The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดและเจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา (ฉบับปรับปรุง) (ปี 2563)

กองฝึกอบรม

Keywords: ด้านบริหารงานที่ดิน

182 ๑๗๘

อำนาจหนา้ ที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญ การปฏบิ ตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่ังที่เกย่ี วข้อง การพิจารณา อำนาจหน้าที่
คำสัง่ กรมทดี่ นิ
11. การลาประเภท - ระเบียบสำนักนายก - เจ้าพนกั งานท่ดี ินจังหวัดมีอำนาจใน เจ้าพนักงานที่ดิน
ตา่ งๆ รฐั มนตรวี า่ ด้วยการลา การอนุญาตการลาตามบัญชีท้าย อาจมอบอำนาจ
ระเบยี บ ยกเว้นการลาต่อไปนี้
พ.ศ. 2555 ให้ ผู้ อ่ื น ป ฏิ บั ติ
- คำสั่งกระทรวงมหาดไทย 1. ลาป่วยเกนิ 60 วนั
ท่ี 299/2555 ลง 2. ลาอุปสมบท/ประกอบพิธีฮจั ย์ ราชการแทนใน

ก า ร อ นุ ญ า ต ก า ร
วนั ที่ 27 เม.ย. 2555 3. ลาไปชว่ ยเหลอื ภรรยาทคี่ ลอดบุตร ลาภายในอำนาจ
- พระราชกฤษฎีกาว่า 4. ลากิจตอ่ เน่อื งเกิน 30 วนั
5. ลาเข้าตรวจรับการเลือกหรือเข้ารับ ของตนเอง
การเตรียมพล
ด้วยการจ่ายเงินเดือน
เงินปี บำเหน็จ บำนาญ 6. ลาไปศึกษาฝกึ อบรมปฏิบตั กิ ารวจิ ัย
และเงินอื่นในลักษณะ หรือดงู าน
เดยี วกนั พ.ศ. 2535
7. ลาไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ
8. ลาติดตามค่สู มรส
- การนับวันลาปว่ ยลากิจและลาพักผ่อน
ให้นับเฉพาะวนั ทำการ

12. ทะเบียนประวัติ หนังสือสำนักงาน ก.พ. เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดมีหน้าที่กำกับ จะต้องบันทกึ และ
ข้าราชการ ที่ นร 05052/8417 ดูแลให้เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลที่สำคัญและ เกบ็ รักษา ก.พ.7
ลงวันท่ี 8 เม.ย. 2554 จำเป็นลงในทะเบียนประวัติข้าราชการ อย่างดหี ากเกิดการ
(ก.พ.7) ให้ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพอ่ื ใช้ใน สูญหาย อาจถูก
การอ้างอิงอยู่เสมอ และจะต้องเก็บรักษา ดำเนนิ การทางวนิ ยั
ฐานไมร่ ักษาเอกสาร
อย่างดมี ิให้เกิดการสูญหายได้ ของทางราชการ

13. มีการกล่าวหา - มาตรา 90 แห่งพระราช เม่ือมีการกล่าวหาหรอื กรณีสงสัยวา่ ผู้ใต้ เป็น ห น้าที่ข อ ง
หรือมีกรณเี ป็นท่ี บัญญัติระเบียบข้าราช บงั คับบัญชากระทำผดิ วินัยให้เจ้าพนักงาน เจ้าพนักงานท่ีดิน
สงสัยวา่ ขา้ ราชการ การพลเรือน พ.ศ. ที่ดินจังหวัด/สาขามีหน้าท่ีต้องรายงาน จังหวัด/เจ้าพนักงาน
กระทำผิดวินัย 2551 ตามลำดับชั้นให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจ ที่ดนิ จังหวัด สาขา/
- ขอ้ 2 ของกฎ ก.พ.ว่า ส่ังบรรจุ ตามมาตรา 57 (ผู้ว่าราชการ เจ้าพนักงานที่ดิน
ด้วยการดำเนินการ จังหวัดในภูมิภาค/อธิบดีในส่วนกลาง) หัวหน้าส่วนแยก
ทางวนิ ยั พ.ศ.2556 ทราบโดยเร็ว

14. แนวทางการ - หนงั สอื กรมที่ดนิ ท่ี มท เพ่ือให้การดำเนินการทางวินัยกับ เป็น ห น้าที่ข อ ง
ปฏิบัติกรณีที่ 0502.5/ว3515 การส่ังมิให้จ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการ เจ้าพนักงานที่ดิน

๑1๗8๙3

อำนาจหน้าทีต่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคญั การปฏิบัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งท่ีเก่ยี วข้อง การพจิ ารณา อำนาจหนา้ ท่ี
คำส่ังกรมท่ดี ิน
ข้าราชการของ ลงวันท่ี 1 กุมภาพันธ์ กรมท่ดี ินผู้ละทิ้งหนา้ ท่รี าชการ ปฏิบัติไป จังหวัด/เจ้าพนักงาน
กรมท่ีดินละท้ิง 2553 ในแนวทางเดียวกัน ถูกต้องตามขั้นตอน ที่ดินจังหวัดสาขา/
หนา้ ทร่ี าชการ ของกฎหมาย รวดเร็ว และเป็นธรรม เจ้าพนักงานที่ดิน
หัวหนา้ สว่ นแยก

15. แนวทางการ - หนงั สอื กรมทีด่ นิ ที่ มท เพ่ือให้การพิจารณาลงโทษทางวินัย เจ้าพนกั งานท่ดี ิน
ลงโทษทางวินัย 0502.5/ว33391 แก่ข้าราชการ กรณีทำแบบพิมพ์ฯ สูญหาย จงั หวัดมหี นา้ ทีเ่ สนอ
กรณีแบบพิมพ์ ลงวนั ท่ี 30 ธนั วาคม เป็นไปตามมาตรฐานที่ ก.พ. กำหนด คือ ข้อเท็จจริงและความ
โฉนดที่ดินหนังสือ 2559 ตัดเงินเดือนร้อยละ 4 เปน็ เวลา 2 เดอื น เหน็ ในการลงโทษ
รับรองการทำ โดยให้เจ้าพนักงานที่ดินยึดแนวทางการ
ประโยชน์หรือ ลงโทษดังกล่าวประกอบการพิจารณาเสนอ
หนังสือกรรมสิทธ์ิ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมี
หอ้ งชุดสูญหาย อำนาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา 57 พิจารณา
มีคำสง่ั ลงโทษ
16.แนวทางการ -หนงั สือกรมที่ดิน ท่ี มท เพ่ื อให้ มีการสืบ สวนสอบ สวน เจ้าพนักงานท่ีดิน
สอบสวนและ 0719.4/ว 05239 เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องในการออกหนังสือ จังหวัดมีหน้าที่
พิจารณ าโทษ ลงวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ แสดงสิทธิในท่ีดินหรือจดทะเบียนสิทธิ เสนอข้อเท็จจริง
เ จ้ า ห น้ า ที่ 2543 โดยมิชอบตามมาตรา 61 แห่งประมวล และความเห็นใน
ผู้เก่ียวข้องและ - หนงั สือกรมทด่ี ิน ท่ี มท กฎหมายท่ีดิน ควบคู่กับการสอบสวน การลงโทษ
รับผิดชอบในการ 0516.2/ว 18316 ของคณะกรรมการสอบสวนตามความใน
อ อ ก ห นั ง สื อ ลงวนั ท่ี 25 กรกฎาคม มาตรา 61 ทำให้เกิดความรวดเร็วใน
แสดงสิทธิในท่ีดิน 2559 การพจิ ารณา
หรือจดทะเบียน
สทิ ธิและนิติกรรม
เกี่ ยวกั บท่ี ดิ น
โดยมชิ อบ
17. แนวทางการ - หนงั สือกรมที่ดนิ ท่ี มท เพื่อให้การพิจารณาโทษทางวินัยแก่ เจ้าพนักงานท่ีดิน
ลงโทษข้าราชการ 0703.5/ว03563 ข้าราชการ กรณีการออกหนังสือแสดง จังหวัดมีหน้าที่
ที่กระทำผิดวินัย ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ สทิ ธใิ นที่ดิน การสอบเขต การตรวจสอบ เสนอข้อเท็จจริง
กรณีการออก เน้ือที่ การแบ่งแยกหรือการรวมหนังสือ และความเห็นใน
หนังสือแสดง 2542 แสดงสิทธิในที่ดินไปโดยมิชอบด้วยกฎหมาย การลงโทษ
สิ ท ธิ ใน ที่ ดิ น อันเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรงฐาน
ก าร สอบ เข ต ทุจริตต่อหน้าท่ีราชการและฐานประพฤติ
การตรวจสอบเน้ือ ช่ัวอย่างร้ายแรง มีระดับโทษไล่ออกจาก

184 ๑๘๐

อำนาจหนา้ ทตี่ าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคัญ การปฏิบัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่ังท่ีเกย่ี วข้อง การพจิ ารณา อำนาจหนา้ ท่ี
คำสั่งกรมทีด่ ิน
ท่ี การแบ่ งแยก ราชการตามมติคณะรฐั มนตรี
ห รื อ ก าร รว ม ตัวอย่าง เจ้าพนักงานทดี่ ินจงั หวดั ได้ทำ
หนังสือแสดงสิทธิ การออก น.ส.3ก.จำนวนเน้ือที่เกิน
ใน ท่ี ดิ นไปโดย กว่าหลักฐาน ส.ค. 1 เดิม ทั้ง ๆ ท่ีช่าง
มิชอบ ผูท้ ำการรังวัดได้เสนอผลการรังวัดว่า
ผู้ขอรังวัดได้นำที่ดินนอกหลักฐานมา
ร ว ม ในการนำชี้ รังวั ดด้ วย อี กท้ั ง
คณะกรรมการ ตรวจสอบสภาพที่ดินก็
ได้มีบั น ทึ กว่าผู้ ขอได้นำรังวัดเกิน
หลั กฐานเดิ มการออก น.ส. 3 ก.
ดังกล่าวจึงมิชอบด้วยระเบียบ และ
กฎหมายประกอบกับผู้ใหญ่บ้านได้ลง
ชื่อรบั รองโดยไม่ได้ลงพื้นที่ไปร่วมรังวัด
แปลงทด่ี ินดังกล่าวแต่อย่างใด
- ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์ (น.ส.3ก., น.ส. 3) ในเขต
ป่าสงวนแห่งชาติ/ทับที่สาธารณประโยชน์/
ออกในที่ของบุคคลอ่ืน/ทับที่บุคคลอื่น
บางส่วนหรือออกไม่ตรงกับที่ตั้งของ
ทีด่ ินตามหลกั ฐานเดิม เปน็ ตน้

18. แนวทางการ หนังสือกรมท่ีดินท่ี มท เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของกรมที่ดินไม่เรียก เจ้าพนักงานที่ดิน
ดำเนินการทาง 0502.5/ว14627 ร้องผลประโยชน์ และคำนึงถึงคุณภาพ จังหวัด/สาขา/
วินัยกรณี การ ลงวันท่ี 25 พฤษภาคม และความพึงพอใจสูงสุดของประชาชน เจ้าพนักงานท่ีดิน
ผรู้ ับบริการและหากเกิดกรณีดังกล่าวขึ้น หัวหน้าส่วนแยก
เรี ย ก ร้ อ ง ผ ล 2547 ต้องดำเนินการทางวนิ ัยต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องปฏบิ ัติตนเป็น

ประโยชน์ตอบ ที่ทำผดิ วนิ ยั ทันที แบบอย่างทด่ี ี
แทนโดยมิชอบ - เป็นผู้รับฝากเงินจากราษฎรที่มาขอทำ

ธุระเกี่ยวกับท่ีดินโดยไม่ออกใบเสร็จ
รบั เงินให้
- รับเงินจากผู้ขอทำธุระเก่ียวกับที่ดิน
โดยออกใบเสร็จใหบ้ ุคคลนั้นในภายหลัง

๑1๘8๑5

อำนาจหนา้ ท่ีตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคญั การปฏิบตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งทีเ่ กีย่ วข้อง การพิจารณา อำนาจหน้าที่
คำสั่งกรมท่ีดนิ
- ร่วมมือกับผู้มาขอจดทะเบียนสิทธิฯ
กำหนดราคาประเมินน้อยกว่าความ
เปน็ จรงิ โดยได้รับเงินหรอื ผลประโยชน์
ท่ีมิควรได้

19. แนวทางปฏบิ ตั ิ - หนังสือสำนักเลขาธิการ กำหนดหลักเกณฑ์และแนวทาง ให้เจ้าพนักงาน
และหลักเกณฑ์ คณะรัฐมนตรี ที่ นร ปฏิบัติในการสืบสวนสอบสวนเรื่องราว ที ่ด ิน จัง ห วัด /
เกี่ยวกับการร้อง 0206/ว 218 ลง รอ้ งเรยี นกล่าวโทษข้าราชการ
เรียนกล่าวโทษ วันที่ 25 ธันวาคม เจ้าพนักงานท่ีดิน

ข้าราชการและ 2541 จังหวัดสาขา ยึดถือ
การสอบสวนเรื่อง
ปฏบิ ัติอย่างเครง่ ครัด

ราวร้องเรียนกล่าว
โทษข้าราชการ
ว่ากระทำผดิ วนิ ัย

20. แนวทางเกี่ยวกับ - หนงั สือสำนักงาน ก.พ. เพ่ือให้มีการกำหนด ป้องกัน กำกับ เจ้าพนักงานที่ดิน
หลักเกณฑ์และ ที่ นร 1011/ว 43 ดูแล ส่งเสริม สนับสนุน เกี่ยวกับการ จังหวัด/เจ้าพนักงาน
วิธีการเสริมสร้าง ลงวนั ท่ี 30 กันยายน เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับ ท่ีดินจังหวัดสาขา
และพัฒนาให้ผู้ 2553 บัญชามีวินัย และป้องกันมิให้กระทำผิด เจ้าพนักงานที่ดิน
อยใู่ ตบ้ ังคบั บัญชา - หนังสอื สำนกั งาน ก.พ. วินัย หัวหน้าส่วนแยก
มวี ินยั และป้องกัน ที่ นร 1011/ว 12 เสริมสร้างและ
มิให้ผู้อยู่ใต้บังคับ ลงวนั ที่ 21 สิงหาคม พัฒนาให้ผู้อยู่ใต้
บัญชากระทำผิด 2556 บังคับบัญชามีวินัย
วินยั และป้องกันมิให้
กระทำผิดวินัยด้วย
วิธีการท่ีเหมาะสม
รวมทั้งประพฤติตน
เปน็ ผนู้ ำต้นแบบทด่ี ี

21. การหา้ มหกั เงิน หนงั สือกรมท่ีดนิ ที่ มท เพ่ือมิให้มีการหักเงินเป็นเปอร์เซ็นต์ เป็น ห น้าที่ข อ ง

มัดจำคา่ รังวัด 0702/ว 15314 จากเงินท่ีช่างรังวัดเบิกค่ามัดจำรังวัดที่ดิน เจ้าพนักงานท่ีดิน

ที่ดิน ลงวนั ท่ี 10 กรกฎาคม เพ่ือไว้เป็นคา่ ใช้จ่ายสว่ นรวม จงั หวัด/เจ้าพนักงาน

2532 ที่ดินจังหวัดสาขา

เจ้าพนักงานที่ดิน

186 ๑๘๒

อำนาจหนา้ ทต่ี าม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลกั การและสาระสำคญั การปฏบิ ตั ิตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งทเี่ กยี่ วข้อง การพจิ ารณา อำนาจหนา้ ที่
คำสง่ั กรมที่ดิน
หัวหน้าส่วนแยก

ในการกำชับดูแล

กำกับมิให้ปฏิบัติ

ตามนยั ดงั กลา่ ว

22. แนวทางการ หนังสือกรมที่ดนิ ที่ มท เพื่อทราบว่ามีการตรวจสอบพบว่ามี เจ้าพนักงานที่ดิน
ปฏิบัติกรณีมี 0702/ว 26752 ลง การทุจริตเก่ียวกับเรื่องการเงินและบัญชี จัง ห วัด / ส า ข า
การทุจริตเกี่ยว วันท่ี 14 ธันวาคม2531 ของสำนักงานที่ดิน โดยเจ้าหน้าท่ีการเงิน เจ้าพนักงานท่ีดิน
และบัญชีเบียดบังเงินค่าธรรมเนียมใน หัวหน้าส่วนแยกมี
กับการเงินและ การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเป็น หน้าที่สอดส่องดูแล
บญั ชี ของตนเอง การปฏิบัติงานของ

เจา้ หน้าท่ี

23. แนวทางในการ ห นั ง สื อ ก ร ม ท่ี ดิ น เพือ่ ใหก้ ารบริการประชาชนเปน็ ไปด้วย เจ้าพนักงานที่ดิน
บริการประชาชน ท่ี มท0603/ว05470 ความเรียบรอ้ ย จึงกำชับให้เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัติ จังหวัด/เจ้าพนักงาน
และการเร่งรัด ลงวันท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ ตามระเบียบอย่างเคร่งครัด รวดเร็ว เร่งรัด ที่ดินจังหวัดสาขา
และควบคุมการสอบสวนเร่ืองร้องเรียน ให้ มหี นา้ ทปี่ ฏบิ ตั ิตาม
การสอบสวน 2535 เสร็จโดยเร็ว และหากมกี รณีร้องเรยี นอัน และกำชับให้ผู้ใต้
(เรอื่ งรอ้ งเรยี น) เกิดจากการปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าท่ีก็ดี บังคับบัญชาถือ
การปฏิบัติหน้าท่ีล่าช้าก็ดี ให้ถือเป็นความ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเคร่งครัด
รับผิดชอบเจ้าพนักงานท่ีดินจังหวัดหรือ
เจ้าพนกั งานทีด่ นิ จังหวัดสาขาแลว้ แตก่ รณี

24. การแบ่งแยก -หนังสือกระทรวงมหาดไทย เพ่ือกำหนดนโยบายเก่ียวกับการ เจ้าพนักงานที่ดิน
ที่ดินเป็นแปลง ที่ มท 0517.2/ว จดั สรรที่ดินเพ่ือป้องกันมิให้มีการหลกี เล่ยี ง จงั หวัด/เจ้าพนักงาน
ย่อยเพ่ือหลีกเลี่ยง 18811 ลงวันที่ 17 การขออนุญาตจัดสรรท่ีดิน และกำหนด ท่ีดินจังหวัดสาขา/
การขออนุญาต มิถุนายน 2548 หนา้ ท่ขี องผรู้ บั ผดิ ชอบในการพิจารณาว่า เจ้าพนักงานที่ดิน
ทำการจัดสรร - หนังสือกรมท่ีดิน ที่ การแบ่งแยกท่ีดินจะเขา้ ข่ายจดั สรรหรือไม่ หัวหน้าส่วนแยก
ท่ดี นิ ม ท 0 5 1 7 .2 / ว โดยเมื่อได้รับรายงานการรังวัด (ร.ว.3 ก.) มหี น้าท่ีต้องยึดถือ

