูภาษาไทยผาน
กระบวนการเรยี นการสอนและ
หอ งสมดุ
4. เพือ่ พัฒนาหองสมุดใหส ือ่ ที่
หลากหลายเหมาะแกการ
เรยี นรู

๗๕

คา เปา หมายรอ ยละ /ปก ารศึกษา
2563 2564 2565
ความรู บรรยากาศ 80 85 90

องใหผอู ่นื ฟงได 80 85 90
น 70 75 80
80 85 90

โครงการระบบดูแลชวยเหลือนกั เรยี น ตัวชีว้ ัด
วตั ถปุ ระสงค

1. เพื่อใหน กั เรยี นไดร ับการดูแล 1. นักเรยี น ไดรบั การชว ยเหลอื ตามศักย
ชว ยเหลอื สงเสริม พัฒนา บคุ คล
ปองกัน แกไ ข ตามศักยภาพของ
นักเรยี น 2 ผูทเ่ี ก่ียวของมคี วามพงึ พอใจผลการดาํ
ดแู ลชวยเหลือนักเรียนในโรงเรยี น
2. เพื่อใหโ รงเรยี น ผปู กครอง
หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของ และชมุ ชน
มีการทาํ งานรวมกนั โดยผา น
กระบวนการดําเนินงานทชี่ ดั เจน

๗๖

คา เปาหมายรอ ยละ /ปการศกึ ษา
2563 2564 2565

ยภาพของแตล ะ 100 100 100

าเนนิ โครงการระบบ 80 85 90

โครงการบานนกั วิทยาศาสตรนอย ตวั ชี้วดั
วตั ถปุ ระสงค

1. เพ่ือสงเสริมใหนกั เรยี นมี 1. นกั เรยี นเขารวมโครงการบานนกั วิทย

ทักษะในการใชภาษาที่เหมาะสม 2. นักเรียน มที ักษะในการใชภาษาท่ีเหม
กบั วยั

2. เพือ่ สง เสรมิ ใหนักเรียนมี 3. นกั เรยี น มีทกั ษะในการใชกระบวนกา
ทักษะกระบวนการทาง การตัง้ คาํ ถาม การสงั เกต และการแกปญ

วิทยาศาสตรใ นการตง้ั คาํ ถาม

การสังเกต และการแกปญหา

๗๗

คาเปา หมายรอ ยละ /ปก ารศึกษา
2563 2564 2565

ยาศาสตรน อย 100 100 100

มาะสมกับวยั 85 90 95

ารวทิ ยาศาสตรใน 80 85 90
ญหา

กลยทุ ธท่ี 2 ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในความเปน ชาตไิ ทยและวถิ ีชีวติ ตามหลกั ปรัชญ
โครงการสง เสรมิ ผูเรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคานิยมทพ่ี ึงประสงค

วัตถปุ ระสงค ตวั ช้วี ดั

1. เพอื่ สง เสรมิ ใหนักเรียนมี 1. นกั เรียน เขา รวมโครงการคณุ ธรรม
คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมท่ีพงึ ประสงค

2. เพื่อสงเสรมิ ใหน ักเรียน 2. นักเรยี นปฏิบตั ิตามหลักศาสนา ที่ต
ตระหนกั ถึงวัฒนธรรมประเพณี
ของไทย 3. นกั เรียน เขารว มกิจกรรมวันสาํ คญั

3. เพือ่ สงเสรมิ ใหนกั เรยี นปฏิบัติ 4. นักเรยี น มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม แล
ตนโดยยึดหลกั คา นยิ มท่ีพงึ ประสงค
ประสงค

๗๘

ญาเศรษฐกิจ พอเพียง

ม จรยิ ธรรม คา เปาหมายรอ ยละ /ปก ารศึกษา
2563 2564 2565
100 100 100

ตนนับถือ 100 100 100

ญ 100 100 100

ละคา นยิ มท่ีพงึ 85 90 95

โครงการ เศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตรของพระราชา ตวั ช้ีวดั
วตั ถปุ ระสงค

1. เพอ่ื ใหผ ูบรหิ าร คณะครแู ละ 1. นักเรยี นดําเนินชวี ิตอยางพอประ
นักเรยี นทุกคน นาํ หลกั ปรัชญาของ รอบคอบมีคุณธรรม
เศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใช 2. นกั เรียน มภี มู คิ ุมกันในตัวที่ดปี ร
ในการจัดการเรียนการสอนการจัด สังคมไดอยา งมีความสุข
กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นและการ
บรหิ ารจดั การสถานศึกษา

๗๙

คา เปาหมายรอยละ /ปก ารศกึ ษา

2563 2564 2565

ะมาณมเี หตผุ ล 80 85 90

รับตวั เพื่ออยูใน 80 85 90

โครงการ สหกรณโรงเรยี น ตัวช้ีวดั
วตั ถุประสงค

1. เพอ่ื ใหนักเรยี นมีความรคู วาม 1. นักเรียน มีความรูความเขาใจเก
เขาใจเกี่ยวกับหลักการและ และวิธกี ารของสหกรณ
วธิ ีการของสหกรณ 2. นกั เรยี น ครูและบคุ ลากรในโรงเ
สมาชกิ กจิ กรรมสหกรณโ รงเรียนอน
2. เพอ่ื ใหน กั เรยี น ครูและ 3. นักเรยี นมกี ารออมเงิน
บคุ ลากรในโรงเรียนมีการ 4. นักเรยี น มีความรับผิดชอบตอห
วางแผนในการใชจาย และการ มอบหมาย
ลงทนุ

