The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดให้มีหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวง (ปี 2562)

สำนักจัดการที่ดินของรัฐ

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

46 ส�ำ นักจดั การที่ดนิ ของรฐั สำนกั จัดกำรทีด่ นิ ของรฐั 45

(๒) แนวเขตผิดพลาดคลาดเคล่ือน เช่น เดิมรังวัดตามทะเบียนท่ีดินสาธารณประโยชน์
ต่อมาพบประกาศหวงหา้ มและปรากฏวา่ อาณาเขตไมต่ รงกัน

(๓) จาลองรูปแผนทีห่ รอื คานวณเนอ้ื ท่ผี ิดพลาดคลาดเคลื่อน
ให้จังหวัดสอบสวนพยานหลักฐาน สรุปชี้แจงเหตุที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อน พร้อมส่งหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวงฉบับท่ีเก็บไว้ ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา และฉบับ
ผดู้ ูแลรกั ษาไปยงั กรมท่ีดนิ
ถ้าจะต้องมีการรังวัดตรวจสอบเพ่ือให้ทราบว่า รูปแผนที่หรือเนื้อที่ผิดพลาดคลาดเคล่ือน
หรือไม่ ให้อธบิ ดกี รมที่ดินสั่งรังวัดตรวจสอบ หรือให้ทบวงการเมอื งผู้ดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินนั้นแสดงความประสงค์ขอรังวัดตรวจสอบต่ออธิบดีกรมท่ีดิน โดยยื่นผ่านสานักงานท่ีดิน
จังหวัด หรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา ซ่ึงที่ดินน้ันต้ังอยู่ในเขต ส่วนวิธีการรังวัดให้อนุโลมปฏิบัติ
เชน่ เดียวกับการรงั วัดสอบเขตโฉนดทด่ี ิน”
- หลักเกณฑ์ เงอื่ นไข
ตามนัยระเบียบฯ ข้อ 3 ดังกล่าว ได้กาหนดหลักเกณฑ์ เง่ือนไขเก่ียวกับการเพิกถอนหรือ
แก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงท่ีออกไปโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อน ซ่ึงได้ยกตัวอย่างไว้ 3 กรณี คือ
(1) ออกไปผิดแปลง หรือทับที่บุคคลอ่ืน (2) แนวเขตผิดพลาดคลาดเคลื่อน เช่น เดิมรังวัดตามทะเบียน
ที่ดินสาธารณประโยชน์ ตอ่ มาพบประกาศหวงหา้ ม และปรากฏว่าอาณาเขตไม่ตรงกัน และ (3) จาลองรูป
แผนที่หรือคานวณเนื้อท่ีผิดพลาดคลาดเคล่ือน แต่ใช่ว่าหากมีกรณีอ่ืนที่ไม่ตรงตามระเบียบจะดาเนินการ
ไม่ไดข้ อใหเ้ ขา้ ใจวา่ กรณดี ังกล่าวเปน็ เพยี งตัวอยา่ งเท่านน้ั เพราะระเบยี บใชค้ าวา่ “เป็นต้นว่า” ดังน้ัน หาก
มีกรณอี ่นื ปรากฏ เชน่ การนาที่ดนิ ของรฐั ประเภททีด่ นิ รกร้างว่างเปล่ามาออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
หรือการนาที่ดินของรฐั ประเภทพลเมอื งใช้ร่วมกนั มาออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นประเภทใช้เพื่อ
ประโยชนข์ องแผ่นดนิ โดยเฉพาะ หรอื ในทางตรงข้าม ก็ตอ้ งถอื ว่าไดม้ กี ารออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ไปโดยผิดพลาดคลาดเคลอ่ื นหรือไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย จะต้องดาเนินการแก้ไขหรือเพิกถอนแลว้ แตก่ รณี
- ข้ันตอนการดาเนินการ
เมอ่ื มีขอ้ ร้องเรยี น หรือมีเหตุอ่ืนใดอันควรสงสัย ได้ว่ามีการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
ไปโดยผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้จังหวัดสอบสวนพยานหลักฐาน สรุปชี้แจงเหตุที่ผิดพลาดคลาดเคลื่อน
พร้อมทั้งส่งหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงฉบับที่เก็บรักษาไว้ ณ สานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสานักงานท่ีดิน
จังหวัดสาขา และฉบับผู้ดูแลรักษาไปยังผู้มีอานาจหน้าที่สั่งแก้ไขหรือเพิกถอน คือ ผู้ว่าราชการจังหวัด
หรือรองอธิบดกี รมที่ดินทีไ่ ดร้ บั มอบหมายแล้วแตก่ รณีเพ่ือพิจารณาสั่งการตามข้อ 4
ถ้าจะต้องมีการรังวัดตรวจสอบเพ่ือให้ทราบว่า รูปแผนที่หรือเน้ือที่ผิดพลาดคลาดเคล่ือน
หรือไม่ ให้ผู้มีอานาจหน้าท่ีหน้าท่ีสั่งรังวัดตรวจสอบ หรือให้ทบวงการเมืองผู้ดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินน้ันแสดงความประสงค์ขอรังวัดตรวจสอบต่ออธิบดีกรมที่ดิน หรือผู้ว่าราชการจังหวัด
โดยย่ืนผ่านสานักงานที่ดินจังหวัด หรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา ซึ่งท่ีดินน้ันตั้งอยู่ในเขต ส่วนวิธีการ
รงั วดั ให้อนุโลมปฏบิ ตั เิ ชน่ เดยี วกับการรงั วดั สอบเขตโฉนดทีด่ นิ
หากผลการรังวัดปรากฏข้อเท็จจริงว่าได้มีการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไปโดย
ผดิ พลาดคลาดเคล่อื น ซ่ึงหมายรวมถงึ ออกไปโดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมายให้ดาเนินการตามนัยข้อ 4 แต่หาก

สำ�นักจสดั ำกนากั รจทัดดี่กนิำรขทอด่ี งนิรัฐของรฐั 4476

เป็นเพียงกรณีการแก้ไขรายละเอียดในหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงท่ีเปลี่ยนแปลง
ไป ซึง่ มใิ ช่การแก้ไขรปู แผนทีห่ รือเนื้อที่ให้ดาเนินการตามนัยข้อ 9 ตอ่ ไป

2.2 ข้นั ตอนและวิธีการดาเนินการเมอ่ื มีความปรากฏชดั แจง้
ระเบียบกรมทด่ี นิ วา่ ดว้ ยการเพิกถอนหรือแกไ้ ขหนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่ีหลวง พ.ศ.2529
“ข้อ ๔ ถ้าอธิบดีกรมท่ีดินได้พิจารณาแล้ว เห็นสมควรว่าจะต้องเพิกถอนหรือแก้ไขก่อนมี

คาสง่ั ให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี
(๑) ใหอ้ ธบิ ดีกรมทดี่ ินแจง้ ให้ทบวงการเมอื งหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจหน้าท่ี

ดูแลรักษาท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินน้ันทราบ เพื่อให้คัดค้านภายในกาหนด ๓๐วัน นับแต่
วันที่ได้รบั แจง้

(๒) การเพกิ ถอนหรอื แกไ้ ขรูปแผนท่ี นอกจากจะต้องดาเนินการตาม (๑) แล้วให้อธิบดี
กรมทด่ี ินส่ังไปยงั เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา ประกาศการเพิกถอนหรือแก้ไข
หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ประชาชนทราบ มีกาหนด ๓๐ วัน โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สานักงานที่ดิน
จังหวัดหรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา ๑ ฉบับ ณ ที่ว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องที่หรือท่ีทาการเขต
๑ ฉบับ ที่ทาการกานัน ๑ ฉบับ ในบริเวณที่ดินนั้น ๑ ฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาล
หรือในเขตกรุงเทพมหานครให้ปิดไว้ ณ ศาลาว่าการอีก ๑ ฉบับ ถ้าเป็นการแก้ไขรูปแผนที่ ให้มีแผนท่ีแสดง
แนวเขตทด่ี ินเดมิ และทจ่ี ะแก้ไขท้ายประกาศดว้ ย

(๓) ถ้ามกี ารคดั คา้ น ให้อธบิ ดีกรมทดี่ ินเสนอเรอื่ งให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณาส่ังการ”
- ข้นั ตอนการแจง้ คู่กรณแี ละผ้มู ีส่วนไดเ้ สีย
เมอ่ื ไดม้ ีการเสนอเรอ่ื งไปยังผู้มีอานาจหน้าท่ีส่ังแก้ไขหรือเพิกถอนแล้ว ถ้าผู้มีอานาจหน้าที่
พิจารณาแล้วเห็นสมควรว่าจะต้องเพิกถอนหรือแก้ไข ก่อนมีคาส่ังจะต้องดาเนินการเก่ียวกับการแจ้ง
คู่กรณีและผู้มีสว่ นได้เสีย 2 ขั้นตอน คอื
ขั้นตอนท่ี 1 ให้ผู้มีอานาจหน้าที่แจ้งให้ทบวงการเมือง หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจ
หน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นทราบ เพื่อให้คัดค้านภายในกาหนด 30 วัน
นับแตว่ ันที่ไดร้ ับแจง้
ข้ันตอนท่ี 2 การเพิกถอนหรือแก้ไขรูปแผนท่ีนอกจากจะต้องดาเนินการตามข้ันตอนที่ 1
แลว้ ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ส่ังไปยังเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด หรือเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาประกาศการ
เพิกถอนหรอื แก้ไขหนังสอื สาคญั สาหรับที่หลวงให้ประชาชนทราบมกี าหนด 30 วัน โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย
ณ สานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสานักงานที่ดินจังหวัดสาขา 1 ฉบับ ณ ท่ีว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องที่
หรือที่ทาการเขต ๑ ฉบับ ที่ทาการกานัน ๑ ฉบับ ในบริเวณที่ดินน้ัน 1 ฉบับ ในเขตเทศบาล ให้ปิดไว้ ณ
สานกั งานเทศบาลหรอื ในเขตกรุงเทพมหานครให้ปิดไว้ ณ ศาลาว่าการอีก 1 ฉบับ ถ้าเป็นการแก้ไขรูปแผนท่ี
ให้มีแผนทแ่ี สดงแนวเขตทีด่ ินเดิมและทจ่ี ะแก้ไขใหมท่ า้ ยประกาศดว้ ย
- ขัน้ ตอนการการพิจารณาเม่ือมีการคัดค้าน

ในกรณีที่มีการคัดค้านของทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาให้ผู้มีอานาจหน้าท่ี
เสนอเรื่องให้กระทรวงมหาดไทยพิจารณาส่ังการ ซึ่ง “กระทรวงมหาดไทย” หมายถึง “รัฐมนตรีว่าการ
กระทวางมหาดไทย” (ความเหน็ คณะกรรมการพิจารณาร่างกฎหมายของกระทรวงมหาดไทยคณะที่ ๑ ใน
การประชุมครัง้ ที่ ๖/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๒๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ คาว่า “กระทรวงมหาดไทย” ตามข้อ ๔ (๓)

48 ส�ำ นักจดั การท่ดี นิ ของรัฐ สำนักจดั กำรท่ดี ินของรัฐ 47

ของระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ. ๒๕๒๙ หมายถึง
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยในฐานะผู้รักษาการตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล
กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ที่จะสั่งการและควบคุมให้อธิบดีกรมที่ดินปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย)
โดยผู้มีอานาจหน้าท่ีจะต้องสอบสวนข้อเท็จจริงให้เป็นที่ยุติและจะต้องมีความเห็นว่าจะสมควรใช้อานาจ
ของอธิบดีกรมที่ดนิ ในการแก้ไขหรือเพกิ ถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงนั้นหรือไม่ อย่างไร แต่หากเป็น
การคดั ค้านกรณีอืน่ ให้ดาเนินการตามนัยพระราชบัญญัตวิ ิธปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ต่อไป

2.3 ขัน้ ตอนและวิธกี ารดาเนินการเมือ่ มคี าสงั่ เพิกถอนหรือแกไ้ ข
ระเบยี บกรมทดี่ ิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนงั สือสาคัญสาหรบั ทีห่ ลวง พ.ศ.2529
“ขอ้ ๕ เม่อื อธบิ ดีกรมท่ีดินมคี าส่ังให้เพิกถอนหรือแก้ไขแล้ว ให้ผู้อานวยการกองสารวจและ

ควบคุมทดี่ นิ ของรัฐ กรมที่ดิน เป็นผู้หมายเหตุ การเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงท้ังสาม
ฉบับให้ถูกต้องตรงกนั โดยปฏบิ ตั ดิ งั นี้

(๑) กรณเี พกิ ถอน ให้หมายเหตดุ ้วยวธิ ขี ดี เสน้ คขู่ นานด้วยหมกึ สแี ดงบนดา้ นหน้าของ
หนังสอื สาคญั สาหรับท่ีหลวง แล้วเขียนด้วยอักษรสีแดงว่า “หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ฉบับนี้ได้เพิกถอน
ตามคาสง่ั อธบิ ดกี รมทด่ี นิ ที.่ ..............ลงวันที.่ ......เดือน................พ.ศ. .......” แลว้ ลงนามพรอ้ มวัน เดือน ปี
กากบั ไว้

(๒) กรณแี กไ้ ข ให้ขีดฆ่าส่วนที่คลาดเคล่ือนออกด้วยหมึกสีแดง แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง
ตามคาส่ัง และหมายเหตุดว้ ยอักษรสีแดงว่า “ไดแ้ ก้ไขตามคาส่งั อธิบดกี รมที่ดนิ ท.ี่ ..................ลงวันท่ี.........
เดอื น..............พ.ศ. ............” แลว้ ลงนามพรอ้ มวนั เดือน ปี กากบั ไว้”

“ข้อ ๖ ให้เจ้าหน้าที่หมายเหตุ การเพิกถอนหรือแก้ไขทะเบียนที่ดินสาธารณประโยชน์ให้
สอดคล้องกบั การเพกิ ถอนหรือการแก้ไข ตามข้อ ๕ โดยให้ลงนามพร้อม วนั เดือน ปี กากบั ไวด้ ว้ ย”

“ข้อ ๗ เมื่อได้มีการเพิกถอนหรือแก้ไขแล้ว ให้อธิบดีกรมท่ีดินแจ้งให้ทบวงการเมือง
พนั ก ง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ ผู้ มี อ า น า จ ห น้ า ที่ ดู แ ล รั ก ษ า ท่ี ดิ น อั น เ ป็ น ส า ธ า ร ณ ส ม บั ติ ข อ ง แ ผ่ น ดิ น นั้ น ท ร า บ
อีกครัง้ หนง่ึ ”

“ข้อ ๘ หนังสือสาคัญสาหรบั ท่ีหลวงทไ่ี ดด้ าเนินการเพกิ ถอนแลว้ ใหเ้ ก็บไวใ้ นกรมทด่ี นิ ”
- การหมายเหตุ การเพกิ ถอน แก้ไข และการจดั เก็บหนงั สือสาคัญสาหรับที่หลวง
เมื่อได้มีคาสั่งให้เพิกถอนหรือแก้ไขแล้วให้หมายเหตุ การเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญ
สาหรับทหี่ ลวงท่ีอยู่ในความรับผิดชอบ ใหถ้ กู ต้องตรงกันทั้งสามฉบับ โดยปฏบิ ัตดิ ังน้ี
กรณีเพิกถอน ให้หมายเหตุด้วยวิธีขีดเส้นคู่ขนานด้วยหมึกสีแดงบนด้านหน้าของหนังสือ
สาคัญสาหรับท่ีหลวง แล้วเขียนอักษรสีแดงว่า “หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ฉบับนี้ได้เพิกถอน
ตามคาส่งั อธบิ ดีกรมที่ดินหรือผู้วา่ ราชการจังหวดั ท.่ี ...........ลงวันที่.......เดือน..............พ.ศ. ........” แล้วลงนาม
พรอ้ มวัน เดอื น ปี กากับไว้ เสรจ็ แลว้ ให้จดั ส่งหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวงท่ีได้ดาเนินการเพิกถอนแล้วไปเก็บ
ไว้ท่กี รมทดี่ นิ
กรณีแก้ไข ให้ขีดฆ่าส่วนที่คลาดเคล่ือนด้วยหมึกสีแดงแล้วแก้ไขให้ถูกต้องตามคาสั่ง แล้ว
หมายเหตดุ ว้ ยอกั ษรสีแดงว่า “ไดแ้ กไ้ ขตามคาสง่ั อธบิ ดกี รมท่ดี นิ หรือผวู้ ่าราชการจงั หวัดท่.ี .........................
ลงวนั ที่......เดอื น.................พ.ศ. ..........” แลว้ ลงนามพร้อม วัน เดือน ปี กากบั ไว้

สำนกั จดั กำรที่ดินของรฐั 48
สำ�นกั จัดการทดี่ นิ ของรฐั 49

การหมายเหตุ การแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดเป็นผู้
หมายเหตุในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับผู้ดูแลรักษาและฉบับสานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสานักงาน
ที่ดินจังหวัดสาขาให้ถูกต้องตรงกัน แล้วให้สาเนาคาสั่งแจ้งให้กรมท่ีดินทราบเพ่ือให้ผู้อานวยการสานัก
จัดการที่ดินของรัฐ หมายเหตุในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ฉบับที่เก็บไว้ที่กรมท่ีดินให้ถูกต้องตรงกัน
ตอ่ ไป (หนงั สือกรมทดี่ นิ ดว่ นมาก ท่ี มท 0718.2/ว 37964 ลงวนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2542)

- การหมายเหตุ การเพิกถอนหรือแก้ไขทะเบียนท่ดี นิ สาธารณประโยชน์
เมื่อได้มีคาส่ังแล้ว ให้เจ้าหน้าท่ีหมายเหตุ การเพิกถอนหรือแก้ไขในทะเบียนท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ให้สอดคล้องกับการเพิกถอน หรือแก้ไขตามคาสั่ง โดยให้ลงนามพร้อม วัน เดือน ปี
กากับไวด้ ้วย
- การแจ้งทบวงการเมอื งเมอื่ ดาเนนิ การเสร็จแล้ว
เมื่อได้มีการเพิกถอนหรือแก้ไขแล้ว ให้ผู้มีอานาจหน้าที่ออกคาส่ังแจ้งให้ทบวงการเมือง
หรือพนักงานเจ้าหน้าทผี่ ู้มอี านาจหนา้ ท่ดี แู ลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผน่ ดนิ อีกคร้ังหนึ่ง

3. การแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรบั ที่หลวงกรณีมขี ้อผดิ พลาดเล็กนอ้ ยหรือใหถ้ ูกต้องตามข้อเทจ็ จริง

ระเบยี บกรมทดี่ ิน ว่าดว้ ยการเพกิ ถอนหรือแกไ้ ขหนังสือสาคญั สาหรับที่หลวง พ.ศ.2529
“ข้อ ๙ การแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เน่ืองจากเขียนหรือพิมพ์ข้อความผิดพลาด
คลาดเคล่ือนโดยมีหลักฐานชัดแจ้ง รวมท้ังการแก้ไขรายละเอียดในหนังสือสาคั ญสาหรับที่หลวง
ให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงท่ีเปลี่ยนแปลงไป ซ่ึงมิใช่การแก้ไขรูปแผนที่หรือเนื้อที่ เป็นต้นว่าเคร่ืองหมาย
ทีด่ ิน ข้างเคียง เมอื่ ทบวงการเมืองหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณ
สมบัติของแผ่นดินน้ันยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก้ไข ให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงาน
ที่ดนิ จงั หวดั สาขามอี านาจแก้ไขแลว้ ใหร้ ายงานไปยังกรมท่ีดินเพื่อแก้ไขหลกั ฐานให้ถูกต้องตรงกนั ”
3.1 การแก้ไขกรณมี ีขอ้ ผดิ พลาดเล็กน้อยหรอื ผดิ หลงเลก็ นอ้ ย

การแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เนื่องจากเขียนหรือพิมพ์ข้อความผิดพลาด
คลาดเคลื่อน โดยมหี ลักฐานชดั แจ้ง เช่น พิมพช์ ื่อ ตัวเลข ตวั หนงั สือผดิ มีหลกั ฐานตรวจสอบได้

3.2 การให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงท่ีเปลีย่ นแปลงไป
การแก้ไขรายละเอียดในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ถูกต้องตามข้อเท็จจริงท่ีเปลี่ยนแปลง

ไป จะต้องมิใช่เป็นการแก้ไขรูปแผนที่หรือเนื้อที่ เช่น เคร่ืองหมายที่ดินข้างเคียง หรือหมายเลขหลักเขต
ท่ดี ินท่มี กี ารรงั วดั ใหม่ เปน็ ตน้

3.3 เงื่อนไข
จะดาเนินการได้ก็ต่อเมื่อทบวงการเมือง หรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษา

ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้น ยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก้ไข ยกเว้นการดาเนินการตาม
ระเบยี บกรมทด่ี นิ วา่ ดว้ ยการยา้ ยรูปแผนท่ีโฉนดที่ดิน โฉนดตราจอง ตราจองท่ีตราว่า “ได้ทาประโยชน์แล้ว”
และหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงลงในระวางแผนท่ีระบบพิกัดฉาก ยู ที เอ็ม พ.ศ. 2554 โดยให้ถือปฏิบัติ

50 สำ�นักจดั การทีด่ ินของรฐั สำนกั จดั กำรทด่ี ินของรัฐ 49

ตามนัยหนงั สือกรมท่ดี ิน ที่ มท 0511.4/ว 5024 ลงวนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2562 เร่ือง ซักซ้อมความเข้าใจ
เกี่ยวกบั การแก้ไขหนังสือสาคญั สาหรับที่หลวง

3.4 ผูม้ ีอานาจหนา้ ท่ี
เป็นอานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด หรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา แล้วแต่

กรณี และเม่อื แก้ไขแล้วให้รายงานไปยงั กรมทดี่ ินเพอื่ แก้ไขหลักฐานให้ถูกต้องตรงกันต่อไป
3.5 กรณีที่จะต้องมีการรังวดั
ถ้าจะต้องมีการรังวัดตรวจสอบให้ดาเนินการตามนัยระเบียบ ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไข

