The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดและเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา (ฉบับปรับปรุง) (ปี 2563)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

คำนำ

คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดและเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
ได้จัดทำข้ึนเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยการรวบรวมแนวทางและขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานในส่วนที่เก่ียวข้องกับภารกิจ
และอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดและเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ซ่ึงครอบคลุมทั้งงานฝ่ายทะเบียน
งานฝ่ายรังวดั งานกลุ่มงานวิชาการที่ดิน และงานฝ่ายอำนวยการ เพอื่ เป็นคู่มือให้เจ้าพนักงานที่ดินจงั หวัดและ
เจ้าพนักงานท่ดี ินจังหวัดสาขา ใช้เป็นแนวทางและประกอบการพิจารณาใช้ดุลยพินิจ และตัดสนิ ใจในการดำเนินการ
ในเรื่องต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องตามอำนาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานที่ดิน รวมถึงใช้เป็นเอกสารประกอบการฝึกอบรม
“หลักสูตรการศึกษาอบรมเพื่อพัฒนาสมรรถนะผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงานท่ีดินจงั หวัดและเจ้าพนักงานที่ดิน
จังหวัดสาขา มุ่งสู่ความเป็นเลิศ” ปัจจุบันระเบียบ กฎหมาย และแนวทางการปฏิบัติงานบางส่วนได้มีการ
เปล่ียนแปลงไปจากเดิม ดังน้ัน เพ่ือให้คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดและเจ้าพนักงาน
ท่ีดินจังหวัดสาขา มีความสมบูรณ์และสอดคล้องกับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง จึงได้ดำเนินการแก้ไขเพ่ิมเติม
คู่มือสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของเจ้าพนักงานท่ีดนิ จังหวัดและเจ้าพนักงานท่ีดนิ จังหวัดสาขาให้มีความเหมาะสม
ยิ่งขึ้น เพ่ือให้คู่มือดังกล่าวสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานตามอำนาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานท่ีดิน
จังหวดั และเจา้ พนกั งานทด่ี ินจังหวัดสาขาได้จรงิ

กรมที่ดินหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดและ
เจา้ พนักงานท่ดี ินจังหวัดสาขา (ฉบับปรับปรุง) เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารงานในสำนกั งานทด่ี ินและ
เป็นคู่มือประกอบการใชด้ ุลยพินิจพิจารณาส่ังการและตัดสินใจในการดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วข้องตาม
อำนาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานทีด่ นิ จงั หวดั และเจ้าพนักงานทด่ี นิ จังหวัดสาขาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ

กรมท่ีดิน
กระทรวงมหาดไทย
สิงหาคม ๒๕๖๓



สารบัญ

หนา

งานทะเบียนท่ดี นิ

1. สาํ นักมาตรฐานการออกหนังสือสําคัญ

๑ . ทีด่ นิ ตอ งหา มมิใหออกโฉนดท่ีดิน 1
๒. ทดี่ ินทีส่ ามารถออกหนังสือแสดงสทิ ธิในที่ดินไดห ากอยูในเง่ือนไข 1
๓. “ผมู ีสิทธิครอบครองในท่ีดนิ ” ท่สี ามารถขอออกโฉนดท่ีดนิ ตามมาตรา ๕๙ แหง ประมวล 2

กฎหมายทีด่ นิ ได แมไมมหี ลักฐานสําหรบั ท่ดี นิ 3
๔. ผเู ยาวข อออกโฉนดทีด่ ิน 3
๕. การออกโฉนดท่ีดนิ หรอื หนงั สือรับรองการทําประโยชนในเขตปาไม 3
3
๕.๑ กรณีตองแตง ตัง้ คณะกรรมการตรวจพิสจู นทีด่ นิ 4
๕.๒ กรณีไมต องแตง ตงั้ คณะกรรมการตรวจพิสูจนท ด่ี ิน 4
๕.๓ การเสนอความเห็นของคณะกรรมการตรวจพิสูจนทีด่ นิ ตอผูวาราชการจังหวัด 5
๕.๔ การตรวจสอบกรณที ี่ดินมอี าณาเขตติดตอคาบเกยี่ วหรืออยูใ นเขตที่ดนิ ของรฐั 5
๕.๕ การพจิ ารณาผลการอา น แปล และตีความภาพถา ยทางอากาศ 5
๖. การออกหนงั สือแสดงสทิ ธิในท่ีดินในเขตทีเ่ ขา ที่ภูเขา และที่ลาดชันเฉลย่ี เกนิ ๓๕ % 6
๖.๑ หลกั เกณฑก ารตรวจสอบวาท่ีดนิ บรเิ วณใดเปน ท่เี ขา ทภ่ี เู ขา
๖.๒ การออกหนังสอื แสดงสิทธิในท่ีดนิ จากหลักฐาน ส.ค.๑ ทแี่ จง จดทภี่ ูเขา และเนื้อท่ี 6
7
ทที่ ําการรังวัดใหมแ ตกตา งไปจากเนอื้ ทีต่ ามหลกั ฐาน ส.ค.๑
๖.๓ แนวทางการตรวจสอบพื้นทค่ี วามลาดชันโดยเฉลี่ยเกิน ๓๕ % ขน้ึ ไป 7
๖.๔ แนวทางการพจิ ารณาออกโฉนดที่ดินหรอื หนังสือรบั รองการทําประโยชนในพืน้ ที่ 7

ความลาดชันโดยเฉลีย่ เกิน ๓๕ % ขนึ้ ไป
๗. การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินในเขตปฏิรูปทดี่ นิ

๗.๑ ส.ป.ก. ขอออกโฉนดทด่ี ินในที่ดนิ ที่ สปก.ไดมาตามมาตรา ๓๖ ทวิ แหงพระราชบัญญตั ิ

การปฏิรปู ที่ดนิ เพือ่ เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘

๗.๒ การออกโฉนดที่ดนิ ใหแ กผมู สี ทิ ธใิ นที่ดนิ ตามประมวลกฎหมายท่ดี ิน 8

๗.๓ การระวงั ช้แี ละรบั รองเขตท่ีดนิ ในเขตปฏิรปู ทด่ี ิน 8

๗.๔ พระราชกฤษฎีกากาํ หนดเขตปฏิรูปทดี่ ินจะมีผลเปนการเพกิ ถอนปาสงวนแหง ชาติ 8

๘. การออกโฉนดทด่ี ินท่งี อกริมตล่งิ 9

หนา

9. การดําเนินการ ตามมาตรา 8 แหงพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายที่ดิน 9

(ฉบบั ที่ 11) พ.ศ. 2551

10. การสอบสวนเปรยี บเทยี บตามมาตรา ๖๐ แหงประมวลกฎหมายท่ีดิน 10

10.๑ หลกั เกณฑใ นการสอบสวนเปรยี บเทยี บ 10

10.๒ วธิ ีการสอบสวนเปรยี บเทียบ 10

10.๓ พนักงานเจาหนาทผี่ มู ีอาํ นาจทาํ การสอบสวนเปรียบเทยี บ 11

10.๔ ผูม อี าํ นาจในการส่งั สอบสวนเปรยี บเทยี บ 11

10.๕ การสั่งสอบสวนเปรียบเทยี บ 11

10.๖ รูปแบบของคาํ สง่ั สอบสวนเปรียบเทียบ 11

10.๗ การลงนามออกโฉนดท่ดี นิ 12

11. การออกโฉนดท่ีดนิ หรอื หนงั สอื รบั รองการทําประโยชนใ นเขตปาชายเลน 12

11.1 กรณตี อ งนําเรื่องเสนอใหท ีป่ ระชมุ คณะกรรมการปองกัน และหยดุ ยง้ั การบกุ รุก 12
ทีด่ ินในเขตปาชายเลนพิจารณา 13

11.2 องคประกอบคณะกรรมการปอ งกนั และหยุดย้ังการบุกรุกทด่ี นิ ในเขตปาชายเลน

11.3 อาํ นาจหนา ทค่ี ณะกรรมการปองกนั และหยดุ ย้ังการบกุ รุกท่ีดนิ ในเขตปา ชายเลน 13

11.4 กรณีทดี่ ินที่ขอออกโฉนดทีด่ นิ หรือหนังสือ รบั รองการทําประโยชน อยใู นพ้ืนท่ีปา 14
ชายเลน และเปนทีด่ นิ ตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ขอ ๑๐ (๓)

11.5 กรณที ีด่ ินมกี ารครอบครองและทาํ ประโยชนมากอนมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๑๕ 14

ธนั วาคม ๒๕๓๐

12. การออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชนในเขตที่ดินของรัฐท่ีตองนําเรื่อง 15
เสนอ กบร. จังหวัดพิจารณา
12.1 ประเภทท่ดี ินของรัฐ 15

12.2 การดําเนินการ 15

12.3 สถานะของมติ กบร. 16

13. การออกใบแทนหนงั สือแสดงสิทธใิ นท่ีดนิ 17

13.1 หลักเกณฑและการวธิ ีดําเนนิ การ 17

13.2 การออกใบแทนกรณีไดที่ดินมาตามมาตรา ๑๓๘๒ แหง ประมวลกฎหมายแพง 19

และพาณชิ ย

13.3 การออกใบแทนใหแ กผ ซู ือ้ ทีด่ นิ จัดสรร 19

13.4 การสอบสวนพยานบคุ คล 20

หนา

13.5 หลักฐานการแจง ความ 20
13.6 ศาลมีคําพพิ ากษาใหจ ําเลยจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิที่ดินใหแกโจทก หากจําเลย 21

ไมปฏิบัติใหถอื เอาคาํ พิพากษาแทนการแสดงเจตนา 21
13.7 ใบแทนทย่ี ังไมไ ดแ จกถือเปน เพียงแบบพิมพของทางราชการเทาน้นั 21
13.8 ผูถือกรรมสิทธิ์ เพียงบางคนย่ืนคําขอออกใบแทน 21
14. การจัดทาํ หนังสือแสดงสิทธใิ นท่ีดนิ ขน้ึ ใหม 21
14.1 หลักเกณฑ 22
14.2 วิธดี ําเนนิ การ 23
14.3 กรณี น.ส. ๓ ฉบับ เจา ของที่ดนิ และฉบบั สาํ นกั งานทีด่ ิน พรอมสารบบสญู หายทง้ั หมด 23
14.4 กรณี น.ส. ๓ ก. ฉบับเจาของท่ีดินและฉบับสํานักงานที่ดินพรอมสารบบสูญหาย

ทัง้ หมด

2. สาํ นักมาตรฐานการทะเบียนที่ดิน

1. หนา ที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจดทะเบยี นของเจา พนกั งานท่ดี นิ จงั หวัด/สาขา 25
2. สวนที่ ๑ อาํ นาจหนา ทีต่ ามกฎหมาย ระเบยี บ/คาํ สง่ั หลกั การและสาระสําคญั 25
25
1. การจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรมในการโอนอสงั หารมิ ทรัพยฯ 26
2. การสง่ั โอนมรดก 26
3. การส่งั การหรือเปรยี บเทียบมรดก 27
4. การโอนใหต วั การ 27
5. วางทรัพยส นิ อนั เปน สินไถ 28
6. การสัง่ อายดั 28
7. การสง่ั แกไ ขกรณีการคลาดเคลื่อนเน่ืองจากการเขียนหรือพิมพขอความผดิ พลาด 28
8. การสัง่ จําหนายคาํ ขอ/ส่ังยกเลกิ คําขอ/ลงนามในหนังสือแจงผขู อ/อนมุ ัตดิ ําเนนิ การ 29
29
กับคําขอทส่ี ่ังจําหนายและคาํ ขอท่ีสั่งยกเลิกแลว
9. การสั่งปฏเิ สธการรบั คําขอ 30
10. การสั่งการเกี่ยวกับหนงั สอื มอบอาํ นาจทีเ่ ปน การโอนทางทะเบียน เชน ขาย ขายฝาก 31
31
ให แลกเปลีย่ น ฯลฯ ซึ่งมีทนุ ทรัพยเ กนิ ทุนทรัพยทหี่ ัวหนาฝายทะเบียนมอี าํ นาจ 31
จดทะเบยี นหรอื เกนิ กวาสิบลานบาทถวน 32
11. การส่ังเปรียบเทยี บการจดทะเบยี นสิทธิและนติ ิกรรมเกีย่ วกับที่ดินหรืออสงั หาริมทรัพย
อยางอน่ื
12. การพจิ ารณาสั่งการเกีย่ วกับการขอไดมาซ่ึงที่ดนิ ของนิตบิ คุ คล
13. การลงนามในหนงั สอื สญั ญาตกลงยกทด่ี ินใหสรา งวัด
3. การบรหิ ารจัดการงานทะเบยี นทดี่ นิ
4. ความรู ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะท่จี าํ เปน ในการบริหารงานทะเบียนทีด่ ิน

หนา

5. สวนที่ ๒ การกํากบั ดูแล ตรวจสอบ และควบคุมงานทะเบียนทดี่ ิน 33
1. การตรวจสอบหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณากรณี วัดขอไดมาซงึ่ ท่ีดนิ 33
2. การตรวจสอบหลกั ฐานประกอบการพจิ ารณากรณคี นตางดาวขอไดม าซ่ึงท่ดี นิ โดยการ 33
ขอรับมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมตามมาตรา ๙๓ แหงประมวลกฎหมายท่ีดนิ 33
3. การรายงานการเปล่ยี นแปลงทะเบียนการครอบครองทีด่ ิน 34
4. การรายงาน จํานวน ส.ค. ๑ คงเหลือ 34
5. ตรวจสอบ ส.ค.๑ กบั ทะเบียนการครอบครองทางสวนกลาง 35
6. การจัดเกบ็ เอกสารเกยี่ วกับที่ดนิ และหองชดุ ของฝา ยควบคมุ และรักษาหลักฐานท่ีดนิ 35
7. การจดั เก็บหนังสือแสดงสทิ ธิในทด่ี ินสารบบท่ดี นิ และสารบบสิ่งปลูกสราง พ.ศ. ๒๕๕๕ 35
8. การทาํ ลายเอกสารเกย่ี วกับท่ีดนิ 36

6. สว นที่ ๓ รายชื่อระเบียบกรมท่ดี ิน คําสงั่ เก่ยี วกับการจดทะเบียนประเภทตาง ๆ และ
คูมือการจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิตกิ รรม

3. สํานกั สงเสรมิ ธรุ กิจอสงั หารมิ ทรัพย

ดา นการจัดสรรทดี่ นิ 39

1. การระงับการจดทะเบยี นสิทธิและนิตกิ รรมในทด่ี ินจัดสรร

2. การจดทะเบยี นเปลี่ยนแปลงขอบงั คบั นิติบุคคลหมบู า นจัดสรร 40

3. การจดแจงรายช่ือคณะกรรมการหมบู านจดั สรรของนิติบคุ คลหมบู านจดั สรร 40

4. การควบนิตบิ คุ คลหมูบ านจดั สรร 40

5. การพิจารณาคําขอกอภาระผกู พนั ในที่ดนิ ทไ่ี ดรบั อนุญาตใหทาํ การจัดสรรที่ดิน 41
6. การโอนใบอนญุ าตใหท าํ การจดั สรรทีด่ ิน 42

7. การยกเลิกการจดั สรรทดี่ ิน 43
8. การคมุ ครองผูซอื้ ทีด่ ินจดั สรร (ในฐานะกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ 44
47
จดั สรรท่ีดินจังหวดั (มาตรา 13)) 48
9. วธิ พี ิจารณาการหลีกเลยี่ งการจัดสรรที่ดนิ 52
10. กรณรี องเรยี นการบาํ รุงรักษาสาธารณูปโภคในโครงการทด่ี นิ จัดสรร (ในฐานะ 54
55
กรรมการ และเลขานกุ ารของคณะกรรมการจดั สรรทีด่ ินจังหวดั (มาตรา 13)) 55
11. กรณีไมป ฏบิ ตั ิตามพระราชบญั ญัตกิ ารจัดสรรท่ีดนิ 2543
12. การขออนุญาตทําการจดั สรรที่ดนิ /แกไ ขเปลี่ยนแปลงการจัดสรรท่ีดนิ
13. การขออนุญาตทําการจดั สรรท่ดี ิน/แกไ ขเปล่ยี นแปลงการจัดสรรท่ีดนิ

(ในฐานะกรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการจัดสรรที่ดินจังหวัด)
14. การพนจากหนา ท่ีบาํ รงุ รักษาสาธารณปู โภคของผจู ดั สรรท่ีดนิ ฯ

หนา

ดา นอาคารชดุ 58
60
1. การจดทะเบยี นอาคารชุดและการออกหนงั สอื กรรมสทิ ธิ์หอ งชดุ 61
2. การจดทะเบยี นนิติบุคคลอาคารชุดและผูจัดการนิติบคุ คลอาคารชุด 62
3. การจดทะเบยี นแตงต้ัง/เปลี่ยนแปลงกรรมการนิติบคุ คลอาคารชดุ 63
4. การจดทะเบยี นผจู ัดการนิติบคุ คลอาคารชดุ 64
5. การจดทะเบยี นแกไขเปลย่ี นแปลงขอบังคับนิตบิ ุคคลอาคารชุด 65
6. การจดทะเบยี นเลิกอาคารชดุ (กรณียงั ไมไ ดจดทะเบยี นนติ บิ ุคคลอาคารชุด) 66
7. การจดทะเบียนเลกิ อาคารชดุ (กรณีจดทะเบียนนติ ิบุคคลอาคารชุดแลว ) 68
8. การออกใบแทนหนังสือกรรมสิทธิห์ องชุดและการจดั ทําหนงั สอื กรรมสิทธห์ิ อ งชดุ ข้ึนใหม
9. การเพิกถอนหรอื แกไขการออกหนังสอื กรรมสิทธิ์หอ งชุด การจดทะเบียนสิทธแิ ละ

นิติกรรมเกยี่ วกับหองชุด หรอื การจดแจงรายการในสารบัญสําหรบั จดทะเบยี น

4. สาํ นกั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. การตรวจสอบการเช่อื มโยงขอ มลู ทะเบยี นทด่ี นิ รปู แปลงทีด่ ิน และภาพลักษณเอกสารสทิ ธิ 73
2. การตรวจสอบความถกู ตอ งของฐานขอ มลู ทะเบยี นท่ดี นิ 74

