The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดและเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา (ฉบับปรับปรุง) (ปี 2563)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

132 ๑๒๘

ประเด็นภารกจิ สาระสำคญั ในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสั่งที่เก่ียวข้อง

หรือองค์กรหรือคณะกรรมการตามที่
กฎหมายของหน่วยงานนั้นกำหนดพิจารณา
คัดเลือกผู้ที่สมควรจะได้รับการจัดท่ีดิน
ตามการคัดกรองจดั ลำดบั ตาม (๓)
(๕) ให้ผู้ท่ีผ่านการพิจารณาตาม (๔) จัดต้ัง
สถาบันเกษตรกรในรูปสหกรณ์หรือกลุ่ม
เกษตรกร โดยต้องมวี ัตถุประสงค์เพื่อนำ
ที่ดินที่ได้มาไปบริหารจัดการให้สมาชิก
ใช้ประโยชน์ตามกฎหมายของหน่วยงาน
นน้ั กำหนดด้วย
(๖) ให้องค์กรหรือคณะกรรมการตามท่ีกฎหมาย
ของหน่วยงานน้ันกำหนดพจิ ารณาอนญุ าต
ให้สถาบันเกษตรกรเข้าทำประโยชน์ใน
ที่ดินตามเงื่อนไขที่กฎหมายของหน่วยงาน
น้นั กำหนด
(๗) คทช.จังหวัดบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาพ้ืนท่ีและอาชีพ
ของสมาชิกสถาบันเกษตรกรหรือผู้ที่ได้รับ
การจัดทีด่ นิ สำหรบั การพัฒนาพื้นทดี่ า้ น
โครงสร้างพื้นฐานและกิจการสาธารณ-
ประโยชน์ ตามแผนผังที่กำหนดให้
หน่วยงานที่ดำเนินการ บูรณาการพัฒนา
ขอใช้ท่ีดินเพ่ือดำเนินงานได้จากหน่วยงาน
เจ้าของพนื้ ที่

9.3 กระบวนการจัดท่ีดิน ๑. หลักเกณฑ์การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนการ
ทำกินให้ชุมชนตาม จดั ระเบยี บ/จดั ระบบการใช้ประโยชน์เป็น
น โย บ าย รัฐ บ าล การนำที่ดินของรัฐที่มีผู้ครอบครองใช้
(ค ท ช .) จังห วัด ประโยชน์มาจัดระเบียบการใช้ประโยชน์
นครศรีธรรมราช รวมทั้งการนำที่ดินของรฐั ท่ีไม่มีผู้ครอบครอง
พื้นท่ีดำเนินการเป็น มาจดั ระบบการใชป้ ระโยชน์ให้แก่ผู้ยากไร้

๑1๒3๙3

ประเดน็ ภารกจิ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสง่ั ที่เกี่ยวข้อง

ที่ ดิ นใน พ้ื น ที่ ป่ า ไม่มีที่ดินทำกิน หรือมีแต่ไม่พอเลี้ยงชีพ
สงวนแห่ งชาติท่ี โดยใชห้ ลกั เกณฑด์ ังนี้
เป็นป่าชายเลน (๑) จัดที่ดินทำกินให้ชุมชนในรูปแปลงรวม

ให้ใชป้ ระโยชน์รว่ มกันโดยไม่ให้กรรมสิทธิ์
เฉพาะรายตามสภาพพื้นที่และตาม
เขตการปกครองโดยสมาชิกของชุมชน
ควรมีการรวมกลุ่มกันทั้งนี้อาจประกอบ
ด้วย สมาชิกในกลุ่มตามรูปแบบที่
กฎหมายกำหนดเช่นวิสาหกิจชุมชน
สหกรณ์ เป็นต้น
(๒) การใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เป็นไปตาม
ข้อกำหนดและเงื่อนไขกรมทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝั่ง ซึ่งได้ผ่านความ
เห็นชอบของ คทช. แลว้
(๓) จัดที่ดินให้แก่ผู้เข้าทำประโยชน์หรือ
อยู่อาศัยในพ้ืนท่ีอยู่แล้วตามที่ครอบครอง
อยู่จริงแต่ไม่เกิน 3๐ ไร่ หากมีพื้นที่
เหลือหรือพ้ืนที่ท่ีไม่มีผู้ทำประโยชน์ให้
นำมาฟื้นฟูสภาพป่าก่อน หากพ้ืนที่ไม่
เหมาะสม ที่จะนำมาฟ้ืนฟูสภาพป่าจึง
จะจัดให้ผู้ท่ีถูกผลักดันและอพยพออก
จากพ้ืนท่ีปา่ และผมู้ ถี น่ิ ท่อี ยู่ในท้องทที่ ่ี
จะจัดที่ดินหรือใกล้เคียง โดยพิจารณา
จากหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตาม
ลำดับ ตามเกณฑ์การตรวจสอบข้อมูล
การถือครองและแนวทางการจัดที่ดิน
ที่ คทช. เห็นชอบ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ
ควบคุมและร่วมกันดูแลรักษาพื้นที่
ป่าชายเลน
(๔) ให้ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ใน
ที่ดินนำท่ีดินดังกล่าวไปดำเนินการจัด

134 ๑๓๐

ประเดน็ ภารกจิ สาระสำคัญในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสั่งทีเ่ ก่ียวข้อง

ที่ดินทำกินให้ชุมชนหรือสมาชิกของ
ชุมชนท่รี วมกลุ่มกนั ตามนโยบายรัฐบาล
โดยร่วมกับ คทช.จังหวัด เพ่ือดำเนินการ
จดั ที่ดินให้แก่ราษฎรท่ีมคี ุณสมบัติและ
เป็นไปตามหลักเกณฑท์ ่ี คทช. เห็นชอบ
(๕) พื้นที่ท่ีจะจัดให้ตามโครงการฯ ต้องมี
การทำประโยชน์ในพื้นท่ีก่อนมติคณะ
รฐั มนตรี เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๓๔
และตอ่ เนอ่ื งจนถึงปจั จบุ นั
(๖) ให้กันที่ดินส่วนที่อยู่ห่างจากริมทะเล
ไม่น้อยกว่า ๑๐๐ เมตร ออกไปก่อน เพื่อ
การอนรุ กั ษแ์ ละฟืน้ ฟูสภาพป่าชายเลน
(7) ในการจัดระบบการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
ให้ กั บ ผู้ ได้ รั บ ก า ร จั ด ท่ี ดิ น ร า ย ให ม่
จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้กำหนด
พ้ืนที่ไวป้ ระมาณ 500 ไร่
(8) ผู้ที่จะได้รับการจัดท่ีดินต้องแจ้งความ
ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ ต่อกรม-
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งหรือ

คทช. จังหวดั

๒. ประเภทของผทู้ ี่ไดร้ ับการจดั ทดี่ นิ
๑. ผู้เข้าทำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในพื้นท่ี
อยู่แล้วจากการสำรวจเบื้องต้นของกรม
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและ
เป็นไปตามผลการตรวจสอบข้อมูลรูป
แปลงท่ีดิน และข้อมูลรายชื่อราษฎรผู้
ครอบครองจาก คทช. จังหวัด โดยจำแนก
ประเภทผู้ที่ได้รับการจัดท่ีดินตามลักษณะ
การครอบครอง ออกเป็น
(1.1) ผู้ครอบครองรายเดิมชื่อตรง/

๑1๓3๑5

ประเด็นภารกิจ สาระสำคัญในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสงั่ ท่เี กี่ยวข้อง

แปลงตรงให้เข้าร่วมโครงการฯ
(1.2) ผู้ครอบครองชื่อไม่ตรง (ทายาทผู้

ครอบครองรายเดิม)/แปลงตรง
ให้เขา้ รว่ มโครงการฯ
(1.3) ผู้ครอบครองรายใหม่/มีการ
เปล่ียนมือให้ตรวจสอบคุณสมบัติ
ของผคู้ รอบครอง
กรณีผ่าน : ให้เข้าร่วมโครงการฯ
กรณีไม่ผ่าน : แจ้งผู้ครอบครองทราบและให้
นำพ้ืนทมี่ าฟ้นื ฟูสภาพป่า
(1.4) ในพื้นที่ท่ีไม่มีผู้แจ้งความประสงค์
เขา้ ร่วมโครงการฯ ให้ คทช. จังหวัด
ตรวจสอบเพ่ิมเติมเพ่ือยืนยันว่า
ไม่ประสงค์จะเข้าร่วมโครงการฯ
ในกรณีนี้ให้กรมทรัพยากรทางทะเล
และชายฝ่ังพิจารณาดำเนินการ
ตามอำนาจหนา้ ที่ต่อไป
2. ผู้ที่ถูกผลักดนั และอพยพออกจากพน้ื ที่ปา่
3. ผู้มีถิ่นที่อยู่ในท้องที่ที่จะจัดที่ดินหรือ
ใกล้เคียง โดยพิจารณาจากหมู่บ้าน ตำบล
อำเภอ จงั หวัด ตามลำดบั

๓. คณุ สมบัติของผทู้ ี่ไดร้ บั การจัดท่ดี ิน
๓.๑ ผู้ครอบครองท่ีดินรายเดิม (การจัด
ระเบียบการใช้ประโยชน์)
(๑) มีสัญชาติไทยและบรรลุนิติภาวะ
แล้วหรอื เปน็ หวั หน้าครอบครัว
(๒) มีความสามารถทำประโยชน์ในที่ดนิ ได้
(๓) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟ่ันเฟือน
ไม่สมประกอบ
(๔) ยินยอมปฏบิ ัตติ ามระเบยี บข้อบังคับ
ขอ้ กำหนด และเงื่อนไขท่ีกำหนด

136 ๑๓๒

ประเดน็ ภารกิจ สาระสำคญั ในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสงั่ ทเี่ กี่ยวข้อง

(๕) ปัจจุบันไม่ได้รับการช่วยเหลือในการ
จดั ที่ดินจากทางราชการ

๓.๒ ผู้ได้รับการจัดที่ดินรายใหม่ (การจัด
ระบบการใช้ประโยชน)์
(๑) มีสัญชาติไทยและบรรลุนิติภาวะ
แลว้ หรือเปน็ หัวหนา้ ครอบครวั
(๒) มีความสามารถทำประโยชนใ์ นท่ีดินได้
(๓) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือน
ไม่สมประกอบ
(๔) ยนิ ยอมปฏบิ ัตติ ามระเบียบข้อบังคบั
ขอ้ กำหนด และเงื่อนไขท่ีกำหนด
(๕) ปจั จุบันไม่ได้รบั การช่วยเหลือในการ
จัดท่ีดินจากทางราชการ
(๖) เปน็ ผู้ยากไร้ไม่มีท่ีทำกินและ/หรือท่ีอยู่
อาศัยหรอื มรี ายไดไ้ มเ่ กนิ ๓๐,๐๐๐
บาท/คน/ปี
(๗) มีถ่ินที่อยู่ในท้องท่ีท่ีจะจัดท่ีดินหรือ
ใกล้เคยี ง

กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน
จงั หวัดพิจารณาถึงความจำเป็นเพ่ือประโยชน์
ในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบเรียบร้อย
โดยคำนึงถึงลักษณะพ้ืนที่ สภาพการใช้ประโยชน์
ทำประโยชน์ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน
จังหวัด (คทช. จังหวัด) จะผ่อนผันการปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑเ์ ป็นการเฉพาะรายก็ได้

๔. แนวทางการดำเนนิ การ
(๑) คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินส่งมอบ
ข้อมูลแปลงที่ดินและรายช่ือผู้ครอบครอง
ที่มีให้แก่ คทช. จงั หวัดดำเนินการ
(๒) คทช. จังหวัด ร่วมกับหน่วยงานเจ้าของ

๑1๓3๓7

ประเด็นภารกิจ สาระสำคญั ในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสงั่ ท่เี กี่ยวข้อง

พื้นที่ (ระดับจังหวัด) สำรวจ/ตรวจสอบ/
ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อมูลรูปแปลงที่ดิน
และข้อมูลของราษฎรผู้ครอบครองภายใน
ขอบเขตพื้นที่ที่จะดำเนินการจัดที่ดิน
ทำกนิ ให้ชุมชน และจำแนกประเภทตาม
ลกั ษณะการครอบครอง
(๓) คทช.จังหวัดรวบรวมข้อมูลรายงานคณะ
อนุกรรมการจดั ที่ดินทราบ เพ่ือรายงานให้
คทช. ทราบ
(๔) จังหวัดหรือหนว่ ยงานท่ไี ด้รับมอบหมาย
จาก คทช. จังหวัดขออนุญาตเข้าทำ
ประโยชน์ หรืออยู่อาศัยภายในเขตป่า
สงวนแห่งชาติ ตามมาตรา ๑๖ แห่ง
พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๐๗ ซ่ึงกรมทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่งได้ดำเนินการขอยกเว้น มติครม.
ทีเ่ กี่ยวข้องเรียบร้อยแล้ว
(๕) หน่วยงานท่ีได้รับมอบหมายจาก คทช.
จังหวัดได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน
เจา้ ของพน้ื ท่ี
(๖) คทช.จังหวดั อาจต้ังคณะทำงานจัดที่ดิน
ดำเนินการจัดระเบียบ/จัดระบบการใช้
ประโยชน์
(๗) คณะทำงานฯประชุมช้ีแจงราษฎรแจ้ง
ให้ทราบถึงแนวทาง/แผนการดำเนินงาน
(๘) คณะทำงานฯ คัดเลือกบุคคลตามคุณสมบัติ
ประเภทของผู้ที่ได้รับการจัดท่ีดิน และ
เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการจัดที่ดิน
ทำกินให้ชุมชนที่กำหนดซ่ึงได้ผ่านความ
เห็นชอบของ คทช. แล้ว รวมท้ังจัดทำ
ผังแปลงท่ีดินและรายช่ือราษฎรท่ีจะ

138 ๑๓๔

ประเดน็ ภารกิจ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสัง่ ทีเ่ กี่ยวข้อง

ได้รับการจัดระเบียบ/จัดระบบการใช้
ประโยชน์
(๙) คทช. จังหวัด อนุมัติให้ดำเนินการจัด
ระเบียบ/จัดระบบการใช้ประโยชน์ตาม
ผังแปลงและรายช่ือที่คณะทำงานฯ เสนอ
จากน้ันรายงานผลให้คณะอนุกรรมการ
จัดท่ีดินเพอื่ รายงาน คทช. ทราบ
(๑๐) คทช.จงั หวดั รวบรวมข้อมลู ส่งเรือ่ งให้
ผู้ได้รับอนุญาตและหน่วยงานเจ้าของ
พ้ืนท่ีกำกับดูแลให้เป็นไปตามการอนุญาต
และข้อกำหนดภายใต้การบริหารจัดการ
ของ คทช.จังหวัด

9.4 กระบวนการการจัด 1. หลกั เกณฑก์ ารจัดท่ีดนิ ทำกินให้ชมุ ชน มี 2
ทดี่ ินทำกินให้ชุมชน รูปแบบ ดงั นี้
ตามนโยบายรัฐบาล 1.1 การจัดท่ีดินทำกินให้ชุมชนโดยการจัด
ในทด่ี ินราชพัสดุ ระบบการใช้ประโยชน์ นำท่ีดินราชพัสดุ

ที่ไม่มีการใช้ประโยชน์ (ท่ีว่าง) มาจัดระบบ

ใช้ประโยชน์

(1) จัดที่ดินทำกินให้ชุมชนหรือกลุ่มบุคคล

โดยไม่ให้เป็นกรรมสิทธ์ิเฉพาะรายตาม

สภาพพนื้ ท่ีและตามเขตการปกครอง

(2) จัดทำแผนผังแปลงที่ดินตามสัดส่วนที่

เหมาะสมกับสภาพการใช้ประโยชน์

และความเหมาะสมของสภาพพืน้ ท่ี

(3) จัดทำสาธารณูปโภคอย่างเหมาะสมกับ

พนื้ ท่ีและความสะดวกในการใชป้ ระโยชน์

(4) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการ

จัดท่ีดนิ ราชพัสดุ และการใช้ประโยชน์

ทีด่ นิ ราชพัสดใุ ห้เปน็ ไปตามกฎหมายท่ี

๑1๓3๕9

ประเดน็ ภารกิจ สาระสำคญั ในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสัง่ ท่เี กี่ยวข้อง