หนงั สือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ.2529 ข้อ 3 วรรคสาม โดยให้ทบวงการเมืองผู้ดูแลรักษาที่ดินอันเป็น
สาธารณสมบัติของแผ่นดินน้ันแสดงความประสงค์ขอรังวัดตรวจสอบต่ออธิบดีกรมท่ีดินหรือผู้ว่าราชการ
จังหวัด โดยยื่นผ่านสานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสานักงานท่ีดินจังหวัดสาขา ซ่ึงที่ดินน้ันตั้งอยู่ในเขต ส่วน
วธิ ีการรังวัดให้อนโุ ลมปฏิบตั เิ ช่นเดยี วกับการรังวัดสอบเขตโฉนดท่ีดิน ท้ังน้ี การรังวัดตรวจสอบหนังสือสาคัญ
สาหรับทห่ี ลวงไมว่ ่ากรณีใดกต็ าม เจ้าพนกั งานท่ดี นิ จังหวดั หรอื เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ไม่มีอานาจ
สง่ั แก้ไขเนอ้ื ท่ี และ/หรอื รปู แผนที่หนงั สอื สาคัญสาหรบั ที่หลวงโดยจะนาความตามนัยมาตรา 69 ทวิ แห่ง
ประมวลกฎหมายท่ีดนิ มาใช้ไมไ่ ด้ เพราะอานาจดังกล่าวเป็นของอธิบดีกรมที่ดินตามนัยมาตรา 8 ตรี แห่ง
ประมวลกฎหมายที่ดนิ

4. การเพกิ ถอนหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวงตามคาพิพากษา
๑) ขอ้ เท็จจริง
สานักงานอัยการจังหวัดนครศรีธรรมราชแจ้งผลคดีช้ันฎีกา กรณี กรมที่ดินได้ส่งใบแต่ง

ทนายความของกรมท่ีดิน เพ่ือแต่งตั้งพนักงานอัยการเข้าเป็นทนายความดาเนินคดีแพ่ง หมายเลขดาท่ี
1075/2551 ของศาลจังหวัดนครศรธี รรมราช เร่อื ง ที่ดิน เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง รับรอง
แนวเขต ออกโฉนดท่ีดิน ว่า ศาลฎีกาได้มีคาพิพากษาท่ี 3103-3105/2561 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม
2561 ให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเลขท่ี นศ.0119 หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 8 ตาบลไทยบุรี
อาเภอทา่ ศาลา จังหวดั นครศรธี รรมราช เฉพาะส่วนท่ีออกทับท่ีดินของโจทก์ท้ังสาม ให้จาเลยท่ี 1 ถึงที่ 3
เพิกถอนคาร้องคัดค้านการออกโฉนดที่ดินของโจทก์ท้ังสามและรับรองแนวเขตที่ดินและให้จาเลยที่ 4
ออกโฉนดที่ดินให้แก่โจทก์ท้ังสาม ห้ามจาเลยท้ังห้าและบริวารเข้าเกี่ยวข้องและรบกวนการครอบครอง
ทด่ี นิ ของโจทกท์ ้งั สาม

๒) ขอ้ กฎหมาย/ระเบียบ/หนงั สือเวียน
(๑) ระเบียบกรมที่ดิน ท่ี 3/2516 ลงวันท่ี 19 มกราคม 2516 เรื่อง วิธีการเพิกถอนหรือ

แก้ไขโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ หรือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจด
แจง้ เอกสารรายการจดทะเบยี น ในกรณที ีศ่ าลมคี าพพิ ากษาหรือคาส่ังถงึ ทสี่ ดุ ให้เพกิ ถอนหรือแก้ไข

(๒) ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยวิธีการเพิกถอนหรือแก้ไขโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทา
ประโยชน์ หรอื การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการจดแจ้งเอกสารรายการจดทะเบียนที่ดินในกรณี
ท่ศี าลมคี าพิพากษาหรอื คาส่ังถงึ ท่ีสดุ ให้เพกิ ถอนหรือแก้ไข ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2522)

(๓) ระเบียบกรมทด่ี ิน ว่าดว้ ยการเพิกถอนหรือแกไ้ ขหนังสอื สาคญั สาหรับทีห่ ลวง พ.ศ. 2529
“ข้อ 4 ถ้าอธิบดีกรมที่ดินได้พิจารณาแล้ว เห็นสมควรว่าจะต้องเพิกถอนหรือแก้ไขก่อนมีคาสั่งให้

สำ�นักจสัดำนกกัารจทดั ก่ีดำนิ รขทอด่ี งินรขฐั องรัฐ5510

ดาเนินการดังน้ี (1) ให้อธิบดีกรมที่ดินแจ้งให้ทบวงการเมืองหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจหน้าที่ดูแล
รักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินนั้นทราบ เพื่อให้คัดค้านภายในกาหนด 30 วัน นับแต่วันท่ี
ไดร้ ับแจ้ง (2) การเพิกถอนหรือแก้ไขรปู แผนที่ นอกจากจะต้องดาเนินการตาม (1) แล้วให้อธิบดีกรมที่ดิน
ส่ังไปยังเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ประกาศการเพิกถอนหรือแก้ไข
หนังสอื สาคญั สาหรบั ทห่ี ลวงให้ประชาชนทราบมกี าหนด 30 วัน โดยปิดไว้ในท่ีเปิดเผย ณ สานักงานที่ดิน
จังหวัดหรือสานักงานท่ีดินจังหวัดสาขา 1 ฉบับ ณ ท่ีว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องท่ีหรือท่ีทาการเขต
1 ฉบบั ทที่ าการกานัน 1 ฉบับ ในบริเวณท่ีดินนั้น 1 ฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาล
หรือใน เขตกรงุ เทพมหานครใหป้ ิดไว้ ณ ศาลาวา่ การอีก 1 ฉบับ ถ้าเป็นการแก้ไขรูปแผนที่ให้แสดงแนวเขต
ท่ดี ินเดมิ และท่ีจะแกไ้ ขใหมท่ า้ ยประกาศดว้ ย”

(๔) คาสั่งกรมที่ดิน ที่ 2185/2546 ลงวันท่ี 24 ตุลาคม 2546 เรื่อง มอบอานาจของอธิบดี
กรมที่ดนิ ให้ผู้วา่ ราชการจังหวัดแบบบูรณาการปฏบิ ตั ริ าชการแทน

(๕) หนังสือกรมที่ดิน ด่วนที่สุด ที่ มท 0511.4/29320 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2550 ตอบข้อ
หารือจังหวัดมหาสารคามเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
บางสว่ นตามคาพิพากษาศาลปกครองสงู สุด

(๖) หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0511.4/14744 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2557 แจ้งจังหวัด
สุราษฎร์ธานี ดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเลขท่ี 41918 ตาบลหน้าเมือง อาเภอ
เกาะสมุย จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ตามคาพิพากษาศาลปกครองนครศรธี รรมราช

(๗) หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท 0511.4/14023 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2559 แจ้งจังหวัด
นครพนม ดาเนินการแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเลขท่ี 40972 ตาบลนาราชความ อาเภอเมือง
นครพนม จังหวัดนครพนม ตามคาพพิ ากษาของศาลฎกี า

(๘) หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท 0511.4/9207 ลงวันที่ 5 เมษายน 2560 แจ้งจังหวัด
นครสวรรค์ ดาเนินการเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเลขท่ี นว 0075 ตาบลเขาดิน อาเภอเก้าเลี้ยว
จงั หวดั นครสวรรค์ เฉพาะส่วนท่ีทบั กบั ท่ีดินของโจทกต์ ามแผนท่ีพิพาทท้ังสามแปลง ตามคาพิพากษาศาลฎีกา

3) ความเหน็ กรมทดี่ ิน
เมื่อศาลฎีกามีคาพิพากษาให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง เลขท่ี นศ.0119 ตาบล

ไทยบุรี อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เฉพาะส่วนท่ีออกทับที่ดินของโจทก์ท้ังสามแต่เน่ืองจาก
ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง พ.ศ.2529 ไม่ได้กาหนด
วิธีการดาเนินการในกรณีที่ศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังถึงที่สุดให้เพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับ
ที่หลวงไว้ จงึ ให้ดาเนนิ การเพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับทห่ี ลวง โดยให้นาระเบยี บกรมที่ดิน ว่าด้วยวิธีการ
เพิกถอนหรือแก้ไขโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์ หรือการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
หรือการจดแจ้งเอกสารรายการจดทะเบียนที่ดินในกรณีท่ีศาลมีคาพิพากษาหรือคาส่ังถึ งท่ีสุดให้เพิกถอน
หรือแกไ้ ข ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2522) มาใช้ปฏิบัติโดยอนุโลม ซึ่งข้อเท็จจริงในกรณีน้ีเป็นเร่ืองที่ศาลฎีกาได้มี
คาพิพากษาให้เพิกถอนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นบางส่วน ดังน้ัน จึงต้องดาเนินการเพิกถอนที่ดิน
เฉพาะส่วนท่ีออกทับที่ดินของโจทก์ท้ังสามตามคาพิพากษาดังกล่าว โดยไม่ต้องออกเป็นคาสั่งและไม่ต้อง
ดาเนินการตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการเพิกถอนหรือแก้ไขหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง พ.ศ.2529
ขอ้ 4(1) และ (2) เท่าทไ่ี ม่ขดั หรือแย้งกับระเบียบดงั กลา่ ว

***********************



บทที่ 5
ปญั หาเก่ยี วกับการจัดใหม้ ีหนังสือสาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง

1. ปญั หาการออกหนังสือสาคัญสาหรับทีห่ ลวงในเขตปฏิรปู ทดี่ นิ (ส.ป.ก.)
ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตพ้ืนท่ีที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศ

เป็นเขตปฏิรูปที่ดิน ซ่ึงตามมาตรา 26 (1) แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
พ.ศ.2518 กาหนดให้ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หากพลเมือง
เลิกใช้หรือเปลี่ยนสภาพจากการเป็นท่ีดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันแล้ว ย่อมถูกถอนสภาพจากการเป็น
ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน โดยผลของพระราชกฤษฎีกาฯ แล้ว
เป็นอานาจหน้าที่ของสานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ท่ีจะดาเนินการ แต่ถ้าพลเมือง
ยังไม่เลิกใช้หรือยังไม่เปล่ียนสภาพ ที่ดินน้ันยังคงเป็นที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับ
พลเมืองใชร้ ่วมกันอยู่ จงึ มีปัญหาในทางปฏิบตั วิ ่าจะออกหนังสือสาคญั สาหรบั ทีห่ ลวงไดห้ รือไม่ อย่างไร

กรมท่ีดินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้สรุปว่า ต้องตรวจสอบว่าที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติ
ของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หรือที่สาธารณประโยชน์น้ันอยู่ในเขตดาเนินการปฏิรูปท่ีดินหรือไม่
ประชาชนยังใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่หรือไม่ หากข้อเท็จจริงปรากฏว่าประชาชนยังใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่
จึงจะสามารถออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ ในทางปฏิบัติก่อนออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ควรแจ้งให้สานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เพ่ือขอทราบว่าจะขัดข้องหรือไม่ กล่าวคือ
เม่ือได้มีพระราชกฤษฎีกาหนดเขตปฏิรูปที่ดินใช้บังคับในท้องท่ีใดแล้ว ส.ป.ก. มีอานาจนาท่ีดิน
สาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช่ร่วมกันไปดาเนินการปฏิรูปที่ดินตามมาตรา ๒๖ (๑)
แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารปฏริ ปู ทดี่ ินเพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ แต่ก่อนดาเนินการจะต้องได้ความว่า
ประชาชนเลิกใช้ประโยชน์ในที่ดินน้ัน หรือได้เปล่ียนสภาพไปจากการเป็นที่ดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
แล้ว หากประชาชนใช้ร่วมกันอยู่ หรือยังไม่เปลี่ยนแปลงสภาพจากการเป็นท่ีดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน
คณะกรรมการปฏริ ปู ทดี่ ินเพอ่ื เกษตรกรรมตอ้ งจดั ท่ดี ินแปลงอ่ืนให้ประชาชนใช้ร่วมกันแทนก่อนจึงจะมีผล
เป็นการถอนสภาพตามกฎหมาย แต่สาหรับกรณีราษฎรเลิกใช้เพราะมีผู้บุกรุกครอบครองโดยพลการ
จนเป็นเหตุให้ประชาชนไม่สามารถเข้าใช้ประโยชน์ร่วมกันได้น้ัน ไม่ถือเป็นการเลิกใช้ตามนัยหนังสือ
สานักงานการปฏิรปู ทีด่ ินเพอ่ื เกษตรกรรม ท่ี กษ 1024/8210 ลงวันที่ 8 กันยายน 2537
2. ปัญหาการออกหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวงในเขตจดั รปู ที่ดิน

ปัญหาการออกหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวงในเขตจัดรูปท่ีดินมีลักษณะปัญหาเช่นเดียวกับปัญหา
การออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตพื้นท่ีที่ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเป็นเขตปฏิรูปท่ีดิน คือ
ท่ีดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน หรือ ท่ีดินสาธารณประโยชน์
ท่ีอยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตสารวจการจัดรูปที่ดินจะมีผลเป็นการถอนสภาพท่ีดินให้เป็น
ทรพั ยส์ นิ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพอื่ ใชใ้ นการจดั รูปทดี่ นิ ตามนัยมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติ
จดั รูปทด่ี นิ เพอื่ การเกษตรกรรม พ.ศ. 2517 จึงมีปัญหาในทางปฏิบัติว่าจะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ได้หรอื ไม่ อยา่ งไร

54 ส�ำ นกั จัดการที่ดนิ ของรัฐ สำนักจัดกำรทดี่ ินของรฐั 52

กรมท่ีดินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้สรุปว่า ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมือง
ใช้ร่วมกัน ท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีอยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตสารวจการจัดรูปที่ดิน
จะมี ผลเป็ นการถอนสภาพท่ี ดิ นให้ เป็ นทรั พย์ สิ นของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ื อใช้ ในการจั ด
รูปที่ดินตามนัยมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพ่ือการเกษตรกรรม พ.ศ. 2517 (ปัจจุบันคือ
มาตรา 34 แห่งพระราชบัญญัติจัดรูปท่ีดินเพื่อการเกษตรกรรม พ.ศ. 2558) หรือไม่นั้น จะต้องได้
ข้อเท็จจรงิ ว่าที่ดินดังกลา่ วประชาชนเลิกใช้ประโยชน์รว่ มกันแล้ว หากประชาชนยังใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่
และคณะกรรมการจัดรูปที่ดินจังหวัดไม่ประสงค์จะใช้ที่ดินส่วนนั้นในการจัดรูปที่ดิน ที่ดินน้ันยังคงสภาพ
เป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดินสาหรบั พลเมอื งใชร้ ว่ มกันอยู่สามารถท่ีจะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ได้
3. ปญั หาการออกหนงั สอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวงในเขตปา่ ไม้

ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตป่าไม้มีลักษณะปัญหาเช่นเดียวกับปัญหาการ
ออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ทห่ี ลวงในเขตจัดรูปที่ดินและการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตพื้นที่ท่ี
ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเป็นเขตปฏิรูปที่ดิน โดยการออกกฎกระทรวงกาหนดเขตป่าสงวนแห่งชาติ
และการตราพระราชกฤษฎกี ากาหนดเขตอุทยานแห่งชาติ จะมีผลเป็นการถอนสภาพที่สาธารณประโยชน์
หรือไม่ จึงมปี ัญหาในทางปฏิบัตวิ า่ จะออกหนังสือสาคญั สาหรบั ท่หี ลวงได้หรือไม่ อยา่ งไร

กรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้ตามนัยหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0711/ว 23080 ลงวันท่ี 16
ตุลาคม 2527 เรื่อง การรังวดั ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตป่าไม้ ว่าการออกกฎกระทรวงกาหนด
เขตป่าสงวนแห่งชาติ และการตราพระราชกฤษฎีกากาหนดเขตอุทยานแห่งชาติ ไม่มีผลเป็นการถอนสภาพ
ท่ีสาธารณประโยชน์ เน่ืองจากการถอนสภาพท่ีสาธารณประโยชน์จะต้องดาเนินการตามมาตรา ๘ แห่ง
ประมวลกฎหมายท่ีดินเท่านั้น ดังนั้นจึงสามารถออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ โดยกรมท่ีดินและ
กรมป่าไม้ ไดว้ างแนวทางปฏบิ ตั เิ ก่ียวกับการออกหนังสือสาคญั สาหรับทห่ี ลวงในเขตป่าไม้ ไว้ดังน้ี

(1) กรณีมีหลักฐานการสงวนหวงห้าม หรือหลักฐานการกันออกจากเขตป่าไม้ หรือที่อยู่นอกเขต
แต่มีอาณาเขตติดต่อกับเขตป่าไม้ ให้ตรวจสอบว่ามีการสงวนหวงห้ามที่ดินไว้โดยกฎหมายใดหรือไม่
อยา่ งไร เคยมีประกาศหวงห้าม และข้นึ ทะเบียนทีด่ ินสาธารณประโยชนห์ รือไม่

(2) กรณีไม่มีหลักฐานการสงวนหวงห้ามแต่พลเมืองได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันอยู่ก่อนท่ีทางราชการ
กาหนดเป็นเขตป่าไม้ ให้คณะกรรมการระดับอาเภอร่วมกันตรวจสอบแนวเขต ทาความเห็นเสนอ
คณะอนุกรรมการจาแนกประเภทท่ีดินประจาจังหวัดหรือคณะอนุกรรมการจาแนกประเภทที่ดินและ
พัฒนาท่ีดินชายทะเลประจาจังหวัดพิจารณา หากคณะอนุกรรมการฯ เห็นด้วยให้ออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงและหากไม่เห็นด้วยให้ทาเรื่องส่งคืนให้นายอาเภอ ถ้านายอาเภอเห็นด้วยกับ
คณะอนุกรรมการฯ ก็ให้ดาเนินการไปตามน้ัน หากไม่เห็นด้วยกับคณะอนุกรรมการฯ ให้สรุปเหตุผลส่ง
เรื่องใหก้ รมท่ดี ินพิจารณา

(3) สาหรับในเขตอุทยานแห่งชาติในกรณีไม่มีหลักฐานการสงวนหวงห้าม ถ้ามีความจาเป็นต้อง
ดาเนนิ การรงั วดั ออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ทีห่ ลวง ใหช้ ้ีแจงเหตผุ ลความจาเปน็ ใหก้ รมที่ดินพิจารณาก่อน

สำ�นักจสัดำกนาักรจทัด่ีดกินำรขทอี่ดงินรฐัของรฐั 5553

แนวทางปฏิบัติตามนัยหนังสือกรมที่ดินดังกล่าวยังมีปัญหาเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของ
คณะอนุกรรมการพัฒนาท่ีดินฯ และคณะอนุกรรมการจาแนกประเภทท่ีดินประจาจังหวัด ว่าจะมีอานาจ
หน้าที่ในการพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ หรอื ไม่ อยา่ งไร ซง่ึ ปัจจบุ ันอย่รู ะหว่างกรมทด่ี ินทบทวนแนวทางปฏิบตั ิ
4. ปัญหาการออกหนังสอื สาคญั สาหรับทีห่ ลวงในเขตนคิ มสร้างตนเอง

ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตนิคมสร้างตนเองมีลักษณะปัญหา เช่นเดียวกับ
ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในเขตป่าไม้ ปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในเขตจัด
รูปที่ดินและปัญหาการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในเขตพ้ืนที่ท่ีได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศเป็น
เขตปฏิรูปท่ีดิน โดยการจัดตั้งนิคมเป็นไปตามพระราชบัญญัติ จัดท่ีดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.๒๕๑๑ จะมี
ผลเป็นการถอนสภาพท่ีสาธารณประโยชน์หรือไม่ อย่างไร จึงมีปัญหาในทางปฏิบัติว่าจะออกหนังสือ
สาคัญสาหรบั ทีห่ ลวงไดห้ รอื ไม่ อย่างไร

กรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้ว่า การจัดต้ังนิคมเป็นไปตามพระราชบัญญัติ จัดที่ดินเพ่ือการ
ครองชีพ พ.ศ.๒๕๑๑ แต่พระราชบัญญัติดังกล่าวมิได้มีผลเป็นการเพิกถอนที่ดินสาธารณประโยชน์ จึง
สามารถออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ทห่ี ลวงได้ ซง่ึ กรมประชาสงเคราะห์ได้วางแนวทางปฏิบัติในการระวังช้ีแนวเขต
และลงชื่อรับรองแนวเขตในการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงไว้ ตามหนังสือกรมประชาสงเคราะห์
ท่ี มท 0810.ฝบ/ว 15608 ลงวนั ท่ี 1 มีนาคม 2533
5. ปญั หาการรังวดั จดั ทาแนวเขตท่ีดินอันเป็นสาธารณะสมบัตขิ องแผน่ ดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกนั

ซง่ึ เกดิ ข้ึนโดยสภาพ
ปัญหาการรังวัดจัดทาแนวเขตที่ดินอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน

ซ่ึงเกิดข้ึนโดยสภาพ เป็นปญั หาทกี่ ระทรวงมหาดไทยได้วางแนวทางแก้ไขไว้แล้วเมื่อปี พ.ศ.2501 ต่อมา
อธิบดีกรมที่ดินได้ใช้อานาจตามมาตรา 8 ตรี วรรคแรก แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ท่ีกาหนดให้ “อธิบดี
อาจจัดให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง” ในการออกระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญ
สาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ.2517 ขอ้ 3 กาหนดขอ้ ยกเว้นไม่ใหอ้ อกหนงั สอื สาคัญสาหรับที่หลวงในท่ีดิน อันเป็น
สาธารณะสมบตั ิของแผน่ ดนิ สาหรับพลเมืองใชร้ ว่ มกันทีโ่ ดยสภาพมีแนวเขตธรรมชาติอยู่แล้ว เช่น ที่ชายตลิ่ง
ทางบก ทางน้า ลากระโดง ลารางสาธารณะ ทางระบายน้า แม่น้า ลาคลอง ฯลฯ โดยเฉพาะท่ีสาธารณประโยชน์
ที่เป็น แม่น้า ลาคลอง ซ่ึงขอบเขตอาจเปล่ียนไปได้ตามธรรมชาติ เมื่อเกิดเป็นที่งอกริมตลิ่ง บุคคลอาจ
ได้มาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1308 หรือกรณีท่ีดินเอกชนพังทลายลงน้า
กลายเปน็ สาธารณสมบัตขิ องแผน่ ดนิ สาหรับพลเมอื งใช้รว่ มกนั หากจะให้ออกหนงั สอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง
ก็จะเป็นการยุ่งยาก จงึ มีปัญหาในทางปฏบิ ตั ิว่าจะมีวิธกี ารรังวัดจัดทาแนวเขตเพ่ือใช้แก้ไขปัญหาการบุกรุก
อยา่ งไร

กรมที่ดินได้วางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการบุกรุกทางบกและทางน้าสาธารณประโยชน์
ไว้ว่า เมื่อมีกรณีพิพาทเกี่ยวกับการบุกรุกทางบกและทางน้าสาธารณประโยชน์ท่ีไม่มีการออกหนังสือ
สาคญั สาหรับท่ีหลวง นายอาเภอหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถทาหนังสือแสดงความจานงขอ
รังวัดตรวจสอบทางหรือลารางท่ีไม่มีการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ โดยทาเป็นหนังสือขอความ

