The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประมวลผลการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการป้องกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบลหมู่บ้าน ระดับกลุ่มอำเภอ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี (ปี 2563)

โครงการอบรมหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 74 ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: ด้านทั่วไป

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

มีผูเดินทางออกนอกอําเภอศรีราชาไปอําเภอบางละมุงจํานวน 2 รายและเดินทางกลับบาน
ที่จังหวัดบรุ รี มั ยอ กี จาํ นวน 2 ราย สวนจาํ นวนที่เหลืออีก 16 ราย กกั ตัวทอ่ี ําเภอศรีราชา เมื่อ
วันท่ี 18 มีนาคม - 1 เมษายน 2563 จํานวน 15 รายและกักตัวเมื่อวันที่ 25 มีนาคม -
8 เมษายน 2563 จาํ นวน 1 ราย
7. รายท่ี 7 ผปู ว ยเพศหญิง เดินทางมากจากตางประเทศ อายุ 29 ป พักอาศัยอยูหมูท่ี 6 ตําบล
ทุงสุขลา อําเภอศรีราชา เร่ิมปว ยวนั ท่ี 12 มนี าคม 2563 มีผูสมั ผสั ใกลช ดิ ท่ีเสี่ยงมากจํานวน
1 ราย เรมิ่ กกั ตัวเมอื่ วนั ท่ี 25 มนี าคม - 8 เมษายน 2563
8. รายที่ 8 เพศหญิง ภูมิลําเนาจังหวัดระยอง ประกอบอาชีพพนักงานธนาคาร หมู 3 ตําบลบอ
วิน อําเภอศรรี าชา เช่ือมโยงกบั รายท่ี 11 เร่ิมปวยวันที่ 16 มีนาคม 2563 มีผูสัมผัสใกลชิด
ท่มี คี วามเสย่ี งมากจาํ นวน 12 ราย เดินทางออกนอกอําเภอศรีราชาจํานวน 5 ราย ในจํานวน
นี้เดินทางไปอําเภอปลวกแดงจํานวน 4 ราย เดินทางไปอําเภอสัตหีบจํานวน 1 ราย และอีก
จํานวน 7 รายกักตัวที่อําเภอศรีราชาเมื่อวันท่ี 9 - 23 มีนาคม 2563 จํานวน 1 ราย และ
กักตวั เม่ือวันท่ี 20 มนี าคม - 3 เมษายน 2563 จาํ นวน 6 ราย
9. รายที่ 9 ผูปวยเพศหญิง ประกอบอาชีพพนักงานเอเจนซี่อยูหมูที่ 3 ตําบลสุรศักดิ์ อําเภอ
ศรีราชา เริ่มปวยเมื่อวันท่ี 25 มีนาคม 2563 เชื่อมโยงกับรายที่ 4 ผูสัมผัสใกลชิดที่มีความ
เสี่ยงนอ ยจาํ นวน 1 ราย ผูส ัมผสั ใกลช ิดที่มีความเสี่ยงมากจํานวน 4 ราย โดยในจํานวนทั้ง 5
ราย อาศัยอยอู ําเภอศรีราชา เร่ิมกักตัวเม่ือวันที่ 19 มีนาคม - 3 เมษายน 2563 จํานวน 3
รายและกักตวั เมอ่ื วันท่ี 25 มีนาคม - 7 เมษายน 2563 จํานวน 2 ราย
10.รายที่ 10 ผปู วยเพศหญงิ ประกอบอาชีพแมบาน อายุ 42 ป หมูที่ 3 ตําบลสุรศักด์ิ เริ่มปวย
8 มนี าคม 2563 มีผสู ัมผัสใกลช ิดท่มี คี วามเสยี่ งมากจาํ นวน 2 ราย ในจาํ นวนนเ้ี ร่มิ กักตัวเม่ือ
วันที่ 28 มีนาคม - 9 เมษายน 2563 จํานวน 1 ราย และกักตัววันท่ี 29 มีนาคม - 10
เมษายน 2563จาํ นวน 1 ราย
11.รายท่ี 11 ผูปวยเพศหญิง ประกอบอาชีพพนักงานธนาคาร หมูท่ี 3 ตําบลบอวินอําเภอเร่ิม
ปว ยวันท่ี 27 มีนาคม 2563 เชอ่ื มโยงกับรายท่ี 8 มีผูสัมผัสใกลชิดที่มีความเสี่ยงมากจํานวน
1 ราย เรม่ิ กักตัววนั ท่ี 30 มีนาคม - 13 เมษายน 2563
12.รายท่ี 12 ผปู วยเพศหญงิ อาศัยอาํ เภอเมืองชลบุรี เดินทางมารานเสริมสวยที่ อําเภอศรีราชา
เร่มิ ปวย เมือ่ วันที่ 15 มนี าคม 2563 มีผูสัมผัสใกลชิดท่ีมีความเสี่ยงมากจํานวน 1 ราย เริ่ม
กกั ตวั วนั ที่ 15 - 29 มีนาคม 2563
13.รายท่ี 13 ผปู วยเพศชาย ภูมลิ าํ เนาอาํ เภอพานทอง มผี สู มั ผัสใกลช ิดทีม่ คี วามเสยี่ งมากจํานวน
11 ราย ในจํานวนนเี้ ริ่มกกั ตัวเมอ่ื วนั ที่ 4-17 เมษายน 2563 จํานวน 1 ราย เร่ิมกักตัวเม่ือ
วันที่ 6-20 เมษายน 2563 จํานวน 4 ราย เริ่มกักตัวเมื่อวันท่ี 9 - 23 เมษายน 2563
จํานวน 2 ราย เร่ิมกักตัวเม่ือวันท่ี 21 - 28 เมษายน 2563 จํานวน 2 ราย เร่ิมกักตัวเม่ือ
วนั ท่ี 23 เมษายน ถงึ 7 พฤษภาคม 2563จาํ นวน 2 ราย

49

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

14.รายที่ 14 ผปู ว ยเพศหญิง อายุ 27 ป ประกอบอาชีพพนักงานรานโทรศัพท AIS พักอาศัยอยู
หมทู ่ี 8 ตาํ บลบางละมงุ อําเภอบางละมงุ มีผสู มั ผสั ใกลช ิดทมี่ คี วามเส่ียงมากจาํ นวน6 ราย ใน
จํานวนนี้มีเจาหนาท่ีเทศบาลนครเจาพระยาสุรศักด์ิเปนผูติดตามจํานวน 4 ราย และเปน
เจา หนา ที่เทศบาลนครแหลมฉบังเปนผูติดตามอีกจํานวน 2 ราย โดยเริ่มกักตัวเมื่อวันที่ 19 - 26
เมษายน 2563

15.รายที่ 15 ผูปว ยเพศชาย ประกอบอาชีพตํารวจ เดินทางจากกรุงเทพฯ นําตัวผูตองหามาสงท่ี
สถานีตํารวจภูธรหนองขาม มีผูสัมผัสใกลชิดที่มีความเสี่ยงมาก 6 ราย ในจํานวนนี้กักตัวที่
โรงแรมแกรนเบลลา พัทยา กกั ตัวเม่อื วันท่ี 21 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2563

โดยผปู ว ยและผสู ัมผสั ในพืน้ ที่อาํ เภอศรรี าชาทั้ง 15 ราย อาศยั อยูใน 6 ตาํ บลของอําเภอ ดังนี้
1. ตาํ บลหนองขาม
2. ตําบลบอวิน
3. ตําบลสรุ ศักด์ิ
4. ตําบลบางพระ
5. ตําบลทุง สขุ ลา
6. ตําบลศรีราชา

1.3 รูปแบบการแกป ญหาในพน้ื ที่ท่ีศกึ ษา

ใชรปู แบบการแกปญ หาการปองกันการแพรร ะบาดของโรคในพื้นที่ โดยใชม าตรการเชงิ รุก ดังนี้

1. สํารวจสถานทีเ่ ส่ียง เชน สถานท่ีทองเท่ียว รานจําหนายอาหารและของฝาก โรงแรม สถานีรถ
โดยสาร ดําเนินการโดยองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลในทองท่ีตาง
ๆ และทาํ การเกบ็ ขอมลู

2. ดาํ เนินการเชงิ รกุ ในสถานทเี่ ส่ียง โดยใหค ําแนะนาํ การปองกัน พรอมท้ังติดปายประชาสัมพันธ
วางติดต้ังเจลแอลกอฮอล และจัดทําแผนพับความรูทําความสะอาด ในจุดที่มีการสัมผัสบอย ๆ เชน ราว
บนั ได ลูกบิดประตู ใหมีการดูแลตนเอง รักษารา งกายใหแ ขง็ แรงอยูเ สมอ สังเกตอาการหากพบพนักงาน
มีไข ไอจาม ควรใหห ยุดพักการทาํ งาน และสื่อสารกับไกดท วั ร นกั ทองเทีย่ ว หากพบอาการตอ งสงสยั
ไปพบแพทยท ันที

3. ประสานองคกรปกครองสว นทอ งถิน่ และ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลรวมประชาสัมพันธ
ใหความรชู อ งทางตา ง ๆ เชน MorningTalk ในโรงเรียนปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
ใหกบั นกั เรยี น บุคลากรในโรงเรยี น ใหค วามรูอาสาสมัครสาธารณสุขหมบู าน (อสม.) และประชาชนท่วั ไป

4. ประชาสัมพันธใหความรู ในการประชุมหัวหนาสวนราชการ ประชุมกํานันผูใหญบาน ประชุม
หนว ยงานตา ง ๆ

5. ขอความรวมมือ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หนวยงานภาครัฐ เตรียมความพรอมการ
สนับสนุนวสั ดุและส่ือใหความรูตา ง ๆ โดยใชงบกองทุนหลักประกันสุขภาพ และเฝาระวัง ปองกัน COVID-
19 โดยจัดกิจกรรม Big Cleaning Week ในหนว ยงาน จดุ บรกิ ารประชาชน และสถานที่สาธารณะ

50

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

6. ประชุมเตรียมความพรอม รับทราบแนวทางเฝาระวัง ปองกันการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ในสถานท่ีเส่ยี ง ประกอบดวย โรงแรม สถานท่ที องเที่ยว สถานประกอบการโรงงาน หางสรรพสินคา
รา นอาหาร ปมนํา้ มัน สถานศึกษา และหนว ยงานราชการ

7. ประชุมเตรียมความพรอมและแนวทางการแยกโรคหรือกักกันโรคที่บานกรณี PUI และผูสัมผัส
เสี่ยงสูง โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

และใชรูปแบบการแกปญหาการปองกันการแพรระบาดของโรคในพ้ืนที่ โดยใชมาตรการเชิงรับ
ดังนี้ 1) เฝาระวังและปฏิบัติงานนอกเวลา เพ่ือใหคําปรึกษาและรองรับภาวะฉุกเฉิน 2) ประชาสัมพันธให
ขอ มูล และคาํ แนะนาํ ทางไลนอ ําเภอศรรี าชา

1.4 ความคาดหวังของประชาชนและผปู ฏบิ ตั ิงาน
1. ความคาดหวงั ของผปู ฏิบตั ิงาน

1) ประชาชนในพน้ื ที่อาํ เภอศรรี าชาไมม ผี ตู ดิ เชือ้ โรคไวรัสโคโรนา 2019
2) ประชาชนสามารถประชาสัมพันธใหกับคนใกลชิด คนในครอบครัว ในการปองกันตาม
มาตรการตา ง ๆ เพ่ือปอ งกนั การแพรระบาดของโรคไดอยางถูกตอง
2. ความคาดหวงั ของประชาชน
1) ประชาชนในพ้ืนท่ีอําเภอศรีราชามีมั่นใจในมาตรการการปองกันการแพรระบาดของโรคติด
เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019ทีผ่ ปู ฏบิ ัตงิ านแนะนาํ ใหค วามรู
2) ผูปฏิบัตงิ านมีการปฏบิ ัติงานไดอยางถกู ตอ ง มีการปอ งกนั ตนเองตามมาตรการทก่ี ําหนด