ราชพัสดุ ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบของ
คทช. แล้ว
(5) จัดท่ีดินราชพัสดุให้ผู้ที่ถูกผลักดัน และ
อพยพออกจากพื้นท่ีป่าต้นน้ำและป่า
อนุรักษ์ท่ีสำคัญเป็นลำดับแรก และผู้
บกุ รุกทด่ี ินราชพัสดุซึง่ อยู่ในเง่ือนไขจะ
ได้รับการจัดท่ีดินตามกฎหมายที่ราช-
พัสดุผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนิน
การตามโครงการของทางราชการที่
สูญเสียที่ดินทำกิน และผู้ท่ีไม่มีท่ีดิน
ทำกิน หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอ
ต่อการครองชีพ ท่ีมีถิ่นที่อยู่ในท้องท่ีท่ี
จะจัดท่ีดิน โดยพิจารณาจากหมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ ตามลำดับ หากมีพ้ืนที่
เหลือจึงจะจัดให้ผู้ท่ีมีถ่ินที่อยู่ในท้องที่
ใกล้เคียงอ่ืนต่อไป ทั้งนี้ กรณีที่คณะ
อนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดพิจารณา
เห็นเป็นความจำเป็น เพื่อประโยชน์
ในทางเศรษฐกิจ สังคม และความสงบ
เรียบร้อยสามารถกำหนดการคัดกรอง
และจัดลำดับท่ีเหมาะสมของชุมชน
ท้องถน่ิ ตามทเ่ี หน็ สมควรได้
1.2 การจัดท่ีดินทำกินให้ชุมชน โดยการจัด
ระเบียบการใช้ประโยชน์เป็นการนำ
ที่ดินราชพัสดุ ที่มีผู้ใช้ประโยชน์มาจัด
ระเบียบการใช้ประโยชน์
(1) จัดท่ีดินทำกินให้ชุมชนในรูปแปลงรวม
ตามสภาพพืน้ ทแ่ี ละตามเขตการปกครอง
(2) การใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เป็นไปตาม
กฎหมาย ข้อกำหนด และเงื่อนไข
ของหน่วยงานเจ้าของพ้ืนท่ี ซ่ึงได้

140 ๑๓๖

ประเด็นภารกิจ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ทเี่ กี่ยวข้อง

ผ่านความเหน็ ชอบของ คทช. แล้ว
(3) จัดที่ดินให้แก่ผู้เข้าทำประโยชน์หรือ

อยู่อาศัยในพื้นที่อยู่แล้วตามที่ครอบ
ครองอยู่จริง ตามความเหมาะสม
หากมีพ้ืนท่ีเหลือหรือพื้นที่ท่ีไม่มีผู้ทำ
ประโยชน์จึงจะจัดให้ผู้ที่ถูกผลักดัน
และอพยพออกจากพื้นที่ป่า และผู้มี
ถิ่นที่อยู่ในท้องที่ที่จะจัดที่ดินหรือ
ใกล้เคียง โดยพิจารณาจากหมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับตาม
เกณฑ์การตรวจสอบขอ้ มลู การถอื ครอง
และแนวทางการจัดที่ดินที่ คทช.
เห็นชอบ ท้ังนี้ เพื่อเป็นการควบคุม
และรว่ มกนั ดูแลรกั ษาพ้นื ทที่ ี่ราชพสั ดุ

2. ประเภทของผ้ทู ี่ไดร้ ับการจดั ท่ีดนิ
(1) ผู้ท่ีถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นที่
ป่าต้นนำ้ และปา่ อนรุ ักษท์ ี่สำคญั
(2) ผู้บุกรกุ ท่ีดินราชพัสดุซงึ่ อยู่ในเง่ือนไขจะ
ได้รับการจัดท่ีดินตามกฎหมายทร่ี าชพสั ดุ
(3) ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินการ
ตามโครงการของทางราชการท่ีสูญเสีย
ทีด่ นิ ทำกนิ
(4) ผทู้ ไ่ี ม่มีท่ดี ินทำกินหรือมเี พยี งเลก็ น้อย
ไม่พอต่อการครองชพี ทีม่ ีถ่ินท่อี ยู่ในทอ้ งท่ี
ที่จะจัดท่ีดินโดยพิจารณาจากหมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ จังหวดั ตามลำดบั หากมี
พ้ืนท่ีเหลือจึงจะจดั ให้ผู้ทมี่ ีถ่ินทอ่ี ยใู่ น
ท้องที่ใกล้เคยี งอ่นื ต่อไป

3. คณุ สมบัตขิ องผู้ท่ีได้รบั การจดั ทดี่ ิน
(1) บคุ คลสญั ชาตไิ ทย
(2) เป็นผู้ยากไร้ไมม่ ที ่ที ำกนิ และ/หรือที่อยู่

๑1๓๗41

ประเดน็ ภารกจิ สาระสำคัญในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ที่เก่ียวข้อง

อาศัยหรือมีรายได้ต่อปีไม่เกิน 30,000
บาท/คน
(3) บรรลุนิติภาวะแล้วหรือเป็นหัวหน้า
ครอบครวั
(4) มีถ่ินท่ีอยู่ในท้องที่ที่จะจัดท่ีดินหรือ
ใกลเ้ คยี ง
(5) มคี วามสามารถทำประโยชน์ในทดี่ ินได้
(6) ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ไมส่ มประกอบ
(7) ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ
ข้อกำหนด และเง่ือนไขท่ีกำหนดท้ัง
จาก คทช. และกรมธนารกั ษ์
(8) ปัจจุบันไม่ได้รับการช่วยเหลือในการ
จัดทด่ี นิ ทำกนิ จากทางราชการ
(9) กรณีท่ีคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน
จังหวัดพิจารณาเห็นเป็นความจำเป็น
เพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม
และความสงบเรียบร้อย โดยคำนึงถึง
ลักษณะพื้นท่ีสภาพการใช้ประโยชน์ทำ
ประโยชน์ คณะอนุกรรมการนโยบาย
ทด่ี ินจังหวดั (คทช.จังหวัด) จะผ่อนผัน
ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ห ลั ก เก ณ ฑ์ เป็ น ก า ร
เฉพาะรายก็ได้
(10) มีคุณสมบัติตามกฎหมายของหน่วยงาน
เจ้าของพ้ืนที่กำหนด เช่น กรณีการจัด
ระเบียบการใช้ประโยชน์ ผู้ได้รับการ
จัดสรรต้องเป็นผู้อยู่ในท่ีราชพัสดุก่อน
วันท่ี 4 ตลุ าคม 2546 เป็นตน้

4. แนวทางดำเนนิ การ
1) การจัดท่ีดินทำกินให้ชุมชน โดยการ

142 ๑๓๘
ประเด็นภารกจิ
สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสงั่ ท่ีเก่ียวข้อง

จัดระบบการใช้ประโยชน์
(1) สำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีประสาน

หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องสำรวจ ตรวจสอบ
ที่ราชพัสดุแปลงที่เหมาะสม พร้อม
ท้ั ง จั ด ท ำ ผั ง แ ป ล ง ท่ี ดิ น ให้ มี ข น า ด
เหมาะสม กับสภาพการทำประโยชน์
และแผนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานใน
ด้านต่าง ๆ เพ่ือส่งให้กรมธนารักษ์
พิจารณาคัดเลือกแล้วจัดส่งให้คณะ
อ นุ ก ร ร ม ก า ร จั ด ห า ที่ ดิ น พิ จ า ร ณ า
กำหนดเป็นพืน้ ท่ีเปา้ หมาย
(2) คณะอนกุ รรมการจัดหาที่ดนิ ให้ความ
เห็นชอบแล้วส่งมอบพ้ืนที่เป้าหมาย
ให้คณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน และ
คทช.จังหวัดดำเนนิ การ
(3) คทช. จังหวัดคัดเลือกบุคคลตาม
หลักเกณฑ์ คุณสมบัติ ประเภทผู้ได้รับ
การจัดที่ดินและข้อกำหนดอ่ืนที่เก่ียวข้อง
และจัดทำบัญชีรายช่ือผู้ที่จะได้รับการ
จัดท่ีดินส่งให้คณะอนุกรรมการจัดท่ีดิน
พิจารณา
(4) ผู้ได้รับการคัดเลือกตามบัญชีรายชื่อ
ผู้ท่ีจะได้รับการจัดที่ดิน ดำเนินการ
จดทะเบยี นจัดตงั้ สหกรณ์
(5) ชุมชนในรูปสหกรณ์ย่ืนคำขอเช่าที่
ราชพัสดใุ นลักษณะแปลงรวม
(6) สำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีดำเนินการ
จัดให้ชุมชนในรูปสหกรณ์เช่าตาม
กฎหมายที่ราชพัสดุ โดยสหกรณ์
จัดสรรพื้นที่ให้แก่สมาชิกเพื่ออยู่อาศัย
ได้ไม่เกิน ๑๐๐ ตารางวา ต่อครอบครัว

๑1๓4๙3

ประเดน็ ภารกจิ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสงั่ ท่เี กี่ยวข้อง

อัตราค่าเช่าไม่ต่ำกว่าตารางวาละ
๐.๒๕ บาทต่อเดือน และกรณีการเช่า
เพื่อประกอบการเกษตรได้ไม่เกิน
๑๕ ไร่ ต่อครอบครัว อัตราค่าเช่าไม่
ต่ำกว่าไรล่ ะ ๒๐๐ บาทต่อปี
(7) คทช. จังหวัด แจ้งผลการดำเนินการ
จัดทำสัญญาเช่าท่ีราชพัสดุให้คณะ
อนุกรรมการจัดที่ดินทราบเพ่ือส่งให้
คณะอนกุ รรมการส่งเสริมและพัฒนา
อาชีพดำเนินการต่อไป

2) การจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนโดยการจัด
ระเบยี บการใชป้ ระโยชน์
(1) สำนักงานธนารักษ์พ้ืนที่สำรวจรังวัด
และตรวจสอบท่ีราชพัสดุแปลงท่ีมี
การบุกรุกพร้อมรายละเอียดผู้บุกรุก
ส่งให้กรมธนารักษ์เพื่อพิจารณา
คัดเลือกแปลงเสนอคณะอนุกรรมการ
จัดหาท่ีดินพิจารณา กำหนดเป็น
พนื้ ทเี่ ปา้ หมาย
(2) คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินให้
ความเห็นชอบแล้วส่งให้คณะอนุ
กรรมการนโยบายทด่ี ินจังหวัด (คทช.
จังหวัด) พจิ ารณาดำเนนิ การ
(3) คทช. จังหวัด พิจารณาตรวจสอบ
ขอบเขตพื้นที่ดำเนินการ จำนวนผู้
บุ ก รุ ก แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล้ ว ส่ ง
ข้อมูลให้คณะอนุกรรมการจัดหา
ทด่ี นิ พจิ ารณา
(4) คณะอนุกรรมการจดั หาท่ีดนิ สง่ มอบ
พนื้ ที่เปา้ หมายใหค้ ณะอนกุ รรมการ
จัดท่ีดนิ และ คทช. จงั หวดั ดำเนนิ การ

144 ๑๔๐

ประเด็นภารกิจ สาระสำคญั ในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสง่ั ที่เกี่ยวข้อง

(5) คทช.จังหวัดรับรองสิทธิของผู้บุกรุก
ท่ีราชพัสดุตามสภาพการครอบครอง
ท่ีดิน และจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ที่จะ
ได้รับ ก า ร จัด ที่ดิน ส่ง ใ ห้ค ณ ะ อ นุ
กรรมการจัดทีด่ นิ พิจารณา

(6) ผู้ได้รับการคัดเลือกตามบัญชีรายช่ือผู้
ที่จะได้รับการจัดท่ีดินดำเนินการจด
ทะเบียนจัดตงั้ สหกรณ์

(7) ชุมชนในรูปสหกรณ์ย่ืนคำขอเช่าท่ี
ราชพัสดุในลกั ษณะแปลงรวม

(8) สำนักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีดำเนินการ
จัดให้ชุมชนในรูปสหกรณ์เช่าตาม
กฎหมาย ท่ีราชพัสดุ โดยสหกรณ์
จัดสรรพื้นท่ีให้แก่สมาชิกเพื่ออยู่
อาศัยและประกอบการเกษตร ตาม
จำนวนเนื้อที่ที่ครอบครองและ คทช.
จังหวัด ได้พิจารณาความเหมาะสม
แล้ว ในอัตราค่าเช่าเพื่ออยู่อาศัย
ไม่ต่ำกว่าตารางวาละ 0.25 บาท
ต่อเดือน และเพื่อประกอบการ
เกษตร อัตราค่าเช่าไม่ต่ำกว่า ไร่ละ
200 บาทต่อปี

9.5 กระบวนการจัดทดี่ ิน 1. หลักเกณฑ์การจัดระเบียบท่ีดินสาธารณ-
ทำกินและท่ีอยู่อาศัย ประโยชน์ให้ชุมชนทำกินหรือท่ีอยู่อาศัยตาม
ให้ชุมชนในที่ดิน นโยบายของรัฐบาล และคณะกรรมการ
สาธารณประโยชน์ นโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) โดยการนำ
ท่ีดินสาธารณประโยชน์ท่ีประชาชนเลิกใช้
ประโยชน์รว่ มกนั แลว้ มาจัดระเบียบการถือ
ครองใหแ้ กร่ าษฎร ดงั นี้
1.๑ จัดที่ดินทำกินหรืออยู่อาศัยให้ชุมชน

๑1๔4๑5

ประเด็นภารกิจ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสัง่ ที่เก่ียวข้อง

ท่ีมีฐานะเป็ นนิ ติบุ คคลในรูปแบบ
สหกรณ์ หรือรูปแบบอ่ืนที่เหมาะสม
ตามสภาพพ้นื ที่
1.๒ การใช้ประโยชน์ในท่ีดินให้เป็นไปตาม
ข้อกำหนดและเง่ือนไขของหน่วยงาน
เจ้าของพื้นท่ี ซ่ึงได้ผ่านความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการนโยบายท่ีดินแห่งชาติ
(คทช.) แลว้
1.๓ จัดท่ดี ินให้แกผ่ ู้เขา้ ทำประโยชนห์ รืออยู่
อาศัยในพ้ืนที่อยู่แล้วตามที่ครอบครอง
อยจู่ ริงเป็นลำดับแรก หากมพี น้ื ท่ีเหลือ
จ า ก ก า ร จ ัด ที ่ด ิน ใ ห ้ค ง ไ ว ้เ ป ็น พื ้น ที ่
ส่วนกลาง เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน
สำหรับพื้นที่ที่มีผู้ครอบครองแต่ไม่อยู่
ในหลกั เกณฑ์หรือคุณสมบัติหรือเง่ือนไข
ท่ีกำหนดไว้ให้พิจารณาจัดให้แก่ผู้ท่ีถูก
ผลกั ดันและอพยพออกจากพื้นท่ีป่าต้น
น้ำและป่าอนุรักษ์ หรือพื้นที่ที่ทาง
ราชการกำหนดใหเ้ ปน็ ที่สงวนหวงห้าม
ตลอดไป โดยพิจารณาจากบุคคลท่ีมี
ถิ่น ที ่อ ยู่ใ น ท ้อ ง ที ่ที ่จ ะ จ ัด ที ่ดิน ห รือ
ใกล้เคียงในหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด
ตามลำดับ ตามเกณฑ์การตรวจสอบ
ข้อมูลการถือครองและแนวทางการจัด
ท่ีดินท่ีคณะกรรมการนโยบายท่ีดิน
แห่งชาติ (คทช.) เห็นชอบ ท้ังนี้ เพ่ือ
เป็นการควบคุมและร่วมกันดูแลที่
สาธารณประโยชน์ โดยจัดให้ครัวเรอื น
ละไม่เกนิ ๑๕ ไร่
1.๔ ให้ชุมชนที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์
ในท่ีดิน นำที่ดินดังกล่าวไปดำเนินการ
จัดให้แก่สมาชิกในชุมชนตามนโยบาย
รัฐบาล โดยร่วมกับคณะอนุกรรมการ
นโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด)
หน่วยงานผู้มีหน้าที่ดูแลรักษาตาม
กฎหมายและระเบียบของหนว่ ยงานน้นั

146 ๑๔๒

ประเด็นภารกจิ สาระสำคญั ในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ที่เก่ียวข้อง

