The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประมวลผลการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการป้องกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบลหมู่บ้าน ระดับกลุ่มอำเภอ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี (ปี 2563)

โครงการอบรมหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 74 ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: ด้านทั่วไป

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

สารบัญ

การเรียนรูเชงิ ปฏิบัติการ (Action Learning) หนา
1. โครงการศึกษาอบรมหลกั สตู รฝกอบรมนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74 1

2. กรอบการเรียนรูเชงิ ปฏบิ ัติการ 4

3. การประเมนิ ประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การปองกนั ระงบั ยับย้งั การระบาด 7
ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับจงั หวดั

4. การประเมนิ ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจัดการปองกนั ระงับยบั ย้งั การระบาด 27
ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับอําเภอ

5. การประเมินประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การปองกัน ระงับยบั ยั้งการระบาด 89
ของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับหมูบ าน

6. การประเมินประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการปองกัน ระงับยับยง้ั การระบาด 126
ของโรคไวรัสโควิด-19 ขององคก ารบริหารสวนจงั หวัดชลบรุ ี

7. การประเมินประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการปองกัน ระงับยับยัง้ การระบาด 150
ของโรคไวรัสโควดิ -19 ของเมืองพัทยา

8. บทวิเคราะหการเรียนรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการจากอาจารยทป่ี รึกษาหลกั สูตร 170

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

โครงการศึกษาอบรมหลักสูตรฝก อบรมนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) ของกระทรวงมหาดไทย
รุนท่ี ๗๔ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
---------------------------------

๑. หลกั การและเหตุผล
๑. การบริหารราชการแผนดินในปจจุบันมีกรอบการดาเนินงานภายใตบทบัญญัติแหงกฎหมาย

และ แผน ที่สาํ คัญ ไดแกบ ทบญั ญตั แิ หงรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตรชาติ
๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๗๙) การปฏิรูปประเทศ ๑๑ ดาน ยุทธศาสตรชาติและการสรางความสามัคคี
ปรองดอง (ป.ย.ป.) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) นโยบาย
ไทยแลนด ๔.๐ รัฐบาล ๔.๐ แผนพัฒนาภาค (๖ ภาค) แผนพัฒนากลุมจังหวัด (๑๘ กลุมจังหวัด)
แผนพัฒนาจังหวัด (๗๖ จังหวัด) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (๑๐ เขตพ้ืนท่ี) ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
(ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และเมือง พัทยา) ตลอดจนระเบียงเศรษฐกิจตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับการพัฒนา
พืน้ ท่ี

๒. รัฐบาลชุดปจจุบันภายใตการนําของพลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดแถลง
นโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา เม่ือวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยนโยบายฯ ดังกลาว
ประกอบดวยนโยบายหลกั ๑๒ ดาน และนโยบายเรงดว น ๑๒ เรื่อง

การปฏิบัติราชการตามภารกิจของสวนราชการตาง ๆ ตามขอ ๑ และขอ ๒ จําเปนตองอาศัย
ความรวมมือจากทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการรวมขับเคล่ือนนโยบาย
แผนงาน และโครงการตาง ๆ ไปสูการปฏิบัติใหบังเกิดผลสําเร็จอยางเปนรูปธรรม เกิดประโยชนสุขแก
ประชาชน อยา งยั่งยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. กระทรวงมหาดไทยมีภารกิจในการบําบัดทุกข บํารุงสุขของประชานในดานตาง ๆ อยาง
กวา งขวาง เกยี่ วขอ งกบั การบริหารราชการสว นภูมภิ าค การพัฒนาจงั หวดั /กลุม จงั หวัด และการพัฒนาภาค
และเชื่อมโยงกับการปกครองสวนทองถิ่น จึงมีความจําเปนท่ีจะตองพัฒนาบุคลากรทุกประเภทและ
ทกุ ระดบั ใหมคี วามพรอ มในการปฏบิ ตั ริ าชการใหสําเรจ็ ตามเปาหมายที่กําหนด ทง้ั นี้ การพัฒนาขาราชการ
เพื่อใหมีความพรอมสําหรับการกาวข้ึนไปสูตําแหนงระดับบริหารของสวนราชการนับวามีความสําคัญ
อยางย่งิ โดยกระทรวงมหาดไทยไดจัดโครงการศึกษาอบรมหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) มาตั้งแต
ป พ.ศ.๒๕๑๖ และไดปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
ความมนั่ คงของชาติ สังคม วัฒนธรรม สิง่ แวดลอม และพฒั นาการทางดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศตาง ๆ ท่ีมี
การเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา ทั้งนี้เปนไปตามกรอบมาตรฐานหลักสูตรการฝกอบรมนักบริหารระดับสูง
ของ ก.พ. เพ่ือใหหลักสูตร ฝกอบรมนักปกครองระดับสูงของกระทรวงมหาดไทยไดรับการรับรองจาก
คณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) และสามารถพัฒนานักปกครองและนักบริหารระดับสูงรองรับ
ภารกิจของสว นราชการในสังกัดและสวนราชการตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

1

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

๔. ภายใตยทุ ธศาสตรช าติ ยทุ ธศาสตรท่ี ๖ ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ (ประเด็นหลักการพัฒนาท่ี ๖.๔ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐ) ยุทธศาสตรกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.
๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ (ประเดน็ ยุทธศาสตรท ่ี ๔ การวางรากฐานการพัฒนาองคกรอยางสมดุล) และยุทธศาสตร
การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ (ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๑ การพัฒนา
ระบบและบุคลากรท่ีเปนเลิศ ยุทธศาสตรท่ี ๑.๓ การพัฒนาบุคลากรพรอมรับการเปลี่ยนแปลง)
กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดหลักสูตรฝกอบรมนักปกครองระดับสูง (นปส.) ของกระทรวงมหาดไทย
ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยกําหนดเปาหมายการพัฒนาผูเขาอบรมหลักสูตรฝกอบรมนักปกครอง
ระดับสูง (นปส.) ของกระทรวงมหาดไทยใหเปน “นักบริหารท่ีมีภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนและคุณธรรม
(visionary and ethical leadership) ภาวะผูนําแบบบริหารรวมกัน (collaborative leadership)
ภาวะผนู าํ ดา นดิจิทัล (digital leadership) และภาวะผูนําที่ย่ังยืน (sustainable leadership) รวมทั้งเปน
ผนู ําการเปลี่ยนแปลง (change leaders) ทมี่ คี วามรู ทกั ษะ และสมรรถนะในการบริหารจัดการการพัฒนา
ในระดับพ้ืนท่ี (area-based development) พรอมที่จะกาวขึ้นไปปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงรองผูวา
ราชการจงั หวดั หรือเทยี บเทา ”

๒. ปรชั ญาและแนวคิดของหลักสตู ร
๒.๑ ปรชั ญาของหลักสตู ร
เปนหลักสูตรที่มุงพัฒนานักปกครองและนักบริหารระดับสูงดวยกระบวนการเรียนรู

เพ่ือใหผูที่เขารับการฝกอบรมไดรับการพัฒนาภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนและคุณธรรม (visionary and
ethical leadership) ภาวะผูนําแบบบริหารรวมกัน (collaborative leadership) ภาวะผูนําดานดิจิทัล
(digital leadership) และภาวะผูนําที่ยั่งยืน (sustainable leadership) มีคุณภาพชีวิตท่ีดีในสภาพ
แวดลอมทเ่ี ปลีย่ นแปลง มีความสามารถในการเปนผูนําในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (change leaders)
การขบั เคล่อื นการบริหารเชิงยุทธศาสตรและเชิงบูรณาการในระดับพ้ืนที่ การสงเสริมการสรางนวัตกรรมที่
เก่ียวของกบั การแกปญ หาและพัฒนาพืน้ ที่ เพ่ือใหสามารถบริหารจัดการการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล
ไปสูการปฏบิ ตั ใิ หเ กดิ สมั ฤทธิผลและเปนไปอยางถูกตอง เกิดประโยชนตอประเทศชาติและประชาชนอยาง
ย่ังยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตรพระราชา ซึ่งจะนําไปสูการไดรับการยอมรับ
ความเช่ือมั่น และความศรัทธา (trust and confidence) จากผูรับบริการ ผูมีสวนไดสวนเสีย และจาก
ทุกภาคสวนท่เี ก่ียวของ

๒.๒ แนวคิดของหลักสตู ร
๑. พัฒนาผูเขารับการศึกษาอบรมใหมีภาวะผูนําและความสามารถในการบริหารจัดการ

ตามบทบาทและหนาท่ีสําหรับศตวรรษที่ ๒๑ (leadership and management roles and functions
in the 21st century) ไดอยางเหมาะสมในบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดลอมที่มีความผันผวน (volatility) ความไมแนนอน (uncertainty) ความซับซอน (complexity)
และความคลุมเครือ (ambiquity) (ในทางการบริหารจัดการใชคายอวา VUCA) และสามารถปฏิบัติหนาท่ี

2

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

ในมิติตาง ๆ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน ไดแก การบริหารตนและการบริหารคน การบริหารเปาหมาย
ทิศทาง การบริหารการเปล่ียนแปลง การบริหารทรัพยากรและเทคโนโลยีตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ ซ่ึงรวมถึง
เทคโนโลยีดิจิทัล (digital technology) และการบริหารผลลัพธ โดยเนนการพัฒนาทั้งสมรรถนะท่ีเปน
สากลและสมรรถนะท่ีจําเปนสาํ หรับบรบิ ทราชการไทย

๒. มุงเนนการพัฒนาผูเขารับการศึกษาอบรมใหมีทักษะและสมรรถนะในการบริหาร
จัดการ เพื่อการบูรณาการการทํางานในระดับพ้ืนที่ (area-based approach) โดยเนนกรอบแนวคิด
รฐั บาล ๔.๐ ซึ่งมีองคประกอบ ๓ ประการ ไดแ ก ๑ การเปด กวางและเช่ือมโยงกัน ๒.การยึดประชาชนเปน
ศูนยกลาง ๓. การเปนสวนราชการท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย ท้ังน้ีการทํางานในระดับพ้ืนท่ี
จําเปนตองอาศัยการประสานความรวมมือ (collaboration) กับทุกภาคสวน และสงเสริมการมีสวนรวม
(participation) ของประชาชน ผูมีสวนไดสวนเสียในการแกไขปญหาและการพัฒนาในระดับพื้นที่ เพ่ือให
สามารถนํานโยบาย ยุทธศาสตรและแผนงาน และโครงการตาง ๆ ของรัฐบาลไปสูการปฏิบัติใหประสบ
ผลสําเร็จอยางย่ังยืน เกิดประโยชนสุขแกประชาชนบนพื้นฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
ศาสตรพ ระราชา

๓. พัฒนาผูเขารับการศึกษาอบรมใหมีการเรียนรูไดอยางครบถวนสมดุลในทุกมิติ ไดแก
การเรียนเพ่ือใหเกิดการเรียนรู และการเรียนรูเพ่ือใหรู (learning to learn and learning to know)
การเรียนรูเพ่ือการปฏิบัติตามรูปแบบภาวะผูนํา และการบริหารจัดการของตนในสถานการณตาง ๆ
(learning to do) การเรียนรูเพื่อคุณภาพชีวิตในสภาพแวดลอมท่ีเปลี่ยนแปลง (learning to be) และ
การเรียนรูเพื่อการอยูรวมกันบนความแตกตางและความหลากหลายของบุคคลและสังคม (learning to
live with others) เพ่ือใหนักบริหารระดับสูงไดพัฒนาทั้งในดานความรู การปฏิบัติ การปรับเปล่ียน
พฤติกรรม การมีคุณภาพชีวิต และการทํางานท่ีดีในสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลง มีภาวะผูนําและ
ความสามารถในการบริหารจดั การไดอยา ง เหมาะสมในสภาพสังคมท่ีมคี วามแตกตางหลากหลาย

๔. ใหความสําคัญกับการพัฒนาตนเอง (personal development) และการมีสวนรวม
ในการพัฒนาผูอ่ืนดวยกระบวนการกลุม โดยมีการจัดรูปแบบการเรียนรูท่ีสามารถตอบสนองความจําเปน
(learning needs) ในการพัฒนาภาวะผูนําและสมรรถนะดานการบริหารจัดการ โดยมีเคร่ืองมือและ
กระบวนการประเมินสมรรถนะเพื่อการพัฒนา (formative assessment) การบริหารแผนการพัฒนา
เฉพาะตน (Individual development Plan: IDP) ทเี่ ช่อื มโยงกบั แผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสวน
ราชการ (Organizational Human Resource Development Plan)

3

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

๓. วตั ถุประสงคของหลกั สูตร
๑. เพื่อพัฒนานักปกครองและนักบริหารระดับสูง ใหมีคุณลักษณะที่จะนําไปสูการไดรับการ

ยอมรับ ความเชือ่ ถอื และไววางใจจากผูมีสว นไดส วนเสยี และทุกภาคสวนที่เก่ยี วขอ ง ดงั ตอไปนี้
๑.๑ เปนผูมีภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนและคุณธรรม (visionary and ethical leadership)

เปนแบบอยา งทดี่ ีของขาราชการ ซง่ึ ตอ งปฏิบตั ิงานโดยยึดผลประโยชนของประเทศชาติและประชาชนเปน
ท่ตี งั้

๑.๒ เปน ผูมีภาวะผนู ําแบบบรหิ ารรว มกนั (collaborative leadership) ภาวะผูนําดิจทิ ัล
(digital leadership) และภาวะผูนําท่ียั่งยืน (sustainable leadership) มีสมรรถนะทาง การ
บริหารและขดี ความสามารถพรอมท่ีจะเปนรวมขับเคล่ือนกลไกของรัฐในการขับเคลื่อนการดําเนินงานตาม
ภารกิจขององคการใหบรรลุผลสัมฤทธ์ิอยางยั่งยืน และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีภายใตสภาวะแวดลอมท่ี
เปล่ียนแปลง

๑.๓ เปนผูนําการเปล่ียนแปลง (change leaders) มีความพรอมดานการบริหารจัดการ
เชงิ บูรณาการ เพ่อื บําบดั ทกุ ข บํารงุ สุขของประชาชนในพ้ืนท่ีไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

๒. เพื่อเตรียมความพรอมใหแกผูดํารงตําแหนงประเภทอํานวยการหรือเทียบเทาในการเขาสู
ตําแหนงประเภทบริหาร เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดรับ
ความเชอ่ื ถือไววางใจ ความเชอื่ มน่ั และความศรัทธาจากผทู ่เี ก่ียวขอ ง โดยจัดการเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ ให
ผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนรูและพัฒนาตนเอง มีสวนรวมในการพัฒนาผูอ่ืนตามบทบาทหนาท่ีทาง การ
บริหาร และการมีภาวะผูนําและความสามารถทางการบริหารจัดการในการทํางานและเพื่อการใชชีวิตใน
บรบิ ทสภาวะแวดลอมทเ่ี ปล่ียนแปลงในมิตติ า ง ๆ ครอบคลมุ เน้ือหา ๖ หมวดวิชา ดงั นี้

๑) ภาวะผูนําและการบริหารราชการกับบริบทการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
๒) บทบาทและหนาทขี่ องนักปกครองระดับสูงดานการบริหารทิศทางนโยบาย และ
การบรหิ ารการเปลี่ยนแปลง
๓) บทบาทและหนาทีข่ องนักปกครองระดบั สูงดา นการบริหารผลงาน กบั การบริหาร
จัดการดานทรัพยากรและเทคโนโลยี
๔) บทบาทและหนา ทีข่ องนักปกครองระดับสงู ดา นการบริหารตน และการบริหารคน
๕) ศาสตรพ ระราชา และการประยุกตใ ชในการบริหารการพฒั นาพน้ื ที่
๖) บทบาทของนักปกครองและนักบรหิ ารระดบั สูงในการบรหิ ารการพฒั นาเชิงพนื้ ท่ี
ท้ังน้ีใน ๖ หมวดวิชา ขางตน มีเน้ือหาครอบคลุมความรู ทักษะและสมรรถนะตาง ๆ ท่ีจําเปน
สําหรับนักปกครอง/ นักบริหารระดับสูง ไดแก การตัดสินใจ การส่ือสาร การประสานงาน การประสาน
สัมพันธ การปรับตัวและความยืดหยุน จิตมุงบริการและการบรหิ ารทรพั ยากร
๓. เพื่อสรางเครือขายผูนํา ซ่ึงสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณการทํางาน ใหขอคิดเห็นและ
ขอเสนอแนะตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วของกับการบริหารราชการของประเทศตามสถานการณได

4

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74

กรอบการเรียนรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) ในพ้นื ทีจ่ ังหวัดชลบรุ ี

เร่อื ง
การประเมินประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การปอ งกัน ระงับยบั ยง้ั การระบาดของ

โรคไวรสั โควดิ -19 ในระดบั จงั หวดั ระดบั อําเภอ ระดบั ตาํ บลหมบู า น
ระดบั กลุมอําเภอ ระดับกลุมตําบล ในพ้นื ที่จังหวัดชลบรุ ี

1. ความเปน มา
1.1 ประวัตคิ วามเปน มาและสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองของพ้ืนท่ีที่
ทําการศกึ ษา
1.2 สภาพปญ หาของการระบาดในพน้ื ท่ที ่ีศกึ ษา
1.3 รปู แบบการแกป ญ หาในพ้นื ท่ที ีศ่ กึ ษา
1.4 ความคาดหวังของประชาชนและผปู ฏบิ ตั ิงาน

2. เปา หมายหรือผลลัพธท ่ตี อ งการ
2.1 ราษฎรในพืน้ ทปี่ ลอดโรค
2.2 ผูทีก่ ลบั มาจากพ้ืนท่ที ีโ่ รคระบาดทุกคนตอ งกักตวั 14 วนั

3. แนวทางการดําเนินงาน
3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารจัดการตามคําสั่งของศูนยบริหารสถานการณ
โควดิ -19 และขอสง่ั การของกระทรวงมหาดไทย
3.2 การประยุกตใ หเ หมาะสมกับบรบิ ทและความตอ งการของประชาชนในแตล ะพน้ื ที่

4. ผลการดาํ เนินงาน (ตงั้ แตตน เดือนมนี าคมจนถึงเวลาที่ทําการศึกษา)
5. ปญ หาและอุปสรรคในการดําเนนิ งาน แนวทางแกไข
6. ประโยชนท ่ปี ระชาชนไดรับ
7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมในพ้ืนทที่ ท่ี ําการศึกษา
8. ทศั นคติของภาคสว นตาง ๆ ทงั้ ภาครัฐ ภาคทองถน่ิ ภาคประชาชนและผูไดรับผลกระทบ
9. ปจ จัยแหงความสาํ เร็จในการปฏิบตั งิ าน
10. บทเรียนท่ีไดรบั จากการดําเนินงาน
11. ขอ เสนอแนะตอการปรับปรงุ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของการบริหารจดั การการปองกัน