2. เปาหมายหรือผลลัพธทีต่ องการ
1) ราษฎรในพนื้ ที่ปลอดโรค

ประชาชนในพื้นท่ีติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 มีจํานวนนอยมาก เมื่อเทียบกับจํานวนประชากรใน
พน้ื ท่ีทอี่ าศยั อยูจํานวนมาก

2) ผูทก่ี ลบั มาจากพน้ื ท่ีทโ่ี รคระบาดทกุ คนตอ งกักตวั 14 วัน
ผูที่กลับมาจากพ้ืนที่ท่ีโรคระบาดทุกคนตองกักตัว 14 วันในปจจุบันมียอดผูเดินทางเขาหมูบาน/
ชุมชน เปนจํานวน 60 หมบู า น/ชมุ ชน จํานวน 448 ราย

3. แนวทางการดาํ เนนิ งาน
1) แนวทางกลไกกระบวนการและการบรหิ ารจดั การตามคําสงั่ ของศนู ยบ รหิ ารสถานการณโ ควดิ -19
อําเภอศรีราชา มแี นวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารการจัดการ ดังน้ี
1. ปฏิบัติตามมาตรการเรงดวนตาง ๆ ในการปองกันการแพรระบาดของโรค ตามคําส่ัง

คณะกรรมการโรคติดตอจังหวดั ชลบรุ ี ท่ี 1- 27/2563
2. ตง้ั ดานจุดตรวจ/ จุดสกดั เพ่ือคดั กรอง ผเู ดินทางเขา พนื้ ท่อี ําเภอศรีราชา

51

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

3. แตงตั้งชุดเฉพาะกิจ ชุดปฏิบัติการเคล่ือนที่เร็ว เพื่อออกตรวจตราความปลอดภัยใน
ชีวติ และทรพั ยสินของประชาชน

4. สาํ รวจขอมูลประชาชนผูท่เี ดนิ ทางเขาหมูบ า น/ ชุมชน เพ่อื บนั ทึกขอ มลู ลงในระบบ

5. สาํ รวจขอ มลู ผูท่ไี ดร บั ผลกระทบจากโรคโควิด - 19 เพอ่ื บันทึกขอมลู ลงในระบบ

6. ใหความชวยเหลือและเยียวยาผูท่ีไดรับผลกระทบจากโรคโควิด - 19 เชน การแจก
ส่ิงของอุปโภค บริโภค ถุงยังชีพ เงินดํารงชีพ จากหนวยงานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และบุคคลท่ีมีความ
ประสงคจ ะบรจิ าค

2) การประยกุ ตใหเ หมาะสมกับบรบิ ทและความตองการของประชาชนในแตล ะพ้นื ท่ี

อําเภอศรีราชา ไดมีการประยุกตแนวทางใหเหมาะสมกับความตองการของประชาชนได
ตามแบบรายงานการถอดบทเรยี นตัวอยางทีป่ ระสบความสาํ เรจ็ (Best Practice)

ตัวอยางท่ีประสบความสาํ เร็จ (Best Practice) ในการบรหิ ารจัดการในการเฝาระวงั
และปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ของฝา ยปกครอง : กรณีศึกษา
เรอื่ ง การแจกจายสงิ่ ของชวยเหลือผไู ดรบั ผลกระทบจากการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) หนวยงานทท่ี าํ การปกครองอําเภอศรีราชา จังหวดั ชลบรุ ี

1. หลกั การ/แนวคดิ
ตามท่ี ไดม กี ารแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพ้ืนท่ีอําเภอ
ศรรี าชา ทาํ ใหมีผูที่ไดรับผลกระทบจากการแพรระบาดของโรคจํานวนมาก ปจจุบัน ไดมี
ประชาชน กลมุ บุคคล องคก ร ทกุ ภาคสว นตา ง ๆ ไดมแี นวคิดทจี่ ะบริจาค แจกจายส่ิงของ
ใหแกผูไ ดรับผลกระทบในพนื้ ทีอ่ าํ เภอศรรี าชา เพอ่ื เปนการเยยี วยาความเดือดรอ น

2. ปญ หา/อุปสรรค
1) มีการแจกจายหลายองคก ร
2) การแจกจา ยสิ่งของในแตล ะครงั้ มจี ํานวนตงั้ แต 200/ 500/ 1,000/ 2,000 /3,000
และ 10,000
3) สถานทีแ่ จกจา ยไมเ หมาะสมกบั จาํ นวนผูมารับส่ิงของ

3. การบริหารจัดการ/กระบวนการ/วิธีการ/แผนผงั ความคิด
ท่ีทําการปกครองอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี จึงไดมีประกาศอําเภอศรีราชา เรื่อง แนว
ทางการปฏบิ ัติในการบริจาค หรือแจกจายส่ิงของชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจากการแพร
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพ้ืนที่อําเภอศรีราชาซึ่งจะ
กําหนดจุดการแจกจายส่ิงของ อุปโภค บริโภค สิ่งของจําเปนตาง ๆ เพ่ือไมใหเกิดการ
รวมกลุมจํานวนมากของประชาชน ซ่ึงเปนสถานที่ที่ไมคับแคบ แออัด โดยกําหนดจุดใน
พ้ืนท่ีขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน 8 แหงอยางชัดเจน และมีการประสานหนวยงานท่ี
เกี่ยวของบูรณาการรวมกัน ไมวาจะเปนกํานัน ผูใหญบาน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน
เจาหนาท่ีตํารวจ สาธารณสุขอําเภอ รพ.สต. สมาชิก อส. สมาชิกชมรมราชสีห พิทักษ

52

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

ราษฎร เจาหนา ท่มี ูลนิธิตา ง ๆ เขา รว ม มีกระบวนการจดั การเปนไปตามมาตรการตางของ
ทางราชการอยางถูกตอง โดยเฉพาะการเวนระยะหางทางสังคม (Social distancing) มี
การจัดทําตารางการแจกจายลวงหนา ตามที่ผูประสงคจะบริจาค/แจกจายสิ่งของ ติดตอ
ประสานงานกบั อาํ เภอศรีราชา ใหทราบกอนการแจกจาย มอบส่ิงของในพ้ืนที่ โดยอําเภอ
ศรีราชาเปน หนว ยงานกาํ หนดพน้ื ทแ่ี ละขน้ั ตอนการคัดกรอง รวมถงึ ข้นั ตอนการแจกจาย
4. ผลสําเร็จ/ประโยชนท่ไี ดร ับ
ปจจุบันการบริจาค แจกจายสิ่งของในพื้นท่ีอําเภอศรีราชา เปนไปดวยความเรียบรอย
สามารถจดั ระบบการปองกนั ตามมาตรการการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรค
ตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนดไว และเปนการบรรเทาเยียวยา ความ
เดือดรอนของผูท่ีไดรับผลกระทบเปนอยางมากดังที่เปนขาวตามส่ือตาง ๆ ซ่ึงเปนตัวชี้วัด
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหนา ทขี่ องเจา หนาท่ีตามทป่ี รากฏในส่อื ตาง ๆ
https://www.dailynews.co.th/regional/771020

4. ผลการดําเนินงาน (ตง้ั แตต นเดือนมนี าคมจนถงึ เวลาท่ที าํ การศกึ ษา)
1. การตั้งจุดตรวจคัดกรองผูเดินทางเขา-ออกจากพ้ืนท่ีอําเภอศรีราชา (วันที่ 27 มีนาคม - 30

เมษายน 2563)ระหวา งเวลา 08.00 น. - 08.00 น. ของวันรุงข้ึน ( 3 ผลัด) ณ บริเวณหนาวัดหวยปราบ
หมทู ่ี 3 ตาํ บลบอวิน อาํ เภอศรรี าชา สรปุ รายละเอียด ดังน้ี

- ยานพาหนะเรยี กตรวจ จํานวน 6,487 คนั
- จาํ นวนคนทคี่ ัดกรอง แบงเปน ชาย 5,378 ราย หญิง 2,093 ราย รวม 7,471 ราย
- บุคคลทีม่ ีไขเ กนิ 37.5 องศา ขึน้ ไป จํานวน 3 ราย
โดยมีหนวยงานรว มปฏิบัติงาน ดงั นี้
- เจา หนาทีฝ่ า ยปกครอง , เจาหนาทต่ี ํารวจ , องคกรปกครองสวนทองถนิ่ , เจาหนาที่ขนสงจังหวัด
ชลบุรี สาขาศรรี าชา , กาํ นนั /ผใู หญบา น , ชุดรกั ษาความปลอดภัยหมูบ า น และมูลนิธิ

53

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

2. การตั้งจดุ ตรวจทางนา้ํ คัดกรองผูเดนิ ทางเขาพืน้ ท่ี อ.เกาะสีชัง (วันท่ี 31 มีนาคม – 29 เมษายน
2563) ณ ทาเรอื เกาะลอย โดยมีหนว ยงานรว มปฏบิ ัติงาน ดงั นี้ สมาชิก อส.อ.ศรรี าชา , สมาชกิ อส.อ.เกาะสชี งั
และเทศบาลเมืองศรีราชา

3. การต้ังจุดตรวจตามประกาศสถานการณฉุกเฉินในชวงวิกฤติการณจากการแพรระบาดไวรัสโค
โรนา 2019 หรือโควิด 19

ต้ังแตว ันที่ 8 เมษายน 2563 - 16 พฤษภาคม 2563 ระหวางเวลา 22.00 น. - 04.00 น.
ตั้งแตวันที่ 17 พฤษภาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ระหวา งเวลา 23.00 น. - 04.00 น.
ตง้ั แตวันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563 - 13 มิถนุ ายน 2563 ระหวา งเวลา 23.00 – 03.00 น.
ณ บรเิ วณหนา สถานีตํารวจภธู รศรรี าชา โดยมีหนวยงานรวมปฏบิ ตั งิ าน ดังน้ี
- เจาหนาทฝ่ี า ยปกครอง ,กํานัน/ผูใ หญบาน , เจา หนาท่ีตาํ รวจ สภ.ศรรี าชา , เจาหนาทท่ี หาร
ผลการปฏบิ ัติในภาพรวมอําเภอศรรี าชา
- จบั กุมขอหาฝา ฝน พ.ร.ก. ฉุกเฉินออกนอกเคหะสถาน จาํ นวนทง้ั สิ้น 237 ราย

4. ดําเนนิ การสงหนากากอนามัยใหจังหวัดตางๆ จํานวน 60,000 ช้ิน ขึ้นไป โดยใชรถไปรษณีย
ไทยจดั สง มีหนวยงานรวมปฏิบัตงิ าน ดงั นี้

- เจา หนาท่ฝี ายปกครอง , เจาหนาที่ กอ.รมน.จว.ชบ. , กรมการคาภายใน , พาณิชยจังหวดั ชลบรุ ี

54

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุน ท่ี 74

5. การจัดสรรหนากากอนามัย

อําเภอศรีราชา ไดรับการจัดสรรหนากากอนามัยจากท่ีทําการปกครองจังหวัดชลบุรี ต้ังแตวันที่
31 มีนาคม 2563 – 16 มถิ ุนายน 2563จาํ นวน 64 ครั้ง รวมทั้งสิ้นจํานวน 260,600 ช้ิน โดยไดทํา
การกระจายและแจกจายใหกับกลุมเสีย่ ง 4 กลุม