2. ประเภทของผทู้ ี่ได้รับการจดั ท่ีดิน
2.๑ ผู้ท่ีเข้าครอบครองทำประโยชน์หรืออยู่
อาศัยในท่ีดินอยู่แล้ว โดยเป็นไปตามผล
การตรวจสอบข้อมูลรายชื่อบุคคลผู้เข้า
ครอบครองและรูปแปลงทด่ี ิน
2.๒ ผู้ที่ถูกผลักดันและอพยพออกจากพื้นที่
ป่าต้นน้ำ ป่าอนุรักษ์หรือพ้ืนที่ท่ีทางราชการ
กำหนดให้เป็นที่สงวนหวงห้ามตลอดไป
โดยพิจารณาจากบุคคลที่มีถิ่นที่อยู่ใน
ท ้อ ง ที ่ที ่จ ะ จ ัด ที ่ด ิน ห รือ ใ ก ล ้เ ค ีย ง ใ น
หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามลำดับ
ตามเกณฑ์การตรวจสอบข้อมูลการถือ
ครองและแนวทางการจัดท่ีดินท่ีคณะ
กรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.)
เหน็ ชอบ

3. คุณสมบัติของผ้ทู ่ีไดร้ ับการจัดทด่ี นิ
3.๑ บคุ คลสัญชาติไทย
3.๒ เป็นผู้ยากไร้ไม่มีท่ีทำกิน และ/หรือที่
อยู่อาศัย หรือมีรายได้ต่อปีไม่เกิน
๓๐,๐๐๐ บาท/คน
3.๓ บรรลุนิติภาวะแล้ว หรือเป็นหัวหน้า
ครอบครัว
3.๔ มีถ่ินท่ีอยู่ในท้องท่ีท่ีจะจัดท่ีดินหรือ
ใกลเ้ คียง
3.๕ มคี วามสามารถทำประโยชนใ์ นทีด่ ินได้
3.๖ ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือน
ไม่สมประกอบ
3.๗ ยินยอมปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ
ข้อกำหนด และเงื่อนไขทีก่ ำหนด
3.๘ ปัจจุบันไม่ได้รับการช่วยเหลือในการ
จัดทีด่ นิ จากทางราชการ

๑1๔4๓7

ประเด็นภารกิจ สาระสำคัญในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำสัง่ ท่เี กี่ยวข้อง

3.๙ กรณีที่คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน
จังหวัดพิจารณาถึงความจำเป็น เพื่อ
ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม และ
ความสงบเรียบร้อย โดยคำนึงถึงลักษณะ
พนื้ ที่สภาพการใช้ประโยชน์ ทำประโยชน์
คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
(คทช.จังหวัด) จะผ่อนผันการปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑเ์ ป็นการเฉพาะรายกไ็ ด้

4. แนวทางดำเนินการ
4.๑ กรมที่ดินจัดส่งข้อมูลแปลงที่ดินและ
รายช่ื อผู้ ค รอบ ค รอ งที่ ดิ น ให้ แก่
คณะอนกุ รรมการจดั หาท่ีดิน
4.2 คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินส่งมอบ
ข้อมูลแปลงท่ีดินและรายชื่อผู้ครอบครอง
ทด่ี ินใหค้ ณะอนุกรรมการจดั ทดี่ นิ
4.3 คณะอนุกรรมการจัดท่ีดินส่งมอบข้อมูล
แปลงท่ีดินและรายชื่อผู้ครอบครองให้
คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดิน (คทช.
จงั หวดั ) ดำเนินการ
4.4 คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจงั หวัด
(คทช.จังหวัด) ส่งมอบข้อมูลแปลงที่ดิน
และรายช่ือผู้ครอบครองให้คณะกรรมการ
พิจารณาเพื่ออนุญาตให้ประชาชนใช้
ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ ตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการอนญุ าต
ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของ
รัฐ พ.ศ. ๒๕๔๗ ตรวจสอบคุณสมบัติ
ของบุคคลตามที่คณะกรรมการนโยบาย
ทด่ี ินแหง่ ชาติ (คทช.) กำหนด
4.5 คณะกรรมการพิจารณาเพื่ออนุญาตให้
ประชาชนใช้ประโยชน์ในที่ดินของรัฐ

148 ๑๔๔

ประเดน็ ภารกิจ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ทเ่ี กี่ยวข้อง

ส่งผลข้อมูลแปลงท่ีดินและรายชื่อผู้
ครอบครองท่ีได้รับการพิจารณาคัดเลือก
แล้วให้คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดิน
จงั หวดั (คทช.จงั หวัด)
4.6 ผู้ที่ผ่านการพิจารณาตามข้อ (5) ขอ
จัดตั้งเป็นนิติบคุ คลในรูปสหกรณ์ หรือ
รูปแบบอ่ืนท่ีเหมาะสม โดยมีวัตถุ
ประสงค์เพ่ือนำท่ีดินท่ีได้มาบริหาร
จัดการให้แก่สมาชิกใช้ประโยชน์ตาม
กฎหมาย และระเบียบ
4.7 คณะอนกุ รรมการนโยบายที่ดินจงั หวัด
(คทช.จงั หวดั ) มอบข้อมลู แปลงที่ดินและ
รายชื่อผู้ครอบครองให้สำนักงานที่ดิน
จังหวัดเพื่อเสนอผู้ว่าราชการจังหวัด
ออกหนังสืออนุญาตให้กับชุมชน และ
ให้ชุมชนบริหารจัดการการใช้ประโยชน์
ในทีด่ ินดังกล่าวใหก้ บั สมาชกิ ในชมุ ชน
4.8 คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด
(คทช. จังหวัด) รายงานคณะอนุกรรมการ
จัดที่ดิน เพื่อรายงานคณะกรรมการ
นโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ทราบ
และส่งข้อมูลให้หน่วยงานเจ้าของพื้นที่
กำกับดูแลการใช้ประโยชน์ให้เป็นไปตาม
เง่ือนไขท่ีกำหนดภายใต้กรอบการบริหาร
จดั การของคณะกรรมการนโยบายที่ดิน
แหง่ ชาติ (คทช.)

9.6 พื้นท่ีดำเนินการ พืน้ ที่ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย
(1) ปี 2559 (รวม จงั หวัดกาญจนบุรี กาฬสินธุ์ กระบี่ กำแพงเพชร
44 จังหวดั 80
พ้ืนท่)ี ขอนแก่น จนั ทบรุ ี ชลบรุ ี ชุมพร ชยั ภูมิ เชียงราย

เชียงใหม่ ตรัง ตราด ตาก นครราชสีมา น่าน

๑1๔4๕9

ประเดน็ ภารกจิ สาระสำคัญในการพจิ ารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ท่เี ก่ียวข้อง

(2) ปี 2560 (รวม นครสวรรค์ นราธวิ าส บุรรี ัมย์ บึงกาฬ พะเยา
13 จงั หวดั 38 ประจวบคีรีขันธ์ พิษณุโลก เพชรบุรี พัทลุง พังงา
พืน้ ท)ี่ มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ระนอง ระยอง
ราชบุรี ร้อยเอ็ด เลย สตูล สุราษฎร์ธานี สุโขทัย
สุพรรณบุรี หนองบัวลำภู อุดรธานี อุตรดิตถ์
อุบลราชธานี (รวม 42 จงั หวดั 58 พ้ืนท่)ี

พ้ืนที่ ส.ป.ก. ประกอบดว้ ย
จังหวัดกาญจนบุรี กระบ่ี ชลบุรี เชียงใหม่
นครราชสีมา สุราษฎร์ธานี (รวม 6 จังหวัด
14 พนื้ ท่ี)

พืน้ ทร่ี าชพัสดุ ประกอบดวั ย
จังหวัดบุรีรัมย์ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี
(รวม 3 จงั หวดั 4 พน้ื ท)่ี

พ้ืนทท่ี ีส่ าธารณประโยชน์ ประกอบด้วย
จังหวัดขอนแก่น นครสวรรค์ มุกดาหาร
(รวม 3 จงั หวัด 4 พ้นื ท่ี)

พื้นทป่ี า่ สงวนแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย
จังหวัดนครราชสีมา พิจิตร เพชรบุรี อุทัยธานี
แมฮ่ ่องสอน (รวม 5 จังหวดั 9 พน้ื ที่)

พืน้ ที่ ส.ป.ก. ประกอบด้วย
จงั หวัดชลบรุ ี นครราชสีมา สระแกว้
(รวม 3 จงั หวดั 13 พ้ืนท่ี)

พ้นื ทร่ี าชพสั ดุ ประกอบดว้ ย
จงั หวดั นครราชสีมา(รวม 1 จังหวัด 1 พืน้ ท่)ี

พืน้ ทีป่ ่าชายเลน ประกอบด้วย
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตรงั (รวม 2 จังหวัด 7 พน้ื ท่)ี

พน้ื ท่ที ส่ี าธารณประโยชน์ ประกอบด้วย
จังหวัดบุรรี ัมย์ ศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ (รวม 3
จงั หวัด 8 พ้ืนท่)ี

150 ๑๔๖

ประเดน็ ภารกิจ สาระสำคัญในการพิจารณา กฎหมาย/ระเบียบ/คำส่งั ที่เก่ียวข้อง

(3) ปี 2561 (รวม พืน้ ท่ี ป่าสงวนแหง่ ชาติ ประกอบด้วย
23 จังหวัด จังหวัดกาญจนบุรี ขอนแก่น จันทบุรี เชียงราย
114 พื้นท)่ี เชียงใหม่ ตาก นครศรีธรรมราช น่าน บุรีรัมย์
พะเยา พิษณุโลก เพชรบูรณ์ มหาสารคาม

แม่ฮ่องสอน ยะลา ร้อยเอ็ด ระนอง ลำปาง เลย
สงขลา สระบุรี อุดรธานี อำนาจเจริญ (23
จงั หวัด 33 พนื้ ที่)

พน้ื ท่ี ส.ป.ก. ประกอบดว้ ย
จังหวัดกาญจนบุรี เชียงใหม่ ชุมพร ฉะเชิงเทรา
สงขลา สระแก้ว สุราษฎร์ธานี (รวม 7 จังหวัด
17 พ้ืนท)ี่

พื้นทรี่ าชพัสดุ ประกอบด้วย
จังหวัดระยอง สมุทรปราการ (รวม 2 จังหวัด 2
พนื้ ท)่ี

พ้นื ท่ีปา่ ชายเลน ประกอบดว้ ย
จังหวัดชลบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช เพชรบุรี
ระนอง ระยอง สตลู (รวม 7 จังหวดั 22 พ้ืนที่)

พน้ื ที่ท่ีสาธารณประโยชน์ ประกอบด้วย
จงั หวัดชมุ พร ตราด ยโสธร ลพบรุ ี
(รวม 4 จงั หวัด 5 พื้นที่)

พื้นที่นิคมสร้างตนเอง ประกอบดว้ ย
จงั หวัดกาฬสินธ์ุ ขอนแกน่ เชยี งใหม่ นครสวรรค์
นราธิวาส บุรีรัมย์ ประจวบคีรีขันธ์ ปัตตานี
พังงา พัทลุง พิษณุโลก มุกดาหาร ยะลา ระยอง
ลพบุรี ลำปาง นครราชสีมา สงขลา สุพรรณบุรี
สระแก้ว สรุ าษฎรธ์ านี สตูล สกลนคร สระบุรี
สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี
อุตรดิตถ์ อุบลราชธานี (รวม 30 จงั หวัด 35 พนื้ ท)่ี

๑1๔5๗1

สำนักกฎหมาย

1. การดำเนินการของเจ้าพนกั งานที่ดนิ เกย่ี วกบั การดำเนนิ คดีแพ่งและอาญา

กรณี ขัน้ ตอนการดำเนนิ การ ระยะเวลา หมายเหตุ
1.กรณี ถูกฟ้องคดี ๑.๑ การรับหมายจากศาล
แพ่งเน่ืองจากการ - ควรให้พนักงานเดินหมายส่งหมายโดยวิธปี ิดหมาย ๑-๒ วัน
ปฏิ บั ติราชการ ๑.๒ เสนอผู้วา่ ราชการจังหวดั โดยด่วน ๑-๒ วนั
ตามหน้าท่ี ๑.๓ สง่ เร่ืองมอบหมายให้พนักงานอัยการแก้ตา่ งคดี ๗ วนั
๑.๔ ให้เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูลและพยานหลักฐาน ๑-๒ วนั
ให้ครบถ้วนเพื่อจัดส่งให้พนักงานอัยการจัดทำ ๑-๒ วัน
คำให้การต่อสู้คดตี อ่ ศาล ๑-๒ วนั
๑.๕ รายงานให้กรมที่ดนิ ทราบ ๗ วัน
๑.๖ ติดตามผลคดี ๗ วัน
2. กรณีถูกฟ้องคดี ๒.๑ เสนอผู้ว่าราชการจงั หวดั โดยด่วน ๓ วนั
อาญา เนื่องจาก ๒.๒ กรณีพนักงานอยั การไม่ได้เปน็ โจทก์ฟ้อง ให้สง่ เรื่อง
การปฏบิ ัติราชการ เพ่ือมอบหมายให้พนักงานอัยการแก่ต่างคดี ๗ วัน
ตามหนา้ ที่ โดยห้ามมใิ ห้มอบทนายความเขา้ สคู้ ดเี อง ๑๕ วัน
๒.๓ ประสานงานกับพนักงานอัยการโดยถือเป็นเรื่อง ๗ วัน
สำคญั ทต่ี อ้ งเอาใจใส่เปน็ พเิ ศษ
๒.๔ รายงานให้กรมท่ดี นิ ทราบ
3. กรณฟี ้องคดีแพ่ง ๓.๑ เมอ่ื พบความเสียหายในสำนักงานทด่ี ิน ตรวจสอบ
ข้อเท็จจรงิ และมูลค่าความเสยี หาย
๓.๒ รวบรวมเอกสารและพยานหลักฐานให้ครบถ้วน
๓.๓ เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อส่งเรื่องให้พนักงาน
อัยการฟ้องคดี
๓.๔ ประสานงานกบั พนักงานอยั การอย่างต่อเนื่อง
๓.๕ รายงานกรมที่ดินและตดิ ตามผลคดี
4. กรณีฟ้องคดอี าญา ๔.๑ เมื่อพบการกระทำผิดอาญาในสำนักงานที่ดิน
ตรวจสอบข้อเท็จจริงและมลู คา่ ความเสยี หาย
๔.๒ แจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนเพื่อนำตัว
ผกู้ ระทำความผิดมาลงโทษ
๔.๓ รายงานกรมท่ดี นิ และติดตามผลคดี
5 . กรณี กรมที่ ดิ น ๕.๑ ให้เจ้าหน้าท่ีรวบรวมพยานหลักฐานอันเป็นเหตุ
มอบหมายให้เป็น แหง่ คดี เพื่อสง่ ใหพ้ นักงานอัยการ
ผ้ปู ระสานงานคดี ๕.๒ ประสานงานกบั พนักงานอัยการอย่างต่อเนื่อง
๕.๓ รายงานกรมทด่ี นิ และตดิ ตามผลคดี