และยบั ยงั้ การระบาดของโรคไวรสั โควิด-19

5

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ประเดน็ การศกึ ษาเรียนรูเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (Action Learning) มดี งั น้ี
1. การบรหิ ารจดั การปองกัน ระงบั ยบั ยั้งการระบาดของโรคไวรสั โควดิ ในระดับจังหวดั ของจงั หวัดชลบรุ ี
โดยกลมุ ปฏบิ ัติการ (กป.) ท่ี 8
2. การบริหารจัดการปองกนั ระงบั ยบั ยัง้ การระบาดของโรคไวรสั โควิดในระดบั อําเภอของอําเภอบานบงึ
โดยกลุมปฏบิ ัตกิ าร (กป.) ท่ี 3
3. การบริหารจัดการปอ งกนั ระงบั ยับย้ังการระบาดของโรคไวรสั โควดิ ในระดบั อาํ เภอของอําเภอศรีราชา
โดยกลมุ ปฏบิ ัตกิ าร (กป.) ที่ 9
4. การบรหิ ารจดั การปอ งกนั ระงบั ยับยง้ั การระบาดของโรคไวรัสโควิดในระดับอําเภอของอําเภอบางละมงุ
โดยกลมุ ปฏิบัตกิ าร (กป.) ที่ 1
5. การบรหิ ารจัดการปองกนั ระงบั ยบั ยง้ั การระบาดของโรคไวรสั โควิดในระดับอาํ เภอของอําเภอสตั หบี
โดยกลมุ ปฏบิ ตั กิ าร (กป.) ท่ี 2
6. การบริหารจดั การปองกนั ระงบั ยับย้งั การระบาดของโรคไวรสั โควิดในระดับหมูบา นในอาํ เภอบานบงึ
โดยกลมุ ปฏบิ ัติการ (กป.) ที่ 10
7. การบริหารจดั การปอ งกัน ระงบั ยบั ย้งั การระบาดของโรคไวรัสโควิดในระดับหมูบา นในอาํ เภอศรรี าชา
โดยกลุมปฏบิ ตั ิการ (กป.) ท่ี 5
8. การบรหิ ารจัดการปอ งกัน ระงับยบั ยง้ั การระบาดของโรคไวรัสโควิดในระดบั หมบู า นในอาํ เภอสัตหีบ
โดยกลุมปฏบิ ัตกิ าร (กป.) ท่ี 6
9. การบริหารจดั การปอ งกนั ระงับยบั ย้งั การระบาดของโรคไวรสั โควดิ ขององคการบริหารสวนจงั หวดั ชลบรุ ี
โดยกลมุ ปฏิบัติการ (กป.) ที่ 4

10. การบรหิ ารจดั การปองกัน ระงับยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควดิ ของเมืองพัทยา
โดยกลุมปฏบิ ัติการ (กป.) ท่ี 7

6

การเรยี นรูเ ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี 74

การประเมินประสทิ ธภิ าพของการบริหารจัดการปอ งกนั
ระงบั ยับยง้ั การระบาดของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดับจังหวัด

7

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

รายงานการเรยี นรเู ชิงปฏิบัติการ (Action Learning)
การประเมินประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการปอ งกันและระงับยับย้ังการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับจังหวดั ของจงั หวดั ชลบุรี

จัดทําโดย

กลุม ปฏบิ ัติการที่ 8 (กป.8)

1. นางสาววนดิ า แยม สรวล ผูอํานวยการกองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน
2. นายสทิ ธิวรี  วรรณพฤกษ ผอู ํานวยการกองการเจาหนาที่
3. นายอิสรา สุขแจม ใส นายอําเภอเดน ชัย จงั หวัดแพร
4. นายสรุ ยิ า บตุ รจนิ ดา นายอาํ เภออทุ มุ พรพสิ ยั จงั หวดั ศรสี ะเกษ
5. นายเทวษุ ย บริรกั ษส นั ตกิ ุล นายอําเภอภาชี จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
(ชว ยราชการวทิ ยาลยั การปกครอง)
6. นายบญุ ลอื ธรรมธรานุรกั ษ นายอําเภอแมแจม จงั หวดั เชียงใหม
7. นายประพนั ธ ขนั พระแสง ผูอาํ นวยการศูนยปอ งกนั และบรรเทา
สาธารณภยั เขต ๑๘ ภูเก็ต
8. นายไพโรจน โสภาพร พัฒนาการจังหวัดหนองคาย
9. นายสญั ชาติ อุปนนั ชัย ผอู าํ นวยการสาํ นกั ปองกันและปราบปราม
การทจุ ริตในภาครัฐ เขต 4
10. นายบญุ ลอื แผนกทาน ผูอาํ นวยการไฟฟา เขตคลองเตย
การไฟฟา นครหลวง

รายงานน้เี ปน สว นหน่งึ ของการศึกษาอบรมหลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนที่ ๗๔
สถาบนั ดาํ รงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศกั ราช 2563

8

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี 74

คาํ นํา

การเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) การบรหิ ารจัดการปองกนั และระงบั ยับย้ังการระบาด
ของไวรัสโควิด-19 ในจงั หวดั ชลบรุ ี เปน การลงพนื้ ท่ีเพอ่ื ศกึ ษาแนวทางการบริหารจัดการในภาพรวมของจังหวัด
ซงึ่ กลมุ ปฏบิ ตั ิการ(กป.)ท่ี 8 พบวา จงั หวดั ชลบุรีมีจุดแข็ง พอสรปุ ไดดงั น้ี

- ภาวะผูนาํ (Leader Ship)
- การตัดสินใจ (Decision Marking)
- การทาํ งานเปน ทีม (Teamwork)
จึงทําใหเกดิ การมสี วนรว มของทุกภาคสว นภาคราชการ ภาคธุรกิจ-เอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน
ตลอดจนประชาชนในพื้นท่ี ดังเชนการจัดตั้ง “กองทุน ชลบุรีตองรอด” เปนตน จึงทําใหจังหวัดชลบุรี
ปลอดผูต ิดเชื้อรายใหมแลวจนถึงปจจบุ นั (22 มิถนุ ายน 2563) และจากการลงเก็บขอมูลในพ้ืนท่ีและนํามา
วิเคราะห กลุมปฏิบัติการ (กป.) ท่ี 8 ไดเสนอแนะแนวทางการปองกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โควดิ -19 รอบ 2 (ถามี) มาในโอกาสนี้ดวย
กลุมปฏิบัติการ (กป.) ท่ี 8 คาดหวังวาเอกสารการเรียนรูเชิงปฏิบัติการฉบับน้ี คงมีประโยชน
สําหรับการพจิ ารณานําไปเปนสว นชว ยในการแกไขปญ หาฯ ดงั กลา ว ในโอกาสตอไป

คณะผจู ัดทาํ
นกั ศึกษาหลักสตู รนักปกครองระดับสงู รุน ที่ 74

กลมุ ปฏิบัตกิ ารท่ี 8 (กป.8)

9

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนที่ 74

กรอบการเรียนรเู ชิงปฏิบัติการ (Action Learning)
การประเมินประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การปองกันและระงบั ยับยงั้ การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดับจงั หวดั ของจงั หวดั ชลบุรี

1. ความเปน มา

1.1 ประวัตคิ วามเปนมาและสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองของจังหวัด
ชลบุรี

จังหวัดชลบุรีหรือท่ีคนท่ัวไปเรียกกันสั้น ๆ วา “เมืองชล” เปนจังหวัดทองเท่ียวชายทะเลภาค
ตะวันออกท่ีมีช่ือเสียงมาชานาน อีกทั้งมีชุมชนอยูอาศัยยอนไปไดถึงยุคทวาราวดี กลายเปนแหลงส่ังสม
อารยธรรมและความเจริญรุงเรืองในหลายๆ ดาน โดยเฉพาะการทองเที่ยว ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถี
ชีวิตชุมชนและอุตสาหกรรมระดับนานาชาติ สําหรับคนท่ัวไปแลว ชลบุรีอาจเปนที่รูจักในฐานะเมืองตาก
อากาศชายทะเลที่ใกลกรุงเทพฯ โดยเฉพาะหาดบางแสน และพัทยา ซึ่งไดรับความนิยมจากนักทองเท่ียว
ท้ังชาวไทยและชาวตา งประเทศ ตางกเ็ ดนิ ทางเขามาสมั ผัสความสวยสดงดงามของชายทะเลตะวันออกอันมี
มนตเสนหแหงนี้ ปละหลายลานคน ทําเลที่ตั้งอันเหมาะสมสําหรับการคาขายทางทะเลนี้เองสงผลให
ปจจุบันชลบุรีไดรับการวางแผนใหเปนเมืองหลักทางดานอุตสาหกรรม และการคาขายของภาค
ตะวันออก มีทาเรือแหลมฉบังเปนทาเรือพาณิชยสําคัญของประเทศไทย รองก็แตทาเรือกรุงเทพฯ เทานั้น
นอกจากน้ียังมีโรงงานอุตสาหกรรมมากมาย อาทิ โรงกล่ันน้ํามัน โรงงานประกอบรถยนต โรงงานน้ําตาล
ทราย โรงงานมันสําปะหลังอัดเสนและอัดเม็ด และโรงงานผลิตชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนตน
เชนเดียวกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยวท่ีเติบโตอยางตอเนื่อง ดวยเหตุที่ชลบุรีมีแหลงทองเที่ยวและ
กิจกรรมหลากหลาย ท้ังดานธรรมชาติและสรรพชีวิตวัดวาอารามเกาแก วิถีชีวิตชุมชนนาสัมผัส งาน
หตั ถกรรมอันประณีต รวมถึงยงั มสี ถานบันเทงิ ทันสมัยควบคไู ปกับกจิ กรรมผจญภยั หลากรูปแบบ ไมว าจะ
เปนการข่มี า ดาํ นํา้ แลน เรือใบ ขนึ้ เคร่ืองรอน ฯลฯ ซ่งึ ตางก็ชวยสงเสริมใหเมืองชลมีความนาดึงดูดในทกุ มิติ

ปจจุบันชลบุรีมีประชากร 1,558,301 คน (ขอมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562 จากกรมการ
ปกครอง) ซึ่งสวนหน่ึงเปนผูโยกยายเขามาทํางานในภาคอุตสาหกรรมตางๆ ที่ขยายตัวอยางตอเน่ือง
ทวาเม่ือพูดถึงผูคนพ้ืนถ่ินจริงๆ ของชลบุรีแลว จะพบวาคนชลบุรีมีอาชีพผูกพันอยูกับทองทะเล นาไร
ทําปศุสัตวและทําเหมืองแร โดยลักษณะนิสัยของคนเมืองชลดั้งเดิมไดชื่อวาเปนคนจริง ใชชีวิตเรียบงาย
ประหยัดอดออม เอาการเอางาน หนักเอาเบาสู มีความเปนมิตร และพรอมตอนรับผูมาเยือนเสมอ แมทุก
วันน้ีสภาพบานเมืองของชลบุรีจะเจริญรุดหนาไปมาก อีกท้ังมีผูคนตางถ่ินโยกยายเขามาอาศัยผสม
กลมกลืนกับชนด้ังเดิมทวาคนเมืองชลก็ยังคงรักษาขนบธรรมเนียม และประเพณีอันดีงามของตนเอาไว
อยางเหนียวแนนสะทอนออกมาในรูปแบบงานเทศกาลประจําปตางๆ ไมวาจะเปนงานบุญกลางบาน และ
งานเครื่องจักสานพนัสนิคม งานประเพณีวันไหล (งานกอพระทรายวันไหล) ในชวงหลังวันสงกรานต งาน
ประเพณีกองขาวอําเภอศรีราชา งานประเพณีวิ่งควายอันคึกคักสนุกสนาน รวมถึงงานแหพระพุทธสิหิงค

10

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี 74

และงานกาชาดชลบุรี เปนตน เหลานี้ลวนแสดงใหประจักษถึงเอกลักษณความโดดเดนของคนชลบุรีได
อยางชดั เจน

1.2 สภาพปญ หา

สถานการณโควิด–19 จังหวัดชลบุรีเริ่มตนจากวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2563 พบผูติดเช้ือรายแรก
ในจังหวัด ไมทราบวาติดเชื้อจากที่ใด หลังจากน้ัน 1 สัปดาห พบผูติดเช้ือท่ีเดินทางเขามาในพ้ืนท่ีจังหวัด
ชลบุรี 2 ราย เปนผูเดินทางมาจากประเทศอิตาลี และเพิ่มข้ึนจากกรณีสนามมวย และผับยานทองหลอ
ตั้งแตวันที่ 9 มีนาคม 2563 ก็ปรากฏมีรายงานการติดเช้ือภายในจังหวัดชลบุรีเพิ่มข้ึนโดยเฉลี่ยวันละ
2-4 ราย

หลังจากการดําเนินการโดยเขมขน สงผลใหสถานการณการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ลดลง
อยางมีนัยสําคัญ และในหวงเดือนเมษายน 2563 ถือวาจังหวัดชลบุรีประสบผลสําเร็จในการดําเนินการ
ตามมาตรการของจงั หวัด เพราะปรากฏรายงานผูติดเชื้อฯ ภายในจังหวัด 14 ราย และไมพบผูติดเชื้อราย
ใหมอ กี เลยนบั ตง้ั แตวนั ที่ 23 เมษายนเปนตน มา

สรปุ สถานการณจงั หวัดชลบุรีมีผูปวยสะสมจํานวน 87 ราย รักษาหายจํานวน 85 ราย เสียชีวิต
จํานวน 2 ราย โดยจําแนกเปนผูติดเชื้อในจังหวัดชลบุรี จํานวน 53 รายและเปนผูติดเช้ือท่ีเดินทางมา
จากภายนอกจังหวัดชลบรุ ี จํานวน 34 ราย

1.3 รปู แบบการแกป ญ หา

ภายใตกรอบคิด “ไมกลัวคนติดเช้ือ แตกลัวคนติดเชื้อเกินกวาศักยภาพในการบําบัดรักษา”
จงั หวดั ชลบรุ ไี ดม อบหมายใหสาธารณสุขจงั หวัด และ ทท่ี าํ การปกครองจงั หวัดรวมกันรบั ผิดชอบดําเนินการ
ปองกันและแกไขปญหาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) โดยไดกําหนด
มาตรการดาํ เนนิ การทงั้ ในระยะแพรระบาด และระยะผอนปรน รวม 3 มาตรการ คอื

1.3.1 มาตรการการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุม โรคติดเช้ือโคโรนาไวรัส 2019 (COVID – 19)
ของจังหวดั ชลบรุ ี

1) กํากับ ควบคุมพื้นท่ีจังหวัดไมใหมีผูปวยเสียชีวิตและไมมีการแพรระบาดตอเน่ืองใน
ประเทศไทย โดยดําเนินการต้ังจุดเฝาระวัง ควบคุมการเดินทางของประชาชน ปดสถานท่ีเส่ียง แจงเตือน
และใหค วามรูท ีถ่ ูกตองแกป ระชาชน

2) ปองกนั ไมใ หม ีการตดิ เช้ือในบคุ ลากรทางการแพทยและสาธารณสขุ
1.3.2 มาตรการปอ งกันโรคตดิ เชื้อโคโรนาไวรสั 2019 (COVID – 19) ของจังหวัดชลบุรี

1) การสรางวัฒนธรรมลดการแพรกระจายเช้ือ ลางมือบอย ๆ สวมหนากากอนามัย รักษา
ระยะหาง

2) คดั กรองผูเ ขาเกณฑส งสัย เชน มีไข ไอ นาํ้ มกู เจ็บคอ หายใจเหนอ่ื ย
3) หมนั่ ทาํ ความสะอาดอปุ กรณ และบรเิ วณทม่ี ีผูสัมผัสปรมิ าณมาก

11

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

4) การจัดจุดบริการ เชน จดุ บริการเจล ลางมือ การคัดกรองบุคคลตามสถานท่ีตา งๆ
1.3.3 มาตรการจดั การโรคตดิ เชอ้ื โคโรนาไวรสั 2019 (COVID – 19) ของจังหวดั ชลบุรี

1) การเฝา ระวังผปู วยทเ่ี ขา นยิ าม โดยมีขัน้ ตอนการดาํ เนินการ ดงั น้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 คัดกรองผเู ดนิ ทางที่สนามบนิ ใหข อมลู และ Health beware card
ขน้ั ตอนท่ี 2 ควบคมุ กาํ กับใหมีการคัดกรองท่ี OPD ในทุกสถานพยาบาล
ข้นั ตอนท่ี 3 เฝา ระวังและสอบสวนหาสาเหตุปอดอักเสบอาการรุนแรงโดยบุคลากรทาง
การแพทย
ขั้นตอนที่ 4 เฝาระวังในชมุ ชน โดยเฉพาะคนทเี่ ดินทางเขา พ้ืนท่ี

2) การติดตามผูสมั ผัส มกี ารติดตามผูสัมผัสผปู วยยนื ยนั โดยแบงออกเปน 2 กลุม ไดแ ก
กลุม ท่ี 1 กลุม ที่มีความเสยี่ งสูง เชน ญาติ ผูสัมผสั ใกลช ดิ ผรู ว มทวั ร เปนตน โดยมีการ
ตดิ ตามวดั ไขท กุ วนั และเกบ็ ตัวอยา งสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
กลุม ท่ี 2 กลมุ ทม่ี ีความเส่ียงต่าํ เชน เดนิ ทางเทีย่ วบินเดียวกัน และผูส มั ผสั อน่ื ๆ มีการให
สังเกตอาการเอง และมกี ารใหด ําเนินการ Self – report

3) การเตรียมความพรอมการรักษาพยาบาล มีแนวทางการปฏิบตั ิ ดังน้ี
แนวทางท่ี 1 เผยแพร อบรม แนวทางการดูแลรักษาผปู ว ย
แนวทางท่ี 2 จัดระบบการสง ตอและผูเช่ียวชาญใหค าํ ปรกึ ษา
แนวทางที่ 3 เตรียมความพรอมทรัพยากรท่ีเกยี่ วขอ ง
แนวทางที่ 4 เผยแพรแ นวทางการสง เกบ็ ส่งิ สงตรวจทางหองปฏิบัติการ เพือ่ หาโรคตดิ
เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ของจังหวัดชลบุรี
แนวทางที่ 5 การปองกันการแพรกระจายเช้อื ในบคุ ลากร

4) การประชาสัมพันธ มีประเด็นสื่อสารเพ่ือที่จะสรางการรับรูกับใหประชาชน ดังนี้ ลางมือ
ลา งมอื ลา งมือ คือทางรอด ปลอดภยั จากไวรัสโคโรนาสายพนั ธใหม 2019

5) การเปดศนู ยป ฏิบัตกิ ารตอบโตภ าวะฉกุ เฉิน (EOC) มกี ารจัดตั้งศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
(EOC) ของจังหวัดชลบุรี โดยมีนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี เปนผูอํานวยการศูนยปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉิน (EOC) จงั หวดั ชลบุรี เปด ทาํ การ 24 ช่วั โมง ทห่ี มายเลขโทรศัพท 038 – 119777

๒. ผลลพั ธที่ตอ งการ

2.1 ราษฎรในพ้ืนที่ปลอดโรคจากการตรวจยืนยันทางการแพทยในปจจุบันจังหวัดชลบุรีไมพบผูติดเช้ือ
รายใหมม า 55 วันตอเน่อื งตงั้ แตว ันที่ 25 เมษายน 2563 (ขอมูล ณ วันที่ 18 มิถุนายน 2563)

2.2 เน่ืองจากเปนที่ต้ังของ stage Quarantine ถึง 11 แหง เปนตัวแบบทําใหมาตรฐานการ
ตรวจสอบ คัดกรองของจังหวัดชลบุรี และการดําเนินการ Local Quarantine และ Home Quarantine
เปนไปอยางมีคุณภาพ จากการตรวจสอบและควบคุมการเดินทางของประชาชนอยางเขมขนของจังหวัด