56 สำ�นกั จัดการท่ีดนิ ของรฐั สำนกั จัดกำรที่ดนิ ของรฐั 54

ร่วมมือ และให้สานักงานที่ดินจัดส่งเจ้าหน้าที่ไปทาการรังวัด ในทางปฏิบัติควรส่งช่างรังวัดอาวุโสไป
ดาเนินการ โดยให้ถือหนังสือขอความร่วมมือเป็นคาขอและอนุโลมปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วย
การรังวัดสอบเขต แบ่งแยกและรวมโฉนดท่ีดิน พ.ศ.2527 ประกอบกับคาส่ังกระทรวงมหาดไทย ท่ี
158/2501 ลงวันท่ี 3 มีนาคม 2501 เร่ือง ระเบียบปฏิบัติในการรังวัดทาแผนท่ีและการระวังแนวเขต
ทด่ี ินอนั เป็นสาธารณะสมบัติของแผน่ ดนิ สาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกันซึ่งเกิดขึ้นโดยสภาพ เว้นแต่การปักหลัก
เขตที่ดินให้ใช้หลักไม้ปักแทน ซ่ึงการดาเนินการดังกล่าวผู้มีหน้าท่ีดูแลจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
เช่นเดียวกับการรังวัดสอบเขต แบ่งแยก และรวมโฉนดท่ีดิน และเม่ือดาเนินการเสร็จแล้ว จะต้องแจ้งผล
การรงั วดั ให้ผู้มีหน้าท่ดี ูแลรักษาทสี่ าธารณประโยชน์ทราบ เพอ่ื ดาเนนิ การตามอานาจหน้าท่ี
6. ปัญหาการเขา้ ไปในท่ดี นิ ข้างเคยี ง กรณีรงั วัดตรวจสอบเขตทด่ี ินสาธารณประโยชน์ทีไ่ ม่มีการออก

หนังสอื สาคญั สาหรับท่หี ลวง
กรมท่ีดินได้วางแนวทางปฏิบัติตามนัยหนังสือกรมที่ดินท่ี มท ๐๖๐๖/ว ๓๐๗๔๓ ลงวันท่ี ๒๒

พฤศจิกายน ๒๕๓๙ เรอื่ ง การรงั วัดตรวจสอบท่ีสาธารณประโยชน์ท่ีไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง โดย
ให้นายอาเภอหรอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน สามารถทาหนังสือแสดงความจานงขอรังวัดตรวจสอบทาง
หรือลารางที่ไม่มีการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ และให้สานักงานท่ีดินจัดส่งเจ้าหน้าท่ี
ไปทาการรังวัด โดยให้ถือหนังสือขอความร่วมมือเป็นคาขอและอนุโลมปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดิน
ว่าด้วยการรังวัดสอบเขต แบ่งแยกและรวมโฉนดที่ดิน พ.ศ.2527 ประกอบกับคาส่ังกระทรวงมหาดไทย
ท่ี 158/2501 ลงวันท่ี 3 มีนาคม 2501 เร่ือง ระเบียบปฏิบัติในการรังวัดทาแผนที่และการระวัง
แนวเขตท่ีดินอันเป็นสาธารณะสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันซ่ึงเกิดข้ึนโดยสภาพ เว้นแต่
การปักหลักเขตทดี่ ินให้ใช้หลักไมป้ ักแทน ปรากฏวา่ เกิดปญั หาโดยพนกั งานเจ้าหน้าที่จะอ้างว่า ไม่สามารถ
เข้าไปในที่ดินข้างเคียงได้ หากเจ้าของท่ีดินข้างเคียงมิได้ขอรังวัดสอบเขตด้วย ดังนั้น เม่ือมีการรังวัด
ตรวจสอบเขตที่สาธารณประโยชน์ พนักงานเจ้าหน้าที่จะบอกให้เจ้าของท่ีดินข้างเคียงท่ีถูกอ้างว่า
เปน็ ผบู้ กุ รกุ ไปขอรังวัดสอบเขตทด่ี นิ ด้วย ซ่งึ ก็เปน็ ไปไมไ่ ดท้ ี่ผู้บกุ รกุ จะไปขอรังวัด

กรณีดังกล่าว คณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาแล้ว
ว่าพนักงานเจ้าหน้าที่ในการรังวัดตรวจสอบเขตท่ีสาธารณประโยชน์ที่ไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงมี
อานาจทีจ่ ะเขา้ ไปในทดี่ ินข้างเคียง เพือ่ ประโยชน์ในการรังวัดได้ตามนัยมาตรา 66 แห่งประมวลกฎหมาย
ที่ดิน แมเ้ จ้าของท่ดี นิ ขา้ งเคยี งนัน้ จะมไิ ด้ขอรังวัดกต็ าม
7. ปัญหาการปกั หลกั เขตท่ดี ิน หลักเขตและแผน่ ปา้ ยบอกช่อื ท่ีสาธารณประโยชน์

ปัญหาสืบเนื่องจากหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0607/ว 19880 ลงวันท่ี 26 กันยายน 2520
เรอ่ื ง การรังวัดออกหนังสอื สาคญั สาหรบั ท่ีหลวง ซึ่งกรมท่ีดินได้แก้ปัญหากรณีการรังวัดออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงในจังหวัดต่างๆ โดยช่างรังวัดได้ทาการรังวัดแล้วบางแปลงไม่ได้ทาการปักหลักเขตที่ดิน
หลกั เขต และแผ่นป้ายบอกชือ่ ทีส่ าธารณประโยชนใ์ นขณะทาการรังวัด แตไ่ ดใ้ ช้ไม้แก่นปักไว้ และภายหลัง
เป็นระยะเวลานานๆ จึงได้นาหลักเขตที่ดิน หลักเขตท่ีสาธารณประโยชน์ และแผ่นป้ายบอกช่ือที่
สาธารณประโยชน์ไปปัก หรือมอบหมายผู้อ่ืนไปปักแทน การปฏิบัติเช่นนี้ย่อมทาให้การปักหลักเขต

สำ�นกั จสดั าํ นกัการจัทดกี่ดาินรขทอ่ีดงินรขัฐองรัฐ5575

คลาดเคล่ือนไปจากความเปนจริง เพราะหลักไมที่ปกไวอาจหลุดหายหรือชํารุด หลักเขตท่ีปกภายหลังจึง
ไมตรงกับตําแหนงที่แทจริง ยอมกอใหเกิดปญหายุงยากขึ้นภายหลัง ทําใหผูอื่นมองไปในแงไมสุจริตได
ดังน้ันกรมท่ีดินจึงไดกําชับใหเจาหนาที่ผูทําการรังวัด ใหปกหลักเขตที่ดิน หลักเขตและแผนปายบอกช่ือท่ี
สาธารณประโยชนในขณะทําการรังวัดโดยเครงครัด แตการกําชับดังกลาวสงผลใหเกิดความเขาใจท่ี
คลาดเคล่ือนวา หากทําการปกหลักเขตที่ดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน แตมิไดปกหลักเขตและแผนปาย
บอกชื่อที่สาธารณประโยชนใ นขณะทาํ การรงั วดั จะไมสามารถออกหนังสอื สาํ คญั สาํ หรบั ท่หี ลวงได

กรณีดังกลาวเมื่อไดพิจารณาหลักกฎหมายตามนัยมาตรา 8 ตรี แหงประมวลกฎหมายที่ดินแลว
เห็นวาสถานะทางกฎหมายของหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง เปนเพียงหนังสือสําคัญของทางราชการอยาง
หนึ่งทจี่ ดั ทาํ ข้ึนเพ่อื แสดงเขตที่ดินของรัฐไวเปนหลักฐานเทาน้ัน หาใชเปนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินของรัฐไม
ดังนั้น สาระสําคัญของหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวงจึงตองพิจารณาจาก “หลักฐานที่แสดงแนวเขตท่ีดินของ
รัฐตามกฎหมาย” เปนหลัก ซึ่งหมายถึง “หลักฐานแผนที่และหลักเขตที่ดินตามกฎหมาย” เม่ือกฎกระทรวง
ฉบับท่ี 26 (พ.ศ.2516) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 ขอ 2
กําหนดไว “ใหอธิบดีจัดใหมีการสอบสวนและรังวัดทําแผนที่ตามวิธีการรังวัดเพ่ือออกหนังสือแสดงสิทธิใน
ท่ีดิน” ดังน้ัน “หลักฐานแผนที่และหลักเขตที่ดินตามกฎหมาย” ก็คือ “หลักฐานแผนท่ี และหลักเขตท่ีดิน
ตามประมวลกฎหมายที่ดินที่ใชสําหรับออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน” การที่จะนําขออางกรณีไมปกหลัก
เขตและแผน ปา ยบอกชื่อทีส่ าธารณประโยชน ซ่ึงกําหนดขึ้นโดยระเบียบของกรมที่ดินนั้น มาเปนขออางใน
การไมออกหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวงซึ่งไดมีการดําเนินการสอบสวนและรังวัดทําแผนที่ตามวิธีการรังวัด
เพื่อออกหนงั สือแสดงสทิ ธิในท่ดี นิ แลว จงึ ไมส ามารถกระทําได
8. ปญหาขอ ขดั ของในการรังวัดออกหนังสือสาํ คญั สําหรับท่หี ลวงลาชา และคา งเกนิ 10 ป

ปญหาสืบเน่ืองจากหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท 0618/ว 22874 ลงวันท่ี 15 กันยายน 2538
เรื่องการออกหนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวง สรุปปญหาเก่ียวกับการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง เพื่อ
แกไ ขปญหาการครอบครองท่ีดินของรัฐโดยไมถูกตองตามนโยบายของรัฐบาล ซ่ึงปรากฏวาการดําเนินการ
ในหลายจงั หวดั เจาหนาท่ีมิไดเรงรัดดําเนินการใหแลวเสร็จโดยเร็ว ดังปรากฏขอเท็จจริงวาชางรังวัดไดทํา
การรังวัดเสร็จแลวมาเปนเวลานานเกินกวา 10 ป โดยไมมีผูใดคัดคานและไมมีเหตุขัดของ แตเจาหนาที่ท่ี
เกยี่ วขอ งรวมท้ังผบู งั คับบญั ชาไมเอาใจใสในการดําเนินการ กอใหเกิดผลเสียหายตอทางราชการ กรมที่ดิน
จงึ ไดกาํ หนดแนวทางการแกไขปญ หาดังกลา วใน 3 ประเดน็ หลัก สรปุ ได ดังนี้

ประเดน็ ที่ 1 เรอื่ งเจา ของทดี่ ินขา งเคยี งไมมาลงนามรับรองเขต เนื่องจากระเบียบกรมท่ีดิน วาดวย
การออกหนังสอื สาํ คัญสาํ หรบั ท่ีหลวง พ.ศ.2517 มไิ ดกาํ หนดเรอื่ งการแจง เจาของที่ดินขางเคียงและลงนาม
รับรองเขตท่ีดิน จึงใหนําวิธีการแจงเจาของท่ีดินขางเคียงและการรับรองแนวเขตท่ีดินในกรณีออกโฉนด
ทีด่ ินเฉพาะรายมาบังคบั ใชใ นการออกหนังสือสําคญั สาํ หรับที่หลวงโดยอนโุ ลม

ประเด็นท่ี 2 เรื่องการคัดคานการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง (กอนกฎกระทรวง ฉบับที่ 45
(พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ.2497 ใชบังคับ) กรณี
ดงั กลาวใหถอื ปฏิบตั ิตามนัยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 45 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใช
ประมวลกฎหมายทีด่ ิน พ.ศ.2497 ได

58 ส�ำ นักจดั การท่ีดนิ ของรัฐ สำนักจดั กำรท่ีดินของรัฐ 56

ประเดน็ ท่ี 3 เรื่องการรังวัดได้เน้ือท่ีน้อยกว่าหลักฐานเดิม โดยไม่ปรากฏว่ามีผู้บุกรุก ให้ออกหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวงไปก่อน เสร็จแล้วให้นายอาเภอสอบสวนข้อเท็จจริงว่าที่สาธารณประโยชน์แปลงน้ัน
นอ้ ยไปเพราะเหตุใด มจี านวนเน้ือทเี่ ท่าใด โดยขอความเหน็ ตอ่ สภาตาบลเพ่ือพิจารณา หากสภาตาบลไม่มี
ความเหน็ เปน็ อยา่ งอ่นื ภายใน 60 วนั ใหด้ าเนนิ การต่อไป (ปจั จุบนั กาหนดไวใ้ นระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
วา่ ด้วยการมอบหมายให้สภาตาบลหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนช่วยเหลือในการดาเนินการออก
หนงั สอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวง พ.ศ. 2543)

สาหรบั กรณหี นงั สอื สาคัญสาหรบั ท่ีหลวงค้างแจกเกิน 10 ปี กรมท่ดี ินได้วางแนวทางปฏิบัติไว้ตามนัย
หนังสือกรมท่ีดนิ ท่ี มท 0606/8189 ลงวนั ที่ 7 ตุลาคม 2509 แจ้งจังหวดั จังหวัดสุโขทัย กรณีส่งเร่ือง
แผนกสรรพากรได้นาสารวจที่ดินราชพัสดุ เพ่ือออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ท่ีดินตาบลธานี อาเภอ
เมืองสุโขทัย ไว้เม่ือ พ.ศ. 2496 รวม 6 แปลง ไปให้กรมท่ีดินต่อเลข ลงช่ือ และประทับตราตาแหน่งใน
แบบพิมพห์ นงั สือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแล้ว แต่ยังไม่ได้แจกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเป็นเวลาเกิน 10
ปแี ลว้ จงึ ส่งเร่ืองไปเพื่อขอใหพ้ จิ ารณาอนุมตั ิการแจก

กรมท่ีดินพิจารณาแล้ว เห็นว่าหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเป็นหลักฐานแสดงเขตและท่ีตั้งของ
ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินซึ่งมีกฎหมายคุ้มครองอยู่แล้ว และบุคคลไม่อาจยกเอาอายุความ
ข้ึนต่อสู้ได้ต่างกับการออกโฉนดท่ีดิน ฉะน้ันให้เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบหลักฐานการรังวัดเสียก่อนว่า
มีการเปลี่ยนแปลงประการใดหรือไม่ ถ้าปรากฏว่าหลักฐานการรังวัดไม่เปลี่ยนแปลงก็ให้ดาเนินการแจก
หนงั สอื สาคัญสาหรบั ที่หลวงได้
9. ปัญหาการปฏบิ ัติตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 45 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบญั ญัติให้

ใชป้ ระมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. 2497
หนังสอื กรมท่ีดนิ ที่ มท 0718/ว 29528 ลงวันที่ 22 กันยายน 2540 เร่ือง ซ้อมความเข้าใจ

เก่ียวกับทางปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 45 (พ.ศ.2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497

เป็นปัญหาเกี่ยวกับการรังวัดออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแล้วปรากฏว่ามีผู้คัดค้าน โดยมี
หลกั ฐานแสดงสิทธใิ นที่ดนิ ตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ ซ่งึ จะตอ้ งปฏิบัติตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 45 (พ.ศ.
2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ.2497 ข้อ 2 (2) คือ ในกรณี
ที่ผู้คัดค้านมีหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดินให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่ีหลวงเฉพาะส่วนที่ได้คัดค้านไว้ก่อนและให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตรวจสอบสิทธิในที่ดินของผู้คัดค้าน ว่า
ไดม้ าโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ถ้าปรากฏว่าได้มาโดยไม่ชอบให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงและ
แจง้ ให้ผคู้ ดั คา้ นทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ทราบผลการตรวจสอบ และถ้าปรากฏว่าได้มาโดยชอบ ให้
แจ้งให้ผู้คัดค้านทราบโดยเร็ว แล้วระงับการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเฉพาะส่วนนั้น กรณี
ตรวจสอบสิทธิแล้วไม่ได้กล่าวถึงหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดินที่ออกไปโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายว่าจะ
ดาเนินการอย่างไร เป็นเหตุให้เกิดความสับสนในทางปฏิบัติ อีกประการหน่ึงการตรวจสอบดังกล่าวเป็น
การกาหนดให้เปน็ หน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวดั ทจี่ ะตอ้ งดาเนนิ การหรือไม่ อย่างไร

ส�ำ นักจสัดาํ นกัการจทัดกดี่ านิ รขทอ่ีดงินรขฐั องรัฐ5597

กรมท่ีดินไดวางแนวทางปฏิบัติไววา การที่กฎกระทรวง ฉบับที่ 45 (พ.ศ.2537) ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 ขอ 2 (2) บัญญัติไวดังกลาวก็เน่ืองจากเมื่อ
ความปรากฏวา ไดมีการออกหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินไปโดยไมชอบดวยกฎหมาย ผูมีหนาท่ีและผูมี
อํานาจจะตองดําเนินการเพิกถอนตามมาตรา 61 แหงประมวลกฎหมายที่ดินอยูแลว จึงละไวในฐาน
ท่ีเขาใจไมตองกําหนดไวในกฎกระทรวงใหเปนการซ้ําซอน อีกประการหน่ึงท่ีดินแปลงเดียวจะมีเอกสาร
สาํ คัญสําหรบั ท่ดี นิ 2 ประเภท ซอ นกนั อยใู นคราวเดยี วกนั ไมได จงึ ตองทาํ การเพกิ ถอนหลักฐานแสดงสิทธิ
ในท่ดี ินท่ีออกโดยไมชอบดว ยกฎหมายกอน แลว จงึ ออกหนงั สอื สําคญั สําหรบั ที่หลวง

สวนกรณีกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 45 (2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวล
กฎหมายทีด่ นิ พ.ศ.2497 ทีก่ ําหนดใหผ วู าราชการจังหวัดตรวจสอบสิทธิในท่ีดินของผูคัดคานนั้น แมจะเปน
หนาท่ีแตผูวาราชการจังหวัดก็สามารถสั่งการใหพนักงานเจาหนาท่ีตามมาตรา 71 แหงประมวลกฎหมาย
ท่ีดินดําเนินการได โดยอนุโลมถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี มท 0708/ว 707 ลงวันท่ี 26
มถิ นุ ายน 2530

************************



ภาคผนวก



สำ�นสักำจนดั กั กจาัดรกทำรี่ดทิน่ีดขินอขงอรัฐงรัฐ 5963

หนงั สอื สำคัญสำหรบั ท่หี ลวงฉบบั แรก

64 สำ�นกั จดั การทด่ี นิ ของรฐั สำนกั จัดกำรที่ดนิ ของรฐั 60

สำนักจัดกำรที่ดนิ ของรฐั 61
ส�ำ นักจัดการทีด่ ินของรัฐ 65

หนังสือสำคัญสำหรับทหี่ ลวงฉบบั แรก ของทส่ี ำธำรณประโยชน์

66 สำ�นกั จดั การทด่ี นิ ของรฐั สำนกั จัดกำรที่ดนิ ของรฐั 62

สำ�นกั จดั การทีด่ ินของรัฐ 67
สำนกั จัดกำรทดี่ ินของรัฐ 63

พระราชบัญญัติท่รี าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๔ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
เป็นปที ี่ ๓๐ ในรัชกาลปจั จุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ
ให้ประกาศว่า

โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมีกฎหมายว่าดว้ ยทรี่ าชพสั ดุ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้ โดยคาแนะนาและยินยอม
ของสภานติ ิบญั ญัตแิ ห่งชาตทิ าหน้าท่รี ัฐสภา ดังตอ่ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินี้เรียกวา่ “พระราชบญั ญตั ทิ ีร่ าชพัสดุ พ.ศ. ๒๕๑๘”
มาตรา ๒๑ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอ่ืนในส่วนท่ีมีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัติ
นี้หรอื ซ่ึงขดั หรอื แยง้ กบั บทแห่งพระราชบญั ญตั ิน้ี ใหใ้ ช้พระราชบัญญัตนิ แ้ี ทน
มาตรา ๔ ท่รี าชพสั ดุ หมายความว่า อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิด
เวน้ แต่สาธารณสมบตั ิของแผน่ ดนิ ดงั ต่อไปนี้
(๑) ที่ดนิ รกรา้ งว่างเปล่า และท่ีดินซ่ึงมีผู้เวนคืนหรือทอดท้ิงหรือกลับมาเป็นของแผ่นดิน
โดยประการอ่ืนตามกฎหมายท่ดี ิน
(๒) อสังหาริมทรัพย์สาหรับพลเมืองใช้หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ของพลเมืองใช้ร่วมกัน
เปน็ ต้นวา่ ที่ชายตลิง่ ทางนา้ ทางหลวง ทะเลสาบ
ส่วนอสังหาริมทรัพย์ของรัฐวิสาหกิจท่ีเป็นนิติบุคคลและขององค์การปกครองท้องถ่ินไม่
ถือวา่ เป็นทรี่ าชพสั ดุ
มาตรา ๕ ให้กระทรวงการคลังเปน็ ผถู้ ือกรรมสิทธิ์ทรี่ าชพัสดุ
บรรดาที่ราชพสั ดทุ ่กี ระทรวง ทบวง กรมใดไดม้ าโดยการเวนคืนหรือการแลกเปลี่ยนหรือ
โดยประการอ่ืน ให้กระทรวงการคลังเข้าถือกรรมสิทธ์ิในที่ราชพัสดุนั้น ทั้งน้ี ยกเว้นท่ีดินท่ีได้มาโดยการ
เวนคืนตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการปฏริ ปู ทด่ี ินเพอ่ื เกษตรกรรม
มาตรา ๖ ให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกว่า “คณะกรรมการที่ราชพัสดุ” ประกอบด้วย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นประธาน ปลัดกระทรวงการคลังเป็นรองประธาน ปลัดกระทรวง
กลาโหม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม อธิบดีกรมท่ีดิน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นกรรมการ ๒ อธิบดี
กรมธนารักษ์เป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้อานวยการกองรักษาที่หลวงกรมธนารักษ์เป็นกรรมการ
และผชู้ ่วยเลขานุการ
------------------------------

68 สำ�นกั จัดการที่ดนิ ของรฐั สำนกั จัดกำรท่ีดินของรัฐ 64

1 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 92 ตอนที่ 54 ฉบบั พิเศษ หนา้ 1 ถงึ 6 ลงวนั ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2518
ให้คณะกรรมการมีหน้าที่ในการกาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์และวิธีการในการปกครอง

ดูแล บารุงรกั ษา ใช้และจดั หาประโยชน์ เกี่ยวกับที่ราชพสั ดุ
หลกั เกณฑ์และวธิ กี ารที่คณะกรรมการกาหนด ใหต้ ราเป็นกฎกระทรวง
มาตรา ๗ การประชุมของคณะกรรมการตอ้ งมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งจานวน

ของ กรรมการท้ังหมดจึงเป็นองค์ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้รอง
ประธานกรรมการปฏิบัติหน้าท่ีแทน ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่อยู่ หรือไม่อาจ
ปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ให้ทปี่ ระชุมเลอื กกรรมการคนใดคนหน่งึ เปน็ ประธานในท่ีประชุม