152 ๑๔๘

2. การดำเนินการของเจา้ พนกั งานทด่ี ินเกย่ี วกบั การดำเนนิ คดปี กครอง

กรณี ผู้ถูกฟ้อง ศาล ค่าเสยี หาย ข้ันตอนดำเนินการ ระยะเวลา
คดี
๑. กรมที่ดนิ ศาล ม/ี ไม่มี เจ้าพนักงานทดี่ ิน/สาขา/สว่ นแยก ชี้แจงขอ้ เท็จจริง ๑๐ วนั
อธด. ปกครอง ให้กรมทด่ี นิ เพื่อดำเนินการตามกระบวนพิจารณาคดี
กลาง
๒. กรมท่ดี นิ ศาล มี ๑. เจา้ พนักงานท่ีดิน/สาขา/ส่วนแยก ชี้แจงขอ้ เทจ็ จริง ๑๐ วนั
อธด. ปกครอง และมอบอำนาจให้พนกั งานอัยการแก้ตา่ งคดี
จพด./ กลาง ๒. ใหเ้ จา้ พนักงานทีด่ นิ /สาขา/ส่วนแยก ช้ีแจงขอ้ เท็จจริง
สาขา/ ให้กรมท่ดี ินเพื่อจัดทำคำชีแ้ จงส่งพนักงานอัยการ
ส่วนแยก ๓. ใหแ้ จง้ รายชือ่ ผู้ประสานงานคดี
๓. กรมท่ดี นิ ศาล ไม่มี ๑. เจา้ พนกั งานทด่ี นิ /สาขา /สว่ นแยก ชีแ้ จงข้อเท็จจรงิ ให้ ๑๐ วนั
อธด. ปกครอง กรมทีด่ ินเพื่อดำเนินการตามกระบวนพจิ ารณาคดี ภายใน
จพด./ กลาง ๒. เจ้าพนักงานที่ดนิ /สาขา/ส่วนแยก ทำคำใหก้ ารแก้ ระยะ
สาขา/ คำฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลปกครองเอง เวลา
สว่ นแยก ๓. ตดิ ตามผลคดี
๔. กรมท่ีดิน ศาล มี กรมที่ดินจะได้มอบหมายให้เจ้าพนักงานท่ีดิน ภายใน
อธด. ปกครอง จังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ช้ีแจงข้อเท็จจริง และเป็น ระยะ
ภูมภิ าค ผู้ติดตอ่ ประสานงานกับพนักงานอัยการในการดำเนนิ คดี เวลา
ปกครองแทน
๕. กรมทดี่ ิน ศาล มี ๑. เจ้าพนักงานที่ดิน/สาขา/ส่วนแยก ชี้แจงข้อเท็จจริง ภายใน
อธด. ปกครอง และมอบอำนาจใหพ้ นกั งานอยั การแก้ต่างคดี ระยะ
จพด./ ภูมภิ าค ๒. กรมที่ดินจะได้มอบหมายให้เจ้าพนักงานที่ดิน เวลา
สาขา/ จังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ช้ีแจงข้อเท็จจริง และ
ส่วนแยก เป็นผู้ติดต่อประสานงานกับพนักงานอัยการในการ
ดำเนินคดีปกครองแทน
๖. กรมทด่ี ิน ศาล ไม่มี เจ้าพนักงานที่ดิน/สาขา ช้ีแจงข้อเท็จจริงให้ ๑๐ วนั
อธด. ปกครอง กรมทด่ี นิ เพื่อดำเนนิ การตามกระบวนพิจารณาคดี
ภมู ภิ าค
๗. กรมทด่ี ิน ศาล ไมม่ ี ๑. เจา้ พนักงานท่ีดิน/สาขา/สว่ นแยก ชีแ้ จงข้อเทจ็ จริงให้ ๑๐ วนั
อธด. ปกครอง กรมทด่ี ินเพอ่ื ดำเนินการตามกระบวนพิจารณาคดี ภายใน
จพด/สาขา/ ภูมภิ าค ๒. เจ้าพนกั งานที่ดนิ /สาขา/ส่วนแยก ทำคำให้การ ระยะ
ส่วนแยก แกค้ ำฟอ้ งและดำเนนิ กระบวนพจิ ารณาในศาลปกครองเอง เวลา
๘. จพด./ ศาล ไมม่ ี ๑. เจ้าพนักงานท่ีดิน/สาขา/ส่วนแยก ทำคำให้การแก้ ภายใน
สาขา/ ปกครอง คำฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลปกครองเอง ระยะ
สว่ นแยก กลาง/ ๒. รายงานให้กรมท่ีดนิ ทราบ เวลา
ภมู ภิ าค ๑๐ วัน

1๑5๔3๙

3. คูม่ ือการดำเนินการของเจา้ พนักงานที่ดนิ /สาขา กรณีถูกฟ้องคดปี กครอง

๑. กรณีผู้ฟ้องคดีขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้มอบอำนาจให้พนักงานอัยการเป็นผู้ดำเนินคดี
ปกครองแทน

๒. กรณีผ้ฟู ้องคดีไม่ไดข้ อให้ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบคดีจัดทำคำให้การแก้
คำฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลปกครองเอง

๓. กรณีท่ผี ูฟ้ ้องคดไี ดย้ น่ื ฟ้องคดตี ่อศาลปกครองกลาง
(๑) ผู้ฟ้องคดีได้ฟ้องกรมที่ดินและ/หรืออธิบดีกรมที่ดิน เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/

ส่วนแยก เป็นผู้ถูกฟ้องคดี ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก จัดทำคำช้ีแจงข้อเท็จจริงและข้อ
กฎหมายพร้อมทั้งจดั สง่ เอกสารหลักฐานท่เี กยี่ วข้องให้กรมทด่ี นิ

(๒) ผู้ฟ้องคดีได้ฟ้องกรมที่ดินและ/หรืออธิบดีกรมที่ดิน เป็นผู้ถูกฟ้องคดี แต่มิได้ฟ้อง
เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ด้วย ให้สำนักงานท่ีดินจงั หวดั /สาขา/ส่วนแยก ชแี้ จงข้อเท็จจริงและข้อ
กฎหมายพร้อมท้ังจดั ส่งเอกสารหลักฐานทเ่ี กี่ยวข้องให้กรมทีด่ นิ

(๓) ให้แต่งตั้งเจา้ หน้าที่ผู้รู้เร่ืองดี สามารถอธิบายเร่ืองราวของมูลเหตุแห่งข้อพิพาท ข้อกฎหมาย
และระเบยี บท่ีเก่ียวข้องเป็นผู้ประสานงานคดีรว่ มกับนติ ิกร กรมท่ีดนิ รวมท้งั ประสานงานกับพนกั งานอยั การ

๔. กรณที ่ผี ู้ฟอ้ งคดไี ดย้ ื่นฟอ้ งคดีต่อศาลปกครองภูมภิ าค
กรมที่ดินจะได้มอบหมายให้เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก หรือผู้แทน ช้ีแจง

ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายพร้อมทั้งจัดส่งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง และเป็นผู้ติดต่อประสานงานกับ
พนักงานอัยการในการดำเนินคดีปกครองแทนกรมที่ดินและ/หรืออธบิ ดีกรมท่ีดนิ

๕. ในการจัดทำคำช้ีแจงขอ้ เท็จจริงหรือจัดทำคำให้การแกค้ ำฟ้องและดำเนินกระบวนพิจารณาใน
ศาลปกครอง ให้ดำเนินการ ดังน้ี

(๑) ตรวจคำฟ้องและพิจารณาทำความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประเด็นขอ้ พพิ าทว่าพนักงานเจ้าหนา้ ที่
ไดป้ ฏบิ ตั หิ น้าที่ไปโดยชอบดว้ ยกฎหมายและระเบยี บทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรือไม่ อยา่ งไร

(๒) ตรวจสอบด้วยว่า
- ผฟู้ ้องคดีเป็นผไู้ ด้รับความเดอื ดร้อนหรอื เสยี หายอันเน่ืองจากการกระทำหรืองดเว้นการ

กระทำของเจ้าหน้าที่
- ผู้ฟ้องคดีได้ดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการเพื่อแก้ไขความเดือดร้อนหรือเสียหายไว้

ตามท่ีกฎหมายกำหนดไว้ กอ่ นนำคดมี าฟ้องต่อศาลหรอื ไม่ อย่างไร
- ผู้ฟ้องคดีเป็นผู้มีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองหรือไม่ อย่างไร ท้ังน้ี ตามมาตรา ๔๒ แห่ง

พระราชบญั ญัตจิ ดั ต้ังศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
- ผู้ฟ้องคดีได้ฟ้องคดีภายในระยะเวลาท่ีกฎหมายกำหนดหรือไม่ อย่างไร ทั้งน้ี ตาม

มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ.
๒๕๔๒

154 ๑๕๐

- มลู เหตุแห่งการฟ้องคดเี ปน็ กรณีท่ีศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือไม่ หาก
เป็นคดีที่อยู่ในอำนาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม ให้จัดทำคำร้องยื่นต่อศาลเพื่อ ขอวินิจฉัยชี้ขาด
อำนาจหน้าท่ีระหว่างศาล ทั้งนี้ ตามมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยชข้ี าดอำนาจหน้าท่ี
ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

- กรณีที่มูลเหตุแห่งการฟ้องคดีสืบเนื่องจากการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินหรือ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับท่ีดินไปโดยคลาดเคล่ือนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย ตามมาตรา ๖๑ แห่ง
ประมวลกฎหมายท่ีดิน ให้ตรวจสอบด้วยว่า ผู้ฟ้องคดีมีส่วนร่วมในการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินหรือ
จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับท่ีดินโดยคลาดเคลื่อนหรือไม่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ อย่างไร หรือได้
ทราบในขณะท่ีขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมว่าที่ดินพิพาทอยู่ระหว่างการพิจารณาเพิกถอนหรือแก้ไข
หรอื ไม่ อย่างไร

- ตรวจสอบทุนทรัพย์ขณะที่ผู้ฟ้องคดีขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเปรียบเทียบกับ
ราคาประเมินท่ีดินหรือทุนทรัพย์ที่ขอให้ชดใช้และราคาประเมินที่ดิน ทั้งนี้ เพอื่ เป็นแนวทางในการตอ่ ส้คู ดี

๖. หากมีกรณีที่ไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณาภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนดได้ให้ยื่นคำขอ
ต่อศาลเพื่อขอขยายระยะเวลาก่อนครบกำหนดเวลาตามคำสง่ั ศาล

๗. การยื่นคำให้การ คำช้ีแจงข้อเท็จจริง หรือพยานหลักฐานต่าง ๆ ต่อศาลจะยื่นด้วยตนเองหรือ
มอบฉันทะให้ผู้อ่ืนไปยื่นต่อศาลหรือต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีของศาลหรอื จะทำโดยวิธีส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
ก็ได้

๘. กรณีศาลปกครองในส่วนภูมิภาคนัดไต่สวนข้อเท็จจริง กรมท่ีดินจะได้มอบหมายเจ้าพนักงานที่ดิน
จังหวัด/สาขา เปน็ ผ้แู ทนรว่ มรับฟังการไต่สวนโดยใหจ้ ัดทำคำชแี้ จงยนื่ ต่อศาลกอ่ นกำหนดนดั ดว้ ย

๙. ให้ถือเป็นหน้าท่ีที่สำคัญในการจัดทำคำชี้แจงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเพ่ือประกอบการ
ดำเนนิ คดีปกครอง ทง้ั นี้ เพ่ือประโยชนข์ องทางราชการและมิให้เกดิ ความเสียหายต่อทางราชการ

๑๐. กรณีท่ีเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ถูกฟ้องคดี โดยกรมที่ดิน/อธิบดีกรมที่ดินไม่ได้ถูกฟ้องคดี
ดว้ ย ให้รายงานให้กรมทด่ี นิ ทราบ

ทั้งนี้ โดยถือปฏิบตั ติ ามหนังสือกรมท่ีดิน ท่ี มท ๐๕๐๕.๒/ว ๑๒๑๑๓ ลงวนั ท่ี ๓ กรกฎาคม
๒๕๕๗ เรือ่ ง แนวทางปฏบิ ัติเก่ยี วกับการดำเนินคดปี กครอง

๑๑. กรณอี ุทธรณ์ใหถ้ อื ปฏบิ ัตติ ามหนังสือกระทรวงการคลงั ที่ ก.ค. ๐๔๐๖.๒/ว ๔๔ ลงวันท่ี ๒๓
มิถนุ ายน ๒๕๔๙ เรอ่ื ง หลักเกณฑ์และวธิ ีปฏบิ ตั ิในการอทุ ธรณ์ ฎีกาคดแี พง่ และอุทธรณ์คดปี กครอง

๑๒. เม่ือศาลปกครองสูงสุดมีคำพิพากษาถึงท่ีสุดให้ดำเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงให้ดำเนินการ
ตามคำพิพากษาภายในกำหนด การไม่ปฏิบัติตามคำบังคับหรือปฏิบัติล่าช้าเกินสมควร อาจต้องรับผิดตาม
มาตรา ๗๕/๔ แห่งพระราชบญั ญัตจิ ัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง (ฉบบั ที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๙

1๑๕5๑5

4. การดำเนนิ งานความรบั ผิดทางแพง่ ในส่วนการปฏบิ ัตงิ านของเจ้าพนกั งานท่ีดินจังหวดั และ
เจ้าพนกั งานทีด่ นิ จงั หวดั สาขา

ขัน้ ตอนการดำเนนิ การเกยี่ วกับความรบั ผดิ ทางแพ่งของกรมทีด่ นิ แบ่งออกเปน็ ๒ กรณี ดังน้ี

กรณีที่หน่ึง การดำเนินการเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด
ของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยปฏิบัติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกับ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม ซึ่งในกรณีท่ีเหตุแห่งความเสียหาย
อยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร อธิบดีกรมที่ดนิ จะเปน็ ผแู้ ต่งต้ังคณะกรรมการสอบข้อเทจ็ จริงความรบั ผดิ ทางละเมิด
และวินิจฉัยส่ังการ สำหรับกรณีที่เหตุแห่งความเสียหายอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร อธิบดีกรมที่ดินได้มอบ
อำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดที่เกิดเหตุเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
และวินิจฉัยส่ังการแทน ท้ังน้ี ตามคำส่ังกรมท่ีดิน ที่ ๗/๒๕๔๒ ลงวันท่ี ๔ มกราคม ๒๕๔๒ เรื่อง มอบอำนาจให้
ผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทนในการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ประกอบกับคำส่ังกรมที่ดิน ท่ี ๒๑๘๕/๒๕๔๖ ลงวันท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๔๖ เรื่อง มอบอำนาจของอธิบดี
กรมที่ดินให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการปฏิบัติราชการแทน และแบ่งการดำเนินการออกเป็น ๒ ส่วน
คือส่วนท่ีหนึ่ง เจ้าหน้าท่ีกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ และส่วนท่ีสอง เจ้าหน้าที่กระทำละเมิด
ตอ่ บคุ คลภายนอก

กรณีท่ีสอง การดำเนินการเก่ียวกับความรับผิดทางแพ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เช่น มาตรา
๔๐๖ มาตรา ๔๒๐ และตามนิติกรรมสัญญาฯลฯ

ทั้งน้ี การดำเนินการในแต่ละข้ันตอนจะมีท้ังในส่วนท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือเจ้าพนักงานท่ีดิน
จังหวัดสาขา จะต้องตรวจสอบ ควบคุม หรือกำกับการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติซึ่งรับผิดชอบในเร่ือง
น้ัน ๆ และส่วนที่กรมท่ีดิน (สำนักกฎหมาย) เป็นผู้ดำเนินการ ตลอดจนส่วนท่ีทั้งเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือ
เจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาและกรมที่ดินจะต้องประสานงานกันหรือดำเนินการร่วมกัน เพ่ือให้เป็นไป
โดยชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ และวิธีปฏิบัติของทางราชการ โดยได้สรุปข้ันตอนและแสดงผลในรูปแบบ
ของตาราง ดงั น้ี

4.1 กรณีทีห่ นึง่ การดำเนนิ การเกย่ี วกับความรับผดิ ทางละเมดิ ตามพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ
ของเจ้าหนา้ ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙

4.1.1 ส่วนท่หี นึง่ : กรณีเจ้าหน้าทีก่ ระทำละเมดิ ต่อหนว่ ยงานของรัฐ
ได้แก่ การเงินเสียหาย เช่น ทุจริตในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมภาษีอากร ยักยอกเงิน

ของทางราชการ ฯลฯ ทรัพย์สินเสียหาย เช่น รถยนต์ของทางราชการประสบอุบัติเหตุ กล้องสำรวจ
แบบประมวลผลรวมตกหล่นเสียหาย คอมพิวเตอร์สูญหาย ฯลฯ แบบพิมพ์สูญหาย เป็นต้น ซ่ึงมีขัน้ ตอนในการ
ดำเนินงานดงั ต่อไปนี้

156 ๑๕๒

กรณเี จา้ หนา้ ที่กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ขนั้ ตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏิบตั ิ การกำกบั /ดูแล

๑ ) ต ร ว จ ส อ บ เมื่อเกิดเหตุท่ีทำให้กรมที่ดิน ๕ – ๒๐ - - เจ้าพนักงานที่ดิน
ข้อเท็จจริง/ ได้รับความเสียหายขึ้นในจังหวัด วนั ทำการ จังห วัด/สาขา
รายงานเหตุ ใดให้สำนักงานท่ีดินอำเภอหรือ ตรวจสอบความ
สำนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา ท่ีพบ ถู กต้ องและความ
เหตุหรือได้รับแจ้งเหตุรายงาน สมบูรณ์ของเอกสาร
ข้อเท็จจริงพร้อมเอกสาร และ ประกอบการ
หลักฐานไปให้สำนักงานที่ดนิ จังหวัด รายงาน
ทราบโดยเร็วและให้สำนักงานท่ีดิน
จังหวัดตรวจสอบข้อเท็จจริงดังกล่าว
เช่น สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสียหาย
ผู้กระทำหรือผู้มีส่วนร่วมให้เกิด
ความเสียหาย จำนวนค่าเสียหาย
ที่กรมที่ดินได้รับการเรียกให้ชดใช้
ค่าเสียหายในเบ้ืองต้นและรายงาน
เห ตุ แ ห่ งค ว าม เสี ยห าย ดั งก ล่ าว
พ ร้ อ ม ส่ งเอ ก ส า รแ ล ะ ห ลั ก ฐ า น
ทเ่ี ก่ียวขอ้ งให้อธิบดีกรมที่ดินทราบ
(ตามขอ้ ๗แห่งระเบียบสำนักนายกฯ)