32895 ลงวันท่ี 21 หรือพบหลกั ฐานอนื่ จะต้องตรวจสอบให้ ปฏบิ ัติอยา่ งเครง่ ครดั
พฤศจกิ ายน 2551 แน่ชัดวา่ เขา้ ข่ายเป็นการจัดสรรท่ีดินหรอื ไม่
- หนังสือกรมท่ดี ินท่ี มท หากเห็นว่าไม่เข้าข่าย ให้แสดงเหตุผลไว้
0517.2/ว 4414 ในรายงานการรงั วัด (ร.ว.3 ก.) ก่อนส่ัง

๑1๘๓87

อำนาจหน้าที่ตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญ การปฏบิ ัตติ าม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำสั่งทเี่ ก่ยี วข้อง การพิจารณา อำนาจหนา้ ท่ี
คำส่งั กรมทดี่ นิ
ลงวนั ที่ 17 กุมภาพันธ์ ถอนจ่ายเงินมัดจำและส่งเรื่องไปดำเนินการ
2552 ต่อไป แต่หากเห็นว่าเข้าข่ายให้ส่งเร่ือง
- หนังสือกรมที่ดิน ด่วน คืนฝ่ายทะเบียนเพ่ือแจ้งใหผ้ ู้ขอขออนุญาต
ทส่ี ุด ที่ มท 0517.2/ ทำการจดั สรรทีด่ นิ ตามระเบยี บ และแจ้ง
ว 13169 ลงวันท่ี 18 ให้ผู้ขอทราบด้วยว่า หากไม่เห็นด้วยก็
พฤษภาคม 2552 สามารถใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการ

จัดสรรท่ีดินจังหวัด ภายใน 30 วัน นับ
แตว่ ันท่ีไดร้ บั แจง้

25. การฉ้อโกงโดย หนังสือกรมที่ดินท่ี มท เพื่อ ป้องกัน มิให้กลุ่ม มิจฉ าชีพ เจ้าพนักงานท่ีดิน
ใช้ โฉน ดท่ี ดิ น 0603/ว10447 ลง หาประโยชนจ์ ากการปลอมโฉนดที่ดิน จังหวัด/เจ้าพนักงาน
ปลอม วั น ที่ 4 พ ฤษ ภ าคม ท่ีดินจังหวัดสาขา
2538 มีหน้าท่ีในการคอย
ระวัง ตรวจตรา
สอดส่องดูแลมิให้
บุคคลภายนอกเข้า
ไปกระทำการใน
ลกั ษณะดังกลา่ ว

26. แนวทางในการ - หนังสอื สำนักเลขาธกิ าร เพ่ือให้มีมาตรฐานในการลงโทษทาง เจ้าพนักงานที่ดิน
ลงโทษข้าราชการ วินัยอย่างร้ายแรง กรณีความผิดฐานทุจริต จังหวัดมีหน้าที่ให้
ผู้กระทำผิดทาง คณะรัฐมนตรี ที่ นร ต่อหน้าที่ราชการหรือละท้ิงหน้าที่ราชการ ข้าราชการ ลูกจ้าง
วนิ ัยอย่างร้ายแรง 125/2503 ลงวันท่ี ติดต่อในคราวเดยี วกันเกินกว่า 15 วนั ในสงั กัดทราบและ
5 ตลุ าคม 2503
- หนังสือสำนกั เลขาธิการ โดยไมม่ ีเหตุผลอันสมควร และไม่กลับมา ให้ถือ เป็น ห ลัก
คณะรัฐมนตรี ท่ี นร ปฏิบัติราชการอีกเลย เป็นความผิดวินัย ปฏิบัติ
0205/ว234 ลงวันที่ อย่างรา้ ยแรง ซ่ึงควรไล่ออกจากราชการ
24 ธันวาคม 2536 การนำเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืนหรือมีเหตุ
อันควรปราณีอ่ืนใดไม่เป็นเหตุลดหย่อน
โทษลงเปน็ ปลดออกจากราชการ

27. การรายงานการ - ม าต รา 103 แ ห่ ง เพื่อให้รูปแบบการรายงานฯ อ.ก.พ. เจ้าพนักงานท่ีดิน
ดำเนินการทาง พระราชบัญญัติระเบียบ กระทรวงมหาดไทย มีความชัดเจนและ จังหวัดเป็นผู้จัดทำ
วินยั ข้าราชการตอ่ ข้าราชการพลเรือน เป็นไปในแนวทางเดียวกัน หน่วยงานใน รายงานฯ เสนอให้

188 ๑๘๔

อำนาจหนา้ ท่ีตาม กฎหมาย/ระเบียบ/ หลักการและสาระสำคัญ การปฏบิ ัติตาม
กฎหมาย/ระเบียบ/ คำส่ังท่ีเก่ียวขอ้ ง การพิจารณา อำนาจหน้าที่
คำส่งั กรมทีด่ นิ
อ.ก.พ.กระทรวง- พ.ศ. 2551 สงั กัดกระทรวงมหาดไทย) ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั
มหาดไทย เป็น ผู้พิจารณ า
- หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ลงนามตามแบบที่
ท่ี มท0202.2/ว59 กระทรวงมหาดไทย
ลงวนั ท่ี 24 ธันวาคม กำหนด
2552

28. การรายงานการ - ข้อ 5 ของระเบียบ ก.พ. เพื่อประโยชน์ในการกำกับดูแล เจ้าพนักงานที่ดิน
ดำเนินการทาง ว่าด้วยการรายงาน ตรวจสอบ และประเมินผลรวมท้ังรักษา จังหวัดเป็นผู้จัดทำ
วนิ ัยต่อ ก.พ. การดำเนินการทาง ความเป็นธรรม และมาตรฐานด้านการ แบบบันทึกสรุป
วินัยและการสั่งให้ บริหารทรัพยากรบุคคลในเรื่องท่ีเกี่ยวกับ ป ระวัติ แ ล ะข้ อ
ออกจากราชการ พ.ศ. วินัยของสำนักงาน ก.พ. เท็จจริงตามแบบ
2556 ที่ ก.พ.กำหนด เพื่อ
ให้ ผู้ว่าราช การ
จังหวัด ผู้บังคับ
บัญชาซ่ึงมีอำนาจ
สั่ ง บ ร ร จุ ส่ ง แ บ บ
ดั งก ล่ าว พ ร้อ ม
สำเนาคำสั่งลงโทษ
ให้ ก.พ. ทราบ

29. การวเิ คราะห์ เกณ ฑ์มาตรฐาน 1. กรมที่ดินได้ดำเนินการวิเคราะห์ กลุ่มงานวางแผน
ตรากำลังในกลุ่มงานวิชาการท่ีดิน อัตรากำลังและ
การใชอ้ ัตรา สำนักงาน ก.พ.
กำลัง ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายรังวัดและสำนักงาน พฒั นาระบบงาน
ท่ีดินอำเภอ ทั่วประเทศทุกปี โดยใช้
ข้อมูลสถิติและปริมาณงานตามท่ี
สำนักงานท่ีดินและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ได้ จั ด ส่ ง ให้ ก ร ม ที่ ดิ น เที ย บ เก ณ ฑ์
มาตรฐานการทำงานท่ีกำหนด
2. กรณีที่สำนักงานที่ดินขอสนับสนุน
อัตรากำลังเพื่อช่วยปฏิบัติงานให้แจ้ง
ข้อมูลรายละเอียดตามแบบแนบท้าย
ในแต่ละลักษณะงานตามความจำเป็น
ของหน่วยงาน

1๑8๘9๕

สำนกั งานเลขานุการกรม

เร่อื ง ประเภทของข่าว วิธดี ำเนินการ

1. การช้ีแจงข่าว/สถานการณ์ 1.1 กรณีข่าวเผยแพร่โดยส่ือ 1. สำนกั งานทีด่ ินพนื้ ทที่ ต่ี กเปน็ ข่าวตรวจสอบ

ที่เก่ียวข้องและส่งผลกระทบ ในพื้นท่ี ข้อเท็จจริง เม่ือได้ข้อเท็จจริงแล้วรายงานให้

ตอ่ ภาพลกั ษณก์ รมท่ีดนิ 1.2 กรณีข่าวท่ีได้รับการ ศูนย์ดำรงธรรมกรมที่ดินทราบ ในรูปแบบ

ประสานจากกรมที่ดิน ตาราง 4 ช่อง ท่ี มา เน้ือห า ข้อเท็จจริง

สถานะปัจจบุ นั

2. ศูนย์ดำรงธรรมฯ รายงานข้อเท็จจริง

ต่อผูบ้ รหิ าร และชแ้ี จง IO กระทรวงมหาดไทย

3. สำนักงานเลขานุการกรม ช้ีแจงข้อเท็จจริง

ต่อสือ่ มวลชน

2. ช่องทางการประชาสัมพันธ์ สำนักงานที่ดินท่ีมคี วามประสงค์จะประชาสัมพนั ธจ์ ัดส่งข่าว / บทความ /
แผนงาน /โครงการผ่าน ข้อมูลที่ต้องการจะประชาสัมพันธ์ให้สำนักงานเลขานุการกรมผ่านช่องทาง
สำนักงานเลขานกุ ารกรม ตา่ ง ๆ ดงั น้ี
1. E-Mail : [email protected]
2. Facebook : กรมท่ีดิน กระทรวงมหาดไทย
3. Twitter : @pr_teedin
4. โทรศัพท์ 0 2141 5591 – 94 โทรสาร 0 2143 9004
5. ไปรษณีย์



๑1๘9๗1

ศูนยด์ ำรงธรรมกรมทดี่ นิ

แนวทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาเร่อื งร้องเรยี นร้องทุกขข์ องสำนกั งานท่ีดนิ (เจ้าพนกั งานที่ดิน)

1. กรณีเร่อื งร้องเรียนรอ้ งทุกขท์ วั่ ไป

เรอื่ งรอ้ งเรียนร้องทุกข์ทั่วไป แนวทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรยี นรอ้ งทุกข์
ของสำนักงานที่ดิน (เจา้ พนักงานทด่ี นิ )

เรื่องท่ีประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อน ๑. เมื่อสำนักงานที่ดินได้รับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ให้เจ้าหน้าท่ี

หรือเสียหายหรืออาจเดือดร้อนหรือเสียหาย ผู้รับผิดชอบดำเนินการลงทะเบียนรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์

จากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่หรือส่วน ในสารบบการพิจารณาเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของสำนักงาน

ราชการ หรือจำเป็นต้องให้ส่วนราชการ ท่ีดิน ตรวจสอบรายละเอียดคำร้อง ประเด็นการร้องเรียน

ช่วยเหลือเยียวยาหรือปลดเปลื้องทุกข์ ซ่ึง ชอื่ –สกุล ผูร้ ้อง ผู้กระทำการแทน

กรมท่ีดินส่งให้สำนักงานที่ดินตรวจสอบ ๒. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้องรับฟังพยาน

ข้อเท็จจริง และพิจารณาดำเนินการตาม หลักฐาน พยานเอกสาร พยานบุคคล คำช้ีแจงหรือความเห็น

อำนาจหน้าท่ี ของผู้ร้องหรือผู้มีส่วนได้เสีย และความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ

(ถ้ามี) ออกตรวจสอบข้อเท็จจริงในพื้นที่ประสานงานหน่วยงาน

ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อขอทราบข้อมูล แต่งตั้งกรรมการตรวจสอบ

ข้อเท็จจรงิ ตามควรแก่กรณี โดยให้สำนักงานท่ีดินถือปฏิบัติ

ตามหนงั สือสง่ั การ ระเบียบ กฎหมาย ที่เกย่ี วขอ้ ง

๓. เมอ่ื ดำเนนิ การตามขอ้ ๒. แล้วเสรจ็ ใหส้ รุปเร่ืองพร้อมความเหน็

และส่งเอกสารหลักฐานทเี่ กย่ี วข้องไปให้กรมทด่ี ินพิจารณา

ดำเนินการภายในกำหนด ๓๐ วนั นับแตว่ ันทไ่ี ดร้ บั เร่อื ง

๒. กรณเี ร่ืองทลู เกลา้ ฯ ถวายฎกี าขอพระราชทานพระมหากรุณา

เร่ืองทลู เกล้าฯ ถวายฎีกา แนวทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาเร่อื งร้องเรียนรอ้ งทุกข์
ขอพระราชทานพระมหากรุณา ของสำนกั งานท่ดี นิ (เจา้ พนกั งานที่ดนิ )

เรื่องท่ีสำนักราชเลขาธิการแจ้งให้ ๑. เม่ือสำนักงานที่ดินได้รับเรื่องทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาให้เจ้าหน้าท่ี

พิจารณาดำเนินการตามที่มีผู้ทูลเกล้าฯ ผู้รับผิดชอบดำเนินการลงทะเบียนรับเร่ืองทูลเกล้าฯ ถวาย

ถวายฎีกาขอพระราชทานความเป็นธรรม ฎีกาในสารบบการพิจารณาเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของ

ขอพระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์ สำนักงานที่ดิน ตรวจสอบรายละเอียดเกี่ยวกับประเด็น

ตลอดจนการขอพระราชทานพระมหากรุณา การทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา ช่ือ–สกุล ผู้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา

ผูก้ ระทำการแทน

๒. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง รับฟังพยาน

หลักฐาน พยานเอกสาร พยานบุคคล คำช้ีแจงหรือความเห็น

ของผู้ทลู เกลา้ ฯ ถวายฎีกาหรือผู้มสี ่วนได้เสียและความเหน็

192 ๑๘๘

เรือ่ งทลู เกล้าฯ ถวายฎีกา แนวทางการดำเนนิ การแก้ไขปัญหาเรื่องรอ้ งเรยี นร้องทุกข์
ขอพระราชทานพระมหากรุณา ของสำนักงานทีด่ นิ (เจ้าพนกั งานท่ดี นิ )

ของผู้เช่ียวชาญ (ถ้ามี) ออกตรวจสอบข้อเท็จจริงในพื้นท่ี
ประสานงานหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือขอทราบข้อมูลแต่งตั้ง
กรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงตามควรแก่กรณี โดยให้
สำนักงานที่ดินถือปฏิบัติตามหนังสือส่ังการ ระเบียบ กฎหมาย

ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
๓. ให้สำนักงานที่ดินถือปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาการขอ

พระราชทานความเป็นธรรม และการขอพระราชทาน
พระบรมราชานุเคราะห์ ซ่ึงสำนักราชเลขาธิการใหพ้ ิจารณา

ในประเด็นว่าผู้ทูลเกล้าฯ ถวายฎีกา เป็นผู้สมควรจะได้รับ
ความช่วยเหลือหรือไม่ เช่น เป็นผู้ได้รับความเดือดรอ้ นจริง
ไม่มีผลประโยชน์แอบแฝง เป็นต้น ท้ังนี้ ให้ถือเป็นหลักการว่า

การขอพระราชทานความเป็นธรรม และการขอพระราชทาน
พระบรมราชานุเคราะห์เป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องพิจารณา
ดำเนินการหรอื หาข้อยุตโิ ดยเรว็ และให้ผู้วา่ ราชการจังหวัด
เป็นผู้ลงนามตอบฎีกาเกี่ยวกับการขอพระราชทาน
พระมหากรณุ าทุกครั้ง
๔. เมื่อดำเนินการตามข้อ ๓. แล้วเสร็จให้สรุปเรือ่ งพร้อมความเห็น
และส่งเอกสารหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องไปให้กรมท่ีดินพิจารณา
ดำเนินการภายในกำหนด ๓๐ วัน นับแต่วันท่ีได้รับเรื่อง

เพอ่ื กรมทีด่ ินจะได้แจง้ ให้สำนกั ราชเลขาธกิ ารทราบต่อไป

3. กรณีเรอื่ งสถานการณข์ ่าวสารซ่งึ เผยแพรท่ างส่ือมวลชน และ Social Network

เรื่องสถานการณ์ข่าวสารซง่ึ เผยแพรท่ าง แนวทางการดำเนินการแก้ไขปัญหาเรอ่ื งรอ้ งเรียนร้องทุกข์
สอ่ื มวลชน และ Social Network ของสำนกั งานท่ดี ิน (เจา้ พนักงานทดี่ นิ )

เร่ืองที่เก่ียวข้องกับภารกิจ อำนาจ ๑. กรณีมีเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจ อำนาจ หน้าท่ีของกรมที่ดิน

หน้าท่ีของกรมท่ีดิน และมีการเผยแพร่ และมีการเผยแพร่ทางส่ือมวลชน และ Social Network

ทางส่อื มวลชน และ Social Network เช่น เช่น ทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ Line Facebook เป็นต้น

ทางโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ Line ให้สำนักงานที่ดินเฝ้าระวังและติดตามเหตุการณ์ในพื้นที่

Facebook เปน็ ต้น รับผิดชอบที่ปรากฏเป็นข่าวทางสื่อสารมวลชนทุกประเภท

โดยทำหน้าทรี่ วบรวมข้อมูลข่าวสาร เหตุการณแ์ ละประเด็น

1๑9๘3๙

เรื่องสถานการณ์ข่าวสารซึง่ เผยแพร่ทาง แนวทางการดำเนินการแกไ้ ขปญั หาเร่ืองร้องเรยี นรอ้ งทุกข์
สื่อมวลชน และ Social Network ของสำนกั งานทดี่ นิ (เจ้าพนกั งานทด่ี นิ )

สำคัญทีเ่ กย่ี วกับกรมทด่ี ินท่ีปรากฏตอ่ สาธารณชนในทุกรูปแบบ

๒. รายงานขอ้ เทจ็ จรงิ เบื้องต้นใหศ้ นู ย์ดำรงธรรมกรมทด่ี นิ ทราบ

ภายใน ๒ ช่ัวโมง นับแตม่ กี ารเสนอข่าว

๓. รายงานข้อเท็จจริงโดยละเอียดพร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง

ส่งให้ศูนย์ดำรงธรรมกรมท่ีดินอย่างช้าภายในเวลา ๑๐.๐๐ น.