1. กลุมผูป ฏบิ ัติหนา ทใี่ กลช ดิ /สมั ผสั ผูปว ย ในหมบู าน/ชมุ ชน จาํ นวน 70,288 ชิ้น

2. ผปู ฏิบตั งิ านใกลช ดิ กับประชาชน จํานวน 65,611 ชนิ้

3. กลุมผูปฏบิ ัติงานที่มคี วามเสีย่ ง จํานวน 67,158 ช้นิ

(กลมุ ที่ไดร ับการคดั สรร ไดแก พนักงานเกบ็ ขยะ ทกุ อปท. เจาหนาทีป่ ฏิบัติงานจดุ ตรวจ)

4. กลมุ เสย่ี ง กลุมเปราะบาง จํานวน 57,543 ชิ้น

วิธีการแจกจาย เมื่อไดรับหนากากอนามัยจากท่ีทําการปกครองจังหวัดชลบุรีแลว ไดจัดทําบัญชี
แจกจาย จัดสรรตามขนาดของหนวยงานตาง ๆ ในอําเภอศรีราชา โดยแจงใหผูรับผิดชอบหรือผูแทนท่ี
ไดรับการมอบหมายมารบั หนา กากอนามัยโดยทนั ที

6. รับตัวผูเดินทางมาจากตางจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีเส่ียง และกลับจากตางประเทศ เขามาในพื้นที่อําเภอ
ศรีราชา

Home Quarantine ผูเดินทางเขาหมูบาน/ชุมชน ตั้งแตวันท่ี 6 มีนาคม 2563 – 17 มิถุนายน
2563 จาํ นวน 448 คน แบงเปน 60 หมูบา น/ชุมชน ในจํานวน 8 ตาํ บล
โดยมหี นว ยงานรวมปฏิบัติงาน ดงั น้ี

- เจา หนาท่ีฝา ยปกครอง , กาํ นัน/ผใู หญบาน, องคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ , สาธารณสขุ อาํ เภอศรรี าชา
Local Quarantine ต้ังแตวันที่ 4 เมษายน 2563 – 17 มิถุนายน 2563 รวม 35 คร้ัง
จาํ นวน 214 คน โดยใชส ถานท่ี 3 แหง ดังนี้

1. ศนู ยฝ กและทดสอบขับรถมาตรฐาน ภาคตะวันออก จงั หวัดชลบุรี
2. โรงแรมแกรนดเ บลลาพทั ยา อําเภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี
3. โรงแรมเบลลา เอก็ ซเพรส พทั ยา อาํ เภอบางละมุง จังหวดั ชลบรุ ี
โดยมีหนวยงานรวมปฏบิ ัติงาน ดังน้ี- เจา หนาทีฝ่ ายปกครอง , สาธารณสุขอําเภอศรีราชา
State Quarantine ไมมยี อดผูกักกนั

55

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74

7. ระบบรายงานผูไดรับผลกระทบจากมาตรการปองกันแกไขปญหาเช้ือไวรัส COVID-19
(Thai QM) ตั้งแตวันท่ี 10 เมษายน 2563 – 19 พฤษภาคม 2563 ผูท่ีไดรับผลกระทบ จํานวน
6,585 คน แบง เปน 8 ตําบล 95 หมูบา น/ ชมุ ชน

8. การดาํ เนินคดี การบงั คบั ใชกฎหมายในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19)

8.1 พบชาวเกาหลีนั่งรับประทานอาหารและเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลอยูภายในราน จึงได
จับกุมและแจงขอหาดังน้ีโดยท้ัง 3 ถูกจับในขอหา ฝาฝนคําสั่งคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีท่ี
16/2563 ลงวนั ที่ 11 เมษายน 2563 เรือ่ ง มาตรการเรงดวนในการปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 ขอ 4 ดื่มสุรา สุราแช สุรากล่ันหรือเครื่องด่ืมท่ีมีสวนผสม
แอลกอฮอลภายนอกเคหะสถานจากน้ันไดควบคุมตัวผูถูกจับสงพนักงานสอบ สว นสภ.หนองขามเพ่ือ
ดาํ เนินคดีตอไป

8.2 ตรวจสอบสนามแขงรถ ฯ dirt power ม.3 ต.บอวิน อ.ศรีราชา จ.ชลบรุ ี ตามขาวท่ี
ปรากฎบนสื่อโซเชียล วามีการรวมกลุมจัดการเเขงรถวิบาก ในลักษณะม่ัวสุมซึ่งกอใหเกิดภาวะไมถูก
สุขลักษณะ อาจเปนเหตุใหแพรกระจายโรคติดตออันตรายหรือโรคระบาดออกไปได แจงขอกลาวหาวาฝา
ฝนพรก.ฉุกเฉิน และนําตัวท้ัง 3 ราย ไปท่ี สภ.บอวิน เพื่อดําเนินคดีตามกฎหมายตอไป ผลคืบหนาเปน
ประการใด จักแจง ใหทราบอกี ครง้ั หน่ึง

8.3 ตรวจสอบการจําหนายหนากากอนามัย 1 แผน ในราคา 20 บาท ซ่ึงเกินกวาราคา
ที่กําหนดไว ตอมาจึงไดดําเนินการลอซ้ือหนากากอนามัย และพบวาขายเกินราคาจริง จึงไดตรวจยึดของ
กลาง นําสงพนักงานวอบสวน เพ่ือดําเนินการตามกฎหมาย ขอหากระทําผิดตาม ม.29 พ.ร.บ. วาดวย
ราคาสนิ คา และบริการ พ.ศ. 2542 “จําหนายสนิ คาราคาสงู เกนิ กวาสมควร”

9. ไดอ อกตรวจสถานประกอบการตามมาตรการผอนปรนระยะตา ง ๆ

10. จัดใหมีการคัดกรอง ใหกับผูท่ีมารับบริจาคสิ่งของ และใหสวมหนากากอนามัย ลางมือดวย
แอลกอฮอล จัดสถานท่ีเวนระยะหาง (Social Distancing) ใหกับผูท่ีมารับสิ่งของ เพ่ือปองกันและควบคุม
การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ตั้งแตวันที่ 20 เมษายน 2563 – 26

56

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

มิถุนายน 2563 จํานวนทั้งส้ิน 132 คร้ัง โดยมีหนวยงานรวมปฏิบัติงาน ดังน้ี- เจาหนาที่ฝายปกครอง ,
องคกรปกครองสว นทองถ่ิน เจาหนา ที่ตาํ รวจ , กํานัน/ผูใหญบา น , สาธารณสขุ อาํ เภอศรีราชา

5. ปญหา อุปสรรคในการดําเนินงาน แนวทางแกไข

ปญหา และอปุ สรรคในการดําเนินงาน มีดังนี้

1. จาํ นวนผูปฏิบตั ิงานไมเพยี งพอกบั จํานวนประชากร

2. สภาพสังคมเมอื งในปจจุบัน ไมเอ้ืออํานวยในการปฏิบัติงานเนื่องจากสภาพที่อยูอาศัย
สวนใหญเ ปน หมบู านจัดสรร ซ่ึงประชาชนไมอ ยูบา นในชวงกลางวันได

แนวทางการแกไ ขปญ หา และอปุ สรรคในการดําเนนิ งานมีดังน้ี

1. เพ่ิมจํานวนผูปฏิบัติทุกภาคสวนและขอความรวมมือภาคเอกชนตาง ๆ เพ่ิมกลุม
ประชาชนจิตอาสา

2. เม่อื สภาพสงั คมเมอื งไมเ อ้ืออํานวย ผูปฏิบัติงานจึงตองเพ่ิมเวลาปฏิบัติงานในชวงเวลา

กลางคืน

6. ประโยชนที่ประชาชนไดร บั

ประชาชนไดรับประโยชน ดังน้ี

1. มีความปลอดภัยในการดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั
2. มีการสรางลักษณะนิสัยที่เพ่ิมขึ้น เชน การเวนระยะหางทางสังคม การลางมือ การ
สวมหนา กากอนามยั การกนิ อาหารทีป่ รงุ สกุ

3. ประชาชนมสี ขุ ภาพที่ดีข้นึ

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมในพน้ื ท่ที ท่ี ําการศึกษา

ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมในพน้ื ท่ี มดี ังน้ี

1. เศรษฐกิจเกิดการชลอตวั

2. ผูประกอบการรายยอย เชน รานอาหาร สถานบริการ สถานท่ีทองเที่ยว รานคา ตอง
หยุดกิจการชั่วคราวตามมาตรการปองกันโรคติดตอทําใหรายไดลดลง ไมเพียงพอตอการดํารงชีพใน
ครัวเรอื น

3. มีการลดการจางงาน ทาํ ใหเกดิ ปญ หาการวา งงานข้ึน สงผลใหการบริโภคลดลง

57

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

4. สภาพการดําเนินชีวติ ในครอบครัว และสังคมของประชาชนในพื้นท่เี กิดความตึงเครียด
เนื่องจากไมส ามารถดําเนนิ ชวี ติ ไดอ ยา งปกติ

8. ทศั นคตขิ องภาคสว นตา งๆ ทั้งภาครฐั ภาคทองถ่นิ ภาคประชาชน และผไู ดรบั ผลกระทบ
ทศั นคตขิ องภาคสวนตา งๆ ทง้ั ภาครัฐ ภาคทองถ่ิน ภาคประชาชน และผไู ดร ับผลกระทบดงั นี้
1. ภาครัฐ และภาคสวนตาง ๆ เกิดความรวมมือในการบูรณาการในการสรางมาตรการ

ตา ง ๆ ในการปองกันการปองกนั และยบั ยง้ั การแพรระบาดของโรค
2. ภาคทองถ่ิน มีทัศคติท่ีตองการจะใหความชวยเหลือ เยียวยา และบรรเทาความ

เดอื ดรอ นกบั ผทู ่ีไดรบั ผลกระทบ
3. ประชาชนเกดิ ความรูสึกที่อดึ อดั กับมาตรการตาง ๆ ในการปองกันการแพรร ะบาดของโรค

9. ปจจัยแหงความสําเรจ็ ในการปฏิบตั งิ าน
ปจจัยแหงความสําเร็จในการปฏิบัตงิ านของอาํ เภอศรรี าชา มดี ังน้ี
1. การรว มมือหนว ยงานตาง ๆ ในการบรู ณาการการสรา งมาตรการตา ง ๆ การปองกันการแพร

ระบาดของโรค
2. ผูปฏบิ ัตงิ านปฏิบัตติ ามมาตรการในการควบคมุ โรคติดตอ
3. เกิดความเสียสละ ความทมุ เทของคณะผูปฏิบตั งิ านทุกภาคสว น
4. ไดรบั การสนับสนุนทุกดานจากสวนราชการในระดับอําเภอ ระดบั ทองถ่นิ และระดบั ตําบล

10. บทเรยี นท่ไี ดรับจากการดาํ เนนิ งาน
บทเรียนท่ีไดรับจากการดําเนินงาน คือ ตองอาศัยความรวมมือ ในการสรางจิตสํานึกของ