12

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนที่ 74

ชลบุรที ําให ผูทก่ี ลบั มาจากพ้นื ที่ทโ่ี รคระบาดทุกคนไดรับการกักตัว เฝาสังเกต อาการ 14 วัน และเปน
หน่ึงในความสาํ เร็จท่ีทําใหการตรวจสอบผูติดเช้ือและนําไปสูการ “ตะครุบตัว” คนรอบตัวผูติดเชื้อประสบ
ความสาํ เรจ็

3. แนวทางการดําเนินงาน

3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการ การบริหารจัดการตามคําส่ัง จังหวัดชลบุรีโดยการนําของผูวา
ราชการจังหวัดไดใชคณะกรรมการควบคุมโรค เปนองคกรบูรณาการหนวยงานที่เกี่ยวของและมีทักษะที่
เหมาะสม เปน ทป่ี รึกษาในการหารอื แนวทางการดําเนนิ การตามคําสงั่ ของศูนยบรหิ ารสถานการณโควิด-19
(ศบค.) และใชการประสานงานนอกแบบในการโทรศัพทสายตรงจากผูวาราชการจังหวัดชลบุรีถึง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย และปลัดกระทรวงมหาดไทย ในการสอบถามและแจงเหตุการณ/
แนวทางปฏิบัติ เพ่อื ใหถกู ตองตามแนวทางของขอส่งั การ

3.2 การประยกุ ตใหเ หมาะสมกบั บริบทพ้นื ท่ี เน่ืองจากบรบิ ทท่ีจังหวัดชลบุรี เปนท้ังจังหวัดทองเที่ยว
แหลงรวมของโรงงานอุตสาหกรรม/ทาเรือพาณิชย และพื้นท่ีเกษตรกรรมสําคัญ ที่มีองคกรปกครองสวน
ทอ งถ่นิ และองคก รภาคเอกชนท่เี ขมแขง็ ผูวา ราชการจังหวัดชลบุรีจึงใหความสําคัญในการนําความรวมมือ
จากทุกฝา ย เปน มาตรการหลักในการดําเนินมาตรการ โดยดําเนนิ การเปน 2 ระยะ ดังนี้

ระยะท่ี 1 : ชวงเวลาการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควิด – 19 (ตนเดือนกุมภาพันธ –
กลางเดือนพฤษภาคม)

1. สถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโควดิ – 19

2. การบรหิ ารจดั การ ปอ งกนั ระงับยับยง้ั การระบาดของโรคไวรสั โควิด – 19 จังหวดั ชลบุรี
2.1 การดําเนินการทางการแพทย/ สาธารณสุข
- การคัดกรองผูปวย โควิด – 19 การสอบสวนผูปวยติดเช้ือ โดยใหแสดงขอเท็จจริงอยางไม

ปดบัง
- การดําเนินการคนหาผูเขาเกณฑสอบสวนโรคเชิงรุก โดยไมปลอยใหเกิดการแพรกระจายใน

วงกวา ง

13

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

2.2 คาํ ส่งั คณะกรรมการโรคตดิ ตอจงั หวัดชลบุรี และประกาศจังหวดั ชลบุรี

คําส่ัง จังหวัดชลบุรี จัดการประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ 11 ครั้ง และไดออกประกาศ
คําสัง่ ฯ จาํ นวน 27 ฉบบั

ระยะที่ 1 : คําสั่งปดสถานที่ ฉบับท่ี 1 – 24 (คําสั่งฉบับที่ 1 ประกาศใชเม่ือวันท่ี 18
มีนาคม 2563) โดยปด สถานทจี่ ํานวน 26 แหง แบงเปนกลมุ ใหญ ๆ เชน สถานประกอบการ โรงแรม การ
พนนั สวนสาธารณะ สถานทีท่ อ งเทย่ี ว พน้ื ทีส่ าธารณะ ชายทะเล หา งสรรพสนิ คา ตลาดนดั

ระยะที่ 2 : คําส่ังผอนคลายใหเปดสถานที่/กิจกรรม ฉบับที่ 25 – 27 = ผอนคลายการปด
สถานที่ กิจกรรม/กิจการตามแนวนโยบายของศนู ยบรหิ ารสถานการณโ ควดิ กระทรวงมหาดไทย แบงเปน 3 ระยะ

1) ระยะท่ี 1 : ฉบับที่ 25 ลงวันที่ 16 พ.ค. 63
2) ระยะที่ 2 : ฉบับท่ี 26 ลงวันที่ 31 พ.ค. 63
3) ระยะที่ 3 : ฉบับที่ 27 ลงวนั ที่ 15 มิ.ย. 63
ผูไดรับผลกระทบจากการประกาศใชคําส่ังคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี ที่ลงทะเบียน
ขอความชวยเหลอื 15 ดา น ในระบบ TQM จาํ นวน 72,215 คน (ขอ มูล ณ วนั ท่ี 15 พ.ค. 63

ประกาศ จังหวัดชลบุรีไดออกประกาศขอความรวมมือจากประชาชนในการดําเนินการงดการ
ดําเนินการ และขอ ปฏิบตั ติ าง ๆ จาํ นวน 9 ฉบบั ใน 3 ประเด็นสาํ คญั ดังนี้

- ประกาศแจง สถานท่ีท่ีพบผูปวยเขาเกณฑสอบสวนโรค และขอความรวมมือผูที่เดินทางไป
พื้นท่ีเส่ยี งตา งๆ ท่มี ีการสมั ผัสใกลชิดผปู ว ย ใหส าํ รวจอาการของตนเอง และแจงเจาหนา ที่สาธารณสุขทราบ
ทนั ที

- ประกาศแจง กิจกรรมที่ขอใหงดการดําเนินการ เชน ขอความรวมมือไมเดินทางออกนอก
พืน้ ทจ่ี งั หวดั ชลบุร/ี ขอใหอยูบ าน หยุดเช้ือ เพื่อชลบุรี/ ขอใหแจงอําเภอ หรือ อปท. ทราบในกรณีตองการ
แจกจายส่ิงของตา งๆ และขอใหง ดการละหมาด เปน ตน

- ประกาศแจง แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด – 19 ตาม
มาตรการของสาธารณสุข เชน การขอใหสวมหนากากอนามัย การลา งมอื ดวยเจลแอลกอฮอล เปน ตน

2.3 การจดั ตงั้ จุดตรวจทําหนาที่ควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา2019
ปจจุบันจังหวัดชลบุรีมีจุดตรวจคัดกรองฯ จํานวน 8 ดาน จัดต้ังตามคําสั่งคณะกรรมการ
โรคติดตอ จงั หวัดชลบรุ ี ฉบับที่ 22/2563 ลงวนั ที่ 7 พฤษภาคม 2563
2.4 จาํ นวนคดใี นชวงประกาศสถานการณฉ ุกเฉนิ ในพนื้ ท่จี ังหวดั ชลบุรี
- ฝาฝนคําส่ังหา มชุมนมุ 47 คดี
- ออกนอกเคหสถานระหวางเวลา 22.00 – 04.00 น. 478 คดี
- จําหนายสนิ คาควบคมุ เกินราคาทก่ี าํ หนด 1 คดี
- ฝา ฝน คาํ ส่ังแยกกัก หรือกักกนั ของเจาพนกั งานควบคุมโรคตดิ ตอ 4 คดี

14

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

2.5 การจดั สรร/การแจกจายหนากากอนามัย จาํ นวนไดร ับจัดสรร 1,591,000 ชน้ิ
(64 คร้ัง) แจกจายใหกลุมเส่ยี งตา ง ๆ ดงั นี้

กลุม ท่ี 1 จํานวน 396,468 ชนิ้
กลมุ ท่ี 2 จาํ นวน 582,689 ชิ้น
กลมุ ท่ี 3 จาํ นวน 298,081 ชิ้น
กลุมท่ี 4 จํานวน 313,762 ชน้ิ
2.6 การปด ใหบ รกิ ารของหนว ยงานราชการทีใ่ หบริการประชาชน
ในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี ปดใหบริการจํานวน 6 แหง ไดแก สํานักทะเบียนอําเภอ/ ทองถิ่น/
สํานักงานท่ีดิน/ สํานักงานขนสง/ สํานักงานประกันสังคม/ สํานักงานหนังสือเดินทางชั่วคราว เมืองพัทยา/
สาํ นักงานพาณิชย
2.7 State Quarantine ในพืน้ ทจี่ งั หวดั ชลบรุ ี มที ้ังสิน้ 11 แหง
- อําเภอบางละมุงโรงแรมจํานวน 9 แหง คือ เบเวอรรี่พัทยา/ เลอบาหลี เบรบีช รีสอรท/
ไบต้ัน แกรนด/ จอมเทียนปาลมบีช/ แกรนด เบลลา/ เมอรเคียว พัทยา/ ซีทรัส แกรนด โฮเทลพัทยา/
ชลจันทรพ ทั ยา ผูเ ขาพักสะสม 5,591 คน กลับบา น 2,756 คน คงเหลือ 2,835 คน
- อําเภอสัตหีบจํานวน 3 แหง คือ แอมบาสซาเดอร/ จอมเทียน ฮอลิเดย อินน/ อาคาร
รับรองฐานทัพเรอื สัตหีบ ผูเขา พักสะสม 3,340 คน กลบั บาน 2,913 คน คงเหลือ 427 คน
2.8 Local Quarantine ในพื้นที่จังหวัดชลบุรีมีจํานวน 7 แหง แบงเปนโรงแรม 4 แหง
ศูนยฝก อบรม 2 แหง และสถานท่รี าชการ 1 แหง รับรองไดจํานวน 356 คน จํานวนผูเขาพักสะสม 242
คน กลับบา น 185 คน คงเหลือ 57 คน
2.9 โครงการฯ ขออนุมัติเงินงบประมาณเพื่อชดใชเงินทดรองราชการในเชิงปองกันหรือ
ยบั ย้งั ภัยพิบัตกิ รณฉี ุกเฉนิ กรณีโรคติดตอจากเชื้อไวรัสโควิด – 19 วงเงินงบประมาณ 50 ลานบาท โดย
ใชด ําเนินการโครงการในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคฯ ของจังหวัดชลบุรี เชน
- โครงการเกย่ี วกับการปฏบิ ัตงิ านของดานตรวจหรือจดุ ตรวจควบคุมการแพรระบาดของโรคฯ
และจดุ ตรวจสถานการณฉ กุ เฉินในพ้นื ทีจ่ ังหวัดชลบุรี
- โครงการเกีย่ วกับการจัดหาวสั ดุอุปกรณในการปองกันและยับยงั้ การแพรร ะบาดของโรคฯ เปน ตน
ระยะท่ี 2 : ชวงเวลาผอนคลายการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด – 19 (กลางเดือน
พฤษภาคม เปน ตนไป)

1. มาตรการปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมใหม New normal ในพื้นทจ่ี ังหวดั ชลบุรี
1.1 การรณรงคการปรบั พฤติกรรมการใชช ีวติ ในรูปแบบใหม
- การเวนระยะหา งระหวางบคุ คล Social Distancing
- สวมหนากากอนามยั /ลา งมอื /การตรวจวัดอุณหภมู ิกอ นเขาใชบ ริการในสถานท่ตี างๆ
- การจัดระเบยี บรา นคา สถานประกอบการตางๆ ตามมาตรการทสี่ าธารณสขุ กาํ หนด

15

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

1.2 การใชแอพพลเิ คชนั่ ไทยชนะ
การนําแอพพลิเคชั่น “ไทยชนะ” มาใชในรานคา หรือสถานประกอบการ ในการใหบริการ
ลูกคาตามมาตรการสาธารณสุขเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อฯ โดยมีฝายปกครอง ทหาร
ตาํ รวจ ตรวจสอบดแู ลใหเ ปน ไปตามนโยบายของรฐั บาลอยางเครง ครดั
1.3 มาตรการเฝา ระวัง โดยศูนยป ฏบิ ัตกิ ารควบคมุ โรค
จังหวัดชลบุรี ไดมีคําส่ังตั้งศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคในทุกระดับ ตั้งแตศูนยปฏิบัติการ
ควบคุมโรคระดับจังหวัด (คําสั่งแตงต้ัง ณ วันที่ 8 พ.ค. 63) / ศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคระดับอําเภอ/
ศูนยป ฏิบตั ิการควบคมุ โรคระดับตําบล/ ศูนยปฏบิ ตั ิการควบคุมโรคเมอื งพทั ยา/ ศูนยปฏิบัติการควบคุมโรค
องคการบริหารสว นจังหวดั ชลบุร/ี ศูนยป ฏบิ ตั ิการควบคุมโรคเทศบาลนครและเทศบาลเมือง
1.4 การจัดระเบียบชายหาด ชายทะเล ตามมาตรการของคณะอนุกรรมการจัดระเบียบ
สงั คมประจําจงั หวดั ชลบรุ ี
- คําสั่ง คกก. ควบคุมโรค ฉบับท่ี 7/2563 ลว. 30 มี.ค. 63 ใหงดใชพ้ืนที่บริเวณชายทะเล
ชายหาด ในพ้นื ทจี่ ังหวดั ชลบรุ ี ต้ังแตเวลา 20.00 น. จนถงึ เวลา 06.00 น. ของวนั ถดั ไป
- คาํ ส่ัง คกก. ควบคมุ โรค ฉบบั ท่ี 26/2563 ลว. 31 พ.ค. 63 ใหผอนคลายสถานที่ โดยให
เปด ใหใ ชพ ื้นท่ีบริเวณชายทะเล ชายหาด ในพ้ืนทจี่ งั หวัดชลบุรี โดยจะตองมีมาตรการจัดระเบียบสังคมตาม
มาตรการที่คณะอนกุ รรมการจดั ระเบียบสงั คมประจําจังหวัดชลบุรกี ําหนด สรุปโดยสังเขป ดงั น้ี
1) การจัดจุดคดั กรอง กอนเขาพืน้ ที่ชายหาด
2) การจดั ระเบียบพื้นที่ ลดความแออดั ของนักทองเท่ียว ตามมาตรการ Social Distancing
3) การลงทะเบียน “ไทยชนะ” ในสวนของรานคาและผูเขาใชบริการรานคา ตองเช็คอินใช
แอพพลเิ คช่นั ไทยชนะทุกครัง้
1.5 การใหบริการประชาชนเก่ยี วกบั งานทะเบียนในรปู แบบใหม (New Normal)
- จงั หวัดชลบรุ ี แจงสํานักทะเบียนอําเภอ และสํานักทะเบียนทองถิ่น ทุกแหง ดําเนินการตาม
มาตรการใหบริการประชาชนเก่ียวกับงานทะเบียนและบัตรประจําตัวประชาชนรูปแบบใหม โดยมี
หลักเกณฑการปฏิบัติการใหบริการ ทั้งกอนเขารับบริการ ขณะเขารับบริการ สถานที่ใหบริการ และ
เจา หนาที่ผใู หบ ริการ

2.มาตรการชว ยเหลือและเยียวยาประชาชนที่ไดรบั ความเดือดรอนในพ้นื ท่จี งั หวดั ชลบุรี

2.1 แนวทางการแจกจายสิ่งของจังหวัดชลบุรี ไดมอบหมายใหอําเภอทุกอําเภอ ตรวจสอบ
ดูแลแนวทางการปฏิบัติในการแจกจายใหเปนไปตามมาตรการการเวนระยะหางทางสังคม (Social
Distancing) อยา งเครง ครัด

2.2 ตูปนสุขจังหวัดชลบุรี มีการจัดตั้งตูปนสุข ตามสถานท่ีตาง ๆ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี รวม
185 แหง ผูรับผดิ ชอบคือ รฐั บาลใหก ารดแู ล 85 แหง เอกชนใหก ารดูแล 102 แหง

16

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

2.3 กองทุนชลบุรีตองรอดเปดตัวกองทุนฯ วันที่ 17 เมษายน 2563 โดยนายภัครธรณ
เทียนไชย ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี และนายวิทยา คุณปล้ืม นายก อบจ.ชลบุรี ดําเนินการจัดตั้งกองทุน
เพื่อรับเงินบริจาครวมสมทบการชวยเหลือผูไดรับความเดือดรอนฯ และนําไปใชแกไขปญหาที่จําเปน
เรง ดว น เชน โครงการปนสขุ มอบถุงนํ้าใจชลใหป ระชาชน

2.4 หลักเกณฑการชวยเหลือประชาชนของ อปท. (ครัวเรือนละ 1,000 บาท)
หลกั เกณฑการคัดเลือก ผูที่มีสิทธิไดรับเงินเยียวยา ดังน้ี สัญชาติไทย/ อายุ 18 ปข้ึนไป/ ไมเปนเจาหนาที่
ของรัฐ ขาราชการบํานาญ หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ/ ตองอยูในทะเบียนบาน ในเขตอปท. นั้นๆ/ มีฐานะ
ยากจน/ เปน ผูไดรับผลกระทบตามมาตรการเฝาระวังการระบาดของโรคโควิด - 19 ปจจุบันไดดําเนินการ
ชวยเหลือมอบเงนิ เยียวยาฯ ไปแลว 116,000 ครวั เรือน

๔. ผลการดาํ เนินงาน (มนี าคม-ปจ จบุ ัน)

จากสถานการณก ารระบาดของโรคไวรัสโควิด – 19 จังหวัดทองเที่ยวทางทะเลอยางจังหวัดชลบุรี
จึงไดรับผลกระทบอยางรุนแรง โดยปรากฏวาท่ีผานมาจังหวัดชลบุรีมีผูปวยสะสมจํานวน 87 ราย รักษา
หายจํานวน 85 ราย เสียชีวิตจํานวน 2 ราย โดยจําแนกเปนผูติดเชื้อในจังหวัดชลบุรี จํานวน 53 ราย
และเปนผูติดเช้ือท่ีเดินทางมาจากภายนอกจังหวัดชลบุรี จํานวน 34 ราย อยางไรก็ดีในปจจุบันจังหวัด
ชลบุรีไมพบผูติดเชื้อรายใหมมา 55 วันตอเนื่องตั้งแตวันท่ี 23 เมษายน 2563 (ขอมูล ณ วันท่ี 18
มิถุนายน 2563) และจากผลของการดูแล เยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนา
2019 (โควดิ -19) ครัวเรือนในจงั หวดั ชลบุรีไดร บั การดูแลแลว ไมน อ ยกวา 116,000 ครัวเรอื น

5. ปญหา อปุ สรรคในการดําเนนิ งาน แนวทางแกไข

จากการท่จี ังหวดั ชลบรุ ีเปน จังหวดั ท่มี ีฐานะทางเศรษฐกจิ ในระดับตน ๆ ของประเทศ ทําใหจังหวัด
ชลบุรี มีศักยภาพท่ีไดเปรียบมากกวาอีกหลายจังหวัด แตในขณะเดียวกัน ความเจริญทางเศรษฐกิจทําให
การดําเนินการของจังหวัดเกิดปญหาอุปสรรคที่สําคัญหลายประการ แตอยางไรก็ตาม จังหวัดชลบุรีได
ตระหนักและกําหนดแนวทางการแกไ ข รวมสรปุ ทส่ี าํ คัญ ดงั นี้