การวนิ ิจฉัยชีข้ าดของท่ปี ระชมุ ใหถ้ ือเสียงข้างมาก
กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในท่ี
ประชุมออกเสยี งเพม่ิ ขน้ึ อีกเสียงหนง่ึ เป็นเสยี งชี้ขาด
มาตรา ๘ การโอนกรรมสิทธ์ิที่ราชพัสดุเฉพาะที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ี
ใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ให้กระทาโดยพระราชบัญญัติ ส่วนการโอนกรรมสิทธ์ิที่ราชพัสดุ
อน่ื ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่กี าหนดในกฎกระทรวง
การตราพระราชบัญญัตติ ามวรรคหนึ่ง ใหม้ แี ผนท่แี สดงเขตที่ราชพัสดุแนบท้ายด้วย
มาตรา ๙ ที่ราชพัสดุเฉพาะที่ดินท่ีเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่ใช้เพ่ือประโยชน์
ของแผ่นดินโดยเฉพาะ เมื่อเลิกใช้เพื่อประโยชน์เช่นนั้น หรือเม่ือส้ินสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของ
แผ่นดินแล้ว หรือที่ราชพัสดุที่ทางราชการหวงห้ามไว้และทางราชการไม่ประสงค์จะหวงห้ามอีกต่อไป ให้
ถอนสภาพการเป็น สาธารณสมบัติของแผ่นดิน หรือถอนการหวงห้าม แล้วแต่กรณี โดยตราเป็นพระราช
กฤษฎีกา และให้มีแผนท่ีแสดงเขตทด่ี นิ แนบทา้ ยพระราชกฤษฎีกานนั้ ดว้ ย
มาตรา ๑๐ ในระหว่างท่ียังมิได้ออกกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ตาม
มาตรา ๖ และมาตรา ๘ ให้ใช้ระเบียบการปกครองและจัดประโยชน์ที่ดิน สิ่งปลูกสร้างราชพัสดุ
พุทธศักราช ๒๔๘๕ บังคับตอ่ ไปจนกว่าจะได้ออกกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าวเท่าที่
ไม่ขัดกบั พระราชบญั ญัตนิ ้ี แตท่ ้ังนต้ี ้องไมเ่ กินหกเดือนนับแต่วนั ที่พระราชบัญญัติน้ใี ช้บังคับ
มาตรา ๑๑ บรรดาที่ราชพัสดุที่กระทรวง ทบวง กรม ได้มาโดยกฎหมายว่าด้วยการ
เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ หรือโดยการแลกเปล่ียนกรรมสิทธิ์กับเอกชน หรือโดยประการอื่น ก่อนวันที่
พระราชบัญญตั ินี้ใช้บงั คับ ใหโ้ อนมาเป็นของกระทรวงการคลงั
มาตรา ๑๒ ให้รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้
มอี านาจออกกฎกระทรวงเพอ่ื ปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้
กฎกระทรวงนน้ั เม่ือได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้วใหใ้ ชบ้ ังคับได้

ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
สญั ญา ธรรมศกั ด์ิ
นายกรัฐมนตรี

------------------------------
2 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญัติปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม
119 ตอนที่ 99 ก หน้า 14 ลงวันท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ซง่ึ มีความเดิมว่า “ผอู้ านวยการสานักผงั เมอื ง”

ส�ำ นักจัดการท่ีดนิ ของรัฐ 69
สำนักจัดกำรท่ดี ินของรัฐ 65

พระราชบัญญัติ
ทีร่ าชพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๖๒

--------------------
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั มหาวซิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร

ใหไ้ ว้ ณ วันที่ ๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๒
เปน็ ปที ี่ ๔ ในรัชกาลปจั จบุ นั

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวซิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศวา่

โดยที่เป็นการสมควรปรบั ปรุงกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุ
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญตั ขิ ้นึ ไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติ
บัญญตั แิ ห่งชาติทาหน้าที่รัฐสภา ดังต่อไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเ้ รียกว่า “พระราชบัญญตั ิท่รี าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๖๒”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหน่ึงร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศ ในราช
กิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลกิ พระราชบญั ญตั ทิ ีร่ าชพสั ดุ พ.ศ. ๒๕๑๘
มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญัตนิ ี้
“ส่วนราชการ” หมายความว่า ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง
กรม และหน่วยงานที่รับผิดชอบงานธุรการขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือศาลหรือองค์กรอัยการ
หรือรฐั สภา
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า รัฐวิสาหกิจ องค์การของรัฐบาล องค์การมหาชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานในกากับของรัฐ หรือหน่วยงานอ่ืนที่มีกฎหมายจัดตั้ง แต่ไม่รวมถึง ส่วน
ราชการ
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการทีร่ าชพสั ดุ
“รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผรู้ ักษาการตามพระราชบญั ญตั ินี้
มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอานาจ
ออกกฎกระทรวงและระเบยี บเพ่ือปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญัตนิ ี้
กฎกระทรวงและระเบยี บนน้ั เมือ่ ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วใหใ้ ช้บงั คับได้

หมวด ๑
บททั่วไป
--------------------
มาตรา ๖ ทีร่ าชพัสดุ ไดแ้ ก่
(๑) อสงั หารมิ ทรัพยอ์ ันเป็นทรพั ยส์ นิ ของแผน่ ดนิ ทุกชนดิ
(๒) ทด่ี ินทสี่ งวนหรือหวงหา้ มไว้เพอ่ื ประโยชน์ของแผน่ ดินโดยเฉพาะ

70 ส�ำ นกั จดั การทด่ี ินของรฐั สำนกั จดั กำรทีด่ ินของรัฐ 66

(๓) ท่ดี นิ ท่ีสงวนหรอื หวงหา้ มไวเ้ พ่ือประโยชนข์ องทางราชการตามกฎหมาย
มาตรา ๗ อสงั หารมิ ทรพั ย์ดังต่อไปนี้ ไมเ่ ป็นท่รี าชพสั ดุ
(๑) ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และท่ีดินซ่ึงมีผู้เวนคืนหรือทอดท้ิงหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดย
ประการอ่ืนตามกฎหมายท่ีดิน แต่ไม่รวมถึงท่ีดินรกร้างว่างเปล่าที่สงวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของ
แผน่ ดินโดยเฉพาะหรอื เพ่อื ประโยชน์ของทางราชการตามกฎหมาย
(๒) อสังหาริมทรัพย์อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้หรือสงวนไว้ เพื่อ
ประโยชนข์ องพลเมอื งใช้รว่ มกนั
(๓) อสงั หารมิ ทรพั ย์ของรฐั วิสาหกิจทเ่ี ป็นนติ บิ คุ คลและองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
(๔) อสงั หาริมทรัพยข์ ององค์การมหาชน ซ่ึงได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซ้ือหรือแลกเปล่ียนจาก
รายไดห้ รือทรัพย์สินขององค์การมหาชนน้ัน โดยไมไ่ ด้ใช้เงนิ งบประมาณแผ่นดนิ หรอื เงนิ อดุ หนุนจากรฐั บาล
(๕) อสงั หาริมทรัพยข์ องสถานศึกษาของรฐั ทีเ่ ปน็ นิตบิ คุ คล ซงึ่ ได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการซ้ือ
หรอื แลกเปลี่ยนจากรายได้หรือทรัพย์สินของสถานศึกษาน้ัน โดยไม่ได้ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน หรือเงิน
อดุ หนุนจากรฐั บาล
(๖) อสังหาริมทรัพย์ของหน่วยงานของรัฐท่ีมีกฎหมายจัดตั้ง ซึ่งได้มาโดยมีผู้อุทิศให้หรือโดยการ
ซื้อหรือแลกเปล่ียนจากรายได้หรือทรัพย์สินของหน่วยงานของรัฐนั้น โดยไม่ได้ใช้เงินงบประมาณแผ่นดิน
หรือเงินอุดหนนุ จากรัฐบาล
(๗) อสังหาริมทรพั ยท์ ี่มกี ฎหมายเฉพาะบญั ญัติยกเวน้ ไวไ้ ม่ให้ถือเป็นท่ีราชพัสดุ
มาตรา ๘ ใหก้ ระทรวงการคลังเปน็ ผ้ถู ือกรรมสิทธิ์ในที่ราชพสั ดุ
ใหก้ รมธนารักษม์ หี นา้ ทใ่ี นการปกครอง ดแู ล และบารุงรักษาทีร่ าชพัสดุ ส่วนการใช้และการจัดหา
ประโยชน์ให้เป็นไปตามทบี่ ัญญตั ใิ นพระราชบญั ญตั นิ ี้

หมวด ๒
คณะกรรมการที่ราชพัสดุ

--------------------
มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการท่ีราชพัสดุ” ประกอบด้วย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นรองประธานกรรมการ
ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ปลัดกระทรวงมหาดไทย อธิบดีกรมท่ีดิน และอธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง
และผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้าน
เศรษฐศาสตร์ ด้านที่ดิน หรือด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จานวนสามคน เป็นกรรมการ และอธิบดี
กรมธนารกั ษ์ เปน็ กรรมการและเลขานุการ
ให้อธบิ ดกี รมธนารกั ษ์แต่งต้ังขา้ ราชการของกรมธนารักษจ์ านวนไม่เกินสองคน เปน็ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
มาตรา ๑๐ กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒติ อ้ งมีคุณสมบตั ิและไมม่ ีลกั ษณะต้องห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) มีสญั ชาติ'ไทย
(๒) มีอายไุ ม่ต่ากวา่ สามสิบหา้ ปี
(๓) ไมเ่ ปน็ บุคคลล้มละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลลม้ ละลายทจุ รติ
(๔) ไมเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดที่ได้
กระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ

ส�ำ นักจสดั ำนกกัารจทดั กด่ี ำนิ รขทอด่ี งนิ รขฐั องรฐั 7617

(๖) ไม่เปน็ ผู้ดารงตาแหน่งในทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการหรือผู้
ดารงตาแหนง่ ทีร่ ับผิดชอบการบริหารพรรคการเมือง ท่ีปรึกษาพรรคการเมือง หรอื เจา้ หนา้ ท่ีพรรคการเมือง

(๗) ไมเ่ คยต้องคาพิพากษาหรือคาสงั่ ของศาลให้ทรัพยส์ นิ ตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติ
หรอื มีทรพั ย์สนิ เพม่ิ ขน้ึ ผิดปกติ

(๘) ไมเ่ คยถูกไลอ่ อก ปลดออก หรือใหอ้ อกจากงาน เพราะทจุ ริตตอ่ หน้าที่
มาตรา ๑๑ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิมวี าระการดารงตาแหนง่ คราวละสามปี
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งพ้นจากตาแหน่งตามวาระ อาจได้รับการแต่งต้ังอีกได้ แต่จะดารงตาแหน่ง
ตดิ ตอ่ กนั เกนิ สองวาระไม่ได้
เม่ือครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่ ให้
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงพ้นจากตาแหน่งตามวาระนั้นอยู่ในตาแหน่งเพ่ือปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า
กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิซึง่ ได้รบั แตง่ ตั้งใหมเ่ ข้ารับหน้าที่
มาตรา ๑๒ นอกจากการพ้นจากตาแหนง่ ตามวาระตามมาตรา ๑๑ กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิพ้นจาก
ตาแหน่งเม่อื
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) รฐั มนตรใี ห้ออกเพราะบกพร่องต่อหนา้ ที่ มีความประพฤตเิ สอ่ื มเสียหรือหยอ่ นความสามารถ
(๔) ขาดคุณสมบัติหรอื มลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๐
มาตรา ๑๓ ในกรณีท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้ดาเนินการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิแทนตาแหน่งที่ว่าง เว้นแต่วาระของกรรมการเหลืออยู่ไมถ่ ึงหนึ่งร้อยย่ีสิบวัน จะไม่
แตง่ ตัง้ ก็ได้
ให้ผู้ได้รับการแต่งต้ังแทนตาแหน่งที่ว่างอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนดารง
ตาแหน่งแทน
ในระหว่างท่ีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด และยังมิได้มีการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒขิ นึ้ ใหม่ ให้คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการเท่าทเี่ หลืออยู่
มาตรา ๑๔ การประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวน
กรรมการทัง้ หมด จึงจะเปน็ องค์ประชมุ
ในการประชุมคณะกรรมการ ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้
รองประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ในกรณีที่ประธานกรรมการและรองประธานกรรมการ
ไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้กรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่
ประชมุ
การวินิจฉัยช้ีขาดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหน่ึงในการลงคะแนน
ถา้ คะแนนเสียงเทา่ กนั ให้ประธานในท่ีประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสยี งหน่ึงเป็นเสียงชข้ี าด
ในการประชุม ถ้ามีการพิจารณาเร่ืองที่กรรมการผู้ใดมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ให้
กรรมการผู้น้นั แจง้ คณะกรรมการทราบ และไม่มสี ิทธเิ ข้าร่วมประชุมในเรือ่ งนั้น
มาตรา ๑๕ ใหค้ ณะกรรมการมีหนา้ ที่และอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) กาหนดนโยบายเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การท่ีราชพัสดุ
(๒) กาหนดหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขในการจดั ทาทะเบยี นทร่ี าชพัสดุ
(๓) เสนอแนะรฐั มนตรใี นการออกกฎกระทรวงเพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการ
ปกครอง ดแู ล บารุงรกั ษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ทรี่ าชพสั ดุ

สำนักจดั กำรที่ดินของรฐั 68
72 ส�ำ นกั จดั การทด่ี ินของรฐั

(๔) กาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขในการจัดทาทะเบยี นทรัพยส์ ินนอกราชอาณาจกั ร
(๕) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการจัดทารายงานเก่ียวกับการปกครอง ดูแล
บารุงรักษา และใช้ท่รี าชพสั ดุ
(๖) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่ืนบัญญัติให้เป็นหน้าท่ีหรืออานาจ
ของคณะกรรมการ หรือตามท่ีคณะรฐั มนตรมี อบหมาย
มาตรา ๑๖ คณะกรรมการจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือพิจารณาหรือปฏิบัติการตามที่
คณะกรรมการมอบหมายกไ็ ด้
ใหน้ าบทบญั ญัติมาตรา ๑๔ มาใชบ้ งั คับกบั การประชุมของคณะอนุกรรมการโดยอนโุ ลม

หมวด ๓
การจดั ทาและการขนึ้ ทะเบียนทร่ี าชพัสดุ

--------------------
มาตรา ๑๗ ใหก้ รมธนารักษม์ ีหนา้ ท่จี ัดทาทะเบียนที่ราชพัสดุตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไข
ท่คี ณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๑๘ เพื่อประโยชน์ในการขน้ึ ทะเบยี นท่รี าชพสั ดุ ให้ดาเนินการดังตอ่ ไปนี้
(๑) กรณีทดี่ ินอันเป็นสาธารณสมบตั ขิ องแผน่ ดนิ สาหรบั พลเมืองใช้ร่วมกนั เมื่อได้มีการถอนสภาพ
ที่ดินจากการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ของพลเมืองใช้
ร่วมกัน เพ่ือมอบหมายให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐใช้ประโยชน์ ให้กรมที่ดินแจ้งกรมธนารักษ์
ทราบโดยเรว็ เพ่อื ขน้ึ ทะเบียนทีร่ าชพัสดุ
(๒) กรณีท่ีดินท่ีสงวนหรือหวงห้ามไว้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ หรือท่ีดินที่สงวนหรือ
หวงห้ามไว้เพ่ือประโยชน์ของทางราชการตามกฎหมาย ให้ขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุไว้และเมื่อส่วนราชการหรือ
หน่วยงานของรัฐเข้าใช้ประโยชน์ในท่ีดินน้ัน ให้แจ้งกรมธนารักษ์ทราบโดยเร็ว เพ่ือแก้ไขรายการทะเบียนที่
ราชพสั ดใุ ห้ถูกต้อง
(๓) กรณีที่สว่ นราชการหรอื หน่วยงานของรัฐได้มาซึ่งท่ีราชพัสดุนอกเหนือจากกรณีตาม (๑) และ
(๒) ให้จัดส่งต้นฉบับหนังสือสาคัญสาหรับท่ีดิน เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่งที่ราชพัสดุน้ัน รวมทั้ง
รายการเก่ียวกบั อสังหารมิ ทรพั ย์ ให้แกก่ รมธนารกั ษโ์ ดยเรว็ เพื่อข้นึ ทะเบียนท่รี าชพสั ดุ
ก่อนการขึ้นทะเบียนท่ีราชพัสดุตามวรรคหนึ่ง ให้กรมธนารักษ์ตรวจสอบการได้มาซ่ึงที่ดินและ
สถานะของทดี่ ินให้ถูกต้อง ตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่อื นไขทค่ี ณะกรรมการกาหนด

หมวด ๔
การใช้ การเรียกคืน และการจัดหาประโยชนท์ ีร่ าชพสั ดุ

--------------------
มาตรา ๑๙ ท่ีราชพสั ดุใหน้ าไปใช้เพอ่ื ประโยชนใ์ นทางราชการในการปฏิบัติตามหน้าที่และอานาจ
ของสว่ นราชการและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
ส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความประสงค์จะขอใช้ท่ีราชพัสดุตามวรรคหน่ึง
ใหแ้ จ้งวตั ถุประสงคใ์ นการใช้ท่รี าชพัสดุและขอทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เง่ือนไขท่กี าหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๒๐ ส่วนราชการหรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินซึ่งใช้ที่ราชพัสดุ มีหน้าท่ีใช้ที่ราชพัสดุให้
เป็นไปตามวตั ถุประสงคแ์ ละความตกลงที่ทาไวก้ ับกรมธนารักษ์ และมหี น้าทีด่ ังต่อไปน้ดี ว้ ย

ส�ำ นกั จสดัำนกักาจรดัทกี่ดำนิ รขทอดี่ งินรขัฐองรัฐ7639

(๑) ดแู ลและบารงุ รักษาท่ีราชพัสดุให้คงอยู่ในสภาพที่เหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์อยู่เสมอ และ
ระมดั ระวงั มิใหเ้ กิดการบกุ รกุ หรอื ความเสยี หายใด ๆ แก่ทรี่ าชพัสดุ

(๒) จัดทารายงานเก่ยี วกับการปกครอง ดูแล บารุงรกั ษา และใช้ท่ีราชพัสดุ เสนอต่อกรมธนารักษ์
ท้งั นี้ ตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการกาหนด

มาตรา ๒๑ ในกรณีท่ีมีการใช้ ร้ือถอน หรือดัดแปลงที่ราชพัสดุ หรือกระทาการใด ๆ อันมี
ผลกระทบต่อสาระสาคัญหรือสถานะของที่ราชพัสดุ โดยยังเป็นการดาเนินการตามวัตถุประสงค์เดิม ให้
ส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแจ้งกรมธนารักษ์ทราบเพ่ือแก้ไขรายการทะเบียนท่ีราชพัสดุ
ให้ถกู ต้อง

ในกรณีที่ส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์การใช้ที่ราชพัสดุ
ใหแ้ จง้ และขอทาความตกลงกบั กรมธนารักษ์ใหม่

มาตรา ๒๒ ให้กรมธนารักษ์เรียกคืนท่ีราชพัสดุจากส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้
ในกรณดี ังต่อไปน้ี

(๑) เลิกใช้ทร่ี าชพัสดุ
(๒) ครอบครองท่ีราชพัสดโุ ดยมิไดร้ บั อนญุ าต
(๓) ไม่ปฏิบัติหน้าท่ตี ามมาตรา ๒๐ หรือมาตรา ๒๑
(๔) ไม่ใชท้ ร่ี าชพสั ดภุ ายในระยะเวลาสามปีนับแตว่ นั ทีท่ าความตกลงกบั กรมธนารักษ์
กรณีตาม (๓) ให้กรมธนารักษ์แจ้งให้ส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติหน้าที่ให้
ถูกต้องภายในระยะเวลาอันสมควรก่อน ส่วนกรณีตาม (๔) ให้กรมธนารักษ์แจ้งให้ส่วนราชการหรือองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินชี้แจงเหตุผลท่ีไม่ใชท้ ่ีราชพสั ดภุ ายในระยะเวลาทกี่ รมธนารักษ์กาหนด
เมื่อกรมธนารักษ์ได้เรียกคืนที่ราชพัสดุแล้ว แต่ส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้ัน
ไม่ส่งคืนท่ีราชพัสดุภายในระยะเวลาที่กรมธนารักษ์กาหนด ให้กรมธนารักษ์เสนอให้คณะกรรมการ
พจิ ารณาวินิจฉยั ชข้ี าดตอ่ ไป
มาตรา ๒๓ ในกรณีท่ีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐมีอานาจในการ
ปกครอง ดูแล บารุงรักษา และใช้ท่ีราชพัสดุ ให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐน้ันมีหน้าที่จัดทา
รายงานเกี่ยวกับการปกครอง ดูแล บารุงรักษา และใช้ท่ีราชพัสดุต่อกรมธนารักษ์ ทั้งนี้ ตามระเบียบท่ี
คณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๒๔ ที่ราชพัสดุท่ียังไม่ได้ใช้เพ่ือประโยชน์ในทางราชการของส่วนราชการหรือองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือท่ีราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองของส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น แต่ส่วนราชการหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ันยังไม่ได้ใช้ประโยชน์ กระทรวงการคลัง
สามารถนามาจัดหาประโยชน์ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
มาตรา ๒๕ การจัดหาประโยชน์ท่รี าชพัสดุต้องเป็นไปเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ และให้
กระทาไดเ้ พื่อการดังต่อไปน้ี
(๑) การสนับสนุนการดาเนนิ ภารกจิ ของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรฐั
(๒) การสาธารณประโยชน์หรือสาธารณกุศล การสงเคราะห์ข้าราชการ หรือสวัสดิการของ
ข้าราชการ
(๓) กจิ การอนื่ ตามท่ีคณะกรรมการกาหนด

74 สำ�นักจดั การที่ดนิ ของรฐั สำนกั จดั กำรทด่ี ินของรัฐ 70

มาตรา ๒๖ การจัดหาประโยชน์ที่ราชพัสดุ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ท่ี
กาหนดในกฎกระทรวง โดยให้ทาเป็นสัญญาเช่าหรือสัญญาต่างตอบแทนอ่ืนนอกเหนือจากสัญญาเช่า กับ
กระทรวงการคลงั

มาตรา ๒๗ การจัดหาประโยชน์ท่ีราชพัสดุจากบุคคลที่มิใช่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐ
ตอ้ งเปน็ ไปเพ่อื ให้เกิดประโยชนแ์ ก่ทางราชการ โดยต้องคานึงถงึ เรื่องดังตอ่ ไปน้ีด้วย