ประชาชน ที่ตองปฏิบัติตามมาตรการตาง ๆ ท่ีทางภาครัฐไดกําหนดข้ึน อาจกลาวไดวา การรวมมือกัน
ระหวางหนวยงานราชการ กํานัน ผูใหญบาน อสม.ฯลฯ และประชาชนทุกภาคสวน เปนการสราง
ประชาคมท่ีมีความเขมแข็งรวมกัน และเปนทิศทางท่ีจะนําไปสูความสําเร็จในการปองกันการแพรระบาด
ของโควดิ -19ไดการกระตนุ เตอื นใหเหน็ วา หากมีเหตุการณที่ประชาชนไดรับผลกระทบเปนจํานวนมาก จะ
มีความเช่ือมโยงและตองพึ่งพาซ่ึงกันและกัน อยางตอเน่ืองในการดําเนินการปองกันและควบคุมโรคและ
แพรร ะบาด โดยหาวธิ กี ารปองกนั ชวยเหลือซ่งึ กนั และกัน

58

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

11. ขอ เสนอแนะตอ การปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกัน และ
ยับย้งั การระบาดของโรคโควิด-19

ปญ หาอุปสรรค ขอ เสนอแนะ

ดา นระเบยี บกฎหมาย

- การใชจายงบประมาณขององคกรปกครองสวน - ควรกําหนดแนวทางการชวยเหลือองคกรปกครอง

ทองถ่ินมีแนวทางปฏิบัติไมชัดเจน ทําใหหลายแหง สว นทอ งถน่ิ ใหชดั เจน เพื่อใหปฏิบัติไดเหมือนกันทุก

ไมกลาปฏิบัติ ในขณะท่ีอีกหลายแหงใหการ แหงและประชาชนมีความเขา ใจ

ชว ยเหลือ

ประชาชนไมเหมอื นกนั ทาํ ใหป ระชาชนเกิดขอสงสัย

และสบั สน

- การใหค วามชวยเหลือประชากรแฝงและคนเรรอน - ปรับปรุงระเบยี บกฎหมายใหสามารถชวยเหลือผูท่ี

ควรมกี ารปรับปรงุ ระเบยี บกฎหมายใหสอดคลองกับ ไมมีชอ่ื ในทะเบียนบานได

สภาพเปนจริง เนื่องจากปจจุบันยังไมสามารถใช

งบประมาณไปชวยเหลอื ได

- คณะกรรมการโรคติดตอมีเฉพาะระดับจังหวัด - ควรมีคณะกรรมการโรคติดตอระดับอําเภอ และ

ควรจะลงโทษผูฝาฝนมาตรการอําเภอจะตองเสนอ ใหมอี ํานาจหนาท่ใี นระดับหนึ่ง

ความเห็นไปยังจังหวัด ซ่ึงจะตองใชเวลาในการ

ดาํ เนนิ การและอาจทําใหล าชาไมทนั ตอ เหตุการณ

ดานบคุ ลากร

- อําเภอศรีราชามี อสม. ท้ังส้นิ 60 คน ตอ งดูแลคน - ควรเพม่ิ จาํ นวน อสม.ใหเพียงพอตอ การปฏบิ ตั งิ าน

ในอัตราสวน 1:5,000 ซึ่งเกินกวาคาเฉล่ีย

โดยทั่วไปท่ี อสม. 1 คน ตอ 10-15 หลังคาเรือน

จึงไมสามารถทํางานไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ

- เจาหนาที่ท่ีเก่ียวของตั้งแตนายอําเภอลงมา ยัง - ควรมกี ารใหความรู สรางความเขาใจกับเจาหนาท่ี

ขาดองคความรูท่ีถูกตองเก่ียวกับ COVID-19 ตอง ท่ีปฏบิ ัติงาน รวมทง้ั หนว ยงานตา ง ๆ ทเ่ี กยี่ วของ

ศึกษา/เรียนรูเอง โดยยังไมมีการถายทอดความรู

จากผเู ช่ียวชาญ

- ขาดความรว มมอื ในการปฏบิ ตั ติ ามมาตรการ - เพิ่มการประชาสัมพันธสรางความรู ความเขาใจ

ตาง ๆ จากความตา งชาติ และส่ือสารกันใหมากข้ึนทั้งชาวตางชาติและคน

เรรอ น

59

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

ปญหาอปุ สรรค ขอ เสนอแนะ

ดา นการใหบ รกิ าร

- สถานการณ COVID-19 ทําใหเกิด New Normal - ปรบั เปลยี่ นรูปแบบการใหบ ริการเปน Digital หรือ

ซ่ึงมีผลกระทบตอหนวยงานของรัฐท่ีมีหนาท่ี E-Service ใหมากขนึ้

ใหบ ริการประชาชน

การชวยเหลือผไู ดร บั ผลกระทบ

- องคกรปกครองสวนทองถิ่นหลายแหง ยังไมกลา - ควรปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน เพ่ือให

ดําเนินการใหการชวยเหลือในหลาย ๆ มาตรการ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเขามามีสวนรวมในการ

เชน การจางงาน การสงเสริมอาชีพ การจายเงิน ชวยเหลือผูไดรับผลกระทบไดมากขึ้น โดยอาจ

ชว ยเหลอื กําหนดใหมีคณะกรรมการระดับอําเภอ ซ่ึงมี

นายอําเภอเปนประธาน กําหนดแนวทางการ

ชว ยเหลือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหเปนไป

ในทิศทางเดียวกัน

*****************************

60

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

รายงานการเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
การบรหิ ารจัดการปองกนั ระงบั ยบั ย้ัง การระบาดของโรคไวรสั โควิด

ในระดบั อําเภอ ของอําเภอบางละมงุ

จดั ทําโดย
กลมุ ปฏบิ ัติการที่ 1 (กป.1)

1. นางนภาภรณ โลหะเวช หัวหนา สาํ นกั งานจังหวดั นครสวรรค
2. นางสาวขวัญรกั สวุ รรณรมั ภา ผูอาํ นวยการกองบริหารทรัพยากรบุคคล

3. นายปรีชา กรมสรรพากร
4. นายเอกภพ ดิลกพรเมธี นายอําเภอหว ยคต จงั หวดั อุทยั ธานี
5. นายชวกจิ จ โสภณ นายอําเภอโคกศรสี พุ รรณ จังหวดั สกลนคร
6. นายสมชาย สุวรรณคีรี นายอาํ เภอสะเดา จงั หวัดสงขลา
7. นายสมยศ ตรีณาวงษ นายอาํ เภอหนองเสอื จงั หวดั ปทมุ ธานี
8. นายสหรัฐ นามพทุ ธา ทอ งถ่ินจงั หวดั ยโสธร
วงศส กลุ วิวัฒน หวั หนา สํานักงานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
9. นายสมมาตร
จงั หวดั นาน
10. นายทวีชัย มณีหยัน ผูอํานวยการกองเทคโนโลยีการสํารวจและ

ฐานขอมลู ท่รี าชพัสดุ กรมธนารกั ษ
โคว ตระกูล ผูอ ํานวยการโครงการชลประทานเชียงราย

รายงานนเ้ี ปน สว นหน่ึงของการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74
สถาบันดาํ รงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศกั ราช 2563

61

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

คาํ นํา

การศึกษาเรียนรูเชิงปฏิบัติการ “การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและระงับ
ยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา โควิด-19 ในระดับจังหวัด ระดับอําเภอ ระดับองคกรปกครองสวน
ทอ งถ่นิ และระดับหมบู านในพน้ื ที่จงั หวดั ชลบุรี” ระหวา งวนั ท่ี 19 - 21 มิถุนายน 2563 น้ี เปนสวนหน่ึง
ของการศึกษาอบรมหลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74 โดยกลุมปฏิบัติการที่ 1 (กป.1) ไดรับ
มอบหมายใหศึกษาประเด็น “การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการปองกัน ระงับยับยั้งการ
ระบาดของโรคไวรัส โควิด-19 ในระดับอําเภอ ของอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี” ส่ิงท่ีไดรับจากการเรียนรู
เชิงปฏิบัติการในคร้ังน้ี ไดแก สภาพปญหาของการระบาดในพื้นท่ี รูปแบบการแกไขปญหาในพ้ืนท่ี
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมในพื้นท่ี และปจจัยแหงความสําเร็จในการปฏิบัติงานของอําเภอบางละ
มุง ซ่ึงนักศึกษาหลักสูตรนักปกครองระดับสูงจะไดนําความรูหรือแนวทางแกไขปญหาที่ไดรับไปปรับใชใน
พน้ื ทต่ี อ ไป

คณะผูจัดทาํ หวงั เปนอยา งย่งิ วา รายงานฯ ฉบบั นีจ้ ะเปน ประโยชนต อผอู านไมมากกน็ อย

คณะผจู ดั ทํา
นักศึกษาหลักสตู รนักปกครองระดับสูง รนุ ท่ี 74

กลุมปฏบิ ัติการที่ (กป.) 1

62

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

กรอบการเรียนรูเ ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning)
การประเมนิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการปอ งกันและระงบั ยับยั้งการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับอาํ เภอ ของอําเภอบางละมุง

1. ความเปน มา
๑.1 ประวตั คิ วามเปน มาและสถานการณทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื ง
อําเภอบางละมุงต้ังอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของจังหวัดชลบุรี ระยะทางหางจากจังหวัด

ชลบุรี ประมาณ ๔๘ กิโลเมตร มีพ้ืนท่ีรวมประมาณ ๗๒๗ ตารางกิโลเมตร หรือ ๔๖๙,๐๒๑ ไร แบงการ
ปกครองออกเปน ๖ ตําบล ๔๗ หมูบาน และมีรูปแบบการปกครองสวนทองถ่ิน จํานวน ๙ แหง คือ เมือง
พทั ยา เปนรูปแบบการปกครองแบบพิเศษ เทศบาลนครแหลมฉบัง (พื้นท่ีบางสวนของตําบลบางละมุง อยู
ในเขตเทศบาลนครแหลมฉบัง) เทศบาลเมือง ๑ แหง เทศบาลตําบล ๕ แหง องคการบริหารสวนตําบล ๑
แหง มีจํานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร ๓๑๕,๔๓๗ คน เปนชาย ๑๔๗,๗๒๐ คน หญิง ๑๗๑,๔๖๕
คน และมีประชากรแฝงท่ีเขามาพักอาศัยในพื้นท่ีท้ังชาวไทยและตางชาติ ในรูปแบบของลูกจาง และ
นักทองเท่ียว เปนจํานวนมาก และจากการท่ี “เมืองพัทยา” เปนเมืองทองเที่ยวท่ีไดรับความนิยมจาก
นักทอ งเทย่ี วชาวตางประเทศ ซงึ่ เขา มาทอ งเทย่ี วในรปู แบบคณะทัวร โดยเฉพาะชาวจีนท่เี ขา มาทอ งเทยี่ ว
เปนจาํ นวนมาก กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ท จึงเปนกจิ กรรมที่เก่ยี วขอ งกับการทองเทยี่ วและบริการ เชน
โรงแรม รีสอรท รานอาหาร สถานบริการ สถานบันเทิง สถานที่ทองเที่ยว หางสรรพสินคา รานนวดสปา
ประชาชนในพื้นท่ี นอกจากจะประกอบธุรกิจดังกลาวแลว ยังมีประชาชนอีกบางสวนท่ีเปนลูกจางในสถาน
ประกอบการดังกลาว และดวยสภาพพ้ืนถ่ินเดิม เปนพ้ืนที่เกษตรกรรม จึงยังมีพ้ืนท่ีเกษตรกรรม จํานวน
๘๖,๑๒๓ ไร อยูในพ้ืนทตี่ ําบลหวยใหญ ตําบลเขาไมแกว ตําบลโปง และตําบลตะเคียนเตี้ย (คิดเปนรอยละ
๑๘ ของพ้นื ท่ีท้งั หมด) ชนิดพชื ที่ปลกู