5.1) มนี กั ทองเทีย่ วและผูเดนิ ทาง เขามาในจังหวดั ชลบุรีจํานวนมาก ทําใหการติดตาม ตรวจสอบ
Time Line ผูติดเช้ือเปนไปดวยความยากลําบาก ซ่ึงจังหวัดชลบุรีไดกําหนดการแกไขโดยจัดต้ังจุดตรวจ
หลักเพ่ือทําหนาที่คัดกรอง ตรวจสอบการเคลื่อนยายของประชาชนโดยบูรณาการหนวยงานท่ีเก่ียวของ
จาํ นวน 8 จดุ ดงั น้ี

- อาํ เภอเมืองชลบุรี บริเวณถนนสุขุมวทิ ฝงขาออก
- อาํ เภอศรีราชา บรเิ วณหนา สภ.ศรีราชา ฝงขาออก
- อําเภอบางละมงุ บรเิ วณตรงขา ม สภ.บางละมงุ ฝงขาเขา เมืองพทั ยา
- อาํ เภอสตั หบี บริเวณสาํ นักงานเทศบาลนาจอมเทยี น

17

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

- อาํ เภอพานทอง บริเวณศนู ย อปพร.
- อาํ เภอพนัสนคิ ม บริเวณถนนทางหลวงหมายเลข 330 ฝงขาออก
- อาํ เภอหนองใหญ บริเวณจุดใหบรกิ ารประชาชน หนวยบริการตํารวจทางหลวงหนองใหญ
- อาํ เภอเกาะสีชงั บริเวณสีแ่ ยกทา ลา ง
5.2) มีผูฝาฝนขอกําหนด ออกตามความในมาตรา 9 แหงพระราชกําหนดการบริหารราชการใน
สถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.2548 เปนจํานวนมาก ทําใหประชาชนขาดความเช่ือม่ันตอการดําเนินมาตรการ
ของจังหวัด ซ่ึงจังหวัดชลบุรีรวมกับหนวยงานความมั่นคงในพ้ืนท่ี ไดออกดําเนินการตามขอกําหนด
กฎหมายโดยเครง ครดั
5.3) เกิดกระแสขาวลวง (Fake News) ในส่ือออนไลนที่โจมตีการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่
ภาครฐั ทาํ ใหประชาชนเกดิ ความเขา ใจท่ีคราดเคลอ่ื นจากความเปน จรงิ ซง่ึ จังหวัดชลบุรีไดดําเนินการจัดตั้ง
ศูนยปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉิน (EOC) ในการตรวจสอบและตอบโตเหตุการณเกิดข้ึนโดยปจจุบันทัน
ดวน และอาจสงผลรายแรงแกประชาชน รวมถึงการตรวจสอบและแกไขกระแสขาวลวง โดยเปดทําการ
24 ชั่วโมง

6. ประโยชนท่ปี ระชาชนไดร บั

6.1 ประชาชนทั่วไป ไดรับการปองกันจากการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) อยางท่ังถึง
เปน ธรรม

6.2 ผูต ิดเชื้อฯ ไดรบั การตรวจพบและบําบัดรกั ษาจนหายเปน ปกติอยา งทันทวงที

7. ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คม

7.1 เศรษฐกิจหยุดชะงัก จากสภาวะการลดลงของนักทองเที่ยว โรงแรม สถานบริการ สถาน
ประกอบการ รา นคา โรงงานอตุ สาหกรรมหยดุ กิจการ เกิดการชะลอหรือเลกิ การจางงาน

7.2 เกิดวิถีการดาํ เนินชีวิตใหม (New Normal) ในสังคม
7.3 แหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติมเี วลาในการฟน ฟูสภาพ

8.ทัศนคติของภาคสวนตาง ๆ รฐั ทอ งถิ่น ประชาชน

ทัศนะคติของเจาหนาท่ีภาครัฐ ไมวาจะเปนฝายปกครอง สาธารณสุข ทหาร ตํารวจ พลเรือน ทุก
สวนราชการ องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกระดับต้ังแตองคการบริการสวนจังหวัด เทศบาล องคการ
บริหารสว นตําบล และ เมืองพัทยา ตลอดจนภาคเอกชน ประชาชน ตางมองเหน็ เปนทิศทางเดียวกันวาการ
แพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) นี้เปน วาระแหงชาติ ท่ีทุกฝายตองรวมมือกันอยาง
จริงจงั เพอื่ ผา นวิกฤตนิ ้ไี ปดว ยกนั

18

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

9. ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ

9.1 ผูวาราชการจังหวัดมีภาวะความเปนผูนําสูง กระบวนการคิดและตัดสินใจ บนฐานของการมี
สวนรวมที่จะเสนอความคิด(ระดมสมอง) อยูในกรอบการปฏิบัติของกฎระเบียบ ท่ีมุงประโยชนตอ
ประชาชนอยาง “รอบดาน เปนธรรม และทั่วถึง” จึงเปนที่ยอมรับและไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน
ทกุ หนว ยงาน

9.2 การรวมดําเนินการท่ีทุกภาคสวนตางปฏิบัติหนาที่ตามภารกิจงาน แตใชจุดมุงหมายและ
วถิ ีทางเดยี วกัน (ทมี งาน/ บรู ณาการ)

9.3 การประสานการปฏบิ ตั ิอยางสอดคลอง ลงตัว ของการปกครองทองท่ี (จังหวัด อําเภอ ตําบล
หมูบาน) กับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล
เมืองพทั ยา)

10. บทเรียนท่ีไดรับ

จากการรวบรวมขอ มูลการปฏิบัติงาน และผลสําเร็จของการบริหารจัดการ การปองกัน และระงับ
ยบั ยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับจังหวัด ของจังหวัดชลบุรี พบวา รูปแบบการปกครองของ
ประเทศไทยท่ีแบงอํานาจการปกครองออกเปนสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถ่ินดังในปจจุบัน เปน
ทุนทางสังคม – การเมือง ท่ีมีความเหมาะสมกับวัฒนธรรม วิถีชีวิตของประชาชนชาวไทยเปนอยางมาก
โดยท่ีการใชอํานาจทางการปกครอง ในแนวดิ่ง ที่ราชการสวนกลาง/กระทรวงวางเปนกรอบการปฏิบัติ ก็
ยังใหความสําคัญกับการยืดหยุนในการปรับใชใหเหมาะสมกับแตละภูมิภาค/จังหวัด/อําเภอ ใน
ขณะเดียวกัน หนวยการปกครองสวนทองถ่ิน ก็มีสวนรวมในการนําแนวนโยบายของราชการสวนกลางไป
ปฏบิ ตั ิในพืน้ ท่โี ดยประสานสอดคลอยอยางเปนทิศทางเดียวกัน กับภูมิภาค/จังหวัด/อําเภอ เฉพาะอยางย่ิง
ในแงงบประมาณ จึงอาจกลา วไดอ ยางชดั เจนวา ความสาํ เรจ็ ในการพัฒนาหรอื ขับเคลื่อนประเทศไทย ไมวา
ในเรื่องใด จะสําเร็จไดดวยความสมานฉันทของระบบการปกครองสวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น
อยา งมีเอกภาพภายใตหลักการ Single of Command และ Unity of Command

19

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

รัฐบาล

พรบ.โรค พรก.ฉุกเฉนิ
อบจ.
ศบค.
กระทรวง

ศศศบบบคคค.จ..จจววว

สว นราชการ จ.

พทั ยา อออาํ าํ เําเภเภภอออ สวนราชการ อ.
อปท. หหหมมมูบูบูบา านา นน ตําบล

อาสาสมคั ร ประชาชน ผูรบั ผลกระทบ คนไทย
จติ อาสา ตา งชาติ

11. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการ
ปองกนั และยับยง้ั การระบาดของโรคไวรัสโควิด-19

11.1 ควรมอบหมายใหมีหนวยงาน/บุคลากร ทําหนาที่ในการสื่อสาร ใหขอเท็จจริง โดย
ปราศจากการปดบังขอมูล โดยส่ือสารไปดวยความสุภาพ นาเช่ือถือ เพ่ือใหไดรับความไววางใจจาก
ประชาชน และไดรับความรวมมือจากประชาชน และภาคเอกชน อยางเต็มกําลัง ผานกลไกระดับพื้นท่ี
หมูบาน/ชุมชน เชน คณะกรรมการหมูบาน (กม.) อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.)
อาสาสมัครทรัพยากรและส่ิงแวดลอ มหมูบาน (ทสม.) อาสาสมคั รเกษตรหมูบ าน (กษม.) เปนตน

11.2 หนวยงานที่เกี่ยวของควรเรงสรางและทําความเขาใจในความสําคัญของวัฒนธรรมนํ้าใจไทย เชน
กิจกรรมที่แสดงออกถึงความเห็นอกเห็นใจ เอ้ือเฟอ เอ้ืออาทรตอกัน อันจะเปนการลดคาใชจายภาครัฐใน
ระยะยาว และเปนการสรางการมสี ว นรวมในการดูแลตนเองของภาคประชาชนดวย

20

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

11.3 รณรงคการดํารงชีวิตวิถีใหม (New Normal) ใหสามารถสรางภูมิคุมกันในการปองกันการ
แพรร ะบาดระยะใหม (ถามี) ไดอ ยางรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ

11.4 เรงรัดการใหความชวยเหลือ ฟนฟูระบบเศรษฐกิจแบบ Big push คือ ฟนฟูพรอมกันทุก
ภาค ทั้งภาคการทองเท่ียว ภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชกรรม ภาคเกษตรกรรม เพื่อใหเกิดการจางงาน
และเกดิ การไหลเวียนของกระแสการใชจ ายอยางท่ัวถงึ และรวดเร็ว โดยเฉพาะประชาชนในระดับครัวเรือน
และหมบู า น ผา นบริการพเิ ศษเพิ่มเติมตา งๆ ดวยบัตรสวัสดกิ ารแหงรัฐ

11.5 นําเสนอแผนยุทธศาสตรการรับมือการแพรระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ระยะ 2
รายละเอียดตามเอกสารแนบ

*****************************

แผนยทุ ธศาสตร
“ชลบุรไี ทยชนะ Smart and Safety City”

การจดั ทําแผนยุทธศาสตร 8 ข้นั ตอน

ข้ันที่ 1 การกาํ หนดความจาํ เปนทางยทุ ธศาสตร (Strategic Need: SN)
จากการศึกษาวิเคราะหและวินิจฉัย สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดลอม ผูมีสวนไดเสีย

และ Dynamic change พบวา จ.ชลบรุ ี “เปนเมอื งศนู ยกลางการทองเที่ยวระดับโลก และมีความจําเปนที่
จะตอ งวางแผนยุทธศาสตรในการรับมือการแพรระบาดโรคติดเชื้อจากไวรัส COVID-19 ระยะท่ี 2 รวมทั้ง
โรคระบาดชนดิ อนื่ ๆ ทม่ี ีการแพรระบาดรุนแรงในลักษณะ Pandemic เชน เดียวกับ COVID-19”

ขั้นท่ี 2 การกาํ หนดตาํ แหนงทางยุทธศาสตร (Strategic Positioning: SP)
จากการศึกษาปจจัยทั้ง 5 ประการ ไดแก ความสําคัญ ผลกระทบ สภาพปญหา ความเปนไปได

และความเชื่อมโยงของนโยบาย พบวา SP ของ จ.ชลบุรี คือ “การเปนศูนยกลางการทองเท่ียวและ
อุตสาหกรรมปลอดภัยในทุกมิติ บนพื้นฐานของความหลากหลายทางวัฒนธรรม ระบบนิเวศน
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม และนวัตกรรมที่สมัยใหม โดยสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัส COVID-19 จังหวัดชลบุรี สามารถปองกัน ยับยั้งการแพรระบาดไดเปนอยางดี จนถึงขณะนี้ 22
มิถุนายน 2563 ไมพ บรายงานวา มีผูติดเช้อื รายใหม (ยอดเปน 0) เปนวนั ที่ 57”

ข้นั ที่ 3 การวเิ คราะห SWOT และ การกําหนด VISIONS ของจังหวดั ชลบุรี
จุดแข็ง (Strengths) มีทรัพยากรดานการทองเที่ยวที่หลากหลาย ท้ังทรัพยากรธรรมชาติ

โครงสรางพ้ืนฐาน สถานประกอบการดานการทอ งเท่ยี ว สงิ่ อํานวยความสะดวกที่พร่ังพรอม ผูประกอบการ
ภาคเอกชนเปนมืออาชีพ และองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีความแข็งเขม ใหความรวมมือกับทางราชการ
สวนภูมิภาคและสวนกลางเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวกัน (ทีมชลบุรีไทยชนะ) และท่ีสําคัญประสบความสําเร็จใน
การรบั มอื กบั สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ COVID-19 ไดเปน อยา งดี

21

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

จุดออน (Weaknesses) เปนเสนทางหลักในการเดินทางไปสูจังหวัดอื่นของภาคตะวันออกมี
การจราจรคับค่ัง มีผูคนจากตางทองที่และชาวตางชาติเดินทางเขามาประกอบอาชีพในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี
เสี่ยงตอการกอ ใหเ กดิ อุบตั เิ หตทุ างถนน และอาชญากรรมในรปู แบบตา ง ๆ

โอกาส (Opportunities) เปนเมืองทองเที่ยวท่ีมีช่ือเสียงเปนท่ีรูจักในระดับโลก ตางชาติยอมรับ
ไทยสามารถรับมือกับสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อจากไวรัส COVID-19 ไดดีมาก และเปน
ประเทศกําลังพัฒนาประเทศเดียวท่ีสามารถรับมือการแพรระบาดไดดีเปนอันดับที่ 6 ของโลก และเปน
อันดับที่ 1 ของเอเชีย และรัฐบาลมีนโยบายใชจ ายงบประมาณจาก พรก.เงินกู เพ่ือการปองกัน ยับยั้ง และ
ฟนฟู ผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ประกอบกับ
กระทรวงมหาดไทยมีนโยบายโครงการจางงานเพื่อการปองกันและยับยั้งการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั COVID-19

ภัยคุกคาม (Threats) เกิดสถานการณการแพรระบาดระยะท่ี 2 ของโรคติดเช้ือไวรัส COVID-19
ในประเทศสหรัฐอเมริกา จีน ญปี่ ุน และเกาหลใี ต สงผลกระทบตอ การเปดประเทศเพื่อรับนักทองเท่ียวชาว
ตา งประเทศ และผูประกอบการและการจางงานในภาคธุรกจิ ตา ง ๆ

Visions วิสยั ทัศน จ.ชลบรุ ี ภายใตส ถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส COVID-19 คอื
“เปนศูนยกลางการทองเทีย่ วและการนิคมอตุ สาหกรรมปลอดภยั ในทกุ มติ ิบนพืน้ ฐานของความหลากหลาย
ทางวฒั นธรรม ระบบนเิ วศนแ ละสง่ิ แวดลอ มทดี่ ีตอ คณุ ภาพชีวติ ภายใตนวตั กรรมที่ล้าํ สมัย”

ขัน้ ที่ 4 ประเด็นการพัฒนา (ยุทธศาสตร) การกําหนดพันธกจิ (Missions) และประเด็นยุทธศาสตร
(Strategic Issues) การกําหนดเปา ประสงค (Goals) และเปาหมาย (Targets)
ยทุ ธศาสตร “เมอื งศนู ยก ลางการทอ งเท่ียวปลอดภยั ในทุกมิติ” (3 ระยะ)

Mission การจัดการการทองเทีย่ วและการนคิ มอุตสาหกรรมปลอดภัยในทุกมติ ิ
Goals นกั ทอ งเท่ียวและประชาชนชาวชลบุรีทุกคนปลอดภัยจากโรคติดเช้ือไวรัส COVID-19 และ
ภัยอาชญากรรม
Target จํานวนผูติดเชื้อ ผูปวย และผูเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ของจังหวัดชลบุรี
เปนศูนย (0) ภายในเดือนตลุ าคม พ.ศ.2563 เปนตนไป
Target สถติ ิคดีอาชญากรรมของจังหวัดชลบรุ ีลดลงไมนอ ยกวา รอยละ 50 ภายในป 2564

ข้นั ที่ 5 การกาํ หนดกลยุทธ (การแปลงยุทธศาสตรไ ปสูก ารปฏบิ ัต)ิ
ระยะที่ 1 กลยุทธ “การปอ งกนั และยับยั้งการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั COVID-19

ดาวกระจาย” (Mission base - Basic change)
โครงการจัดตง้ั ชดุ ปฏบิ ัติการเคร่อื งที่เร็ว “ชลชนะ COVID-19” เพือ่ เปน การปอ งกนั และยบั ยง้ั การ

แพรระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัส COVID-19 ระยะท่ี 2 ซึ่งอาจเกินขึน้ ในประเทศไทย โดยแนวคดิ การ
ทาํ งานตรวจคัดกรองโรคเชิงรุก ไมต องต้งั ดานเพื่อรอคัดกรองหรือรอใหม ีผูติดเชื้อผปู วยเกดิ ข้นึ กอน แตเ ปน
การสาํ รวจตรวจสอบคัดกรอง“แบบดาวกระจาย ถงึ บาน-ถึงรถ-ถึงคน” ทํางานตรวจคัดกรองกลุมเสย่ี งใน
สถานท่หี รือจุดเสีย่ งตาง ๆ เชน กลมุ นกั ทองเท่ียวที่แสดงอาการไอ มีไขเ กนิ คามาตรฐาน กลุมนักทองเที่ยว
ที่ไมปฏิบตั ติ ามมาตรการ New normal กลุมนักทองเท่ียวทีม่ พี ฤตกิ รรมเสีย่ ง (เดก็ แวน มั่วสมุ รวมกลุม ด่มื
สรุ า) รวมทัง้ นักทองเทย่ี วทีเ่ ดินทางมาจากประเทศกลุมเส่ียง เปนตน

โดยการจดั ตง้ั ชดุ ปฏบิ ัตกิ ารเครอื่ งท่ีเร็ว “ชลชนะ COVID-19” ทุกหมบู า น/ชมุ ชน ๆ ละ 1 ชดุ
และเพิ่มขน้ึ สาํ หรับหมบู าน/ชุมชนท่เี ปน สถานที่ทองเทย่ี วและมนี ักทอ งเทีย่ วเดนิ ทางมาใชบ รกิ ารเปน

22

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

จํานวนมาก เชน หาดบางแสน หาดพัทยา อางศิลา สวนนงนุช และสถานทีท่ องเทย่ี วทม่ี ีชือ่ เสยี งอน่ื ๆ ใน
สดั สว นท่ีเหมาะสมกับจํานวนคน ทสี่ าํ คญั จะตอ งเนนออกตรวจคดั กรองใหเ หมาะสมกับชวงเวลา เชน วนั
เสาร อาทิตย วนั หยุดนักขัตฤกษ ทมี่ ีคนมาทองเที่ยวจํานวนมาก “มีการสมุ ตรวจวัดอุณหภมู ิ สังเกตอาการ
และท่สี ําคัญใหมีการสุมตรวจโดยวธิ ีการ Throat Swab เพื่อตรวจหาเชื้อดว ยชุดตรวจพเิ ศษ”

ระยะท่ี 2 กลยุทธ เมอื งทองเทีย่ วปลอดโรค “AI –CCTV กลองตรวจคัดกรองโรคอัจฉรยิ ะ”
(Creative Base - Advance change)

โครงการจัดหาระบบคดั กรองโรคติดเช้อื ไวรัส COVID-19 ระยะที่ 2 ดวยระบบ AI-CCTV กลอง
ตรวจคัดกรองโรคอัจฉรยิ ะ