(๑) วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดหาประโยชน์
(๒) สภาพและทีต่ ้ังของที่ราชพัสดุนั้น
(๓) อัตราคา่ เช่าตามปกติในท้องตลาด
(๔) ผลประโยชน์ตอบแทนอืน่ นอกเหนือจากคา่ เชา่ ที่จะได้รบั
(๕) มลู คา่ อสงั หาริมทรพั ยบ์ นทด่ี นิ ทีต่ กหรือจะตกเปน็ ของกระทรวงการคลัง อันเป็นมูลค่าในเวลา
ท่สี ญั ญาสน้ิ สดุ ลง
มาตรา ๒๘ การจัดหาประโยชน์ตามมาตรา ๒๗ ซ่ึงมีราคาท่ีราชพัสดุเกินกว่าห้าร้อยล้านบาท
ต้องไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ
การขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เง่ือนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง โดยกฎกระทรวงดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เก่ียวกับการเสนอ
โครงการ การทาสัญญา การบริหารสัญญา การแก้ไขสัญญา การกากับดูแลและติดตามผล และการ
กาหนดค่าเชา่ หรอื ผลประโยชนต์ อบแทนอ่ืนนอกเหนือจากค่าเช่า
ราคาท่ีราชพัสดุตามวรรคหนึ่ง สาหรับกรณีทด่ี นิ ให้ถือราคาประเมนิ ทุนทรัพย์ของอสังหาริมทรัพย์
เพือ่ เรียกเกบ็ ค่าธรรมเนยี มจดทะเบียนสิทธแิ ละนติ กิ รรมตามประมวลกฎหมายท่ดี ิน
มาตรา ๒๙ การจัดหาประโยชน์ตามมาตรา ๒๗ ที่เร่ิมดาเนินการนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้
บังคับ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ เว้นแต่
การจัดหาประโยชน์ในกิจการเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณ ะท่ีมีมูลค่าโครงการตามท่ี
กาหนดในกฎกระทรวง ให้ปฏบิ ัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกจิ การของรฐั

หมวด ๕
การโอนกรรมสิทธิ์ท่ีราชพัสดุและการถอนสภาพทรี่ าชพสั ดุ

--------------------
มาตรา ๓๐ การโอนกรรมสิทธ์ิท่ีราชพัสดุเฉพาะที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่ใช้เพ่ือ
ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ และให้มีแผนท่ีแสดงเขตที่ดินแนบท้าย
พระราชบัญญตั ินน้ั ดว้ ย
มาตรา ๓๑ การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุที่มิใช่ที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีใช้เพ่ือ
ประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
และต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี เว้นแต่กรณีตามมาตรา ๓๒ หรือกรณีการโอนกรรมสิทธิ์ที่
ราชพสั ดุเพ่อื ประโยชนใ์ นการดาเนนิ การตามกฎหมายวา่ ด้วยการปฏิรปู ที่ดนิ เพ่อื เกษตรกรรมหรือกฎหมาย
ว่าดว้ ยการเวนคืนอสงั หารมิ ทรัพยห์ รือโครงการของส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐท่ีคณะรัฐมนตรีมีมติ
เห็นชอบและกาหนดขั้นตอนและวิธีการโอนไว้เป็นการเฉพาะ การโอนกรรมสิทธิ์ที่ราชพัสดุให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการนั้น หรือใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด

สำ�นกั จสัดำนกกัารจทัดกีด่ ำนิ รขทอ่ดี งนิ รขฐั องรฐั 7751

มาตรา ๓๒ ที่ราชพัสดุท่ีมิใช่ที่ดินท่ีเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพาะ ซึ่งได้มาจากการบริจาคหรือมีผู้อุทิศให้ หากไม่ได้นาที่ราชพัสดุนั้นไปใช้ประโยชน์ภายใน
ระยะเวลาท่ผี บู้ รจิ าคหรือผ้อู ุทศิ ให้กาหนดหรือภายในหา้ ปีนับแต่วันท่ีมีการบริจาคหรืออุทิศให้ ให้ผู้บริจาค
หรือผอู้ ุทศิ ใหห้ รือทายาทมีสทิ ธิขอคนื ทด่ี นิ นนั้

การขอคืนตามวรรคหนึ่ง ผู้บริจาคหรือผู้อุทิศให้หรือทายาทต้องขอคืนต่อกระทรวงการคลัง
ภายในห้าปีนับแต่วันพ้นกาหนดระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง โดยย่ืนคาร้องขอตามแบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธกี ารทก่ี าหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๓๓ ให้คณะกรรมการพิจารณาคาร้องขอตามมาตรา ๓๒ แล้วเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเพื่อ
พิจารณาวินิจฉัย ท้ังนี้ ต้องแจ้งคาวินิจฉัยให้ผู้ย่ืนคาร้องขอทราบภายในหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ได้
รบั คารอ้ งขอ

คาวินจิ ฉยั ของรัฐมนตรใี ห้เป็นท่ีสุด
มาตรา ๓๔ การถอนสภาพการเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินของที่ราชพัสดุเฉพาะท่ีดินที่สงวน
หรือหวงห้ามไว้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ให้กระทาได้เมื่อเลิกใช้เพ่ือประโยชน์เช่นนั้น หรือเม่ือ
สน้ิ สภาพการเป็นสาธารณสมบตั ิของแผ่นดินแล้ว และกระทรวงการคลังไม่ประสงค์จะสงวนหรือหวงห้ามไว้
ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะอีกต่อไป โดยให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้มีแผนท่ีแสดงเขต
ท่ดี นิ แนบท้ายพระราชกฤษฎีกาน้ันดว้ ย
มาตรา ๓๕ การถอนสภาพที่ราชพัสดุที่ทางราชการสงวนหรือหวงห้ามไว้ ให้กระทาได้เม่ือ
กระทรวงการคลังไม่ประสงค์จะสงวนหรือหวงห้ามอีกต่อไป โดยให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา และให้มีแผนที่
แสดงเขตทีด่ ินแนบท้ายพระราชกฤษฎกี าน้นั ด้วย

หมวด ๖
ท่รี าชพัสดุนอกราชอาณาจักร

--------------------
มาตรา 36 ในหมวดน้ี
“ที่ราชพัสดุ” หมายความว่า อสังหาริมทรัพย์อันเป็นทรัพย์สินของแผ่นดินทุกชนิดที่รัฐบาลไทย
ได้มาซ่งึ กรรมสทิ ธิ์และต้งั อยู่นอกราชอาณาจกั ร
มาตรา ๓๗ ให้เอกอคั รราชทตู กงสุลใหญ่ หรอื ผู้ดารงตาแหน่งทีเ่ รียกชื่ออย่างอื่นท่ีได้รับแต่งต้ังให้
มหี น้าท่ีเชน่ เดยี วกับเอกอคั รราชทตู หรือกงสุลใหญ่ มหี น้าที่ปกครอง ดแู ล บารุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุซึ่ง
ต้ังอย่ใู นประเทศหรือเขตทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของตน เวน้ แตก่ รณีทบี่ ญั ญตั ไิ ว้ในมาตรา ๓๘
มาตรา ๓๘ ในกรณีทห่ี น่วยงานของส่วนราชการใดตั้งอยู่นอกราชอาณาจักรและใช้ที่ราชพัสดุ ให้
หวั หนา้ หนว่ ยงานของส่วนราชการน้ัน เป็นผู้มีหนา้ ทปี่ กครอง ดูแล บารงุ รักษา และใชท้ ี่ราชพสั ดุดงั กล่าว
มาตรา ๓๙ ให้บุคคลตามมาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ แล้วแต่กรณี จัดทารายงานเกี่ยวกับการ
ปกครอง ดูแล บารงุ รักษา และใชท้ ี่ราชพสั ดทุ ่อี ยูใ่ นความรับผิดชอบเสนอต่อกรมธนารักษ์ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเง่ือนไขท่คี ณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๔๐ ใหก้ รมธนารักษม์ ีหน้าที่จัดทาทะเบียนท่ีราชพัสดุตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข
ทคี่ ณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๔๑ การโอนกรรมสิทธิ์ท่ีราชพัสดุต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ตาม
หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่กี าหนดในกฎกระทรวง

76 ส�ำ นกั จดั การท่ีดินของรัฐ สำนกั จดั กำรท่ดี ินของรัฐ 72

หมวด ๗
ทรัพย์สินนอกราชอาณาจกั ร

--------------------
มาตรา ๔๒ ในหมวดน้ี
“ทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร” หมายความว่า สิทธิการครอบครองหรือการใช้ประโยชน์ใน
อสังหาริมทรัพย์ซ่ึงต้ังอยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้มาโดยวิธีการทางการทูตหรือเป็นไปตามความตกลงที่
รฐั บาลไทยทาไวก้ บั รฐั บาลต่างประเทศที่อสงั หาริมทรัพย์ตั้งอยู่
มาตรา ๔๓ ให้กรมธนารักษ์มีหน้าที่จัดทาทะเบียนทรัพย์สินนอกราชอาณาจักรตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงอื่ นไขท่ีคณะกรรมการกาหนด
มาตรา ๔๔ การปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ จัดทารายงาน และโอนทรัพย์สินนอกราชอาณาจักร
ใหด้ าเนินการตามทีบ่ ัญญัตไิ ว้ในหมวด ๖ โดยอนุโลม

หมวด ๘
บทกาหนดโทษ
--------------------
มาตรา ๔๕ ผู้ไดเข้าไปในท่ีราชพัสดุเพ่ือยึดถือหรือครอบครองท้ังหมดหรือแต่บางส่วน โดยไม่มี
สิทธิโดยชอบดว้ ยกฎหมาย หรือเขา้ ไปกระทาการใด ๆ อันเป็นการรบกวนการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุ โดย
ปกติสุข หรือทาด้วยประการใด ๆ อันเป็นการทาลายหรือทาให้เส่ือมสภาพแก่ที่ราชพัสดุ ต้องระวางโทษ
จาคุกไมเ่ กินห้าปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ หนึง่ แสนบาท หรือทง้ั จาท้ังปรับ
ในกรณีท่ีมีคาพิพากษาว่าผู้ใดกระทาความผิดตามมาตราน้ี ศาลมีอานาจสั่งในคาพิพากษาให้
ผู้กระทาความผิด คนงาน ผู้รับจา้ ง ผแู้ ทน และบรวิ ารของผกู้ ระทาความผิดออกไปจากทรี่ าชพัสดนุ ั้นด้วย
บรรดาเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ ยานพาหนะ หรือเคร่ืองจักรกลใด ๆ ซ่ึงบุคคลได้ใช้ในการกระทา
ความผิด หรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการกระทาความผิดดังกล่าว ให้ริบเสียท้ังส้ิน โดยไม่ต้อง
คานึงวา่ เป็นของผกู้ ระทาความผิดหรอื มีผูถ้ กู ลงโทษตามคาพิพากษาของศาลหรือไม่
มาตรา ๔๖ ในกรณที ี่ผกู้ ระทาความผิดตามมาตรา ๔๕ เป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทาความผิดของ
นิติบุคคลนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทาของกรรมการ หรือผู้จัดการหรือบุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบใน
การดาเนินงานของนิติบุคคลนั้น หรือในกรณีท่ีบุคคลดังกล่าวมีหน้าท่ีต้องส่ังการหรือกระทาการและ
ละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทาการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลน้ันกระทาความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามท่ี
บญั ญตั ไิ ว้สาหรับความผดิ นน้ั ๆ ดว้ ย
บทเฉพาะกาล
--------------------
มาตรา ๔๗ บรรดากฎกระทรวงหรือระเบียบท่ีใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้
บังคับ ให้คงใช้บังคับได้ต่อไปเท่าท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติน้ี จนกว่าจะมี
กฎกระทรวงหรอื ระเบยี บทอ่ี อกตามพระราชบัญญตั นิ ้ีใช้บงั คบั
มาตรา ๔๘ ในระหวา่ งที่ยังไม่มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๙ ให้คณะกรรมการ
ประกอบด้วยกรรมการโดยตาแหน่งตามมาตรา ๙ เพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการตามพระราชบัญญัติน้ี
ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ แต่ต้องไม่เกินหน่ึงร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่
พระราชบัญญตั นิ ใ้ี ช้บงั คบั

สำ�นกั จสัดำนกกัารจทัดกด่ี ำนิ รขทอี่ดงนิ รขฐั องรฐั 7773

มาตรา ๔๙ การจดั หาประโยชน์ที่ราชพัสดุที่ไดด้ าเนินการแล้วหรืออยู่ระหว่างการดาเนินการตาม
กฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้
ดาเนินการต่อไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามความในมาตรา
๒๘ เวน้ แตเ่ ปน็ กรณีทไ่ี ด้มกี ารประกาศเชิญชวนให้เอกชนร่วมลงทุนแล้ว ให้ดาเนินการต่อไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ จนกว่าจะได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนกับเอกชนท่ีได้ทา
การคัดเลือกให้ร่วมลงทุนแล้ว จึงให้ดาเนินการต่อไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ท่ีกาหนดใน
กฎกระทรวงทอี่ อกตามความในมาตรา ๒๘

ในกรณที ม่ี ปี ัญหาในการปฏิบตั ิตามวรรคหนงึ่ ใหค้ ณะกรรมการเป็นผู้พิจารณาวนิ จิ ฉัยช้ีขาด
มาตรา ๕๐ การจดั หาประโยชนท์ ่รี าชพัสดโุ ครงการใดทีอ่ ยรู่ ะหวา่ งการดาเนินการตามมาตรา ๗๒
แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๖ ให้คณะกรรมการตาม
พระราชบัญญัติน้ีทาหน้าที่แทนคณะกรรมการตามมาตรา ๗๒ แห่งพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วม
ลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. ๒๕๕๖

ผู้รับสนองพระราชโองการ
พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา

นายกรัฐมนตรี

78 สำ�นักจดั การทดี่ นิ ของรัฐ สำนักจัดกำรทด่ี นิ ของรัฐ 74

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ 26 (พ.ศ. 2516)
ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ หใ้ ชป้ ระมวลกฎหมายที่ดนิ

พ.ศ. 2497
----------------------------
อาศยั อานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.
2497 และ มาตรา 8 ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่
334 ลงวนั ท่ี 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย ออกกฎกระทรวงไวด้ งั ต่อไปนี้
ขอ้ 1 ทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
สาหรับพลเมืองใช้ร่วมกันหรือใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ ประสงค์จะให้มีหนังสือสาคัญสาหรับ
ทห่ี ลวง สาหรบั ทดี่ ินแปลงใด ให้แสดงความประสงคต์ ่ออธิบดี
ข้อ 2 เมื่อได้รับคาขอตามขอ้ 1 แล้ว ให้อธิบดีจัดให้มีการสอบสวนและรังวัดทาแผนที่ตาม
วิธีการรังวัด เพ่ือออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน และประกาศการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ให้
ประชาชนทราบมีกาหนดสามสิบวัน โดยปิดไว้ในที่เปิดเผย ณ สานักงานท่ีดินจังหวัด หรือสานักงานที่ดิน
สาขาหน่ึงฉบับ ณ ท่ีว่าการอาเภอหรือก่ิงอาเภอท้องที่ หรือท่ีทาการเขตหนึ่งฉบับ ที่ทาการกานันหน่ึงฉบับ
และในบริเวณท่ีดินนั้นหน่ึงฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับ ในประกาศ
ดังกลา่ วให้มีแผนท่ีแสดงแนวเขตที่ดินท่ีจะออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง และกาหนดระยะเวลาท่ีผู้มีส่วน
ได้เสียจะคัดค้านไว้ด้วย ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวัน นับแต่วันประกาศ ถ้าไม่มีผู้คัดค้านให้ดาเนินการออก
หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงต่อไป ถ้ามีผู้คัดค้านให้อธิบดีรอการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้จนกว่า
จะได้มีคาพพิ ากษาถงึ ท่สี ุดของศาลแสดงวา่ ผู้คัดค้านไม่มีสทิ ธใิ นท่ดี ินนั้น
ข้อ 3 หนังสอื สาคัญสาหรบั ทหี่ ลวงใหใ้ ชแ้ บบ ส.ธ. 1 ทา้ ยกฎกระทรวงน้ี
ขอ้ 4 หนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ทาขึ้นสามฉบับมอบให้ผู้ดูแลรักษาถือไว้หนึ่งฉบับ
และ เก็บไว้ ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินสาขาหน่ึงฉบับ และเก็บไว้ ณ กรมที่ดินหน่ึงฉบับ
สาหรับฉบับทีเ่ กบ็ ไว้ ณ สานักงานท่ดี ิน หรอื กรมทด่ี ินจะจาลองเป็นรูปถา่ ยก็ได้ และถือเสมือนเป็นต้นฉบับ
ข้อ 5 ถา้ หนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่ีหลวงชารดุ หรอื สูญหายให้อธบิ ดีออกใบแทนให้
ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 3 สงิ หาคม พ.ศ. 2516

(ลงช่อื ) จอมพล ประภาส จารุเสถยี ร
(จอมพล ประภาส จารุเสถียร)

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

สำนักจดั กำรทดี่ ินของรฐั 75
ส�ำ นกั จัดการท่ีดนิ ของรัฐ 79

80 ส�ำ นกั จดั การทด่ี ินของรฐั

ส�ำ นกั จดั การทีด่ ินของรฐั 81
สำนกั จัดกำรที่ดินของรฐั 77

กฎกระทรวง
(พ.ศ. 2519)
ออกตามความในพระราชบัญญัตทิ ีร่ าชพัสดุ
พ.ศ. 2518
-----------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ.
2518 รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ต่อไปน้ี

หมวด 1
การปกครองดูแลและบารุงรักษาท่รี าชพัสดุ
ข้อ 1 ให้กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง มีหน้าที่รับข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุ โดยทาเป็น
ทะเบยี นทร่ี าชพสั ดุกลางไว้
ความในข้อ 2 เดิม ถูกยกเลิกโดยข้อ 1 แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2525) และ
ใช้ความใหมแ่ ทนดงั ต่อไปนี้
ข้อ 2 ในแต่ละจังหวัด ให้มีทะเบียนท่ีราชพัสดุจังหวัดมีรายการตรงกับทะเบียนท่ีราชพัสดุ
กลาง
สาหรับในกรุงเทพมหานคร ให้กรมธนารักษ์เป็นผู้จัดทาและรักษาทะเบียนที่ราชพัสดุ
จังหวัด
ในจงั หวดั อ่นื ใหร้ าชพัสดจุ งั หวดั เป็นผู้จัดทาและรักษาทะเบียนท่รี าชพสั ดจุ ังหวัด
ข้อ 3 ทะเบยี นทร่ี าชพัสดุกลางและทะเบียนที่ราชพสั ดุจงั หวัด ให้เปน็ ไปตามแบบท่ีกระทรวง
การคลังกาหนด และในทะเบยี นดังกล่าวให้มีแผนท่แี สดงท่ีตั้งและอาณาเขตของทร่ี าชพัสดุน้ันด้วย
ความในข้อ 4 เดิม ถูกยกเลิกโดยข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) และ
ใชค้ วามใหม่แทนดังตอ่ ไปน้ี
ข้อ 4 ทร่ี าชพัสดใุ นทอ้ งที่จังหวัดใดที่ยังไม่ได้สารวจรายการเพื่อข้ึนทะเบียนที่ราชพัสดุกลาง
ให้กรมธนารักษท์ าความตกลงกบั กระทรวง ทบวง กรม ซ่ึงเป็นผ้ปู กครองดูแลหรือใชป้ ระโยชนใ์ นท่ีราชพัสดุ
น้นั เพ่ือสารวจรายการขึน้ ทะเบยี นท่ีราชพสั ดกุ ลาง
เม่ือกรมธนารักษ์ได้ดาเนินการขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุกลางตามวรรคหน่ึงแล้วให้แจ้งราชพัสดุ
จังหวดั เพ่อื ลงทะเบียนท่รี าชพัสดุจงั หวัดให้ถกู ตอ้ งตรงกัน
ข้อ 5 ท่ีดินซึ่งเป็นท่ีราชพัสดุแปลงใดยังไม่มีหนังสือสาคัญสาหรับที่ดิน ให้กรมธนารักษ์
ดาเนินการเพอื่ ให้ได้มาซึง่ หนงั สอื สาคญั สาหรบั ท่ดี ินแปลงนน้ั
ความเดมิ ในข้อ 6 ขอ้ 7 ข้อ 8 และข้อ 9 เดิมถูกยกเลิกโดยข้อ 3 แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี
4 (พ.ศ. 2525) และให้ใชค้ วามใหม่แทนดังตอ่ ไปน้ี
ขอ้ 6 ในกรณีท่ีมีการรังวัดตามประมวลกฎหมายที่ดิน ในกรุงเทพมหานคร ให้กรมธนารักษ์
ร่วมกบั กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นผู้ปกครองดูแลหรือใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ
น้ันเป็นผู้นาการสารวจรังวัด ให้ถ้อยคาต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ระวังช้ีแนวเขตที่ดินและลงนามรับรองแนวเขต
00

82 สำ�นกั จดั การท่ีดินของรฐั สำนกั จัดกำรทด่ี นิ ของรัฐ 78

ท่ีดิน ส่วนในจังหวัดอื่น ให้ราชพัสดุจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติการดังกล่าวร่วมกับหัวหน้าส่วนราชการ หรือ
หวั หน้าหน่วยงานกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นผู้ปกครองดูแลหรือใช้ประโยชน์
ในทดี่ นิ น้ัน

การขอรังวัด การขอให้พิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือการขอให้ตรวจสอบเนื้อท่ี
ตามประมวลกฎหมายท่ีดิน สาหรับท่ีดินซ่ึงเป็นที่ราชพัสดุในกรุงเทพมหานคร ให้กรมธนารักษ์เป็นผู้ยื่น
คาขอ ส่วนในจังหวดั อนื่ ให้เป็นหนา้ ทีข่ องราชพสั ดุจงั หวดั

ขอ้ 7 ในกรุงเทพมหานครใหก้ รมธนารกั ษ์เป็นผู้จดั ทาบัญชีหนังสือสาคัญสาหรับที่ดิน ซึ่ง
เปน็ ที่ราชพัสดุ และเก็บรักษาหนังสือสาคัญน้ันไว้ในท่ีปลอดภัย ส่วนในจังหวัดอ่ืน ให้ราชพัสดุจังหวัดเป็น
ผู้จดั ทาบญั ชีหนงั สือสาคัญสาหรับท่ดี ินซง่ึ เป็นที่ราชพัสดุ และเก็บรักษาหนังสือสาคัญน้ันโดยฝากคลังจังหวัด
ไวใ้ นลักษณะหีบห่อ

ข้อ 8 ใหม้ กี ารตรวจสอบหนังสือสาคัญสาหรับท่ีดินซ่ึงเป็นท่ีราชพัสดุอย่างน้อยปีละหน่ึง
ครั้งตามระเบียบท่กี ระทรวงการคลงั กาหนด