สวนใหญ คอื มนั สําปะหลัง มะพรา ว สับปะรด
อําเภอบางละมุง มีประชากรสวนใหญเปนชนชาติไทย มีชาวจีน อินเดีย และชนชาติอ่ืน ๆ
เปนสว นนอ ย ในดานการยา ยถิ่นฐานหรอื การอพยพจากภาคอื่น จะมีการหลั่งไหลเขามาทุกระยะ เนื่องจาก
สภาพทองท่ีเอ้ืออาํ นวยตอการใชแรงงาน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการทองเที่ยว เชน โรงแรม สถานบริการ
โรงงานอตุ สาหกรรม กิจการทองเทย่ี ว และกจิ การกอสรา งตา ง ๆ ท่จี ําเปนตองใชแรงงานจํานวนมาก ทําให
ประชากรทใี่ ชแ รงงาน และหรือผทู ่ีไมป ระสบผลสําเร็จในดานการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อพยพเขามา
ทํางานดวยการเปนลูกจางตามโรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ เนื่องจากมีรายไดสูงกวา ท้ังในเขตเมือง
พัทยา และนอกเขตเมืองพัทยา ทําใหเกิดประชากรแฝงเปนจํานวนมาก ยากตอการสํารวจจํานวนและ
ตดิ ตามพฤติกรรม ซึ่งเปน สาเหตุปญ หาหนงึ่ ในการพัฒนาทอ งท่ี

63

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

ดานการเมือง อําเภอบางละมุง มีเขตการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ๒ เขต มี

สมาชกิ สภาผูแ ทนราษฎรจงั หวดั ชลบรุ ี จาํ นวน ๒ คน

๑. นายจรัส คมุ ไขน ํา้ (ส.ส.เขต ๖ ชลบุรี)

๒. นางสาวกวินนาถ ตาคีย (ส.ส.เขต ๗ ชลบุรี)

และสมาชิกสภาองคการบรหิ ารสว นจังหวัดชลบรุ ี (ส.จ.) เขตอาํ เภอบางละมงุ จาํ นวน 7 คน ดังนี้

๑. นายสกน ผลลกู อินทร ๒. นายทองหลอ อํ่าผงึ้

๓. นายยะยา เซ็นสุรยี  ๔. นายวนิ ยั อนิ ทรพ ิทกั ษ

๕. นายมงคล แสวงหาทรัพย ๖. นายววิ ฒั น หอมปลื้ม

๗. นายเฉลิม เกตแุ จ

๑.๒ สภาพปญหาของการระบาดในพื้นที่อาํ เภอบางละมุง
อําเภอบางละมงุ เปน พื้นทแี่ หลงทองเท่ียว มีนักทองเที่ยวจากตางประเทศเขามาทองเท่ียวใน

รูปแบบคณะทัวรเปนจํานวนมาก สวนใหญเปนชาวจีน เม่ือมีขาวการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโร
นา 2019 ทีเ่ มืองอูฮ่ัน สาธารณรัฐประชาชนจีน ประกาศหามประชาชนเดินทางออกนอกประเทศ เมื่อชวง
เดือนปลายเดือนมกราคม ๒๕๖๓ ทาํ ใหน กั ทองเทีย่ วในพ้นื ท่ีเมอื งพทั ยาลดนอยลง และนกั ทองเท่ียวชาวจีน
ที่มาเปนคณะทัวร ไดกลับประเทศเมื่อประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ ๒๕๖๓ ยังคงเหลือนักทองเที่ยว
ตา งชาติท่เี ปน ชาวยโุ รปและเอเชยี บางสว น ทเี่ ดนิ ทางมาเทย่ี วเอง รวมถึงนักทองเท่ียวชาวไทย ที่เดินทางมา
ทอ งเทย่ี ว ใชบริการในสถานบนั เทิง

อําเภอบางละมุง มีผูปวยยืนยันติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 จํานวน ๔๑ ราย (อัตราปวย

๑๓.๖๒ ตอแสนประชากร) เปน คนไทย ๒๔ ราย ตา งชาติ ๑๗ ราย หายปวย ๓๙ ราย เสียชีวิต ๒ ราย พบ

ผูปว ยยืนยนั ตดิ เชือ้ รายแรกเมือ่ วันท่ี ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๓ เรมิ่ มอี าการปวยเม่ือวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๓ ใน

สวนของผูปวยรายที่ ๔๑ ยืนยันการติดเชื้อเม่ือวันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๖๓ มีอาการปวยเม่ือวันท่ี ๒๔

มนี าคม ๒๕๖๓ มผี ปู วยในพ้นื ท่ี ดังนี้

เขตเมอื งพทั ยา จาํ นวน ๓๑ ราย

เขตเทศบาลเมอื งหนองปรือ จาํ นวน ๕ ราย

เขตเทศบาลตําบลหวยใหญ จํานวน ๒ ราย

เขตเทศบาลตําบลบางละมุง จํานวน ๑ ราย

เขตเทศบาลตาํ บลตะเคยี นเต้ีย จาํ นวน ๑ ราย

เขตเทศบาลตําบลหนองปลาไหล จาํ นวน ๑ ราย

๑.๓ รูปแบบการแกไ ขปญ หาในพน้ื ทอี่ ําเภอบางละมุง
อําเภอบางละมุง ไดใชกลไกของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (พชอ.)

อําเภอบางละมุง ในการบูรณาการการทํางานรวมกัน เพ่ือเตรียมความพรอมและรับทราบแนวทางการ
ปองกันเพ่ือเฝาระวังการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 และตอมาไดมีคําส่ังอําเภอ

64

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

บางละมุง แตงต้ังคณะทํางานคัดกรอง แยกกัก กักกัน คุมไวสังเกต เฝาระวังผูติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) อําเภอบางละมุง เพ่ือดําเนินการคนหาและเฝาระวังคนใน
พ้ืนที่หมูบาน/ชุมชนท่ีมีความเสี่ยงตอการติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตามมาตรการคัดกรอง แยกกัก
กักกนั หรือคมุ ไวสังเกต ตามท่คี ณะกรรมการโรคติดตอแหงชาตกิ าํ หนด

๑.๔ ความคาดหวังของประชาชนและผูป ฏบิ ตั ิงาน
ประชาชนในพ้ืนท่ีอําเภอบางละมุง และเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานไดใหรวมมือในการดําเนินการ

ปองกันและเฝาระวังโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) เพ่ือให
ประชาชนไดก ลับมาใชช ีวติ ไดอ ยา งปกติ

๒. เปา หมายหรอื ผลลัพธทีต่ อ งการ
๒.๑ ใหราษฎรไดอ ยูในพ้ืนท่ีทปี่ ลอดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ 19)
๒.๒ ใหผูที่เดินทางกลับมาจากพืน้ ทท่ี มี่ ีโรคโควดิ 19 ระบาดทุกคน ตองกักตวั ๑๔ วนั

๓. แนวทางการดาํ เนินงาน
๓.๑ แนวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารจัดการตามคําส่งั ของศูนยบ ริหารสถานการณโค

วดิ -19 และขอสั่งการของกระทรวงมหาดไทย
๓.๑.๑ หนงั สือกระทรวงมหาดไทย ดว นท่ีสุด ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๑๕๓๘ ลงวันที่ ๑๓ มีนาคม

๒๕๖๓ เร่ือง การบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโควิด-19
(Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) ในพน้ื ท่จี ังหวดั

๓.๑.๒ กระทรวงมหาดไทยไดมีการประชุมผานระบบวิดีทัศนทางไกล (VCS) เม่ือวันที่ ๑๗
มนี าคม ๒๕๖๓ เรือ่ ง มาตรการแกไ ขปญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ส่ังการใหจังหวัดโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดพิจารณาการปดสถานท่ีท่ีเส่ียงตอการแพรระบาดท่ีมีคน
แออดั เบียดเสียด เพื่อปองกนั การแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

๓.๑.๓ หนงั สอื กระทรวงมหาดไทย ดว นท่ีสุด ท่ี มท ๐๒๑๑.๓/ว ๑๗๓๓ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม
๒๕๖๓ เร่ือง มาตรการปองกันและลดความเส่ียงการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(โควดิ -19) เขาสูหมบู าน/ชุมชน

๓.๑.๔ รัฐบาลประกาศสถานการณฉุกเฉินในทุกเขตทองท่ีทั่วราชอาณาจักร และออก
ขอกําหนดตามความในมาตรการ ๙ แหงพระราชกําหนด การบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.
๒๕๔๘ หามประชาชนออกนอกเคหสถานในยามวิกาลท่ัวประเทศ ระหวางเวลา 22.00–04.00 น. ของ
วันรุง ขึ้น

๓.๑.๕ คําสั่งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โค
วิด-19) ท่ี ๒/๒๕๖๓ ลงวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เร่ือง แนวปฏิบัติตามขอกําหนดออกตามความใน
มาตรา ๙ แหงพระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ กําหนดให ศปก.

65

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

จงั หวดั ศปก.อาํ เภอ ศปก.ตาํ บล และ อปท. เปนหนวยงานรบั ผิดชอบกาํ กับ ดูแล ตามมาตรการปองกันโรค
ตามท่ีทางราชการกําหนดเพื่อปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด-19 และศูนยบริหารสถานการณการ
แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) กระทรวงมหาดไทย แจงใหจังหวัด อําเภอ
ดําเนินการจัดต้ังศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคจังหวัด/อําเภอ ตามโครงสรางและอํานาจหนาที่ท่ี
กระทรวงมหาดไทยกําหนด

๓.๒ การประยุกตใหเ หมาะสมกับบริบทและความตองการของประชาชนในพ้ืนท่ี
อําเภอบางละมุงใชกลไกการทํางานโดยการบูรณาการการปฏิบัติงานทั้งในสวนของฝาย

ปกครองฝายการสาธารณสุข องคกรปกครองสวนทองถิ่น และตํารวจ ในการดําเนินงานตามขอสั่งการจาก
จังหวัดชลบุรี ไปสูการปฏิบัติ เมื่อจังหวัดชลบุรี โดยคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี ไดมีคําสั่งใหปด
สถานที่ตาง ๆ เพื่อการปองกันและเฝาระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ไดแก สถาน
บริการตามกฎหมายสถานบริการ และสถานประกอบการท่ีเปดใหบริการในลักษณะคลายสถานบริการ
สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ กิจกรรมนวดเพื่อสุขภาพ กิจการสปา กิจการเสริมความงาม โรงมหรสพ
สนามมวย สนามชนไก สถานท่ีออกกําลังกายภายในอาคาร (ฟตเนส) และใหงดการจัดกิจกรรมรวมคน
จํานวนมากท่ีมีความเส่ียงสูงตอการแพรระบาดของโรค ต้ังแตวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๓ ในการตรวจตราเฝา
ระวัง การควบคุมโรค ประกอบกับอําเภอบางละมุง มีเขตการปกครองพิเศษ คือเมืองพัทยา ซึ่งสถานที่ที่
เสี่ยงตอการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ไดถูกส่ังปดตามคําสั่งคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด
ชลบุรี เชน สถานบริการ สถานบันเทิง สถานประกอบการตาง ๆ หางสรรพสินคา พื้นที่สาธารณะ สวน
ใหญอยูในเขตเมืองพัทยา ซ่ึงมีบุคลากรของ สวนควบคุมโรค สํานักการสาธารณสุข สวนรักษาความสงบ
เรียบรอยและความม่ันคง สํานักปลัดเมืองพัทยา และรวมถึงสวนงานอื่น ๆ และไดมีการบูรณาการกําลัง
รว มกับฝา ยปกครอง และตาํ รวจ ในการออกปฏิบัติการตาง ๆ ในสวนของพ้ืนที่ตําบล หมูบาน โดยใชกลไก
ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ เปนหลัก ในการดําเนินการดานการปองกันและควบคุมโรค เชน การตั้งจุด
คดั กรองประชาชนกอ นเขาตลาดสดหรือตลาดนัด การปดตลาด