๒) แต่งตั้งคณ ะ กรณีท่ีปรากฏว่าไม่มีการชำระ ๕ – ๑๐ -ให้กำหนดเวลา - เจ้าพนักงานที่ดิน
กรรมการสอบ ค่าเสียหายดังกล่าว และมีเหตุอัน วนั ทำการ แล้วเสร็จในการ จั งห วั ด /ส า ข า
ข้อเท็จจริงความ ควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทำ ดำเนินการของ ต ร ว จ ส อ บ ว่ า
รบั ผดิ ทางละเมดิ ในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ี คณะกรรมการฯ ก ร ณี ดั ง ก ล่ า ว
ให้รายงานเหตุแห่งความเสียหาย ไวใ้ นคำสั่ง จ ะ ต้ อ งแ ต่ งต้ั ง
ตามข้อ ๑ โดยรวบรวมเอกสาร คณะกรรมการฯ
พ ย าน ห ลั ก ฐาน ที่ เก่ี ย ว ข้ อ ง ร่วมกับหน่วยงานอื่น
กฎหมาย ระเบียบและวิธีปฏิบัติ หรอื ไม่
แล้วสรุปเร่ืองเสนอให้ผู้ว่าราชการ
จังห วัด ลงนามในคำสั่ งแต่ งต้ั ง - คณะกรรมการฯ - เจ้าพนักงานที่ดิน
คณ ะกรรมการส อ บ ข้ อ เท็ จ จ ริ ง มีไดไ้ มเ่ กนิ ๕คน จั งห วั ด /สาขา

๑1๕5๓7

กรณีเจ้าหนา้ ท่ีกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ข้นั ตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ัติ การกำกับ/ดแู ล

ความรับผิดทางละเมิด (ตามข้อ ๘, (ควรเปน็ ๓ หรือ ตรวจสอบความ
ขอ้ ๑๑ แห่งระเบยี บสำนักนายกฯ) ๕ คน) ถูกต้องและความ

สมบู รณ์ ในการ
- จังหวัดแต่งตั้ง แ ต่ ง ตั้ ง ค ณ ะ
คณะกรรมการฯ กรรมการฯ เช่น
ต า ม ค ำ สั ่ง เปน็ ผู้มสี ว่ นได้เสีย
ม อ บ อ ำ น า จ หรือมีความเป็นกลาง
ของกรมที่ดิน หรือไม่ (ตาม พ.ร.บ.

วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙)

๓) คณะกรรมการฯ - คณะกรรมการฯ ดำเนินการ - ภ า ย ใ น - คณะกรรมการฯ - เจ้าพนักงานที่ดิน

ดำเนินการสอบ สอบข้อ เท็ จจริง รายงาน ผ ล ระยะเวลา ต้องให้โอกาส จั งห วั ด /ส าข า

ข้อเท็จจริง/เสนอ การสอบสวนพร้อมความเห็น ที่ ก ำ ห น ด เ จ้ า ห น้ า ที่ ควบคุม ติด ต าม

ความเห็น เก่ียวกับตัวผู้ต้องรับผิดและจำนวน ต าม ค ำส่ั ง ท่ีเกี่ยวข้องหรือ แ ล ะ ก ำ ช ับ ใ ห ้

คา่ สินไหมทดแทนท่ผี นู้ นั้ ต้องชดใช้ แต่งตั้งคณะ ผู้เสียหาย ได้ชี้แจง ค ณ ะ กรรมการฯ

กรรมการฯ ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ดำเนิ น ก า ร ให้

ได้โต้แย้งแสดง แล้วเสร็จภายใน

- หากไมส่ ามารถ หลักฐานของตน ร ะ ย ะ เว ล า ที่

พิ จารณาได้ อย่างเพียงพอ กำหนด ตลอดจน

ทั นภ าย ใน และเปน็ ธรรม ให้รีบแจ้งและส่ง

ร ะ ย ะ เวล า รายช่ือพร้อมท่ีอยู่

ดั ง ก ล่ า ว - หากมีกรณีที่ ของทายาท กรณี

สามารถขอ เจ้าหน้าที่ซ่ึงอาจ เจ้าหน้าที่ซ่ึงอาจ

ข ย า ย ไ ด้ ต้องรบั ผิดเสียชีวิต ต้องรับผิดเสียชีวิต

เท่าที่จำเปน็ ให้รีบตรวจสอบ ให้กระทรวงการคลัง

รายช่ือและที่อยู่ และกรมท่ดี ินทราบ

ของทายาทและ

158 ๑๕๔

กรณเี จ้าหนา้ ท่ีกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ข้ันตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบตั ิ การกำกบั /ดแู ล

แจ้งให้กระทรวง
การคลัง และ
กรมทดี่ ินทราบ

- สรุปเร่ืองเสนอให้ผู้ว่าราชการ ๕ – ๒๐
จังหวัดวินิจฉัยสั่งการ (ตามข้อ วันทำการ
๑๔, ๑๕ และ ๑๖ แห่งระเบียบ
สำนักนายกฯ)

๔) ผู้แตง่ ตั้งวินิจฉัย ความเห็นของคณะกรรมการฯ - ภายใน ๗ วัน - เว้นแต่เป็นเรื่อง -เจ้าพนักงานท่ีดิน

สั่งการ/ส่งสำนวน ไม่ผูกมัดผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะ น ับ แ ต ่ว ัน ท่ีกระทรวงการคลัง จั งห วั ด /ส า ข า

ให้ ก ร ะ ท ร ว ง ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ที่จะมี วนิ จิ ฉยั ส่งั การ ประกาศกำหนดว่า ตรวจสอบหลักฐาน

การคลงั ตรวจสอบ ความเห็นเป็นอย่างอ่ืน เมื่อได้รับ ไม่ต้องส่งสำนวน การวินิจฉัยส่ังการ

ผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯแล้ว ให้กระทรวงการคลัง ของผู้ ว่าราชการ

ให้วินิจฉัยส่ังการว่ามีผู้ต้องรับผิด ตรวจสอบ จังหวัด และกำชับ

ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ - สำหรับความ ให้ เ จ ้า ห น ้า ที ่
และเป็นจำนวนเท่าใด แต่ยังไม่ต้อง เสียหายท่ีเกิดขึ้น จ ัด ส ่ง สำน วน
แจ้งการสง่ั การให้ผู้ที่เกยี่ วข้องทราบ กับทรัพย์สินของ ห รื อ ร า ย ง า น
โดยส่งสำนวนการสอบสวนให้ หน่วยงานของ ความเสียหายให้
กระทรวงการคลังตรวจสอบ/หรือ รฐั คร้ังละไม่เกิน กระทรวงการคลัง
รายงานความเสียหายในระบบ 1,000,000 บาท แ ล ะ ก ร ม ที่ ดิ น
ความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง หน่วยงานของรัฐ ภ าย ใน ระ ย ะ
ของกรมบัญชีกลาง และรายงาน ไม่ต้องส่งสำนวน เวลาดงั กล่าว
ผลการดำเนินการพร้อมจัดส่ง
ส ำ เน า ส ำน วน การส อบ ส ว น ให้ การสอบสวนไปให้
กรมทด่ี ินทราบดว้ ย
กระทรวงการคลัง

ต ร ว จ ส อ บ แ ต่

ทั ้ง นี ้ ค ว ร ม ีร ะ ย ะ เว ล า จะต้องรายงาน

ใ ห ้ก ร ะ ท ร ว งก าร ค ลั งพิ จ าร ณ า ค ว า ม เสี ย ห า ย

ไม่น้อยกว่าสามเดือนก่อนอายุความ ดังกล่าวในระบบ

๑1๕5๕9

กรณเี จา้ หน้าทีก่ ระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ข้นั ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏิบตั ิ การกำกบั /ดแู ล

สองปีสิ้นสุด (ตามข้อ ๑๗ วรรคสอง ค ว า ม รั บ ผิ ด
แ ห่ งระเบี ย บ ส ำนั ก น าย ก ฯ ท า ง ล ะ เ มิ ด
และหนังสือเวียนกระทรวงการคลัง แล ะ แพ่ งขอ ง
ด่วนท่ีสดุ ที่ กค. ๐๔๑๐.๖/ว ๓๒ กรมบัญชีกลาง
ลงวันท่ี ๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘) ตามนัยข้อ 17
วรรคสอง แห่ง
ระเบียบสำนัก
นายกฯประกอบกับ
ประกาศกระทรวง
การคลัง เร่ือง
ค ว า ม รั บ ผิ ด
ท า ง ล ะ เ มิ ด
ของเจ้าหน้าท่ี
ท่ีไม่ต้องรายงาน
ให้ ก ร ะ ท ร ว ง
การคลังตรวจสอบ
พ.ศ. 2562
ล ง วั น ท่ี 2 0
ธันวาคม 2562
โ ด ย ใ น ส่ ว น
การรายงาน
ค ว า ม เสี ย ห า ย
ในระบบความ
รบั ผิดทางละเมิด
แล ะ แพ่ งขอ ง
กรมบัญชีกลาง
ในชั้นน้ีใหจ้ ังหวัด
ประสานงาน
กั บ ก ร ม ท่ี ดิ น

160 ๑๕๖

กรณเี จา้ หนา้ ทีก่ ระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ขน้ั ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบตั ิ การกำกับ/ดแู ล

(สำนักกฎหมาย)
เพ่ือให้กรมท่ีดิน
(สำนักกฎหมาย)
เป็นผู้ดำเนินการ
รายงานความ
เสียหายในระบบ
ดั ง ก ล่ า ว ต่ อ
กรมบัญชีกลาง
โดยตรงจนกว่า
จะมีการขอเปิด
ระบบความรับผิด
ท า ง ล ะ เ มิ ด
แล ะ แพ่ งขอ ง
กรมบัญชีกลาง
ในสำนักงานที่ดิน
จังห วัดเป็ น ท่ี

เรยี บร้อยแล้ว

๕ ) ก า ร เต รี ย ม ก่อนอายุความสองปีสิ้นสุด -อายุความตาม ในกรณีท่ีคำวินิจฉัย - เจ้าพนักงานท่ีดิน

ความพ ร้อ ม ไม่น้อยกว่าหกเดือน ให้จังหวัดมี กฎหมาย ๒ ปี สั่งการ มีผู้ต้อง จังหวัด/สาขา

ใน ก า ร อ อ ก หนังสือทวงถามผลการพิจารณาจาก นบั จากวนั ท่ี รับผิดซึ่งเสียชีวิต กำชับให้เจ้าหน้าท่ี

ค ำ สั่ ง ห รื อ กระทรวงการคลัง (กรมบัญชีกลาง) ผ้วู ่าราชการ แลว้ ต้องรบี แจ้ง ติดตามผลการ

ฟ้องคดี และรายงานผลการติดตามงาน จงั หวัดในฐานะ ให้กรมที่ดินทราบ พิ จารณ าของ

ดังกล่าวให้กรมท่ีดินทราบ (ตามข้อ ผู้แตง่ ตั้งคณะ โดยด่วน กระทรวงการคลัง

๑๗ วรรคส่ี และข้อ ๒๔ แห่งระเบียบ กรรมการฯ เป็ น ร ะ ย ะ แ ล ะ

สำนักนายกฯ) วนิ จิ ฉัยส่งั การ แจ้งให้กรมที่ดิน

ทราบก่อนอายุความ

ตามกฎหมาย

สิน้ สุด

๑1๕6๗1

กรณีเจา้ หน้าทีก่ ระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ข้นั ตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ัติ การกำกับ/ดแู ล

๖) กรมท่ีดินออก ในกรณีท่ีคำวินิจฉัยส่ังการมีผู้ ๕ – ๑๐ - สำนักกฎห มาย
คำส่ังให้ชดใช้ ต้องรับผิด และกระทรวงการคลัง วนั ทำการ ดำเนนิ การ
ค ่า ส ิน ไ ห ม ไม่แจ้งผลการพิจารณามาภายใน
ทดแทน หรือ เวลาก่อนอายุความสองปีสิ้นสุด
ฟ้องคดี ไม่น้อยกว่าหกเดือน กรมที่ดินจะ
ดำเนินการออกคำส่ังเรียกให้ผู้ต้อง
รับผิด หรือทายาทตามกฎหมาย
กรณีผู้ต้องรับผิดเสียชีวิตแล้วแต่
กรณี มาชำระค่าสินไหมทดแทน
กอ่ น เพ่อื ป้องกันไม่ให้คดีขาดอายุ
ความตาม ป.พ.พ. (ตามข้อ ๑๗
วรรคห้าและข้อ ๒๔ แห่งระเบียบ

สำนกั นายกฯ)

๗)กระทรวงการ ให้จังหวัดส่งสำเนาผลการ ๑-๒ - ในกรณีที่ได้รับ - เจ้ าพ นั ก งาน
วันทำการ แ จ้ งผ ล ก า ร ท่ีดินจังหวัด/สาขา
คลังแจง้ ผลการ พิจารณาให้กรมที่ดินทราบเพ่ือ พิจารณาใกล้ กำชับให้เจ้าหน้าท่ี
เวลาอายุความ ดำเนินการตาม
พิจารณา ดำเนิ นการตาม ค ว า ม เ ห ็น ข อ ง ส้ิ น สุ ด ต า ม ระยะเวลาท่กี ำหนด
กฎหมายให้ส่ง
กระทรวงการคลัง (ตามข้อ ๑๘ ผลการพิจารณา
ทางโท รสาร
วรรคหนึง่ แห่งระเบยี บสำนักนายกฯ) หรื อไปรษณี ย์
อเิ ล็กทรอนิกส์
โดยด่วน

162 ๑๕๘

กรณีเจา้ หนา้ ทกี่ ระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ

ขน้ั ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏิบัติ การกำกบั /ดแู ล

๘ ) ดำเนิ น ก าร กรมที่ดินจะต้องดำเนินการ ๕ – ๑๕ - สำนักกฎห มาย
ตามความเห็น ตามความเหน็ ของกระทรวงการคลงั วันทำการ ดำเนนิ การ
ของกระทรวง กรณีเจ้าหน้าท่ีไม่ต้องรับผิด :
การคลัง เสนออธิบดเี พ่ือยตุ ิเรอ่ื ง
กรณีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิด : ออกคำส่ัง/
แกไ้ ขคำสั่ง (กรณีท่ีกรมที่ดินได้ออก
ค ำสั่ งให้ เจ้ าห น้ าที่ ชดใช้ เงิ น
ตามความเห็นของผู้แต่งตั้งเนื่องจาก
ยั งไม่ ได้ รั บ แจ้ งผ ล การพิ จ ารณ า
จากกรมบัญชีกลางและคดีจะขาด
อายุความ) (ตามข้อ ๑๘ วรรคสอง
แห่งระเบยี บสำนกั นายกฯ)

๙) การชำระค่า การดำเนินการของกรมท่ีดิน ๕ – ๓๐ - สำนักกฎห มาย
สินไหมทดแทน เพ่ือให้ผตู้ ้องรับผิดชดใชค้ ่าสินไหม วนั ทำการ ดำเนินการ
ทดแทน
กรณีที่ผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม
ท ด แท น : ยุ ติ เรื่ อง รายงาน
กระทรวงการคลงั
กรณีที่ผตู้ ้องรบั ผิดไม่ชดใช้คา่ สินไหม
ทดแทน : ส่งฟ้องศาลยุติธรรม /
ศาลปกครอง และแจ้ งกระทรวง
การคลัง (ตามข้อ ๑๘ วรรคสอง
แห่งระเบยี บสำนกั นายกฯ)

4.1.2 สว่ นทสี่ อง : กรณเี จ้าหนา้ ทก่ี ระทำละเมดิ ตอ่ บุคคลภายนอก

แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ บุคคลภายนอกฟ้องกรมท่ีดินให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และบุคคลภายนอก
ยนื่ คำขอใหก้ รมทดี่ ินชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทน ซ่ึงมีขั้นตอนในการดำเนินงานดงั ตอ่ ไปน้ี

๑๕1๙63

กรณี บคุ คลภายนอกฟ้องกรมทด่ี นิ ให้ชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน

กรณีเจ้าหนา้ ท่ีกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟ้องกรมทดี่ นิ ให้ชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทน)
ขัน้ ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ การกำกบั /ดแู ล