งานรงั วัด

1. สํานกั มาตรฐานและสง เสริมการรงั วัด
การบริหารจดั การงานรงั วัดในสาํ นักงานที่ดิน การกาํ กับดแู ล ตรวจสอบ และควบคุมงานรงั วดั 77
1. การตรวจสอบการนดั รังวัด 77
2. การตรวจสอบหลักฐานประกอบการพิจารณากรณีการเรยี กคา ใชจ าย (เงินมดั จํารังวดั ) 77
3. การรายงานการรังวัด (ร.ว. ๓) 78
4. การพจิ ารณาการแกไ ขรปู แผนท่หี รอื เนอ้ื ที่ 79
5. การรายงานผลการรงั วัดประจําเดอื น (ร.ว. ๑๙) 79
6. การบริหารจดั การงานรงั วัดเฉพาะรายระดบั จังหวดั 80
7. การรายงานขอ มูลระยะเวลานัดรงั วดั แบบรายวนั และแจงขอมลู ขาวสารผา นทางกลุมไลน 81
ในแตล ะภูมิภาค
8. การเรง รดั งานบริการทเ่ี ก่ียวกบั งานเอกสารสิทธิในทดี่ ิน 81
9. การบรหิ ารจัดการหลกั เขตทด่ี ิน และเครอื่ งมอื รังวดั และทาํ แผนท่ี 82

2. กองเทคโนโลยที าํ แผนที่ 83
84
1. การวางโครงหมดุ หลักฐานแผนท่ี
2. การขอสรางหมุดดาวเทียมเพื่อการรงั วดั ออกโฉนดที่ดนิ หรือเพ่อื การสรางระวางแผนที่

หนา

3. การขอสรา งระวางแผนท่ภี าพถายทางอากาศและระวางรปู ถายทางอากาศ 84
3.1 การขอสรางระวางแผนที่ภาพถายทางอากาศ 85
3.2 การขอสรางระวางรูปถา ยทางอากาศ (ระวาง น.ส. 3 ก.) 87
87
4. การขอใหดาํ เนินการอาน แปล ตคี วามภาพถายทางอากาศ ตามนัยมาตรา 8 88
แหงพระราชบญั ญัติแกไขเพ่ิมเตมิ ประมวลกฎหมายท่ีดนิ (ฉบบั ท่ี 11) พ.ศ. 2551
91
5. การปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบและแกไ ขขอมลู รปู แปลงท่ีดนิ ในรูปแบบดิจทิ ลั ท่ีมีเลขที่ดนิ ซาํ้
91
3. สาํ นกั งานคณะกรรมการชางรงั วัดเอกชน 92
93
1. เม่อื ผแู ทนสาํ นกั งานชางรงั วัดเอกชนนาํ สัญญารบั จางทาํ การรังวดั ทด่ี นิ ท่ีทาํ ไวก บั ผูมี 93
กรรมสิทธใ์ิ นท่ดี นิ มาแสดงตอเจา พนักงานทดี่ ินพรอ มกับหนังสือแจงกําหนด วัน เดือน ป 94
ทท่ี ําการรงั วัดเพ่อื จะขอรับเร่ืองรงั วดั ไปดําเนนิ การ 94
96
2. การปฏิบัตริ าชการเกี่ยวกับงานชา งรงั วดั เอกชนในสํานักงานทด่ี นิ จังหวัด/สาขา และสวนแยก 97
3. การปลอมลายเซน็ ขา งเคยี ง
4. การรับมอบอํานาจของชางรงั วดั เอกชน กรณนี ํารังวัดชแี้ นวเขตท่ดี นิ แทนเจาของท่ดี ิน 101
5. หา มใหบคุ คลทีไ่ มไดเปน ชางรงั วัดเอกชนทาํ การแทนชา งรังวดั เอกชน 101
6. กรณีไมสง งานตามกาํ หนดเวลา 101
7. ข้นั ตอนการรังวัดสอบเขต แบงแยก รวมโฉนดที่ดนิ โดยสํานกั งานชางรังวดั เอกชน 102
8. กรณีมงี านคา งดาํ เนินการและใบอนุญาตจัดตัง้ สาํ นักงานชางรงั วดั เอกชนสนิ้ สดุ ลง 103
104
ตามมาตรา 36 แหง พระราชบญั ญัติชางรงั วัดเอกชน พ.ศ. 2535 105
* ขั้นตอนการดําเนินการรังวัดทดี่ ินโดยสํานกั งานชางรังวัดเอกชนเปน ผูด าํ เนนิ การรงั วดั 106
106
งานวชิ าการทดี่ นิ และอาํ นวยการ 107

1. สํานกั จดั การทด่ี ินของรฐั

เร่อื ง การดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั การคุมครองปอ งกันทีด่ นิ อนั เปน สาธารณสมบตั ิของแผนดิน
สําหรับพลเมืองใชร ว มกัน
1. อาํ นาจหนา ทใี่ นการคุม ครองปองกนั
2. หนาท่สี นับสนนุ ในการดาํ เนินการของหนวยงานท่มี ีอาํ นาจหนา ท่ตี ามกฎหมาย

เรอ่ื ง การดาํ เนนิ การจัดใหม หี นงั สอื สาํ คญั สาํ หรบั ท่ีหลวง
1. การย่นื คาํ ขอหรือแจง ความประสงคจะใหมีหนังสือสําคัญสําหรบั ที่หลวง
2. การรงั วัดเพอ่ื ออกหนังสอื สาํ คญั สําหรับทีห่ ลวง
3. การสอบสวนการประกาศ และการดําเนนิ การกรณมี ีการคดั คาน
4. การลงนามในหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง
5. การจัดทาํ ทะเบียนท่ีดินสาธารณประโยชน
6. การออกใบแทนหนงั สอื สาํ คัญสาํ หรบั ท่ีหลวง

หนา

7. การเปลย่ี นอํานาจหนาทีผ่ ูดแู ลรักษา 108
8. การเปล่ยี นหนงั สอื สาํ คญั แสดงกรรมสทิ ธ์ิเปนหนงั สือสําคญั สําหรบั ทีห่ ลวง 108
9. การออกหนังสอื สาํ คัญสําหรับทห่ี ลวง กรณีเปลี่ยนประเภทท่ีดนิ 108
10. การเพิกถอนหรือแกไ ขหนังสอื สาํ คญั สาํ หรบั ทห่ี ลวง 109
11. การรังวดั ออกหนงั สอื สาํ คญั สาํ หรับที่หลวงในทรี่ าชพสั ดุ 111
12. การรงั วัดออกหนงั สอื สําคัญสาํ หรับที่หลวงในเขตปฏริ ูปที่ดิน (ส.ป.ก.) 111
13. การรงั วัดออกหนงั สือสาํ คญั สาํ หรบั ท่ีหลวงในเขตจดั รปู ท่ดี นิ 112
14. การรงั วดั ออกหนังสือสําคญั สําหรบั ที่หลวงในเขตปาไม 113
15. การรงั วัดออกหนงั สือสําคญั สําหรบั ท่ีหลวงในเขตนคิ มสรางตนเอง 115
16. การรังวดั ตรวจสอบทส่ี าธารณประโยชนท ่ีไมม ีหนงั สอื สําคญั สําหรับทห่ี ลวง 115
เรอ่ื ง การบรหิ ารจัดการและการอนญุ าตใหใชป ระโยชนในทีด่ ินของรัฐ 116
1. ทบวงการเมอื งประสงคข อใชท ี่ดินสาธารณประโยชนอ ยางถาวร 117
2. ทบวงการเมอื งประสงคข อใชท่ีดินรกรางวางเปลาอยา งถาวร 117
3. ทบวงการเมอื งหรอื เอกชนขออนญุ าตใชป ระโยชนใ นที่ดินของรฐั ตามมาตรา ๙ 118

แหง ประมวลกฎหมายทีด่ ิน 119
4. ทบวงการเมอื งประสงคขอจดั หาผลประโยชนในที่ดนิ ของรัฐ 120
5. เอกชนขออนญุ าตดดู ทรายในท่ีดินสาธารณประโยชน 121
6. การขอสมั ปทานในทด่ี นิ ของรฐั 122
7. การขอเปลี่ยนสภาพท่ีดนิ อันเปนสาธารณสมบัติของแผน ดนิ สาํ หรับพลเมอื ง
122
ใชร วมกนั จากการใชเพ่ือสาธารณประโยชนอยางหนึ่งเปน อีกอยา งหน่งึ 124
8. การจัดทําโครงการจดั ที่ดินของรัฐขจดั ความยากจน 124
9. การจดั ที่ดินทาํ กนิ ใหช มุ ชนตามนโยบายรฐั บาล (คทช)
128
9.1 กระบวนการจัดที่ดนิ ทํากินใหช ุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) พน้ื ที่
ดําเนินการเปน ทีด่ นิ ในพ้ืนที่ปา สงวนแหง ชาติ 132

9.2 กระบวนการจดั ที่ดินทํากินใหชุมชนตามนโยบายรัฐบาล (คทช.) สําหรบั พนื้ ท่ี 138
ดาํ เนินการระยะที่ ๒ ในพื้นที่เขตปฏริ ูปทดี่ นิ ของ ส.ป.ก. 144
148
9.3 กระบวนการจัดทดี่ ินทํากินใหชมุ ชนตามนโยบายรฐั บาล (คทช.) จงั หวดั
นครศรธี รรมราช พ้ืนท่ีดาํ เนนิ การเปน ทด่ี ินในพน้ื ทป่ี า สงวนแหงชาติทเ่ี ปน
ปาชายเลน

9.4 กระบวนการการจัดท่ีดินทาํ กินใหช มุ ชนตามนโยบายรัฐบาลในพืน้ ทท่ี ด่ี นิ ราชพัสดุ
9.5 กระบวนการการจดั ทด่ี ินทาํ กินและที่อยูอาศัยใหชุมชนในท่ีดนิ สาธารณประโยชน
9.6 พื้นทีด่ าํ เนินการ

หนา

2. สํานักกฎหมาย

1. การดาํ เนินการของเจาพนักงานท่ดี ินเก่ยี วกบั การดาํ เนนิ คดแี พงและอาญา 151
2. การดาํ เนนิ การของเจาพนักงานทดี่ นิ เกีย่ วกับการดาํ เนนิ คดีปกครอง 152
3. คูมือการดําเนินการของเจาพนักงานท่ดี นิ จงั หวดั /สาขา กรณีถูกฟองคดปี กครอง 153
4. การดําเนนิ งานความรับผิดทางแพง ในสวนการปฏิบัติงานของเจาพนกั งานทด่ี นิ จังหวัด 155
และเจาพนักงานท่ดี ินจงั หวัดสาขา
4.1 กรณีท่ีหนึ่ง การดําเนินการเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดตามพระราชบัญญัติ 155
ความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
4.1.1 สวนท่ีหนึ่ง : กรณเี จาหนา ทีก่ ระทาํ ละเมิดตอ หนวยงานของรฐั
๑) ตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ / รายงานเหตุ 156
๒) แตง ตง้ั คณะกรรมการสอบขอ เทจ็ จรงิ ความรบั ผิดทางละเมิด 156
๓) คณะกรรมการฯ ดําเนินการสอบขอ เท็จจริง/ เสนอความเห็น 157
๔) ผูแตงตั้งวินิจฉยั สั่งการ /สง สาํ นวนใหก ระทรวงการคลงั ตรวจสอบ 158
๕) การเตรยี มความพรอมในการออกคาํ ส่ังหรือฟองคดี 160
๖) กรมท่ดี นิ ออกคําสัง่ ใหชดใชค าสนิ ไหมทดแทนหรือฟองคดี 161
๗) กระทรวงการคลงั แจงผลการพิจารณา 161
๘) ดําเนนิ การตามความเห็นของกระทรวงการคลัง 162
๙) การชาํ ระคาสนิ ไหมทดแทน 162
4.1.2 สวนท่ีสอง : กรณเี จาหนา ท่กี ระทําละเมดิ ตอ บคุ คลภายนอก
กรณี บคุ คลภายนอกฟอ งกรมทดี่ ินใหชดใชคาสินไหมทดแทน
๑) เตรยี มดําเนินการ 163
๒) แตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเทจ็ จริงความรับผิดทางละเมิด 164
๓) คณะกรรมการฯ ดาํ เนนิ การสอบขอเท็จจรงิ /เสนอความเห็น 164
๔) ผแู ตงต้งั วินิจฉยั สงั่ การ/สงสํานวนใหกระทรวงการคลงั ตรวจสอบ 166
๕) การเตรียมความพรอ มในการออกคาํ สัง่ หรอื ฟองคดี 168
๖) กรมทดี่ นิ ออกคําสง่ั ใหช ดใชคาสนิ ไหมทดแทนหรือฟอ งคดี 169
๗) กระทรวงการคลงั แจง ผลการพิจารณา 170
๘) ดําเนินการตามความเห็นของกระทรวงการคลงั 170
๙) การชําระคา สินไหมทดแทน 170
กรณี บุคคลภายนอกรอ งขอใหกรมท่ีดนิ ชดใชคา สนิ ไหมทดแทน
๑) รับคําขอ 171
๒) แตง ตั้งคณะกรรมการสอบขอเทจ็ จรงิ ความรบั ผดิ ทางละเมดิ 172
๓) คณะกรรมการฯ ดาํ เนินการสอบขอ เทจ็ จรงิ / เสนอความเห็น 173

หนา

๔) การขอขยายเวลาการพจิ าณาคําขอ ตามมาตรา ๑๑ แหง พ.ร.บ. 174
ความรบั ผิดทางละเมดิ ฯ 174
175
๕) ผูแตงต้งั วินิจฉัยสงั่ การ/สงสํานวนใหก รมทด่ี นิ 175
๖) แจง ผลการพจิ ารณา 176
๗) การชําระคา สินไหมทดแทน 176
4.2 กรณที ่ีสอง การดําเนินการเกย่ี วกบั ความรับผิดทางแพงตามประมวลกฎหมายแพง 176
177
และพาณชิ ย มาตรา ๔๒๐ และตามนิติกรรมสัญญา
๑) ตรวจสอบขอเทจ็ จรงิ / รายงานเหตุ
๒) เรยี กใหผ ูตองรบั ผดิ ชดใชค า เสยี หาย
๓) การชาํ ระคา เสยี หาย

3. กองการเจา หนา ที่

1. การยายขาราชการ 179
2. การรักษาราชการแทน 179
3. การรกั ษาการในตาํ แหนง 179
4. การปฏิบัติราชการแทน 179
5. การทดลองปฏิบัตริ าชการ 180
6.ชว ยราชการ/ปฏบิ ตั ิหนาท่ี 180
7. การคัดเลือกขาราชการเพ่ือแตง ตั้ง (เลื่อน) ใหดํารงตําแหนงประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน 180
8. การประเมนิ บุคคลเพื่อแตงตัง้ (เลอ่ื น) ใหดํารงตาํ แหนง ประเภทวิชาการระดับชํานาญการ 181
และระดับชาํ นาญการพิเศษ
9. การสอบคัดเลอื กขาราชการเพอื่ แตงตงั้ (เล่ือน/ยาย) ใหดาํ รงตําแหนงตา งๆ 181
10. การเสนอขอเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ และเหรยี ญจกั รพรรดมิ าลา ประจําป 181
11. การลาประเภทตางๆ 182
12. ทะเบยี นประวัตขิ าราชการ 182
13. มกี ารกลา วหาหรอื มกี รณีเปนที่สงสยั วา ขาราชการกระทาํ ผิดวนิ ัย 182
14. แนวทางการปฏบิ ัตกิ รณีขาราชการกรมทดี่ นิ ละท้งิ หนาที่ราชการ 182
15. แนวทางการลงโทษทางวินัย กรณีแบบพิมพโ ฉนดทดี่ นิ หนังสอื รบั รองการทําประโยชน 183
หรอื หนังสือกรรมสทิ ธิห์ องชุดสูญหาย
16. แนวทางการสอบสวนและพิจารณาโทษเจาหนา ที่ผเู กย่ี วขอ งและรบั ผดิ ชอบในการออก 183
หนงั สอื แสดงสทิ ธิในท่ดี ินหรือจดทะเบยี นสทิ ธิและนิติกรรมเก่ียวกับท่ีดนิ โดยมชิ อบ
17. แนวทางการลงโทษขาราชการท่กี ระทําผิดวินยั กรณีการออกหนังสอื แสดงสิทธใิ นที่ดนิ 183
การสอบเขต การตรวจสอบเนอ้ื ท่ี การแบงแยกหรือการรวมหนังสือแสดงสทิ ธใิ นทด่ี ินไป
โดยมิชอบ
18. แนวทางการดําเนินการทางวนิ ยั กรณีการเรยี กรองผลประโยชนต อบแทนโดยมิชอบ 184

หนา

19. แนวทางปฏบิ ัติและหลักเกณฑเก่ียวกับการรองเรยี นกลาวโทษขาราชการและการ 185
สอบสวนเร่ืองราวรอ งเรียนกลาวโทษขาราชการวา กระทาํ ผดิ วนิ ยั 185
185
20. แนวทางเกี่ยวกบั หลักเกณฑแ ละวิธีการเสรมิ สรางและพัฒนาใหผูอ ยใู ตบ ังคบั บญั ชามี 186
วนิ ยั และปองกันมิใหผ ูอยใู ตบังคับบัญชากระทําผิดวนิ ัย 186
186
21. การหา มหักเงินมัดจําคารังวัดทด่ี ิน 187
22. แนวทางการปฏิบัติกรณีมกี ารทจุ ริตเก่ียวกบั การเงินและบญั ชี 187
23. แนวทางในการบรกิ ารประชาชนและการเรงรดั การสอบสวน (เรอื่ งรอ งเรียน) 187
24. การแบงแยกทีด่ นิ เปน แปลงยอ ยเพ่ือหลกี เล่ียงการขออนุญาตทําการจัดสรรที่ดนิ 188
25. การฉอ โกงโดยใชโ ฉนดท่ีดินปลอม 188
26. แนวทางในการลงโทษขา ราชการผูกระทําผดิ ทางวนิ ัยอยา งรายแรง 189
27. การรายงานการดาํ เนินการทางวนิ ยั ขา ราชการตอ อ.ก.พ. กระทรวงมหาดไทย 189
28. การรายงานการดาํ เนนิ การทางวนิ ัยตอ ก.พ. 191
29. การวิเคราะหก ารใชอตั รากาํ ลัง 191
191
4. สาํ นักงานเลขานุการกรม 192
195
1. การช้แี จงขาว / สถานการณทีเ่ กยี่ วของและสงผลกระทบตอภาพลักษณกรมที่ดนิ 196
2. ชอ งทางการประชาสัมพันธแผนงาน / โครงการผา นสํานกั งานเลขานุการกรม 197
198
5. ศนู ยด าํ รงธรรมกรมทดี่ นิ 199
199
แนวทางดําเนินการแกไขปญหาเร่ืองรองเรียนรองทุกขของสาํ นกั งานท่ีดนิ (เจาพนกั งานทด่ี ิน) 201
1. กรณีเรอ่ื งรองเรียนรองทกุ ขท ัว่ ไป 204
2. กรณเี รอ่ื งทูลเกลา ฯ ถวายฎกี าขอพระราชทานพระมหากรุณา 207
3. กรณีเรอื่ งสถานการณข า วสารซึ่งเผยแพรทางสือ่ มวลชน และ Social Network 209
210
6. กองคลงั 211