ของวนั ถดั ไป



๑1๙9๑5

กองคลัง

เร่ือง วธิ กี าร หมายเหตุ
(ทเ่ี ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเร่ืองทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อ้างอิง/หนังสอื
ของ จพด.) ส่ังการ
1. การรบั เงิน–นำสง่ / 1. การรบั เงิน
นำฝากคลัง 1.1 รับเงินค่าธรรมเนียม ภาษอี ากร จากใบเสร็จรับเงิน ๑.ระเบียบกระทรวงการคลัง
ค่าธรรมเนียมภาษีอากร โดยรวมยอดเงินตามใบเสร็จ ว่าดว้ ยการเบกิ เงินจากคลัง
รับเงินตรงกับจำนวนเงินตามงบหลังใบเสร็จรับเงิน การรับเงิน การจ่ายเงิน
ท่ีเจ้าหน้าท่ีการเงินจัดทำ สอบทานกับรายงานงบ การเก็บรักษาเงินและ
หลังใบเสร็จรับเงินจากระบบคอมพิวเตอร์ และการ ก า ร น ำ เงิ น ส่ ง ค ลั ง
บันทึกรับในทะเบียนคุมการรับและนำส่งหรือนำ พ.ศ. ๒๕62
ฝาก และสอบทานกับการบันทึกใบจัดเก็บรายได้ 2 คู่มือระบบการควบคุม
(นส.๐๑ และนส.๐๓) จากระบบ GFMIS แยกตาม การเงินสำนักงานที่ดิน
ประเภทเงินถูกต้อง ครบถว้ น หน่วยงานยอ่ ย
1.2 รับเงินมัดจำรังวัด จากใบเสร็จรับเงินมัดจำรังวัด 3. หนังสือกระทรวงการคลัง
โดยรวมยอดเงินรับตรงกับจำนวนเงินตามงบหลัง ด่วนที่สุด ท่ี กค 0402.2/
ใบเสร็จรับเงินและรายงานงบหลังใบเสร็จรับเงิน ว 1 1 6 ลงวัน ท่ี 3 1
จากระบบคอมพิวเตอร์ และบันทึกรับในทะเบียน กรกฎาคม 2560
คุมเงินนอกงบประมาณประเภทเงินมัดจำรังวัด
และบญั ชรี ายละเอียดเงินมัดจำรังวัด (บทด.59)
2. การนำสง่ /นำฝากคลงั
2.1 ตรวจสอบจำนวนเงินที่นำส่งคลังต้องเป็นเงินรายได้
ท่ีจัดเก็บในวันที่นำส่งเงินคร้ังก่อนถึงวันก่อนวัน
นำส่งคลังครั้งน้ี โดยดูจากทะเบียนคุมการรับและ
นำส่งหรือนำฝาก ช่องรวมยอดคงเหลือทุกประเภท
ของวันก่อนวันนำส่งคลัง ดังน้ัน เงินรายได้ค้าง
นำส่งจะเหลือเฉพาะเงินที่จัดเก็บได้ในวันนำส่ง
เท่านัน้
2.2 ตรวจสอบใบนำเงินส่งคลัง (นส.๐๒) จากระบบ
GFMIS โดยรวมยอดเงินจากใบนำส่งเงินทุก
ป ร ะ เภ ท ต้ อ ง เท่ า กั บ ย อ ด เงิ น ใน ใบ รั บ เงิ น ข อ ง
ธนาคารทุกฉบับรวมกัน และตรวจสอบยอดเงิน
ในใบนำส่งคลัง (นส.๐๒) กับการบันทึกนำส่ง

196 ๑๙๒

เรอ่ื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทเ่ี ป็นอำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรอื่ งทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างองิ /หนงั สือ

ของ จพด.) ส่ังการ
ใ น ท ะ เ บี ย น คุ ม ก า ร รั บ แ ล ะ น ำ ส่ ง ห รื อ น ำ ฝ า ก
และกระทบยอดเงินค้างนำส่งต้องตรงกับยอดเงิน
ในชอ่ งรวมยอดเงินคงเหลือทุกประเภท

2.3 ตรวจสอบรายการเคล่ือนไหว Statement กับ
รายการรับชำระเงินผ่านเครื่อง EDC และรายการ
นำเงินส่งคลังในระบบ KTB Corporate Online :
GFMIS > Pay In ต้องถกู ต้องตรงกนั

2.4 การฝากเงินมัดจำรังวัดกับส่วนราชการผู้เบิก
โดยตรวจสอบกับใบนำฝากส่งคลัง (นส.02)
ในระบบ GFMIS ใบฝากเงินมัดจำรังวัดและ
สมุดคู่ฝากต้องมียอดตรงกัน และทะเบียนคุม
เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินมัดจำรังวัด
ช่องคงเหลือเงินฝากส่วนราชการผู้เบิกเพิ่มข้ึน
จากยอดเดิมเทา่ กับจำนวนเงินท่นี ำฝาก

๒. วงเงินเกบ็ รักษา 1. ให้ตรวจสอบยอดเงินรายได้แผ่นดินในรายงานเงิน ๑.หนังสือกระทรวงการคลัง
คงเหลือประจำวันประเภทเงินรายได้ ช่องเงินสด และ ที่ กค ๐๕๑๔/๓๙๔๘๑
ชอ่ งเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) รวมกนั แล้วไม่เกินวงเงิน ลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม
เก็บรักษาหรือดูจากทะเบียนคุมการรับและนำส่งหรือ ๒๕๓๓
นำฝาก ช่องยอดคงเหลือทุกประเภท รวมกันแล้ว ๒. หนังสือกระทรวงการคลัง
ไม่เกินวงเงินเก็บรักษา หากเกิน ๔๐,๐๐๐.-บาท ด่วนที่สุด ท่ี กค ๐๔๐๖.๓/
ต้องนำสง่ คลังอยา่ งชา้ ไมเ่ กนิ ๓ วันทำการ ๑ ๐ ๖ ๙ ๗ ล งวัน ท่ี ๙
2. ให้ตรวจสอบยอดเงินมัดจำรังวัดคงเหลือในรายงาน มถิ ุนายน ๒๕๕๙
เงิ น ค ง เห ลื อ ป ร ะ จ ำ วั น ป ร ะ เภ ท เงิ น มั ด จ ำ รั ง วั ด
ช่องเงินสด และช่องเงินฝากธนาคาร (ถ้ามี) รวมกัน
แล้วไม่เกินวงเงินเก็บรกั ษาหรือดจู ากทะเบียนคมุ เงิน
นอกงบประมาณ ประเภ ทเงินมัดจำรังวัด
ช่องคงเหลือเงินสด และเงินฝากธนาคาร รวมกันแล้ว
ไม่เกินวงเงินเก็บรักษา หากเกินต้องนำฝากคลังภายใน
๗ วันทำการ

๑1๙9๓7

เรื่อง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทีเ่ ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างอิง/หนงั สอื

ของ จพด.) สง่ั การ
วงเงินเกบ็ รักษา

1. สำนักงานที่ดินจังหวัด ๘๐,๐๐๐.-บาท อย่างช้า
ไม่เกนิ ๗ วันทำการ

2. สำนักงานที่ดินจังหวัดสาขาและสำนักงานที่ดินส่วนแยก
๕๐,๐๐๐.-บาท อย่างช้าไม่เกิน ๗ วนั ทำการ

3. สำนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร และสำนักงานที่ดิน
กรุงเทพมหานครสาขา ๘๐,๐๐๐.-บาท อย่างช้า
ไม่เกิน ๗ วันทำการ

3. การจา่ ยเงิน 1. ให้ตรวจดูว่ามีใบสำคัญครบทุกรายการ และผู้มี
อำนาจอนุมตั ิลงนามอนุมตั ิถอนจา่ ย กรณจี า่ ยคนื ผ้ขู อ
ต้องมีหลักฐานที่ระบุตัวตนของผู้รับเงิน หรือสำเนา
หลักฐานประกอบการจ่ายเงิน และมีการบันทึกจ่าย
แต่ละรายการตามใบสำคัญจ่ายในทะเบียนคุมเงินนอก
งบประมาณประเภทเงินมดั จำรังวัด

2. การจ่ายเงินงบประมาณจะจ่ายได้ต้องมีกฎหมายระเบียบ
ขอ้ บังคับหรอื มติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้หรือ
ตามท่ีได้รับความตกลงกับกระทรวงการคลังแล้ว และ
ผูม้ ีอำนาจได้อนุมัติให้จา่ ยได้ จงึ จะดำเนินการจ่ายเงิน
ให้แก่เจ้าหนี้หรือผู้มสี ิทธริ บั เงนิ ซง่ึ การอนุมตั ิผู้มีอำนาจ
ต้องลงลายมือชื่ออนุมัติในหลักฐานการจ่าย หรือ
ใบสำคัญคู่จ่ายหรือหลักฐานการขอรับชำระหนี้
ทุกฉบับหรือจะลงลายมือชื่ออนุมัติในงบหน้าหลักฐาน
การจ่าย หรอื ใบสำคญั จ่ายกไ็ ด้

3. การจ่ายเงินต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีขอเบิก
มาจ่าย และต้องมีหนี้ผูกพันหรือมีความจำเป็น
ท่ตี ้องจา่ ย และถงึ กำหนดท่ีจะตอ้ งจ่ายเงนิ

4. การจ่ายเงินต้องมีหลักฐานการจ่ายไว้ เพ่ือประโยชน์
ในการตรวจสอบ

5. การจ่ายเงินให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง หรือผู้รับบำนาญ
หรือเบี้ยหวัด ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่สามารถ

198 ๑๙๔

เรอื่ ง วิธกี าร หมายเหตุ
(ทีเ่ ป็นอำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอย่างไร) แหลง่ อา้ งอิง/หนงั สือ

ของ จพด.) สั่งการ
รับเงินด้วยตนเองได้ จะมอบฉันทะให้ผู้อ่ืนเป็นผู้รับ
เงินแทนได้ เม่อื ไดร้ บั อนญุ าตจากผเู้ บกิ เงนิ แล้ว

6. การจ่ายเงินให้บุคคลอ่ืน ถ้าบุคคลนั้นไม่สามารถ
มารับเงินด้วยตนเองได้ จะทำหนังสือมอบอำนาจให้
บุคคลอืน่ มารับเงินแทนได้

7. เม่ือสิ้นเวลาจ่ายเงิน ให้ผู้เบิกหรือผู้ได้รับมอบหมาย
เป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ท ำ ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ร าย ก า ร
จ่ายเงินที่บันทึกไว้ในบัญชีเงินสด หรือบัญชีเงินฝาก
กั บ ธ น า ค า ร กั บ ห ลั ก ฐ า น ก า ร จ่ า ย เงิ น ใน วั น น้ั น
หากปรากฏว่าถูกต้องให้ลงลายมือชื่อกำกับยอดเงิน
เหลือในบัญชี

4. การตรวจสอบ ตรวจสอบความถูกต้องของรายการท่ีแสดงไว้ใน
ยอดเงนิ คงเหลือ รายการเงินคงเหลอื ประจำวนั ดังนี้
ประจำวนั ๑. เงนิ รายไดแ้ ผน่ ดิน
1.1 ช่องเงินสด ประกอบด้วยเงินสดและหรือเช็คเท่ากับ

จำนวนเงินค้างนำส่งทั้งหมด ซึ่งเท่ากับช่องรวม
หรือเงินที่ยังไม่ได้นำฝากธนาคารเท่ากับช่องรวม
ลบด้วยอดเงินช่องเงินฝากธนาคารและเท่ากับ
เงินสดทต่ี รวจนับได้
1.2 ช่องเงนิ ฝากธนาคารยอดเงินท่แี สดงไว้ต้องเท่ากับ
ยอดคงเหลอื ในทะเบยี นคมุ เงนิ ฝากธนาคาร
1.3 ช่องรวม เท่ากับช่องเงินสดรวมกับช่องเงินฝาก
ธนาคารและต้องเท่ากับยอดคงเหลือในทะเบียน
คุมการรับและนำส่งหรือนำฝากช่องรวมยอด
คงเหลือทกุ ประเภท
๒. เงนิ มดั จำรงั วัด
2.1 ชอ่ งเงนิ สด เท่ากบั ยอดคงเหลือในทะเบียนคมุ เงิน
นอกงบประมาณประเภทเงินมัดจำรังวัด ช่อง
คงเหลอื เงินสดและเทา่ กับตัวเงนิ สดท่ีตรวจนับได้

๑1๙๕99

เร่ือง วิธีการ หมายเหตุ
(ทเ่ี ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ที่ใด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อา้ งองิ /หนงั สือ

ของ จพด.) ส่งั การ
2.2 ชอ่ งเงินฝากธนาคาร เทา่ กับยอดคงเหลือในทะเบียน
คุมเงินนอกงบประมาณประเภทเงินมัดจำรังวัด
ช่องคงเหลือเงนิ ฝากธนาคาร
2.3 ช่องเงินฝากส่วนราชการผู้เบิกเท่ากับยอดคงเหลือ
ในทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณประเภทเงิน
มัดจำรังวัด ช่องคงเหลือเงินฝากส่วนราชการ
ผูเ้ บิกและเท่ากบั ยอดคงเหลอื ตามสมุดค่ฝู าก
2.4 ช่องรวมเท่ากับช่องเงินสดรวมกับช่องเงินฝาก
ธ น า ค า ร แ ล ะ ช่ อ ง เงิ น ฝ า ก ส่ ว น ร า ช ก า ร ผู้ เบิ ก
ซ่ึงต้องเท่ากับยอดคงเหลือในทะเบียนคุมเงิน
น อ ก งบประมาณ ป ระเภ ทเงินมั ดจำรังวั ด
ชอ่ งคงเหลอื รวม
ข้อควรระวงั

1. ให้ตรวจสอบว่าเจ้าหน้าที่มีการบันทึกรายการ
รับ - ส่งเงินในระบบ GFMIS เป็นประจำทุกวัน
หรือไม่

2. ให้กรรมการรับ - ส่งเงินตามคำส่ังที่ได้รับแต่งตั้ง
ปฏิบัติหน้าที่ตามคำส่ังอย่างเคร่งครัดไม่ให้ฝากกุญแจ
ตู้นริ ภยั ไวก้ ับเจ้าหน้าที่การเงนิ เก็บไวเ้ พยี งผู้เดียว

5. การเบิกจ่ายเงนิ ข้นั ตอนการเบิกเงิน
5.1 เบิกจา่ ยคา่ ใช้จา่ ย 1. บันทึกขออนมุ ัตเิ ดนิ ทางไปราชการ 1. พระราชกฤษฎีกา ค่าใช้จ่าย
ในการเดินทาง 2. บันทึกขอใช้รถยนต์ไปราชการต่างจังหวัด (สำหรับการ ในการเดินทางไปราชการ
ไปราชการ เดินทางด้วยรถยนต์) แต่สำหรับการเดินทางโดย พ.ศ. 2526 และฉบับ
เคร่ืองบิน ให้แนบใบเสร็จรับเงินและกากบัตรโดยสาร แก้ไขเพ่มิ เตมิ
เครื่องบิน และสำหรับซื้อบัตรโดยสารเครื่องบินระบบ 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง
อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-ticket) ใชใ้ บรับเงินที่แสดงรายละเอียด ว่ าด้ วยการเบิ กจ่ าย
การเดินทาง ระบุช่ือสายการบิน วันท่ีออก ชื่อ/สกุล จากคลัง การรับเงิน
ของผู้เดินทาง ต้นทาง-ปลายทาง เลขท่ีเท่ียวบิน การจ่ายเงิน การเก็บ
วนั เวลาท่ีเดินทาง จำนวนเงินค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียมอื่น รักษาเงินและการนำเงิน
และจำนวนเงนิ รวม เป็นหลักฐานการเบกิ จา่ ย ส่งคลงั พ.ศ. 2562

200 ๑๙๖

เรื่อง วิธกี าร หมายเหตุ
(ที่เปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ท่ใี ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างองิ /หนงั สอื
ของ จพด.) ส่งั การ
3. ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ส่วนที่ 1 3. หนังสือกระทรวงการคลัง
แบบ 8708 ด่ ว น ที่ สุ ด ท่ี ก ค
4. หลักฐานการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป 0 4 0 8 .4 /ว 1 6 5
ราชการ ส่วนที่ 2 แบบ 8708 ลงวันที่ 22 ธันวาคม
5. ใบแนบคำขอเบิกค่าเบ้ียเลี้ยงเดินทางและค่าเช่าที่พัก 2559 เรื่อง หลักเกณฑ์
ในการเดนิ ทางไปราชการ สว่ นที่ 3 แบบ 8703 และหลักฐานประกอบการ
6. หนา้ งบใบสำคญั คา่ ใช้จ่ายในการเดินทาง เบิกค่าใช้จ่ายในการ
7. ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน (แบบ บก.111) กรณี เดิน ท างไป ราช การ
ใบเสร็จไมส่ มบูรณ์ หรือใบเสร็จสญู หาย ในราชอาณาจักรและ
การเดินทางไปราชการ
ต่างประเทศ และวิธี
ปฏิบัติกรณีผู้เดินทาง
ทำหลักฐานประกอบการ
เบกิ จ่ายเงนิ สญู หาย

ผูม้ ีอำนาจอนมุ ัติ
หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมหรือส่วนราชการที่ 4. พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่าย
เรียกชื่ออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรมขึ้นไปมีอำนาจหน้าที่ ในการเดินทางไปราชการ
ในการบริหารงบประมาณรายจ่ายเพ่ือเป็นค่าใช้จ่าย พ.ศ. 2526 และท่ี
ในการเดินทางไปราชการ ตามความจำเปน็ และประหยัด แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 9
ภายใต้หลักเกณฑ์และอัตราการจา่ ยตามพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2560 มาตรา 6