๔. ผลการดําเนินงาน

เม่ือเร่ิมปรากฏขอมูลขาวสารการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ที่มาจาก
เมือง อูฮ่ัน มณฑลหูเปย สาธารณรัฐประชาชนจีน อําเภอบางละมุงไดมีการดําเนินการตามขอส่ังการของ
กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง และจงั หวัดชลบุรี ดังน้ี

๔.๑ แจงมาตรการดูแลความปลอดภัยของนักทองเท่ียวท่ีเขาพักโรงแรม โดยใหผูจัดการโรงแรมทุก
แหงตรวจสอบการลงทะเบียนในบัตรทะเบียนผูเขาพัก (แบบ ร.ร.๓) ของนักทองเที่ยวท่ีเดินทางมาจาก
สาธารณรัฐประชาชนจีนอยางละเอียด หากพบผูมีภาวะเส่ียงตอโรคใหประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของ เชน
สํานักงานสาธารณธารณสุขอําเภอบางละมุง โรงพยาบาลบางละมุง สวนปองกันควบคุมโรค สํานักการ
สาธารณสุขเมอื งพทั ยา หรือแจง สายดวน กรมควบคุมโรค โทร.๑๔๒๒

66

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

๔.๒ สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบางละมุง โรงพยาบาลบางละมุง ฝายปองกันควบคุมโรค สํานัก
การสาธารณสุข เมืองพัทยา ออกรณรงคประชาสัมพันธการปองกันโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019
ในโรงแรมที่รองรับนักทองเที่ยวชาวจีน โดยการติดปายประชาสัมพันธ แจกหนากากอนามัย และ
แอลกอฮอล ตลอดจนใหค ําแนะนําในการเฝา ระวงั และปอ งกนั โรคแกพนักงานโรงแรม จํานวน ๑๓๐ แหง

๔.๓ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (พชอ.) อําเภอบางละมุงเตรียมความ
พรอมและรับทราบแนวทางการปองกันเพ่ือเฝาระวังการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม
2019 เม่ือวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๖๓ รวมถึงสรางการรับรูแกหัวหนาสวนราชการ ผูบริหารองคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน กํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ ในที่ประชุมหัวหนาสวนราชการ กํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ
ประจําเดอื นกุมภาพันธ ๒๕๖๓ และเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ เพ่ือใหเขาใจสถานการณและแนวทางปฏิบัติตน
ใหเกดิ ความปลอดภยั ลดความต่ืนตระหนกของประชาชน

๔.๔ มอบหมายใหกํานัน ผูใหญบาน ฯลฯ คณะกรรมการหมูบาน (กม.) อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจําหมบู า น (อสม.) ดําเนนิ การคนหาและคัดกรองวา มีกลุมท่ีมีความเส่ียงเขามาพักอาศัยอยูในหมูบาน/
ชุมชน หรือไม ไดแก กลุมที่เดินทางกลับจากกรุงเทพมหานคร จากตางประเทศ จากประเทศเพื่อนบาน
หรือบุคคลที่มีการเดินทางไปยังสถานท่ีท่ีเส่ียงตอการแพรระบาดท่ีคนแออัดเบียดเสียด ไดแก สนามมวย
สนามกีฬา สนามมา สนามชนโค สนามชนไก สถานบันเทิง หรือการไปรวมกิจกรรมที่มีคนเขารวมเปน
จํานวนมาก ตั้งแตวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๓ รวมถึงการจัดตั้งจุดรับรายงานขอมูล ณ สถานีขนสงในพื้นท่ี
และขอความรวมมือบุคคลเหลานั้นใหงดการเดินทางหรือหลีกเล่ียงการเดินทางไปยังสถานท่ีตาง ๆ นอก
หมูบาน/ชุมชนไวกอน หรือใหพักอาศัยอยูแตในบานเรือนเปนเวลาไมนอยกวา ๑๔ วัน และใหรายงาน
ขอ มลู ใหเทศบาล หรอื องคก ารบริหารสวนตําบลเพื่อติดตามและเฝาระวัง และสงขอมูลใหอําเภอทราบเพื่อ
บันทึกเขาระบบรายงาน มีขอมูลผูเขาหมูบาน/ชุมชน จํานวน ๓๒๑ ราย ไมปรากฎวาบุคคลดังกลาว ติด
เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ดงั น้ี

ท่ี ตาํ บล จํานวน (คน)
๑ บางละมุง ๑๓
๒ ตะเคยี นเตยี้ ๙
๓ หนองปลาไหล ๓๘
๔ โปง ๑๖
๕ หว ยใหญ ๗๙
๖ เขาไมแกว ๒๒
๗ หนองปรือ ๑๒๗
๘ นาเกลอื ๑๗
๓๒๑
รวม

67

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

๔.๕ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการปกครองไดจัดทําระบบการสํารวจผูไดรับผลกระทบจาก
มาตรการปอ งกนั แกไ ขปญ หาโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) คือระบบ Thai QM โดยใหสํารวจ
วาไดรับผลกระทบจากประกาศจังหวัดหรือมาตรการของรัฐบาลในการแกไขปญหาโควิด 19 เชน ถูกเลิก
จา ง ถูกนายจางลดเวลาทาํ งาน ธรุ กิจสวนตวั ถูกปดและตองการความชวยเหลือ ตามลําดับความสําคัญ ๑๕
ขอ ๑) เงินสนับสนุนการยังชีพระยะส้ัน ๒) เครื่องอุปโภคบริโภค ๓) การจางงานระยะสั้น ๔) การสงเสริม
การฝกอาชพี ๕) เงินกดู อกเบ้ยี ตา่ํ ๖) พกั ชาํ ระหนี้ตาง ๆ (ผอนบาน ผอนรถ ผอนบัตรเครดิต) ๗) ลดหยอน
ภาษีตาง ๆ ๘) ลดคาสาธารณูปโภคตาง ๆ ๙) มาตรการดานการเงินสงเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาด
ยอ ม ๑๐) พนั ธพุ ชื ๑๑) พันธสุ ัตว ๑๒) พันธสุ ัตวน้าํ ๑๓) อปุ กรณคา ขาย ๑๔) อุปกรณการเกษตร ๑๕) อ่ืน
ๆ และมอบหมายใหกํานนั ผูใหญบ า น เปน ผสู ํารวจและบันทกึ ขอมูลในระบบ Thai QM และใหปลัดอําเภอ
เปนผูตรวจสอบและยืนยันขอมูล ในระบบ Thai QM ภายในวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓ มีผูไดรับ
ผลกระทบทั้งหมด จํานวน ๑๙,๖๖๑ ราย แยกเปนในเขตเทศบาลตําบล/อบต. จํานวน ๗,๙๖๒ ราย
เทศบาลเมืองหนองปรือ ๒,๐๙๗ ราย เมืองพัทยา ๙,๖๐๒ ราย ประชาชนในพ้ืนที่เทศบาลตําบล/องคการ
บรหิ ารสว นตาํ บลเขาไมแ กว และเทศบาลเมอื งหนองปรือ ไดรับความชว ยเหลือเปนเงินคนละ ๑,๐๐๐ บาท
จากองคการบรหิ ารสวนจังหวดั ชลบุรี และองคก รปกครองสวนทองถิ่นในพ้ืนที่ไปแลว จํานวน ๓,๒๒๙ ราย

ลาํ ดบั อปท. จํานวนผูไดรับผลกระทบ จาํ นวนผไู ดร ับความชวยเหลือ
๑ ทต.บางละมุง ๑,๐๙๒ ๓๐๒
๒ ทต.ตะเคยี นเต้ีย ๑,๓๕๐ ๕๑๖
๓ ทต.หนองปลาไหล ๑,๙๒๒ ๕๓๓
๔ ทต.โปง ๗๕๔ ๓๐๔
๕ ทต.หว ยใหญ ๒,๒๕๐ ๘๑๓
๖ อบต.เขาไมแกว ๕๙๔ ๒๓๘
๗ ทม.หนองปรือ ๒,๐๙๗ ๕๒๓
๘ เมอื งพัทยา ๙,๖๐๒
รวม ๑๙,๖๖๑ อยรู ะหวางดาํ เนนิ การ
๓,๒๒๙

๔.๖ การดําเนินการตามมาตรการเพ่ือรองรับผูเดินทางกลับจากประเทศที่กระทรวงสาธารณสุข
ประกาศเปนเขตโรคติดตออันตราย (จีน อิตาลี อิหราน เกาหลีใต) และประเทศท่ีกรมควบคุมโรคประกาศ
เปนพื้นท่ีโรคระบาดตอเนื่อง ทั้งหมด ๗๑ ราย ติดตามได ๗๑ ราย สงตอตางจังหวัด/อําเภอ ๑๔ ราย ไม
พบผูติดเชื้อในกลุมดังกลาว โดยมอบหมายเจาหนาที่สาธารณสุขอําเภอบางละมุง เปนผูตรวจสอบและให
กักตวั อยใู นทพ่ี ักอาศัยเพื่อสงั เกตอาการ จนครบกาํ หนด ๑๔ วัน

68

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ขอ มูลการเดินทาง จาํ นวน ผลการตดิ ตาม
จากประเทศ
ท่ี (คน) ตดิ ตามได ติดตามไมไ ด สง ตอ ครบกําหนด
ตดิ ตาม

๑ เกาหลใี ต ๕๘ ๔๔ - ๑๔ ๔๔

๒ ญีป่ ุน ๓๓ - ๓

๓ สวีเดน ๑๑ - ๑

๔ ฮอ งกง ๑๑ - ๑

๕ เยอรมัน ๑๑ - ๑

๖ ยูเออี ๒๒ - ๒

๕ มาเลเซยี ๕๑ - ๑

รวม ๗๑ ๗๑ - ๑๔ ๗๑

๔.๗ การดาํ เนินงานดานสถานทกี่ กั ตวั สําหรบั ผูทเ่ี ดนิ ทางจากพืน้ ทแ่ี พรระบาด
จากสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 อําเภอบางละมุง พบผูปวย

ยืนยันติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จํานวน ๔๑ ราย มีผูสัมผัสเส่ียงสูง (High risk) จํานวน ๒๓๗ ราย ซ่ึงใน
กลุมผูสัมผัสเส่ียงสูง มีบุคลากรทางการแพทย จํานวนหนึ่งที่ทําการรักษาผูปวยติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
และไมม สี ถานทก่ี กั ตวั เนือ่ งจากไมส ามารถกักตวั ในท่พี ักอาศัยได โดยไดรับความอนุเคราะหจากโรงแรมแก
รนด เบลลา ใหบุคลากรกลุมดังกลาวเขาพักเพื่อกักกันตัวเฝาระวังเช้ือโรค ซ่ึงตอมาจังหวัดชลบุรีได
กาํ หนดใหโรงแรมแกรนดเบลลา เปนสถานที่กักกันตัวของจังหวัด (Local Quarantine) โดยมอบหมายให
อําเภอบางละมุงรับผิดชอบ ตั้งแตวันท่ี ๓ เมษายน - ๑๓ มิถุนายน ๒๕๖๓ รับผูเขากักตัว จํานวน ๒๔๔
ราย ครบกําหนดระยะกักตัว ๑๘๗ ราย คงเหลือ ๕๗ ราย ดังนี้