1. การรบั เงิน – นําสง/นาํ ฝากคลัง
๒. วงเงินเกบ็ รกั ษา
3. การจายเงิน
4. การตรวจสอบยอดเงนิ คงเหลอื ประจําวนั
5. การเบกิ จา ยเงนิ

5.1 เบกิ จา ยคา ใชจ ายในการเดนิ ทางไปราชการ
5.2 การเบิกเงนิ คา เชา บา นขาราชการ
5.3 การเบกิ เงินคารักษาพยาบาล
5.4 การขอรบั และการจา ยเงินบําเหนจ็ บํานาญขา ราชการและลูกจา งประจํา
6. เงนิ ฝากคา ใชจายในการจัดเกบ็ อากรแสตมป รหัสบญั ชี 904
7. เงนิ ฝากคาใชจ ายในการจัดเก็บภาษีอากรใหแกราชการสว นทองถ่ิน รหัสบญั ชี 915
8. เงนิ ฝากคาธรรมเนยี มขอ มลู ขาวสารของราชการ รหสั บัญชี 771

หนา

9. การบันทกึ บัญชี 213
10. การจดั ทํารายงาน/ระยะเวลา/รายงานใครบา ง 213
11. รายงานของผูส อบบญั ชีและงบการเงินกรมที่ดนิ 215
12. การตรวจสอบ 215
13. การปรับปรงุ บญั ชีและแกไ ขขอผิดพลาด 221
14. รหสั ผใู ชงาน ในระบบ GFMIS 223

7. กองฝก อบรม

๑. การสอนงาน/สอนแนะงาน (Coaching) 225
๒. การพฒั นารายบคุ คล (Individual Development Plan: IDP) 225
๓. โครงการความรเู ร่ืองทีด่ นิ เพ่อื ประชาชน 225
4. คา ใชจา ยเกีย่ วกับการจัดการฝก อบรม 225
5. การสงบคุ ลากรเขา รับการฝก อบรม 226

8. กองแผนงาน

1. ภารกจิ เจา พนักงานทด่ี นิ 227
1.1 การจัดทํางบประมาณ 228
1.2 การบริหารงบประมาณ 229
1.3 การขอสนบั สนุนงบประมาณเพม่ิ เติม 230
2. การจดั ทาํ แผนงาน/โครงการเพ่ือขอรับการสนับสนุนงบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัด 231
และกลุม จงั หวดั
3. การติดตามและเรงรัดการใชจ ายงบประมาณ 236
4. การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน 237
4.1 การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านประจาํ เดอื นของสาํ นกั งานที่ดิน (ในรูปแบบกระดาษ) 237
4.2 การรายงานผลการปฏิบัติงานประจําเดือนของสํานักงานที่ดิน ในรูปแบบดิจิทัล 239
(ระบบ MIS)

9. กองพสั ดุ

1. กระบวนการ : การทําลายแบบพมิ พห นังสอื แสดงสทิ ธใิ นท่ดี นิ 241
1.1 การอนุมตั ิใหทําลายแบบพมิ พหนงั สือแสดงสิทธิในที่ดนิ 241
1.2 แตง ตั้งคณะกรรมการทําลายแบบพิมพหนงั สือแสดงสิทธใิ นทีด่ นิ 241
1.3 การรายงานผลการดําเนินการทาํ ลายแบบพิมพห นงั สือแสดงสทิ ธใิ นที่ดนิ 241
ใหกรมท่ีดนิ ทราบ 241
1.4 การกําชับใหเ จาหนาที่ปฏิบัติตามมาตรการลดการทําลายแบบพมิ พหนังสอื แสดง
สทิ ธใิ นทดี่ นิ

หนา

2. กระบวนการ : แบบพิมพห นังสือแสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ สูญหาย 242
2.1 มอบหมายใหเจาหนาที่ดาํ เนนิ การแจง ความรองทกุ ขหรอื กลาวโทษตอพนักงาน 242
สอบสวนเพอ่ื สืบสวนสอบสวนหาตัวผกู ระทาํ ผิดมาลงโทษตามกฎหมาย 242
2.2 แตง ตั้งคณะกรรมการสอบสวนหาตัวผรู ับผดิ ทางแพง เพอ่ื ชดใชคาแบบพิมพ 242
ใหแกท างราชการ 242
2.3 แตงตง้ั คณะกรรมการสอบสวนขอ เท็จจริง 243
2.4 การรายงานผลการดําเนินการใหก รมทีด่ ิน 243
243
3. การตรวจสอบและซอ มแซมครภุ ณั ฑ 243
3.๑ การสง ซอ มเคร่ืองมือสํารวจรงั วัดและอุปกรณ 244
3.๒ การเบิกจายหมดุ หลกั เขตทดี่ นิ ชนดิ ทองเหลือง 244
3.3 การเบกิ จายหมุดหลักฐานโครงงานแผนที่ชนิดทองเหลือง 245
245
4. การบริหารงานของเจาพนักงานทดี่ นิ ท่เี กี่ยวของกบั การพสั ดุ ตามพระราชบัญญัติ 247
การจดั ซ้ือจดั จางและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั พ.ศ. 2560 (ฉบับใหม) 247
4.1 การมอบอาํ นาจเกี่ยวกับการพสั ดุ 247
4.2 การเรง รดั ดาํ เนนิ การเกยี่ วกับจัดซือ้ จัดจา ง 250
4.3 การจัดทาํ แผนปฏิบัติการจดั ซื้อจดั จาง 251
4.4 การประกาศผลการพจิ ารณาการจดั ซื้อจัดจางของหนว ยงาน 251
4.5 คําส่ังทางปกครองเกย่ี วกบั การพัสดุ 252
4.6 การเปด เผยราคากลางของทางราชการ 252
4.7 วธิ จี ดั ซือ้ จดั จาง 253
4.8 การรับฟง ความคดิ เหน็ รางขอบเขตของงาน (TOR) หรือรายละเอยี ดของพสั ดุ 256
(Spec) ที่จัดซ้อื จดั จา ง และเอกสารเชิญชวน 257
4.9 การแตงตัง้ คณะกรรมการและคา ตอบแทนผรู ับผดิ ชอบการจดั ซอ้ื จดั จา ง 258
4.10 คณุ สมบตั ขิ องผูที่จะยื่นขอ เสนอในการจัดซ้อื จัดจา ง 258
4.11 หลกั การพิจารณาคัดเลอื กขอ เสนอ 259
4.12 การประกาศผลผชู นะการจัดซ้ือจดั จา ง และการอุทธรณ 259
4.13 การทําสัญญา 259
4.14 การแกไ ขสญั ญา
4.15 การงด ลดคาปรบั ใหแ กคสู ัญญาหรือการขยายระยะเวลาทาํ การตามสัญญาหรือ
ขอ ตกลง
4.16 การบอกเลกิ สัญญาหรือขอตกลง
4.17 การบรหิ ารสัญญาและตรวจรบั พัสดุ
4.18 การทง้ิ งาน
4.19 บทกําหนดโทษ

10. กลมุ ตรวจสอบภายใน หนา

เรอ่ื ง แนวทางการตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านในสาํ นกั งานท่ดี ิน 261
1. เงินคงเหลอื ประจําวันถูกตอง 261
2. กรณยี อดเงนิ ฝากธนาคารไมตรงกบั รายการฝาก - ถอนของธนาคาร (Bank Statement) 262
3. การนาํ เงนิ รายไดคาธรรมเนยี ม ภาษอี ากร สงคลงั ภายในระยะเวลากาํ หนด 263
4. การเกบ็ รกั ษาเงนิ มัดจาํ รังวัดไมเ กินวงเงนิ 264
5. การจดั ทาํ บัญชคี รบถวนถูกตอง 264
6. การเรียกเก็บเงินคาใชจ า ยในการรงั วดั ถูกตอ ง 266
7. เงนิ มัดจาํ รงั วดั 267
8. การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมทีม่ ีการเปลย่ี นแปลงกรรมสิทธ์ิ ตองมีการปรับปรงุ 268
269
ขอ มลู ทะเบียนที่ดินในระบบคอมพวิ เตอรใหเปน ปจจุบนั รวมท้งั การสาํ รองขอมลู 270
9. การควบคมุ งานรงั วัดและการรายงานผล 273
10. การควบคุมแบบพิมพเ อกสารสทิ ธิ
275
11. กลมุ พัฒนาระบบบรหิ าร 276
279
- แนวทางการตรวจสอบการดําเนนิ การตามพระราชบัญญตั กิ ารอํานวยความสะดวกในการ 279
พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 279
280
12. ศนู ยปฏบิ ตั กิ ารตอตา นการทจุ รติ กรมที่ดนิ 281
281
1. มาตรการภายในเพ่ือสง เสรมิ ความโปรงใสและปองกนั การทุจรติ กรมที่ดนิ 282
2. มาตรการสง เสรมิ คณุ ธรรมและความโปรง ใส กรมทดี่ ิน 283
3. จริยธรรมของเจา พนักงานทด่ี ิน 285
285
3.1 จรยิ ธรรมในการดาํ รงตน
3.2 จรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั ติ นตอ ผูอ น่ื 287
3.3 จริยธรรมในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ 287
4. จริยธรรมท่ีเก่ียวขอ งในการปฏบิ ัตหิ นา ทขี่ องเจา พนักงานทด่ี นิ 288
4.1 หนา ท่คี วามรับผิดชอบหลัก 288
4.๒ ดานแผนงาน
4.3 ดา นบรหิ ารงาน
4.4 ดานบริหารทรัพยากรบคุ คล
4.5 ดานบรหิ ารทรัพยากรและงบประมาณ

13. สาํ นักงานตรวจราชการ

1. การตรวจราชการของผูตรวจราชการกรมท่ดี ิน ประจาํ ปฯ
1.1 การเตรยี มความพรอ มกอนรับการตรวจ
1.2 ระหวางรับการตรวจ
1.3 หลังการตรวจ

หนา

2. บันทกึ ขอมูลการตรวจราชการตามระบบ E-Inspection 289
3. การประชมุ ขาราชการสาํ นกั งานที่ดินจงั หวัด สาขา สวนแยกและสาํ นกั งานทด่ี นิ อาํ เภอ 289
4. การตรวจราชการในอาํ นาจหนา ท่ขี องเจา พนกั งานท่ดี นิ จงั หวัด 289
291
14. ศนู ยขอมลู แผนทีร่ ูปแปลงท่ีดนิ 291
291
“ระบบการใหบ ริการขอมลู ที่ดนิ ของรฐั ” โปรแกรมศนู ยขอมลู แผนทรี่ ปู แปลงท่ีดิน 299
http://nlpc.dol.go.th 299
1. ความเปนมา
2. การลงทะเบยี นใชง านโปรแกรม

15. สาํ นักงานบริหารโครงการพฒั นากรมที่ดินฯ

1. การพัฒนาตนเองดานภาษาองั กฤษ
2. สอบถามปรกึ ษาขอสงสยั เกย่ี วกบั ภาษาอังกฤษ หรือการแปลเอกสารท้ังทางราชการ

และเอกสารอื่น ๆ

งานทะเบยี นทด่ี นิ

1. สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคญั
2. สำนักมาตรฐานการทะเบยี นที่ดนิ
3. สำนักส่งเสริมธรุ กิจอสังหารมิ ทรัพย์
4. สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ



1

สำนกั มาตรฐานการออกหนงั สอื สำคัญ

เรอ่ื ง วิธกี าร หมายเหตุ
๑. ที่ดนิ ตอ้ งห้ามมใิ ห้ออกโฉนด
๑.๑ ที่ดนิ ทร่ี าษฎรใช้ประโยชน์รว่ มกนั - กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓
ทด่ี ิน
๑.๒ ที่ดินหวงห้ามไว้เพ่ือประโยชน์ตามพระราชบัญญัติ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ฯ ขอ้ ๑๔

ว่าด้วยการหวงห้ามท่ีดินรกร้างว่างเปล่าอันเป็น

สาธารณสมบัติของแผ่นดิน พุทธศักราช ๒๔๗๘

๑.๓ ที่ดินที่คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ สงวน

และพัฒนาท่ดี นิ เพอื่ จดั ให้แกป่ ระชาชน

๑.๔ ท่ีดินของรัฐที่คณะกรรมการจัดท่ีดินแห่งชาติ

ส ง ว น ห รื อ ห ว ง ห้ า ม เพื่ อ ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ใ ช้

ประโยชน์ร่วมกนั

๑.๕ ทีด่ นิ ที่คณะรัฐมนตรสี งวนไว้เพ่ือรกั ษาทรัพยากร

ธรรมชาตหิ รอื เพอ่ื ประโยชนส์ าธารณะอยา่ งอื่น

๒. ท่ีดินท่ีสามารถออกหนังสือ ๒.๑ ทเี่ ขา ทภี่ เู ขา และพ้ืนที่ท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง- - กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓

แสดงสิทธิในท่ีดินได้หากอยู่ มหาดไทย ประกาศหวงห้ามตาม มาตรา ๙ (๒) (พ.ศ. ๒๕๓๗) ฯ ข้อ ๑๔

ในเง่ือนไข แห่งประมวลกฎหมายทดี่ ิน หากมีสทิ ธคิ รอบครอง

โดยชอบดว้ ยกฎหมายตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ

๒.๒ ท่ีเกาะ หากมีหลักฐาน ส.ค.๑, ใบจอง, ใบเหยียบย่ำ,

น.ค. ๓, ก.ส.น. ๕ หรือเป็นท่ีดินที่คณะกรรมการ

จัดท่ีดินแห่งชาติได้อนุมัติให้จัดแก่ประชาชน

หรือเป็นที่ดินซึ่งได้มีการจัดหาผลประโยชน์ตาม

มาตรา ๑๐ และ ๑๑ แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน

โดยคณะกรรมการจดั ทีด่ นิ แห่งชาตไิ ด้อนุมตั ิแล้ว

๒.๓ ท่ีดินในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ

เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หรือ

พื้นท่ีท่ีได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร หากมี

หลักฐานการแจ้งการครอบครอง (ส.ค. ๑)

หรือได้ออกใบจอง, ใบเหยียบย่ำ, ตราจองไวก้ ่อน

การสงวนหรอื หวงห้ามท่ดี ิน

๒.๔ ที่ดินที่อยู่ในเขตปฏิรูปที่ดิน หากมีหลักฐาน

ส.ค. ๑, ใบแจ้งความประสงค์จะได้สิทธิในท่ีดิน

2๒

เรื่อง วธิ ีการ หมายเหตุ
ตามมาตรา ๒๗ ตรี หรือมีใบจอง, ใบเหยียบย่ำ
หรือมีหลักฐาน น.ค. ๓, ก.ส.น. ๕ ก่อนประกาศ
เปน็ เขตปฏริ ูปท่ีดิน

๒.๕ พ้ืนที่ที่มีความลาดชันโดยเฉล่ียร้อยละ ๓๕
ขึ้นไป หากผู้ครอบครองท่ีดินมีสิทธิครอบครอง
มาก่อนการบังคับใช้ประมวลกฎหมายท่ีดิน
(ก่อน ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗) หรือมีหลักฐาน

แสดงว่าเป็นผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินโดยชอบ
ดว้ ยกฎหมาย เช่น มีหลักฐาน ส.ค. ๑

๓. “ผู้มีสิทธิครอบครองใน ๓.๑ วัดซ่งึ ครอบครองท่ีดินโดยไมม่ หี ลักฐานสำหรับ 1. หนั งสื อกรมท่ี ดิ น
ที่ดิน” ที่สามารถขอออก ที่ดนิ มาก่อนประมวลกฎหมายท่ดี นิ ใช้บงั คับ ท่ี มท0516.2/
33945 ลงวันท่ี 11
โฉนดท่ีดินตามมาตรา ๕๙ ๓.๒ การขอออกโฉนดทด่ี นิ ทง่ี อกริมตลิ่ง
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน ๓.๓ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ขอออก พฤศจกิ ายน2545
ได้แม้ไม่มีหลักฐานสำหรับ โฉนดที่ดินในท่ีดินรกร้างว่างเปล่าท่ีคณะกรรมการ 2. ประมวลกฎหมาย
จัดที่ดินแห่งชาติมีมติให้นำมาจัดหาผลประโยชน์ แพ่ งและพาณิ ชย์
ทด่ี นิ เช่น ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 11 แห่งประมวล มาตรา 1308

กฎหมายท่ีดนิ 3. หนั งสื อกรมที่ ดิ น

๓.๔ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม ด่ วน ม าก ที่ ม ท
(ส.ป.ก.) ขอออกโฉนดที่ดินในที่ดินซึ่ง ส.ป.ก. 0625/30157
ลงวันท่ี 11 สิงหาคม
ได้กรรมสทิ ธ์มิ าเพือ่ ดำเนนิ การปฏริ ูปท่ดี ิน
2535
3.5 ในเขตโครงการจัดรปู ที่ดนิ
4. บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง

ระหว่าง กรมที่ดินกับ

สำนักงานปฏิรูปท่ีดิน

เพ่ื อเกษ ตรกรรม

(ส.ป.ก.)ฯพ.ศ. 2558

5.ระเบยี บกรมที่ดินว่าด้วย

ก า ร อ อ ก ห นั ง สื อ

แสดงสิทธิในท่ีดิน

ในเขตโครงการ

จดั รปู ทดี่ นิ พ.ศ.2553

๓3

เรือ่ ง วิธีการ หมายเหตุ
๔. ผูเ้ ยาว์ขอออกโฉนดท่ดี นิ
- ผู้เยาว์มีอายุต่ำกว่า ๗ ปี ต้องให้ผู้อุปการะ - ประมวลกฎหมายแพ่ง

(ผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้ใช้อำนาจปกครอง และพาณิชย์ มาตรา

หรือผู้ปกครองตามแตก่ รณ)ี ทำการแทน ๑๕๖๖

- ผู้เยาว์มีอายุเกิน ๗ ปี หากให้ถ้อยคำและลงช่ือ - หนังสือกรมท่ีดิน ที่

รบั รองแนวเขตทีด่ ินได้สามารถใหน้ ำการรงั วดั โดย มท ๐๖๐๖/ว. ๘๗๑๒

ไม่ต้องให้ผู้อุปการะทำการแทน แต่หากไม่ ลงวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม

สามารถให้ถ้อยคำและลงชื่อรับรองแนวเขตได้ ๒๕๑๗ เรื่อง ผู้เยาว์

ต้องให้ทั้งบิดาและมารดายื่นคำขอรวมกัน เว้นแต่ นำทำการเดินสำรวจ

จะอยู่ในเง่ือนไขซึ่งกฎหมายกำหนดให้อำนาจ ออกโฉนดที่ดิน

ปกครองอยู่กับบิดาหรือมารดาฝา่ ยเดยี ว

๕. การออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ใน

เขตปา่ ไม้
๕.๑ กรณีต้องแต่งตั้งคณะ ๑) ท่ีดินตั้งอยใู่ นตำบลทม่ี ปี า่ สงวนแห่งชาติ อทุ ยาน - กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๔๓

กรรมการตรวจพิ สูจน์ แห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตวป์ ่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ข้อ ๑๐
ท่ีดิน หรือเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี และกรมป่าไม้ (๓)

หรือกรมพั ฒนาที่ ดิน ยังไม่ได้ขีดเขตป่ าสงวน
แห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หรือเขตป่าไม้ถาวร ลงในระวาง
(ต้องตั้งคณะกรรมการทุกกรณีไม่ว่าจะอยู่ในเขตป่า

ไม้หรอื ไมอ่ ย่ใู นเขตป่าไม้)

๒) ที่ดินมีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวหรืออยู่ในเขต

ป่าสงวนแห่งชาติ เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษา

พันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หรือเขตป่าไม้

ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี (กรณีที่ขีดเขตป่า
ในระวางฯ แลว้ )

๕.๒ กรณีไม่ต้องแต่งต้ังคณะ กรณีท่ีดินมิได้มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวเขตป่า - หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท
กรรมการตรวจพิ สูจน์ กล่าวคือมิได้ล้ำหรืออยู่ในเขตป่า มีเพียงแนวเขต ๐๕๑๖.๒/๒๔๖๗๓
ทด่ี ิน ติดต่อ (มีป่าเป็นข้างเคียง) ไม่ต้องตั้งคณะกรรมการ ลงวันท่ี ๒๙ สิงหาคม

ตรวจพิสูจน์ท่ีดิน เนื่องจากบันทึกข้อตกลงระหว่าง ๒๕๔๙

4๔

เร่ือง วธิ ีการ หมายเหตุ
กรมที่ดินกับกรมป่าไม้ พ.ศ.๒๕๓๔ ข้อ ๖.๔
ได้ ก ำ ห น ด ให้ ก ร ม ป่ า ไม้ ม อ บ ห ม า ย ให้ เจ้ าหน้ าท่ี
ออกไประวงั ชีแ้ นวเขตในฐานะเป็นข้างเคยี ง

๕ .๓ การเสนอความเห็ น เสนอว่าสมควรออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
ของคณะกรรมการ รับรองการทำประโยชน์ให้ได้หรือไม่ เพียงใดหากผล
ตรวจพิสูจน์ที่ดินต่อ การตรวจพิสูจน์ท่ีดินปรากฏว่าที่ดินไม่อยู่ในเขตป่า
ผวู้ า่ ราชการจังหวดั หรือที่ดนิ นั้นอยู่ในเขตป่า แต่ผู้ขอได้ครอบครองและ
ทำประโยชน์ในท่ีดินโดยชอบด้วยกฎหมาย มาก่อน
วนั ที่ทางราชการกำหนดให้ที่ดินนน้ั เปน็ ป่าและไม่มี
ผ้คู ัดค้านภายในกำหนดเวลาที่ประกาศผ้วู ่าราชการ
จังหวัดต้องส่ังการให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีพิจารณา
ดำเนนิ การออกโฉนดที่ดินใหแ้ ก่ผ้ขู อตอ่ ไป

๕.๔ การตรวจสอบกรณีที่ดิน ๑) ตรวจสอบหลักฐานเดิมและหลักฐานทางทะเบียน ๑. มาตรา ๕๖/๑ ประมวล
มีอาณาเขตติดต่อคาบ ที่ดินว่าผู้ขอมีสิทธิในที่ดิน และหลักฐานเดิม กฎหมายที่ดนิ
เกี่ยวหรืออยู่ในเขตที่ดิน ดังกล่าวถูกต้องตรงตามหลักฐานที่ทางราชการ ๒. ระเบียบกรมท่ีดินวา่ ด้วย
การตรวจสอบท่ีดิน
ของรัฐ มอี ยหู่ รือไม่
๒) ตรวจสอบว่าที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้อง เพ่ือออกโฉนดท่ีดิน
ตรงกบั หลกั ฐานทด่ี นิ เดมิ ทน่ี ำมาแสดงหรือไม่ หรือหนังสือรับรอง
๓) ตรวจสอบสภาพการทำประโยชน์ว่ามีความเป็นไปได้ การทำประโยชน์
ตรงกับที่ได้แจ้งในหลักฐานท่ีนำมาแสดงในการขอ กรณีเป็นที่ดินที่มี
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ อ าณ าเข ต ติ ด ต่ อ
หรอื ไม่ คาบเกี่ยวหรืออยู่
๔) กรณีชื่อผู้ขอไม่ตรงกับหลักฐานเดิม ให้สอบสวนและ ในเขตท่ีดินของรัฐ
บันทึกถ้อยคำผู้ขอ ผู้ปกครองท้องที่และผทู้ ่ีเชื่อถอื ได้ ดว้ ยวิธอี น่ื พ.ศ.๒๕๕๑

ว่ามี การครอบครองและทำประโยชน์ ในท่ี ดิ น

ต่อเนื่องมาจากผู้มีชื่อในหลักฐานท่ีดินเดิมอย่างไร

ตั้งแต่เมื่อใด

๕) กรณีมีเหตุอันสมควรสงสัยเป็นอย่างยิ่งว่า ท่ีดิน

อาจไม่ตรงกับหลักฐานท่ีผู้ขอนำมาแสดงให้

เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด หรือเจ้าพนักงานที่ดิน

๕5

เร่อื ง วิธกี าร หมายเหตุ
จงั หวดั สาขา แต่งต้งั คณะกรรมการอย่างนอ้ ย ๓ คน
เพื่อตรวจสอบสภาพที่ดินและการครอบครอง
ทำประโยชน์เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงว่า เป็นท่ีดิน
ตรงตำแหนง่ ตามหลักฐานเดิมหรอื ไม่ อย่างไร

๖) หากการดำเนินการตามข้อ 1) – ๕) ยังไม่ได้
ข้อยุติว่าเป็นท่ีดินตรงตามหลักฐาน และเป็น
ที่ดินที่อยู่ในหลักเกณฑ์จะออกโฉนดที่ดินหรือ

หนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ให้ส่งเร่ืองให้
กรมท่ีดินตรวจสอบกับระวางแผนท่ีรูปถ่าย
ทางอากาศหรือระวางรูปถ่ายทางอากาศฉบับท่ี
ทำขึน้ กอ่ นสุดเทา่ ทที่ างราชการมอี ยู่

๕.๕ การพิจารณาผลการอ่าน ภาพถ่ายทางอากาศเป็นเพียงเครื่องมือหรือ - ค ำ พิ พ า ก ษ า ข อ ง

แปล และตีความภาพถ่าย ข้อเท็จจริงประกอบการวินิจฉัยเกี่ยวกับการครอบครอง ศาลปกครองสูงสุด

ทางอากาศ และทำประโยชนใ์ นที่ดนิ พิพาทเทา่ น้ันความแมน่ ยำ คดีหมายเลขแดง ท่ี

ในการอ่าน แปล และตีความภาพถ่ายทางอากาศ อ. ๓๙๗/๒๕๕๘

ต้องมีการสำรวจศึกษาพื้นที่จริงรวมทั้งประสบการณ์

ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีผู้เกี่ยวข้องด้วยในการ

พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน จึงต้องมี

ข้อมลู หรอื ขอ้ เท็จจริงอน่ื มาประกอบการพิจารณาดว้ ย

๖. การออกหนังสือแสดงสิทธิ

ในที่ดินในเขตท่ีเขา ที่ภูเขา

และท่ีลาดชันเฉลยี่ เกนิ ๓๕ %

๖.๑ หลักเกณฑ์การตรวจสอบว่า ๑) ลักษณะ (เส้นชั้นความสูง) และช่ือท่ีปรากฏใน - หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี
ทด่ี ินบริเวณใดเป็นที่เขา แผนท่ีภูมิประเทศของกรมแผนท่ีทหาร มาตรา มท ๐๗๑๙/๓๕๔๓๖
ทีภ่ ูเขา สว่ น ๑ : ๕๐,๐๐๐
ลงวันท่ี ๑๔ ตุลาคม
๒) การเรยี กของประชาชนในท้องถนิ่
๒๕๔๒ เร่ือง การดำเนิน
๓) การตรวจสอบสภาพพ้ืนท่ีจรงิ
การเพิกถอน น.ส. ๓ ก.
๔) โครงสร้างทางธรณวี ิทยา
(ตอบข้อหารือจังหวัด
๕) ผลการอ่าน แปล ตีความรูปถ่ายทางอากาศหรือ เชียงราย)
ภาพจากดาวเทยี ม

6๖

เรอ่ื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
๖.๒ การออกหนังสอื แสดงสิทธิ มาตรา ๕๙ ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน - มาตรา ๕๙ ตรี แห่ ง

ในที่ดินจากหลักฐานส.ค.๑ และระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ประมวลกฎหมายที่ดิน
กรณี เนื้ อท่ี ที่ ทำการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๒) ข้อ ๘ ถ้าปรากฏว่าท่ีดิน แ ล ะ ระ เบี ย บ ข อ ง
รังวัดใหม่แตกต่างไปจาก มีอาณาเขต ระยะของแนวเขต และที่ดินข้างเคียง คณะกรรมการจัดที่ดิน
เนื้ อท่ี ตามห ลั กฐาน ทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการแจ้งการครอบครอง แห่งชาติฉบับท่ี ๑๒
ส.ค. ๑ ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวล (พ.ศ. ๒๕๓๒) ขอ้ ๘

กฎหมายท่ีดิน พ.ศ. 2497 เช่ือได้ว่าเป็นท่ีดินแปลง
เดียวกัน แต่เน้ือที่ท่ีคำนวณได้แตกต่างไปจากเน้ือที่
ต าม ห ลั ก ฐ า น ก าร แ จ้ งก าร ค รอ บ ค ร อ งดั งก ล่ า ว
ใหพ้ นักงานเจ้าหนา้ ท่ีออกโฉนดท่ีดินหรอื หนังสือรับรอง
การทำประโยชน์แล้ว แต่ไม่เกินเน้ือท่ีที่คำนวณได้
ใน กรณี ที่ ระยะของแน วเขตที่ ดิ น ผิ ด พ ลาด
คลาดเคล่ือน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อท่ี
ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว เม่ือผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียง
ได้ลงช่ือรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้องครบถ้วน
ทกุ ด้าน

๖.๓ แนวทางการตรวจสอบ ๑) ตรวจสอบขอบเขตของดินซึ่งใช้หมายเลข ๔๒ - หนังสือกรมที่ดิน ที่

พื้น ที่ค ว าม ล าด ชัน (Slope Complex) จากแผนท่ีดินระดับภาค มท ๐๗๑๓/ว ๒๒๒๓๙

โดยเฉลี่ยเกิน ๓๕ % มาตราส่วน ๑ : ๕๐๐,๐๐๐ หรือแผนที่ดินระดับ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม

ขนึ้ ไป จังหวัดขนาดมาตราส่วน ๑ : ๑๐๐,๐๐๐ หรือ ๒๕๓๑ เรื่อง นโยบาย

๑ : ๕๐,๐๐๐ ป่าไม้แหง่ ชาติ

๒) สำนักงานท่ีดินสามารถส่งเรื่องผ่านสถานพี ัฒนา

ที่ดินในพ้ืนท่ีเพื่อให้กรมพัฒนาที่ดินตรวจสอบ

โดยหลักฐานท่ีต้องส่งใหก้ รมพฒั นาทดี่ ิน ได้แก่

- กรณีเป็นงานรังวัดทำแผนที่ช้ันหน่ึง ให้ส่งสำเนา

แผนท่ีภูมิประเทศมาตราส่วน ๑ : ๕๐,๐๐๐ ชดุ L7017

เฉพาะบริเวณท่ีต้องการตรวจสอบซึ่งได้แสดงขอบเขต

หรือรูปแปลงที่ดินโดยหมายสีแสดงตำแหน่งดังกล่าว

ไว้อย่างชัดเจนพร้อมระบุหมายเลขระวางในระบบ

พิกดั ฉากUTMและคา่ พิกดั ฉากUTMรอบแปลงทีด่ นิ

๗7

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
- กรณีเปน็ งานรังวดั ทำแผนท่ชี นั้ สองใหส้ ง่ สำเนาระวาง
แผนท่ี เพื่ อการออกโฉนดท่ี ดิ น มาตราส่ วน
๑ : ๔,๐๐๐ ชุด L7017 เฉพาะบริเวณที่ต้องการ
ตรวจสอบซ่ึงได้แสดงขอบเขตหรือรูปแปลงท่ีดิน
โดยหมายสีแสดงตำแหน่งไว้อย่างชัดเจน พร้อมระบุ
หมายเลขระวางในระบบพิกัดฉาก UTM และจุดตัด
เส้นกริดเพ่ือให้สามารถระบุตำแหน่งที่ดินขอบเขต
ท่ดี ินท่ตี อ้ งการตรวจสอบในระบบ UTM ได้
- ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ลงนามรับรองในระวาง
และเอกสารท่ีสง่ ใหท้ ำการตรวจสอบดว้ ย

๖.๔ แนวทางการพิจารณา ๑) กรณีผู้ขอมีหลักฐาน ส.ค.๑ โดยมีการครอบครอง - หนังสือกรมที่ดิน ที่

ออกโฉนดที่ ดิ นหรือ และทำประโยชน์ในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย มท ๐๗๑๓/ว ๑๙๗๗๙

ห นั งสื อรั บ รอ งก าร ถือว่าผู้ขอเป็นผู้มีสิทธิในที่ดินตามประมวล ลงวันที่ ๑๕ กันยายน

ทำประโยชน์ในพ้ืนที่ กฎหมายท่ีดิน สามารถออกหนังสือแสดงสิทธิ ๒๕๓๑ เรื่องนโยบาย

ความลาดชันโดยเฉลี่ย ในท่ดี นิ ได้ ปา่ ไม้แหง่ ชาติ

เกนิ ๓๕ % ข้นึ ไป ๒) กรณีผู้ขอมีหลักฐานการได้สิทธิในที่ดินมาก่อน - หนังสือกรมที่ดิน ที่

วันที่มีมติคณะรัฐมนตรี (วันที่ ๓ ธันวาคม มท ๐๕๑๖.๕/๑๔๒๙๖

๒๕๒๘) โดยมีการครอบครองและทำประโยชน์ ลงวันที่ ๑๗ มิถุนายน

ในที่ดิน และหลักฐานดังกล่าวออกมาโดยชอบ ๒๕๕๘ เรื่อง ขอทราบ

ด้วยกฎหมายถือว่าเป็นผู้มีสิทธิในที่ดินตาม หลักเกณฑ์และแนวทาง

ประมวลกฎหมายที่ดิน สามารถออกหนังสือ ปฏิบัติเก่ียวกับการออก

แสดงสทิ ธใิ นท่ดี ินได้ เอกสารสิทธิในที่ดินท่ีมี

ค ว า ม ล า ด ช ัน เ ฉ ลี ่ย

เกินกว่า ๓๕ % (ตอบ

ข้อหารือกรมป่าไม้)

๗. การออกหนังสือแสดงสิทธิ - สามารถขอออกโฉนดที่ดินได้ท้ังกรณีเป็นการ - หนังสือกรมที่ดิน ที่
ในทด่ี นิ ในเขตปฏริ ูปท่ดี ิน เฉพาะรายและการเดินสำรวจออกโฉนดทด่ี ิน มท ๐๕๑๖.๕/๔๓๕๒

๗.๑ ส.ป.ก. ขอออกโฉนดที่ดิน - การย่ืนคำขอออกโฉนดท่ีดินให้ ส.ป.ก. ย่ืนคำขอ ลงวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์

ในที่ดินท่ี ส.ป.ก. ได้มา พร้อมด้วยสำเนาหลักฐานการได้มาสำหรับที่ดิน ๒๕๕๖ ตอบข้อหารือ
ต า ม มาตรา ๓๖ ทวิ เช่น พระราชกฤษฎีกากำหนดเขตปฏิรูปท่ีดิน จังหวัดพะเยา เร่ืองหารือ

8๘

เรื่อง วิธกี าร หมายเหตุ
แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ หลักฐาน หนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินหรือหลักฐาน ปัญหาการออกโฉนดท่ีดิน
ก า ร ป ฏิ รู ป ท่ี ดิ น เพื่ อ ที่ดนิ อ่ืน ๆ สำหรับหลักฐาน ส.ป.ก. ๔-๐๑ ไม่ใช่
เกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๑๘ หลักฐานการได้มาสำหรับที่ดิน ดังน้ัน กรณีท่ีดิน ในเขตปฏริ ปู ท่ดี นิ
ที่ขอออกโฉนดท่ีดินมี ส.ป.ก. ๔-๐๑ หน่ึงแปลงหรือ
หลายแปลง ให้ระบุแปลง ส.ป.ก. ๔-๐๑ ที่ใช้เป็น
หลักฐานในการออกโฉนดท่ีดินไว้ในใบไต่สวน
และเก็บสำเนา ส.ป.ก. ๔-๐๑ เพ่ือเป็นหลักฐาน