ข้อควรระวงั
1. การนับเวลาเดินทางไปราชการเพ่ือคำนวณเบี้ยเลี้ยง 5. พระราชกฤษฎีกาค่าใชจ้ ่าย
เดินทาง ให้นับตั้งแต่เวลาออกจากสถานท่ีอยู่หรือ ในการเดินทางไปราชการ
สถานท่ปี ฏบิ ัติราชการตามปกตจิ นกลบั ถงึ สถานทอี่ ยู่ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไข
หรือสถานท่ีปฏิบตั ริ าชการตามปกติ แลว้ แตก่ รณี เพ่ิ ม เติ ม ฉ บั บ ที่ 8
2. เวลาเดินทางไปราชการในกรณีที่มีการพักแรมให้นับ พ.ศ. 2553 มาตรา 16
ยี่สิบส่ีช่ัวโมงเป็นหน่ึงวัน ถ้าไม่ถึงยี่สิบสี่ชั่วโมงหรือ
เกินย่ีสิบสี่ชั่วโมงและส่วนที่ไม่ถึงหรือเกินยี่สิบสี่
ชั่วโมงน้นั นับไม่เกินสิบสองช่ัวโมงให้ถอื เปน็ หนึง่ วนั

๑2๙0๗1

เรื่อง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทเ่ี ป็นอำนาจหน้าท่ี (แตล่ ะเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอย่างไร) แหล่งอา้ งองิ /หนังสอื

ของ จพด.) ส่งั การ
3. เวลาเดินทางไปราชการในกรณีที่มิได้มีการพักแรม
หากนับได้ไม่ถึงย่ีสิบสี่ชั่วโมงและส่วนที่ไม่ถึงน้ัน
นับได้เกินสิบสองช่ัวโมง ให้ถือเป็นหนึ่งวัน หากนับ
ได้ไม่เกินสิบสองช่ัวโมง แต่เกินหกช่ัวโมงข้ึนไปให้ถือ
เป็นคร่ึงวนั

5.2 การเบิกเงินค่าเช่า ขัน้ ตอนการเบิกเงิน
บา้ นข้าราชการ ๑. ข้าราชการผู้มีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้านย่ืนคำขอรับตาม ๑.พระราชกฤษฎีกาค่าเช่า
แบบขอรบั คา่ เชา่ บา้ น (แบบ ๖๐๐๕) ณ สำนกั งานท่ี บ้านข้าราชการ พ.ศ.
ข้าราชการผนู้ ั้นปฏิบัติราชการ ๒๕๔๗ และท่แี ก้ไขเพมิ่ เติม
๒. ยื่นแบบ ๖๐๐๕ พร้อมด้วยรายงานข้อมูลของข้าราชการ ๒.ระเบียบกระทรวงการคลัง
สัญญาเช่าบา้ น สญั ญาเช่าซ้ือ หรือสญั ญาเงนิ กู้เพ่ือชำระ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ
ราคาบ้านและหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องต่อผู้รับรอง วิธีการเก่ียวกับการเบิกจ่าย
การมีสิทธิตามระเบียบข้อ ๘ (๒) คือ เจ้าพนักงานที่ดิน เงินค่าเช่าบ้านข้าราชการ
จังหวัดเป็นผู้รับรอง (รวมทั้งข้าราชการที่มาช่วย พ.ศ. ๒๕๔๙ (ฉบับท่ี ๒)
ราชการเป็นการประจำซึ่งต้องส่งเรื่องไปให้ส่วน พ.ศ. ๒๕๕๒
ราชการต้นสังกัดเป็นผู้อนุมัติ) ตามระเบียบข้อ ๘ ๓.หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ
วรรคสาม ข้าราชการประเภททั่วไประดับอาวุโสข้ึนไป ในการจัดข้าราชการ
ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษขึ้นไป เข้าพักอาศัยในที่พักของ
ประเภทอำนวยการ ประเภทบริหารเป็นผู้รับรอง ทางราชการ พ.ศ. ๒๕60
การมีสิทธขิ องตนเอง
๓. เม่อื มีการรบั รองสทิ ธขิ อรับคา่ เชา่ บ้านแล้ว ใหผ้ ูม้ อี ำนาจ
อนุมัติการเบิกตามข้อ ๑๐ แต่งต้ังข้าราชการจำนวน
ไม่น้อยกว่าสามคนเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ
ขอ้ เท็จจรงิ
๔. การอนมุ ัติการเบิกค่าเช่าบ้านในแบบ ๖๐๐๕ สำหรับ
สว่ นราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้หัวหน้า
ส่วนราชการซึ่งเป็นผู้เบิกเงินจากคลังเป็นผู้อนุมัติ
เว้นแต่เป็นการเบิกค่าเช่าบ้านของหัวหน้าส่วนราชการ
นนั้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวดั เปน็ ผอู้ นมุ ัติ

202 ๑๙๘

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเร่ืองทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหล่งอา้ งอิง/หนังสือ

ของ จพด.) ส่ังการ
๕. ข้าราชการซึ่งได้รับอนุมัติให้เบิกค่าเช่าบ้านตามสิทธิ
ให้ย่ืนขอเบิกตามแบบ ๖๐๐๖ พร้อมหลักฐาน
การชำระเงิน ณ สำนักงานท่ีข้าราชการผู้นั้นปฏิบัติ
ราชการ และให้ผู้มีอำนาจอนุมัติตามข้อ ๑๐
เป็นผู้อนุมัติการเบกิ จ่ายเงนิ
ข้อควรระวัง
๑. กรณีใดเป็นการได้รับคำส่ังให้ไปปฏิบัติราชการประจำ
หรือลักษณะประจำในสำนักงานแห่งใหม่พิจารณา
จากคำส่ังให้ข้าราชการย้ายไปปฏิบัติราชการอีก
หน่วยงานหนึ่ง ได้แก่ การเดินทางไปประจำสำนักงาน
ไปรักษาการในตำแหน่งหรือรักษาราชการแทน
นอกจากน้ันหากมคี ำสั่งใหไ้ ปประจำตา่ งสำนักงานใน
ลักษณะประจำ ไม่ได้โอนอัตราเงินเดือน และ
ข้าราชการผู้น้ันได้เดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตามคำส่ัง หรือได้รับคำสั่งให้ไปช่วยราชการประจำ
หรือได้รับคำส่ังให้ไปปฏิบัติราชการต่างสำนักงาน
ที่ไม่มีกำหนดระยะเวลาก็ถือว่าเป็นการไปราชการ
ประจำเช่นเดียวกัน รวมทั้งกรณีที่ส่วนราชการมี
คำส่ังให้ข้าราชการไปปฏิบัติราชการต่างสำนักงาน
โดยมีกำหนดระยะเวลาตั้งแต่หนึ่งปีข้นึ ไปดว้ ย
๒. คำว่า “ท้องที่” หมายความว่า กรุงเทพมหานคร อำเภอ
กิ่งอำเภอ สำนักงานที่ดินกรุงเทพมหานคร สำนักงาน
ที่ดินกรุงเทพมหานครสาขาต่าง ๆ และหน่วยงาน
กรมที่ดินที่ต้ังอยู่ในกรุงเทพมหานคร จึงถือเป็นท้องที่
เดยี วกนั
๓. ข้อยกเว้นท่ีทำให้ไมม่ ีสิทธไิ ด้รับค่าเช่าบ้านตามมาตรา ๗ (๑)
ทางราชการได้จัดท่ีพักอาศัยให้ตามหลักเกณฑ์มาตรา ๗ (๒)
มีเคหสถานอันเป็นกรรมสิทธ์ิของตนเองหรือคู่สมรส
ในท้องท่ีที่ไปประจำสำนักงานใหม่ โดยไม่มีหนี้ค้างชำระ
กับสถาบันการเงิน มาตรา ๗ (๓) ได้รับคำสั่งให้เดินทาง
ไปประจำในตา่ งทอ้ งทตี่ ามคำรอ้ งขอของตนเอง

๑2๙0๙3

เรอื่ ง วิธีการ หมายเหตุ
(ท่เี ปน็ อำนาจหน้าที่ (แต่ละเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ทีใ่ ด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างอิง/หนงั สือ

ของ จพด.) สัง่ การ
๔. ข้าราชการมีสิทธิได้รับค่าเช่าบ้าน ต้ังแต่วันท่ีได้เช่าอยู่
จริง แต่ไม่ก่อนวันรายงานตัวเพื่อปฏิบัติหน้าท่ี และ
ใหส้ ิน้ สุดในวันท่ีขาดจากอัตราเงนิ เดอื น
๕. การใช้สิทธินำหลักฐานการชำระค่าเช่าซื้อหรือ
ค่าผ่อนชำระเงินกู้เพ่ือซ้ือบ้านมาเบิกค่าเช่าบ้าน
ตามมาตรา ๑๗ บ้านหลงั ที่เช่าซอื้ หรือผอ่ นชำระต้อง
อยู่ในทอ้ งที่ที่ไปปฏิบัติราชการประจำอยู่ทีส่ ำนักงาน
แห่งใหม่ เบิกได้เฉพาะบ้านหลังแรกในท้องท่ีน้ัน
หากมีกรรมสิทธ์ิรวมกับบุคคลอ่ืนเบิกได้ตามสัดส่วน
แห่งกรรมสิทธ์ิ หากเงินกู้เพ่ือชำระราคาบ้านสูงกว่า
ราคาบ้าน ให้สถาบันการเงินคำนวณตามหลักเกณฑ์
และวธิ ีการทีก่ ระทรวงการคลังกำหนด
๖. สิทธกิ ารนำหลักฐานการชำระคา่ เช่าซ้ือหรอื คา่ ผอ่ นชำระ
เงนิ กู้เพ่ือชำระราคาบ้านในท้องที่เดิมมาเบิกค่าเช่าบ้าน
ต่อเน่อื งในท้องที่ใหม่ ตามมาตรา ๑๘ ต้องเปน็ ผูท้ ่ีได้
ใช้สิทธเิ บิกตามมาตรา ๑๗ แล้ว ต่อมาได้รบั คำส่งั ให้
ไปปฏิบัติราชการต่างท้องที่ และต้องมีสิทธิได้รับ
คา่ เช่าบา้ นตามมาตรา ๗ จงึ จะใช้สิทธิเบกิ ตามมาตรา ๑๘
๗. ให้ส่วนราชการต้นสังกัดควบคุมให้มีการตรวจสอบ
การใช้สิทธิการเบิกค่าเช่าบ้านข้าราชการในสังกัด
ให้ถูกต้อง ตามกฎหมายและระเบียบ โดยเคร่งครัด
ในกรณที ี่มีเหตอุ ันควรนำเอกสารหลักฐานปลอมหรือ
หลักฐานเท็จมาใช้ในการเบกิ พักอาศัยอยู่ในบ้านของ
บิดามารดาหรือบุคคลอ่ืนโดยไม่ได้มีการเช่าจริง
แต่ทำนิติกรรมอำพรางว่าเป็นการเช่า ให้ชะลอการ
เบิกจ่ายแล้วตรวจสอบการใช้สิทธิอีกครั้ง หรือหาก
ต ร ว จ ส อ บ แ ล้ ว พ บ ว่ า มี ก า ร เบิ ก เงิ น ค่ า เ ช่ า บ้ า น
ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย ให้ระงับการเบิกจ่ายและ
เรียกเงินคา่ เชา่ บ้านข้าราชการคืน โดยถือปฏบิ ัติตาม
หนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี กค ๐๔๒๒.๓/ว ๑๒๒
ลงวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๘

204 ๒๐๐

เร่อื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
(ท่เี ป็นอำนาจหนา้ ที่ (แต่ละเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างอิง/หนงั สือ

ของ จพด.) ส่งั การ
8. กรณีส่วนราชการมีที่พักประจำตำแหน่งของหัวหน้า
หนว่ ยงานตอ้ งเข้าพกั อาศัยฯ ตามข้อ 4 (6) เพื่อเป็น
การควบคุมการจัดที่พักประจำตำแหน่งของหัวหน้า
หน่วยงาน ให้เป็นไปตามความถูกต้องในหลักเกณฑ์
และวิธีปฏิบัติในการจัดข้าราชการเข้าพักอาศัยในท่ี
พกั ของทางราชการ พ.ศ. 2560

5.3 การเบิกเงินค่า ขัน้ ตอนการเบกิ เงนิ
รักษาพยาบาล ๑. บุคคลซึ่งเข้ารับราชการ ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้าง ๑. พระราชกฤษฎีกาเงิน
ประจำ จะตอ้ งย่นื รายงานขอ้ มลู บคุ ลากร เพือ่ ประโยชน์ สวัสดิการเกี่ยวกับการ
ในการจัดฐานข้อมลู บุคลากรภาครัฐ รักษาพยาบาล พ.ศ.
๒. การใช้สทิ ธิเบกิ เงินค่ารักษาพยาบาล ให้ยื่นใบเบิกเงิน ๒๕๕๓ และท่ีแก้ไข
ค่ารักษาพยาบาล (แบบ ๗๑๓๑) ต่อผู้มีอำนาจอนุมัติ เพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒)
สำหรับส่วนราชการในราชการบริหารส่วนภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๕๕
ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิก เว้นแต่ การเบิกเงิน ๒. ระเบียบการเบิกจ่ายเงิน
ของหวั หน้าส่วนราชการ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือ การเก็บรักษาเงินและ
ผู้ทีผ่ ูว้ ่าราชการจังหวดั มอบหมายเป็นผอู้ นมุ ตั ิ การนำเงินส่งคลัง พ.ศ.
๓. การเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลของผู้ได้รับบำนาญ ๒๕๕๑
ได้แก่ หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ หรือผู้ท่ี ๓. หนังสือกรมบัญชีกลาง
หัวหนา้ ส่วนราชการผ้เู บกิ มอบหมาย ด่วนที่สุดท่ี กค๐๔๒๒.๒/
๔. กรณีผูม้ สี ิทธไิ ดร้ ับคำส่งั ให้ไปช่วยปฏิบตั ริ าชการซึ่งอยู่ ว ๓๗๖ ลงวันท่ี ๓๐
ต่างส่วนราชการผู้เบิก ให้หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิก กันยายน ๒๕๕๓ เร่ือง
ณ สถานที่ท่ีไปช่วยปฏิบัติราชการเป็นผู้มีอำนาจ หลักเกณฑ์การจัดทำ
อนุมัติ แต่ก่อนการใช้สิทธิผู้มีสิทธิต้องยื่นหนังสือ ฐานข้อมูลเกี่ยวกับการ
แสดงเจตนา (แบบ ๗๑๓๔) แจ้งต่อส่วนราชการท่ีไปช่วย รักษาพยาบาล
เพื่อส่งคู่ฉบับซึ่งรับรองความถูกต้องให้ส่วนราชการ ๔. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง
ผ้เู บิกของผู้มสี ิทธิทราบ ว่าด้วยวิธีการเบิกจ่าย
๕. กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลประเภทผู้ป่วยใน เงินสวัสดิการเก่ียวกับ
สถานพยาบาลของทางราชการ นอกจากผู้มสี ิทธิและ การรักษาพยาบาล พ.ศ.
บุคคลในครอบครัวลงทะเบียนเข้าระบบเบิกจ่ายตรง ๒๕๕๓ หนังสือเวียน
สามารถยื่นคำขอหนังสือรับรองการมีสิทธิฯ หรือหนังสือซ้อมความ

๒2๐0๑5

เรอ่ื ง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อา้ งอิง/หนังสือ

ของ จพด.) สั่งการ
(แบบ ๗๑๒๙) เพ่ือเข้ารับการรักษาพยาบาล เข้าใจวิธีปฏิบัติในการ
เปน็ ผู้ป่วยในต่อผมู้ อี ำนาจอนุมัติ หรือให้สถานพยาบาล เบิกจ่ายเงินค่ารักษา
ขอเลขอนุมัติผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตกับ พยาบาล
หน่วยงานทกี่ รมบญั ชีกลางมอบหมาย

๖. การย่ืนใบเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลพร้อมด้วย
หลักฐานการรับเงินของสถานพยาบาลต่อผู้มีอำนาจ
อนุมัติ ให้ยื่นภายในระยะเวลา ๑ ปีนับถัดจากวันที่
ปรากฏในหลักฐานการรับเงิน และให้ส่วนราชการ
ผู้เบิกของผู้มีสิทธิเป็นผู้เบิกเงิน เม่ือได้รับอนุมัติ
จ่ายเงินแล้วให้เจ้าหน้าที่การเงินประทับตราข้อความว่า
“จ่ายเงินแล้ว” โดยลงลายมือช่ือรับรองการจ่ายและ
ระบุชื่อผู้จ่ายเงินด้วยตัวบรรจงพร้อมวันเดือนปี
ทจ่ี า่ ยกำกับไว้ในหลกั ฐานการรบั เงนิ ทุกฉบับ

๗. กรณีผู้มีสิทธิถูกส่ังพักราชการหรือให้ออกจาก
ราชการไว้ก่อน และปรากฏในภายหลังว่าได้รับ
เงินเดือนระหว่างถูกส่ังพักหรือระหว่างถูกสั่งให้ออก
จากราชการไว้ก่อน ให้ย่ืนใบเบิกเงินภายใน ๑ ปีนับ
แต่วันทก่ี รณีถึงท่สี ุด

๘. กรณีผู้มีสิทธิออกจากราชการ และอยู่ในระหว่างการ
พิจารณาสั่งจ่ายเงินบำนาญ ให้ย่ืนใบเบิกเงินภายใน
๑ ปี นับแต่วนั ทมี่ ีคำส่งั จ่ายเงนิ บำนาญ
ขอ้ ควรระวัง

๑. ในฐานะนายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ ซ่ึงมีรหัส
ผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password)
ที่กำหนดให้โดยกรมบัญชีกลาง มีหน้าที่ดูแลข้อมูล
(ตรวจสอบ เพิ่มเติม ปรับปรุง หรือแก้ไขข้อมูล
ให้เป็นปัจจุบัน) ของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และ
บคุ คลในครอบครัว เพื่อประโยชน์ในการเบิกจ่ายเงิน
สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ตามหลักเกณฑ์
การจัดทำฐานขอ้ มูลเกี่ยวกบั การรกั ษาพยาบาล

2. หากข้อมูลของผู้มีสิทธิ และบุคคลในครอบครัว

206 ๒๐๒

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหน้าท่ี (แต่ละเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ท่ใี ด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อ้างองิ /หนงั สือ

ของ จพด.) สั่งการ
ไม่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน และกรมบัญชีกลางได้มีการ
นำข้อมูลดังกล่าวไปใช้เพ่ือประโยชน์ในการเบิก
จ่ายเงินสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ หรือ
ดำเนินการอืน่ ใดทีเ่ ก่ยี วขอ้ งแลว้ ต้องตดิ ตามนำเงนิ ท่ี
ไดเ้ บิกจา่ ยไปส่งคืนคลงั