กลุมเขากกั กนั จาํ นวน กลับบา น คงเหลอื พัก
(ราย) (ราย) (ราย)

๑. กลมุ เส่ยี งสัมผัสผูปวย (High rigk) ๔๔ ๔๔ -

๒. กลุมเสยี่ ง ในพืน้ ที่เมืองพัทยา ๑๐ ๑๐ -

๓. กลมุ กลับจากภเู ก็ต ๔๗ ๔๔ ๓

๔. กลุม ลูกเรือ (ทา เรอื เกาะสีชงั ทาเรอื ๑๔๓ ๘๙ ๕๔
ศรรี าชา ทา เรอื แหลมฉบัง)

รวม ๒๔๔ ๑๘๗ ๕๗

69

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

๔.๘ ศูนยปฏิบัติการควบคุมโรคอําเภอบางละมุง (ศปก.อ.บางละมุง) ไดดําเนินการออกตรวจ
ประเมนิ การดําเนินการตามมาตรการปองกันโรคตามที่ทางราชการกําหนดเพ่ือปองกันการแพรระบาดของ
โรคโควดิ –19 ดังนี้

๔.๘.๑ ตามคําสั่งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด-19) ท่ี ๒/๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ประเมินระหวางวันท่ี ๓-๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๓
ผูประกอบการและผูใชบริการสวนใหญ ใหความรวมมือในการปฏิบัติตามมาตรการในระดับสูง (มากกวา
๗๕%)

๔.๘.๒ ตามคําส่ังศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด-19) ท่ี ๒/๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ และคําสั่งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ท่ี ๓/๒๕๖๓ (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓
ผูประกอบการและผูใชบริการสวนใหญ ใหความรวมมือในการปฏิบัติตามมาตรการ ในระดับมาก ๘๑-
๙๐%

๔.๘.๓ ตามคําสั่งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด-19) ท่ี ๒/๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ คําสั่งศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ ๓/๒๕๖๓ (ฉบับท่ี ๒) ลงวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ และ
คําสง่ั ศูนยบรหิ ารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด–19) ท่ี ๔/๒๕๖๓
(ฉบบั ที่ ๓) ลงวนั ท่ี ๑-๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ ผูประกอบการและผใู ชบริการสวนใหญ ใหความรวมมือในการ
ปฏิบตั ิตามมาตรการ ในระดับมาก-มากทสี่ ุด ๘๑-๑๐๐%

๕. ปญ หา อปุ สรรคในการดําเนินงาน แนวทางแกไ ข

๕.๑ ปญหาและอุปสรรค
5.๑.๑ เน่ืองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนโรคอุบัติใหม ซ่ึงอาการของโรค

จะมีอาการไข ไอ เจ็บคอ หอบเหน่ือย หรือมีอาการของโรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรง จะมี
อาการระบบทางเดินหายใจลมเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต เม่ือเกิดการติดเช้ือ และมีการแพรเชื้ออยาง
รนุ แรงจนถงึ ข้ันเสยี ชีวิต ทาํ ใหป ระชาชนบางสวนเกิดความตระหนก และยังไมมีความเขาใจในการปอ งกนั โรค

๕.๑.๒ ระเบียบกฎหมายที่เก่ียวของกับการปองกันและควบคุมโรค โดยเฉพา ะตาม
พระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. ๒๕๕๘ กําหนดใหมีคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด มีผูวาราชการจังหวัด
เปนประธานกรรมการ ปลัดจังหวัด ประชาสัมพันธจังหวัด ปศุสัตวจังหวัด หัวหนาสํานักงานปองกันและ
บรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ผูอาํ นวยการสาํ นักงานปอ งกนั ควบคุมโรคที่รับผิดชอบในเขตจังหวัด และนายก
องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรีหนึ่งคน และนายกองคการบริหารสวนตําบลหน่ึงคน
ผูอํานวยการโรงพยาบาลศูนยหรือผูอํานวยการโรงพยาบาลท่ัวไปหนึ่งคน ผูอํานวยการโรงพยาบาลชุมชน
สองคน และสาธารณสุขอาํ เภอสองคน ผูดําเนินการสถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลหน่ึง
คน ในกรณีที่จังหวัดใดมีโรงพยาบาลในสังกัดหนวยงานของรัฐอ่ืน ใหผูวาราชการจังหวัดแตงต้ังจํานวนไม

70

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี 74

เกินสามคนเปนกรรมการดวย ในกรณีที่จังหวัดใดมีดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ ใหผูวาราชการ
จังหวัดแตงต้ัง เจาพนักงานควบคุมโรคติดตอซ่ึงประจําดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ จํานวนแหง
ละหนึ่งคน และแตงตั้งผูรับผิดชอบชองทางเขาออกประจําดาน จํานวนแหงละหนึ่งคน เปนกรรมการดวย
ใหนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด เปนกรรมการและเลขานุการ และขาราชการในสังกัดสํานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดท่ีดําเนินงานดานการปองกันควบคุมโรค จํานวนไมเกินสองคน เปนกรรมการและ
ผชู ว ยเลขานุการ ซึ่งองคป ระกอบของคณะกรรมการ ไมครอบคลุมทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของ ในกรณีที่มีเหตุ
จําเปนเรงดวนเพ่ือเปนการปองกันการแพรของโรคติดตออันตราย ผูวาราชการจังหวัดโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด จึงจะสามารถสั่งปดสั่งปดตลาด สถานท่ีประกอบหรือจําหนายอาหาร
สถานท่ีผลติ หรือจาํ หนา ยเคร่อื งด่มื โรงงาน สถานทช่ี มุ นุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษา หรือสถานที่อ่ืนใดไว
เปนการช่วั คราว หรอื สงั่ ใหผทู ่ีเปน หรอื มเี หตอุ ันควรสงสยั วา เปนโรคติดตออันตรายหรือโรคระบาดหยุดการ
ประกอบอาชพี เปนการช่วั คราว รวมถึงการสั่งหามผูที่เปนหรือมีเหตุอันควรสงสัยวาเปนโรคติดตออันตราย
หรอื โรคระบาดเขาไปในสถานที่ชุมนุมชน โรงมหรสพ สถานศึกษา หรือสถานที่อื่นใด เวนแตไดรับอนุญาต
จากเจาพนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ

๕.๑.๓ องคความรูเก่ียวกับการปองกันและควบคุมโรคมีอยูในบุคลากรของกระทรวง
สาธารณสุขเปนสวนใหญ ซ่ึงการปฏิบัติงานในพ้ืนที่ถึงแมจะมีการแตงตั้งเจาหนาที่ของหนวยงานอ่ืนเปน
เจาพนักงานควบคุมโรคติดตอ ก็ยังจําเปนตองใหเจาหนาท่ีสาธารณสุขเปนหลักในการดําเนินงาน เมื่อเกิด
เหตุจําเปน เรงดว น หนว ยงานอืน่ เปน หนวยงานในการบูรณาการเพอ่ื ใหก ระบวนการทํางานสําเรจ็ ลุลว ง

๕.๒ แนวทางการแกไขปญหา
๕.๒.๑ กระทรวงสาธารณสุขไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ ๒๖ กุมภาพันธ

๒๕๖๓ ใหโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID -19))
เปนโรคติดตออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. ๒๕๕๘ ดังนั้น การที่คณะกรรมการโรคติดตอ
แหงชาติไดกําหนดมาตรการแนวทางปฏิบัติในการปองกัน เฝาระวังและควบคุมโรค ในกลุมผูเดินทางมา
จากทองที่หรือเมืองทานอกราชอาณาจักร รวมถึงการเดินทางมาจากพ้ืนท่ีแพรระบาดของโรค ทําให
หนว ยงานระดบั ปฏิบัตกิ ารในพืน้ ทีส่ ามารถดําเนนิ การควบคมุ โรคได

๕.๒.๒ การปฏิบัติงานในการแกไขปญหาในระดับพื้นท่ีอําเภอ ยังสามารถใชกลไกตามสาย
การบังคับบัญชา ที่มีนายอําเภอเปนผูบริหารสูงสุดภายในอําเภอเปนผูสั่งการ และมีหัวหนาสวนราชการ
โดยเฉพาะสาธารณสุขอําเภอเปนหนวยงานหลัก และองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ เปนกลไก
ขบั เคลอื่ นการปอ งกันเฝาระวัง รวมถึงการควบคุมดแู ลใหประชาชนปฏบิ ัตใิ หเปนไปตามมาตรการท่ีราชการ
กาํ หนด

๕.๒.๓ ศูนยบริหารสถานการณโรคโควิด -19 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได
กําหนดมาตรการในการเฝาระวัง ปองกันโรค และทําการประชาสัมพันธ ผานส่ือตาง ๆ อยางสมํ่าเสมอใน
หวงสถานการณแพรระบาดรุนแรง ทําใหประชาชนเกิดความตระหนักและใหความรวมมือในการปองกัน
และเฝาระวงั โรคเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 หลงั จากสถานการณกลับสูสภาวะปกติ กระทรวงสาธารณสุข ควร

71

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

มีการจัดอบรมใหความรูแกเจาหนาท่ีหนวยงานอื่นท่ีไดรับการแตงตั้งเปนเจาพนักงานควบคุมโรคติดตอ
เพ่อื ใหส ามารถปฏิบตั งิ านไดใ นสภาวะท่เี กดิ เหตุจาํ เปนเรงดวน

๖. ประโยชนท่ปี ระชาชนไดร ับ
จากการบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19

(Coronavirus Disease 2019 (COVID -19)) ตามนโยบายและขอส่ังการจากกระทรวงมหาดไทย ทําให
ประชาชนในพ้ืนท่ี ไดร ับประโยชน ดงั นี้

๖.๑ ประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากมาตรการเรงดวนในการปองกันวิกฤตการณจากโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 ไดรบั การสาํ รวจและลงทะเบียนผูไดรับผลกระทบในระบบ Thai QM ทําใหอําเภอและ
องคก รปกครองสวนทองถ่นิ สามารถบรหิ ารความชวยเหลือประชาชนตามความตองการ

๖.๒ ประชาชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เส่ียง ไดรับการกักตัวในสถานกักกันตัวท่ีรัฐจัดหา (Local
Quarantine) เพ่อื สังเกตอาการปว ย ทําใหสามารถปองกันและควบคุมโรคได

๖.๓ ผูประกอบการและผูใชบริการ ใหความรวมมือในการปฏิบัติตามมาตรการปองกันโรค ท้ัง
มาตรการควบคมุ หลกั และมาตรการเสรมิ ทีท่ างราชการกาํ หนด

๗. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมในพน้ื ท่ี
เน่ืองจากอําเภอบางละมุงเปนสังคมที่มีบริบทหลากหลาย การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 ทําใหกลุมผูประกอบธุรกิจตองปดกิจการชั่วคราวจากคําส่ังของคณะกรรมการโรคติดตอ
จังหวัดชลบุรี เชน โรงแรม สถานบริการ หางสรรพสินคา รานอาหาร กิจการนวดเพ่ือสุขภาพ ขาดรายได
และยังตองรับภาระในการจายเงินเดือนใหกับพนักงานรายเดือน ในกลุมประชาชนท่ีเปนลูกจางท่ัวไป
ลกู จา งรายวันตองถูกเลิกจาง ขาดรายได มีผลกระทบถึงการดํารงชีวิตประจําวัน ถึงแมภาครัฐ ภาคเอกชน
จะรวมมือในการจัดสิ่งของเคร่ืองอุปโภคบริโภค อาหารปรุงสําเร็จ มอบใหกับผูไดรับผลกระทบ ก็ไม
สามารถชวยเหลือไดท้ังหมด ผูไดรับความชวยเหลือที่ไปรับของดังกลาว จะเปนกลุมประชากรแฝงท่ีเปน
ผูใชแรงงาน และถึงแมจะมีมาตรการผอนคลาย แตกิจการบางอยาง เชน โรงแรม ยังไมสามารถเปด
ใหบรกิ ารได ๑๐๐% เนอื่ งจากโรงแรมสว นใหญ รับคณะทวั รต า งประเทศเขาพกั เปนหลกั