๑)เตรยี มดำเนนิ การ เม่ือบุคคลภายนอกฟ้องกรมที่ดิน ๕ –๓๐ - ห า ก ต้ อ ง สำนักกฎหมาย
เ ป ็น จ ำ เล ย ห รื อ ผู้ ถู ก ฟ้ อ ง ค ดี ต่ อ วันทำการ ป ระ ส าน งาน ดำเนินการ
ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ห รื อ ศ าล ป ก ค ร อ ง จากหน่วยงานอื่น
โดยต่ อมาม ีค ำ พ ิพ า ก ษ า ถ ึง ที ่ส ุด เพ่ื อขอข้อ มู ล
ให ้ก ร ม ที ่ดิน แพ้ คดี เน่ื องจาก เพ่ิมเติมประกอบการ
เจ้าหน้าท่ีในสังกัดได้ปฏิบัติหน้าที่ พิจารณาระยะเวลา
โดยประมาทเลินเลอ่ และกรมที่ดิน ในการดำเนินการ
ได้ชำระเงินตามคำพิพากษาแล้ว อ าจ ข ย าย ได้
กรมที่ดินจะดำเนินการตรวจสอบ เท่าที่จำเปน็
คำพิพากษาศาลและข้อมูลในส่วน
ท่ีเก่ียวข้อง สรุปเรื่องเสนอให้
อธิ บ ดี ลงน าม ใน ค ำส่ั งแต่ งตั้ ง
คณ ะกรรมการสอบข้อเท็ จจริง
ความร ับ ผ ิด ท า งล ะ เม ิด ใน ก ร ณ ี
ที ่เ ห ต ุแ ห ่ง ความเสี ยหายอยู่ ในเขต
กรุงเทพมหานคร แล ะเส น อ ให้
อธิบดีมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการ
จังหวัดเป็นผู้แต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
แทนอธิบดีกรมที่ดิน ในกรณีที่
เหตุแห่งความเสยี หายอยู่ในจังหวัดน้ัน
(ตามข้อ ๓๕ ประกอบข้อ ๓๑ แห่ง
ระเบียบสำนกั นายกฯ)

164 ๑๖๐

กรณีเจ้าหนา้ ท่ีกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟ้องกรมทดี่ ินให้ชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบตั ิ การกำกบั /ดแู ล

๒) แต่งตั้งคณ ะ เมื่อจังหวัดได้รับเรื่องจาก ๕ – ๒๐ - หากเป็นกรณี - เจ้าพ นั ก งาน
กรรมการสอบ กรมท่ีดินให้แต่งตั้งคณะกรรมการ วันทำการ ท่ีต้องประสานงาน ที่ ดิน จังห วัด /
ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ส อ บ ข้ อ เท็ จ จ ริ งค ว า ม รั บ ผิ ด เพ่ื อ แ ต่ ง ตั้ ง สาขา ตรวจสอบ
ค ว า ม รั บ ผิ ด ทางละเมิด โดยรวบรวมข้อเท็จจริง กรรมการฯร่วมกับ ว่ากรณีดังกล่าว
ทางละเมดิ เอ ก ส าร ห ลั ก ฐ าน ก ฎ ห ม าย หน่วยงานอ่ืน จะต้องแต่งต้ัง
ระเบียบและวิธีปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้อง ร ะ ย ะ เว ล า คณะกรรมการฯ
เพื่อสรุปเรื่องเสนอให้ผู้ว่าราชการ ในการดำเนินการ รว่ มกบั หน่วยงานอื่น
จังห วัดลงนามในคำส่ังแต่งต้ัง อาจขยายได้ หรอื ไม่
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส อ บ ข้ อ เท็ จ จ ริ ง เทา่ ทจี่ ำเป็น
ความรับผดิ ทางละเมิด (ตามข้อ 35
ประกอบข้อ ๓๑ แห่งระเบียบ - เจ้าพ นั กงาน
สำนักนายกฯ) - ให้กำหนดเวลา ที่ ดิน จังห วัด /
แล้วเสร็จในการ สาขา ตรวจสอบ
ดำเนินการของ ค วาม ถู ก ต้ อ ง
คณะกรรมการฯ และความสมบูรณ์
ไว้ในคำสั่ง ในการแต่งต้ัง

คณะกรรมการฯ
- คณะกรรมการฯ เช ่น เป ็น ผู้ม ี
มีได้ไมเ่ กิน๕คน ส่วนได้เสีย หรือ
(ควรเป็น๓หรือ มีความเป็นกลาง
๕ คน) หรือไม่ (ตามพ.ร.บ.

วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ )

3)คณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯ ต้องดำเนินการ -ภายในเวลาที่ - คณะกรรมการฯ -กำชับให้คณะ

ดำเนินการสอบ สอบข้อเท็จจริง รายงานผลการ กำหนดตาม ต้องให้โอกาส ก ร ร ม ก า ร ฯ

ขอ้ เทจ็ จรงิ /เสนอ สอบสวน พร้อมความเห็นเก่ียวกับ คำสั่งแต่งตั้ง เ จ ้า ห น ้า ที ่ ดำเนิ นก ารให้

ความเห็น ตัวผู้ต้องรับผิดและจำนวนค่าสินไหม คณะกรรมการฯ ท่ีเกี่ยวข้องหรือ แล้วเสร็จภายใน

ทดแทนที่ผูน้ น้ั ตอ้ งชดใช้ ผู้เสียหายได้ช้ีแจง ระยะเวลาที่กำหนด

๑1๖6๑5

กรณเี จ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟ้องกรมทดี่ ินให้ชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน)
ข้นั ตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบัติ การกำกับ/ดแู ล

-หากไม่สามารถ ขอ้ เท็จจริงโต้แย้ง ตลอดจนให้รีบแจ้ง

พิจารณาได้ทัน แสดงหลักฐาน และส่ งรายชื่ อ

ภายในระยะเวลา ของตนอย่ าง พร้อมท่ีอยู่ของ

ดงั กล่าวสามารถ เพียงพอและ ทายาท กรณี

ขอขยายได้เท่าที่ เป็นธรรม เจ้าหน้าที่ซึ่งอาจ

จำเป็น ตอ้ งรบั ผิดเสยี ชวี ิต

ให้กระทรวงการคลัง

-โดยต้องคำนึงถึง และกรมทดี่ ินทราบ

อ า ยุ ค ว า ม

ก า ร ใช ้สิ ทธิ

เ รี ย ก ร้ อ ง

ตามมาตรา ๙

แห่ง พ.ร.บ.

ค ว า ม รับ ผ ิด

ท า ง ล ะ เ มิ ด ฯ

(๑ ปี นั บแต่

วันที่กรมที่ดิน

ไ ด้ ช ด ใ ช้

ค่ า สิ น ไ ห ม

ท ด แ ท น นั้ น

แกผ่ ู้เสียหาย)

- สรุปเรื่องเสนอให้ผู้ว่าราชการ ๕ – ๓๐
จังหวัดวินิจฉัยส่ังการ (ตามข้อ ๑๔, วันทำการ
๑๕ และ ๑๖ แห่งระเบียบสำนัก
นายกฯ)

166 ๑๖๒

กรณเี จ้าหน้าท่ีกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟ้องกรมท่ดี ินให้ชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน)
ขน้ั ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ การกำกับ/ดแู ล

4) ผู้แต่งตั้งวินิจฉัย ความเห็นของคณะกรรมการฯ - ภายใน ๗ วัน - เว้นแต่เป็นเรื่อง -เจ้าพนักงานที่ดิน

สง่ั การ/ส่งสำนวน ไม่ผูกมัดผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะ นับแต่วันที่ได้ ท่ีก ระ ท รว ง จังหวัด/สาขา

ให้กระทรวงการคลัง ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯท่ีจะมีความเห็น วินิจฉัยสัง่ การ การคลังประกาศ ตรวจสอบหลักฐาน

ตรวจสอบ เป็นอย่างอื่น เมื่อได้รับผลการ กำหนดว่าไม่ตอ้ ง ก า ร วิ นิ จ ฉั ย

พิจารณาของคณะกรรมการฯ แล้ว -โดยต้องคำนึง ส่งสำนวนให้ สั่งการของผู้ว่า

ให้วินิจฉัยสั่งการว่ามีผู้ต้องรับผิด ถึงอายุความ กระทรวงการคลัง ราชการจังหวัด

ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่ ก ารใช้ สิ ท ธิ ตรวจสอบ และกำชั บให้

และเป็นจำนวนเท่าใด แต่ยังไม่ต้อง เ รี ย ก ร้ อ ง เจ้าหน้าที่จัดส่ง

แจ้งการส่ังการให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องทราบ ตามมาตรา ๙ - สำหรับความ ส ำน ว น ห รื อ

โดยส่งสำนวนการสอบสวนให้ แห่ ง พ .ร.บ . เสี ย ห า ย ท่ี รายงานความ

กระทรวงการคลังตรวจสอบ หรือ ความรั บ ผิ ด เกิ ด ข้ึ น กั บ เ สี ย ห า ย ให้

รายงานความเสี ยหายในระบบ ทางละเมิดฯ ทรัพย์สินของ กระทรวงการคลัง

ความรับผิดทางละเมิดและแพ่งของ (๑ ปี นับต้ังแต่ หน่วยงานของรัฐ และกรมที่ดิน

กรมบัญชีกลาง และรายงานผลการ วันท่ีกรมท่ีดินได้ ครั้งละไม่เกิน ภายในระยะเวลา

ดำเนินการพร้อมจัดส่งสำเนาสำนวน ชดใช้ค่าสินไหม 1,000,000บาท ดงั กล่าว

การสอบสวนให้กรมที่ดนิ ทราบด้วย ท ด แ ท น นั้ น หน่วยงานของรัฐ

ทั้งนี้ ควรมีระยะเวลาให้ แกผ่ ้เู สียหาย) ไมต่ ้องสง่ สำนวน
กระทรวงการคลังพิจารณาไม่น้อย การสอบสวน
กว่าสามเดือนก่อนอายุความหน่ึงปี ไปให้กระทรวง
สิ้นสุด (ตามข้อ ๑๗ วรรคสอง การคลังตรวจสอบ
แห่งระเบียบสำนักนายกฯ และ แต่จะต้องรายงาน
หนั งสือเวียนกระทรวงการคลัง ความเสียหาย
ด่วนที่สุด ท่ี กค. ๐๔๑๐.๖/ว ๓๒ ดังกล่าวในระบบ
ลงวนั ที่ ๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ ความ รับ ผิ ด
ท า ง ล ะ เมิ ด

และแพ่งของ

กรมบัญชีกลาง

ตามนัยข้อ 17

วรรคสอง

๑1๖6๓7

กรณเี จ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บุคคลภายนอกฟ้องกรมท่ีดนิ ให้ชดใช้คา่ สินไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบัติ การกำกบั /ดแู ล

แ ห่ ง ร ะ เบี ย บ
สำนักนายกฯ
ป ร ะ ก อ บ กั บ
ประกาศกระทรวง
การคลัง เร่ือง
ความ รับ ผิ ด
ท า ง ล ะ เมิ ด
ของเจ้าหน้าที่
ท่ีไม่ต้องรายงาน
ใ ห้ ก ร ะ ท ร ว ง
การคลังตรวจสอบ
พ.ศ. 2562
ลงวัน ท่ี 2 0
ธั น ว า ค ม
2562 โดย
ใน ส่ ว น ก า ร
รายงานความ
เสี ย ห า ย ใน
ระบบความ
รับผิดทางละเมิด
และแพ่งของ
กรมบัญชีกลาง
ในชนั้ นใ้ี หจ้ งั หวัด
ประสานงาน
กั บ ก ร ม ที่ ดิ น
(สำนักกฎหมาย)
เพื่อให้กรมที่ดิน
(สำนักกฎหมาย)
เป็นผู้ดำเนินการ

168 ๑๖๔

กรณเี จ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บุคคลภายนอกฟอ้ งกรมท่ดี ินให้ชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ัติ การกำกับ/ดแู ล

รายงานความ
เสียหายในระบบ
ดั งก ล่ าว ต่ อ
กรมบัญชีกลาง
โดยตรงจนกว่า
จ ะ มี ก ารข อ
เปิ ด ร ะ บ บ
ความ รับ ผิ ด
ท า ง ล ะ เมิ ด
และแพ่งของ
กรมบัญชีกลาง
ในสำนักงานท่ีดิน
จังหวัดเป็นท่ี
เรียบร้อยแลว้

๕ ) ก ารเต รี ย ม ก่อนอายุความการใช้สิทธิเรียกร้อง - อายุความ - ใ น ก ร ณี ท่ี - เจ้าพ นั กงาน

ค ว า ม พ ร้ อ ม ของหน่วยงานสิ้นสุดหน่ึงปีนับแต่ การใช้ สิ ท ธิ ค ำ วิ นิ จ ฉั ย ที่ ดิน จังห วัด /

ในการออกคำส่ัง วันท่ีหน่วยงานได้ใช้ค่าสินไหม เรียกร้อง ๑ ปี สั่ งก าร มี ผู้ สาขา กำชับให้

หรอื ฟ้องคดี ทดแทนนั้นแก่ผู้เสียหาย กรมที่ดิน นั บ แ ต่ วั น ที่ ต้ อ งรั บ ผิ ด เ จ้ า ห น้ า ท่ี

จะต้องดำเนินการใช้สิทธิเรียกให้ กรมที่ดินได้ใช้ ซึ่งเสียชีวิตแล้ว ติดตามผลการ

เจ้าหน้าท่ีผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม ค่ า สิ น ไ ห ม ต้องรีบแจ้งให้ พิ จารณ าของ

ท ด แ ท น ให้ แ ก่ ท า ง ร า ช ก า ร ท ด แ ท น นั้ น กรมที่ดนิ ทราบ กระทรวงการคลัง

ต า ม ม า ต ร า ๙ แ ห่ ง พ .ร .บ . แ ก่ ผู้ เสี ยหาย โดยดว่ น เ ป็ น ร ะ ย ะ

ความรับผิดทางละเมิดฯ ซึ่งหาก (ชำระเงินตาม แ ล ะ แ จ้ ง ใ ห้

ก ร ะ ท ร ว งก า ร ค ลั งไม่ แ จ้ งผ ล คำพิพากษา) กรมที่ดินทราบ

การพิจารณามาให้ทราบ จังหวัด ก่อนอายุความ

จะต้องมีหนังสือทวงถามผลการ ตามกฎหมาย

พิ จ า ร ณ า จ า ก ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ส้ินสุด

(กรมบัญชีกลาง) และรายงานผล

ก า ร ติ ด ต า ม ง า น ดั ง ก ล่ า ว ให้

๑1๖6๕9

กรณีเจ้าหนา้ ที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟอ้ งกรมทด่ี นิ ให้ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน)
ขัน้ ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ข้อควรปฏบิ ตั ิ การกำกับ/ดแู ล

ก รม ท่ี ดิ น ท ราบ เพื่ อ พิ จ ารณ า ๕ – ๑๐ - สำนักกฎหมาย
ดำเนินการในสว่ นทเ่ี กี่ยวข้อง วนั ทำการ ดำเนนิ การ
(ตามข้อ ๑๗ วรรคสี่ และข้อ ๒๔
แหง่ ระเบยี บสำนักนายกฯ

๖ ) ก ร ม ที ่ด ิน ในกรณีที่คำวินิจฉัยส่ังการมีผู้
อ อ ก คำสั่ งให้ ต้องรับผิดและกระทรวงการคลัง
ชดใช้ค่าสินไหม ไม่แจ้งผลการพิจารณามาภายใน
ทดแทน หรือ เวลาก่อนอายุความการใช้สิทธิ
ฟ้องคดี เรียกร้องของหน่วยงานสิ้นสุดหน่ึงปี
นั บ แ ต่ วั น ที่ ห น่ ว ย ง า น ได้ ใช้
ค่าสินไหมทดแทนน้ันแก่ผู้เสียหาย
(ช ำ ร ะ เงิ น ต า ม ค ำ พิ พ า ก ษ า )
กรมที่ดินจะต้องดำเนินการใช้สิทธิ
เรียก (ออกคำสั่ง) ให้เจ้าหน้าท่ี
ผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ให้แก่ทางราชการตามมาตรา ๙ แห่ง
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ และ
ดำเนินการตามมาตรา ๓ แห่ง
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดฯ
ประกอบมาตรา ๕๑ แห่ง พ.ร.บ.
จดั ต้งั ศาลปกครองฯ หรือเรียกทายาท
ตามกฎหมาย กรณีผู้ต้องรับผิด
เสียชีวิตแล้วแต่กรณี มาชำระค่าสินไหม
ทดแทนก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้คดี
ขาดอายุความตามประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณิชย์
(ตามข้อ ๑๗ วรรคห้า และข้อ ๒๔
แหง่ ระเบยี บสำนักนายกฯ)