3. ข้าราชการในสังกัดมีการโอนย้ายหน่วยงานไปสังกัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือถูกลงโทษไล่ออก
จะต้องดำเนินการปรับปรุงฐานข้อมูลทะเบียนประวัติ
ของข้าราชการรายดังกล่าว โดยเลือกเหตุที่ออก
พร้อมท้ังใส่วันเดือนปีท่ีโอนย้ายหรือถูกลงโทษ
ซ่ึงถือว่าเป็นผู้ไม่มีสิทธิในการเบิกเงินสวัสดิการ
รักษาพยาบาลข้าราชการตามพระราชกฤษฎีกา
เงนิ สวัสดกิ ารเก่ียวกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓

๔. หากนายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ ปรับปรุง แก้ไข
ข้อมูล และเปลี่ยนสถานะเป็น “สมบูรณ์” แล้ว
เมื่อไปตรวจสอบข้อมูลที่โรงพยาบาลแจ้งว่า ไม่มีสิทธิ
เนื่ อ ง จ า ก ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง มี ก า ร ตั ด ร อ บ ส่ ง ข้ อ มู ล
บุคลากรภาครัฐให้สถานพยาบาลตรวจสอบสิทธิ
๒ รอบต่อเดือน คือ ทุก ๆ ๑๕ วัน ประมาณวันท่ี ๔
และ ๑๘ ของเดือน ดังน้ัน นายทะเบียนฯ จะต้อง
ปรับปรุงข้อมูลรอบแรกก่อนวันท่ี ๑๕ สิทธิจะขึ้น
ในวันที่ ๑๘ และรอบที่ ๒ ก่อนวันที่ ๓๐ สิทธิจะขึ้น
ในวนั ท่ี ๔ ของเดอื นถดั ไป

๕. หากผู้มีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วยระหว่างที่
ผมู้ ีสิทธิถกู ส่ังให้พักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน
หรืออยู่ระหว่างตั้งกรรมการสอบสวนความผิดวินัยร้ายแรง
และไม่ได้รับเงินเดือน ให้ทดรองจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาล
ไปก่อน และจะต้องรอจนกว่าคำสั่งคดีจะถึงที่สุดว่า
ไม่ผิดและได้รับเงินเดือนย้อนหลัง จึงจะนำใบเสร็จรับเงิน
ท่ีได้ทดรองจ่ายไปขอเบิกเงนิ ไดท้ ้ังน้ี ใบเสร็จมีระยะเวลา
๑ ปี นับถดั จากวันทม่ี ีคำสง่ั คดีถงึ ที่สดุ

๒2๐0๓7

เร่อื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทีเ่ ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ท่ใี ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างอิง/หนงั สือ

ของ จพด.) สัง่ การ
๖. ข้าราชการผู้ขอรับบำนาญ ซึ่งมีกรณีหรือต้องหา
ว่ากระทำความผดิ วินัยอย่างรา้ ยแรงหรือมีกรณีถกู ฟ้อง
คดีอาญาหรือต้องหาว่ากระทำความผิดอาญา หรือมี
กรณีถูกชี้มูลความผิดตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตไว้แล้ว
และออกจากราชการโดยกรณีหรือคดีอาญายังไม่ถึง
ท่ีสุดและได้จัดหาบุคคลหรือทรัพย์สินไว้เป็นประกัน
การรับเงินบำนาญกับส่วนราชการเจ้าสังกัดแล้ว
หากประสงค์จะขอใช้สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาล
จะต้องจัดหาบุคคลหรือทรัพย์สินไว้เป็นประกัน
การขอใช้สิทธิสวัสดิการรักษ าพ ยาบ าลด้วย
ต า ม ห นั ง สื อ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง ด่ วน ท่ี สุ ด
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๕๑ ลงวนั ท่ี ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๓

5.4 การขอรับและการ 1. ผู้มสี ิทธไิ ด้รบั บำเหนจ็ บำนาญ ต้องเข้าเหตใุ ดเหตุหนึ่ง ๑.พระราชบัญญัติบำเหน็จ
จ่ายเงินบำเหน็จ ต่อไปนี้ บำนาญข้าราชการ พ.ศ.
บำนาญข้าราชการ (1) เหตทุ ดแทน ๒๔๙๔ และที่แก้ไขเพม่ิ เติม
และลูกจา้ งประจำ (2) เหตทุ ุพพลภาพ ๒.พระราชบัญญัติกองทุน
(3) เหตุสูงอายุ ให้แกข่ ้าราชการอายคุ รบ ๖๐ ปีบริบูรณ์ บำเหน็จบำนาญข้าราชการ
หรือลาออกเมื่อมีอายุครบ ๕๐ ปีบริบูรณ์ ผู้ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไข
พ้นจากราชการด้วยเหตุทดแทน เหตุทุพพลภาพ เพิม่ เตมิ
เหตสุ งู อายุ ๓. พระราชกฤษฎีกาเงินช่วย
- ถ้ามีเวลาราชการตั้งแต่ ๑๐ ปี (๙ ปี ๖ เดือน) คา่ ครองชีพผู้รับเบ้ียหวัด
มีสิทธิได้รับบำนาญหรือจะเลือกขอรับบำเหน็จ บำนาญ พ.ศ. ๒๕๒๑
กไ็ ด้ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม
- ถ้ามีเวลาราชการตั้งแต่ ๑ ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ถึง 4.กฎกระทรวง กำหนดอัตรา
๑๐ ปี (๙ ปี ๖ เดอื น) มีสทิ ธิได้รบั เฉพาะบำเหนจ็ และวิธีการรับบำเหน็จ
(๔) เหตุรับราชการนาน (กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.) ดำรงชพี พ.ศ. ๒๕62
หรือตามมาตรา ๔๘ (กรณีเป็นสมาชิก กบข.) 5.ระเบียบกระทรวงการคลัง
ให้แก่ข้าราชการซ่ึงมีเวลาราชการครบ ๒๕ ปี ว่าด้วยการขอรับและ
(๒๔ ปี ๖ เดือน) การจ่ายบำเหน็จบำนาญ

208 ๒๐๔

เรอ่ื ง วิธกี าร หมายเหตุ
(ทเี่ ปน็ อำนาจหน้าที่ (แตล่ ะเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ทีใ่ ด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อ้างองิ /หนงั สือ
ของ จพด.) สั่งการ
นอกจากน้ี ในกรณีผู้ท่ีมีเวลาราชการครบ ๑๐ ปี ขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๒๗
(๙ ปี ๖ เดือน) แต่ไม่ถึง ๒๕ ปี (๒๔ ปี ๖ เดือน) 6. หนังสือกระทรวงการคลัง
ประสงค์จะลาออกจากราชการ และไม่เข้าเกณฑ์ ด่วนท่ีสุด ท่ี กค ๐๔๒๐.๙/
๔ เหตุดงั กล่าว ใหม้ ีสิทธไิ ด้รับบำเหน็จตามมาตรา ๑๗ ว ๕๓ ลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน
(กรณีไม่เป็นสมาชิก กบข.) หรือตามมาตรา ๔๗ ๒๕๕๒ พร้อมหลักเกณฑ์
(กรณเี ป็นสมาชกิ กบข.) และวธิ ปี ฏบิ ตั ิในการขอรับ
๒. เหตุแห่งบำเหน็จบำนาญ ในแบบขอรับ ให้ตรงกับ และการจ่ายเบี้ยหวัด
เหตทุ ร่ี ะบุไวใ้ นคำสง่ั บ ำ เ ห น็ จ บ ำ น า ญ
3. ผู้ที่ถูกลงโทษปลดออกจากราชการ หลังวันที่ ๓๑ และเงินอื่นในลักษณะ
มนี าคม ๒๕๓๕ มีสิทธไิ ด้รบั บำเหน็จบำนาญ เดี ย ว กั น ผ่ า น ร ะ บ บ
๔. ขา้ ราชการหรือลูกจ้างประจำซ่ึงมีกรณีหรือต้องหาว่า บำเหน็จบำนาญ
กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง หรือมีกรณีถูกฟ้อง
ค ดี อ า ญ า ห รื อ ต้ อ ง ห า ว่ า ก ร ะ ท ำ ค ว า ม ผิ ด อ า ญ า
โดยกรณีหรือคดีอาญายังไม่ถึงที่สุด ประสงค์ขอรับ
บำเหน็จบำนาญให้ทำประกันการขอรับบำเหน็จบำนาญ
ด้วยบุคคลหรือทรัพย์สินไว้ต่อส่วนราชการเจ้าสังกัด
โ ด ย มี วิ ธี ป ฏิ บั ติ ต า ม ห นั ง สื อ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ค ลั ง
ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๐๖.๕/ว ๑๒๒ ลงวันท่ี ๒๖
พฤศจิกายน ๒๕๕๒ และด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๐๖.๕/ว ๙
ลงวันที่ ๑๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๘ ผู้รับบำนาญท่ีทำประกัน
การขอรับบำนาญแล้ว หากมีความประสงค์จะขอใช้
สทิ ธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลให้ทำประกันการขอ
ใช้สิทธิ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๕๑ ลงวนั ที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๓
๕. ข้าราชการซึ่งมีกรณีหรือต้องหาว่ากระทำผิดวินัย
อย่างร้ายแรง หรือมีกรณีถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหา
วา่ กระทำความผิดอาญาโดยกรณีหรือคดีอาญายังไม่
ถึงท่ีสุด จะมีสิทธิขอรับบำเหน็จดำรงชีพได้เม่ือกรณี
หรือคดีถึงทสี่ ุดและมสี ทิ ธริ ับบำนาญ

๒2๐0๕9

เรื่อง วิธกี าร หมายเหตุ
(ท่ีเป็นอำนาจหน้าที่ (แตล่ ะเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างอิง/หนังสอื
ของ จพด.) สง่ั การ
6. เงินฝากค่าใช้จ่าย วิธกี าร
ใน ก า ร จั ด เก็ บ 1. รายจ่ายประเภทค่าจา้ งชว่ั คราว ให้เบกิ จ่ายไดใ้ นกรณี 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง
อ าก รแ ส ต ม ป์ ที่จำเป็นโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง วา่ ดว้ ยการจา่ ยเงินคา่ ใช้จา่ ย
รหสั บัญชี 904 ตามอัตราค่าจ้างและวุฒิอนุโลมตามระเบียบของ ในการจดั เกบ็ อากรแสตมป์
ทางราชการ พ.ศ. 2542
- พิจารณาเป็นอนั ดับแรก จพด.ออกคำส่งั 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง
2. รายจ่ายประเภทค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ ให้จ่าย ด่วนมาก ที่ กค 0526.9/
ได้เฉพาะกรณีจะพึงจ่ายจากเงนิ งบประมาณรายจ่าย 1473 ลงวันที่ 12 มีนาคม
- กรณเี งนิ งบประมาณมีไมเ่ พยี งพอทีจ่ ะเบกิ จา่ ย 2544
จพด.อนมุ ตั ิ 3. ระเบยี บกระทรวงการคลัง
3. รายจ่ายประเภทค่าสาธารณูปโภคให้จ่ายได้เฉพาะ วา่ ด้วยการเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่าย
กรณีจะพงึ จา่ ยจากเงินงบประมาณรายจา่ ย ในการบริหารงานของ
- กรณเี งินงบประมาณมีไมเ่ พียงพอทจ่ี ะเบิกจา่ ย ส่วนราชการ พ.ศ. 2553
จพด.อนมุ ตั ิ 4. ระเบียบสำนักนายก
4. รายจ่ายประเภทค่าครุภัณฑ์ ให้จ่ายได้เฉพาะที่จำเป็น รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
แก่การปฏิบัติงานและราคาไม่เกินหน่วยละ พ.ศ. 2535 และแก้ไข
50,000.- บาท ในกรณีมีความจำเป็นต้องจัดซื้อครภุ ัณฑ์ เพ่ิมเติมฉบับที่ 7 พ.ศ.
เกินกว่าวงเงินที่กำหนดให้ขออนุมัติจากกระทรวง 2552
การคลังก่อน ต่อมาได้มีหนังสือกรมบัญชีกลาง 5. อำนาจตามความในมาตรา38
ด่วน ม าก ที่ กค 0526.9/1473 ลงวัน ท่ี 12 แห่งพระราชบัญญัติ
มีนาคม 2560 แก้ไขการจัดซื้อครุภัณฑ์ต่อหน่วย ระเบียบบริหารราชการ
เป็นราคาไม่เกนิ หน่วยละ 200,000.- บาท แผ่นดิน พ.ศ. 2534
- กรณีเป็นครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์หรือครุภัณฑ์ท่ีมี ซึ่ ง แ ก้ ไ ข เพ่ิ ม เติ ม
การใช้งานผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ต้องขอความ โดยพระราชบัญญัติ
เหน็ ชอบจากคณะกรรมการการบริหารและจัดหา ระเบียบบริหารราชการ
ระบบคอมพิวเตอร์ของจงั หวดั ก่อน (ICTจงั หวดั ) แผ่นดิน (ฉบับที่ 7)
- กรณีเป็นครุภัณฑ์อื่น ๆ (สินทรัพย์ถาวร) ต้อง พ.ศ. 2550 (ใช้ในการ
พิจารณาถึงอายุการใช้งานและต้องไม่เกินราคา มอบอำนาจอนุมัติเบิก
มาตรฐานครุภณั ฑข์ องสำนกั งบประมาณ จา่ ยเงิน)
- ขั้นตอนในการจดั ซ้อื ปฏบิ ัติตามระเบยี บการพสั ดุ

210 ๒๐๖

เร่อื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทีเ่ ป็นอำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ที่ใด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างอิง/หนังสือ

ของ จพด.) สงั่ การ
5. รายจ่ายประเภทค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างให้จ่ายได้
เฉพาะที่จำเป็นแก่การปฏิบัติงานและราคาไม่เกิน
ครั้งละ 200,000.- บาท
6. รายจ่ายอื่นให้จ่ายได้เฉพาะกรณีที่ต้องจ่ายคืน
กรมสรรพากร
* ถ้ามเี งนิ เหลือจ่าย (ไมม่ ีรายการกอ่ หน้ผี ูกพันไว้)
ให้โอนขายบลิ เขา้ บญั ชีเงินฝากของส่วนกลาง
เมื่อสิ้นปีงบประมาณ หากมีเงินค่าใช้จ่ายในการ
จัดเก็บอากรแสตมป์คงเหลือเท่าใดให้นำส่งคลัง
เป็นรายได้แผ่นดินท้ังสิ้น ท้ังน้ี ให้นำส่งภายในวันที่
30 ธันวาคมของทุกปี ในระหว่างรอการนำเงินส่ง
หากมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงิน จะขอเบิกไป
ทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บอากรแสตมป์
ของปงี บประมาณใหมไ่ ด้
* กรณีท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินสั่งการควรอยู่ภายใต้
กรอบระเบียบที่กำหนด (อย่าใช้อำนาจส่ังการ
ในทางท่ผี ิด)

7. เงินฝากค่าใช้จ่าย วธิ กี าร
ในการจัดเก็บภาษี 1. ค่าจา้ งใหเ้ บกิ จา่ ยเปน็ ค่าจา้ งชัว่ คราวได้ในกรณีจำเปน็ 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง
อากรให้แก่ราชการ โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังตามอัตรา ว่ าด้ วยการจ่ า ย เงิน
ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น ค่าจ้างและวุฒิโดยอนุโลมตามระเบียบของทาง ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ
รหสั บญั ชี 915 ราชการ ภาษีอากรให้แก่ราชการ
- พิจารณาเป็นอนั ดบั แรก จพด.ออกคำสง่ั สว่ นท้องถิน่ พ.ศ. 2543
2. ค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ (เป็นวัสดุที่มีลักษณะ 2. ข้อบังคับกระทรวงการคลัง
โดยสภาพไม่คงทนถาวรหรือตามปกติมีอายุการใช้งาน ว่าด้วยเงินค่าใช้จ่าย
ไม่ยืนนาน สิ้นเปลือง หมดไป หรือเปล่ียนสภาพไป ในการจัดเก็บภาษีอากร
ในระยะเวลาอันสั้น) ให้แก่ราชการส่วนท้องถ่ิน
- กรณีเงินงบประมาณมีไม่เพียงพอทจ่ี ะเบิกจ่าย พ.ศ. 2543
จพด.อนมุ ตั ิ 3. ระเบยี บกระทรวงการคลัง
ว่ า ด้ ว ย ก า ร เบิ ก จ่ า ย

๒2๐1๗1

เรื่อง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ท่เี ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แตล่ ะเร่ืองทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างองิ /หนังสอื
ของ จพด.) สั่งการ
3. รายจ่ายอื่นให้จ่ายได้เฉพาะที่ต้องจ่ายคืนให้แก่ ค่ า ใช้ จ่ า ย ใน ก า ร
กระทรวงมหาดไทย บ ริ ห ารงาน ข อ ง ส่ ว น
*ถ้ามีเงินเหลือจ่ายไม่มีหนี้ผูกพัน ให้โอนขายบิล ราชการ พ.ศ. 2553
กลบั เขา้ บญั ชีเงินฝากกรมท่ดี ิน (สว่ นกลาง) 4. ระเบียบสำนักนายก
เงินค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บภาษีอากรให้แก่ รัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
ราชการส่วนท้องถ่ิน คงเหลือ ณ วันส้ินปีงบประมาณ พ.ศ. 2535 และแก้ไข
จะต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ทั้งนี้ให้นำส่ง เพิ่มเติมฉบับท่ี 7 พ.ศ.
ภายในวันที่ 30 ธันวาคมของทุกปี ในระหว่างรอ 2552
การนำเงินส่ง หากมีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงิน 5. อำนาจตามความในมาตรา
จะขอเบิกไปทดรองจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการ 38 แหง่ พระราชบัญญตั ิ
จัดเก็บภาษีอากรให้แก่ราชการส่วนท้องถ่ินของ ระเบียบบริหารราชการ
ปีงบประมาณใหม่ได้ แผ่นดิน พ.ศ. 2534
* กรณีท่ีเจ้าพนักงานท่ีดินสั่งการควรอยู่ภายใต้ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
กรอบระเบียบท่ีกำหนด (อย่าใช้อำนาจส่ังการ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บ
ในทางทผ่ี ิด) บริหารราชการแผน่ ดิน
(ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2550
(ใช้ในการมอบอำนาจ
อนุมัติเบิกจา่ ยเงนิ )
8. เงินฝากคา่ ธรรมเนยี ม วิธกี าร
ข้ อ มู ล ข่ าวส าร การจ่ายเงินค่าธรรมเนียมให้นำไปจ่ายหรือ 1. พระราชบัญญัติข้อมูล
ข อ ง ร า ช ก า ร ก่อหน้ีผูกพันได้เฉพาะกรณีท่ีพึงจ่ายได้จากเงิน ข่าวสารของราชการ
รหัสบัญชี 771 งบประมาณรายจา่ ย พ.ศ. 2540
(ค่าใช้จ่ายต้องเป็นการจ่ายท่ีเก่ียวข้องกับ 2. หนังสือกระทรวงการคลัง
การให้บริการข้อมูลข่าวสารของราชการเทา่ น้ัน) ท่ี กค 0409.3/ว 107
เม่ื อสิ้ นปี งบประมาณ ของทุ กปี ห ากมี เงิน ลงวนั ที่ 20 กรกฎาคม
ค่าธรรมเนียมเหลือจ่าย หรือเหลือจากการก่อหนี้ 2548
ผูกพันเท่าใด ให้นำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน 3. ขอ้ บังคับกระทรวงการคลงั
ภายใน 3 เดือนแรกของปีงบ ประมาณถัดไป ว่าดว้ ยเงินคา่ ธรรมเนยี ม
แต่ระหว่างที่รอการนำส่งคลังจะขอเบิกไปทดรอง ข้อมูลขา่ วสารของราชการ
จา่ ยเป็นค่าใช้จา่ ยในตอนตน้ ปงี บประมาณใหม่ก่อนก็ได้ พ.ศ. 2548