เพ่อื ใหมรี ะบบตรวจคดั กรองโรคกลอ งตรวจคดั กรองโรคติดเชือ้ ไวรสั COVID-19 ผา นทางกลอง
CCTV ดว ยระบบการประมวลผลขอมลู ทใ่ี ช AI ในการทาํ งาน เปน การพฒั นาระบบการตรวจคดั กรองโรค ที่
จดั ทําขึ้นเพอื่ สนับสนุนชดุ ปฏบิ ตั กิ ารดาวกระจาย ของกลยุทธระยะท่ี 1 ซง่ึ สามารถตรวจคดั กรองไดตลอด
24 ชวั่ โมง ผา นกลอ ง CCTV อจั ฉรยิ ะทีเ่ ชื่อมโยงกับระบบ CCTV เดมิ ซง่ึ มอี ยูแลวเกือบทุกแหง ภายในเขต
จังหวดั ชลบุรี โดยจะตองจดั หาระบบกลอง CCTV และระบบปฏิบัตกิ าร AI ทส่ี นบั สนนุ ระบบการทาํ งาน
เพอื่ การปอ งกันและยบั ย้งั การแพรระบาดโรคตดิ เชือ้ ไวรัส COVID-19 ระยะที่ 2

ระยะที่ 3 กลยุทธท ี่ 3 “ชลบรุ ีไทยชนะ Wristband (นาฬกิ าสายรัดขอมืออัจฉริยะ)”
(Innovation Base - Advance change)

โครงการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการดิจิทัลเพื่อการปองกัน ยับย้ังการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
COVID-19 ระยะที่ 2 ผานโปรแกรม (Application) นาฬิกาสายรัดขอมอื อัจฉริยะ

วัตถุประสงค เพ่ือใหมีระบบการปองกัน ยับยั้ง การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19
ผานนวัตกรรม Wristband นาฬิกาสายรัดขอมืออัจฉริยะ ซ่ึงใชสําหรับติดตามตัวนักทองเที่ยวและชาว
ชลบุรีแบบเรียลไทม โดยสามารถวัดอุณหภูมิรางกายและตําแหนงที่อยูปจจุบัน ประมวลผลขอมูลแบบ
เรียลไทมผานระบบคอมพิวเตอรออนไลน โดยมีศูนยปฏิบัติการดิจิทัลที่ทําหนาท่ีลงทะเบียน ตรวจติดตาม
และประมวลผลขอมูลอุณหภูมิ ตําแหนง ปจ จบุ ันของผูสวมใสนาฬิกาสายรัดขอมืออัจฉริยะ ทําใหทราบวาผู
สวมใสมีอุณหภูมิรางกายเขาขายตองสงสัยวาจะเปนผูติดเช้ือ หรือผูปวย และยังทําใหทราบวามีผูใดบาง
เปน ผสู มั ผัสใกลชิดโดยทราบจากตําแหนงของนาฬิกาฯ ของประชาชนแตละคน

โครงการสิทธิพิเศษสําหรับผูสวมใส ชลบุรีไทยชนะ Wristband (ซ้ือประกันสุขภาพราคาถูก
สําหรับนักทองเที่ยว เพ่ือรับการรักษาพยาบาลฟรี หากปวยดวยโรคติดเช้ือไวรัส COVID-19 นอกจากน้ียัง
สรางแรงจูงใจโดยการมอบสวนลดพิเศษตางๆ ผานรานคา โรงแรม สถานบริการ และสถานประกอบการ
รอยละ 5 ถึง รอยละ 20 สําหรับนักทองเท่ียวท่ีสวมใส ชลบุรีไทยชนะ Wristband) เพ่ือเปนการสราง
แรงจูงใจใหประชาชนและนักทองเท่ียวใหความรวมมือในการสวมใส นาฬิกาสายรัดขอมืออัจฉริยะ
ตลอดเวลาทีพ่ ํานกั อยภู ายในเขตจงั หวัดชลบรุ ี

โดยใหมกี ารขยายผลไปยังโครงการ/กิจกรรมรักษาความสงบเรียบรอยและความมั่นคงภายในผาน
ระบบ ชลบุรไี ทยชนะ Wristband และการปองกนั และยับยั้งโรคฯ ในพนักงานและแรงงานท่ีปฏิบัติงานอยู
ภายในการนิคมอตุ สาหกรรมทุกแหง เพอ่ื ปองกัน ยบั ย้ัง การแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ใน
เจาหนา ทแ่ี ละแรงงานของบริษัทในการนคิ มอุตสาหกรรม ผานนวัตกรรม Wristband นาฬิกาสายรัดขอมือ
อจั ฉรยิ ะ

23

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

ขน้ั ที่ 6 การกําหนดตวั วัดผล(ตัวช้ีวัด) KPI
ระยะที่ 1 จํานวนชุดปฏบิ ัติการเคร่ืองท่เี รว็ “ชลชนะ COVID-19” ของจงั หวัดชลบรุ ไี ดร ับการ

จัดตัง้ ครบทุกหมูบาน/ชมุ ชน” คิดเปนรอ ยละ 100
ระยะที่ 2 ศูนยปฏิบัติการพรอมระบบกลอง AI-CCTV ไดรบั การจดั ติดต้งั พรอมสามารถเปด

ระบบปฏิบตั ิการไดภายในเดือนตุลาคม 2563
ระยะที่ 3 จาํ นวนประชาชนและนกั ทองเทีย่ วทุกคนทีเ่ ดนิ ทางเขาเพ่ือทองเทย่ี วในเขตจงั หวดั ชลบุรี

จะตองสวมใสนาฬิกาสายรดั ขอมืออัจฉริยะ รอ ยละ 100 ภายในเดือนป พ.ศ.2564
ขน้ั ที่ 7 นาํ ยทุ ธศาสตรไปสูการปฏิบัติ (Do Check Action)
ขั้นที่ 8 สรปุ ผลการปฏิบัติ เพอื่ พัฒนาอยา งตอเนือ่ ง (Dynamic change)

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ (Key Success Factor) ทส่ี ําคัญ คอื
ภาวะผูนาํ การบริหารงานแบบ Collaboration –Innovation- Digitalization ภายใตก าร
ทํางานรว มกันกับทีมชลบรุ ีไทยชนะ ทีป่ ระกอบไปดวย ความรวมมือรวมแรงรว มใจจากทกุ ภาคสวน ทั้ง
ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน และองคก ารตา ง ๆ ในรูปแบบประชารฐั ดวยการใชน วตั กรรมใน
การขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรต า งๆ มีการปรับเปลี่ยนรับมือสถานการณที่เปล่ียนแปลงไปแบบ Dynamic
change

MOTTO
“1 ลานหัวใจ 1 ไทยชนะ”
“ 1 Million Hearts 1 Thai Chana”

24

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

ภาคผนวก

25

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

ภาพกิจกรรมการปฏิบตั งิ านของจงั หวัดชลบุรี

ทานผวู า ราชการจังหวัดกรุณาบรรยายสรุป การดาํ เนนิ การของจงั หวดั ชลบุรี

ลงพื้นที่รับทราบขอมูลจริงจากทา นสาธารณสุขจงั หวดั และชมุ ชนในเขตจังหวดั ชลบุรี

รบั ขอ มูลสาํ คญั จากทา นรองผวู า ราชการจงั หวดั ปลัดจังหวัด หวั หนา สํานกั งานจังหวดั
ผแู ทนสาธารณสขุ จงั หวัด ณ ศาลากลางจังหวดั ชลบรุ ี

26

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

การประเมินประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการปอ งกนั
ระงบั ยับยง้ั การระบาดของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดับอําเภอ

27

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

รายงานการเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning)
การบรหิ ารจดั การปอ งกนั ระงบั ยับยั้ง การระบาดของโรคไวรัสโควิด

ในระดบั อาํ เภอ ของอําเภอบานบงึ

จัดทําโดย

กลุมปฏบิ ตั ิการ 3 (กป.3)

1. นางสาววรษิ ฐา สงวนเสริมศรี ผูอาํ นวยการสาํ นักนโยบายและแผน

สาํ นักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย

๒. นางสาวอารียา ไกรทอง นกั วเิ คราะหน โยบายและแผนเช่ยี วชาญ

สาํ นักตรวจราชการ สํานักงานปลดั สํานักนายกรฐั มนตรี

3. นายหัฎฐะพล เมฆอาภา นายอาํ เภอโพธ์ปิ ระทับชาง จังหวดั พจิ ติ ร

4. นายสมชยั บูรณะ นายอําเภอน้ํายนื จงั หวดั อุบลราชธานี

5. นายดาํ รงศักด์ิ แกวดวง นายอาํ เภอควนเนียง จงั หวดั สงขลา

6. นายจรญู วิรยิ ะสงั วร นายอาํ เภอสุวรรณคูหา จังหวดั หนองบัวลําภู

7. นายปยะศกั ดิ์ สามคั ควี รี ะวฒั นะ เจาพนกั งานทีด่ ินจังหวดั สงิ หบ ุรี

8. นายอารุณ ปน ตา หัวหนา สํานักงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

จังหวัดเชียงราย

๙. นายกติ ตวิ ีร มุตตาหารัช ผอู ํานวยการสํานกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้ง

ประจําจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

1๐. นายอคั รพงษ เขียวแจม ผอู ํานวยการสาํ นกั งานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ

ส่ิงแวดลอมจังหวดั กาฬสนิ ธุ

รายงานน้เี ปนสว นหน่ึงของการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74
สถาบันดํารงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
พุทธศักราช 2563

28

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

คาํ นํา

เอกสารการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) “การบริหารจัดการปองกัน ระงับ
ยับยั้ง การระบาดของโรคไวรัสโควิดในระดับอําเภอ ของอําเภอบานบึง” ฉบับนี้ เปนการศึกษาเรียนรูของ
คณะนักศึกษาหลักสูตรนักปกครองระดับสูง กลุมปฏิบัติการที่ 3 (กป.3) รุนท่ี 74 ปงบประมาณ 2563 ที่
ไดจากการสัมภาษณพูดคุยกับผูมีสวนเก่ียวของท่ีสําคัญของอําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี เพื่อประเมิน
ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรค
โควดิ 19 ของอาํ เภอบานบงึ ซ่งึ ผลของการศกึ ษาและเรียนรคู ร้ังนี้ นอกจากจะไดรับทราบรูปแบบและกลไก
ของการบริหารจดั การ ตลอดจนผลการดําเนินงานของอําเภอบานบึง ในหวงการแพรระบาดของโรคท่ีผาน
มาแลว ยังไดเห็นบทเรียนจากการดําเนินงานของอําเภอ และนําไปสูขอเสนอแนะตอการปรับปรุง
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของการบริหารจัดการการปองกันและยบั ย้ังการแพรร ะบาดของโรคไวรสั
โควิด - 19 ตลอดจนการบริหารจัดการสถานการณหากมีกรณีการเกิดโรคระบาดรุนแรง ซึ่งคณะผูจัดทํา
หวังวา รายงานผลการศึกษาฉบบั นี้ จะเปนประโยชน ตอผูเ ก่ยี วขอ งไมมากกน็ อยตอ ไป

คณะผจู ัดทํา
นักศกึ ษาหลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู รุน ท่ี 74

กลมุ ปฏบิ ตั ิการที่ 3 (กป.3)

29

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

กรอบการเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ัติการ (Action Learning)
การประเมินประสิทธิภาพการบริหารจดั การปองกันและระงับยบั ย้งั การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดบั อําเภอ ของอาํ เภอบานบงึ

1. ความเปนมา
1.1 ประวตั คิ วามเปน มา และสถานการณทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม และการเมือง
ของพ้ืนท่ีอําเภอบานบงึ
สมยั ดงั้ เดมิ พืน้ ท่อี าํ เภอบา นบงึ โดยทั่วไป เปน ปาทึบ มีสตั วปานานาชนดิ อาศัยอยู มีชุมชนที่

เปนหมบู าน ตง้ั เรียงรายกันเปนระยะ ๆ หางไกลกันพอสมควร และมีอาชีพทางการเกษตรกรรม เชน ปลูก
พืชไร จับสัตวปายังชีพ พ้ืนท่ีในเขตเทศบาลเมืองบานบึงในปจจุบัน เปนที่ลุมนํ้าทวมขัง โดยทั่วไปชาวบาน
เรียกกันวา “มาบ” เปนแหลงน้ําตามธรรมชาติที่ชุมชนดังเดิมไดใชสอยมาตลอด และสายนํ้าไหลมาจากภูเขา
นั้นก็ไดไหลไปยังอาํ เภอพานทองอีกสายหนึ่ง

แหลง ถนิ่ ฐานชมุ ชนเกา คอื บริเวณหนาลํามาบนั่นเอง คือ บริเวณต้ังแตหนาวัดบุญญฤทธยา
ราม จนถงึ บรเิ วณวดั บึงบวรสถิตย และเริม่ มีตลาดบงึ เปน แหลง ชุมชนในป พ.ศ. 2462 อําเภอบา นบึงไดรับ
การยกฐานะเปนกิ่งอําเภอบานบึงในป พ.ศ. 2464 และในป พ.ศ. 2481 นายอํานาจ เน่ืองจํานงค คหบดี
สมัยนั้น ไดเปนผูนําในการยกฐานะจากกิ่งอําเภอเปนอําเภอ โดยเสนอตอทางการวา ขอยกที่ดินของนางเทศ
กาญจนพังคะ ซ่ึงเปนมารดาของภรรยา เปนสถานท่ีต้ังที่วาการอําเภอและสถานที่ราชการตาง ๆ พรอมกับ
สรางที่วา การอําเภอใหอ กี 1 หลัง โดยไมไ ดใ ชงบประมาณของกระทรวงมหาดไทย

ท่ีวาการอําเภอบานบึงสมัยน้ัน เปนเรือนไมทรงปนหยา มุขกลาง มีบันไดข้ึนท้ัง 2 ขาง
กอสรางแลวเสร็จ พ.ศ. 2481 และใชในราชการตลอดมาจนถึงป พ.ศ. 2528 ตอมาป พ.ศ. 2529
นายอารยะ วิวัฒนวานิช นายอําเภอบานบึง ไดเชิญชวนคหบดีและชาวอําเภอบานบึง ชวยกันสรางที่วา
การอําเภอหลังใหม เริ่มกอสรางในวันท่ี 5 มิถุนายน 2531 และแลวเสร็จในเดือนธันวาคม 2531 เปน
ท่ีวาการอําเภอหลังเดียว ในประเทศไทยที่มีแบบแปลนพิเศษตางจากที่อ่ืน มีลักษณะเปนอาคารคอนกรีต
3 ช้ัน ขนาด 19 x 34 x 17 เมตร การอพยพคนมาต้ังรกรากนั้น เกิดจากการนําอุตสาหกรรมปาไมที่
อาํ เภอศรีราชา โดยเจาพระยาสุรศักด์มิ นตรี (เจมิ แสงชูโต) จึงมีการทําปาไม หักลาง ถางพงเต็มพื้นที่ ผูคน
จงึ อพยพมาไมข าดสายเพ่ือมาแผว ถางปา ทาํ ไรอ อย และตัดไมสง เปน อุตสาหกรรม

ประชาชนในพ้ืนทีอ่ ําเภอบานบงึ มี 2 เช้อื สายหลัก คือ
(1) เช้อื สายชาวจีน

เดินทางมาจากตัวจังหวัดชลบุรี และมาจากจีนแผนดินใหญ โดยสวนใหญมาจากเมือง
โผวเลง จงั หวดั กวนจวั มณฑลแตจวิ๋

30

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

(2) เช้อื สายชาวลาว
มาจากบานเซิดใหญ ทาศาลา อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งรกรากบริเวณชุมชน

ยอยเชิดนอย และมาจากเวียงจันทน ต้ังรกรากบริเวณวัดสํานักบก และบริเวณชุมชนหนองโคลน อําเภอ
บา นบึง

วฒั นธรรมและประเพณสี าํ คัญของอําเภอบานบึง ไดแ ก
(1) ประเพณีว่ิงควาย เริ่มจัดในวันข้ึน 15 คํ่า เดือน 11 ของทุกป ซ่ึงถือไดวาเปน
ประเพณีท่ีมีอยูแหงเดียวในโลก ประเพณีวิ่งควายเกิดขึ้นจากความเช่ือวา ถามีควายเจ็บปวยหรือตาย
เนื่องจาก “หา กนิ ควาย” ชาวบานเจาของควายก็ตองบนบานส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีเช่ือถือ ใหดูแลสุขภาพของควาย
ซ่ึงเปนสัตวค ทู ุกขคยู ากใหแข็งแรงปลอดภัย
(2) ประเพณกี นิ เจ เปนประเพณขี องประชาชนอําเภอบา นบึงเชือ้ สายจนี สวนใหญ เดิม
เดนิ ทางไปกนิ เจทีโ่ รงเจใหญ จังหวัดชลบรุ ี แตก ารเดนิ ทางไมคอยสะดวก จงึ ไดเร่ิมมีประเพณีกนิ เจท่ีอาํ เภอ
บา นบึง โดยจดั ในเดอื นตุลาคมของทุกป เปน เวลา 10 วนั หรอื มากกวา
(3) ประเพณบี ุญบา นบงึ จัดในชว งวนั สงกรานต ระหวางวนั ท่ี 17 - 19 เมษายน ของทุกป
นอกจากน้ี อาํ เภอบานบงึ ยังมีส่งิ ศักดส์ิ ิทธติ์ ามความเชือ่ ซ่ึงเปน ทส่ี ักการะกราบไหวของชาวจีน
ที่อยูในอําเภอบานบึง ท่ีสําคัญคือ ศาลเจาเซียนซือไท นอกจากนี้ยังมีศาลเจาใหญนอยอีกหลายแหง ไดแก
ซากอเอย้ี ซํากา ศาลเจากวนอู เปน ตน
อําเภอบานบึงยังมีสิ่งศักด์ิสิทธิ์อีกอยางหนึ่ง คือ สิงโตหิน ซ่ึงมีอยู 1 คู ต้ังอยูเพ่ือเปนส่ิง
ศักดิ์สิทธ์ิปองกันส่ิงอัปมงคลท่ีจะเขามากล้ํากลาย ถือเปนเจาพิทักษที่สําคัญซ่ึงไดรับความเคารพเชื่อถือ
ตลอดมา
การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
พ้ืนที่อําเภอบานบึงสวนใหญเปนที่ราบ มีแนวเทือกเขา สมัยกอนเหมือนเปนเมืองปด มี
อุตสาหกรรมนํ้าตาลเปนหลัก การเดินทางมีถนนเช่ือมชลบุรีเพียงสายเดียว มีถนนสาย 331 ท่ีกองทัพ
ทหารอเมริกันมาสรางสนามบินอูตะเภา และไดตัดถนนเชื่อมภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึงจังหวัด
นครราชสีมา ถนนสายน้ีเปนเสนทางหลักเช่ือมกับถนนชนบทของชาวอําเภอบานบึงหลายสิบสาย สราง
ความสะดวกสบายโดยเฉพาะการเดินทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตลอดจนการขนสงพืชผลการเกษตร
และการสญั จรท่ัวไป
พล.ร.อ.สงัด ชลออยู เมื่อคร้ังเปนหัวหนาคณะปฏิรูปการปกครอง มี พล.อ.เกรียงศักดิ์
ชมะนันท เปน นายกรัฐมนตรี มนี โยบายเรงดวนตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 คอื
- ตัดถนนบานบึง - แกลง (สาย 344) เชื่อมจังหวัดชลบุรี เพื่อลดระยะการเดินทางไป
จังหวัดจันทบรุ ี ไดถ งึ 100 กโิ ลเมตร ทําใหก ารขนสง พชื ผลสะดวกรวดเรว็ ประหยัดน้ํามนั และเวลา
- ตดั ถนนบานบึง - บานคาย เพ่ือรองรับการวางทอกาซธรรมชาติท่ีข้ึนจากอาวไทย ขนาน
ตามแนวถนน และขยายถนนชลบุรี - บานบึง เปน ถนนคอนกรตี เชื่อมถนนสขุ มุ วทิ กบั ถนนบางนา - ตราด