ไวใ้ นสารบบท่ดี ิน

๗ .๒ การออกโฉนดท่ี ดิน เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขตามประมวล
ให้แก่ ผู้มีสิทธิในที่ดิน กฎหมายที่ดิน ประกอบการดำเนินการตามบันทึก
ตามประมวลกฎหมาย ข้อตกลงระหว่างกรมที่ดินกับสำนักงานการปฏิรูป
ท่ีดิน ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เรื่อง วิธีปฏิบัติ
เก่ียวกับการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินในเขต
ปฏิรปู ท่ดี นิ พ.ศ. ๒๕๕๘

๗.๓ การระวังชี้และรับรอง ๑) การระวังช้ีและรับรองเขตที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน - ระเบียบกรมที่ดินว่า
เขตท่ีดินในเขตปฏิรูป เป็นอำนาจหน้าท่ีของเลขาธิการสำนักงานการ ด้วยการเขียนข้างเคียง
ท่ีดนิ ปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม ซ่ึงได้มอบหมายให้ และการรับรองแนวเขต
ทด่ี นิ พ.ศ. 2554
ปฏริ ปู ที่ดนิ จงั หวดั ดำเนินการ

๒) กรณีเป็นที่ดินไมม่ หี ลกั ฐานสำหรบั ที่ดิน

- ในเขตดำเนินการปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปที่ดินจังหวัด

หรือผู้ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้ครอบครองและ

ทำประโยชน์ในที่ดินเป็นผู้ระวังช้ีและลงชื่อรับรอง

เขตทดี่ นิ

- นอกเขตดำเนินการปฏิรูปท่ีดินผู้ครอบครอง

และทำประโยชน์ในที่ดินเป็นผู้ระวังชี้และ

ลงช่อื รบั รองเขตที่ดนิ

๗.๔ พระราชกฤษฎีกากำหนด เมอ่ื มีองคป์ ระกอบครบ ๒ ประการ คอื - ความเห็นคณะกรรมการ

เขตปฏิรูปที่ดินจะมีผล ๑) คณะรัฐมนตรีมีมติให้ดำเนินการปฏิรูปที่ดินเพ่ือ กฤษฎี กา เรื่องเสร็จที่
เป็ น ก า ร เพิ ก ถ อ น เกษตรกรรมในเขตปา่ สงวนแห่งชาติน้ัน และ ๓๐๗/๒๕๔๙ แ ล ะ

๙9

เร่ือง วธิ ีการ หมายเหตุ
ป่าสงวนแหง่ ชาติ ๒) ส.ป.ก. จะนำที่ดินแปลงน้นั ไปดำเนนิ การปฏริ ูป เรอ่ื งเสรจ็ ที่ 124/2563

ที่ดิน หาก ส.ป.ก. ยังมิได้เข้าไปดำเนินการใน
พื้นท่ีปา่ สงวนแห่งชาติบริเวณใด พ้ืนท่นี ั้นยังคง
มีสถานะเปน็ พนื้ ท่ีปา่ สงวนแห่งชาติอยูเ่ ชน่ เดมิ

๘. การออกโฉนดที่ดินที่งอก ๑) โฉนดที่ดินเกิดที่งอกริมตล่ิง เจ้าของท่ีดินท่ีเกิด ๑. หนังสือกรมที่ดิน

รมิ ตลิ่ง ที่งอกย่อมมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินอยู่แล้ว จึงไม่ต้องแจ้ง ท่ี ๑ ๖ ๓ /๒ ๕ ๐ ๔

* หลกั เกณฑ์ การครอบครองทีด่ ินก็ออกโฉนดที่ดินได้ ลงวันท่ี ๑๒ มกราคม

๒) ให้จงั หวัดแตง่ ตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ นาย ๒๕๐๔

ออกไปตรวจสอบสภาพท่ีดินว่าเป็นที่ดินที่ต้ืนเขิน ๒. หนังสอื กรมที่ดินท่ี มท

ตามธรรมชาตจิ นมสี ภาพเปน็ ท่งี อกหรอื ไม่ อยา่ งไร ๐๖๐๖/๓๗๗๘ ลงวันที่

๓) การพิจารณาว่าท่ีดินแปลงใดเป็นท่ีงอกหรือไม่ ๒๙ มกราคม ๒๕๑๖

พิจารณาตามหลักเกณฑด์ ังนี้ ๓. หนังสือกรมที่ดิน

- ต้องเป็นท่ีงอกที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ไม่ใช่ ที่ ๕๔๓๒/๒๕๐๐

โดยการถม ลงวนั ที่ ๑๘ กรกฎาคม

- ต้องเป็นการงอกจากผืนแผ่นดินออกไป ไม่ใช่ ๒๕๐๐

เปน็ การตน้ื เขนิ มาจากลำนำ้ เขา้ หาแผ่นดนิ

- ต้องเป็นเจ้าของที่ดินแปลงเดียวกัน ไม่มีที่ดิน

อ่ืนคั่นอยแู่ ละเวลานำ้ ขน้ึ ตามปกตนิ ้ำท่วมไม่ถึง

๔) กรณไี มส่ ามารถวินิจฉัยเป็นที่ยุติได้วา่ ท่ีดินเป็นที่

งอ กริมต ลิ่งห รือ ไม่ให้ป ระสาน ขอค วาม

ร่วมมือจากกรมทรัพยากรธรณีเพ่ือตรวจสอบ

ทางธรณีวทิ ยา

๕. หากปรากฏท่ีงอกเป็นแถวเป็นแนวยาวติดต่อกัน

ให้จังหวัดสั่งเจ้าหน้าที่จัดการวางแนวเขตท่ีงอก

นั้นไว้

9. การดำเนินการตามมาตรา 8 1. การรับคำขอเป็นไปตามขั้นตอนกระบวนการ - ม า ต ร า 8 แ ห่ ง
แห่งพระราชบัญญัติแก้ไข ออกโฉนดท่ีดิน แต่ก่อนที่จะลงนามออก พระราชบัญญัติแก้ไข
เพ่ิมเติมประมวลกฎหมายท่ีดิน โฉนดท่ีดิน ให้แจ้งผู้ขอมารับเรื่องเพื่อไปยื่น เพิ่ ม เติ ม ป ระ ม ว ล
กฎหมายท่ีดิน (ฉบับท่ี11)
(ฉบับที่ 11)พ.ศ. 2551 คำรอ้ งตอ่ ศาล
พ.ศ. 2551

๑๐

10

เรอ่ื ง วธิ กี าร หมายเหตุ

2. เมื่อศาลได้รับคำร้องและแจ้งให้กรมท่ีดินทราบ - หนังสอื กรมที่ดนิ
กรมท่ีดินจะมีหนังสือแจ้งให้จังหวัดแจ้งสำนักงาน ด่วนที่สุด0516.2(1)/
ว 14789 ลงวันท่ี
ที่ดินท้องที่ที่รับคำขอทราบเพ่ือดำเนินการตาม 10 พฤษภาคม 2553
คำส่ังศาล โดยอธิบดีกรมท่ีดินได้มีคำส่ังกรมที่ดิน - ค ำส่ังก รม ท่ี ดิ น ท่ี
ที่ 227/2553 ลงวันที่ 27 มกราคม 2553 227/2553 ลงวันที่
และ ท่ี 630/2553 ลงวันที่ 3 มีนาคม 27 มกราคม 2553
2553 มอบอำนาจให้ดำเนินการแทนอธิบดี
และ ที่ 620/2553
กรมทด่ี นิ ลงวันท่ี 3 มีนาคม
3. เม่ือศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุดว่าผู้ร้อง 2553

ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในท่ีดินน้ันโดย

ชอบด้วยกฎหมายก่อนวันท่ีประมวลกฎหมาย

ที่ดินใช้บังคับ และผู้ร้องได้นำคำพิพากษาหรือ

คำสั่งดังกล่าวมาแสดงต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี ณ

สำนักงานที่ดินที่รับคำขอ ให้เจ้าพนักงานที่ดิน

พิจารณาดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ

รับรองการทำประโยชนโ์ ดยเร็ว

10. การสอบสวนเปรียบเทียบ

ตามมาตรา ๖ ๐ แห่ ง

ประมวลกฎหมายท่ดี ิน
10.๑ หลั กเกณ ฑ์ ในการ ๑) ต้องเป็นการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง - ความเห็นคณะกรรมการ
กฤษฎีกาเร่ืองเสร็จท่ี
สอบสวนเปรียบเทียบ การทำประโยชน์
142/2533
๒) ต้องเป็นการโตแ้ ย้งเรอ่ื งสทิ ธิในที่ดนิ

๓) ท่ีดินนั้นต้องเป็นที่ดินที่สามารถออกโฉนดท่ีดิน

หรือหนังสอื รบั รองการทำประโยชนไ์ ด้

1 0 .๒ วิธีการส อบ สว น การโต้แย้งคัดค้าน การทำแผนที่พิพาท การนัด
เปรยี บเทยี บ
สอบสวนเปรียบเทียบและการสอบสวนเปรียบเทียบ

ดำเนินการตามหนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท 0516.2/ว
35728 ลงวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2545 เร่ือง

แนวทางปฏิบัติกรณีมีผู้โต้แย้งคัดค้านการออกหนังสือ

แสดงสทิ ธิในที่ดิน ตามมาตรา 60 แห่งประมวลกฎหมาย

ท่ดี นิ

เรอ่ื ง วธิ ีการ ๑๑
11

หมายเหตุ

10.๓ พนักงานเจ้าหน้าท่ีผู้มี ๑) เจ้าพนักงานท่ีดินหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซ่ึง

อำนาจทำการสอบสวน ได้รับมอบหมายในสำนักงานที่ดินจังหวัด

เปรียบเทยี บ สำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา หรือสำนักงานที่ดิน

จังหวัด/สาขา ส่วนแยก กรณีเป็นการออก

โฉนดท่ีดินเป็นการเฉพาะรายตามมาตรา ๕๙

และ ๕๙ ทวิ แหง่ ประมวลกฎหมายที่ดิน

2) ผู้อำนวยการศูนย์เดินสำรวจออกโฉนดที่ดินใน

กรณีการเดินสำรวจออกโฉนดท่ีดินตามมาตรา

๕8 และ ๕8 ทวิ แหง่ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ

10.๔ ผู้มีอำนาจในการสั่ง เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด หรือเจ้าพนักงานท่ีดิน
สอบสวนเปรียบเทียบ จงั หวัดสาขา

10.๕ การส่งั สอบสวน ๑) ต้องสั่งการในกรณีที่ได้สอบสวนเปรียบเทียบแล้ว
เปรยี บเทยี บ แต่ตกลงกันไม่ได้และในกรณีท่ีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ได้รับทราบกำหนดนัดทำการสอบสวนเปรียบ
10.๖ รปู แบบของคำสง่ั เทยี บแลว้ แต่ไม่มาพบพนกั งานเจ้าหน้าทโ่ี ดยให้
สอบสวน เปรยี บเทยี บ ถือวา่ คกู่ รณที ง้ั สองฝา่ ยไมอ่ าจตกลงกนั ได้

๒.) ต้องเป็นการสง่ั การในเร่ืองสทิ ธิในที่ดนิ ของผู้ขอ
และผู้คัดค้านว่าฝ่ายใดควรจะมีสิทธิในที่ดิน
ดีกว่ากันและควรออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน
ให้แก่ฝ่ายใด

๓) การสั่งให้คู่กรณีไปฟ้องศาลภายในกำหนด
หกสิบวันโดยไม่ได้ส่ังการในเร่ืองสิทธิในที่ดิน
เป็นการส่ังการที่ไม่ครบถ้วน ตามมาตรา ๖๐
แห่งประมวลกฎหมายท่ีดิน เนื่องจากหากไม่มี
การฟ้องร้องภายในกำหนดย่อมไม่อาจดำเนินการ
ให้ผู้ขอต่อไปได้

๑) คำส่ังสอบสวนเปรียบเทียบเป็นคำสั่งทางปกครอง - มาตรา ๕ มาตรา ๓๖
จึงต้องทำเป็นหนังสือ ระบุ วัน เดือน ปีท่ีทำคำสั่ง และมาตรา ๓๗ แห่ง
ชื่อและตำแหน่งพร้อมลายมือช่ือของผู้ทำคำสั่ง พระราชบัญญั ติวิธี
นั้น นอกจากนี้ต้องจัดให้มีเหตุผล ซ่ึงอย่างน้อย ปฏิ บั ติราชการทาง

12 ๑๒
เรอื่ ง
วิธกี าร หมายเหตุ
ต้องมขี ้อเทจ็ จริงอันเปน็ สาระสำคญั ขอ้ กฎหมายที่ ปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
อ้างอิง รวมท้ังข้อพิจารณาและข้อสนับสนุน ใน
การใชด้ ุลพนิ จิ
๒) ไม่ต้องแจ้งสิทธิอุทธรณ์ เพราะผู้ไม่พอใจคำสั่ง
สามารถฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้โดยไม่ต้อง
อุทธรณ์ตามขั้นตอนและระยะเวลาท่ีกำหนดไว้
ในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ เน่ืองจากประมวลกฎหมายท่ีดิน
ได้กำหนดระยะเวลาการฟ้องคดีไว้โดยเฉพาะ
และมีหลักเกณฑ์ท่ีประกันความเป็นธรรมหรือ
มีมาตรฐานในการปฏิบัติราชการไม่ต่ำกว่า
หลักเกณฑ์ที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

10.๗ การลงนามออกโฉนดท่ีดนิ เป็นอำนาจของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด - มาตรา 57 แห่งประมวล

เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขา เจ้าพนักงานท่ีดิน กฎหมายท่ีดิน, คำสั่ง

จังหวัดหัวหน้าส่วนแยก และผู้อำนวยการศูนย์เดิน กรมท่ีดิน ท่ี 6/2543

สำรวจออกโฉนดทดี่ ิน ลงวันท่ี 6 มกราคม

2543, คำสั่งกรมที่ดิน

ท่ี 2753/2547ลงวันท่ี

13 ตุลาคม 2547

1 1 . ก ารอ อ ก โฉ น ด ที่ ดิ น

ห รื อ ห นั งสื อ รั บ ร อ ง
การทำประโยชน์ในเขต
ปา่ ชายเลน
11.1 กรณีต้องนำเร่ืองเสนอ ทีด่ ินที่ขอออกโฉนดท่ีดินหรือหนังสือรับรองการ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่

ให้ที่ป ร ะ ชุม ค ณ ะ ทำประโยชน์อยู่ในเขตป่าชายเลน ตามมติคณะ ๑๕ ธันวาคม๒๕๓๐ และ
กรรมการป้องกันและ รัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ และ 22 22สงิ หาคม2543
หยุดยั้งการบุกรุกท่ีดิน สิงหาคม 2543
ใน เขตป่าชายเลน
พจิ ารณา

๑1๓3

เร่ือง วิธกี าร หมายเหตุ

11.2 องค์ประกอบของ คณะกรรมการป้องกันและหยุดยั้งการบุกรุก หนังสือกระทรวงมหาดไทย

คณะกรรมการป้องกัน ทด่ี ินในเขตป่าชายเลน (จงั หวดั ) ประกอบดว้ ย ท่ี มท 0516.5/7080

และหยุดยั้งการบุกรุก ๑. รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั ซง่ึ ได้รบั มอบหมาย ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน

ทด่ี ินในเขตป่าชายเลน ๒. นายอำเภอทอ้ งท่ี 2562

๓. ผบู้ งั คบั การตำรวจภูธรจงั หวดั

๔. ประมงจงั หวดั

๕. ผอ. สำนักจดั การทรัพยากรปา่ ไม้

๖. ผอ. สำนักงานเจา้ ท่าภูมิภาค

๗. ผอ. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่

๘. ผอ. สำนักบริหารพ้ืนท่ีอนุรกั ษ์

๙. ผูบ้ รหิ ารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

๑๐. ผแู้ ทนสว่ นราชการอืน่ ตามที่เห็นสมควร

11. เจา้ พนักงานท่ีดนิ จงั หวัด

11.3 อำนาจหน้าที่ของ โดยใหค้ ณะกรรมการมีอำนาจหนา้ ท่ี ดังน้ี หนังสือกระทรวงมหาดไทย

คณะกรรมการป้องกัน ๑. กำหนดมาตรการป้องกันการบุกรกุ พน้ื ที่ป่าชายเลน ท่ี มท 0516.5/7080

และหยุดย้ังการบุกรุก และกำหนดมาตรการหยุดยั้งกลุ่มบุคคล เช่น ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน

ทดี่ ินในเขตปา่ ชายเลน กลุ่มนายทุน ผู้มีอิทธิพล และอ่ืน ๆ มิให้มีการ 2562

บกุ รกุ ที่ดินป่าชายเลนโดยเด็ดขาด

๒. พิจารณาการขอใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ป่าชายเลน

โดยให้ระงับการใช้ประโยชน์ในพื้นท่ีป่าชายเลน

โดยเด็ดขาด ยกเว้นผู้ที่ได้รับอนุญาตอยู่แล้ว

ใหด้ ำเนนิ การต่อไปจนสน้ิ สดุ อายกุ ารอนญุ าต

๓. ในกรณีท่ีมีการร้องเรียนหรือตรวจสอบพบว่า

อาจมีการออกหนงั สอื แสดงสิทธิในที่ดินในพื้นที่

ป่าชายเลนโดยมชิ อบด้วยกฎหมาย ให้มีอำนาจ

หน้าท่ีตรวจสอบหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน

ดงั กล่าว และเสนอความเห็นให้อธิบดีกรมท่ีดิน

ดำเนินการตามอำนาจหน้าทต่ี อ่ ไป

๔. พิจารณาเร่ืองคำขอหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

ใน พื้ น ที่ ป่ าช าย เล น รวม ท้ั งก ารแจ้ งให้

เจ้าพนักงานท่ีดินพิจารณายกเลิกคำขอหรือ

14 ๑๔

เร่อื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
ระงับการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินในเขตป่า
ชายเลน เม่ือปรากฏว่าผู้ขอครอบครองและ
ทำประโยชน์ในทดี่ ินโดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย

๕. จัดให้มีแผนการประชาสัมพันธ์ระดับจังหวัด
เพื่อรณรงค์การอนรุ ักษ์พื้นที่ปา่ ชายเลน เพ่ือให้
ประชาชนมีความสำนึกในคุณค่า รักและหวงแหน
ปา่ ชายเลน

๖. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยเหลือคณะกรรมการ
ในการปฏิบตั งิ านตามความจำเป็น

๗. จัดทำข้อสรุป ข้อเสนอ อุปสรรคในการ
ดำเนินงาน แล้วรายงานกระทรวงมหาดไทย
ทราบอยา่ งน้อยปลี ะ 2 คร้ัง

11.4 กรณีที่ดินที่ขอออก ต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการ หนังสือกรมที่ดิน ท่ี มท

โฉนดที่ดินหรือหนังสือ ป้องกันและหยุดยั้งการบุกรุกที่ดินในเขตป่าชายเลน ๐๕๑๖.๒/๑๕๕๕๘

รับรองการทำประโยชน์ และจะต้องแต่งต้ังคณะกรรมการ ตามนัยกฎกระทรวง ลงวันที่ ๖ มิถุนายน

อยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน ฉบับท่ี ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗)ฯ ข้อ ๑๐ (๓) ด้วย ๒๕๔๙ ตอบข้อหารือ

และเป็นท่ีดินตาม เน่ืองจากเจตนารมณ์ในการแต่งต้ังคณะกรรมการฯ จังหวดั นครศรีธรรมราช

กฎกระทรวง ฉบับท่ี ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยดังกล่าว เพื่อ

๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ฯ ป้องกันมิให้มีการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าชายเลน และ

ขอ้ ๑๐ (๓) ผู้ได้รับแต่งตั้งมิได้เป็นบุคคลเดียวกันและยังเป็น

ข้าราชการระดับสูงกว่า ซึ่งแตกต่างจากคณะ

กรรมการฯ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ฯ

ขอ้ ๑๐ (๓)

1 1 .5 กรณี ท่ี ดิ น มี การ การขีดแนวเขตกำหนดเป็นพื้นที่ป่าชายเลน คำพิพากษาศาลปกครอง
ครอบ ครองแ ล ะ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ สูงสุดคดีหมายเลขแดง
ทำประโยชน์ มาก่อน มีผลทำให้ที่ดินซ่ึงมีสภาพเป็นพื้นท่ีป่าชายเลน ท่ี อ .๓ ๕ ๙ /๒ ๕ ๕ ๐
มติคณะรัฐมนตรี ในขณะน้ันมีสถานะเป็นพื้นท่ีป่าชายเลนตามมติ ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน
เมือ่ วนั ท่ี ๑๕ ธันวาคม คณะรัฐมนตรีฯ แต่ไม่มีผลทำให้ท่ีดินซึ่งไม่มีสภาพ ๒๕๕๐ และคำพิพากษา
๒๕๓๐ เป็นป่าชายเลนกลับไปมีสถานะเป็นพื้นท่ีป่าชายเลน ศาลป กค รองสูงสุ ด
ตามมติคณะรัฐมนตรีฯ แต่อย่างใด ดังน้ัน หากปรากฏ ค ดี ห ม า ย เล ข แ ด ง

๑1๕5

เรอ่ื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
ข้อเท็จจริงชัดเจนว่า ท่ีดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือ ที่ อ .๑ ๙ ๓ /๒ ๕ ๕ ๓

หนังสือรบั รองการทำประโยชน์มีการทำประโยชน์ในท่ีดิน ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม

เต็ มทั้ งแปลงมาก่ อนมติ คณะรัฐมนตรีดั งกล่ าว ๒๕๕๓

พนักงานเจ้าหน้าทีส่ ามารถดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสอื รบั รองการทำประโยชน์ใหแ้ กผ่ ขู้ อได้

12. การออกโฉนดที่ดินหรือ

ห นั ง สื อ รั บ ร อ ง ก า ร ท ำ
ประโยชน์ในเขตที่ดินของ
รัฐที่ ต้ องนำเร่ื องเสนอ
กบร. จังหวัดพิจารณา
12.1 ประเภทท่ดี นิ ของรฐั ที่ดินในเขตท่ีดินของรัฐประเภทที่สงวนหวงห้าม หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท

ตามประกาศสงวนหวงห้ามทดี่ ิน หรือตามพระราช- ๐๕๑๖.๒/ว ๑๙๔๗๓
กฤษฎีกาสงวนหวงห้ามท่ีดินที่ราชพัสดุ และท่ีดิน ลงวันท่ี ๖ กรกฎาคม
อันเป็นสาธารณสมบัติของแผนดินสำหรับพลเมือง ๒๕๔๗
ใช้ร่วมกัน

12.2 การดำเนนิ การ ๑. กรณีท่ีปรากฏโดยชัดแจ้งตามเอกสารซ่ึงผู้ขอ หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท
นำมาเป็นหลักฐานในการยื่นคำขอออกหนังสือ ๐๕๑๖.๒/ว ๑๙๔๗๓
แสดงสิทธิในท่ีดิน ว่าได้มีการครอบครองทำ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม
ประโยชน์มาก่อนการเป็นท่ีดินของรัฐก่อนออก ๒๕๔๗
หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้จังหวัดนำเรื่อง
เสนอต่อคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุก

ที่ดินของรฐั ประจำจังหวัด (กบร.จังหวัด)
๒. กรณีท่ีปรากฏโดยชัดแจ้งตามเอกสารซ่ึงผู้ขอ

นำมาเป็นหลักฐานในการยื่นคำขอออกหนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดิน ว่าได้มีการครอบครองทำ
ประโยชน์มาภายหลังการเป็นที่ดินของรัฐ ให้
เจ้าพนักงานท่ีดินยกเลิกคำขอ พร้อมแจ้งผู้ขอ
ทราบตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๓. กรณีท่ีไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัดตามเอกสารซ่ึงผขู้ อ

16 ๑๖

เร่อื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
นำมาเป็นหลักฐานในการย่ืนคำขอออกหนังสือ

แสดงสิ ทธิ ในท่ี ดิ นว่ าได้ มี การครอบครอง
ทำประโยชน์ในที่ดินมาก่อนหรือภายหลังการเป็น
ที่ดนิ ของรัฐให้เจ้าพนักงานท่ีดินดำเนินการ สอบสวน
ข้อเท็จจริงให้ได้ความโดยชัดเจนเป็นที่ยุติ เสร็จแล้ว
จงึ ดำเนินการ ตามขอ้ ๑. หรอื ขอ้ ๒. แลว้ แต่กรณี

12.3 สถานะของมติ กบร. ศาลปกครองสูงสุดมีความเห็นว่า “ข้อ ๕ ของ คำสั่งศ าลป กค รอ ง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไข สูงสุดที่ ๕๙๔/๒๕๔๖
ปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนด ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม
ให้ กบร. จังหวัด มีอำนาจหน้าที่กำกับติดตามดูแล ๒๕๔๖
ให้ส่วนราชการต่าง ๆ ดำเนินการให้เป็นไปตาม
มาตรการในการแก้ไขปัญหาและมาตรการในการ
ป้องกันการบุกรุกท่ีดินของรัฐเท่านั้น มิได้ให้อำนาจ
เข้าไปดำเนินการหรือส่ังการในเร่ืองที่อยู่ในอำนาจ

หน้าท่ีของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่
ของรัฐตามกฎหมาย กบร. จังหวัด เพียงแต่เข้าร่วม
พิจารณาให้ความเห็นเป็นแนวทางให้เจ้าหน้าท่ี
ของรฐั ท่เี กีย่ วข้องปฏิบัติ มตขิ อง กบร. จังหวดั จึง
เป็นการพิจารณาภายในฝ่ายปกครองท่ียังไม่มีผล
ตามกฎหมายท่ีจะบังคับให้คู่กรณีกับเจ้าหน้าท่ีของ
รัฐต้องปฏิบัติตาม แต่จะต้องมีการดำเนินการ หรือ
สัง่ การโดยผู้มีอำนาจออกคำสัง่ ทางปกครองเสยี ก่อน”

ศาลฎีกามีความเห็นว่า “มติของคณ ะ คำพิพากษาศาลฎีกา
อนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีดินของรัฐ ท่ี ๑๐๘๑๙/๒๕๓๗
จังหวัดนครสวรรค์ (กบร. จังหวัดนครสวรรค์)
เป็นเพียงการสรุปข้อเท็จจริงและแนวทางเบื้องต้น
เพ่ือประกอบการพิจารณาของเจ้าพนักงานที่ดิน
เท่าน้ัน เจ้าพนักงานท่ีดินมีหน้าที่ต้องทำการวินิจฉัย
แล้วดำเนนิ การตามประมวลกฎหมายที่ดนิ ”

๑1๗7

เรื่อง วิธกี าร หมายเหตุ

13. การออกใบแทนหนังสือ

แสดงสิทธิในทด่ี ิน

13.1 หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ี ๑. กรณีโฉนดท่ีดินฉบับเจ้าของที่ดินสูญหายให้เจ้าของ กฎกระทรวงฉบับที่ ๔๓

ดำเนนิ การ ที่ดินยื่นคำขอและปฏิญาณตนต่อเจ้าพนกั งาน (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตาม

ที่ดินโดยให้นำพยานหลักฐานมาให้เจา้ พนักงาน ความในพระราชบัญญัติ

ที่ดินทำการสอบสวนจนเป็นที่เช่ือถอื ได้ และให้ ให้ใช้ประมวลกฎหมาย

เจ้าพนักงานท่ีดินประกาศให้ทราบมีกำหนด ท่ีดนิ ขอ้ ๑๗

สามสิบวัน ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ สำนักงาน

เขตหรือท่ีว่าการอำเภอหรือที่ว่าการกิ่งอำเภอ

ท้องที่ ท่ีทำการแขวงหรือท่ีทำการกำนันท้องที่

และในบริเวณท่ีดินน้ัน ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้

ณ สำนักงานเทศบาล อีกหนึ่งฉบับ ถ้ามีผู้คัดค้าน

ภายในเวลาที่กำหนด และนำพยานหลักฐานมา

แสดงให้เจ้าพนักงานท่ีดินสอบสวนแล้วสั่งการ

ไปตามควรแก่กรณี ถ้าไม่มีผู้ใดคัดค้านภายใน

เวลาที่กำหนด ใหอ้ อกใบแทนใหไ้ ปตามคำขอ

๒. กรณีโฉนดที่ดินฉบับเจ้าของที่ดินเป็นอันตราย

ชำรดุ แยกไดเ้ ป็น ๒ กรณี

๒.๑ โฉนดท่ีดินท่ีชำรุดน้ันยังมีตำแหน่งที่ดิน

เลขท่ีโฉนดท่ีดิน ชื่อและตราประจำตำแหน่ง

ของผู้ว่าราชการจังหวัด และ/หรือของ

เจ้าพนักงานที่ดนิ ให้ออกใบแทนให้ได้โดยไม่

ต้องประกาศ

๒.๒ โฉนดท่ีดินท่ีชำรุดนั้น ขาดสาระสำคัญ

ตาม ๒.๑ อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ดำเนินการ

เช่นเดียวกับกรณีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

สูญหาย คือต้องนำพยานหลักฐานมาให้

เจ้าพนักงานที่ดินทำการสอบสวน และ

ประกาศมกี ำหนด ๓๐ วัน ดว้ ย

๓. กรณีศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษาอันถึงท่ีสุด

เกี่ยวกับโฉนดที่ดินหรือผู้ใดมีสิทธิจดทะเบียน

ตามคำพพิ ากษาของศาล

18 ๑๘
เร่อื ง
วิธกี าร หมายเหตุ
๓.๑ ถ้าไม่ได้โฉนดท่ีดินมาหรือโฉนดที่ดินเดิม

สูญหาย ก็ดำเนินการเช่นเดียวกับกรณีตาม
ข้อ ๑. กล่าวคือ ผู้ขอต้องนำพยานหลักฐาน
มาให้เจ้าพนักงานท่ีดินทำการสอบสวนและ
ประกาศมีกำหนด ๓๐ วัน
๓.๒ ถ้าเป็นกรณีโฉนดที่ดินเดิมเป็นอันตรายชำรุด
ให้พิจารณาเช่นเดียวกับข้อ ๒.๑ หรือ ๒.๒
แล้วแตก่ รณี
๓.๓ ผู้มีสิทธิจดทะเบียนตามคำพิพากษาของศาล หนังสือกรมท่ีดิน ที่ มท
หมายความรวมถึงผู้มีสิทธิจดทะเบียนภาระ ๐๕๑๖.๕/๑๒๖๔๖
จำยอมตามคำพิพากษาแต่ไม่ได้โฉนดที่ดิน ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม
หรือหนังสอื รับรองการทำประโยชน์มาดว้ ย ๒๕๕๖
๔. กรณีเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจในการยึดและขาย
ทอดตลาดท่ีดินของผู้ท่ีค้างชำระภาษีอากรหรือ
เงินค้างจ่ายใด ๆ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติไว้ขอให้
ออกใบแทนโฉนดท่ี ดิ นสำหรั บ ท่ี ดิ นดั งกล่ าว
ซ่ึงเจ้าพนักงานผู้มีอำนาจได้ยึดมาขายทอดตลาด
แล้ว
๔.๑ ถ้าไม่ได้โฉนดท่ีดินมาหรือโฉนดท่ีดินเดิม
สูญหายให้ประกาศมีกำหนด ๓๐ วัน
โดยไมต่ อ้ งสอบสวน
๔.๒ ถ้าเป็นกรณีโฉนดที่ดินเดิมเป็นอันตราย
ชำรุด ให้พิจารณาเช่นเดียวกับข้อ ๒.๑
หรือ ๒.๒ แล้วแตก่ รณี โดยไมต่ ้องสอบสวน
ท้ังนี้ ให้ถือหนังสือของเจ้าพนักงานดังกล่าว
เป็นคำขอ โดยไมต่ ้องยืน่ คำขอ (ท.ด. ๙) แต่อย่างใด
๕. กรณีอธิบดีจะใช้อำนาจจำหน่ายที่ดินตาม
ประมวลกฎหมายทด่ี นิ
๕.๑ ถ้าไม่ได้โฉนดท่ีดินมาหรือโฉนดที่ดินเดิม
สูญหาย ให้ประกาศมีกำหนด ๓๐ วัน
โดยไม่ต้องสอบสวน
๕.๒ ถ้าเป็นกรณีโฉนดท่ีดินเดิมเป็นอันตราย

๑1๙9

เรอื่ ง วิธีการ หมายเหตุ
ชำรุด ให้พิจารณาเช่นเดียวกับข้อ ๒.๑
หรอื ๒.๒ แล้วแต่กรณี โดยไมต่ อ้ งสอบสวน
ทงั้ นี้ ให้ถอื หนังสือแจ้งของอธิบดีดังกล่าว
เป็นคำขอโดยไม่ต้องยื่นคำขอ (ท.ด. ๙)
เช่นเดยี ว กับกรณี ตามขอ้ ๔.

๖. กรณีอธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดใช้อำนาจ
เพิกถอนหรือแก้ไขโฉนดที่ดินเพิกถอนหรือ

แก้ไขรายการจดทะเบียนตามมาตรา ๖๑ แห่ง
ประมวลกฎหมายท่ีดินซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดย
พระราชบัญญัติแก้ไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมาย
ทด่ี นิ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๒๘
๖.๑ ถ้าไม่ได้โฉนดที่ดินมาหรือโฉนดท่ีดินเดิม

สูญหาย ให้ประกาศมีกำหนด ๓๐ วัน
โดยไม่ตอ้ งสอบสวน
๖.๒ ถ้าเป็นกรณีโฉนดท่ีดินเดิมเป็นอันตราย
ชำรุด ให้พิจารณาเช่นเดียวกับข้อ ๒.๑
หรือ ๒.๒ แลว้ แตก่ รณีโดยไม่ต้องสอบสวน

13.2 การออกใบแทนกรณี การขอจดทะเบียนสทิ ธิและนิติกรรมในท่ีดินซึ่ง

ได้ท่ีดินมาตามมาตรา ได้มาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

๑๓๘๒ แห่งประมวล มาตรา ๑๓๘๒ ตามมาตรา ๗๘ แห่งประมวลกฎหมาย

ก ฎ ห ม าย แ พ่ งแ ล ะ ที่ดิน กรณีที่ไม่ได้โฉนดท่ีดินมาถือว่าโฉนดท่ีดินสูญหาย

พาณชิ ย์ ให้เจ้าพนักงานท่ีดินออกใบแทนแล้วดำเนินการ

จดทะเบียนให้แก่ผู้ขอต่อไป ตามนัยข้อ ๘ แห่ง

กฎกระทรวง ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตาม

ความในพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย

ที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗

13.3 การออกใบแทนให้แก่ การดำเนินการเพื่อจดทะเบียนโอนกรรมสิทธ์ิ หนังสือกรมที่ดิน ท่ี
ผ้ซู อื้ ท่ดี นิ จดั สรร ท่ีดินท่ีทำการจัดสรรให้แก่ผู้ซื้อท่ีดินจัดสรรตามนัย มท ๐๕๑๕/ว ๘๐๙๑
มาตรา ๓๗ วรรคสามและวรรคส่ี แห่งพระราชบัญญัติ ลงวันท่ี ๒๕ มีนาคม
การจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ ซึ่งผู้ซ้ือท่ีดินจัดสรร ๒๕๔๖
นำหลักฐานการชำระราคาที่ดินและหลักฐานการ

20 ๒๐

เรอื่ ง วิธกี าร หมายเหตุ
ชำระหน้ีบุริมสิทธิ์หรือหนี้จำนองมาขอจดทะเบียน
รับโอนท่ีดินเพียงฝ่ายเดียวและไม่สามารถนำหนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดินฉบับเจ้าของมาแสดงต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่เพราะบุคคลอ่ืนยึดถือหรือครอบครองไว้
พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถออกใบแทนโฉนดที่ดิน
น้ันได้ โดยดำเนินการตามระเบียบกรมท่ีดิน
ว่าด้วยการจดแจ้งในโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรบั รอง
การทำประโยชน์ และการจดทะเบียนสิทธิและ
นิตกิ รรมเกยี่ วกับทดี่ นิ จดั สรร พ.ศ. ๒๕๔๖