ข้อ 9 ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายตามข้อ 5 และข้อ 6 และค่าฤชาธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย
ในการดาเนินคดเี ก่ยี วกับทร่ี าชพสั ดุ ให้จา่ ยจากงบประมาณของกรมธนารักษ์

หมวด 2
การใช้ทร่ี าชพสั ดุ
ความในข้อ 10 เดิม ถูกยกเลิกโดยข้อ 1 แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2521)
และใชค้ วามใหมแ่ ทนดังต่อไปนี้
ข้อ 10 กระทรวง ทบวง กรม และองค์การปกครองท้องถิ่นใดประสงค์จะใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อ
ประโยชน์ในทางราชการ ถ้าที่ราชพัสดุนั้นต้ังอยู่ในกรุงเทพมหานครให้ทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ แต่ถ้าท่ี
ราชพัสดุตั้งอยู่ในจังหวัดอื่นให้แจ้งการขอใช้ที่ราชพัสดุนั้นต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เมื่อได้รับความยินยอม
จากผวู้ ่าราชการจังหวัด ให้ทาความตกลงกบั กรมธนารักษ์
ความในข้อ 11 เดิม ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2521) ถูก
ยกเลกิ โดยข้อ 4 แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ. 2525) และใชค้ วามใหม่แทนดงั ต่อไปนี้
ข้อ 11 ให้กรมธนารักษ์พิจารณาอนญุ าตให้ กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครอง
ทอ้ งถิ่น ซ่งึ ใชท้ ่ีราชพัสดตุ ามข้อ 10 เพอื่ ประโยชน์ในทางราชการได้ตามท่ีจาเปน็ และสมควร
เม่ือได้รับคาขอแล้ว ให้กรมธนารักษ์พิจารณาและแจ้งให้กระทรวง ทบวง กรม หรือ
องคก์ ารปกครองท้องถ่ิน ซ่งึ ขอใชท้ ่รี าชพัสดุทราบภายในสามสิบวนั นบั แต่วันท่ีได้รับคาขอ เว้นแต่มีเหตุอัน
สมควรให้ขยายกาหนดเวลาดังกลา่ วออกไปได้ แตต่ อ้ งไม่เกนิ เก้าสบิ วันนบั แต่วันทไี่ ดร้ บั คาขอ
ในกรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการพิจารณาอนุญาต ซ่ึงไม่อาจตกลงกันได้ระหว่างผู้ขอใช้กับ
กรมธนารักษใ์ ห้คณะกรรมการทร่ี าชพัสดุวินจิ ฉัยชข้ี าด
ความในข้อ 12 เดิม ถูกยกเลิกโดยข้อ 5 แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2525)
และใช้ความใหม่แทนดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ 12 ในกรณีที่ กระทรวง ทบวง กรม ใดปลูกสร้างอาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นท่ีราชพัสดุ
ในท่ีดินซึ่งเป็นที่ราชพัสดุหรือในท่ีดินอื่นให้แจ้งให้กรมธนารักษ์ทราบตามแบบท่ีกรมธนารักษ์กาหนดภายใน
สามสบิ วันนบั แตว่ ันทปี่ ลกู สรา้ งเสร็จ เพือ่ ดาเนินการขึ้นทะเบยี นที่ราชพสั ดุ

ส�ำ นักจสัดำนกกัารจทดั ก่ีดำินรขทอดี่ งนิ รขัฐองรัฐ8739

ใหน้ าความในวรรคหนึง่ มาใชบ้ ังคับกบั การดัดแปลงหรือต่อเติมอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างท่ี
มีมลู ค่าไม่ตา่ กว่าหนง่ึ แสนบาทด้วย

ความในข้อ 13 เดิม ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2521) ถูก
ยกเลกิ โดยข้อ 6 แหง่ กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) และใชค้ วามใหมแ่ ทนดังตอ่ ไปนี้

ข้อ 13 ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ิน ซึ่งได้รับอนุญาตให้ใช้หรือ
ครอบครองท่รี าชพสั ดุ สง่ คืนท่ีราชพสั ดุในกรณีดงั ต่อไปน้ี

(1) เลกิ ใชป้ ระโยชนท์ ี่ราชพสั ดุ
(2) มไิ ดใ้ ชป้ ระโยชน์ทีร่ าชพสั ดุตามที่ไดร้ บั อนุญาต
(3) ใช้ประโยชน์ทร่ี าชพสั ดไุ มค่ รบถว้ นตามท่ีไดร้ ับอนญุ าต
(4) ใช้ประโยชนท์ ่รี าชพัสดุผดิ ไปจากท่ีได้รับอนุญาตหรือ
(5) เข้าครอบครองใช้ประโยชนท์ ีร่ าชพัสดโุ ดยมิไดร้ ับอนญุ าตกอ่ น
ในกรณตี าม (1) ให้ส่งคืนกรมธนารักษ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เลิกใช้ประโยชน์ในที่
ราชพสั ดุน้นั
ในกรณีตาม (2) และ (3) ให้ส่งคืนกรมธนารักษ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันครบกาหนด
สามปีท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองท่ีราชพัสดุ แต่ถ้ายังมีความจาเป็นจะต้องใช้ที่ราชพัสดุเพื่อ
ประโยชน์ในทางราชการต่อไปให้ทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ โดยชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นให้
ทราบก่อนครบกาหนดเวลาที่ต้องส่งคืนไม่น้อยกว่าหกเดือนตามแบบท่ีกรมธนารักษ์กาหนด กาหนดเวลา
สามปีตามวรรคนี้ ถ้าเป็นกรณีท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองที่ราชพัสดุไว้ก่อนวันท่ี 1 ตุลาคม
2523 ใหเ้ ริม่ นับตั้งแตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม 2523 เป็นตน้ ไป
ในกรณีตาม (4) และ (5) ให้สง่ คืนกรมธนารักษ์ภายในสามสบิ วนั นบั แต่วันที่ได้รับแจ้งให้
ส่งคืนท่ีราชพัสดุน้ันจากกรมธนารักษ์ แต่ถ้ากระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ินนั้น ยังมี
ความจาเป็นจะต้องใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการต่อไป ให้ทาความตกลงกับกรมธนารักษ์
ภายในสามสิบวันนบั แต่วนั ท่ีได้รบั แจ้งดังกล่าว
ความเพ่ิมเป็นข้อ 13 ทวิ และข้อ 13 ตรี โดยข้อ 7 แห่งกฎกระทรวง ฉบับท่ี 4 (พ.ศ.
2525) ดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ 13 ทวิ ในกรณีท่ี กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถิ่นซ่ึงได้รับ
อนุญาตจากกรมธนารักษ์ให้ใช้ที่ราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการ ประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการใช้
ประโยชนเ์ ป็นอยา่ งอื่นผดิ ไปจากทไ่ี ด้รบั อนญุ าต ใหท้ าความตกลงกับกรมธนารักษก์ อ่ น
ข้อ 13 ตรี ในกรณีท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับการคืนที่ราชพัสดุหรือการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุ
และกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ิน ไม่สามารถทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ได้ ให้
กรมธนารกั ษ์เสนอขอ้ โต้แย้งต่อคณะกรรมการท่รี าชพัสดเุ พื่อวินจิ ฉยั ชีข้ าด
ความในข้อ 14 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2521) ถูกยกเลิก
และใช้ความใหม่แทนแลว้ โดยข้อ 6 แห่งกฎกระทรวง ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2525) ดงั ต่อไปน้ี
ข้อ 14 ให้ กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถิ่น ซ่ึงได้รับอนุญาตให้ใช้หรือ
ครอบครองท่ีราชพัสดุ ดูแลและบารุงรักษาที่ราชพัสดุเสมอวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง และ
จะต้องอนุญาตให้ผู้แทนของกรมธนารักษ์เข้าตรวจทรัพย์สินท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบคร องเป็นครั้ง
คราวในเวลาและระยะอนั ควร

84 สำ�นกั จัดการท่ีดนิ ของรัฐ สำนักจัดกำรทดี่ นิ ของรัฐ 80

ในกรณีท่ีปรากฏว่ากระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถิ่นใดมิได้ดูแลและ
บารุงรักษาท่รี าชพสั ดุ จนเปน็ เหตุให้เป็นไดว้ ่าเกดิ ความเสยี หายต่อราชพัสดุน้ัน ให้กรมธนารักษ์แจ้งให้ผู้ใช้
หรอื ครอบครองทร่ี าชพสั ดุจัดการอย่างใดอย่างหนึ่งเพอื่ บารุงรักษาทร่ี าชพสั ดุ ถ้าผู้ใช้หรือครอบครองท่ีราช
พสั ดุดงั กล่าวไม่จัดการโดยไม่มีเหตผุ ลอนั สมควร กรมธนารักษจ์ ะเรยี กทรี่ าชพสั ดุนั้นคนื ก็ได้

ความในข้อ 15 เดิม ถูกยกเลิกและใช้ความใหม่แทนแล้วโดยข้อ 9 แห่งกฎกระทรวง
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525) ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 15 ในกรณที ก่ี ระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถิ่นซ่ึงได้รับอนุญาตให้
ใช้หรือครอบครองที่ราชพัสดุ ประสงค์จะรื้อถอนอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างซ่ึงเป็นท่ีราชพัสดุ ให้ขออนุญาต
ต่อกรมธนารักษ์ก่อน เม่ือได้ร้ือถอนแล้วให้แจ้งให้กรมธนารักษ์ทราบด้วย เว้นแต่การร้ือถอนอาคารหรือ
สิ่งปลูกสร้างดังต่อไปน้ีให้กระทาได้โดยไม่ต้องขออนุญาตจากกรมธนารักษ์ และเม่ือได้ร้ือถอนแล้วให้แจ้ง
ใหก้ รมธนารักษท์ ราบ คือ

(1) อาคารหรอื ส่งิ ปลูกสรา้ งท่ีกอ่ สร้างมาแล้ว ไมน่ ้อยกว่ายีส่ ิบปี
(2) อาคารหรือสง่ิ ปลูกสรา้ งท่ชี ารดุ จนใชร้ าชการไม่ได้
(3) อาคารหรือสิง่ ปลกู สร้างที่เกีย่ วกับราชการลบั ทางทหาร
(4) อาคารหรือส่ิงปลูกสร้างเดิมเพ่ือปลูกสร้างอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างใหม่แทนตามท่ีได้รับ
งบประมาณ
การจาหน่ายอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างท่ีจะร้ือถอนหรือวัสดุท่ีรื้อถอนให้กระทาโดยวิธี
ประมลู ขายในกรณที ่ปี ระมูลขายไม่ได้ ใหข้ ายหรอื จาหนา่ ยโดยวธิ อี ืน่ ตามท่กี รมธนารักษจ์ ะเห็นสมควร โดย
อนุโลมตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ แต่ถ้าจาเป็นต้องนาวัสดุท่ีรื้อถอนไปใช้เพื่อ
ประโยชนแ์ กท่ างราชการต้องได้รบั อนุญาตจากกรมธนารักษก์ ่อน
เงินที่ได้จากการขายตามวรรคสอง ให้นาส่งคลังเป็นรายได้ของกรมธนารักษ์ในการ
พจิ ารณาอนญุ าตตามวรรคหนงึ่ ใหน้ าความในขอ้ 11 วรรคสอง และวรรคสามมาใชบ้ งั คับโดยอนุโลม

หมวด 3
การจดั หาประโยชน์ในที่ราชพสั ดุ
ความในข้อ 16 เดิม ถูกยกเลิกโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 7 (พ.ศ. 2531) และใช้ความใหม่
แทนดงั ตอ่ ไปน้ี
ข้อ 16 ที่ราชพัสดุที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ในทางราชการ หรือท่ีไม่ได้สงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์
ในทางราชการ กรมธนารักษ์จะนามาจัดหาประโยชน์โดยการจัดให้เช่า หรือโดยวิธีอ่ืนนอกจากการจัดให้
เชา่ ก็ได้
การจัดหาประโยชน์โดยการจัดให้เช่าตามวรรคหน่ึง ต้องเป็นการให้เช่าในลักษณะ
ดังตอ่ ไปน้ี
(1) การใหเ้ ช่าที่ดินทผ่ี ้เู ชา่ ใชอ้ ยอู่ าศัย
(2) การให้เชา่ ทดี่ ินทผี่ ูเ้ ช่าใชป้ ระกอบการเกษตร
(3) การให้เช่าทีด่ นิ เพื่อปลกู สรา้ งอาคารโดยยกกรรมสทิ ธ์อิ าคารท่ปี ลูกสรา้ ง ใหแ้ กก่ ระทรวง
การคลัง
(4) การใหเ้ ช่าทด่ี ินเพื่อประโยชนอ์ ยา่ งอืน่
(5) การให้เชา่ อาคารซ่งึ เป็นทร่ี าชพัสดุ

ส�ำ นักจสดั ำกนากั รจทดั ด่ี กนิำรขทอดี่ งินรัฐของรัฐ8851

การจดั หาผลประโยชน์โดยวิธีอื่นนอกจากการจัดให้เช่าตามวรรคหนึ่ง ต้องได้รับอนุญาต
จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังก่อน และให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กระทรวงการคลัง
กาหนด

ความในข้อ 16 ทวิ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2521) ถูกยกเลิก
และใชค้ วามใหมแ่ ทนแล้ว โดยขอ้ 10 แหง่ กฎกระทรวง ฉบับท่ี 4 (พ.ศ. 2525) ดังต่อไปนี้

ขอ้ 16 ทวิ ที่ราชพัสดุที่กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การปกครองท้องถิ่นสงวนไว้ แต่
ยงั ไม่ไดใ้ ช้ประโยชนใ์ นทางราชการ จะนามาจัดหาประโยชน์โดยการจัดให้เช่าเป็นการช่ัวคราวก็ได้ แต่ต้อง
เปน็ การใหเ้ ชา่ ตามขอ้ 16 (1) (2) (4) และ (5)

การใช้เช่าตามวรรคหน่ึง ถา้ มิใช่เป็นการกระทาโดยกรมธนารักษ์ร่วมกับกระทรวง ทบวง
กรม หรือองค์การปกครองท้องถ่ินดังกล่าว จะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากกรมธนารักษ์หรือ
สว่ นราชการน้ัน แล้วแต่กรณี

ความเดมิ ในขอ้ 17 เดมิ ถูกยกเลิกและใชค้ วามใหม่แทนแลว้ โดยข้อ 4 แห่งกฎกระทรวง
ฉบับท่ี 3 (พ.ศ. 2521) ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 17 การจัดให้เช่าให้กระทาโดยวิธีประมูลตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด
เว้นแตใ่ นกรณดี งั ต่อไปน้จี ะจัดให้เช่าโดยไมต่ ้องใช้วธิ ปี ระมูลก็ได้

(1) การใหเ้ ช่าทด่ี ินที่ผเู้ ช่าใช้อยู่อาศัย
(2) การให้เช่าทดี่ นิ ที่ผเู้ ชา่ ใช้ประกอบการเกษตร
(3) การใหร้ ฐั วิสาหกจิ ที่เปน็ นติ ิบคุ คลเชา่ เพ่ือใช้เป็นท่ีดาเนินงานของรัฐวสิ าหกจิ
(4) การใหอ้ งคก์ ารปกครองทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ดาเนนิ การหาประโยชนต์ ามอานาจหน้าท่ี
(5) การให้เช่าที่ราชพัสดุเพอ่ื ใชใ้ นกิจการอันเปน็ สาธารณกุศลทีไ่ ม่ได้มงุ่ หากาไร
(6) การให้เช่าท่ีราชพัสดุเพ่ือดาเนินการในทางสงเคราะห์ข้าราชการหรือเพื่อสวัสดิการของ
ราชการ
(7) การให้เช่าอย่างอ่ืนท่ีคณะกรรมการที่ราชพัสดุเห็นว่าโดยสภาพไม่เหมาะสมที่จะทาการ
ประมลู
ในกรณกี ารเชา่ ตาม (4) องคก์ ารปกครองท้องถิ่นตอ้ งปฏบิ ัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ี
กระทรวงการคลงั กาหนด
ข้อ 18 ในกรณีท่ีสัญญาเช่าระงับเพราะเหตุผู้เช่าตาย หากทายาทของผู้เช่าประสงค์จะขอ
เชา่ แทนต่อไปตามสัญญาเช่าเดิมจะอนุญาตใหท้ ายาทนั้นเชา่ ตอ่ ไปจนครบกาหนดอายุสญั ญาเช่าเดิมก็ได้
ข้อ 19 ในกรุงเทพมหานคร การดาเนนิ การจดั ให้เช่าเปน็ อานาจหน้าที่ของกรมธนารักษ์
ในจังหวัดอ่ืน การดาเนินการจัดให้เช่าให้เป็นอานาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัด แต่
การให้เช่าท่ีดินที่ผู้เช่าใช้อยู่อาศัยหรือการให้เช่าที่ดินท่ีผู้เช่าใช้ประกอบการเกษตรที่มีกาหนดเวลาเกิน
สามปี การให้เช่าอาคารซึ่งเป็นท่ีราชพัสดุ การให้เช่าท่ีดินเพื่อปลูกสร้างอาคารโดยยกกรรมสิทธิ์อาคาร
ที่ปลูกสร้างใหแ้ กก่ ระทรวงการคลงั หรือการให้เช่าท่ีดินเพ่ือประโยชน์อย่างอ่ืนต้องได้รับความเห็นชอบจาก
กรมธนารักษ์ก่อน
ข้อ 20 ในการปลูกสร้างอาคารตามข้อ 16 (3) ถ้าเป็นอาคารพาณิชย์ ห้องแถวหรือ
ตกึ แถวตอ้ งใชแ้ บบแปลนการกอ่ สร้างทก่ี รมธนารกั ษ์กาหนด ถ้าเปน็ อาคารอย่างอ่ืนแบบแปลนการก่อสร้าง
ตอ้ งไดร้ บั อนมุ ัตจิ ากกรมธนารกั ษ์ก่อน
ขอ้ 21 เงอื่ นไขสัญญาเชา่ ระยะเวลาเช่า การบอกเลกิ สญั ญาเชา่ ตลอดจนแบบสัญญาเช่า ให้
เป็นไปตามหลักเกณฑแ์ ละเงอ่ื นไขท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด

86 สำ�นกั จัดการทดี่ นิ ของรฐั สำนักจัดกำรทีด่ ินของรัฐ 82

ข้อ 22 การกาหนดอตั ราค่าเชา่ ค่าปรบั และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ในการจัดให้เช่าให้เป็นไป
ตามระเบียบทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด

ความเพิ่มเป็นข้อ 22 ทวิ และข้อ 22 ตรี ของหมวด 3 โดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 6
(พ.ศ. 2530) ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 22 ทวิ ท่ีราชพัสดุท่ีส่วนราชการนอกจากสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
ได้รับบริจาค โดยผู้บริจาคมีเงื่อนไขให้ส่วนราชการนั้นดาเนินการจัดหาประโยชน์และนารายได้หรือ
ผลประโยชน์จากท่ีราชพสั ดุดงั กลา่ วไปใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น ให้ส่วนราชการท่ีได้รับบริจาค
ดาเนินการจัดหาประโยชนในที่ราชพัสดุ และนารายได้หรือผลประโยชน์จากที่ราชพัสดุน้ัน ไปใช้จ่ายใน
กิจการของสว่ นราชการนน้ั ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ของผบู้ ริจาค

การจัดหาประโยชนใ์ นทรี่ าชพสั ดตุ ามวรรคหนงึ่ ให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลัง
กาหนด

ข้อ 22 ตรี ท่รี าชพัสดทุ ี่สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยได้รับบริจาค หรือ
ได้มาโดยประการอ่ืน ให้สถาบันอุดมศึกษาดังกล่าวดาเนินการหาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ และนารายได้
หรอื ผลประโยชน์จากที่ราชพัสดุน้ัน ไปใช้จ่ายในกิจการของสถาบันอุดมศึกษานั้นได้ตามวัตถุประสงค์ของ
สถาบันอดุ มศึกษา หรือตามวัตถปุ ระสงค์ของผบู้ ริจาค

การจัดหาประโยชนใ์ นท่รี าชพสั ดตุ ามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีทบวงมหาวิทยาลัย
กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี

บทเฉพาะกาล
ข้อ 23 ในระหว่างที่ยังจัดทาทะเบียนที่ราชพัสดุกลางหรือทะเบียนท่ีราชพัสดุจังหวัดไม่
แล้วเสรจ็ ใหค้ งใชท้ ะเบยี นท่รี าชพสั ดุเดิมไปพลางกอ่ น
ข้อ 24 ที่ราชพัสดุท่ีกระทรวง ทบวง กรม องค์การปกครองท้องถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ
ปกครองดแู ลหรอื ใช้ประโยชนอ์ ยู่แล้วในวันท่ีกฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ ให้คงใช้ต่อไปโดยไม่ต้องขอทาความตกลง
กับกรมธนารักษ์ใหม่

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2519
เสวตร เปยี่ มพงษส์ านต์
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการคลัง

(ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 93 ตอนที่ 82 ลงวันท่ี 8 มิถนุ ายน 2519)
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คือ เนื่องจากคณะกรรมการท่ีราชพัสดุ
เห็นสมควรที่จะกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์
เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุให้เป็นการแน่นอนและเหมาะสม และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.
2518 ได้บัญญัติให้การกาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหา
ประโยชน์เก่ยี วกบั ทีร่ าชพสั ดกุ ระทาโดยตราเป็นกฎกระทรวง จึงจาเปน็ ต้องออกกฎกระทรวงฉบบั นี้

สำ�นักจดั การทีด่ ินของรัฐ 87
สำนกั จดั กำรท่ีดินของรัฐ 83

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ 45 (พ.ศ. 2537)
ออกตามความในพระราชบัญญตั ิใหใ้ ช้ประมวลกฎหมายที่ดิน