31

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ตอมาเมื่อถนนทุกสายสรางเสร็จ อําเภอบานบึงจึงกลายเปนเมืองเปด กอใหเกิดธุรกิจ
มากมาย มีโรงงานอุตสาหกรรมเกดิ ขน้ึ มากจนระบบสาธารณูปโภครองรับไมทัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแหลง
นาํ้ ขนาดใหญรองรบั อุตสาหกรรมที่จะเกดิ ขนึ้ มากมาย

1.2 สภาพปญหาของการระบาดในพนื้ ท่ีอาํ เภอบานบึง
สําหรับการพบผูติดเชื้อจากการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด

19 ภายในจังหวัดชลบุรี จําแนกผูปวยตามพ้ืนท่ีได ดังนี้ อําเภอเมืองชลบุรี 27 ราย อําเภอบางละมุง 41
ราย อําเภอศรีราชา 6 ราย อําเภอพนัสนิคม ๑ ราย อําเภอพานทอง 3 ราย อําเภอสัตหีบ 4 ราย อําเภอ
หนองใหญ 1 ราย อาํ เภอบานบึง 1 ราย และมีผูปวยจากจังหวัดระยองมารักษาตัวที่จังหวัดชลบุรี จํานวน
๑ ราย

ตัง้ แตว ันที่ 24 กมุ ภาพันธ ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบัน อําเภอบานบึงพบผูปวยท่ีติดเช้ือ จํานวน 1
ราย และรักษาหายแลว โดยผูปวยไดมีการสัมผัสกับผูท่ีติดเชื้อที่กรุงเทพฯ และพบวาตนเองมีอาการปวย
และติดเชื้อ เมื่อวันท่ี 15 มีนาคม 2563 โดยเร่ิมแรกไดเขารักษาที่โรงพยาบาลในกรุงเทพฯ แตเน่ืองจาก
สิทธิในการรักษาของตนอยูที่โรงพยาบาลบานบึง จึงไดเดินทางมาเขารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลบานบึง ใน
วันที่ 5 เมษายน 2563 ดวยรถยนตสวนตัว และไดรักษาหายออกจากโรงพยาบาลบานบึง เม่ือวันที่ 19
เมษายน 2563 โดยหลังจากนั้น อาํ เภอบา นบงึ ก็ไมพบผปู ว ยทีต่ ิดเชอ้ื จนถงึ ปจ จบุ นั

1.3 รูปแบบการแกป ญหาในพ้นื ท่อี ําเภอบา นบึง
อาํ เภอบา นบงึ ไดมีการจดั ตัง้ กลไกเพ่ือบรหิ ารจดั การสถานการณ เพ่ือปองกัน สกัดก้ัน ไมให

เชอ้ื เขาพ้ืนที่ และยับย้ังการแพรร ะบาดในพ้ืนท่อี าํ ภอ ดังนี้
1) จัดต้ังศูนยในการบัญชาการ ส่ังการ ในการแกไขปญหาการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เพ่ือเปนศูนยในการบัญชาการและการบูรณาการทุกภาคสวนในการ
แกไขปญ หาอยา งเปนเอกภาพ

2) แตงตั้งคณะกรรมการควบคุมโรคติดตอระดับอําเภอ ตําบล หมูบาน/ชุมชน เพื่อเปน
การควบคุมผูติดเชื้อในพื้นท่ี โดยมีการใหคําแนะนําในการปองกันตนเองและกํากับดูแลผูที่เดินทางเขาใน
พ้นื ทอ่ี ําเภอ เฝาระวงั สงั เกตอาการ แยกกักตนเองเปน ระยะเวลา 14 วนั

3) จัดตั้งชุดปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วประจําตําบล เพื่อดําเนินการตรวจสอบบุคคลท่ี
เดนิ ทาง เขามาในพนื้ ท่ี หมูบาน/ชมุ ชน

4) ทุกภาคสว นชว ยกันรณรงค ประชาสัมพันธใหประชาชนทราบถึงความรายแรงของโรค
และวธิ กี ารรับมอื ปองกนั สูก ับโรคดังกลา ว

5) ดําเนินการตามมาตรการในการคุมเขม ตามคําสั่งศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคอําเภอ
บานบึง (ศปก.อ.) อาทิ มีคําส่ังใหผูที่เดินทางเขามาในพ้ืนท่ีอําเภอบานบึงทุกคน จะตองกักตัว ๑๔ วัน ทุก
กรณี (ไมวาจะเดินทางมาจากจังหวัดที่เปนพ้ืนที่เสี่ยงหรือไมใชพื้นที่เสี่ยงก็ตาม) พรอมทั้งตรวจสอบสถาน
ประกอบการ และสถานท่ีตา งๆ ใหป ฏิบัติตามคาํ ส่งั ของคณะกรรมการโรคตดิ ตอจังหวัดชลบรุ ี

6) มกี ารตงั้ จุดตรวจ จุดสกัด สาํ หรบั การเดินทางเขา - ออก ภายในพ้นื ทอี่ ําเภอบา นบึง

32

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

1.4 ความคาดหวงั ของประชาชนและผูป ฏบิ ัตงิ าน
1) ภาคประชาชน
สามารถควบคุมการแพรระบาดใหอยูในวงจํากัด และมีผูปวยเสียชีวิตนอยท่ีสุด เพ่ือ

ปองกันควบคุม และชะลอการระบาด โดยยึดหลัก “ชีวิตและสุขภาพของประชาชนเปนสําคัญ” โดย
ประชาชนในอําเภอบานบงึ ตองปลอดภัยจากการแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019(COVID -19)

2) ภาคผูป ฏิบัติงาน
2.1) มีการบูรณาการทุกภาคสวนในการปฏิบัติงาน และปฏิบัติงานใหเปนไปตาม

แนวทางเดยี วกนั อยา งชดั เจนและมปี ระสิทธิภาพ โดยการส่ังการจากศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคอําเภอบาน
บงึ (ศปก.อ.)

2.2) สามารถสกัดกั้นมิใหมีผูติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เขามาแพร
ระบาดในพ้ืนทข่ี องอําเภอได

2. เปาหมายหรือผลลัพธท ่ีตองการ

2.1 ราษฎรในพืน้ ท่ปี ลอดโรค
สามารถควบคมุ การแพรร ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหอยูใน

วงจํากัด และมีผปู วยหรือผูเสยี ชีวิตนอยท่ีสุด เมอ่ื มิใหม กี ารแพรเชอื้ ในวงกวาง ซึ่งจากสถานการณโรคตั้งแต
เร่ิมมาตรการควบคุมโรคจนถึงปจจุบัน อําเภอบานบึงพบผูติดเช้ือเพียง 1 ราย ซ่ึงเปนการสงตัวการ
รกั ษาพยาบาลตามสิทธิรกั ษาพยาบาลของผูปว ยมาท่โี รงพยาบาลบานบึง

2.2 ผทู ก่ี ลบั มาจากพ้ืนทท่ี ีโ่ รคระบาดทุกคนตอ งกักตัว 14 วัน
1) ประชาชนที่เดินทางเขามาในเขตอําเภอบานบึงทุกคน ไมวาจะมาจากประเทศ/จังหวัด ท่ี

เปนพน้ื ที่เส่ยี งหรือแมจ ะไมใชพื้นที่เสย่ี งกต็ าม จะตอ งมกี ารเฝาดอู าการดว ยการกกั ตวั ๑๔ วัน
2) ใหประชาชนทุกคนทราบถึงความรายแรงของโรคและมาตรการในการควบคุมมิใหเช้ือ

โรคเขาสรู า งกาย อาทิ สวมใสห นา กาก ลา งมอื ดว ยเจลแอลกอฮอล เวนระยะหาง (Social Distancing) เฝา
ระวัง และแยกกกั ตัวผทู ีเ่ ดินทางมาจากตางจังหวดั เขา มาในพืน้ ท่ี

3. แนวทางการดําเนนิ งาน

3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการ และการบริหารจัดการ ตามคําสั่งของศูนยบริหาร
สถานการณโควดิ - 19 (ศบค.) และขอสัง่ การของกระทรวงมหาดไทย

1) อําเภอบานบึงไดดําเนินการตามแนวทาง กลไก และการบริหารจัดการ โดยมีคําส่ัง
แตง ต้ังคณะทาํ งานดาํ เนินการ ดังนี้

1.1) คําส่ังแตงตั้งทีมดําเนินการคัดกรอง แยกกัก กักกัน คุมไวสังเกต ในพ้ืนท่ีอําเภอ
บา นบงึ โดยแบงเปน ๓ ระดับ ดงั นี้

33

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

- ระดับอําเภอ มีนายอําเภอบานบึง เปนประธาน สาธารณสุขอําเภอบานบึง
เปนคณะทาํ งาน/เลขานุการ

- ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีนายกเทศมนตรี/นายกองคการบริหาร
สว นตาํ บล เปน ประธาน ผอู าํ นวยการโรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบล เปน คณะทํางาน/เลขานกุ าร

- ระดบั ตาํ บลและหมบู า น มีกํานัน/ผูใหญบาน ทุกตําบล/หมูบาน เปนประธาน
อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาํ หมบู าน (อสม.) เปน คณะทํางาน/เลขานกุ าร

1.2) มีคําส่ังแตงต้ังคณะปฏิบัติการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ระดับตาํ บล/หมูบ าน/ชมุ ชน อําเภอบานบึง ดังนี้

- ระดับตําบล มีปลัดอําเภอผูประสานงานประตําบล เปนหัวหนาคณะทํางาน
ผูอํานวยการ รพสต. และหัวหนากลุมงานบริการดานปฐมภูมิและองครวม โรงพยาบาลบานบึง เปน
คณะทาํ งานและเลขานกุ าร

- ระดับหมูบาน มีผูใหญบาน เปนหัวหนาคณะทํางาน ประธาน อสม.ประจํา
หมบู า นทุกหมบู าน เปน คณะทํางานและเลขานุการ

1.3) มีคําส่ังจัดต้ังศูนยปฏิบัติการรวมปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 เพ่ือปองกันและแกไขปญหาจากสถานการณการแพรระบาดของโรค มิใหมีผลกระทบเขาสูอําเภอ
ตําบล และหมูบานตางๆ ในพ้ืนที่อําเภอบานบึง โดยจังหวัดชลบุรีไดแจงใหอําเภอและหนวยงานที่เกี่ยวของ
ตั้งจดุ รบั รายงานขอมูล ดานคัดกรอง จุดตรวจ/จุดสกัด/ดานตรวจ เพื่อสํารวจตรวจสอบขอมูลของบุคคลที่
เดินทางเขา - ออก พื้นท่ี รวมถึงการดําเนินการกับผูที่ฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งจังหวัดชลบุรี คําสั่ง
คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี รวมถึงขอกําหนดตามพระราชกําหนดการบริหารราชการใน
สถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2558 และคําส่ังศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (ศบค.) ทุกฉบบั โดยมีนายอําเภอบานบึง เปนผูอํานวยการศูนย ปลัดอําเภอหัวหนาฝายความ
มน่ั คง เปน เลขานุการ และปลดั อาํ เภอฝายความม่ันคง เปน ผชู ว ยเลขานุการ

1.4) มคี ําสั่งจดั ตั้งชุดปฏิบัติการเคล่ือนที่เร็วในการปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 ในพน้ื ที่อําเภอบา นบงึ เพอื่ ใหก ารบริหารจดั การสถานการณการแพรระบาดของโรค ทั้ง
ในดานการปองกันและการควบคุมโรคเปนไปดวยความตอเนื่อง เรียบรอย มีประสิทธิภาพ รวดเร็วและทัน
ตอเหตุการณ โดยมี ปลัดอาํ เภอประจําตาํ บล เปน หัวหนา ชุด และกาํ นัน เปน รองหัวหนา ชุด

1.5) มีคําสั่งจัดต้ังศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคอําเภอบานบึง (ศปก.อ.) เพ่ือเปน
หนวยงานรบั ผดิ ชอบกํากับ ดูแล ตามมาตรการปอ งกันโรคตามที่ทางราชการ โดยมีนายอําเภอบานบึง เปน
หัวหนาศูนยปฏิบัติการฯ สาธารณสุขอําเภอบานบึง เปนคณะทํางาน/เลขานุการ และปลัดอําเภอหัวหนา
ฝายความมั่นคง เปนคณะทํางาน/ผูชวยเลขานุการ

1.6) มีคําสั่งจัดต้ังศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคตําบล (ศปก.ต.) เพื่อเปนหนวยงาน
รับผิดชอบกํากับ ดูแล ตามมาตรการปองกันโรคตามท่ีทางราชการกําหนด โดยมีปลัดอําเภอผูรับผิดชอบ
ประจําตําบล เปน หวั หนา ศูนยป ฏบิ ตั ิการฯ ผูอาํ นวยการ รพสต. เปน คณะทํางาน/เลขานุการ

34

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ท่ี 74

2) มีการประชุมคณะทํางานตามคําสั่งในชุดตางๆ เพ่ือเปนการบูรณาการและส่ังการให
เปนเอกภาพ (ทุกภาคสวนจะยึดคําสั่งจากศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคอําเภอบานบึง (ศปก.อ.) เพียงอยาง
เดียวในการปฏิบัติงาน) เชน หากหนวยงานใดมีขอสงสัยในมาตรการและแนวทางตางๆ ของสวนกลาง จะ
ประสานมายังศนู ยปฏิบตั กิ ารควบคมุ โรคอาํ เภอบา นบึง (ศปก.อ.) เพื่อซักถามขอสงสัยเก่ียวกับมาตรการและ
แนวทางตางๆ น้นั

3.2 การประยุกตใหเหมาะสมกบั บริบทและความตองการของประชาชนในพืน้ ท่ีอาํ เภอบานบึง
1) มีคําสั่งใหปดสถานท่ีที่มีคนเปนจํานวนมากไปทํากิจกรรมรวมกันในพื้นท่ีและเสี่ยงตอ

การแพรระบาดของโรคเปนการช่ัวคราว เชน สถานท่ีออกกําลังกาย สนามมวย สถานบันเทิง
หางสรรพสินคา ฯลฯ และสถานท่ีอื่นๆ โดยคํานึงถึงโอกาสเสี่ยงตอการติดตอโรค ความจําเปนของ
ประชาชนในการจัดหาสิง่ อปุ โภคบรโิ ภคและการเดนิ ทาง ในกรณียังไมไดมีคําส่ังใหปดสถานท่ีใด ใหเจาของ
หรือผดู แู ลสถานทีน่ ัน้ จัดใหมีมาตรการคดั กรองและปฏบิ ตั ิตามมาตรการปอ งกันโรค

2) มีการต้ังจุดตรวจในหวงเวลาประกาศสถานการณฉุกเฉิน และต้ังดานตรวจคัดกรอง
ควบคุมการแพรระบาดของโรค โดยมีการตรวจจับผูที่ฝาฝนขอกําหนดฯ และตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิ
วินจิ ฉยั ประชาชนผูท่ีเดนิ ทางจากตางจังหวดั เขา มาในพ้ืนที่อาํ เภอบานบึง เพ่อื ปอ งกนั การแพรระบาดของโรค

3) มีการประชาสัมพันธ รณรงคใหประชาชนรับทราบขอมูลเกี่ยวกับโรคในพ้ืนท่ีหมูบาน/
ชมุ ชน และวธิ ีการปอ งกนั ตนเองใหหา งไกลจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

4) มีการกําหนดใหมีจุดตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิ พนักงาน เจาหนาท่ี ผูมาติดตอหรือ
ผใู ชบริการ ในสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ ผูประกอบการธุรกิจทองเท่ียว ผูประกอบการโรงแรม และทุกภาค
สวน โดยตองมีมาตรการใหผูท่ีมาใชบริการและพนักงานใสหนากากอนามัย และลางมือดวยเจลแอลกฮอล
กอนเขา ใชบริการ ในอาคารหรือสาํ นกั งานตา งๆ

5) มีการออกตรวจรานคา หางสรรพสินคา ตลาดนัด ในพื้นท่ี ใหปฏิบัติตามมาตรการ
ปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค โดยตองมีจุดตรวจคัดกรองผูมาใชบริการ และตองมีการเวน
ระยะหา งในการต้งั โตะ มเี สน กาํ หนดระยะหางในการยนื รอรบั บรกิ ารของลกู คา

6) มีการตรวจสอบการขึ้นราคาสินคา การกักตุนสินคาอุปโภคบริโภคในชีวิตประจําวัน
ในรา นคา ตา งๆ และหา งสรรพสนิ คา

7) มีการมอบหมายใหกํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ อสม. ในพื้นที่ เขมงวดตรวจสอบผูท่ี
เดินทาง เขามาในพ้ืนท่ีหมูบาน/ชุมชน ของแตละตําบล โดยใหผูท่ีไดรับมอบหมายหนาที่แตละตําบล
รายงานผูเ ดนิ ทาง เขามาในพื้นที่ ใหอ ําเภอทราบ และตดิ ตามใหผูที่เดินทางเขามา ตองมีการกักตัวเอง เปน
เวลา 14 วัน เพ่อื สังเกตอาการและเฝา ระวงั

7) องคกรปกครองสวนทองถิ่นใหการชวยเหลือประชาชนผูท่ีไดรับผลกระทบจาก
มาตรการ ในการปองกนั การแพรระบาดของโรค ครัวเรอื นละ 1,000 บาท

8) หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนในพ้ืนที่รวมกันแจกถุงยังชีพ ขาวสาร อาหารแหง ขาว
กลอง น้าํ ดื่ม เปน ตน เพือ่ ชว ยเหลือผูที่ไดรบั ผลกระทบจากมาตรการในการปองกนั การแพรระบาดของโรค

35

การเรยี นรูเ ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

9) มีการต้ังตูปนสุขในเขตพื้นท่ีอําเภอบานบึง กระจายในหลายพ้ืนที่ เพ่ือชวยเหลือและ
บรรเทาความเดอื ดรอนของประชาชนท่ีไดร บั ผลกระทบจากมาตรการในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรค

4. ผลการดาํ เนินงาน (ต้ังแตตน เดือนมีนาคม จนถงึ เวลาท่ีทําการศกึ ษา)

4.1 การสกัดกนั้ การแพรระบาดของโรคภายในพนื้ ที่ โดยการดําเนนิ การ ดังน้ี
1) มีการต้ังดานตรวจ จุดสกัด เพื่อคัดกรองผูเดินทางเขาพื้นที่อําเภอบานบึง จํานวน 2