13.4 การสอบสวนพยานบุคคล การสอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือ จำนวน หนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท
๒ คน มีจุดมุ่งหมายแต่เพียงให้พยานดังกล่าวให้ ๐๗๑๙/ว ๑๖๑๘๙
ถ้อยคำรับรองว่าการให้ถ้อยคำของผู้ขอน่าเชื่อถือ ลงวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม
และผู้ขอเป็นเจ้าของที่ดินจริงเท่าน้ัน ไม่ควรบันทึก ๒๕๔๐
ว่าเป็นผู้รู้เห็นเกี่ยวกับการสูญหายของโฉนดท่ีดิน
เว้นแต่ กรณีท่ีพยานเป็นบุคคลใกล้ชิดหรืออยู่ใน
บ้านเดียวกันกับเจ้าของโฉนดท่ีดินและพร้อมที่จะ
ให้ถ้อยคำยืนยันว่าเป็นผู้รู้เห็นการสูญหาย และ
พยานบุคคลดังกล่าวไม่จำต้องเป็นข้าราชการ ท้ังน้ี
ใหอ้ ยู่ในดลุ ยพินจิ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ที่

13.5 หลักฐานการแจง้ ความ กรณที ่ีตอ้ งมกี ารแจ้งความและเจ้าของที่ดนิ ได้มอบ หนังสือกรมที่ดิน ท่ี
ให้บุคคลอ่ืนเป็นผู้ไปแจ้งความแทน ถ้าเจ้าของท่ีดิน มท ๐๖๐๙/ว ๗๑๒๖
เป็นผู้ยื่นคำขอเอง เมื่อได้ให้ถ้อยคำรับรู้และรับรอง ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม
หลักฐานการแจ้งความนั้นแล้วกใ็ ห้ใชห้ ลักฐานการแจ้ง ๒๕๒๐
ความนั้นประกอบการพิจารณาได้ แต่หากเจ้าของ
ที่ดินมอบอำนาจให้บุคคลอื่นมายื่นคำขอออกใบแทน
จะต้องมีหลกั ฐานเป็นหนังสือว่าผู้เป็นเจ้าของนั้นได้
มอบหมายให้ผู้อื่นไปแจ้งความแทนหรือผู้เป็นเจ้าของ
ท่ีดินได้รับรองหลักฐานการแจ้งความด้วย จึงจะใช้
หลักฐานการแจ้งความประกอบ การขอออกใบแทนได้

๒2๑1

เรอื่ ง วธิ ีการ หมายเหตุ
13.6 ศาลมีคำพิพากษา การท่ีศาลมีคำพิพากษาให้จำเลยจดทะเบียน หนงั สือกรมทีด่ นิ ที่ มท

ให้จำเลยจดทะเบียน โอนกรรมสิทธิ์ทดี่ ินให้แกโ่ จทก์ หากจำเลยไมป่ ฏบิ ตั ิ ๐๗๑๒/ว ๐๑๒๗๕
โอนกรรมสิทธ์ิท่ีดิน ให้ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนาถือได้ว่า ลงวันที่ ๑๖ มกราคม
ให้แก่โจทก์ หากจำเลย เป็นกรณีท่ีศาลได้มีคำพิพากษาเก่ียวกับโฉนดที่ดิน ๒๕๓๐
ไม่ ปฏิ บั ติ ให้ ถือเอา แล้ว เมื่อไม่ได้โฉนดที่ดินมาดำเนินการโจทก์
คำพิพากษาแทนการ ขอออกใบแทนได้
แสดงเจตนา

13.7 ใบแทนที่ยังไม่ได้แจก กรณีสร้างใบแทนเสร็จแล้วโดยเจ้าพนักงาน หนังสือกรมที่ดิน ท่ี
ถอื เป็นเพียงแบบพิมพ์ ที่ดินลงนามในใบแทนและพร้อมที่จะแจก แต่ยัง มท ๐๖๐๖/๔๕๒๔
ของทางราชการเท่านนั้ ไม่ได้แจกให้ผู้ขอรับไป ใบแทนท่ีได้สร้างข้ึนถือเป็น ลงวนั ที่ ๖ พฤษภาคม
เพียงแบบพิมพ์ของทางราชการเท่านั้น และไม่ถือ ๒๕๒๐
ว่าได้ออกใบแทนไปแล้วตามกฎหมาย หากปรากฏ
ว่าโฉนดท่ีดินฉบับเดิมไม่ได้เป็นอันตราย ชำรุด
สูญหาย พนักงานเจ้าหน้าที่ชอบที่จะยกเลิกคำขอ
ออกใบแทนและทำลายแบบพมิ พใ์ บแทนฉบับนน้ั

13.8 ผู้ถือกรรมสิทธิ์เพียง โฉนดท่ดี ินมีชอื่ ผู้ถอื กรรมสิทธห์ิ ลายคนผูถ้ อื กรรมสิทธิ์ มติที่ประชุมคณะกรรมการ
บางคนยื่นคำขอออก เพียงบางคนก็สามารถย่ืนคำขอออกใบแทนได้ แต่ พิจารณ าปัญ ห าข้อ
ใบแทน เจ้าพนักงานท่ีดินจะออกใบแทนให้แก่ผู้ขอได้ก็ต่อเม่ือ กฎหมายของกรมท่ีดิน
สอบสวนพยานหลักฐานต่าง ๆ จนเป็นท่ีเชื่อถือได้ว่า ในการประชุม ครั้งท่ี ๖/
โฉนดท่ดี ินเป็นอนั ตราย ชำรดุ หรือสูญหายไปจรงิ ๒๕๓๙ เมื่อวันที่ ๑
สิงหาคม ๒๕๓๙

14. การจัดทำหนังสือแสดง

สิทธใิ นทีด่ นิ ข้ึนใหม่ โฉนดที่ดิน ใบไต่สวน หนังสือรับรองการทำ ประมวลกฎหมายทีด่ นิ
14.1 หลกั เกณฑ์ ประโยชน์ หรือใบจอง ฉบับสำนักงานที่ดินเป็น มาตรา ๖๔

อันตราย ชำรุด สูญหาย พนักงานเจ้าหน้าที่ตาม

มาตรา ๗๑ มีอำนาจเรียกหนงั สือแสดงสิทธิในที่ดิน

ดังกล่าวจากผู้มีสิทธิในท่ีดินมาพิจารณาแล้วจัดทำ

ขน้ึ ใหม่โดยอาศัยหลักฐานเดิม

22 ๒๒

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
14.2 วิธีดำเนินการ
๑. กรณีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินฉบับสำนักงานที่ดิน ระเบยี บกระทรวงมหาดไทย
เป็นอันตราย ชำรุด สูญหาย แต่ฉบับเจ้าของ วา่ ด้วยการจดั ทำหนังสอื
ท่ีดินมไิ ดเ้ ปน็ อนั ตราย ชำรุด สูญหายดว้ ย แสดงสทิ ธิในที่ดนิ ขึน้
๑.๑ พนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนและบันทึก ใหม่ ในกรณีที่หนงั สอื
เหตุผลการเป็นอันตราย ชำรุด สูญหาย ไว้ แสดงสทิ ธใิ นท่ดี ินฉบับ
โดยชดั เจน
สำนักงานที่ดินเป็น
๑.๒ กรณีสูญหายให้ต้ังคณะกรรมการสอบสวน อนั ตราย ชำรดุ สูญหาย
หาตัวผู้รับผิดชอบและหาสาเหตุที่เอกสาร พ.ศ. ๒๕๒๔
สูญหายเสียก่อนที่จะดำเนินการจัดทำ

หนังสือแสดงสิทธิในที่ดินขึ้นใหม่ และให้

พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งความต่อพนักงาน

สอบสวนด้วย ทั้งน้ี ตามนัยระเบียบสำนัก

นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ

พ.ศ. ๒๕๒๖ ข้อ ๖๑

๑.๓ ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีหนังสือเรียก

เจ้าของที่ดินนำหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน

ฉบับเจ้าของที่ดินมาเพื่อพิจารณาและ

จัดทำหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินขึ้นใหม่ท้ัง

สองฉบับ โดยไม่ต้องยื่นคำขอและไม่ต้อง

เรยี กเกบ็ เงินคา่ ธรรมเนยี ม

๑.๔ เมือ่ เจ้าของทีด่ ินนำหนงั สือแสดงสทิ ธิฯ มา

มอบใหจ้ ัดทำบันทึกถ้อยคำไวเ้ ป็นหลกั ฐาน

๑.๕ ใช้แบบพิมพ์ในกรณีเดียวกับการออก

หนังสอื แสดงสิทธใิ นทด่ี ินท่เี ปน็ คูฉ่ บับ

๑.๖ ให้จัดทำหนังสือแสดงสิทธิฯ โดยอาศัย

หลักฐานเดิมในสารบบที่ดิน ไม่ต้องรังวัด

ไมต่ อ้ งประกาศ

๑.๗ เม่ือจัดทำขึ้นใหม่ทั้งสองฉบับแล้ว ฉบับ

เจา้ ของท่ีดินให้มอบแก่ผู้มีสิทธใิ นท่ีดินโดย

ให้ลงช่ือรับไป ยกเว้นใบไต่สวนไม่ต้อง

มอบให้ สำหรับหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน

เดิ ม ฉบั บ เจ้ าขอ งท่ี ดิ น ให้ พ นั ก งาน

๒2๓3

เรอ่ื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
เจ้าหน้าทห่ี มายเหตุการยกเลิก

๒. กรณีหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินฉบับสำนักงาน
ที่ดินเป็นอันตราย ชำรุด สูญหาย และฉบับ
เจ้าของท่ีดินก็เป็นอันตราย ชำรุด สูญหาย จนไม่
สามารถตรวจสอบได้ว่าตรงกับหนังสือแสดงสิทธิ
ในท่ีดินฉบับใดให้ดำเนินการทำนองเดียวกับ
การออกใบแทนกรณีฉบับเจ้าของท่ีดินสูญหาย
คือ ให้มีการย่ืนคำขอต้องสอบสวนพยานบุคคล
และประกาศมีกำหนด ๓๐ วัน ด้วย แต่ไม่ต้อง
ออกเป็นใบแทน เพราะต้องจัดทำข้ึนใหม่
ให้ เป็ น คู่ ฉ บั บ อ ยู่ แ ล้ ว โด ย ให้ เรีย ก เก็ บ
ค่ าธรรม เนี ย ม เห มื อ น ก ารอ อ ก ใบ แ ท น
ทกุ ประการ ยกเว้นคา่ ใบแทนไม่ต้องเรียกเกบ็

14.3 กรณี น.ส. ๓ ฉบับ กรณี น.ส. ๓ ฉบับเจ้าของที่ดินและฉบับ หนังสอื กรมที่ดนิ ที่ มท
เจ้าของที่ดินและ สำนักงานที่ดินพร้อมสารบบสูญหายทั้งหมด ย่อม ๐๖๐๖/๑๖๔๖ ลงวนั ที่
ฉบับสำนักงานท่ีดิน ไม่มีหลักฐานพอท่ีจะดำเนินการออกใบแทนหรือ ๓ มีนาคม ๒๕๑๐
พร้อมสารบบสูญหาย จัดทำ น.ส. ๓ ขึ้นใหม่ได้ ควรให้เจ้าหน้าที่ออกไป
ทง้ั หมด ทำการรังวัดตรวจสอบยังท่ีดิน เสร็จแล้วให้ถือ
หลักฐานการรังวัดนั้นพิจารณาดำเนินการจัดทำ
น.ส. ๓ ข้ึนใหมท่ ง้ั สองฉบับต่อไป

14.4 กรณี น.ส. ๓ ก. ฉบับ กรณี น.ส. ๓ ก. สามารถใช้รูปแผนท่ีจากระวาง หนงั สอื กรมท่ดี นิ ที่ มท
เจ้ าของท่ี ดิ นและ รูปถ่ายทางอากาศในการจัดทำ น.ส. ๓ ก. ขึ้นใหม่ได้ ๐๕๑๖.๒ / ๓๔๙๙๘
ฉบับสำนักงานท่ีดิน โดยไมต่ ้องทำการรังวัดเพื่อจัดทำรูปแผนทแี่ ต่อยา่ งใด ลงวนั ที่ ๒๐ พฤศจิกายน
พร้อมสารบบสู ญ
๒๕๔๕ ตอบข้อหารือ
หายทั้งหมด
จังหวดั นราธวิ าส เรอ่ื ง

การออกใบแทน น.ส. ๓ ก.

กรณฉี บบั สำนักงาน

ท่ดี ินและสารบบท่ดี ิน

สูญหายท้งั หมด



๒2๕5

สำนักมาตรฐานการทะเบียนท่ดี ิน

หน้าท่คี วามรับผิดชอบเก่ียวกบั การจดทะเบียนของเจ้าพนักงานท่ดี ินจังหวดั /สาขา
ก ร ม ท่ี ดิ น เล็ ง เห็ น ค ว า ม ส ำ คั ญ ใ น ก า ร เพ่ิ ม ศั ก ย ภ า พ ข อ ง เจ้ า พ นั ก ง า น ท่ี ดิ น จั ง ห วั ด / ส า ข า
ให้มีความรู้เรอื่ งกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติ เพ่ือให้การปฏิบัติงานบริการประชาชนสัมฤทธ์ิผล สำหรบั งานด้าน
ทะเบยี นทด่ี นิ ได้แก่
๑. งานจดทะเบียนท่ีไม่มกี ารประกาศ
๒. งานจดทะเบยี นท่ีมกี ารประกาศ
๓. งานจดทะเบียนท่ีต้องมกี ารรังวัด
งานทะเบียนที่ดินดังกล่าวนอกจากจะมีความรู้ ความเข้าใจกฎหมายที่เก่ียวข้องในการ
จดทะเบียนแล้ว เจา้ พนกั งานท่ีดินจงั หวัด/สาขา ตอ้ งรอบรู้ระเบยี บปฏบิ ัติ คำส่งั ในส่วนทเี่ กย่ี วกบั การบริหาร
จัดการงานเรื่องน้ัน ๆ เพ่ือกำกับดูแล และติดตามเร่งรัดงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น สำนักมาตรฐาน
การทะเบียนท่ีดิน จึงจัดทำสรุปหน้าท่ีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจดทะเบียนของเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/
สาขา ประกอบดว้ ย ๓ สว่ น ดงั นี้
ส่วนที่ ๑ อำนาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ตามกฎหมาย ระเบียบ/คำสั่ง
พร้อมหลักการและสาระสำคัญ โดยมีชื่อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง สามารถนำไปสืบค้นเพ่ือศึกษา
ในรายละเอยี ดได้
ส่วนท่ี ๒ การกำกับดแู ล ตรวจสอบ และควบคุมงานทะเบียนที่ดิน
ส่วนท่ี ๓ รายช่ือระเบียบกรมท่ีดินเร่ืองการจดทะเบียนประเภทต่าง ๆ และคู่มือการจดทะเบียน
สทิ ธิและนติ กิ รรม

ส่วนท่ี ๑ อำนาจหนา้ ทีต่ ามกฎหมาย ระเบยี บ/คำสงั่ หลักการและสาระสำคัญ

อำนาจหน้าทตี่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญการ การปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสงั่ ทเี่ ก่ยี วข้อง พจิ ารณา อำนาจหน้าท่ี

คำสงั่ กรมทีด่ ิน
๑. การจดทะเบียนสิทธิและ - มาตรา ๗๑ แห่งประมวล - พิจารณาการจดทะเบียนสิทธิและ - การจดทะเบี ยน
นิ ติ กรรมในการโอน กฎหมายทด่ี นิ นติ ิกรรมเกี่ยวกับอสังหารมิ ทรัพย์ สิทธิและนิติกรรม
อสังหาริมทรัพย์ตาม - ค ำ สั่ ง ก ร ม ท่ี ดิ น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ ซ่ึงเกินทุ นทรัพย์
ที่ประมวลกฎหมาย ท่ี ๙ ๕ ๕ / ๒ ๕ ๕ ๒ พาณิชย์ทุกประเภทโดยไม่จำกัด ท่ี หั ว ห น้ าฝ่ า ย
แพ่ งแล ะพ าณิ ชย์ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม จำนวนทุ นทรั พ ย์ เว้ นแต่ ทะเบียนมีอำนาจ
กำห น ด ให้ ต้ อ งจ ด ๒๕๕๒ มอบอำนาจให้ หั วหน้ าฝ่ าย จ ด ท ะ เ บี ย น
ทะเบี ยนต่ อพนั กงาน ทะเบี ยนเป็ นผู้ ปฏิ บั ติ หรื อ มอบอำนาจไม่ได้
เจ้าหนา้ ท่ี กำหนดไว้ ตามคำส่ั งกรมท่ี ดิ น
ที่ ๙๕๕/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒
พฤษภาคม ๒๕๕๒

26 ๒๖

อำนาจหน้าที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคญั การ การปฏบิ ตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่ังที่เกย่ี วขอ้ ง พิจารณา อำนาจหนา้ ท่ี