พ.ศ. 2497
---------------------
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน
พ.ศ. 2497 และมาตรา 8 ตรี วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยประกาศของ
คณะปฏิวัติ ฉบับที่ 334 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออก
กฎกระทรวงไว้ดงั ต่อไปน้ี
ให้ยกเลิกความในข้อ 2 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 26 (พ.ศ. 2516) ออกตามความใน
พระราชบญั ญัตใิ หใ้ ช้ประมวลกฎหมายทด่ี ิน พ.ศ. 2497 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน
“ข้อ 2 เมื่อได้รับคาขอตามข้อ 1 ให้อธิบดีจัดให้มีการสอบสวนและรังวัดทาแผนที่ตาม
วิธกี ารรงั วดั เพือ่ ออกหนังสือสาคัญแสดงสทิ ธใิ นทีด่ นิ และประกาศการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้
ประชาชนทราบมีกาหนดสามสิบวัน โดยปิดไว้ในที่เปิดเผย ณ สานักงานที่ดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดิน
สาขาหน่ึงฉบับ ณ ท่ีว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องที่หรือที่ทาการเขตหนึ่งฉบับ ณ ท่ีทาการกานันหนึ่งฉบับ
และในบริเวณที่ดินนั้นหนึ่งฉบับ สาหรับในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับด้วย
ในประกาศดังกล่าวให้มีแผนท่ีแสดงแนวเขตที่ดินท่ีจะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงและกาหนด
ระยะเวลาที่ผู้มีส่วนได้เสียจะคัดค้านไว้ด้วย ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามสิบวันนับแต่วันประ กาศ ถ้าไม่มี
ผู้คัดคา้ นให้ดาเนินการออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวงต่อไป
ในกรณีท่มี ผี ู้คัดค้าน ใหอ้ ธิบดีรอการออกหนงั สือสาคัญสาหรบั ท่หี ลวงไว้แลว้ ดาเนินการดงั นี้
(1) ในกรณีท่ีผู้คัดค้านไม่มีหลักฐานแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน และ
ไม่ไปใช้สิทธิทางศาลภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีคัดค้าน ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงได้ หาก
ผู้คัดคา้ นไปใช้สิทธิทางศาลให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเฉพาะส่วนที่คัดค้าน จนกว่าจะได้มี
คาพิพากษาถงึ ทส่ี ดุ ของศาลแสดงวา่ ผ้คู ัดค้านไม่มสี ิทธิในท่ดี ินน้ัน
(2) ในกรณีท่ีผู้คัดค้านมีหลักฐานแสดงสิทธิในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน ให้รอ
การออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงเฉพาะส่วนท่ีคัดค้านไว้ก่อน และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดตรวจสอบ
สิทธิในท่ีดินของผู้คัดค้านว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ ถ้าปรากฏว่าได้มาโดยไม่ชอบ ให้ออก
หนงั สอื สาคญั สาหรับทหี่ ลวงและแจ้งให้ผู้คัดค้านทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ทราบผลการตรวจสอบ
และถ้าปรากฏว่าได้มาโดยชอบ ให้แจ้งให้ผคู้ ัดค้านทราบโดยเรว็ แลว้ ระงบั การออกหนังสอื สาคญั สาหรับ
ท่หี ลวงเฉพาะส่วนนั้น”
ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537

พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
(พลเอก ชวลิต ยงใจยทุ ธ)
รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย

88 สำ�นกั จดั การท่ดี ินของรฐั สำนกั จัดกำรท่ีดินของรฐั 84

ระเบยี บกรมทีด่ นิ
ว่าด้วยการออกหนงั สือสาคญั สาหรับทห่ี ลวง

พ.ศ. ๒5๑๗
---------------------
โดยที่ได้มปี ระกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๓๔ ลงวันท่ี ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒515 ให้แก้ไข
เพิ่มเติมมาตรา ๘ ตรี แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ออกกฎกระทรวง
ฉบับท่ี ๒๖ (พ.ศ.๒5๑๖) ลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒5๑๖ กาหนดแบบ หลักเกณฑ์และวิธีการออกหนังสือสาคัญ
สาหรบั ที่หลวง
ฉะน้ัน เพ่ือให้การปฏิบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดาเนินการไปตามกฎหมายดังกล่าว
กรมทด่ี นิ จึงวางระเบียบไวด้ งั ต่อไปน้ี
ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบยี บว่าด้วยการออกหนังสอื สาคญั สาหรบั ทห่ี ลวง พ.ศ. 2517”
ข้อ ๒ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนตี้ ั้งแตบ่ ัดนี้เป็นตน้ ไป

ทด่ี ินทจ่ี ะออกหนงั สือสำคญั สำหรับทีห่ ลวง

ข้อ ๓ ที่ดนิ ทจี่ ะออกหนังสือสาคญั สาหรบั ท่ีหลวง คือ
๓.๑ ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เป็นต้นว่า

ทุ่งเลี้ยงสตั ว์สาธารณะ หนองสาธารณะ บึงสาธารณะ เว้นแต่ท่ีสาธารณะโดยสภาพมีแนวเขตธรรมชาติอยู่แล้ว
เชน่ ท่ชี ายตล่ิง ทางบก ทางนา้ ลากระโดง ลารางสาธารณะ ทางระบายนา้ แมน่ ้า ลาคลอง ฯลฯ

3.2 ที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินสาหรับใช้เพ่ือประโยชน์ของแผ่นดิน
โดยเฉพาะ เช่น ที่ดินท่ีได้สงวนหวงห้ามหรือขึ้นทะเบียนเป็นของทบวงการเมือง ที่ดินที่ถูกเวนคืนมาเป็น
ของรฐั ทีด่ ินที่รฐั ซื้อหรอื มผี ู้อทุ ิศใหร้ ฐั เป็นต้น

ผู้ขอและกำรยนื่ คำขอ

ข้อ ๔ เมื่อทบวงการเมืองผู้มีอานาจหน้าท่ีดูแลรักษาที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของ
แผน่ ดนิ สาหรบั พลเมอื งใช้ประโยชน์ร่วมกัน หรอื ใชเ้ พื่อประโยชน์ของแผ่นดนิ โดยเฉพาะมีความประสงค์จะ
ให้มีหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงสาหรับที่ดินแปลงใด ให้ทบวงการเมืองน้ันแสดงความประสงค์เป็น
หนังสือราชการถึงอธิบดีกรมท่ีดิน แจ้งความประสงค์และสภาพของที่ดินแปลงท่ีจะให้มีหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวง พร้อมด้วยหลักฐานของที่ดินแปลงนั้น เช่น สาเนาทะเบียนที่ดินสาธารณะ บัญชีสารวจ
หรือประกาศ หรือหลักฐานการสงวนหวงห้าม ฯลฯ โดยย่ืนผ่านทางสานักงานที่ดินจังหวัดหรือสานักงาน
ที่ดนิ สาขา ซ่ึงทด่ี นิ แปลงนน้ั อยู่ในเขต กรณที ่ที ด่ี ินต้งั อยู่คาบเก่ยี วหลายจังหวัด ให้แสดงความประสงค์ผ่าน
ทางสานักงานท่ดี ินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินสาขาที่มีที่ดินส่วนใหญ่ต้ังอยู่ กรณีเช่นน้ีให้สานักงานท่ีได้รับ
แจ้งความประสงค์เป็นผู้พิจารณาดาเนินการต่อไป และเม่ือออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแล้ว ให้
จาลองรูปถา่ ยส่งใหจ้ งั หวดั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งจงั หวัดละ ๑ ฉบับ

ข้อ 5 ให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินสาขา แล้วแต่กรณีตรวจ
พจิ ารณาว่า ที่ดนิ แปลงทขี่ อนัน้ อย่ใู นลักษณะทีจ่ ะออกหนังสอื สาคัญสาหรับที่หลวงให้ได้หรือไม่ ถ้าจะออก
ใหไ้ ม่ได้ ก็ให้รายงานใหก้ รมทีด่ ินทราบเพื่อแจง้ ให้ทบวงการเมืองนั้นทราบ ถ้าจะออกให้ได้ก็ใหส้ ัง่ เจ้าหน้าที่

ส�ำ นกั สจัดำนกักาจรดัทกด่ี ำินรทขอี่ดงินรขฐั องรฐั 8895

ลงบัญชีรับเร่ืองในบัญชีรายวันรับทาการ (บ.ท.ด. 2) และลงบัญชีเร่ืองการรังวัด (บ.ท.ด. 11) แล้ว
พจิ ารณาส่ังให้ดาเนินการต่อไป

กำรรังวัด

ขอ้ 6 การรงั วัดออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวงใหด้ าเนินการ ดงั นี้
6.1 ที่ดินบริเวณที่มีระวางแผนท่ีแล้วให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการ

รังวัดและการลงรูปแผนท่ีในระวางแผนที่ กรณีออกโฉนดท่ีดินเฉพาะราย พ.ศ. ๒๕27 ลงวันที่ ๑๒ กันยายน
พ.ศ. ๒๕๒๗ โดยอนุโลม

6.2 ทดี่ นิ ซ่ึงอยู่ห่างจากเส้นโครงงานหมดุ หลักฐานแผนท่ีของกรมที่ดินหรือกรมแผนท่ี
ทหารไม่เกนิ ๒ กิโลเมตร ให้ทาการวางโครงหมุดหลักฐานแผนที่ออกจากหมุดหลักฐานแผนที่ดังกล่าว และให้
ปฏิบัติตามระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการสร้างและซ่อมแซมหมุดหลักฐานโครงงานแผนที่ พ.ศ. ๒๕๒๖
ลงวนั ท่ี ๑ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖

6.3 ท่ีดินซึ่งอยู่ห่างจากหมุดหลักฐานแผนท่ีเกินกว่า ๒ กิโลเมตร ให้ทาการวาง
โครงหมุดหลักฐานแผนที่บรรจบตัวเอง (รูปลอย) เพ่ือทาการรังวัดโยงยึดหลักเขต โดยใช้กล้องธิโอโดไลท์
และใช้หมุดหลักฐานแผนท่ีตามแบบของกรมที่ดินเท่านั้น ท่ีดินแปลงใดอยู่ใกล้กับส่ิงถาวรท่ีสังเกตได้ง่าย
เช่น เจดีย์ สะพาน หลักกิโลเมตร เสาไฟฟ้า เสาโทรเลข ให้ยึดโยงเข้ากับหลักเขตท่ีดิน หรือหลักเขตที่
สาธารณประโยชน์วา่ ตง้ั อยู่ทใี่ ด

6.4 การเกบ็ หลกั ฐานแผนที่ให้ปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
6.4.1 กรณีมีระวางแผนที่ให้ปฏิบัติตามระเบียบกรมท่ีดินว่าด้วยการควบคุม

ต้นร่างแผนที่ รายการรังวัด รายการคานวณ และระวางแผนที่ในสานักงานที่ดิน พ.ศ. ๒๕๒๓ และ ฉบับที่ ๒
(พ.ศ. ๒๕๒๕)

6.4.2 กรณไี มม่ รี ะวางแผนท่ใี ห้เก็บรวมไวเ้ ป็นแปลงๆ
6.5 ในบรเิ วณทม่ี รี ะวางแผนทรี่ ูปถ่ายทางอากาศสาหรบั ออกโฉนดท่ีดินอยู่แล้วให้
ใช้ระวางแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้ โดยดาเนินการรังวัดเช่นเดียวกับ
การออกโฉนดทด่ี ิน
6.6 ถา้ มีระวางรูปถา่ ยทางอากาศเพื่อออก น.ส.๓ ก ใช้อยู่ท่ีอาเภอน้ันๆ ให้นารูป
แผนท่ีการรังวัดออกหนังสอื สาคญั สาหรับท่หี ลวงลงระวางรูปถ่ายทางอากาศดว้ ย
6.7 การรงั วัดออกหนงั สือสาคัญสาหรับท่ีหลวงในบริเวณประกาศการเดินสารวจ
และสอบเขตท้ังตาบล ให้เจ้าหน้าที่เดินสารวจและสอบเขตท้ังตาบลเป็นผู้ดาเนินการตามระเบียบนี้โดย
อนโุ ลม และใหท้ าการรังวดั วธิ เี ดยี วกันกับการรังวัดเดินสารวจและสอบเขตท้งั ตาบล
6.8 บริเวณที่ดาเนินการออกโฉนดที่ดิน โดยนาหลักฐานเกี่ยวกับระวางรูปถ่าย
ทางอากาศที่ใช้กับหนังสือรับรองการทาประโยชน์มาปรับแก้ตามหลักวิชาการแผนท่ีรูปถ่ายทางอากาศ
โดยไมต่ ้องทาการสารวจรังวัด ให้นารูปแปลงหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงท่ีได้ลงระวางรูปถ่ายทางอากาศ
ไวแ้ ลว้ มาลงในระวางแผนทีด่ ้วย
6.9 ให้ช่างรังรัดส่งเร่ืองท่ีทาการรังวัดแล้วเสร็จ พร้อมกับใบสาคัญค่าใช้จ่ายต่อผู้
ควบคุมสายรังวัด ผู้มีหน้าที่ควบคุมการรังวัดตามระเบียบน้ีในท้องท่ีนั้นๆทุกๆเดือน ถ้าไม่มีผู้ควบคุมสาย
รังวดั ให้ส่งตอ่ หัวหนา้ ฝ่ายรังวดั สานกั งานท่ีดิน เพื่อเสนอต่อเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดิน
จังหวัดสาขาดาเนินการตอ่ ไปเป็นประจาทกุ ๆเดอื น ห้ามเกบ็ รอไว้เป็นอนั ขาด

90 สำ�นกั จัดการท่ีดนิ ของรัฐ สำนักจัดกำรทด่ี นิ ของรฐั 86

6.10 กรณีกรมที่ดินส่งช่างรังวัดจากส่วนกลางไปทาการรังวัดให้ดาเนินการใน
สนามใหแ้ ลว้ เสรจ็ ก่อนวันเดินทางกลับพอสมควร เพ่อื จะไดม้ เี วลาแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่างๆ ของเรื่องราวการ
ออกหนังสอื สาคัญสาหรบั ทีห่ ลวงให้เรียบร้อย

(ความในมาตรา ๖ เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมที่ดิน ฉบับท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕30) ประกาศ
ณ วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐)

ข้อ ๗ การปกั หลกั หมายเขตทดี่ ินและแผ่นปา้ ยบอกช่ือทีส่ าธารณะ
7.1 ให้ใช้หลักเขตที่ดินตามแบบท่ีกรมท่ีดินกาหนด แต่ถ้าทบวงการเมืองที่ขอ

ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงจะหาหลักเขตมาเองก็ให้ทาได้ แต่หลักเขตนั้นต้องเป็นไปตามแบบของ
กรมทด่ี นิ และให้มีเลขหมายประจาหลักเขตด้วย โดยขอเลขหมายจากกรมที่ดนิ

7.2 สาหรับที่ดินสาธารณประโยชน์ให้ปักหลักเขตที่สาธารณะด้วยการปักหลักเขต
ที่สาธารณะ ให้ปักเฉพาะมุมเขตที่สาคัญๆเท่านั้น มุมย่อยอื่นให้ใช้หลักเขตท่ีดินปัก การเขียนหรือแสดง
หลักเขตท่ีสาธารณะให้เขียนวงกลมหลักเขตที่ดินไว้ แล้วครอบด้วยรูปสี่เหล่ียม (แทนหลักเขตที่ดิน
สาธารณประโยชน์)

7.3 หลักเขตท่ีสาธารณประโยชน์เป็นหลักคอนกรีตเสริมเหล็ก ลักษณะสี่เหลี่ยม
๑๒ x ๑๒ ซ.ม. ยาว ๑ เมตร ปลายแหลมเป็นรูปจั่วมีฐานหนา ๑๐ ซ.ม. ออกไปรอบข้างๆ ละ 12 ซ.ม.
ส่วนบนของหลักด้านหน่ึงเขียนด้วยอักษรสีเขียวลึกลงไปในเนื้อหลักว่า “เขตที่สาธารณะ” ตามแบบท้าย
ระเบียบนี้

(ความในข้อ ๗.๓ เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดิน ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๒๐)
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๐)

7.4 แผ่นป้ายบอกช่ือทีส่ าธารณประโยชน์ใหท้ าดว้ ยไม้บุสงั กะสี ขนาด 0.๘0 x ๒.๐๐
เมตร พื้นทาสีเขียว ตัวอักษรทาสีขาว บอกชื่อท่ีสาธารณะ ตาบล อาเภอ เช่น หนองยาวสาธารณประโยชน์
ตาบลลาตาเสา อาเภอวังนอ้ ย หรือจะใช้อลูมิเนียมฉลุเป็นตัวอักษรตรึงติดกับแผ่นป้ายก็ได้ เสาป้ายมี ๒ เสา ใช้ไม้
ขนาด ๗.๕๐x ๗.๕๐ ซ.ม. ยาว ๓ เมตร ทาสีขาวปักดินให้ลึกประมาณ ๗๐ ซ.ม. และใช้ไม้ขนาด ๒.๕๐ x
๗.๕๐ ซ.ม. ยาว ๓ เมตร ๒ ท่อน เปน็ เสาค้ากันปา้ ยเอน

(ความในข้อ ๗.๔ เพิ่มเติม ตามระเบียบกรมที่ดิน ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ว่า
ดว้ ยการออกหนังสอื สาคญั สาหรับท่ีหลวง ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒)

7.5 แผ่นป้ายบอกช่ือที่สาธารณประโยชนใ์ หจ้ ัดทาขนึ้ อีกแบบหนึ่งมีลกั ษณะ ดงั นี้
7.5.1 แผ่นป้ายใช้แผ่นเหล็กหนา ๑/๑๖ น้ิว (๑.๕๘ ม.ม.) ขนาด ๑.๒๐ x

๐.๖๐ เมตร ทาสีกันสนิมรองพื้นทั้งด้านหน้าและด้านหลังทับ ๒ คร้ัง เฉพาะด้านหน้าทาสีเขียวทับ และท่ี
ขอบทาสีขาวโดยรอบ ขนาด ๒.๕ ซ.ม. เขียนชื่อท่ีสาธารณประโยชน์ด้วยสีขาวตัวอักษร ขนาดสูง ๘ ช.ม.
ส่วนชื่อตาบลและอาเภอ ตัวอักษรขนาดสูง ๖ ซ.ม. และเจาะรูสาหรับน๊อตยึด ไม่น้อยกว่า ๒ รู ขนาด 9
ม.ม. ยาวตามความหนาของเสาป้ายแต่ละแบบ

7.5.2 เสาป้ายทาสีขาวปักลึกลงไปในดนิ ประมาณ ๗๐ ซ.ม. มี ๒ แบบ คือ
แบบท่ี ๑ ใช้เสาคอนกรีตอดั แรงสาเร็จรปู คุณภาพเทียบของ CPAC

ขนาด ๐.๐๘x๐.๐๘x๒.๗๐ เมตร มรี สู าหรับยึดป้าย ขนาด 9 ม.ม. ไมน่ ้อยกวา่ ๒ รู ตามแบบ
แบบท่ี ๒ ใช้เสาคอนกรีตเสริมเหล็กขนาด 0.1๐ x ๐.๑๐ x ๒.๗๐

เมตร เสริมเหล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง ๖ ม.ม. จานวน ๔ เส้น เหล็กปลอกเส้นผ่าศูนย์กลาง ๖ ม.ม. ระยะ
0.15 เมตร ส่วนผสมคอนกรีต ๑/๒/๔ (โดยปริมาตร) เจาะรูปิดแผ่นป้ายต้นละ ๒ รู ขนาด ๙ ม.ม. ตาม
แบบทา้ ยระเบยี บน้ี

ส�ำ นักจสดั ำนกาักรจทดั ด่ีกำนิ รขทอ่ดี งินรขัฐองรัฐ9817

ข้อ 8 การเขียนรูปแผนท่ีลงในหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ให้ย่อหรือขยายรูปแผนท่ี
ลงให้พอเหมาะกับเนือ้ ที่สาหรับลงรูปแผนที่ในหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง และให้เขียนมาตราส่วนซ่ึงย่อ
หรือขยายนน้ั ไว้ด้วย กรณีรปู แผนท่ีซึ่งสามารถยอ่ ใหเ้ ล็กลงได้ทสี่ ุดแล้วนั้นยังใหญ่และไม่สามารถจาลองลงในเน้ือ
ทส่ี าหรับลงรูปแผนท่ี กใ็ ห้จาลองรปู แผนที่น้ันในใบต่อได้ โดยให้หมายเหตุด้วยอักษรสีแดงไว้ในท่ีสาหรับลง
รปู แผนทวี่ ่า “รูปแผนทอ่ี ยู่ ในใบต่อ” และถา้ หากใบตอ่ มีหลายแผ่นให้บอกแผ่นท่ีไว้ท่ีมุมบนขวามือของแต่
ละแผ่น โดยเรียงลาดับแผ่นตามลักษณะรูปแผนท่ีแล้วให้เย็บรูปแผนที่ใบต่อกับหนังสือสาคัญสาหรับ
ทห่ี ลวงเรยี งตามลาดับจากแผ่นน้อยไปหามาก

ขอ้ 9 การรังวัดให้ถือเขตตามที่ปรากฏในหลักฐานหรือทะเบียนเดิมของทางราชการแต่
ถ้าเขต ระยะ และข้างเคียงเปลี่ยนแปลงไปจากหลักฐานหรือทะเบียนเดิม ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้ทาการ
รังวัดสอบสวนบันทึกถ้อยคาผู้นาทาการรังวัด ผู้ปกครองท้องท่ี และผู้สูงอายุที่เช่ือถือได้ในท้องถิ่นนั้นดี
และเคยใช้ประโยชน์ร่วมกันสัก ๓-๔ คน ถึงสาเหตุของการเปล่ียนแปลงไว้เป็นหลักฐานหากปรากฏว่า
ไดเ้ นอ้ื ท่ีน้อยกว่าหลักฐานหรือทะเบียนเดิมมากและข้างเคียงเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือไม่อาจทราบได้
ว่าเขตและเน้ือที่ควรจะอยู่แค่ไหน เพียงใด หรือผู้นาทาการรังวัด หรือผู้ขอไม่สามารถชี้เขตได้ถูกต้อง
ให้เจ้าพนักงานท่ีดินแจ้งให้นายอาเภอทราบเพ่ือให้สภาตาบลพิจารณาตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าดว้ ยการมอบหมายให้สภาตาบลมีส่วนชว่ ยเหลอื ควบคุมการดาเนินการออกหนังสือสาคญั สาหรับท่ีหลวง
พ.ศ. 2519 ต่อไป

ในการรังวดั หากมผี ูค้ ดั ค้าน ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ผี ูท้ าการรงั วัด รงั วดั ทาแผนทโี่ ดยสังเขป
แสดงเขตเป็นเสน้ ประและเน้ือที่ท่ีมีการคัดค้านแต่ละรายไว้ในแผนที่ต้นร่างและกระดาษบาง โดยให้จดแจ้ง
ข้อความไว้ในแปลงที่มีการคัดค้านว่า “(ช่ือผู้คัดค้าน) คัดค้าน” และให้ดาเนินการออกหนังสือสาคัญ
สาหรบั ทหี่ ลวงเฉพาะส่วนไม่มีผู้คัดค้านไปก่อน การรับรองเขตด้านท่ีมีการคัดค้านให้บันทึกถ้อยคาผู้นาทา
การรังวัด หรือผู้นาข้ีเขตไว้เป็นหลักฐาน โดยไม่ต้องให้ผู้คัดค้านลงชื่อรับรองเขต หากมีผู้บุกรุกแต่ไม่คัดค้าน
หรือยอมรับว่าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ให้บันทึกถ้อยคาผู้บุกรุก ว่าได้เข้าทาประโยชน์อะไร แต่เมื่อใด เป็น
จานวนเน้อื ท่ีเท่าใด โดยไมต่ ้องรงั วดั แสดงรายละเอียดเชน่ กรณที ม่ี กี ารคัดคา้ น