3. เพื่อปลกู ฝง ใหนักเรียนรจู ัก
การออมทรัพย

4. เพอ่ื ปลูกฝง ใหน ักเรยี นมีความ
รับผิดชอบตอ หนาท่ีทีไ่ ดร ับ
มอบหมาย

๘๐

คา เปา หมายรอยละ /ปการศึกษา

2563 2564 2565

กย่ี วกับหลกั การ 80 85 90

เรยี น สมคั รเปน 100 100 100
นุบาลวดั ชอ งลม 100 100
85 90
100

หนาที่ทไ่ี ดรับ 80

กลยทุ ธท ี่ 3 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถจดั การเรียนการสอนไดอยาง
โครงการพฒั นาบุคลากร

วตั ถุประสงค ตัวชวี้ ัด

1. เพอื่ เพิ่มพนู ความรแู ละ ๑. บคุ ลากร ความพึงพอใจตอ การเ
ความสามารถ และทักษะวิชาชีพ
ครู ๒. บคุ ลากรทุกคนเขา รับการอบรม
ชั่วโมง ตอ ป
2.2. เพ่ือสรา งเสริมความรู
เก่ยี วกบั การจดั การเรยี นรู ตาม
มาตรความรู 9 มาตรฐาน

2. เพอ่ื ใหข า ราชการครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา และ
วิทยากรภายนอก เขารว ม
กิจกรรมการอบรม ปฏิบัติการ/
ประชมุ /สมั มนา ทจ่ี ดั โดย
โรงเรยี นและหรือหนวยงานท่ี
เก่ียวขอ งในการจัดการศึกษา

๘๑

งมีคุณภาพ

คา เปาหมายรอยละ /ปการศึกษา

2563 2564 2565

เขา รวมโครงการ 80 90 100
มอยางนอ ย 20 100 100 100

โครงการสง เสรมิ คณุ ภาพงานบรหิ ารงานทว่ั ไป ตวั ชว้ี ดั
วตั ถุประสงค

1. เพ่อื ใหบ ุคลากร นกั เรียนและ 1. นักเรียน ผปู กครอง บุคลากรภ
ผูป กครองไดรบั การบรกิ ารดวย ไดรบั ความพงึ พอใจในการรบั บริการ
ความสะดวก รวดเรว็ เปนธรรมมี 2. การบรหิ ารจัดการขอ มูลคนหาได
ประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ ทสี ะอาด
2. เพ่อื พัฒนาระบบบริหาร 3. อัตราการใชกระดาษลดลงอยา งน
จดั การ กลมุ บรหิ ารทั่วไปใหมี จากปก ารศึกษาทีแ่ ลว
ระเบยี บเรียบรอ ยเปนสดั สวนได
อยางเปน ข้นั ตอนและมรี ะบบ
แบบแผน
3. เพ่อื อํานวยความสะดวก
สนับสนุน สงเสริมใหก าร
ปฏิบตั งิ านของโรงเรียนดําเนินไป
อยางมีประสิทธภิ าพ

๘๒

คา เปา หมายรอ ยละ /ปก ารศกึ ษา

2563 2564 2565
ภายในโรงเรยี น 80 85 90
ร 85 90
ดรวดเร็ว สถาน 80 6 9

นอยรอยละ 3 3

โครงการสงเสริมคุณภาพงานพัสดุ การเงิน ตัวชี้วัด
วัตถุประสงค

1. เพื่อปอ งกันการทจุ ริตและ ๑. มีคูมอื ปฏบิ ตั งิ านดานงานการเง
ขอผดิ พลาดท่ีอาจเกดิ ขึ้นได 2. มีการจัดเกบ็ เอกสารหลักฐานต
2. เพอ่ื จัดทาํ ทะเบยี นควบคมุ คนหาและตรวจสอบ
ปอ งกันและกํากับติดตามดูแลการใช ๓. ผูมารับบรกิ าร พึงพอใจตอการ
จายเงนิ ทกุ ประเภท พสั ดุ
3. เพื่อจดั ทําเอกสารสาํ หรับ
ตรวจสอบความถูกตอ งของระบบ
บัญชีทง้ั ดานการเงินและพัสดุ
4. เพอ่ื จดั วางระบบการบริหาร
จดั การดานการเงนิ และพัสดุของ
โรงเรยี น
5. เพื่อควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน
การเงินและพสั ดุใหถูกตองตาม
ระเบียบของทางราชการ

๘๓

คา เปาหมายรอ ยละ /ปก ารศกึ ษา

งนิ และพัสดุ 2563 2564 2565
ตางๆ ท่งี า ยตอการ 80 85 90
รบรกิ ารดานการเงนิ


Click to View FlipBook Version