คำสั่งกรมที่ดนิ
๒. การสัง่ โอนมรดก - มาตรา ๘๑ แห่งประมวล - เพ่ือให้การจดทะเบียนโอนมรดก - เปน็ อำนาจ
กฎหมายท่ีดนิ ถูกต้องเป็นไปตามกฎหมายก่อน โดยเฉพาะ
- ระเบียบกรมที่ดินว่าด้วย จดทะเบียนโอนมรดกให้พนักงาน ไมส่ ามารถ
การจดทะเบี ยนสิ ทธิ เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบเร่ืองและ มอบอำนาจได้
เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ บันทึกเสนอเจ้าพนักงานท่ีดิน
ซึ่งได้มาโดยทางมรดก จังหวัด/สาขา พิจารณาส่ังจด
พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไข ทะเบียนก่อน โดยตรวจสอบว่า
เพมิ่ เตมิ ผู้ ขอรับมรดกเป็ นทายาทมี
สิทธิรับมรดกหรือไม่เป็นทายาท
โดยธรรมหรื อทายาทผู้ รั บ
พิ นั ยกรรม (ตามป ระมวล
กฎหมายแพ่ งและพาณิ ชย์
มาตรา ๑๕๙๙, ๑๖๐๐, ๑๖๐๓
แ ล ะ ๑ ๖ ๒ ๙ ) (ก รณี โอ น
มรดกตามศาลสั่ งไม่ ต้ องเสนอ
สง่ั โอนมรดก)
๓ . ก า ร สั่ ง ก า ร ห รื อ - มาตรา ๘๑ แห่งประมวล - กรณีมีผู้โต้แย้งการขอรับมรดก - เป็นอำนาจ
เปรียบเทียบมรดก กฎหมายท่ีดนิ ให้พิจารณาจากพยานหลักฐานว่า โดยเฉพาะ
- ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วย ผู้ขอรับมรดกหรือผู้โต้แย้งใคร ไม่สามารถ
การจดทะเบียนสิทธิ มีสิทธิในกองมรดกดกี วา่ กัน มอบอำนาจได้
เก่ียวกับอสังหาริมทรพั ย์ - กรณีตกลงกันได้ให้ดำเนินการไป
ซ่ึงได้มาโดยทางมรดก ตามข้อตกลงนนั้
พ.ศ. ๒๕๔๘ และแก้ไข - กรณีไม่อาจตกลงกันได้ให้พิจารณา
เพ่มิ เตมิ ส่ังการไปตามท่ีเห็นสมควรและ
แจ้งให้คู่กรณีทราบ และให้ฝ่าย
ที่ ไม่ พอใจไปดำเนิ นการฟ้ อง
ต่อศาลภายในกำหนด ๖๐ วัน
น ับ แ ต ่ว ัน ที ่ไ ด ้ร ับ แ จ ้ง
หากมิ ได้ ดำเนิ นการตามที่
กฎหมายกำหนดก็ให้ดำเนินการ
ไปตามที่ส่งั การ

๒2๗7

อำนาจหนา้ ที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคญั การ การปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่ังท่เี กีย่ วข้อง พจิ ารณา อำนาจหน้าท่ี

คำสั่งกรมทด่ี นิ - ร ะ เบี ย บ ก ร ม ที่ ดิ น - กรณีพนักงานเจ้าหน้าท่ีสอบสวน - เป็นอำนาจ
๔. โอนใหต้ ัวการ
ว่าด้วยการจดทะเบียน แล้วไม่น่าเช่ือว่าเป็นการโอนกัน โดยเฉพาะ
สิ ท ธิ แ ล ะ นิ ติ ก ร ร ม ระหว่างตัวแทนตัวการให้ชี้แจง ไมส่ ามารถ
เกี่ ย ว กั บ ก า ร โ อ น ผู้ ข อ เข้ าใจ ร ะ เบี ย บ แ ล ะ มอบอำนาจได้
ให้ ตั ว ก า ร ซ่ึ งท่ี ดิ น ข้อกฎหมายพร้อมทั้งเสนอ
และสังหาริมทรัพย์ เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา
อย่างอ่นื พ.ศ. ๒๕๕๒ พจิ ารณาสัง่ การ
- กรณีก่อนดำเนินการจดทะเบียน
โอนให้ตัวการพนักงานเจ้าหน้าที่
ผู้ มี ห น้ า ที่ จ ด ท ะ เบี ย น เส น อ
เรื่องราวต่อเจ้าพนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา พิจารณาสั่งการ
กอ่ นทกุ ราย
๕. วางทรัพยอ์ ันเป็นสินไถ่ - ร ะ เบี ย บ ก ร ม ที่ ดิ น - การสั่งรับวางทรัพย์เจ้าพนักงาน - ก า ร รั บ -โ อ น -
ว่าด้วยการวางทรัพย์ ที่ดินกรุงเทพมหานคร /สาขา จ่ายเงิน อัน เป็ น
อั น เ ป็ น สิ น ไ ถ่ เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด / สินไถ่ ที่มีทุนทรัพย์
ณ ส ำ นั ก งา น ที่ ดิ น สาขา /ส่วนแยก แล้วแต่กรณี เกิน อำน าจของ
ตามกฎหมายว่าด้วย พิจารณาส่ัง “รับวางทรัพย์” เจ้าพนักงานที่ดิน
การคุ้มครองประชาชน หรอื “ไม่รับวางทรพั ย์” ส า ข า / ส่ ว น แ ย ก
ใ น ก า ร ท ำ สั ญ ญ า - การขอรับสินไถ่ เจ้าพนักงาน มอบอำนาจไม่ได้
ข า ย ฝ า ก ที่ ดิ น เพ่ื อ ที่ดินกรุงเทพมหานคร /สาขา
เก ษ ต ร ก ร ร ม ห รื อ เจ้าพนักงานที่ดินจังหวดั /สาขา
ท่อี ยู่อาศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ /ส่ ว น แ ย ก แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี
พิจารณาส่ัง “อนุญาตให้รับ
สนิ ไถ”่ หรอื “ไม่อนญุ าตใหร้ ับ
สนิ ไถ”่
- การรับ-โอน-จ่ายเงินอันเป็น
สินไถ่เป็นไปโดยถูกต้องตาม
กฎหมายและเป็นมาตรฐาน
เดยี วกนั

28 ๒๘

อำนาจหน้าที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคญั การ การปฏิบัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสัง่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พิจารณา อำนาจหน้าท่ี

คำสง่ั กรมท่ดี นิ
๖. การสั่งอายดั - ม า ต ร า ๘ ๓ แ ห่ ง - กรณีขอให้ระงับการจดทะเบียน - เปน็ อำนาจ
ประมวลกฎหมายทด่ี ิน หรือเปล่ียนแปลงทางทะเบียน โดยเฉพาะ
- คำสั่งกระทรวงมหาดไทย ผู้ขออายัดต้องเป็นผู้มีส่วนได้เสีย ไมส่ ามารถ
ที่ ๖ ๓ ๕ / ๒ ๕ ๔ ๗ ในท่ีดินที่ขออายัดอันอาจจะฟ้อง มอบอำนาจได้
ลงวันท่ี 2๑ ธันวาคม บังคับให้มีการจดทะเบียนหรือ
๒๕๔๗ ให้มีการเปล่ียนแปลงทางทะเบียนได้
โดยมี หลั กฐานมาแสดงว่ า
ตนเป็นผู้มีส่วนได้เสียจะรับอายัดได้
เฉพาะที่ดิน การรับหรือไม่รับ
อายัดให้พิจารณาจากหลักฐาน
ท่ีผู้ขออายัดนำมาแสดง และ
ประเด็นที่ขออายัดจะต้องไม่มี
การยนื่ ฟอ้ งตอ่ ศาล
- การส่ังรับอายัดจะมีกำหนด
๓๐ วัน นับแต่วันที่ส่ังรับอายัด
เม่ือพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว
การอายัดสิ้นสุดลงทันที และ
ผู้น้ั นจะขออายั ดซ้ำในกรณี
เดียวกันอกี ไมไ่ ด้
๗. การส่ังแก้ไขกรณีการ - มาตรา ๖๑ วรรคเจ็ด - กรณีเขียนหรือพิมพ์ข้อความ - มอบอำนาจได้
คลาดเคล่ือนเน่ืองจาก แห่งประมวลกฎหมาย ผิดพลาดคลาดเคลื่อนโดยมี
การเขียนหรือพิมพ์ ท่ีดิน หลักฐานชัดแจ้งและผู้มีส่วน
ข้อความผิดพลาด ได้เสียยินยอมเป็นลายลักษณ์
อักษรแล้วเจ้าพนักงานท่ีดิน
มอี ำนาจหน้าทแี่ ก้ไขให้ถกู ต้องได้
๘. การส่ังจำหน่ายคำขอ/ - ร ะ เบี ย บ ก ร ม ท่ี ดิ น - กรณีคำขอท่ีมีการประกาศครบ - เป็นอำนาจ
ส่ังยกเลิกคำขอ/ลงนาม ว่าด้วยการรายงาน กำหนดแล้ว หรือคำขอรังวัดที่ โดยเฉพาะ
ในหนังสือแจ้งผู้ขอ/ ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ฝ่ายรังวัดดำเนินการเสร็จแล้วส่ง ไม่สามารถ
อนุมัติดำเนินการกับ และการจัดการงานค้าง ฝ่ายทะเบี ยนดำเนิ นการโดย มอบอำนาจได้
คำขอท่ีสั่งจำหน่ายและ ของสำนั กงาน ที่ ดิน พนั กงานเจ้ าหน้ าที่ ทำหนั งสื อ
คำขอทส่ี ั่งยกเลกิ แลว้ พ.ศ. ๒๕๕๕ แจ้งให้ผู้ขอมาดำเนินการภายใน
๓๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
หากไม่มาตามกำหนดดังกล่าวให้

๒2๙9

อำนาจหน้าท่ตี าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญการ การปฏิบัติตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสัง่ ที่เกย่ี วขอ้ ง พิจารณา อำนาจหน้าที่

คำสัง่ กรมท่ดี นิ เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา

ดำเนินการ ดังน้ี
๑. ส่ังจำหน่ายคำขอ/ยกเลิกคำขอ
และลงนามในหนังสือแจง้ ผู้ขอ
๒. กรณีจำหน่ายคำขอแล้วและ
ต่อมาผู้ขอมีความประสงค์จะ
ดำเนินการต่อให้ส่ังอนุมัติ
ดำเนนิ การตามคำขอ
๓. กรณียกเลิกคำขอแล้ว และ
ต่อมาผู้ขอมีความประสงค์
ข อ ให้ มี ก า ร พิ จ า ร ณ า ให ม่
ให้ พิ จ า ร ณ า สั่ ง อ นุ มั ติ
ด ำ เนิ น ก า ร ก่ อ น ที่ จ ะ
ดำเนินการตอ่ ไป
๙. การส่ังปฏิเสธการ - ห นั ง สื อ ก ร ม ท่ี ดิ น - กรณีปฏิเสธการรับคำขอให้ - มอบอำนาจได้
รับคำขอ ด่ ว น ม า ก ที่ ม ท พิจารณาสั่งการโดยระบุถึง
๐ ๕ ๑ ๕ /ว ๑ ๘ ๕ ๐ สาเหตุที่ไม่อาจดำเนินการ
ลงวันที่ ๒๔ มกราคม ตามคำขอได้ เน่ืองจากขัดด้วย
๒๕๔๖ ระเบียบ คำสั่ง หรือข้อกฎหมาย
และต้องชี้แจงระเบียบ คำส่ัง
และข้อกฎหมายน้ัน ให้เป็นที่
เข้ า ใ จ แ ล ะ แ จ้ ง สิ ท ธิ ใ น ก า ร
อุทธรณ์ ให้ ผู้ขอท ราบตาม
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัตริ าชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ด้วย
๑๐. การสั่งการเก่ียวกับ - ค ำ สั่ ง ก ร ม ที่ ดิ น - กรณีส่ังการเก่ียวกับหนังสือมอบ - การสั่งการหนังสือ
หนังสือมอบอำนาจ ที่ ๙ ๕ ๕ / ๒ ๕ ๕ ๒ อำนาจให้ตรวจสอบเคร่ืองหมาย มอบอำนาจที่เป็ น
ที่เป็ นการโอนท าง ลงวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ท่ีดินหรืออสังหาริมทรัพย์อ่ืน การโอนทางทะเบียน
ทะเบียน เช่น ขาย ๒๕๕๒ ช่ือ ช่ือสกุล อายุ ชื่อบิ ดา ซ่ึงมีทุนทรัพย์เกินท่ี
ขายฝาก ให้ แลกเปลี่ยน มารดา สำเนาภาพถ่ายบัตร หัวหน้าฝ่ายทะเบียน
ฯลฯ ซ่ึงมีทุนทรัพย์ ประจำตั วของผู้ มอบอำนาจ มีอำนาจจดทะเบียน
เกินทนุ ทรัพย์ทีห่ ัวหน้า พร้อมทั้งตรวจสอบอำนาจใน มอบอำนาจไม่ได้
ฝ่ายทะเบียนมีอำนาจ การมอบอำนาจ
จดทะเบียนหรือเกินกว่า - ตรวจสอบลายมือช่ือของผู้มอบ

30 ๓๐

อำนาจหน้าท่ตี าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคัญการ การปฏบิ ัติตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสง่ั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง พิจารณา อำนาจหนา้ ท่ี

คำส่ังกรมที่ดนิ อำนาจ
สบิ ลา้ นบาทถ้วน
- เมื่อตรวจสอบและพิจารณาแล้ว
เห็นว่า หนังสือมอบอำนาจใช้ได้
ใหส้ ัง่ การวา่ “ดำเนนิ การได้”
- เมื่อตรวจสอบและพิจารณาแล้ว
เห็นว่า “ใช้ไม่ได้” ให้สั่งปฏิเสธ
ไม่รับดำเนินการให้พร้อมเหตุผล
ในหนังสือมอบอำนาจแล้วแจ้งให้
ผู้รับมอบอำนาจทราบและแจ้ง
สิทธิในการอุทธรณ์ให้ผู้ขอทราบ
ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติ
ราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
๑๑. การส่ังเปรียบเทียบการ - มาตรา ๗๗ แห่งประมวล - กรณีคำขอจดทะเบียนที่ต้องมี - มอบอำนาจได้
จดทะเบียนสิทธิและ กฎหมายท่ีดิน การประกาศแล้วมี ผู้คั ดค้ าน
นิติกรรมเกี่ยวกับท่ีดิน - กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ ระหว่างประกาศ ให้พนักงาน
หรืออสังหาริมทรัพย์ (พ.ศ. ๒๔๙๗) ออกตาม เจ้าหน้าที่สอบสวนพยานหลักฐาน
อย่างอ่นื ความในพระราชบัญญัติ แ ล ะ ท ำก ารเป รี ย บ เที ย บ
ให้ใช้ประมวลกฎหมาย ท้ังสองฝ่ายและเสนอเจ้าพนักงาน
ทีด่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗ ทีด่ ินจังหวัด/สาขา สั่งเปรียบเทียบ
ดงั นี้
๑. ถ้าตกลงกันได้ให้ทำหนังสือ
สั ญ ญ าป ระนี ป ระ น อ ม
ยอมความไวแ้ ลว้ ดำเนินการ
ไปตามนัน้
๒ . ถ้าตกลงกันไม่ได้ให้ งด
ด ำเนิ น ก ารไว้ แ ล้ ว แ จ้ ง
ใ ห้ ท้ั ง ส อ ง ฝ่ า ย ไป จั ด ก า ร
ฟ้ อ งร้ อ งกั น แ ล ะ เมื่ อ มี
ค ำ พิ พ า ก ษ า ถึ ง ท่ี สุ ด แ ล้ ว
จึงดำเนินการจดทะเบียน
ตามผลแหง่ คำพพิ ากษา

๓3๑1

อำนาจหนา้ ทตี่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคัญการ การปฏบิ ัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่งั ทีเ่ กี่ยวข้อง พจิ ารณา อำนาจหนา้ ที่

คำส่งั กรมทดี่ ิน
กำหนดสทิ ธใิ นทดี่ ิน
๑๒. การพิจารณาสั่งการ - มาตรา ๙๗ แหง่ ประมวล - ในการพิจารณาเร่ืองราวนิติบุคคล - เป็นอำนาจ
เก่ียวกับการขอได้มา กฎหมายที่ดนิ ขอได้มาซึ่งท่ีดินให้เจ้าพนักงาน โดยเฉพาะ
ซงึ่ ที่ดินของนิตบิ คุ คล - ห นั ง สื อ ก ร ม ท่ี ดิ น ท่ีดินจังหวัด/สาขา หรือผู้รักษา ไม่สามารถ
ลับ ที่ มท ๐ ๗ ๑ ๐ / ราชการแทนสั่ งการทุ กเรื่อง มอบอำนาจได้
ว ๑๘๖๘๘ ลงวันที่ ๗ โดยตรวจสอบหลั กฐานของ
กรกฎาคม ๒๕๔๑ นิ ติ บุ คคลว่ ามี หุ้ นเป็ นทุ น
จดทะเบี ยนถื อโดยคนต่ างด้ าว
ไม่ เกิ นร้ อยละ ๔๙ ของทุ น
จดทะเบี ยนและผู้ถือหุ้ นเป็ น
คนต่างด้าวไม่เกินกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนผู้ ถื อหุ้ นท้ั งหมดจึ ง
พจิ ารณาสงั่ รับโอนทีด่ ินได้
๑๓. การลงนามในหนังสือ - ห นั ง สื อ ก ร ม ที่ ดิ น - ลงนามในหนังสือสัญญาตกลง - เป็นอำนาจ
สัญญาตกลงยกที่ดิน ที่ มท ๐๕๑๕/ว ๑๓๓๓๔ ยกที่ดินให้สร้างวัด(ส.ถ.๒)รว่ มกับ โดยเฉพาะ
ให้สรา้ งวดั ลงวันท่ี ๒๓ พฤษภาคม นายอำเภอเพื่ อให้ เป็ นไปตาม ไมส่ ามารถ
๒๕๕๑ ข้ อกำหนดในกฎกระทรวงท่ี มอบอำนาจได้
- กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑ บัญญัติให้ผู้ที่ย่ืนเร่ืองขออนุญาต
(พ.ศ. ๒๕๐๗) และ สร้างวัดต้องแนบหนังสือสัญญา
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ ยกทด่ี นิ ให้สร้างวดั
(พ.ศ. ๒๕๒๐) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕

การบรหิ ารจัดการงานทะเบยี นทด่ี นิ
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา มีหน้าท่ีความรับผิดชอบเก่ียวกับการจดทะเบียนสิทธิและ

นิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การประเมินราคาทรัพย์สิน
การควบคุม จัดเก็บ และรักษาเอกสารทางทะเบียนที่ดิน ทะเบียนอาคารและโรงเรือน แบ่งเป็น ๒ ประเภท
ดงั น้ี

๑. งานท่ีไมต่ อ้ งประกาศการจดทะเบยี นสิทธิและนิตกิ รรม
๑.๑ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ

พาณชิ ย์เก่ยี วกบั ท่ีดินที่มหี ลักฐานเป็นโฉนดท่ดี ินหรือหนังสือรบั รองการทำประโยชน์ (น.ส. ๓ ก.)
๑.๒ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดินตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง

ประชาชนในการทำสัญญาขายฝากท่ีดนิ เพอ่ื เกษตรกรรมหรอื ท่อี ยู่อาศยั พ.ศ. ๒๕๖๒


Click to View FlipBook Version