(ความในข้อ ๙ เดมิ ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมทีด่ ิน ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. 2520) ประกาศ ณ
วนั ที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒5๒o)

ขอ้ 10 กรณที มี่ ที างสาธารณประโยชน์ทีร่ ถยนต์เดินไม่ได้ หรือมีห้วย ลาน้า ซ่ึงอยู่ในความ
ดูแลของนายอาเภอ อยู่ในบริเวณท่ีดินที่ขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง จะพิจารณาออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงเป็นแปลงเดียวก็ได้ ท้ังนี้ต้องบันทึกถ้อยคายินยอมของผู้ดูแลรักษาที่สาธารณประโยชน์น้ันๆ
ไว้ และบันทึกคารับรองของผู้ขอออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไว้ด้วยว่าจะไม่ทาให้เสียหายแก่การใช้ท่ี
สาธารณประโยชน์น้ันๆ และให้แสดงเขตทาง หรอื หว้ ย ลานา้ นน้ั ๆ เปน็ เสน้ ประไว้ในรปู แผนท่ี

ถ้ามคี ลองสาธารณประโยชน์อยใู่ นบรเิ วณที่ขอออกหนงั สือสาคัญสาหรบั ท่ีหลวงให้กันเขต
คลองสาธารณประโยชน์ออก และออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวงเปน็ แปลงๆ

(ความในข้อ 1๐ เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดินฉบับท่ี 5 (พ.ศ. ๒5๓๐) ประกาศ
ณ วันท่ี ๘ มกราคม 2530)

กำรสอบสวน

ข้อ 11 ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีทาการสอบสวนผู้ขอหรือตัวแทนซึ่งได้นาเจ้าพนักงานทา
การรงั วดั ถงึ ทีต่ ้ัง จานวนเนอ้ื ท่ี ประวัติและอาณาเขตของที่ดินแปลงท่ขี อ ตามแบบบันทึกการสอบสวนเพื่อ
ออกหนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวง (แบบ สธ. ๒)

92 สำ�นักจัดการทด่ี ินของรัฐ สำนกั จดั กำรทดี่ ินของรฐั 88

กำรประกำศ

ข้อ 12 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้ทาการรังวัดและสอบสวนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดินสาขา ประกาศการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
ใหป้ ระชาชนทราบมีกาหนด ๓0 วัน โดยปิดไว้ในท่เี ปดิ เผย ณ สานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงานท่ีดินสาขา
๑ ฉบับ ณ ท่ีว่าการอาเภอหรือกิ่งอาเภอท้องท่ีหรือท่ีทาการเขต ๑ ฉบับ ที่ทาการกานัน ๑ ฉบับ และใน
บริเวณท่ีดินนั้น ๑ ฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สานักงานเทศบาล หรือในเขตกรุงเทพมหานครให้ปิดไว้
ณ ศาลาวา่ การอีก ๑ ฉบับในประกาศดังกล่าวให้ลงตาแหน่งที่ต้ังและประเภทของท่ีดินให้ทราบด้วยว่า อยู่ใน
ความดูแลของทบวงการเมืองใดและให้มีรูปแผนที่แสดงแนวเขตท่ีดินที่จะออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
และกาหนดระยะเวลาให้ผู้มสี ่วนได้เสยี คัดคา้ นภายในกาหนด ๓๐ วัน นบั แตว่ นั ประกาศ

ข้อ 13 เม่ือประกาศครบกาหนด ไม่มีผู้คัดค้าน ให้สร้างหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง
และให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานที่ดินสาขา ตรวจสอบเอกสารและความเรียบร้อยพร้อม
กับลงช่อื ในบรรทดั เจ้าพนักงานที่ดนิ ด้านหลังหนงั สอื สาคญั สาหรับท่ีหลวงแล้วส่งเรื่องไปกรมท่ีดิน เพื่อให้
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบและเสนออธิบดีลงนามประทับตราประจาตาแหน่งและต่อเลขหนังสือสาคัญสาหรับ
ท่หี ลวงตอ่ ไป

ข้อ 14 เมื่ออธิบดีกรมที่ดินลงนามประทับตราประจาตาแหน่ง และต่อเลขในหนังสือ
สาคัญสาหรบั ทห่ี ลวงแลว้ ให้เจ้าหนา้ ที่จาลองหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเป็นรูปถ่ายตามจานวนท่ีจาเป็น
ตามระเบียบนี้ แล้วส่งเร่ืองราวท้ังหมดพร้อมกับหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงทั้งต้นฉบับและฉบับจาลอง
เป็นรูปถ่ายเท่าที่จาเป็นต้องเก็บรักษาไปยังจังหวัดเจ้าของเร่ือง เพ่ือสั่งให้เจ้าหน้าท่ีเก็บเอกสารและแจก
หนังสือสาคญั สาหรับทีห่ ลวงใหแ้ ก่ผขู้ อและผู้เก่ยี วขอ้ งตอ่ ไปโดยให้ผขู้ อลงช่ือรบั ไว้เป็นหลักฐานดว้ ย

ข้อ 15 ในระหว่างประกาศถ้ามีผู้คัดค้านทั้งแปลงให้รอการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง
ไว้จนกวา่ จะได้มคี าพิพากษาถงึ ทีส่ ุดของศาลแสดงว่าผูค้ ัดค้านไมม่ ีสิทธใิ นทีด่ ินน้ันหรือพิจารณาดาเนินการไปตาม
คาพพิ ากษาหรอื คาส่งั ศาลต่อไป หากเป็นการคัดค้านเพยี งบางสว่ น ให้ดาเนินการตามขอ้ ๙ วรรค 2

(ความในข้อ ๑5 เดิม ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมที่ดินฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒5๒๐) ประกาศ
ณ วนั ที่ ๑๘ กุมภาพนั ธ์ ๒5๒๐)

กำรจัดทำทะเบยี นท่ีดนิ สำธำรณประโยชน์

ขอ้ 16 แบบพิมพ์ทะเบียน ให้ใช้แบบพิมพ์ท่ีกรมที่ดินจัดพิมพ์ขึ้น โดยใช้อาเภอ หรือ
กิ่งอาเภอละ 1 เล่ม แยกเปน็ ตาบล แปลงหนึ่งๆให้เว้น ๖ บรรทัด ถ้าท่ีดินแปลงใดมีอาณาเขตคาบเก่ียวหลาย
ตาบลให้ลงไว้ทุกตาบลที่ท่ีดินต้ังอยู่ แล้วให้หมายเหตุในช่องหมายเหตุด้วยว่า ท่ีแปลงน้ันต้ังอยู่คาบเก่ียวกับ
ตาบลใดบ้าง ถ้าตั้งอยู่ในท้องที่หลายอาเภอ ก็ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับคาบเกี่ยวตาบล การกรอกรายการลงใน
แบบพิมพ์ให้กรอกให้ครบถ้วนทุกช่อง โดยคัดรายการจากหลักฐานเดิมกรอกลงในแบบพิมพ์ทะเบียนอย่าง
ใหม่เสียก่อน เมื่อปรากฏว่ารายการใดที่คัดมากรอกไว้นี้ผิดพลาดคลาดเคลื่อนจากการรังวัดใหม่ ก็ให้ขีดฆ่า
รายการท่ีผิดพลาดคลาดเคลื่อนนั้นด้วยหมึกแดง ลงนามกากับไว้ตามระเบียบราชการ แล้วกรอกรายการท่ี
ถูกต้องลงไปและหมายเหตุการแก้ไขไว้ให้ทราบในช่องหมายเหตุด้วย ช่อง “สภาพและประวัติความเป็นมา”
ให้ลงให้ชัดเจนว่า ได้คัดลอกมาจากหลักฐานใด เช่น บัญชีสารวจท่ีดินหวงห้าม บัญชีสารวจหนองสาธารณประโยชน์
หรือทะเบียนท่ีดินสาธารณประโยชน์ ฯลฯ ลาดับแปลงท่ีเท่าใดได้นาขึ้นทะเบียนไว้ต้ังแต่เมื่อใด ผู้ใดเป็นผู้
หวงหา้ ม เพ่ีอวตั ถปุ ระสงค์อย่างใด ประชาชนได้ใชป้ ระโยชน์อย่างใด แต่เมื่อใด ถ้าเป็นท่ีสาธารณประโยชน์ซ่ึง
ได้สารวจรังวัดขึ้นทะเบียนใหม่ (ยังไม่มีทะเบียนหรือบัญชีเดิม) ให้ลงให้ชัดเจนว่า ได้สารวจเมื่อใด อาศัย
หลกั ฐานอย่างใดมกี ารใช้ประโยชนร์ ว่ มกนั อยา่ งใด ตัง้ แตเ่ มอื่ ใด ในการจัดทาทะเบียนท่ีดินสาธารณประโยชน์

สำ�นกั จสัดำกนากั รจทดั ่ดีกำนิ รขทอี่ดงนิ รขัฐองรัฐ9839

นี้ให้อาเภอหรือก่ิงอาเภอจัดทาข้ึน ๓ ชุด เก็บไว้ท่ีอาเภอหรือกิ่งอาเภอและจังหวัดแห่งละ ๑ ชุด ส่ง
กรมทด่ี ิน 1 ชดุ

หนังสอื สำคัญสำหรับทหี่ ลวง

ข้อ 17 หนงั สือสาคัญสาหรับทหี่ ลวงใหใ้ ช้แบบ ส.ธ. ๑
ข้อ 18 หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ทาข้ึน 1 ฉบับ แล้วส่งไปให้กรมท่ีดินจาลองเป็นรูป
ถ่ายอกี 2 ฉบับ โดยใหถ้ ือเสมือนเป็นต้นฉบับ ต้นฉบับมอบให้ผู้ดูแลรักษาถือไว้ ท่ีจาลองเป็นรูปถ่ายให้เก็บไว้
ณ สานักงานที่ดินจังหวัดหรือสานักงานที่ดินสาขา 1 ฉบับ และเก็บไว้ ณ กรมที่ดิน 1 ฉบับ กรณีที่ดินตั้งอยู่
คาบเกี่ยวหลายจงั หวดั ให้จาลองรูปถ่ายเพิ่มขนึ้ ตามจานวนจังหวดั ที่เกย่ี วข้อง
(ความในข้อ 18 ถูกยกเลิกโดยระเบียบกรมท่ีดิน ว่าด้วยการออกหนังสือสาคัญสาหรับ
ทหี่ ลวง ฉบบั ท่ี 6 (พ.ศ. 2539)

ใบแทนหนงั สอื สำคญั สำหรบั ทห่ี ลวง

ขอ้ 19 ถ้าหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงฉบับผู้ดูแลรักษาชารุดหรือสูญหาย ให้ผู้ดูแล
รักษาแจ้งความประสงค์ขอรับใบแทนต่ออธิบดีกรมท่ีดิน โดยยื่นผ่านสานักงานท่ีดินจังหวัดหรือสานักงาน
ทด่ี ินสาขา

ข้อ ๒๐ เมือ่ เจ้าพนกั งานท่ดี นิ ได้รับคาขอแล้ว ให้ทาการสอบสวนตามควรแก่กรณี โดยไม่
ตอ้ งประกาศ

ขอ้ 21 เมือ่ ได้ดาเนินการตามข้อ ๑๓ ไม่มีการขัดข้องแล้ว ให้เจ้าพนักงานท่ีดินสร้างใบแทน
หนังสอื สาคัญสาหรับท่ีหลวงขึ้นใหม่ตามจานวนที่ชารุดสูญหาย และส่งเร่ืองทั้งหมดไปกรมที่ดินเพ่ีอให้อธิบดี
ลงนามในใบแทน

ขอ้ ๒๒ แบบใบแทนหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวง ให้ไข้แบบ ส.ธ.๑ โดยประทับตราสีแดง
ว่า “ใบแทน” ไว้ท่ีด้านหน้าหน้าคาว่า “หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง” ด้านหลังใต้รูปแผนท่ีให้หมายเหตุด้วย
อักษรสีแดงว่า“หนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงได้ออกให้เมื่อวันที่.......เดือน......พ.ศ.....” และให้เจ้าพนักงาน
ทด่ี นิ ลงลายมอื ชือ่ พร้อมวัน เดอื น ปี กากบั ไวด้ ้วย

ข้อ 23 ถ้าหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงฉบับท่ีเก็บไว้ ณ สานักงานที่ดินหรือกรมท่ีดิน
ชารุดหรือสูญหาย ให้เจา้ พนกั งานท่ีดินเรยี กหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงฉบับใดฉบบั หนึง่ มาจาลองเป็นรูป
ถา่ ยเก็บไวเ้ ป็นหลกั ฐานได้

กำรเกบ็ เอกสำร

ขอ้ ๒๔ การเก็บหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ให้ใช้ปกหรือแฟ้มเก็บเช่นเดียวกับ โฉนดท่ีดิน
โดยเก็บเป็นเล่มๆ ละ ๕๐ ฉบบั เรยี งตามลาดับเลขทจ่ี ากน้อยไปหามาก

ข้อ 25 การเก็บเอกสารเก่ียวกับการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวง ให้ปฏิบัติ
เช่นเดยี วกบั การเก็บสารบบที่ดนิ โดยแยกไว้เปน็ อาเภอและใหเ้ กบ็ ไวต้ า่ งหากไม่รวมกบั สารบบโฉนดท่ดี ิน

คำ่ ธรรมเนยี มและค่ำใช้จำ่ ย

ข้อ 26 ในการออกหนงั สือสาคัญสาหรับที่หลวง ไม่ตอ้ งเสียค่าธรรมเนยี มใดๆ ทงั้ สิ้น
ข้อ 27 คา่ ใชจ้ ่ายใหว้ างไว้เป็นเงนิ มดั จาไดแ้ ก่

94 สำ�นักจัดการท่ดี นิ ของรฐั สำนกั จัดกำรทดี่ ินของรัฐ 90

๒๗.๑ ค่าหลักเขตที่ดิน ในกรณที ่ีผู้ขอไมน่ าหลกั เขตมา
๒๗.๒ ค่าพาหนะเดินทางของพนักงานเจ้าหน้าที่ และคนงานท่ีไปทาการรังวัด
ให้จ่ายเท่าท่ีจาเป็นและจ่ายไปจรงิ
๒๗.๓ ค่าเบี้ยเลี้ยงของพนักงานเจ้าหน้าที่ ค่าเช่าที่พัก และค่าจ้างคนงานท่ี
จ้างไปทาการรังวัด ให้เรียกตามระเบยี บและอัตราของทางราชการท่ีใช้อยู่ในขณะน้นั
๒7.๔ คา่ ป่วยการของเจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ให้เป็นไปตามที่กฎกระทรวง
กาหนด คนหนึง่ วันละ 1๐ บาท
(ความในข้อ 27.4 แก้ไขเพิม่ เติมตามกฎกระทรวงฉบับ ที่ 48 (พ.ศ. 2542) ให้ไว้ ณ วันท่ี
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2542)

กำรเปลย่ี นอำนำจหนา้ ที่ผดู้ แู ลรักษำ

ข้อ 28 ทด่ี นิ อันเปน็ สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงไป
แล้ว หากมีการเปล่ียนแปลงอานาจหน้าที่ผู้ดูแลรักษาจากทบวงการเมืองหนึ่งไปยังอีกทบวงการเมืองหน่ึง
ใหม้ อบหนังสอื สาคัญสาหรับท่หี ลวงกนั ได้ โดยไม่ตอ้ งแก้ไขชือ่ และทาการรังวัดใหม่

กำรเปลยี่ นหนงั สือแสดงกรรมสทิ ธเิ์ ป็นหนังสอื สำคญั สำหรบั ที่หลวง

ขอ้ 29 ทดี่ นิ อันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินท่ีใช้เพื่อประโยชน์ของทางราชการแปลง
ใดหากปรากฏวา่ ได้มีหนงั สอื สาคัญแสดงกรรมสิทธิ์ยดึ ถอื อยู่และผดู้ ูแลรกั ษาประสงค์จะเปลี่ยนเป็นหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวงก็ให้ดาเนินการได้โดยเมื่อออกให้ไปแล้วให้เรียกโฉนดเดิมมาหมายเหตุด้วยตัวอักษร
สีแดงว่าท่ีดินแปลงน้ีได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ไปแล้วตามหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเลขที่
............แล้วใหเ้ จ้าพนักงานทด่ี ินลงชอ่ื และวัน เดือน ปี กากับไว้เป็นหลักฐาน แล้วเก็บเข้าสารบบของที่ดิน
แปลงนัน้ สาหรับโฉนดของสานักงานทีด่ นิ ให้ตัดออกจากเล่มและดาเนินการเชน่ เดียวกัน

กำรออกหนงั สือสำคญั สำหรับทหี่ ลวงกรณเี ปลย่ี นประเภทท่ดี นิ

ข้อ ๓๐ ที่ดินท่ีได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงให้ไปแล้ว หากภายหลังมีการเปลี่ยน
ประเภทที่ดินและผู้ดูแลรักษาประสงค์จะขอเปล่ียนหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงใหม่เพ่ือให้ตรงกับสภาพ
ท่ีดินก็ให้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงให้ใหม่ได้ โดยไม่ต้องประกาศและทาการรังวัดใหม่ เม่ือออกให้
แล้วให้เรียกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเดิมมาหมายเหตุด้วยตัวอักษรสีแดงว่า “ได้ออกหนังสือสาคัญ
สาหรับท่ีหลวงให้ใหม่แล้วตามหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงเลขที่..........” แล้วให้เจ้าพนักงานท่ีดินลงช่ือ
และวัน เดือน ปี กากับไว้เป็นหลักฐาน แล้วเก็บเข้าสารบบของที่ดินแปลงนั้น สาหรับฉบับท่ีเก็บไว้ ณ
จังหวดั และกรมทด่ี นิ ก็ให้ดาเนินการเชน่ เดียวกัน

ขอ้ 31 ให้ยกเลิกคาสั่งหรือระเบียบการอื่นใด เฉพาะในส่วนท่ีขัดหรือแย้งกับระเบียบน้ีเสีย
ทง้ั สนิ้

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ กมุ ภาพันธ์พ.ศ. ๒๕๑๗

(ลงชื่อ) อ. วิสตู รโยธาภิบาล
(นายอรรค วสิ ูตรโยธาภิบาล)

อธบิ ดกี รมท่ีดิน

ส�ำ นักจัดการที่ดินของรฐั 95
สำนกั จัดกำรทด่ี ินของรัฐ 91

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
ว่าด้วยการมอบหมายใหส้ ภาตาบลมีสว่ นช่วยเหลือควบคุมการดาเนินการ

ออกหนงั สือสาคญั สาหรับทห่ี ลวง
พ.ศ. 2519

--------------------
ด้วยกระทรวงมหาดไทย ได้พจิ ารณาเห็นเปน็ การสมควรมอบหมายให้สภาตาบลได้มีส่วน
ช่วยเหลือและควบคุมการดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงในท่ีดินสาธารณประโยชน์ ซึ่งทาง
ราชการสงวนหรือหวงห้ามไว้ จงึ วางระเบียบไวด้ ังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการมอบหมายให้สภาตาบล
มสี ่วนชว่ ยเหลือควบคมุ การดาเนนิ การออกหนังสอื สาคัญสาหรับท่หี ลวง พ.ศ. 2519”
ขอ้ 2 ใหใ้ ชร้ ะเบียบนตี้ ัง้ แต่วันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2519 เป็นต้นไป
ข้อ 3 สภาตาบลตามระเบยี บนี้ หมายถงึ สภาตาบลตามประกาศคณะปฏวิ ตั ิ ฉบบั ที่
326ลงวันท่ี 13 ธนั วาคม 2515
ข้อ 4 ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี จังหวัดจะได้สั่งอาเภอทุกอาเภอในเขตจังหวัด (เว้นเขต
ของกรุงเทพมหานคร) ทาการสารวจท่ีดินสาธารณประโยชน์ในเขตท้องท่ีของตน ว่ายังไม่มีหนังสือสาคัญ
สาหรับที่หลวงเป็นจานวนเท่าใด สมควรดาเนินการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงไว้เป็นหลักฐาน
หรอื ไม่ เพยี งใด พรอ้ มทั้งเหตุผลแลว้ รายงานใหจ้ งั หวัดทราบเพือ่ รายงานกรมทีด่ นิ

ในการสารวจนี้ อาเภออาจขอให้สภาตาบลร่วมมือช่วยเหลือในการสอบสวนประวัติ
นาชีอ้ าณาเขตทส่ี งสยั และปฏบิ ตั กิ ารอ่นื ๆ เทา่ ท่ีสภาตาบลสามารถทาได้

เม่ือท้องท่ีอาเภอใดได้ออกหนังสือสาคัญสาหรับที่หลวงครบถ้วนหมดในปีใดแล้ว
ปตี อ่ ไปใหอ้ าเภอนน้ั งดการสารวจตามข้อน้ีได้

ข้อ 5 หลังจากทาการสารวจแล้ว เม่ือเจ้าหน้าท่ีได้ออกไปทาการรังวัดเพื่อออกหนังสือ
สาคัญสาหรับที่หลวง ณ ตาบลใด ให้สภาตาบลให้ความร่วมมือช่วยเหลือและประสานงานกับเจ้าหน้าที่
ดงั กลา่ ว ดังน้ี

5.1 ชแ้ี จงและประกาศใหร้ าษฎรในทอ้ งท่ีทราบ
5.2 ให้ความอนุเคราะห์และให้ความสะดวกแก่เจ้าหน้าท่ีในเร่ืองที่พักความ
ปลอดภยั การติดตอ่ นัดหมายกับเจ้าของที่ดินขา้ งเคียง
5.3 ช่วยแกไ้ ขปัญหาอปุ สรรคและขอ้ ขดั ขอ้ งตา่ งๆ หากจะเกิดมีขน้ึ
5.4 ปฏิบัติการอื่นๆ ตามที่เห็นสมควร เพ่ือให้การดาเนินการได้เสร็จเรียบร้อยสม
ความม่งุ หมาย
ข้อ 6 เพื่อให้การรังวัดในการออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงได้เป็นไปโดยถูกต้องได้
เนอ้ื ทแี่ ละขอบเขตทแ่ี ทจ้ ริง เม่ือเจ้าหน้าที่จะไปทาการรังวัดเพ่ือออกหนังสือสาคัญสาหรับท่ีหลวงแปลงใด
ในท้องที่ตาบลใด นายอาเภอจะได้แจ้งให้สภาตาบลทราบ ให้สภาตาบลมอบหมายผู้แทนไปช่วย
ควบคุมดูแลการรังวัดของเจ้าหน้าที่ หากเห็นว่าเป็นการไม่ถูกต้องด้วยประการใด ให้ประธานกรรมการ
สภาตาบลแจ้งให้เจ้าหนา้ ท่ีผทู้ าการรังวัดทราบ และรายงานให้นายอาเภอทราบพรอ้ มกนั ดว้ ย


Click to View FlipBook Version