170 ๑๖๖

กรณเี จ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟอ้ งกรมที่ดนิ ให้ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ข้อควรปฏบิ ตั ิ การกำกบั /ดแู ล

๗) กระทรวงการคลัง ส่งสำเนาผลการพิจารณาให้ ๑-3 - ในกรณีท่ีได้รับ - เจ้าพนักงานท่ีดิน
แจง้ ผลการพจิ ารณา กรมท่ีดินทราบเพื่อดำเนินการตาม วันทำการ แ จ้ งผ ล ก า ร จงั หวดั /สาขากำชับ
ความเหน็ ของกระทรวงการคลงั พิจารณาใกล้ ให้ เจ้ าหน้ าที่
(ตามข้อ ๑๘ วรรคหน่ึง แห่งระเบียบ เวลาอายุความ ดำเนิ นการตาม
สำนักนายกฯ) ส้ิ น สุ ด ต า ม ระยะเวลาทีก่ ำหนด
กฎ ห ม าย
ให้ ส่ ง ผ ล ก า ร
พิ จ า ร ณ า
ทางโทรสาร
หรือไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์
โดยดว่ น

๘) ดำเนินการตาม กรมท่ีดินจะต้องดำเนินการตาม ๕ – ๑๕ - สำนกั กฎหมาย
ความเห็นของ ความเห็นของกระทรวงการคลัง วันทำการ ดำเนินการ
กระทรวงการคลงั กรณเี จา้ หนา้ ที่ไมต่ ้องรับผดิ :
เสนออธิบดเี พอื่ ยตุ ิเร่ือง
กรณีเจ้าหนา้ ทตี่ ้องรับผิด :
ออกคำส่ัง/แก้ไขคำส่ัง (กรณี ท่ี
กรมที่ดินได้ออกคำส่ังให้เจ้าหน้าท่ี
ชดใช้เงินตามความเห็นของผู้แต่งต้ัง
เน่ื องจากยังไม่ได้รับแจ้งผลการ
พิจารณาจากกรมบัญชีกลาง และ
คดีจะขาดอายุความ) (ตามข้อ ๑๘
วรรคสอง แห่งระเบียบสำนักนายกฯ)

๙ ) ก า ร ช ำ ร ะ การดำเนินการของกรมที่ดิน ๕ – ๓๐ - สำนกั กฎหมาย
ค่ า สิ น ไ ห ม เพ่ือให้ผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม วนั ทำการ ดำเนนิ การ
ทดแทน ทดแทน

๑1๖7๗1

กรณีเจ้าหนา้ ที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บคุ คลภายนอกฟ้องกรมทดี่ ินให้ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทน)
ขน้ั ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ การกำกบั /ดแู ล

กรณีท่ีผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน : ยุติเรื่อง รายงานกระทรวง
การคลงั
ก รณี ที่ ผู้ ต้ อ งรับ ผิ ด ไม่ ช ด ใช้
ค่าสินไหมทดแทน : ส่งฟ้องศาล
ยุติ ธรรม / ศาลปกครอง และแจ้ ง
กระทรวงการคลัง (ตามข้อ ๑๘ วรรคสอง
แห่งระเบียบสำนกั นายกฯ)

กรณี บุคคลภายนอกรอ้ งขอให้กรมที่ดินชดใชค้ า่ สินไหมทดแทน

กรณเี จ้าหนา้ ทีก่ ระทำละเมดิ ต่อบุคคลภายนอก
(บุคคลภายนอกร้องขอให้กรมทดี่ ินชดใช้คา่ สนิ ไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ข้อควรปฏบิ ัติ การกำกับ/ดูแล

๑) รับคำขอ เมื่อบุคคลภายนอกร้องขอให้ ๕ – ๓๐ ห า ก ต้ อ ง - สำนักกฎหมาย
กรมท่ีดนิ ชดใช้ค่าสนิ ไหมทดแทนจาก วันทำการ ประสานงาน ดำเนินการ

การละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่ของ จากหน่วยงานอ่ืน - เจ้าพนักงาน

เจ้าหน้าที่ในสังกัด หากเป็นกรณีที่ เพ่ือขอข้อมูล ท่ีดินจังหวัด/

บุคคลภายนอกย่ืนคำขอท่ีจังหวัดใด เพม่ิ เติมประกอบ สาขา จะต้อง

ให้สำนักงานท่ีดินจังหวัดรีบดำเนินการ การพิจารณา กำชับเจ้าหน้าท่ี

ส่งคำขอดังกล่าวมาให้อธิบดีกรมที่ดิน ระยะเวลาในการ ให้รีบส่งคำขอ

เม่ือกรมที่ดินพิจารณา แล้วเห็นว่า ด ำ เนิ น ก า ร ตามมาตรา ๑๑
คำขอดังกล่าวเป็นไปตามมาตรา ๑๑ อาจขยายได้ ให้ กรมท่ี ดิน
แห่ง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ เทา่ ท่ีจำเป็น พิจารณา
ก ร ม ท่ี ดิ น จ ะ ด ำ เนิ น ก า ร ตรวจสอบ
ข้ อเท็ จจริ งในเบ้ื องต้ น รวบรวม
พ ย า น ห ลั ก ฐ า น แ ล ะ ข้ อ ก ฎ ห ม า ย
ส รุ ป เรื่ อ งเสน อให้ อธิ บ ดี อ อก ใบ รั บ
ค ำข อแ ล ะ ล ง น า ม ใ น ค ำ สั่ ง แ ต่ ง ตั้ ง

172 ๑๖๘

กรณเี จ้าหน้าท่ีกระทำละเมดิ ต่อบคุ คลภายนอก
(บุคคลภายนอกรอ้ งขอใหก้ รมทีด่ ินชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน)
ขัน้ ตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏิบตั ิ การกำกับ/ดแู ล

คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความ
รับผิดทางละเมิด ในกรณี ท่ีเหตุ
แ ห่ ง ค ว า ม เสี ย ห า ย อ ยู่ ใน เข ต
กรุงเท พมหานคร และเสนอให้
อธิบดีมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด

เป็นผู้แต่งต้ังคณ ะกรรมการสอบ

ข้ อ เท็ จ จ ริ งค ว าม รั บ ผิ ด ท างล ะเมิ ด

ในกรณีท่ีเหตุแห่งความเสียหายอยู่ใน

จังหวัดน้ัน (ตามข้อ ๓๓ ประกอบข้อ ๓๒

และขอ้ ๓๑ แหง่ ระเบียบสำนักนายกฯ)

๒) แต่งต้ังคณะ เม่ือจังหวัดได้รับเร่ืองจากกรมที่ดิน ๕ – ๒๐ - หากเป็นกรณี - เจ้าพนักงานท่ีดิน
กรรมการสอบ แล้วให้แต่งต้ังคณะกรรมการสอบ วนั ทำการ ต้องประสานงาน จังหวัด/สาขา
ข้อ เท ็จ จ ริง ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด เพื่ อ แ ต่ งต้ั ง ตรวจสอบว่า
ความ รับ ผิด โดยรวบรวมข้อเท็จจริง เอกสาร ก ร ร ม ก าร ฯ กรณีดังกล่าว
ทางละเมิด หลักฐาน กฎหมาย ระเบียบและ ร่ ว ม กั บ ต้ อ งแ ต่ งตั้ ง
วิธีปฏิบัติที่เก่ียวข้อง เพ่ือสรุปเร่ือง หน่วยงานอื่น คณะกรรมการฯ
เสนอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลงนาม ระยะเวลาในการ รว่ มกับหน่วยงาน
ในคำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ ด ำ เนิ น ก า ร อ่ืนหรือไม่
ขอ้ เท็จจริงความรับผิดทางละเมิด อาจขยายได้
(ตามข้อ ๓๓ ประกอบข้อ ๓๒ และ เท่าท่จี ำเปน็ - เจ้าพนักงาน
ขอ้ ๓๑ แห่งระเบยี บสำนักนายกฯ)
ที่ดินจังหวัด/
- ให้กำหนดเวลา สาขา ตรวจสอบ
แล้วเสร็จในการ ความถูกต้องและ
ดำเนินการของ ความสมบูรณ์
คณะกรรมการฯ ในการแต่งต้ัง
ไว้ในคำสง่ั คณะกรรมการฯ

เช่น เป็นผู้มี
- คณะกรรมการฯ ส่วนได้เสียหรือ
มีได้ไม่เกิน ๕ มีความเป็นกลาง

๑1๖7๙3

กรณีเจา้ หนา้ ท่กี ระทำละเมดิ ตอ่ บคุ คลภายนอก
(บคุ คลภายนอกร้องขอใหก้ รมที่ดนิ ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏิบัติ การกำกับ/ดูแล

คน (ควรเป็น หรอื ไม่
๓ หรอื ๕ คน) (ตาม พ.ร.บ.วิธี

ปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ )

๓)คณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯ ต้องดำเนินการ -ภ า ย ใน เว ล า - คณะกรรมการฯ - เจ้าพนักงาน

ดำเนินการสอบ สอบข้อเท็จจริง รายงานผลการ ที่กำหนดตาม ต้องให้โอกาส ที่ดินจังหวัด/

ข้ อเท็ จจริ ง/ สอบสวน พร้อมความเห็นเก่ียวกับ ค ำ สั่ งแ ต่ ง ตั้ ง เจ้ า ห น้ า ที่ สาขา กำชับ

เสนอความเห็น การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ คณะกรรมการฯ ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง คณะกรรมการฯ

ผู้ขอด้วยว่า กรมที่ดินต้องชดใช้ -หากไม่สามารถ หรือผู้เสียหาย ด ำ เนิ น ก า ร
ค่ า สิ น ไห ม ท ด แ ท น ใ ห้ ต า ม ค ำ ข อ พิจารณาได้ทัน ไ ด้ ชี้ แ จ ง ใ ห้ แ ล้ ว เส ร็ จ
หรือไม่ และชดใช้ในจำนวนเงินเท่าใด ภายในระยะเวลา ข้ อ เท็ จ จ ริ ง ภายในระยะ
ในกรณีท่ีต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ดังกล่าว สามารถ โ ต้ แ ย้ ง แ ส ด ง เวลาท่ีกำหนด
จะต้องพิจารณาด้วยว่าเจ้าหน้าที่ท่ีมี ขอขยายได้เท่าที่ หลักฐานของตน ต ล อ ด จ น ใ ห้
ส่ ว น เก่ี ยวข้ อ งจะ ต้ อ งรั บ ผิ ด ช ด ใช้ จำเปน็ โดยคำนึง อย่างเพียงพอ รีบแจ้ง และ
ค่าสินไหมทดแทนคืนให้แก่กรมที่ดิน ถึง ขั้น ต อ น ที ่ และเปน็ ธรรม ส่ ง ร า ย ช่ื อ
หรือไม่ หากต้องชดใช้คืนให้แก่ พ ร้ อ ม ท่ี อ ยู่
กรมท่ีดิน ให้พิจารณากำหนดตัว กรมที่ดินจะต้อง - ห าก มี ก รณี ของทายาท
ผู้ต้องรับผิดและจำนวนค่าสินไหม แจ้งผ ล การ เจ้ า ห น้ า ที่ กรณีเจ้าหน้าที่
ทดแทนท่ีผู้นั้นต้องชดใช้ และสรุป พิ จ า ร ณ า ให้ ซึ่ งอ า จ ต้ อ ง ซ่ึ งอ า จ ต้ อ ง
เร่ื อ ง เส น อ ใ ห้ ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด ผู้ขอทราบภายใน รบั ผิดเสียชีวิต รบั ผิดเสียชีวิต
วินิจฉัยสั่งการ (ตามข้อ ๑๔, ๑๕ กำหนด ๑๘๐ วัน ให้รีบตรวจสอบ ให้ กรมที่ ดิน
และ ๑๖ แหง่ ระเบยี บสำนกั นายกฯ) นับแตว่ ันรับคำขอ ราย ชื่ อ แ ล ะ ทราบ

ที่อยู่ของทายาท

แ ล ะ แ จ้ งให้

กรมที่ดินทราบ

174 ๑๗๐

กรณีเจา้ หนา้ ท่ีกระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
(บุคคลภายนอกร้องขอให้กรมทีด่ นิ ชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนินงาน ระยะเวลา ขอ้ ควรปฏบิ ัติ การกำกับ/ดแู ล

๔) การขอขยาย ระหว่างคณะกรรมการฯ ดำเนินการ - ก่ อ น ส้ิ น สุ ด - - เจ้าพนักงาน

เวลาการพิจารณา สอบข้อเท็จจริง ตามข้อ ๓ หากเห็นว่า ร ะ ย ะ เ ว ล า ท่ีดินจังหวัด/

คำขอตามมาตรา ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ ๑๘๐ วนั นับแต่ สาขา กำชับ

๑๑ แห่ง พ.ร.บ. ภายในกำหนด ๑๘๐ วัน นับแต่วัน รับคำขอเป็นเวลา เจ้าหน้าท่ีให้รีบ

ความ รับ ผิ ด รับคำขอตามมาตรา ๑๑ แห่ง พ.ร.บ. ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๕วัน ด ำ เนิ น ก า ร

ทางละเมดิ ฯ ความรับผิดทางละเมิดฯ ให้รีบแจ้ง แจ้งกรมที่ดิน

กรมที่ดิน เพ่ือขอขยายระยะเวลา ภายในระยะ

การพิจารณาคำขอต่อรัฐมนตรีว่าการ เวลาท่ีกำหนด

กระทรวงมหาดไทย พร้อมรายงาน

ปญั หาและอุปสรรคในการดำเนนิ งาน

ให้ทราบ

๕) ผู้แตง่ ตงั้ วนิ ิจฉัย ความเห็นของคณะกรรมการฯ -ส่งสำนวนการ - -เจ้าพนักงาน

ส่ังการ/ส่งสำนวน ไม่ผูกมัดผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะ ส อ บ ส ว น ให้ ที่ดินจังหวัด/

ใหก้ รมทด่ี นิ ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ที่จะมี กรมที่ดินทราบ สาขา กำชับ

ความเห็นเป็นอย่างอื่น เมื่อได้รับ ภายใน ๗ วัน เจ้าหน้าท่ีให้รีบ

ผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ แล้ว นับแต่วันวินิจฉัย ด ำ เนิ น ก า ร

ให้วินิจฉัยส่ังการว่า กรมที่ดินต้อง สง่ั การ แจ้งกรมท่ีดิน

รับ ผิ ด ช ด ใช้ ค่ าสิ น ไห ม ท ด แ ท น ภายในระยะ

ตามคำขอของผู้ขอหรือไม่ เป็นเงิน เวลาทก่ี ำหนด

จำนวนเท่าใด และเจ้าหน้าท่ีต้องรับผิด

ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนคืนให้แก่

กรมท่ีดินหรือไม่ อย่างไร โดยส่งสำนวน

การสอบข้อเท็จจริงและคำวินิจฉัย

สั่ ง ก า ร ไ ป ใ ห้ ก ร ม ท่ี ดิ น เพ่ื อ แ จ้ ง ผ ล

การพจิ ารณาใหผ้ ขู้ อทราบ

(เทียบเคียงข้อ ๑๗ แห่งระเบียบ

สำนกั นายกฯ)

๑1๗7๑5

กรณีเจ้าหนา้ ท่ีกระทำละเมดิ ตอ่ บคุ คลภายนอก
(บคุ คลภายนอกร้องขอใหก้ รมทีด่ ินชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน)
ขั้นตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา ข้อควรปฏิบัติ การกำกบั /ดแู ล

๖. แจ้งผลการ กรมท่ีดินเสนอผลการวินิจฉัยของ ๕ – ๒๐ - สำนกั กฎหมาย

พจิ ารณา ผู้ว่าราชการจังหวัดเพ่ือให้อธิบดีกรมที่ดิน วันทำการ ดำเนินการ

ลงนามในหนังสือแจ้งผลการพิจารณา (ภายในกำหนด

ให้ผู้ขอทราบ ๑๘๐ วนั นับแต่

วันรับคำขอ หรือ

๓๖๐ วัน ในกรณี

ท่ีมีการขอขยาย

ระยะเวลาการ

พิจารณาคำขอ)