212 ๒๐๘

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหนา้ ที่ (แตล่ ะเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทีใ่ ด/ทำอย่างไร) แหลง่ อ้างองิ /หนังสอื
สั่งการ
ของ จพด.) * กรณีที่เจ้าพนักงานที่ดินสั่งการ ควรอยู่ภายใต้ 4. ประกาศคณะกรรมการ

กรอบระเบียบที่กำหนด (อย่าใช้อำนาจสั่งการ ข้ อ มู ล ข่ าวส ารข อ ง
ในทางท่ีผิด) ราชการ เรื่อง การเรียก
ค่าธรรมเนียม การขอ
สำเนาหรือขอสำเนา
ที่มีคำรับรองถูกต้อง
ข อ งข้ อ มู ล ข่ าว ส าร
ของราชการ
5. ระเบยี บกระทรวงการคลัง
ว่ า ด้ ว ย ก า ร เบิ ก จ่ า ย
ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน
ของส่วนราชการ พ.ศ.
2553
6. ระเบี ยบสำนั กนายก
รั ฐ ม น ต รี ว่ า ด้ ว ย ก า ร
พัสดุ พ.ศ. 2535 และ
แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับที่ 7
พ.ศ. 2552
7. อำนาจตามความในมาตรา38
แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ
ระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน พ.ศ. 2534
ซึ่ ง แ ก้ ไข เพ่ิ ม เติ ม โ ด ย
พระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการแผน่ ดิน
(ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2550
(ใช้ในการมอบอำนาจ
อนมุ ัตเิ บิกจา่ ยเงนิ )

๒2๐1๙3

เร่ือง วิธกี าร หมายเหตุ
(ที่เปน็ อำนาจหนา้ ที่ (แต่ละเร่อื งทำ/ตรวจอะไร/ทใี่ ด/ทำอยา่ งไร) แหล่งอ้างองิ /หนงั สือ
ส่ังการ
ของ จพด.) ตอ้ งควบคมุ และกำกับดูแลให้หัวหน้างานการเงิน 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง
9. การบันทึกบัญชี ตรวจสอบเจ้าหน้าท่ีการเงินท่ีบันทึกข้อมูลในสมุด ท่ี กค 0423.3/ว 281

ทะเบียนคุมรายการทางบัญชีด้วยมือกับในระบบ ลงวันที่ 23 กรกฎาคม
GFMIS ใหถ้ กู ตอ้ ง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน 2555 เรื่อง แนวทาง
การตรวจสอบบัญชีของ
ส่ วน ราชการใน ระบ บ
GFMIS
2. หนังสือกรมท่ดี ิน ด่วนที่สุด
ที่ ม ท 0 5 0 3 .2 /
ว 18911 ลงวันที่ 25
กั น ย า ย น 2 5 5 7
เรื่อง การยกเลิกการ
จัดทำบัญชีตามเกณฑ์
คงค้างด้วยมือ (Manual)
3 . ห นั ง สื อ ก ร ม ท่ี ดิ น
ท่ี มท 0503.2/ว 3871
ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์
2560 เรื่อง คู่มือระบบ
การควบคุมการเงิน
ส ำ นั ก ง า น ที่ ดิ น
หน่วยงานย่อย และ
ห นั ง สื อ ร ว ม ร ะ เบี ย บ
แ ล ะ ห นั ง สื อ เวี ย น
การเงินสำนักงานท่ีดิน
หนว่ ยงานย่อย

10. การจัดทำรายงาน/ กำชับให้หัวหนา้ ฝา่ ยอำนวยการ 1. หนังสือกรมที่ดินด่วนที่สุด
ระยะเวลา/รายงาน - ตรวจสอบ ข้อมูลท างบั ญ ชีในระบ บ GFMIS ที่ มท0503.2/ว27830
ใครบ้าง ประกอบด้วย บัญชีเงินสดในมือ บัญชีเงินฝากคลัง วั น ท่ี 2 8 ตุ ล า ค ม
และบัญชีเงินฝากธนาคาร (บัญชีเงินฝากธนาคาร 2559 เรื่อง การควบคุม
ในงบประมาณ บัญชีเงินฝากธนาคารนอกงบประมาณ และตรวจสอบข้ อมู ล

214 ๒๑๐

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหน้าที่ (แต่ละเร่อื งทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอย่างไร) แหล่งอา้ งองิ /หนงั สือ
สัง่ การ
ของ จพด.) บัญชีเงินฝากธนาคารเพื่อนำส่งคลัง บัญชีเงินฝาก ทางบัญชใี นระบบ GFMIS

ไม่มีรายตัว) และจัดทำรายงานตามแบบฟอร์มท่ี 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง
กรมท่ีดินกำหนด เป็นประจำทุกเดือนให้แล้วเสร็จ ที่ กค 0423.3/ว 264
ภายในเดือนถัดไป และนำเสนอเจ้าพนักงานที่ดิน ลงวันท่ี 29 กรกฎาคม
จังหวัดลงนามและรับรองความถูกต้อง โดยมี 2 5 5 8 เร่ือง การส่ง
รายละเอียดประกอบดังน้ี รายงานประจำเดือน
1. รายงานการตรวจสอบขอ้ มูลตามระบบ GFMIS
2. สรุปการเปรยี บเทียบข้อมลู ทางบัญชี
3. รายงานการตรวจสอบบัญชเี งนิ สดคงเหลอื
4. รายละเอียดข้อมลู เงนิ ฝากคลงั
5. งบเทียบยอดเงินฝากคลัง ตามรหัสบัญชีและ
ช่ือบัญชีเงินฝาก โดยให้จัดทำรายละเอียด
ประกอบ
5.1 รายละเอียดรายการที่ระบบไม่ปรับเพ่ิม
เงินฝากคลงั (ไม่มี RX)
5.2 รายละเอียดรายการท่ีระบบปรับเพิ่ม
เงินฝากคลงั ซำ้ (RX ซำ้ )
5 .3 ราย ล ะ เอี ย ด ราย ก ารที่ ระบ บ ไม่ ตั ด
เงนิ ฝากคลงั (ไม่มี J0)
5.4 รายละเอียดรายการที่ระบบตัดเงินฝากคลัง
ซำ้ (J0 ซำ้ )
6. รายงานการตรวจสอบบัญชีเงนิ ฝากธนาคาร
7. รายงานกระทบยอดเงินฝากธนาคารทุกบัญชี
- ส่งรายงานงบทดลองประจำเดือนให้สำนักงาน
การตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ภายในวันที่ 15
ของเดือนถัดไป และส่งรายงานงบทดลอง
ประจำปีงบประมาณ ระบุงวด 1 – 16 โดยให้
หัวหน้าหน่วยเบิกจ่ายลงลายมือชื่อกำกับรับรอง
ความถูกต้อง ส่งให้สำนักงานการตรวจเงิน
แผ่นดินภูมิภาค ภายใน 60 วัน นับจากวันสิ้นปี
งบประมาณ

๒2๑1๑5

เร่อื ง วิธกี าร หมายเหตุ
(ทเี่ ป็นอำนาจหน้าท่ี (แตล่ ะเรอื่ งทำ/ตรวจอะไร/ที่ใด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อา้ งอิง/หนังสอื
ส่ังการ
ของ จพด.) กำชับให้หัวหน้าฝ่ายอำนวยการ เสนอรายงานของ 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง
11. รายงานของ ผู้สอบบัญชีและงบการเงิน กรมท่ีดิน ซ่ึงเรียกจาก ด่วนท่ีสุดที่ กค0410.3/
เว็บไซต์ของกรมที่ดินเป็นประจำทุกปีงบประมาณ ว 357 ลงวันท่ี 15
ผู้ ส อ บ บั ญ ชี เพ่ือโปรดทราบและนำไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้อง สิ ง ห า ค ม 2 5 6 1
แ ล ะ ง บ ก า ร เงิ น ประกอบด้วย เรื่อง รูปแบบการนำเสนอ
กรมทดี่ นิ

1. งบแสดงฐานะการเงิน ร า ย ง า น ก า ร เงิ น ข อ ง
2. งบแสดงผลการดำเนนิ งานทางการเงนิ หนว่ ยงานของรัฐ
3. งบแสดงการเปล่ยี นแปลงสินทรัพย์สุทธ/ิ สว่ นทุน 2. หนังสือกระทรวงการคลัง
4. หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน ด่วนท่ีสุดท่ี กค0410.2/
5. รายงานรายได้แผน่ ดนิ ว 6 7 ล งวั น ท่ี 2 3
กรกฎาคม 2561 เรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการ
จัดทำรายงานการเงิน
ประจำปี
3. หนังสือกรมท่ีดิน ด่วน
ที่สุด ท่ี มท 0503.2/
ว 21811 ลงวันท่ี 28
สิงหาคม 2561 เรื่อง
หลักเกณฑ์และวิธีการ
จัดทำรายงานการเงิน
ประจำปี

12. การตรวจสอบ กรมท่ีดินกำหนดให้สำนักงานที่ดินจังหวัดและ 1 . ห นั ง สื อ ก ร ม ที่ ดิ น
สำนักงานท่ีดินจังหวัดสาขาผู้เบิก รายงานผลการ ที่ ม ท 0 5 0 3 .2 /
ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีของส่วนราชการ ว 14257 ลงวันที่ 22
ตามท่ีกรมบัญชีกลางกำหนดเป็นประจำทุกปีงบประมาณ มิ ถุ น า ย น 2 5 6 3
ซ่ึงสำนักงานท่ีดินจังหวัด และสำนักงานที่ดินจังหวัด เรื่ อ ง เก ณ ฑ์ ก า ร
สาขาผู้เบิก ต้องควบคุมและกำกับดูแลให้เจ้าหน้าที่ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร
ท่ีเก่ียวข้องกับการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน ปฏิบัติงานด้านบัญชี
ของขอ้ มูลก่อนรายงานใหก้ รมทีด่ ิน (กองคลงั ) ดังน้ี ภ า ค รั ฐ ป ร ะ จ ำ ปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563

216 ๒๑๒

เร่อื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ท่ีเปน็ อำนาจหน้าท่ี (แตล่ ะเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ที่ใด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อา้ งองิ /หนังสือ
ส่งั การ
ของ จพด.) เรื่องที่ 1 ความถูกตอ้ ง 2. หนังสือกรมบัญชีกลาง

1.1 ยอดคงเหลือในช่อง “ยอดยกไป” ของบัญชีแยก ท่ี กค 0410.3/ว 163
ประเภทในงบทดลองถูกต้องตรงกับเอกสารหรือ ลงวันท่ี 20 เมษายน
หลกั ฐาน ดังน้ี 2563 เรื่อง เกณฑ์
1.1 .1 บัญ ชีเงินสดในมือ (1101010101) การประเมินผลการ
ย อ ด ค งเห ลื อ ข อ งบั ญ ชี เงิน ส ด ใน มื อ ปฏิบัติงานด้านบัญชี
ณ วันส้ินเดือนของทุกเดือน ต้องตรงกับ ภ า ค รั ฐ ป ร ะ จ ำ ปี
รายงานเงินคงเหลือประจำวันท่ีจัดทำตาม งบประมาณ พ.ศ. 2563
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิก 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง
จ่ายเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน ท่ี กค 0423.3/ว 281
การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง ลงวันที่ 23 กรกฎาคม
พ.ศ. 2562 2555 เร่ือง แนวทาง
1.1.2 บัญชีเงินฝากธนาคาร (ทุกบัญชี ทุกเดือน) การตรวจสอบบัญชีของ
มีการจัดทำงบกระทบยอดบัญชีเงินฝาก ส่วนราชการในระบบ
ธน าค ารค รบ ทุ ก บั ญ ชี แ ล ะ ทุ ก เดื อ น GFMIS บทท่ี 5 การ
ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/ว 63 ตรวจสอบการบันทึก
ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554 เร่ือง วิธีการ รายการบญั ชี
ตรวจสอบข้อมูลเงินฝากธนาคารและ 4. หนังสือกรมท่ีดนิ ที่ มท
แนวทางการจัดทำงบกระทบยอดเงินฝาก 0503.2/ว 19812
ธนาคารของหน่วยงานภาครัฐ (หากจัดทำ ลงวันที่ 31 กรกฎาคม
ไม่ครบทกุ เดือนจะถอื วา่ คะแนนเป็นศนู ย์) 2 5 5 6 เรื่ อ ง ก า ร
1.1.3 บัญชีเงินฝากคลัง (1101020501) ยอด บันทึกข้อมูลสินทรัพย์
คงเหลือของบัญชีเงินฝากคลัง ณ วันสิ้นปี ถาวรในระบบ GFMIS
งบประมาณ ต้องตรงกับรายงานแสดง 5. หนังสือกรมบัญชีกลาง
การเคล่ือนไหวเงินฝากกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.3/ว 311
หรือคำส่งั งาน ZGL_RPT013 และรายงาน ลงวันที่ 2 กันยายน
สถานะเงินฝากคลังและเงินรับฝากของ 2556 เรอื่ ง แนวปฏิบัติ
รัฐบาล (ZGL_RPT016) ในระบบ GFMIS เกี่ยวกับการเรียกรายงาน
1 .1 .4 บั ญ ชี ลู ก ห น้ี เงิน ยื ม ใน งบ ป ระ ม าณ ข้อมูลบัญชีผิดดุลและ
(1102010101) และบัญชีลูกหน้ีเงินยืม รายงานข้อมูลบัญ ชี
นอกงบประมาณ (1102010102) โดยมี ท่ีต้องไม่มยี อดคงค้าง

๒2๑1๓7

เร่ือง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ท่ีเป็นอำนาจหน้าที่ (แต่ละเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อา้ งอิง/หนงั สือ
สั่งการ
ของ จพด.) ยอด ค งเห ลื อข องบั ญ ชี ลู กห นี้ เงิน ยื ม 6. หนังสือกรมทด่ี ินด่วนทส่ี ุด

ในงบประมาณ และบัญชีลูกหนี้เงินยืม ที่ ม ท 0 5 0 3 .2 /
นอกงบประมาณ ณ วันสิ้นปีงบประมาณ ว 33234 ลงวันท่ี 28
ต้องตรงกับสัญญาการยืมเงินที่ยังไม่ส่งใช้ ธั น ว า ค ม 2 5 5 9
ใบสำคัญ และให้จัดทำสรุปรายการสัญญา เรื่อง ผังบัญชีมาตรฐาน
การยืมเงินที่ยังไม่ส่งใช้ใบสำคัญ โดยมียอด สำหรับหน่วยงานภาครัฐ
คงเห ลื อถูกต้ องต รงกั บ ยอด ยกไป ใน Version 2560
งบทดลอง ณ วนั สนิ้ ปีงบประมาณ
1.1.5 บญั ชีใบสำคัญค้างจ่าย (2102040102)
บั ญ ชี เจ้ า ห นี้ ก า ร ค้ า -ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ
(2101010101) และบัญชีเจ้าหน้ี
การค้า-บุคคลภายนอก (2101010102)
โด ย มี ย อ ด ค งเห ลื อ ข อ ง บั ญ ชี ใบ ส ำ คั ญ
ค้างจ่าย บัญชีเจ้าหนี้การค้า-หน่วยงาน
ภ า ค รั ฐ แ ล ะ บั ญ ชี เจ้ าห นี้ ก า ร ค้ า -
บุคคลภายนอก ณ วันส้ินปีงบประมาณ
ต้องตรงกับใบแจ้งหนี้ใบสำคัญ หรือ
เอกสารแสดงภาระผูกพันที่ต้องชำระ
คื น แ ก่ เจ้ า ห น้ี ห รื อ ผู้ มี สิ ท ธิ ท่ี ยั ง ไ ม่ ได้
จ่ายเงิน ตามหนังสือกรมบัญ ชีกลาง
ท่ี กค 0423.3/ว 281 ลงวันที่ 23
กรกฎาคม 2555 เร่ือง แนวทางการ
ต ร ว จ ส อ บ บั ญ ชี ข อ งส่ ว น ร าช ก า ร
ในระบบ GFMIS บทที่ 5 การตรวจสอบ
การบันทึกรายการบญั ชี
1.1.6 บัญชีวสั ดคุ งคลงั (1105010105) และ
บัญชีครุภัณฑ์ (12xxxxxxxx) โดยมียอด
คงเหลือของบัญชีวัสดุคงคลัง และบัญชี
ค รุภ ัณ ฑ ์ ณ วัน สิ้น ป ีงบ ป ร ะ ม า ณ
ต้องตรงกับรายงานผลการตรวจสอบพัสดุ
ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย

218 ๒๑๔

เรื่อง วิธกี าร หมายเหตุ
(ทีเ่ ปน็ อำนาจหน้าท่ี (แตล่ ะเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทใี่ ด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างองิ /หนงั สือ