ดาน โดยมีกํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ ชุดรักษาความปลอดภัยหมูบาน (ชรบ.) อาสาสมัครปองกันภัยฝายพล
เรือน (อปพร.) และ อสม. อยปู ระจําดา นตรวจ จุดสกัด ตลอด 24 ช่วั โมง

2) การเฝา ระวังขาวสารการแพรระบาด
- แจงขอมูลสถานการณการระบาดของโรคในท่ีประชุมอําเภอ/ ประชุมความม่ันคง ทุก

เดอื นตัง้ แตเดือนมกราคม 2563 และในพื้นที่ผา นเวทปี ระชาคมหมูบาน รวมถึงชองทางอ่ืน ๆ
- ทมี SAT อาํ เภอบานบงึ ติดตามขาวการระบาดของโรค และแนวทางการดําเนินงาน

มาตรการการรักษา ส่งิ สง ตรวจ การสอบสวนโรค แจง ในพ้นื ท่ีรับผิดชอบอยางตอเนอื่ ง
3) เตรียมความพรอมทีม SRRT อําเภอบานบึง และทีมเครือขายระดับตําบล ในเร่ือง

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับโรค การเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค PPE และการดําเนินการ Home
Quarantine

4) ติดตั้งปายประชาสัมพันธปองกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ครอบคุลมพ้ืนที่ ๘
ตาํ บล ๕๒ หมบู าน ๗๑ ชมุ ชน

5) รณรงคใหความรูเร่ืองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แกประชาชน และสถานที่ตาง ๆ
ไดแ ก ในโรงเรียน/ศูนยเ ด็กเลก็ 70 แหง ทพ่ี กั /รีสอรท 9 แหง สถานีรถโดยสาร 1 แหง หางสรรพสินคา 2
แหง รา นอาหาร 76 แหง ซุปเปอรม าเกต็ 20 แหง ตลาดสด 7 แหง วดั /สํานกั สงฆ 46 แหง สถานีบริการ
นาํ้ มนั 30 แหง และโรงงาน 192 แหง

6) มีการปฏบิ ตั ติ ามแนวทางโดยให อสม. เคาะประตบู านตานโควดิ - 19 เพื่อแจงขาวสาร
และใหความรู แนะนําประชาชน “กินรอน ลางมือ สวมใสหนากากอนามัย ออกกําลังกาย” และคัดกรอง
ประชาชนภายในหมูบา น ประกอบดว ย

- กลุม ปกติ มีสุขภาพแข็งแรง ไมเ ปนกลุมเสยี่ ง เฝา ระวังปองกันตนเอง
- กลุมเสี่ยง มีไข ไอ คัดจมูก จาม เจ็บคอ จะติดตามและรายงานผล อยางนอย 2
ครั้ง/สัปดาห สําหรับผูท่ีเดินทางมาจากประเทศที่มีการแพรระบาดของโรคและจังหวัดที่มีความเส่ียง แตยัง
ไมมีอาการ ใหแยกกักตัวอยูท่ีบานพักอาศัย อยางนอย 14 วัน จะสงตอใหเจาหนาที่สาธารณสุขใกลบาน
เพอื่ ตดิ ตามสงั เกตอาการตอไป
7) มีการทําความสะอาด (Big Cleaning) ต้ังจุดเจลลางมือตามสวนราชการ สถาน
ประกอบการ หา งสรรพสินคา และสถานท่อี ื่นๆ

36

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

8) การจับกมุ ผฝู าฝนประการสถานการณฉ กุ เฉนิ ในพน้ื ท่ีอาํ เภอบานบึง ดงั นี้

เดอื น ฐานความผดิ
เมษายน ขดั คําสัง่ หามชมุ นุม จาํ นวน ๓ คดี ๑๗ ราย
ออกนอกเคหะสถานชว งเวลาเคอรฟว จาํ นวน ๒๔ คดี ๒๘ ราย
พฤษภาคม ขดั คําส่งั หามชุมนมุ จาํ นวน ๗ คดี ๑๗ ราย
มิถุนายน ออกนอกเคหะสถานชว งเวลาเคอรฟว จาํ นวน ๒๐ คดี ๒๒ ราย
ขดั คําสง่ั หา มชมุ นมุ จาํ นวน ๑ คดี ๓ ราย

4.2 การยบั ยัง้ การแพรระบาดภายในพ้นื ท่ี โดยการดาํ เนนิ การ ดงั น้ี

1) มอบหมายใหคณะทํางานบูรณาการรวมกันเจาหนาที่สาธารณสุข รพสต. และกํานัน

ผใู หญบาน ฯลฯ ในแตละพ้ืนทีต่ าํ บล หมูบาน/ชุมชน รว มกันจดั ทําขอ มูลผูเดินทางเขา หมบู าน/ ชมุ ชน

2) ดําเนินการกักตัวผูท่ีเดินทางเขามาในพื้นท่ีอําเภอ เปนเวลา 14 วัน โดยจะมีการแบง

ระดบั ในการกกั ตวั ไว ๒ รูปแบบ โดยหากประชาชนทมี่ าจากประเทศ/จงั หวัด ที่เปนพ้ืนที่เส่ียงสูง จะมีคําส่ัง

ควบคมุ และนําไปกักตัวท่ี Local Quarantine ของจังหวัด (จํานวน ๖ ราย) และสาํ หรบั ประชาชนที่มาจาก

ประเทศ/จงั หวดั ที่ไมใ ชพ้ืนที่เสยี่ ง จะมีคําส่ังควบคุมและใหกักตัวอยูที่บาน (Home Quarantine) (จํานวน

๒๑๓ ราย) โดยการใชกลไกลของหมูบาน ประกอบดวย ผูใหญบาน คณะกรรมการหมูบาน และ อสม. ใน

พื้นท่ี เฝาระวังภายในชุมชน/หมูบาน ของตนเอง หากพบเจอบุคคลที่เขามาในพ้ืนที่ ก็จะดําเนินการซัก

ประวัติการเดินทาง และกกั ตัวทนั ที แลว รายงานใหอ ําเภอทราบ

3) มีการส่ังปดสถานท่ีตางๆ ตามคําสั่งของคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี โดยมีผล

การดําเนินการในพนื้ ทอ่ี ําเภอบานบึง ดังนี้

- สถานบริการ/ ผบั / บาร ๑๙ แหง

- สนามเด็กเลน ๒๒ แหง

- สนกุ เกอร/ บิลเลียด ๘ แหง

- รา นเกมและรานอินเตอรเน็ต ๘ แหง

- สนามชนไก ๒ แหง

- สถานรับเลีย้ งเดก็ (เฉพาะผูมภี าระพงึ่ พิงระหวางวนั ) ๑๑ แหง

- โรงเรยี นสอนศลิ ปะการตอสู (ยมิ ) ๑ แหง

4) ขออนุมัติงบประมาณมาจัดช้ือวัสดุอุปกรณ ในการนําไปใหกับกํานัน ผูใหญบาน เพื่อ

นําไปแจกจายใหกับประชาชนในหมูบาน/ชุมชน เชน หนากากอนามัย เจลแอลกอฮอลลางมือ เครื่องวัด

อุณหภูม/ิ วดั ไข ในการดําเนินงานตามมาตรการปองกนั และควบคมุ การแพรระบาดของโรค

37

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ที่ 74

5. ปญหา อุปสรรคในการดาํ เนนิ งาน และแนวทางแกไข

5.1 ปญ หา อุปสรรคในการดําเนนิ งาน
1) การกักกัน หรือคุมไวสังเกตในที่พักอาศัย (Home Quarantine) มีประสิทธิภาพไม

เต็มที่ เนื่องจากเหตุผลทางดานเศรษฐกิจ ความตระหนัก ความรับผิดชอบ และความรวมมือ ของแตละ
บุคคล แตละครอบครัวไมเทากัน ทําใหมีโอกาสแพรเชื้อในครอบครัวและชุมชนไดสูง ควรใชการกักกันใน
พื้นที่สวนกลาง ในระดับจังหวัดหรือระดับอําเภอ แบบ Local Quarantine เน่ืองจากมีเจาหนาที่คอย
ดูแลในเรื่องตางๆ รวมถึงการจํากัดการเขา - ออก เพื่อลดการสัมผัสในครอบครัวและชุมชน ไดมี
ประสทิ ธภิ าพมากกวา

2) การดําเนินการใหไปเปนไปตามมาตรการควบคุมตลาดสด ตลาดนัด ในทางปฏิบัติ
เปนไปคอ นขางยาก

3) งบประมาณในการจัดช้ือวัสดุอุปกรณในการปองกันเชื้อไวรัส ไมเพียงพอตอความ
ตองการของประชาชนในพื้นที่ เชน หนา กากอนามัย เจลแอลกฮอลลา งมือ เครอ่ื งวดั อณุ หภมู /ิ วัดไข เปน ตน

4) องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีขอกังวลเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ในเรื่องการใช
งบประมาณ

5) มีเจาหนาท่ีของหนวยงานตาง ๆ อีกจํานวนมาก ท่ีขาดความรูความเขาใจในขอมูลท่ี
เปน ขอเท็จจรงิ ท่ถี กู ตอ งเกี่ยวกบั โรคและสถานการณการแพรระบาด

5.2 แนวทางการแกไ ข
1) ในการควบคมุ และกกั ตวั ผูเปนกลุมเสยี่ ง ควรใชแนวทาง Local Quarantine มากกวา

แบบ Home Quarantine
2) ใชมาตรการที่เขมขนในการควบคุม กํากับดูแลใหประชาชน และสถานการ

ประกอบการรา นคา ทกุ ประเภท ปฏบิ ตั ติ ามาตรการควบคุมโรคโดยเครง ครัด
3) ควรสนับสนุนงบประมาณใหแตละพื้นท่ีใหเพียงพอตอความตองการในการจัดชื้อวัสดุ

อปุ กรณ เพื่อแจกจา ยใหก บั ประชาชนที่ขาดแคลนและปองกนั การแพรระบาดของโรค
4) ควรมีการปรับปรุงแกไขกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวของกับการใชงบประมาณ

สําหรบั การบรหิ ารสถานการณฉุกเฉิน ใหม ีความคลองตัวและยืดหยุนมากขน้ึ
5) เสริมสรางองคค วามรเู กีย่ วกับสถานการณการแพรระบาดและขอเท็จจริงของโรคใหแก

เจาหนา ทขี่ องรัฐ อสม. กํานัน ผูใหญบ าน และคณะกรรมการหมูบา น

6. ประโยชนท ่ีประชาชนไดร ับ
1) ประชาชนรูว ิธใี นการปองกันโรคโดยเริม่ ตนจากตนเอง และรวมปอ งกนั โรคในหมูบา น/ ชุมชน

ของตน
2) การดาํ เนินชีวติ ของประชาชนมีแบบแผนและมติ ิใหมๆ มากข้ึน ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และ

ครอบครวั ซงึ่ เปน บทเรียนทส่ี าํ คญั เพื่อการรบั มอื กบั เหตกุ ารณต า ง ๆ ที่มีผลกระทบในวงกวาง

38

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

3) ปลอดภัยจากโรคโควิด - 19 รวมถึงโรคทางเดินหายใจอ่ืน ๆ โรคติดตอจากนํ้าและอาหาร
โรคอนื่ ๆ ทีเ่ กดิ จากสุขอนามัยสวนบุคคลท่ไี มเหมาะสม เชน โรคผวิ หนงั กาก เกลอื้ น เปนตน

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมในพ้ืนท่อี าํ เภอบานบึง
1) ภาวะเศรษฐกิจในพ้ืนที่เกิดการชะลอตัว การจับจายใชสอยนอยลง เน่ืองจากประชาชนในพื้นท่ีตก

งานมากขนึ้ แมค า พอ คา ขายของไดน อ ยลง และประชาชนไดรบั ความเดือดรอ นเพ่ิมมากขน้ึ
2) จากมาตรการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค ทําใหผูประกอบการรานอาหารใน

พ้นื ทต่ี อ งปด กจิ การช่วั คราว นอกจากนี้ ผูประกอบกิจการธุรกิจและโรงงานหลายแหง ตองปดกิจการช่ัวคราว
บางแหง ตองใหพ นักงานออกจากงานเพ่ือบริหารคา ใชจ า ย ประชาชนในพน้ื ท่ีตกงานเปน จาํ นวนมาก

3) ประชาชนบางสวนพยายามหาคนที่เปนตนเหตุเพ่ือกลาวโทษ มองคนปวยหรือคนท่ีมาจากพื้นที่
เสย่ี งดวยความหวาดกลัวและรังเกียจ แตบางสวนก็เห็นใจและแบงปนชวยเหลือผูไดรับผลกระทบทางดาน
เศรษฐกิจ

4) สงั คมเกดิ พฤติกรรมจบั ผดิ ตกั เตือน สอดสอ งดูแลกันและกันมากข้นึ

8. ทัศนคติของภาคสวนตาง ๆ ท้งั ภาครัฐ ภาคทองถ่นิ ภาคประชาชน และผูไดรับผลกระทบ
การทาํ งานดานสขุ ภาพท่ผี า นมา มกั จะเปน งานเฉพาะของหนว ยงานทางดา นสาธารณสุข ซ่ึงมุงเนน

ในเร่ืองการปองกัน เฝาระวัง และการรักษาโรค ประชาชนไมเห็นภาพของการบังคับใชกฎหมาย หรือคําสั่ง
ตาง ๆ ดังน้ัน เมื่อเกิดสถานการณการแพรระบาดของโรค การท่ีจะใหประชาชนใหความรวมมือในเร่ือง
ตาง ๆ เพ่ือการควบคุมโรคโดยใชแตเพียงกฎหมายทางสาธารณสุขจึงไมสามารถบริหารสถานการณใหเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพได แตเมื่อการดําเนินงานในพื้นท่ีเปนไปแบบบูรณาการจากทุกภาคสวน อาทิ ฝาย
สาธารณสุข ฝา ยปกครอง ตํารวจ ทหาร จะชว ยกนั ทาํ ใหการดาํ เนินงานไดผ ลดี ประชาชนที่ทําผิดหรือไมให
ความรวมมอื จะมีความเกรงกลัวขึน้ สงผลดตี อ การควบคุมโรค

9. ปจจยั แหงความสาํ เรจ็ ในการปฏบิ ัติงาน
1) การรวมมือกันในทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทําใหการปฏิบัติ

หนาท่ีของภาครัฐดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน บริษัท/หางรานตาง ๆ นําอาหารและนํ้าดื่มมา
สนบั สนุนเจา หนา ท่ใี นการตงั้ ดานตรวจ จุดสกดั หรือสนบั สนนุ วสั ดุอุปกรณท ีจ่ าํ เปนในการปอ งกนั โรค ไดแก
เจลลางมือ หนากากอนามัย รวมท้ัง การบริจาคอาหาร น้ําดื่ม และสิ่งของอุปโภคบริโภคที่จําเปนแก
ประชาชนผูไ ดรบั ผลกระทบจากมาตรการปองกันการแพรร ะบาดของโรค เปนตน

2) กลไกหลักที่ขับเคล่ือนในระดับหมูบาน ตําบล มีความเขมแข็ง (กํานัน ผูใหญบาน
คณะกรรมการ หมูบาน อสม.) และประชาชนในพ้ืนท่ี ทําใหมาตรการปองกันและควบคุมการแพรระบาด
ของโรค ในระดบั อาํ เภอ ตาํ บล สําเรจ็ ลลุ ว งเปนอยา งดี

3) องคกรปกครองสว นทองถิ่นในพน้ื ท่ีมศี ักยภาพ และใหค วามรวมมอื กับอําเภอเปนอยางดี

39

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

4) การเปนเอกภาพในการดําเนนิ การ โดยทุกภาคสวนจะดําเนินการตามคาํ สงั่ จากศูนยก ลาง
อาํ เภอ

5) ภาวะผนู าํ ของนายอาํ เภอท่ีสามารถบรู ณาการภาคสวนตางๆ ในพื้นท่ีรวมกันดําเนินการไดอยาง
มปี ระสิทธิภาพ

6) การมีประกาศสถานการณฉุกเฉิน และขอกําหนด ภายใตพระราชกําหนดการบริหารราชการ
ในสถานการณฉ ุกเฉิน พ.ศ. 2548 เปนเครื่องมือสําคัญท่ีชวยใหการปฏิบัติงานของผูเกี่ยวของ ไดแก คณะ
กรรมการควบคุมโรคจงั หวัด ตลอดจนเจาหนา ท่ีภาครัฐท่ีเกี่ยวของทุกระดับเปนไปอยางสะดวก ราบรื่น ทํา
ใหส ามารถควบคุมสถานการณก ารแพรระบาดใหอยูในวงจํากัดไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ

10. บทเรยี นทไ่ี ดร บั จากการดาํ เนินงาน
1) ไดเห็นบทบาทของกลไกการบริหารราชการในสวนภูมิภาค ที่มีผูวาราชการจังหวัดเปนผูมี

บทบาทนําท่ีสําคัญในการพิจารณาและตัดสินใจผานคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด ท่ีจะบริหาร
สถานการณในแตละจังหวัดท่ีมีบริบทของสถานการณและปจจัยแวดลอมท่ีตางกัน ลงสูการผลักดันการ
ปฏิบัติใหเปนรูปธรรมของนายอําเภอดวยกลไกระดับรากหญาที่สุดของประเทศ คือกํานัน/ผูใหญบาน และมี
ผบู ริหารทองถิ่นเปนผูสนับสนุนการบริหารมาตรการตางๆ ตามนโยบายรัฐบาล นําไปสูการปฏิบัติที่รวดเร็ว
และสามารถปองกนั และแกไ ขปญ หาไดสอดคลองกบั สภาพของพื้นท่ี

2) ไดเห็นระบบสาธารณสุขของประเทศไทยที่มีความพรอม ทั้งการต้ังรับและทํางานเชิงรุก เพื่อ
การควบคุมการระบาดของโรคติดตอไดเปนอยางดี มีระบบบริการทางการแพทยท่ีเขมแข็ง อสม.ที่เปน
กําลังสนับสนุนหลักครอบคลุมท่ัวประเทศ มี รพสต. และโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งเปนเครือขายท่ัวประเทศที่
พรอมเปน ฐานรองรับผูป ว ยสง ตอไปโรงพยาบาลใหญ

3) ไดเห็นประชาชนมีความสามารถในการเรียนรูและปรับเปลี่ยนบทบาท จากเร่ิมแรกต่ืนกลัว
กลายเปนการต่ืนรู และมีสวนรวมในการกําหนดมาตรการตางๆ ของตนเองและชุมชน ที่จะเสริมมาตรการ
ของรัฐในรับมือกับการระบาดของโรคไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ัง ไดเห็นการระดมความรวมมือจาก
ประชาชนเพอื่ ชวยเหลือผูที่ไดรบั ความเดอื ดรอนยิง่ กวาตนเอง

4) ไดเห็นมาตรการตางๆ และความรวมมือของประชาชน มีหลายพื้นที่ไดยกระดับเปนขอตกลง
รวมหรือธรรมนูญประชาชน และมีการประกาศเปนสัญญาประชาคมไวอยางชัดเจน เพ่ือควบคุมใหกําลังใจ
กลุมเส่ียงเผยแพรโรค และปองกันดูแลกลุมเสี่ยงที่จะติดเช้ือ เชน ผูสูงอายุ เด็กเล็ก ผูปวยโรคเรื้อรังใน
ชุมชน พรอมกับ มีมาตรการดูแลทางสังคมและเศรษฐกิจ เชน การรวมกลุมผลิตหนากากอนามัย การต้ัง
โรงทาน การเตรยี มการเรื่องความมน่ั คงทางอาหาร