๗ . ก า ร ช ำ ร ะ การดำเนินการของกรมท่ีดิน ๕ – ๓๐ - สำนกั กฎหมาย
ค่ าสิ น ไห ม เพ่ือให้ผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม วันทำการ ดำเนินการ
ทดแทน ทดแทนคืนใหแ้ ก่ทางราชการ
กรณีท่ีผู้ต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน : ยุติเรอ่ื ง
กรณีที่ผู้ต้องรับผิดไม่ชดใช้ค่าสินไหม
ทดแทน : ส่งฟ้องศาลยุติธรรม /
ศาลปกครอง และแจ้งกระทรวงการคลัง
(ตามข้อ ๑๘ วรรคสอง แห่งระเบียบ
สำนักนายกฯ)

176 ๑๗๒

4.2 กรณีที่สอง

การดำเนินการเก่ียวกับความรับผิดทางแพ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๔๒๐
และตามนิตกิ รรมสัญญา

เชน่ ลาภมิควรได้ ตามมาตรา ๔๐๖ ละเมิด ตามมาตรา ๔๒๐ ตดิ ตามทรพั ยค์ ืน ตามมาตรา ๑๓๓๖ และ
ผิดสัญญาประเภทต่าง ๆ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซ่ึงมีข้ันตอนในการดำเนินงาน
ดงั ตอ่ ไปนี้

การดำเนนิ การเก่ยี วกบั ความรับผดิ ทางแพ่งตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
มาตรา ๔๒๐ และตามนิติกรรมสัญญา
ขัน้ ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา หมายเหตุ การกำกบั /ดแู ล

๑) ตรวจสอบ เมือ่ เกิดเหตทุ ี่ทำให้กรมท่ีดนิ ไดร้ บั ความ ๕ – ๒๐ - - เจ้าพนักงาน
ข้อเท็จจริง/ เสียหายข้ึนในจังหวัดใด ให้สำนักงาน วันทำการ ท่ีดินจังหวัด/
รายงานเหตุ ท่ีดินอำเภอ หรือสำนักงานที่ดินจังหวัด สาขา ตรวจสอบ
สาขา ท่ีพบเหตุ หรือได้รับแจ้งเหตุ ความถูกต้อง
รายงานข้อเท็จจริง พร้อมเอกสารและ และความ
หลักฐานไปให้สำนักงานที่ดินจังหวัด ส ม บู ร ณ์
ทราบโดยเร็ว และให้สำนักงานที่ดิน ของเอกสาร
จังหวัดตรวจสอบข้อเท็จจริงดังกล่าว ประกอบการ
เช่น สาเหตุที่ทำให้เกิดความเสียหาย รายงาน
ผู้กระทำหรือผู้มีส่วนร่วมให้เกิดความ
เสียหาย จำนวนค่าเสียหายที่กรมที่ดิน ห า ก มี ก า ร สำนักกฎหมาย
ได้รับ การเรียกให้ชดใช้ค่าเสียหาย ประสานงาน ดำเนินการ
ในเบ้ืองต้นและรายงานเหตุแห่งความ จากหน่วยงานอื่น
เสยี หายดงั กลา่ วให้อธิบดกี รมท่ีดนิ ทราบ เพื่อขอข้อมูล
เพิ่มเติมระยะเวลา
๒ ) เรีย ก ให้ กรมที่ดินจะประสานงานกับสำนักงาน ๕ – ๓๐ ในการดำเนินการ
ผตู้ ้องรับผิด ท่ีดินจังหวัดเพื่อดำเนินการให้ผู้กระทำ วนั ทำการ อ า จ ข ย า ย ไ ด้
ช ด ใ ช้ ให้เกิดความเสียหายชดใช้ค่าเสียหาย เท่าทีจ่ ำเป็น
คา่ เสียหาย ให้แก่ทางราชการก่อน โดยหากปรากฏว่า
บุคคลดังกล่าวไม่ยินยอมชดใช้ค่าเสียหาย
ก็ดำเนินการสรุปข้อเท็จจริง รวบรวม
พยานหลักฐาน ข้อกฎหมายระเบียบ
และวิธปี ฏิบตั ทิ ่เี ก่ยี วขอ้ งเสนอ

177๑๗๓

การดำเนนิ การเกีย่ วกบั ความรับผดิ ทางแพง่ ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์
มาตรา ๔๒๐ และตามนิตกิ รรมสญั ญา
ขนั้ ตอน การดำเนนิ งาน ระยะเวลา หมายเหตุ การกำกับ/ดูแล

๓) การชำระ การดำเนินการของกรมท่ีดินเพื่อให้ ๕ – ๓๐ - สำนกั กฎหมาย
คา่ เสียหาย บุคคลภายนอก (ผู้ทำให้เกิดความเสียหาย) วนั ทำการ ดำเนินการ
ชดใช้ค่าเสียหายแกท่ างราชการ
กรณที ่ีผู้ตอ้ งรับผดิ ชดใชค้ า่ เสียหาย :
ยตุ เิ ร่อื ง
กรณีที่ผู้ต้องรับผิดไม่ชดใช้ค่าเสียหาย :
ส่งฟ้องศาลยุติธรรม/ ศาลปกครอง และ
แจ้งกระทรวงการคลัง
(ตาม ป.พ.พ. และ ป.ว.ิ พ.)



๑1๗7๕9

กองการเจา้ หน้าท่ี

อำนาจหนา้ ที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคัญ การปฏิบัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งที่เกีย่ วข้อง การพิจารณา อำนาจหน้าท่ี
คำส่ังกรมท่ีดิน
1. ยา้ ยขา้ ราชการ - มาตรา 57, 63 แห่ง - เพ่ือประโยชน์ของทางราชการและให้ อำนาจในการแต่งต้ัง

พระราชบัญญัติระเบียบ การบริหารทรัพยากรบุคคลของข้าราชการ เป็นของผู้ว่าราชการ

ข้าราชการพลเรือน ในสังกัดกรมที่ดินมีประสิทธิภาพ โดย จังหวัด ผู้บังคับ

พ.ศ. 2551 เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดพิจารณาเสนอ บัญชา ซึ่งมีอำนาจ

ย้ายข้าราชการในสังกัดภายในจังหวัด สั่งบรรจุ ตามมาตรา

ต้ังแต่ระดับชำนาญการ/ชำนาญงาน 5 7 (1 1 ) แ ห่ ง

ลงมาเพ่ือให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา พระราชบัญญัติ

แตง่ ตั้ง ระเบียบข้าราชการ

พลเรอื นพ.ศ. 2551

2. รักษาราชการแทน - มาตรา 47 แห่งพระราช - กรณีไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าพนักงาน อำนาจในการแต่งต้ัง
บญั ญัติระเบยี บบริหาร ที่ดินจังหวัดหรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติ เปน็ ของผู้วา่ ราชการ
ราชการแผ่นดนิ พ.ศ. หน้าท่ีราชการได้ โดยเจ้าพนักงานท่ีดิน จังหวัด ผู้บังคับ
2534 จังหวัดเสนอข้าราชการผู้มีอาวุโสท่ี บัญชาซึ่งมีอำนาจ
เหมาะสม เพ่ือให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่ังบรรจุตามมาตรา
พิจารณาแต่งตั้งเป็นผู้รักษาราชการ 5 7 (1 1 ) แห่ง
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
แทนตน ระเบียบข้าราชการ

พลเรอื นพ.ศ. 2551

3.รักษาการในตำแหน่ง - มาตรา 68 แห่งพระราช - กรณีท่ีตำแหน่งเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด/ อำนาจในการแต่งตั้ง
บัญญัติระเบยี บข้าราชการ สาขา/หัวหน้าฝ่าย/กลุ่ม/งานว่างลง เป็นของผู้วา่ ราชการ
พลเรือน พ.ศ.2551 หรือผู้ดำรงตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติ จังหวัด ผู้บังคับ
หน้าท่ีราชการได้ โดยเจ้าพนักงานท่ีดิน บัญชาซึ่งมีอำนาจ
เสนอข้าราชการผู้หน่ึงผู้ใดที่เห็นสมควร ส่ังบรรจุตามมาตรา
เพ่ือให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณา 5 7 (1 1 ) แ ห่ ง
แตง่ ตง้ั ให้รักษาการในตำแหนง่ นั้นๆ พระราชบัญญัติ

ระเบียบข้าราชการ
พลเรอื นพ.ศ. 2551

4. ปฏบิ ัตริ าชการแทน - มาตรา 38 แห่งพระราช- - มอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทนโดย อำนาจในการแต่งต้ัง
บัญญัติระเบียบบริหาร

180 ๑๗๖

อำนาจหน้าทีต่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญ การปฏบิ ตั ติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งทีเ่ ก่ียวขอ้ ง การพจิ ารณา อำนาจหนา้ ท่ี
คำสัง่ กรมท่ดี นิ
ราชการแผ่นดนิ พ.ศ.2534 เจ้าพนักงานที่ดินเสนอหัวหน้าฝ่าย/ เป็นของผู้ว่าราชการ
กลุ่มงานที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด ผู้บังคับ
จงั หวดั พิจารณาแตง่ ตั้งให้ปฏิบตั ริ าชการ บัญชาซึ่งมีอำนาจ
แทนตนเฉพาะเรื่องที่สามารถมอบ ส่ังบรรจุตามมาตรา
อำนาจได้ 5 7 (1 1 ) แ ห่ ง
พระราชบั ญญั ติ
ระเบียบข้าราชการ
พลเรอื นพ.ศ. 2551

5. การทดลองปฏิบตั ิ - มาตรา59 แห่งพระราช - เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด/เจ้าพนักงาน เจ้าพนักงานที่ดิน
ราชการ บญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราช ที่ดินจังหวัด(สาขา)/เจ้าพนักงานท่ีดิน จังหวัด/เจ้าพนักงาน

การพลเรอื นพ.ศ.2551 หัวหน้าส่วนแยกเป็นผู้ประเมินผลงาน ท่ีดินจงั หวัด(สาขา)/
- กฎ ก.พ.ว่าด้วยการ การปฏิบัติราชการของข้าราชการบรรจุ เจ้าพนักงานท่ีดิน
ใหมแ่ ละเสนอความเห็นใหผ้ ้วู ่าราชการ หัวหน้าส่วนแยก
ทดลองปฏิบัติหน้าที่ จังหวัด ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาผู้มอี ำนาจสั่ง เป็นผู้ประเมินผล
ราชการและการพัฒนา บรรจสุ ง่ั ใหผ้ นู้ ั้นรับราชการต่อไป หรอื สั่ง การปฏิบัติราชการ
ขา้ ราชการท่ีอยู่ระหวา่ ง ให้ออกจากราชการ กรณีผลการประเมิน
ทดลองปฏิบัติหน้าที่ ต่ำกวา่ เกณฑม์ าตรฐานที่ ก.พ. กำหนด ข้าราชการบรรจุใหม่
ราชการ พ.ศ. 553

6. ช่วยราชการ/ - - เพ่ือความเหมาะสมและประโยชน์ของ อำนาจในการแต่งต้ัง
ทางราชการ โดยเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัด เป็นของผู้ว่าราชการ
ปฏิบัตหิ น้าที่ พจิ ารณาเสนอให้ข้าราชการในสำนักงาน จังหวัด ผู้บังคับ

ท่ีดินแห่งหนึ่งไปช่วยราชการเป็นการ บัญชาซึ่งมีอำนาจ
ช่ัวคราว/ประจำในสำนักงานที่ดินอีก สั่งบรรจุและแต่งต้ัง
แหง่ หนง่ึ ภายในจังหวัด ตามมาตรา 57 (11)
* การปฏิบัติหน้าท่ีใช้ในกรณีหน่วยงาน แห่งพระราชบญั ญัติ
ท่ียังไม่มีการจัดตั้งกรอบอัตรากำลังอย่าง ระเบียบขา้ ราชการ
เป็นทางการ พลเรอื นพ.ศ.2551

7 . ก า รคัด เลือ ก - หนงั สอื กรมทดี่ นิ ดว่ น - พจิ ารณาคณุ สมบตั แิ ละผลการปฏบิ ตั งิ าน เป็นผู้ตรวจสอบ/
ข้าราชการเพื่อ ที่สุด ท่ี มท0502.6/ ทขี่ อรับการประเมินของผู้เข้ารับการ รับรองและประเมิน
แต่งตั้ง(เลื่อน) ว 16237 ลงวันที่ คัดเลือกเพื่อแต่งต้ัง (เลื่อน) ให้ดำรง คุณลักษณะของ
ให้ดำรงตำแหน่ง 11 มถิ นุ ายน 2552 ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน บุคคลและผลการ
ประเภททั่วไป - หนงั สอื กรมท่ีดนิ ดว่ น ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. และ อ.ก.พ. ปฏิบตั งิ าน

๑1๗8๗1

อำนาจหนา้ ทตี่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญ การปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งท่ีเกีย่ วข้อง การพิจารณา อำนาจหน้าที่
คำสง่ั กรมทดี่ นิ
ระดับชำนาญงาน ที่สุด ท่ี มท 0502.6/ กรมที่ดินกำหนด และเป็นผู้รับรอง/
ว 31867 ลงวันท่ี 8 ประเมินผลงาน และประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
ตุลาคม 2553 ของบคุ คลเพือ่ สง่ ให้กรมทดี่ ินพจิ ารณา

8. การประเมินบุคคล - หนงั สือกรมท่ดี ิน ดว่ น - พิจารณาคุณสมบัติและผลการปฏิบัตงิ าน เป็นผู้ตรวจสอบ/
เพอื่ แตง่ ต้งั (เลอ่ื น) ที่สุด ที่ มท0502.6/ว ท่ีขอรับการประเมินของผู้เข้าขอรับการ รบั รองและประเมิน
ให้ดำรงตำแหน่ง 16238 ลงวันท่ี 11 ประเมินเพ่ือแต่งตั้ง (เลื่อน) ให้ดำรง คุณลักษณะของ
ประเภทวิชาการ มิถนุ ายน 2552
ระดับชำนาญการ - หนังสอื กรมท่ดี นิ ด่วน ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญ บุคคลและผลการ
และระดับชำนาญ ท่ีสุด ท่ี มท 0502.6/ว การและระดับชำนาญการพิเศษ ตาม ปฏิบัติงาน
31867 ลงวันที่ 8 หลักเกณฑ์ท่ี ก.พ. และ อ.ก.พ.กรมที่ดิน
การพเิ ศษ ตลุ าคม 2553 กำหนดและเป็นผู้รับรอง/ประเมินผลงาน
และประเมินคุณลักษณะของบุคคล
- หนังสือกรมทดี่ ิน ด่วน
ที่สุด ท่ี มท0502.6/ว เพื่อสง่ ใหก้ รมที่ดนิ พจิ ารณา

9442 ลงวันท่ี 27
มีนาคม 2555

9. การสอบคัดเลือก - ประกาศกรมทีด่ ิน/คณะ - พิจารณ าคุณ สมบัติ/รับรอง และ เป็นผู้ตรวจสอบ/

ข้าราชการเพ่ือ กรรมการคัดเลือกฯ ประเมินคุณลักษณะของบุคคลเพื่อส่ง รบั รองและประเมิน

แต่งต้ัง (เล่ือน/ ในแตล่ ะครัง้ ให้กรมทด่ี ินพิจารณา คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง

ย้าย) ให้ดำรง บุคคลตามประกาศ

ตำแหนง่ ต่างๆ กรมท่ีดิน /คณ ะ

กรรมการคัดเลือกฯ

กำหนดในแต่ละคร้ัง

10.การเสนอขอเครือ่ ง - ระเบียบสำนักนายก พจิ ารณาคณุ สมบัติของผู้ทเ่ี สนอขอฯตาม -จะเสนอขอฯให้แก่
ราชอิสริยาภรณ์ รัฐมนตรีว่าด้วยการ ระเบียบ/กฎหมายได้แก่การถูกดำเนินการ ผู้ท่ีขาดคุณสมบัติ
เสนอขอเครื่องราช หรือลงโทษทางวินัย/ถูกฟ้องคดีอาญาหรือ ไม่ได้ และสำหรับ
และเหรียญ
จักรพรรดิมาลา อิสริยาภรณ์ พ.ศ. พิพากษาลงโทษจำคุกระยะเวลาการดำรง เหรียญจักรพรรดิ
2536 มาลาจะเสนอขอ
ประจำปี - พระราชบญั ญัติเหรียญ ตำแหนง่ และอัตราเงินเดอื น ให้แก่ผู้ที่ไม่ได้รับ

จักรมาลาและจักรพรรดิ การเลื่อนเงินเดือน
มาลา พ.ศ. 2484 ไม่ได้


Click to View FlipBook Version