ของ จพด.) การพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม/ สัง่ การ
ทะเบียนคุมทรัพย์สิน และให้จัดทำสรุป
ร า ย ง า น ผ ล ต ร ว จ ส อ บ วั ส ดุ / ท รั พ ย์ สิ น
โดยมียอดคงเหลือถูกต้องตรงกับยอดยกไป
ในงบทดลอง ณ วนั ส้นิ ปงี บประมาณ
1.1.7 งบทดลองแสดงข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้อง
ตามดุลบัญชีปกติ และต้องไม่มีบัญชีพักท่ี
มียอดคงค้าง โดยมีงบทดลอง ณ วันส้ินปี
งบประมาณไม่มีบัญชีผิดดุลและบัญชีพัก
ไม่มียอดคงค้างในรายงานผิดดุลและ
รายงานข้อมูลบัญชีท่ีต้องไม่มียอดคงค้าง
โดยดลุ บญั ชีปกตทิ ่ีไดร้ ับการยกเว้น มีบัญชี
ดังตอ่ ไปน้ี
- บัญชีพกั รอ Clearing (1101010113)
- บญั ชรี ายได้สูง/(ต่ำ) กวา่ ค่าใช้จา่ ยสุทธิ
(3101010101)
- บญั ชีรายไดส้ ูง/(ต่ำ) กว่าคา่ ใชจ้ ่ายสะสม
ยกมา (3102010101)
- บญั ชผี ลสะสมจากการแก้ไขข้อผดิ พลาด
(3102010102)
- บญั ชีค่าใช้จา่ ยระหวา่ งหน่วยงาน-รายได้
แผน่ ดนิ รอนำส่งคลงั (5210010112)
1.2 ความถูกต้องเป็นปัจจุบันเกี่ยวกับการเคล่ือนไหว
ของบัญชีแยกประเภทในระบบ GFMIS ระหวา่ งปี
งบประมาณ (แสดงวิธีการตรวจสอบ เช่น
ก ารท ำด้วย Pivot Table ต าม ห นังสือ
กรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0423.3/ว 281 ลงวันท่ี
23 กรกฎาคม 2555 เร่ือง แนวทางการ
ต ร ว จ ส อ บ บั ญ ชี ข อ ง ส่ ว น ร า ช ก า ร ใน ร ะ บ บ
GFMIS) ห รือ การต รวจส อบ ด้ วยฟั งก์ชั น
VLOOKUP ห รือการใช้ โป รแกรมฟั งก์ ชั น

๒2๑1๕9

เร่ือง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ทเี่ ปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรอ่ื งทำ/ตรวจอะไร/ท่ีใด/ทำอย่างไร) แหล่งอ้างองิ /หนงั สอื

ของ จพด.) เทคนิค หรือสูตรต่าง ๆ ตามที่หน่วยงาน สั่งการ
เห็นสมควร เพื่อให้สามารถพิสูจน์ได้ว่ารายการ
เค ลื่ อ น ไห ว ร ะ ห ว่ า ง ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ
ของบัญชีดังกล่าวมีความถูกต้อง เปน็ ปจั จุบนั ดังน้ี
1 .2 .1 บัญชีเงินสดในมือ (1101010101) เงินฝาก
ธนาคารเพื่อนำส่งคลัง (1101020601)
และบัญชีเงินฝากธนาคารรายบัญชีเพื่อนำส่งคลัง
(1101020606) โดยมกี ารบันทกึ ขอ้ มลู บญั ชี
จัดเก็บ นำส่งหรือนำฝากเงิน เป็นรายได้แผ่นดิน
หรือเงินฝากคลังไดถ้ กู ตอ้ ง เป็นปจั จบุ นั
1.2.2 บัญชีเงินฝากคลัง (1101020501) การบันทึก
ขอ้ มูลเบิกจ่าย นำฝาก โอน และปรับปรงุ บัญชีเงิน
ฝากค ลัง ต้องตรงกับ รายงาน แสดงการ
เคลื่อนไหวเงินฝากกระทรวงการคลัง หรือ
คำสั่งงาน ZGL_RPT013 ในระบบ GFMIS ได้
ถกู ต้อง เปน็ ปจั จบุ นั
1 .2 .3 บ ัญ ชีลูก ห นี ้เ งิน ยืม ใ น ง บ ป ร ะ ม า ณ
(1102010101) และบญั ชีลกู หนีเ้ งินยืมนอก
งบประมาณ (1102010102) โดยมีการ
บั น ทึ กการจ่ายเงิน แล ะช ด ใช้คื น เงิน ยื ม
ไดถ้ ูกตอ้ ง เป็นปจั จบุ ัน
1.2.4 บัญชีเงินฝากธนาคาร-เงินงบประมาณ
(1101020603) บัญชีเงินฝากธนาคาร-เงินนอก
งบประมาณ (1101020604) บัญชีใบสำคัญ
ค้างจ่าย (2102040102) บัญชีเจ้าหนี้การค้า-
หน่วยงานภาครัฐ (2101010101) และบัญชี
เจ้าหนก้ี ารค้า-บุคคลภายนอก (2101010102)
โดยมกี ารบันทึกการเบกิ และจา่ ยเงินให้เจ้าหนี้หรือ
ผู้มีสิทธไิ ด้ถูกตอ้ ง เป็นปัจจบุ ัน

220 ๒๑๖

เรื่อง วิธีการ หมายเหตุ
(ที่เปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทีใ่ ด/ทำอย่างไร) แหล่งอา้ งอิง/หนงั สือ

ของ จพด.) สัง่ การ
เรือ่ งท่ี 2 ความโปรง่ ใส
2.1 การเปิดเผยงบทดลองสู่สาธารณะต้องมีการ
เผยแพร่งบทดลองเป็นประจำทุกเดือน โดยเปิดเผย
เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 30 วัน นับจากวันท่ี
สง่ ให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรอื สำนักงาน
การตรวจเงินแผ่นดินส่วนภูมิภาค เช่น ลง Website
หรือปิดประกาศในที่สาธารณะ (หากจัดทำไม่ครบ
ทกุ เดอื นจะถอื ว่าคะแนนเปน็ ศูนย)์
2.2 แสดงรายละเอียดประกอบรายการบัญชีที่สำคัญ
ของงบทดลองให้ส่วนราชการจัดทำรายละเอียด
รายการบัญชีที่สำคัญประกอบงบทดลองประจำ
เดือนกันยายนของทุกปี และให้เปิดเผยสู่สาธารณะ
เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 30 วัน นับจากวันที่ส่ง
งบทดลองดังกล่าวให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
หรือสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินส่วนภูมิภาค
เช่น ลง Website หรือปิดประกาศในที่สาธารณะ
โดยรายการบัญชีท่ีสำคัญประกอบด้วย รายการบัญชี
ตามเกณฑ์การประเมินผลฯ เร่ืองที่ 1.1.1 ถึง
เรื่องท่ี 1.1.3
เรื่องท่ี 3. ความรบั ผิดชอบ
3.1 การจัดส่งงบทดลองให้สำนักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน (สตง.) หรือสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ส่ วน ภู มิ ภ าค ต้ อ งมี การน ำส่ งรายงาน งบ ท ดล อ ง
ประจำเดือนให้ สตง. ทุกเดือน ภายในระยะเวลา
ที่กรมบัญชีกลางกำหนด (หากนำส่งไม่ทันภายใน
ระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนดทุกเดือนจะถือว่า
คะแนนเปน็ ศูนย์)
3.2 การจัดส่งรายงานการเงินระดับกรมให้ สตง. และ
กระทรวงการคลัง ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันสิ้น
ปงี บประมาณ

๒2๑๗21

เร่ือง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ที่เป็นอำนาจหน้าที่ (แตล่ ะเรือ่ งทำ/ตรวจอะไร/ทใี่ ด/ทำอยา่ งไร) แหล่งอ้างองิ /หนงั สือ

ของ จพด.) สั่งการ
3.3 รูปแบบรายงานการเงินที่ส่งให้ สตง. เป็นไปตาม
มาตรฐานที่กรมบัญชีกลางกำหนด
3.4 ข้อมูลรายงานการเงินที่ส่งให้ สตง. เท่ากับข้อมูล
รายงานในระบบ GFMIS
3.5 การตอบข้อทักท้วงด้านบัญชีการเงินตามข้อสังเกต
ประกอบการตรวจสอบรายงานการเงินของ สตง.
ปีล่าสุด โดยมีการตอบข้อทักท้วงตามข้อสังเกต
ของ สตง. ปลี ่าสดุ ให้ สตง. ภายใน 60 วนั นบั แต่
วนั ทไี่ ด้รบั แจง้
3.6 การแก้ไขข้อทักท้วงด้านบัญชีตามข้อสังเกตประกอบ
การตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน ภายในปีที่
ได้รับการทั กท้ วง ต้องมีการแก้ไขข้อทั กท้วง
ดา้ นบัญชีตามขอ้ สังเกตประกอบการตรวจสอบของ
ผูต้ รวจสอบภายใน ภายในปีทไี่ ด้รับการทักท้วง

1 3 . การป รับ ปรุง กรมท่ีดินแจ้งแนวปฏิบัติการปรับปรุงบัญชีและ 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง
บัญ ชีและแก้ไข การจัดทำใบสำคัญการปรับปรุงบัญชีเพ่ือแก้ไข ท่ี กค 0409.3/ว 297
ขอ้ ผิดพลาด ข้อผิดพลาดทางบัญชีของปีงบประมาณปัจจุบัน ลงวันท่ี 31 สิงหาคม
และปีงบประมาณก่อน ซึ่งสำนักงานท่ีดินจังหวัด 2 5 5 4 เร่ือ ง คู่ มื อ
ต้องควบคุม และกำชับเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องตรวจสอบ การบันทึกและปรับปรุง
และปรับปรุงบัญชีท่ีเกิดข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อน ราย ก ารบั ญ ชี ผ่ าน
ใหเ้ ปน็ ไปตามแนวปฏิบตั ทิ ีก่ รมบญั ชีกลางกำหนด GFMIS Web Online
2. หนังสือกรมบัญชีกลาง
ด่วน ที่ กค 0423.3/
ว 150 ลงวันที่ 24
เมษ ายน 2 5 5 6
เร่ือ ง แ น ว ท างก าร
ป รั บ ป รุ ง แ ก้ ไ ข
ข้อผิดพลาดทางบัญชี
ของปีงบประมาณกอ่ น

222 วิธกี าร ๒๑๘
เรอ่ื ง (แตล่ ะเรอื่ งทำ/ตรวจอะไร/ทีใ่ ด/ทำอย่างไร) หมายเหตุ
แหลง่ อา้ งอิง/หนงั สือ
(ที่เปน็ อำนาจหนา้ ท่ี ส่ังการ
ของ จพด.) 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง
ท่ี ก ค 0 4 2 3 .3 /
ว 173 ลงวันที่ 10
พฤษภาคม 2556
เรื่อ ง แ น ว ท างก าร
จัดทำใบ สำคัญ การ
ปรับปรุงบัญชี
4 . ห นั ง สื อ ก ร ม ท่ี ดิ น
ที่ ม ท 0 5 0 3 .2 /
ว 23489 ลงวันท่ี 9
กั น ย า ย น 2 5 5 6
เร่ือง การจัดทำใบสำคัญ
การปรบั ปรุงบญั ชี
5. หนังสือกรมบัญชีกลาง
ที่ ก ค 0 4 2 3 .3 /
ว 338 ลงวันท่ี 22
กั น ย า ย น 2 5 5 8
เร่ือ ง แ น ว ท างก าร
แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า แ ล ะ
ข้ อ ผิ ด พ ล า ด ส ำ ห รั บ
การบัญชีภาครฐั
6. หนังสือกรมบัญชีกลาง
ท่ี กค 0410.3/ว 36
ลงวันท่ี 3 กุมภาพันธ์
2563 เรื่อง การปิด
งวดบัญชีและรายงาน
ก า ร เงิ น ใ น ร ะ บ บ
GFMIS

๒2๑2๙3

เร่อื ง วิธกี าร หมายเหตุ
(ที่เปน็ อำนาจหนา้ ท่ี (แต่ละเรื่องทำ/ตรวจอะไร/ทใ่ี ด/ทำอยา่ งไร) แหลง่ อ้างองิ /หนงั สือ
ส่งั การ
ของ จพด.) กรมที่ดินแจ้งให้สำนักงานที่ดินหน่วยเบิกจ่าย 1. หนังสือกรมบัญชีกลาง
1 4 . รหั ส ผู้ ใช้ งาน ทราบและถือปฏิบัติ การเปลี่ยนชื่อผู้ถือรหัสผู้ใช้งาน ดว่ นท่ีสุดท่ี กค0409.4/
(User ID) ระบบ GFMIS Web Online การกำหนด ว 194 ลงวันท่ี 21
ในระบบ GFMIS

ให้หัวหน้าหน่วยงานผู้เบิกมอบหมายผู้มีสิทธิ ถือรหัส พ ฤษ ภ าคม 2 5 5 6
ผู้ใช้งาน และจัดทำคำส่ังแต่งต้ังหรือมอบหมาย เรื่อง การเปลี่ยนชื่อผู้ถือ
การปฏบิ ตั ิงานในระบบ GFMIS Web Online รหัสผู้ใช้งาน (User ID)
ร ะ บ บ GFMIS Web
Online
2 . ห นั ง สื อ ก ร ม ที่ ดิ น
ด่วนท่ีสุดท่ี มท0503.2/
ว 6513 ลงวันที่ 18
มี น า ค ม 2 5 5 9
เร่ือง การยกเลิกสิทธิ
รหัสผู้ใช้งานในระบบ
GFMIS Web Online



๒2๒2๑5

กองฝึกอบรม

เรอ่ื ง วธิ ีการ หมายเหตุ
(ท่ีเป็นอำนาจหนา้ ที่ของ จพด.) (แตล่ ะเรื่องทำ /ตรวจอะไร /ที่ใด /ทำอย่างไร)

๑. การสอนงาน/สอนแนะงาน - หัวหน้างาน หัวหน้าฝ่าย จัดโครงการสอนงาน - หนังสือกรมที่ดิน

(Coaching) สอนแนะผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างน้อยปีละ ๑ ท่ี มท๐๕๐๗.๒.๓/

โครงการ ว ๒๖๓๖๑ ลงวนั ที่

- ให้ส่งกรมท่ีดนิ ภายในวันท่ี ๒๐ สิงหาคมของทุกปี ๓๐ ธนั วาคม ๒๕๕๗

๒. การพัฒนารายบุคคล (Individual - ผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาตกลงร่วมกัน - หนังสือกรมที่ดิน

Development Plan: IDP) ท่ีจะทำแผนพัฒนาตนเองอย่างน้อย ๑ เร่ือง ท่ี มท ๐๕๐๗.2.3/ว

หลังจากประเมินผลการปฏิบัติราชการ (เล่ือนข้ัน ๒8596 ลงวันท่ี ๒7

เงินเดือน) ตามแบบแสดงรายละเอียดแผนพัฒนา ตุลาคม 2560

รายบุคคล (แบบท่ี 1) ตอนสิ้นรอบการประเมินผล - หนั งสื อกรมที่ ดิ น

การปฏิบัติราชการแต่ละคร้ัง ปีละ ๒ ครั้ง คือ ที่ มท 0507.3/ว

รอบการประเมินผลฯ 23610 ลงวนั ท่ี 10

- รอบท่ี ๑ (๑ ต.ค.-๓๑ ม.ี ค.) ตลุ าคม 2562

- รอบที่ ๒ (๑ เม.ย.-๓๐ ก.ย.)

โดยให้จัดเก็บไว้ที่หน่วยงานเพ่ือการตรวจสอบ

อยา่ งเปน็ ระบบ

- รายงานผลการดำเนินการให้กรมที่ดินทราบ

ภายในวันที่ 5 ของทกุ เดอื น

๓. โครงการความรู้เร่ืองที่ดิน - รายงานผลการดำเนินการให้กรมท่ีดินทราบ - หนังสือกรมที่ดินที่

เพ่อื ประชาชน ภายในวนั ที่ ๕ ของทกุ เดอื น มท ๐๕๐๗.๒.๒/ว

24155 ลงวันท่ี ๒1

ตลุ าคม 2562

4. ค่าใช้จา่ ยเก่ียวกบั การจดั การ เบิกจ่ายตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย - ระเบียบกระทรวง

ฝกึ อบรม คา่ ใช้จา่ ยในการฝึกอบรมฯ ข้อ ๘ ได้แก่ ก า ร ค ล ัง ว ่า ด ้ว ย

๑. ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับการใช้และการตกแต่ง ค่าใช้จ่ายในการ

สถานทีฝ่ กึ อบรม ฝึกอบรมการจดั งาน

๒. ค่าใชจ้ า่ ยพธิ เี ปดิ -ปิด การฝกึ อบรม แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ช ุม

๓. คา่ วสั ดุ เคร่อื งเขยี นและอุปกรณ์ ระหว่างประเทศ

๔. ค่าประกาศนยี บัตร พ.ศ. ๒๕๔๙ และท่ี

226 ๒๒๒

เร่อื ง วธิ กี าร หมายเหตุ
(ท่เี ป็นอำนาจหนา้ ทข่ี อง จพด.) (แตล่ ะเร่ืองทำ /ตรวจอะไร /ทใี่ ด /ทำอย่างไร)

๕. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพมิ พเ์ อกสารและส่งิ พิมพ์ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับ
๖. ค่าหนงั สอื สำหรับผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม
๗. คา่ ใช้จ่ายในการตดิ ต่อส่ือสาร ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒
๘. ค่าเช่าอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในการฝกึ อบรม ฉบับท่ี ๓พ.ศ.๒๕๕๕)
๙. ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม (ห ม ายเห ตุ : ข้อ
๑๐. ค่ากระเป๋าหรือส่ิงที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับ ๑๒-๑๕ เบิกตาม
อัตราตามตาราง
ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม (เบิกตามจรงิ แต่ไม่ แนบทา้ ย)
เกิน ๓๐๐ บาท)
๑๑. ค่าของสมนาคุณในการดูงาน (เบิกตามจรงิ - หนังสือกระทรวง
แตไ่ ม่เกิน ๑,๕๐๐ บาท)
๑๒. คา่ สมนาคุณวิทยากร การคลัง ด่วนท่ีสุด
๑๓. คา่ อาหาร
๑๔. ค่าเชา่ ทีพ่ ัก ท่ี กค ๐๔๐๖.๔/ว
๑๕. ค่ายานพาหนะ ๕ ล ง วั น ท่ี ๑ ๔
มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖

บุคคลที่จะเบิกคา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรมตาม - หนังสือกระทรวง
ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยค่าใช้จ่ายในการ มหาดไทย ด่วนท่ีสุด
ฝกึ อบรมฯ ขอ้ ๑๐ ได้แก่ ท่ี มท ๐๒๑๑.๒/ว
๑. ประธานในพิธีเปิดหรือพิธีปิดการฝึกอบรม ๕ ๓ ๕ ลงวัน ท่ี ๕
กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖
แขกผูม้ ีเกียรติ และผตู้ ดิ ตาม
๒. เจ้าหนา้ ท่ี
๓. วิทยากร
๔. ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม
๕. ผูส้ งั เกตการณ์
5. การส่งบุคลากรเข้ารับการ ๑. กรณีที่กรมที่ดินจะจัดการฝึกอบรมหลักสูตร
ต่าง ๆ โดยให้สำนักงานท่ีดินจังหวัดคัดเลือก
ฝึกอบรม เจ้าหน้าท่เี ข้ารับการฝึกอบรมขอให้เจ้าพนักงาน

ที่ดินจังหวัด คัดเลือกเจ้าหน้าที่ที่อยู่ในหลักเกณฑ์
ตามท่ีกรมที่ดินกำหนดและมีความรู้ ความสามารถ
เม่ือผ่านการฝึกอบรมแลว้ จะเป็นประโยชน์กับ
ทางราชการ โดยนำความรู้ท่ีได้รับจากการ
ฝึกอบรมไปสอนแนะ และถ่ายทอด ให้แก่
เจา้ หนา้ ทีใ่ นสำนักงานท่ดี ินได้
๒. เมื่อกรมท่ีดินได้มีคำส่ังให้ผู้ใดเข้ารับการ
ฝึกอบรมแล้วห้ามมิให้สละสิทธิ์ เว้นแต่กรณี
เจบ็ ป่วยกะทันหัน

๒2๒2๓7

กองแผนงาน

1. ภารกิจเจา้ พนกั งานที่ดนิ
1.1 ภารกจิ เจา้ พนกั งานทด่ี ิน ด้านแผนงาน
(1) วางแผนงาน/โครงการ จดั ทำแผนปฏิบัติงาน เพือ่ กำหนดเป้าหมายและผลสัมฤทธ์ขิ องสำนักงาน
ทดี่ นิ จังหวดั /สาขา/ส่วนแยก/อำเภอ ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายและแผนกลยุทธ์ของกรมท่ดี นิ
(2) บูรณาการแผนงานโครงการขนาดใหญ่ กจิ กรรม เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมาย และผลสมั ฤทธข์ิ อง
สำนักงานทด่ี ิน
(3) ติดตาม เร่งรัดการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย และความยุ่งยากซับซ้อนมากให้
เป็นไปตามแผนงาน โครงการหรือแผนปฏิบัติงานตลอดจนประเมินและรายงานผลการ
ดำเนินงาน เพอื่ ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมาย และผลสมั ฤทธ์ิของสำนกั งานท่ีดนิ
(4) ดำเนินการเก่ียวกับการจัดทำ ประสาน ติดตามแผนงาน/โครงการของสำนักงานที่ดินให้
สอดคลอ้ งกบั นโยบาย/แผนงาน/โครงการของจังหวัด กรมที่ดิน กระทรวง และรฐั บาล
(5) เสนอความเห็นในการร่าง ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ระเบียบ และคำสั่งต่าง ๆ เกี่ยวกับการ
ปฏิบตั ริ าชการของเจ้าหน้าทข่ี องสำนกั งานทดี่ ินจังหวัด/สาขา/สว่ นแยก/อำเภอ

1.2 ภารกจิ เจ้าพนักงานท่ีดิน ดา้ นทรพั ยากรและงบประมาณ
(1) วางแผนการใช้จ่ายทรัพยากร และงบประมาณของสำนักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก/อำเภอ
ทีต่ อ้ งรับผิดชอบสงู เพ่ือให้สอดคล้องกบั นโยบาย พนั ธกจิ และเปน็ ไปตามเปา้ หมายของกรมท่ดี ิน
(2) ติดตาม ตรวจสอบการใช้จ่ายทรัพยากรและงบประมาณจำนวนมาก เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
ความค้มุ คา่ และเปน็ ไปตามเป้าหมาย และผลสมั ฤทธิ์ตามทกี่ ำหนด
(3) กำกับดูแล ให้คำปรึกษา แนะนำงานด้านบริหารงานทั่วไป การเงิน การคลัง งบประมาณ การพัสดุ
การประชาสมั พนั ธ์ การบริหารราชการภายในหน่วยงานให้เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยหลกั เกณฑ์
และวธิ ีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี

228 ๒๒๔

กระบวนงาน ขน้ั ตอนดำเนนิ งาน หลกั การ/ประเด็น
ที่ตอ้ งกำกับดแู ล สำคัญ
1.การจดั ทำงบประมาณ 1. จัดทำแผนปฏิบัตงิ าน ประกอบดว้ ย ภารกิจ/งานประจำ - ต้องวางแผนและจดั ทำ
กิจกรรม/โครงการสำคัญที่ต้องทำเพื่อการแก้ไข/ งบประมาณล่วงหน้า
ปรับปรุง/พัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ อย่างน้อย 1 ปีก่อน
ปีงบประมาณใหม่เร่มิ
โดยใหค้ วามสำคญั ในการ
1) กำหนดภารกิจ/งาน ที่สำคัญ/จำเป็นต้องทำเพ่ือ - ศกึ ษารายละเอียดของ
สนับสนุนหรือขับเคลื่อนแนวนโยบายรัฐบาล นโยบาย/ยุทธศาสตร์/
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจ แผนพฒั นาต่าง ๆ ให้
และสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่ม เข้าใจในวัตถุประสงค์
จังหวัด และสอดรบั กบั ความต้องการของประชาชน และเป้าหมายในภาพรวม
2) กำหนดวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจนและสะท้อนให้เห็นว่า ที่รฐั บาลต้องการ
ภารกิจหรือการดำเนินงานน้ันสอดรับกับนโยบาย - สำนักงานที่ดินแต่ละแห่ง
ระดบั ต่าง ๆ รฐั บาล/กระทรวง/จังหวัด/กรมทดี่ ิน
ค ว ร จั ด ท ำ ฐ า น ข้ อ มู ล
3) กำหนดเป้าหมายการปฏิบัติงานเชิงปริมาณ/เชิง สถิติปริมาณงาน/การ
คุณภาพท่ีมีความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ และ จัดเก็บรายได้ และอ่ืน ๆ
สามารถวัดผลได้ในเชงิ คณุ ภาพ เพื่อสะดวกในการนำไป
ใช้เป็นข้อมูลประกอบ
4) กำหนดตัวชี้วัดผลสำเร็จท่ีเหมาะสมในการ
ดำเนนิ งานเพ่อื ใช้ในการวัดผล
5) กำหนดช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการดำเนินงาน การวิเคราะห์เปา้ หมาย
โดยหลกั ใหแ้ จกแจงเปา้ หมายเป็นรายไตรมาส งานตอ่ ไป
2. จดั ทำรายละเอียดงบประมาณประมาณการคา่ ใช้จา่ ย - ควรสำรวจวัสดุ/อุปกรณ์
ที่ต้องใช้ในการดำเนินงานในแต่ละแผนงาน/กิจกรรม ท่ีมีอยู่จัดทำเป็นฐาน
ของแต่ละสำนักงาน รวมทั้งจังหวัดแจกแจงตาม ขอ้ มลู ฯ
ประเภทของงบประมาณ งบบุคลากร งบดำเนินงาน - สำรวจสภาพการใช้งาน
และงบลงทุน
ของครุ ภั ณ ฑ์ ได้ แก่
1) ยึดหลักประหยัด ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่และที่จะ เครื่ องป รั บ อ า ก า ศ
จดั หาใหม่ให้คมุ้ คา่ และเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เครื่องคอมพิวเตอร์ ตู้
2) การปรับปรุงอาคารสถานที่ สำนักงานที่ดินต้องจัดทำ
โครงการแบบแปลนและประมาณค่าใช้จ่าย (ปร.4, ปร.5) โตะ๊ ฯลฯ
เพอ่ื ประกอบการพิจารณาด้วย - ตรวจสอบสภาพอาคาร/

3) สำนักงานท่ีดินแต่ละแห่ง ควรจัดทำฐานข้อมูล สถานท่ีสามารถรองรับ
ประชาชนอย่างเหมาะสม
วัสดุ/อุปกรณ์ สถิติการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการ และพอเพียงสนับสนุน
ปฏบิ ัตงิ าน หรือขับเคลอื่ นแนวนโยบาย
/แผน ระดบั ตา่ ง ๆ

๒2๒2๕9

กระบวนงาน ข้ันตอนดำเนินงาน หลกั การ/ประเด็น
ท่ตี ้องกำกับดูแล สำคญั
3. จัดลำดับความสำคัญของงาน/โครงการ โดยพิจารณา - ตรงเวลาทีก่ ำหนด
จากความจำเปน็ และความต้องการของประชาชน - เต รี ย ม ข้ อ มู ล แ ล ะ
4. ส่งคำขอต้ังงบประมาณให้กองแผนงานภายในกำหนด
หากล่าช้าจะไม่ได้ระบุไว้ในกรอบคำขอต้ังงบประมาณ ราย ละเอียดเก่ียวข้อง
ของกรมทีด่ นิ และพรอ้ มชี้แจง

2. การบรหิ ารงบประมาณ 1. เตรียมการจัดซื้อจัดจ้างล่วงหน้า เพื่อสามารถบริหาร - เตรียมการด้านเอกสาร

งบประมาณให้บรรลผุ ลตามมาตรการเพ่มิ ประสิทธิภาพ ตามระเบียบท่ีกำหนด

การใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ คุณ ลั กษ ณ ะเฉ พ าะ

1) สำนักงานที่ดินควรเตรียมการใช้งบประมาณล่วงหน้า ใบเสนอราคา

ประมาณ 1-2 เดือน ก่อน พ.ร.บ. งบประมาณ - การแต่งตั้งคณะกรรมการ

รายจ่ายประจำปี มผี ลใชบ้ งั คบั ในเดือนตลุ าคม ตามระเบียบจดั ซื้อจัดจ้าง

2) กองแผนงานจะได้ประสานกับสำนักงานท่ีดิน - การขอความเห็นชอบ

ใหท้ ราบว่าในปีงบประมาณต่อไปจะได้รับงบประมาณ ต่อคณะกรรมการตาม

ในรายการที่สามารถเตรียมการจัดซ้ือจัดจ้างไว้ ระเบียบจดั ซอื้ จัดจา้ ง

ลว่ งหน้าได้ ไดแ้ ก่ การจ้างเหมาบริการ การจดั ซ้ือ

ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์/ครุภัณฑ์ทั่วไป การปรับปรุง/

ต่อเติมอาคารสถานท่ีการก่อสร้างสำนักงานที่ดิน/

อาคาร เป็นตน้

2. จัดทำแผนการบริหารงบประมาณให้เปน็ ไปตามแนวทาง - เร่งรัด เจ้าห น้ าที่ ให้

ของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ ดำเนิน การตามระเบยี บ

ซง่ึ แตล่ ะปอี าจแตกตา่ งกนั ไป อย่างเคร่งครัด โปร่งใส

3. กำกับ ดูแล และเร่งรัดการปฏิบัติตามแผนการ - รายงานผลการใช้งบประมาณ

ปฏบิ ัตงิ าน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณโดยเคร่งครัด ให้ครบถ้วน ทุกรายการ

และใช้จ่ายงบประมาณภายใต้กรอบวงเงินงบประมาณ และตรงตามกำหนดเวลา

ที่ได้รับการจัดสรรอย่างประหยัด และรายงานผล

การจดั ซื้อจดั จา้ งส่งให้กองแผนงานตามแบบท่ีกำหนด

230 ๒๒๖

กระบวนงาน ขั้นตอนดำเนินงาน หลักการ/ประเดน็
ที่ตอ้ งกำกับดูแล สำคัญ
3. การขอสนับสนุน เม่ือสำนักงานที่ดินได้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ - เริ่มส่งโครงการฯ/หนังสือ
งบประมาณเพิ่มเติม และใช้งบประมาณท่ีได้รับบรรลุผลเป็นไปตามเป้าหมาย ชี้แจงประมาณเดือน
ระดับหน่ึง หากมีปัญหาอุปสรรค หรือความจำเป็นต้อง กรกฎาคม
แก้ไข/ปรับปรุงการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น - ส่งผ่านผู้ตรวจราชการ
ให้สำนักงานท่ีดินจัดทำโครงการ หรอื หนังสือช้ีแจงเหตุผล กรมทีด่ นิ
ความจำเป็นเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณเพ่มิ เตมิ พรอ้ มทั้ง - ในระยะแรกสำนักงาน
แนบเอกสารประกอบการจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ ที่ดินควรใช้งบประมาณ
ส่งให้กรมท่ีดินพิจารณาสนับสนุนต่อไป เกณฑ์การพิจารณา ที่ได้รับการจัดสรรมา
ไดแ้ ก่ เกล่ยี ใช้กอ่ น เพอ่ื แสดง
1. ระดับความจำเป็น พิจารณาจากผลกระทบต่อการ ให้เห็นความก้าวหน้า
บริการประชาชน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และ ใน ก ารบ ริห ารแ ล ะ
ใช้จา่ ยงบประมาณ
แนวนโยบายของผบู้ รหิ าร

2. งบรายจ่าย และจำนวนเงินงบประมาณ ที่ขอ

สนับสนุนหากมีวงเงินท่ีสูงมาก หรือเป็นงบลงทุน

ต้องขอใช้เงินงบประมาณเหลือจ่าย หรือเงินนอก

งบประมาณเพอื่ สนบั สนนุ การดำเนนิ งานตา่ ง ๆ

3. เตรยี มความพร้อมในการจัดหาครภุ ัณฑ์ สำนกั งานทด่ี ิน

ต้องจัดเตรียมเอกสารข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ

ราคามาตรฐาน หรือผลการสอบราคา รวมทั้งมีการ

ตรวจสอบและดำเนินการตามระเบียบที่กำหนด

4. ในการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ สำนักงานท่ีดินต้อง - สำนักงานท่ีดินควรเลือก

จดั ทำรายงานการจัดหาระบบคอมพิวเตอรท์ ่ีมีมูลค่า คุณสมบัติของเครื่อง

ไม่เกิน 5 ล้านบาท โดยใช้เกณฑ์ราคากลาง และ คอมพิวเตอร์ท่ีเหมาะสม

คุณลักษณะพื้นฐาน (Spec) จากเว็บไซต์ของ ในการปฏิบัตงิ านแต่ละ

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเสนอ ด้านหากใช้ในการพิมพ์

รายงานการจัดหาฯ ให้คณะกรรมการบริหารและ งานทั่วไปจะประหยัด

จัดหาระบบคอมพิวเตอร์ระดับจังหวัดพิจารณาเห็นชอบ งบประมาณแต่ใช้งานได้ดี

กอ่ นส่งกรมทีด่ ินพิจารณาต่อไป

2๒3๒1๗

2. การจดั ทำแผนงาน/โครงการเพอ่ื ขอรับการสนบั สนุนงบประมาณตามแผนพัฒนาจังหวัดและกล่มุ จงั หวดั

กระบวนงาน ข้ันตอนดำเนินงาน หลักการ/ประเดน็
ท่ตี อ้ งกำกับดูแล สำคัญ

1. การจัดทำแผนงาน/ ในการจัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการ - ข้อสังเกตของคณะกรรมา-

โครงการเพื่อขอรับ สนับสนุนงบประมาณ ตามแผนพัฒนาจังหวัด ธิการฯ ควรใช้สำหรับเติม

การสนบั สนุนงบประมาณ และกลมุ่ จงั หวดั มีจดุ เนน้ ดังน้ี เต็มในส่วนที่มีความจำเป็น

ตามแผนพัฒนาจังหวดั 1. แผนพัฒนาจังหวัดมุ้งเน้นการพัฒนาคุณภาพ เร่งด่วนของจังหวัดและ
ชีวิตสร้างโอกาสและอาชีพ ซึ่งตอบสนอง กลุม่ จังหวดั
และกล่มุ จงั หวัด ต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด
โดยเลือกดำเนินการจากศักยภาพของจังหวัด
ซึ่งได้จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบองค์ - ผู้บริหารสำนักงานที่ดิน
รวมที่คอบคลุมทุกมิติ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ จำเป็นต้องเสริมสร้างความรู้
สงั คม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและ ความเข้าใจให้แก่บุคลากร
ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ใน ก า ร ว า ง

ความมัน่ คง แผนงานในสาระสำคัญ
2. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด มุ้งเน้นพัฒนาด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ ของนโยบาย/ยุทธศาสตร์
และสิ่งแวดล้อม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน /แผนพัฒนาต่าง ๆ และ
การแข่งข้ันของกลุ่มจังหวัดและนำไปสู่การ สามารถถ่ายทอด/เชื่อมโยง
กระตุ้นให้เกิดการลงทนุ ของภาคเอกชนและ กับภารกิจของสำนักงาน
สร้างรายได้ให้กลุ่มจังหวัดหรือเพื่อแก้ไข ท่ีดินเพื่อจัดทำแผนงาน/
ปญั หาร่วมกนั ของกลุ่มจังหวดั โครงการที่เหมาะสมให้
สามารถบรรลุเป้าหมายใน

ข้ันตอนการจัดทำแผนงาน/โครงการเพ่ือขอรับ ภาพรวมทรี่ ฐั บาลตอ้ งการ
การสนับสนุนงบประมาณตามแผนพัฒนา - สำนักงานท่ีดินควรประสาน
งานอย่างต่อเน่ืองกับสำนักงาน
จังหวัด และกลมุ่ จังหวัด
1. ศกึ ษารายละเอียด/ประเดน็ สำคัญของนโยบาย จังหวัดเพ่ือทราบปฏิทิน
หลักเกณฑ์ วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา งบประมาณล่วงหน้า 2
ของแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดใน
พื้นท่ีที่สำนักงานท่ีดินต้ังอยู่เป็นการล่วงหน้า ปงี บประมาณ (กนั ยายน)

โดยปกติแผนพัฒนาจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด
จะเป็นแผนระยะปานกลางมรี ะยะเวลา 5 ปี
2. กำหนดแผนงาน/โครงการ ท่ีมีความสำคัญและ
จำเป็นต้องได้รับการปรับปรุง/พัฒนา โดยมี
หลักเกณฑ์ ดงั น้ี


Click to View FlipBook Version