40

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

11. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของการบรหิ ารจดั การปองกัน และ
ยบั ย้ังการระบาดของโรคไวรสั โควิด - 19

1) ภาพรวมของการบริหารจดั การการปองกัน ระงับยบั ยง้ั การแพรร ะบาดของโรคของอําเภอบานบึง
เปนไปตามนโยบาย แนวทาง และขอสั่งการของศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
กระทรวงมหาดไทย (ศบค.มท.) และคณะกรรมการโรคติดตอ จงั หวัดชลบรุ ี

2) อําเภอบานบึงสามารถใชจุดแข็งของพ้ืนท่ี ไดแก กลไกระดับตําบล/ หมูบาน ความเขมแข็งของ
ภาคเอกชน และความรวมมือขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ดําเนินการใหการบริหารสถานการณเปนไป
ไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

3) อําเภอบานบึงควรสรางกลไกความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน ใหเปนรูปธรรมและยั่งยืน
เพ่อื ใหเปนเคร่ืองมอื สําคญั ในการสนับสนนุ การดาํ เนนิ ภารกิจระดบั พนื้ ที่ตอไปในอนาคต

4) ควรมีการจัดเตรียมสถานที่กักตัว แบบ Local Quarantine ท่ีเปนศูนยกลางของแตละพื้นท่ี
เพ่อื ใหเ กิดความสะดวกและควบคมุ ตดิ ตามตัวไดอยา งรวดเรว็

5) ควรมีการรณรงค ประชาสัมพันธใหขอมูล ความรูในการปองกันตนเอง เก่ียวกับโรคระบาดใหแก
ประชาชนในแตละพ้ืนท่ีใหชัดเจนและมีประสิทธิภาพ เพื่อประชาชนจะไดรับขอมูลขาวสารท่ีถูกตองและ
นาํ ไปปฏบิ ัติและประชาสัมพนั ธต อ ไดถ กู ตอ งและครบถวน

*****************************

41

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

ภาคผนวก

แนวทางปฏิบตั ิเม่ือพบผูเสยี่ ง COVID - 19 ในพื้นทอ่ี าํ เภอบานบึง

รพสต./อสม./ อปท. ผนู าํ ชมุ ชน ชุมชน/หมบู า น
หนว ยงานอ่ืนๆ ในพืน้ ท่ี

แจง

ทมี ตาํ บล/หมูบ า น
ตรวจสอบ/คัดกรอง

มาจาก ตปท. กทม.และปรมิ ณฑล สมั ผสั ผูปว ยยนื ยนั มาจากสถานท่เี สีย่ งตามประกาศ

กักกนั (ออกหนังสอื คาํ สั่ง หัวหนาทมี ตาํ บล/หมบู า น
ฯ) รายงานอาํ เภอดวยแบบสาํ รวจ

ประเมนิ สภาพที่กกั กัน รพ.บานบงึ โทร 098-8994690
เพ่ือเขารบั การรักษาผานชอ งทางพเิ ศษ
สรางความเขา ใจผูถกู พบปวย
กกั กนั รพ.สต. ออก ดําเนนิ ค
แจง คําสัง่ ดี
เขาสูระบบกักกัน 14 วัน

ปกติ

ปฏิบตั ิ ฝา
ได ฝน

ครบ 14 วนั ทมี ตําบล/หมูบ า นเขา
ออกหนงั สอื ยกเลิก ดําเนินการ

ฯ ไมเช่อื
ฟง
แจง
อําเภอ

42

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

ภาพการปฏบิ ตั งิ านในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
อําเภอบานบงึ

ภาพการศกึ ษาเรียนรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) ศึกษาพ้ืนทีอ่ ําเภอบานบึง

43

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

รายงานการเรียนรเู ชิงปฏิบัตกิ าร (Action Learning)

การบริหารจัดการปองกนั ระงับยับยั้ง การระบาดของโรคไวรัสโควิด
ในระดบั อาํ เภอ ของอําเภอศรีราชา

จัดทําโดย
กลุมปฏบิ ตั กิ ารท่ี 9 (กป.9)

1. นางวรี ยา รตั นนติ ย ผูอาํ นวยการกองยทุ ธศาสตรแ ละแผนงาน
2. นายองครกั ษ ทองนิรมล หวั หนา สาํ นักงานจังหวดั ตราด
3. นายเกรียงศักด์ิ สมจติ นายอําเภอหวยราช จงั หวดั บุรีรัมย
4. นายสันติ ชศู รี นายอําเภอทุง เขาหลวง จังหวดั รอ ยเอ็ด

5. นายสิทธิศกั ดิ์ (รกั ษาการในตําแหนง ผอู ํานวยการศูนยบรกิ าร
6. นายสมพงษ ประชาชน)
7. นายบนั ดาล อภิกุลชยั สิทธิ์ นายอําเภอแมอ าย จังหวดั เชียงใหม
8. นายนรินทร หอมสนิท นายอําเภอจักราช จงั หวัดนครราชสมี า
9. นายจรนิ ทร สถิรชวาล เจา พนกั งานท่ดี นิ จังหวดั สตลู
10. นายวโิ รจน กวางทอง โยธาธิการและผังเมืองจงั หวัดพิษณโุ ลก
อิว้ สวสั ดิ์ ทองถิ่นจงั หวดั กาญจนบรุ ี
หลาสกุล อยั การจงั หวดั ประจําสํานกั งานอยั การสูงสุด
สํานกั งานอัยการคุมครองสทิ ธแิ ละชวยเหลือทาง
กฎหมายและการบงั คับคดจี ังหวดั สมทุ รสาคร

รายงานนเ้ี ปนสว นหน่ึงของการศึกษาอบรมหลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74
สถาบันดํารงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
พุทธศกั ราช 2563

44

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

คาํ นํา

รายงานฉบับน้ีจัดทําขึ้นตามการศึกษาเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เรื่อง การประเมิน
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการปองกนั ระงบั ยบั ย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในพื้นที่อําเภอศรี
ราชา จังหวัดชลบรุ ี ซง่ึ จดั ทาํ รายงานโดยกลุมปฏิบตั กิ ารท่ี ๙ ของหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่
๗๔ โดยการศกึ ษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเรียนรูการบริหารงานและการปฏิบัติงานในพื้นที่อําเภอศรีราชา
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 การดําเนินงานและมาตรการตาง ๆ ในการใหความ
ชวยเหลือแกประชาชนในพ้ืนท่ี ประชาชนไดรบั ประโยชนอ ยา งไร ปจจยั แหง ความสําเร็จแหงการปฏิบัติงาน
ในสถานการณดงั กลาว รวมถึงการใหขอ เสนอแนะเพ่ือนําไปปรับใชในการปฏิบัติงานใหเกิดประโยชนสูงสุด
ตอ ประชาชนในอําเภอศรรี าชาตอไป

ในการน้ีกลุมปฏิบัติการที่ ๙ ขอขอบพระคุณทานนายอําเภอ และผูมีสวนเก่ียวของทุกทานท่ีไดให
ความรู และสถานท่ีท่ีไดไปศึกษาเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) ที่ไดใหความกรุณาใหความรูและถายทอด
ประสบการณท ่เี ปน ประโยชนในการนาํ มาสรุปรวบรวมวิเคราะหเพื่อจดั ทํารายงานฉบบั นี้ และหวงั เปนอยา ง
ยงิ่ วา รายงานฉบับนี้อาจเปนประโยชนตอผทู ส่ี นใจหรือตองการศกึ ษาคน ควาในเรอ่ื งดังกลา วไมม ากก็นอย

คณะผจู ดั ทํา
นักศกึ ษาหลักสตู รนกั ปกครองระดบั สูง รนุ ท่ี 74

กลุมปฏบิ ตั กิ ารท่ี 9 (กป.9)

45

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนที่ 74

กรอบการเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning)
การประเมินประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การปอ งกนั และระงับยบั ยั้งการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดบั อําเภอ ของอาํ เภอศรีราชา

1. ความเปน มา

1.1 ประวตั คิ วามเปนมาและสถานการณทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมและการเมืองของ
พน้ื ท่ที ท่ี ําการศกึ ษา

ขอมูลท่ัวไปของอาํ เภอศรรี าชา

อําเภอศรีราชา ตั้งอยชู ายฝง ทะเลตะวนั ออกของอาวไทย พื้นที่สวนใหญมีภูเขาลอมรอบและเปนที่
ลาดที่วาการอําเภอศรีราชาตั้งอยูริมถนนสุขุมวิทตําบลศรีราชาอยูหางจากจังหวัดชลบุรี ระยะทาง ๒๔
กิโลเมตรและหางจากกรงุ เทพมหานคร ระยะทาง ๑20 กิโลเมตร

อาณาเขตติดตอ
ทศิ เหนอื ตดิ ตอกับ อาํ เภอเมอื งชลบรุ ีและอาํ เภอบา นบึง จงั หวัดชลบุรี
ทิศใต ตดิ ตอ กับอําเภอบางละมุง จังหวดั ชลบุรี และอาํ เภอปลวกแดง
จังหวัดระยอง
ทิศตะวนั ออก ติดตอกับอาํ เภอบานบึง และอาํ เภอหนองใหญ จงั หวัดชลบุรี
ทิศตะวนั ตก ติดตอ กับชายฝงทะเลอาวไทย และเขตอําเภอเกาะสชี งั จังหวัดชลบุรี

สภาพพื้นที่
อาํ เภอศรีราชา มีเนื้อท่ีประมาณ ๖๔๓.๕๕๘ ตารางกิโลเมตร (๔๐๒,๒๒๓.๗๕ ไร) พื้นท่ีสวนใหญ

เปน ทีล่ าดเนนิ เขาขนาดเล็กกระจายทวั่ ไป พ้นื ท่เี หมาะแกการทําการเกษตร และอุตสาหกรรมมีท่ีราบลุมทํา
นาไดบางสวน(ตําบลทุงสุขลา) ทิศตะวันตกติดชายฝงทะเล และไมมีแมนํ้าลําคลองขนาดใหญไหลผานจะมี
เฉพาะทางนํ้าไหลจากภเู ขาลงสูทะเล การคมนาคมติดตอระหวางอําเภอและจังหวัดรวมทั้งการคมนาคมใน
ตําบลและหมูบ า นทง้ั ทางรถยนต รถไฟ เรือ ทง้ั ยังเปน ศูนยก ลางการนาํ เขาสง ออกทางทะเลของประเทศ

การปกครอง

อําเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ีมี ๘ ตาํ บล ๖๐ หมูบ า น คอื

๑. ตําบลศรีราชา มี 12 ชุมชน
ชมุ ชน
๒. ตําบลทงุ สุขลา (แหลมฉบงั ) มี 18 หมบู าน
หมบู าน
๓. ตาํ บลบอ วนิ มี ๘ หมบู า น
หมบู าน
๔. ตาํ บลบงึ มี ๙ หมบู าน
หมบู า น
๕. ตําบลเขาคันทรง มี ๑๐

๖. ตาํ บลสรุ ศกั ดิ์ มี ๑๐

๗. ตาํ บลหนองขาม มี ๑๑

๘. ตําบลบางพระ มี ๑๒

46

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

องคกรปกครองสวนทองถิน่ จํานวน ๘ แหง ดังนี้
เทศบาล ๔ แหง คือ

๑. เทศบาลนครแหลมฉบงั
๒. เทศบาลนครเจาพระยาสุรศกั ดิ์
๓. เทศบาลเมอื งศรรี าชา
๔. เทศบาลตาํ บลบางพระ
องคการบริหารสวนตาํ บล ๔ แหง คือ
๑. องคการบริหารสวนตําบลบางพระ
๒. องคการบริหารสว นตําบลบอวิน
๓. องคการบรหิ ารสวนตําบลเขาคนั ทรง
๔. องคก ารบริหารสว นตําบลหนองขาม

ประชากรและอาชีพ

ปจจุบันอําเภอศรีราชาเปนเขตก่ึงเกษตรกรรมและกึ่งอุตสาหกรรมซึ่งมีแนวโนมอุตสาหกรรมจะ
กาวนําการเกษตร เนอ่ื งจากการพัฒนาตามโครงการพฒั นาชายฝง ทะเลตะวนั ออก มีทา เรอื นา้ํ ลกึ แหลมฉบงั

ประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรทั้งส้ิน 311,458คน แยกเปนชาย 151,983 คน หญิง
159,475 คน และสามารถแยกรายละเอียดได ดังนี้

สํานกั ทะเบียน จาํ นวนครัวเรอื น ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
อาํ เภอศรีราชา
46,278 27,861 27,555 55,416
- ตาํ บลหนองขาม
- ตาํ บลเขาคนั ทรง 2,362 2,671 2,659 5,330
- ตําบลบางพระ
- ตาํ บลบอ วิน 5,237 3,447 3,519 6,966
เทศบาลนครแหลมฉบงั
เทศบาลนครเจา พระยาสุรศักดิ์ 11,785 9,028 8,819 17,847
เทศบาลเมืองศรีราชา
เทศบาลตําบลบางพระ 26,894 12,715 12,558 25,273

รวม 20,267 36,398 37,835 74,233

99,696 70,324 73,669 143,993

3,791 10,975 13,400 24,375

7,589 6,425 7,016 13,441

177,621 151,983 159,475 311,458

(ทีม่ า : สาํ นักทะเบยี นอําเภอศรรี าชา ขอมลู ณ เมษายน 2563)

อําเภอศรรี าชามปี ระชากรจํานวนรวมทงั้ ส้นิ มากกวา ๓ แสนคน ปจจุบันเปนเขตก่ึงอุตสาหกรรม และ
กง่ึ เกษตรกรรมซึง่ มีแนวโนมอุตสาหกรรมจะกาวนําการเกษตร เน่ืองจากการพัฒนาตามโครงการพัฒนาชายฝง
ทะเลตะวันออก มีการพัฒนาเปนพื้นที่โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก มีทาเรือน้ําลึกแหลมฉบัง
และมีสวนอุตสาหกรรม นคิ มอุสาหกรรมเปนหลัก

47

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

1.2 สภาพปญ หาของการระบาดในพื้นที่ท่ีศึกษา

ในพ้ืนที่อําเภอศรีราชา มีการพบผูติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จํานวนท้ังส้ิน 15
ราย แบงเปนประชาชนท่ีภูมิลําเนาในพื้นท่ีอําเภอ ศรีราชา จํานวน 6 ราย ประชาชนอีกจํานวน 9 ราย
เปนประชาชนท่ีไมม ีภูมลิ ําเนาในอาํ เภอศรรี าชา และผทู ่มี คี วามสัมผัสกับผูปวยที่มีความเส่ียงต่ํา (Low risk)
จํานวน 48 ราย ผูท่ีมีความสัมผัสกับผูปวยท่ีมีความเส่ียงสูง (High risk) จํานวน 112 รายรายละเอียด
ปรากฏตามแผนท่กี ารติดตามผปู ว ยและผสู มั ผสั ดังน้ี

1. รายที่ 1 ผูปวยเพศชาย ชาวอิตาลี อายุ 29 ป อยูที่หมู 1 ตําบลหนองขาม อําเภอศรีราชา
เร่ิมปวยวันที่ 1 มีนาคม 2563 มีผูสัมผัสใกลชิดที่มีความเสี่ยงนอยจํานวน 46 ราย และมีผู
สัมผสั ท่ใี กลชิดที่มีความเส่ียงมากจํานวน 11 ราย

2. รายที่ 2 ผูปวยเพศชาย อยูท่ีจังหวัดฉะเชิงเทรา เปนพนักงานบริษัทสยามโคชิ พื้นท่ีหมู 4
ตําบลบอวินอําเภอศรีราชา มีผูสัมผัสใกลชิดท่ีเส่ียงมากจํานวน 8 ราย เดินทางไปที่อําเภอ
บานบึง จังหวัดชลบุรี จํานวน 1 ราย อีกจํานวน 7 ราย เร่ิมกักตัววันที่ 14 - 28 มีนาคม
2563

3. รายที่ 3 ผูปวยเพศหญิง ภูมิลําเนาจังหวัดบุรีรัมย ทํางานพนักงานบริการท่ีซอย 6 ตําบลศรี
ราชา อําเภอศรีราชามีผูสัมผัสใกลชิดที่เส่ียงมากจํานวน 15 ราย ออกนอกอําเภอศรีราชา
จํานวน1 ราย โดยกลับบานที่จังหวัดมุกดาหาร อีกจํานวน 14 ราย กักตัวท่ีอําเภอศรีราชา
จํานวน 5 ราย เริ่มกกั ตวั วันที่ 16 – 30 มนี าคม 2563 จํานวน 7 ราย เร่ิมกักตัววันท่ี 17-
31 มีนาคม 2563 จํานวน 2 ราย เริ่มกกั ตวั เมื่อวนั ที่ 18 มีนาคม - 1 เมษายน 2563

4. รายท่ี 4 ผปู วยเพศชาย พักอาศัยอยูอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี เปนพนักงานบริษัทมิตซูบิ
ชมิ อเตอร หมู 3 ตําบลทุง สขุ ลา อําเภอศรีราชา เช่อื มโยงกบั รายท่ี 6 และ 9 มีผูสัมผัสใกลชิด
ที่เสี่ยงมากจํานวน 8 ราย ในจํานวนนี้เดินทางออกนอกอําเภอศรีราชาจํานวน 4 ราย
ประกอบดวย เดนิ ทางเขาอําเภอบางละมุงจํานวน 2 ราย เดินทางเขาอําเภอสัตหีบจํานวน 1
ราย และเดินทางเขากรุงเทพฯจํานวน 1 ราย โดยอีกจํานวน 4 ราย กักตัวที่อําเภอศรีราชา
เมื่อวันที่ 13 - 27 มีนาคม 2563

5. รายที่ 5ผูปวยเพศหญิง อําเภอเมืองชลบุรีประกอบอชีพพนักงานสนามกอลฟ หมู 10 ตําบล
บางพระ อําเภอศรีราชา มีผูสัมผัสใกลชิดท่ีเส่ียงมากจํานวน 7 ราย เดินทางออกนอกอําเภอ
ศรรี าชาไปทีอ่ าํ เภอบา นบึงจาํ นวน 1 ราย โดยอีกจํานวน 6 ราย เขา รับกักตัวท่ีอําเภอศรีราชา
จํานวน 2 ราย เร่ิมกักตัวเมื่อวันที่ 18 มีนาคม - 1 เมษายน 2563 จํานวน 3 ราย เริ่มกัก
ตวั วันท่ี 21 มนี าคมถงึ 4 เมษายน 2563 และจาํ นวน 1 ราย เร่ิมกักตัววันท่ี 22 มีนาคม -
5 เมษายน 2563

6. รายท่ี 6 ผูป วยเพศชาย จงั หวัดชลบรุ ี ประกอบอาชีพรับจาง อายุ 42 ป หมู 3 ตําบลสุรศักด์ิ
อําเภอศรีราชา เริ่มปวย 18 มีนาคม 2563 เช่ือมโยงกับรายท่ี 4 มีผูสัมผัสใกลชิดท่ีมีความ
เส่ียงนอ ย 1 ราย และมีผูสัมผัสใกลชิดที่เส่ียงมากจํานวน 19 ราย รวม 20 ราย ในจํานวนนี้

48


Click to View FlipBook Version