๘. ทัศนคติของภาคสว นตาง ๆ ทงั้ ภาครัฐ ภาคทอ งถนิ่ ภาคประชาชน และผูไดร ับผลกระทบ
ทกุ ภาคสวนทั้งภาครัฐ ทองถ่ิน และประชาชน ตา งหว่ันเกรงตอเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 เนื่องจากโรค

ดังกลาวเปนโรคอุบัติใหม เม่ือมีการติดเช้ือแลวอาจรุนแรงถึงข้ันเสียชีวิตได เช้ือสามารถติดตอจากคนสูคน
ผานทางการสัมผัสใกลชิดผูปวย และแพรกระจายผานละอองเสมหะทางการไอจามของผูท่ีมีเช้ือ ทําใหทุก
คนเกิดความหวาดกลัว วิตกกังวล แตเม่ือภาครัฐมีกลไกและแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับปองกันและเฝาระวัง
การติดเชื้อ ทุกคนตางก็ตื่นตัวและใหความรวมมือในการปองกันและเฝาระวัง ทั้งการสวมหนากากอนามัย

72

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

การอยใู นเคหะสถาน ใหความรวมมือในการหยุดเชื้อ และคาดหวังวาโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา โควิด 19 จะ
หายไป และสามารถกลับไปใชชวี ติ ไดตามปกติ

๙. ปจจยั แหง ความสําเรจ็ ในการปฏิบตั ิงาน
จากการประเมนิ ผลการดําเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

พบวา ปจ จยั ที่มผี ลตอความสาํ เรจ็ ในการควบคุมการระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 มีดงั นี้
๙.๑ บริบท พบวา บริบทที่สงตอความสําเร็จในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อําเภอ

บางละมงุ จงั หวดั ชลบุรี เม่อื เกิดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ พบวา บุคลากรสามารถดําเนินการ
สอบสวนและควบคุมโรคไดตามแผนงานและจุดมุงหมายที่วางไวโดยดําเนินการต้ังแตยังเปนผูปวยสงสัยท่ี
รอผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ และในการลงพื้นท่ีเพื่อดําเนินการสอบสวนและควบคุมโรคไดมีการ
ประสานงานเครอื ขา ยและประชาชนในพื้นท่ี ซ่ึงไดรับความรวมมือจากเครือขายและประชาชนในพ้ืนท่ีเปน
อยางดี

๙.๒ ปจจัยนําเขา พบวา ปจจัยนําเขาท่ีสงผลตอความสําเร็จในการควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ในการดําเนินงานควบคุมการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อําเภอบางละมุง จังหวัด
ชลบุรี มีคําส่ังแตงตั้งทีมปฏิบัติงาน มีการวางแผนและกําหนดแนวทางการดําเนินงานโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 ในพ้ืนที่ โดยมีเจาหนาท่ีเพียงพอและมีความพรอมในการปฏิบัติงาน ทรัพยากรดานวัสดุ
เวชภณั ฑ ในการปฏิบัติงานมคี วามเพยี งพอและพรอ มใช

๙.๓ กระบวนการ พบวา กระบวนการที่สงผลตอความสําเร็จในการควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 การบริหารจัดการทีม รูปแบบ/ ข้ันตอน ระบบการประสานงาน เพ่ือการปฏิบัติงานเฝาระวัง ปองกัน
และควบคุมโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ในพื้นท่ี โดยมีการกําหนดแนวทางรวมกันท้ังอําเภอ และส่ือสาร
ใหผูปฏิบัติงานในระดับพ้ืนท่ีรับทราบผานชองทางตาง ๆ ไดแก เวทีการประชุม กลุมไลน การเตรียมความ
พรอ มของพ้ืนที่ไดแก การติดตามและวิเคราะหสถานการณอยางตอเนื่อง มีการสงบุคคลกลุมเส่ียงสงตรวจ
ทางหองปฏิบัติการ มีการลงพ้ืนท่ีเพื่อควบคุมโรคทันเวลา รวมท้ังใหความรูแกประชาชนเตรียมความพรอง
ดานวัสดุและเวชภณั ฑค วบคุมโรค

การบริหารจัดการปองกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด -19 มีประสิทธิภาพ
โดยกลไก การบรหิ ารงานแบบบูรณาการทุกภาคสวนในพ้ืนที่อําเภอ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
ตั้งแตเริ่มปรากฏขาวสารการแพรระบาดวา เกิดจากประชาชนท่ีเดินทางมาจากสาธารณประชาชนจีน มี
การเฝาระวังในกลุมนักเที่ยวชาวจีน โดยมีนายอําเภอเปนผูบัญชาการเหตุการณ ฝายปกครองและ
หนวยงานสาธารณสุขในพ้ืนท่ีเปนหนวยงานหลักในการสอบสวนโรค และหนวยงานองคกรปกครองสวน
ทองถ่ินที่รับผิดชอบภายในพ้ืนท่ี เปนหนวยงานเฝาระวัง ปองกัน ประชาสัมพันธ สรางการรับรูแก
ประชาชนแตละหนวยงานดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ี มีการประสานงานระหวางหนวยงานเปนอยางดี
และที่สําคัญตัวผูนําคือนายอําเภอเอง เปนผูที่ทํางานในพ้ืนท่ีมาเปนเวลานาน มีความเขมแข็ง ทําใหการ
ดําเนนิ งานสาํ เรจ็ ลุลว งไปไดดวยดี

73

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

๑๐. บทเรยี นท่ไี ดรับจากการดาํ เนนิ งาน
กระบวนการบริหารจัดการและมาตรการในการปองกันและยับย้ังการระบาดของ เช้ือไวรัสโคโรนา

2019 ท่ีกําหนดโดยศูนยบริหารสถานการณโควิด -19 และแนวทางปฏิบัติท่ีกระทรวงมหาดไทยส่ังการมี
ความชดั เจนและยืดหยนุ พอทน่ี ายอําเภอและคณะทํางานสนับสนุนการปองกันโรคติดตอระดับอําเภอ และ
เม่ือคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี ไดมีคําส่ังใหปดสถานที่ตาง ๆ เพ่ือการปองกันและเฝาระวังโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ไดแก สถานบริการตามกฎหมายสถานบริการ และสถาน
ประกอบการที่เปดใหบริการในลักษณะคลายสถานบริการ สถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ กิจกรรมนวด
เพ่อื สุขภาพ กจิ การสปา กิจการเสริมความงาม โรงมหรสพ สนามมวย สนามชนไก สถานท่ีออกกําลังกาย
ภายในอาคาร (ฟตเนส) และใหงดการจัดกิจกรรมรวมคนจํานวนมากที่มีความเส่ียงสูงตอการแพรระบาด
ของโรค ต้งั แตวันที่ ๑๘ มนี าคม ๒๕๖๓ และมีคําสั่งปดสถานที่เพ่ิมเติม ตามการประเมินสถานการณความ
รนุ แรงของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา คณะทํางานสนับสนุนการปองกันโรคติดตอระดับอําเภอ มีแนวทางการ
ดําเนนิ งานท่ชี ดั เจน สามารถปอ งกนั และควบคุมโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนาในพ้นื ท่ไี ด

๑๑. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกันและ
ยบั ยงั้ การแพรร ะบาดของโรคไวรสั โควดิ -19

การบริหารจัดการการปองกันและยับย้ังการแพรระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ระดับอําเภอ ดําเนิน
ไปตามขอส่ังการของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และจังหวัดชลบุรี ในดานการระงับยับยั้งโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ผูติดเชื้อรายสุดทาย ยืนยันการติดเช้ือเม่ือวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๓ และโรงพยาบาลสนามที่รับ
ผูปวยเขาพักฟน ไดปดเมื่อวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๖๓ จนถึงปจจุบันยังไมพบผูปวยติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ในพ้ืนท่ีอําเภอบางละมุง ประชาชนใหความรวมมือในการปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ
โรคตดิ ตอ จงั หวัด ยกเวน ชาวตางชาติ ที่อาศัยอยูในพื้นที่ มักไมใหความรวมมือในการปฏิบัติ เชน การสวม
หนากากอนามัยเมื่อออกไปในที่สาธารณะ การใหความชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจากมาตรการปองกัน
แกไขปญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ไดรับความรวมมือจากภาครัฐ ภาคเอกชน และ
องคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นท่ี ในการใหความชวยเหลือผูไดรับผลกระทบ ทั้งผูท่ีลงทะเบียนในระบบ
Thai QM และผูท่ีไมไดลงทะเบียนในระบบ Thai QM แตเนื่องจากอําเภอบางละมุงมีบริบทของพ้ืนท่ี
ชุมชนเมือง ประชากรสวนใหญเปนประชากรแฝง และประกอบอาชีพรับจาง และชาวตางชาติท่ีมาพัก
อาศัยระยะยาว ทําใหเกิดปญหาในดานการปองกัน เฝาระวัง เชน การไมใหความรวมมือในการรักษา
ระยะหาง เม่ือมีการแจกสิ่งของอุปโภคบริโภค การไมสวมหนากากอนามัยเมื่อออกจากท่ีพักอาศัย เพ่ือให
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกันและยับย้ังการแพรระบาดของโรคไวรัสโค
วิด-19 ดียงิ่ ขน้ึ ควรเนน มาตรการการบงั คบั ใชกฎหมายในพ้ืนทีใ่ หมากขึน้

*****************************

74

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

ภาคผนวก

กลุมปฏิบัตกิ ารท่ี 1 เขารวมประชมุ ศนู ยปฏิบัตกิ ารควบคุมโรคอําเภอบางละมุง

กลุมปฏบิ ัติการที่ 1 เยย่ี มชมโรงแรมแกรนดเ บลลา สถานที่กักกันตัว (Local Quarantine) ของจังหวัดชลบุรี

กลุมปฏบิ ตั กิ ารท่ี 1 ลงพ้ืนท่ีเกบ็ ขอมูล ณ โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตาํ บลบานหนองหวั แรด
ตําบลหนองปลาไหล อําเภอบางละมุง

กลุม ปฏบิ ัติการที่ 1 พบปะพูดคยุ เกบ็ ขอมลู กับอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจําหมูบ า น (อสม.)

75

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ท่ี 74

รายงานการเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
การบรหิ ารจดั การปองกนั ระงับยับยัง้ การระบาดของโรคไวรสั โควิด

ในระดบั อําเภอ ของอําเภอสตั หบี

จัดทาํ โดย
กลมุ ปฏบิ ัตกิ ารที่ 2 (กป.2)

1. น.ส.วรี วรรณ จนั ทนเสวี หวั หนา สํานักงานจังหวดั อา งทอง
2. นางพรนภิ า มาสลิ ีรังสี หัวหนาสํานกั งานรัฐมนตรี พม.
3. นายอคั รโชค สวุ รรณทอง นายอาํ เภอบางระกํา จงั หวดั พษิ ณโุ ลก
4. นายสมชาย อาํ พนั กาญจน นายอําเภอโนนไทย จงั หวดั นครราชสมี า
5. นายณัฏฐพงษ พฒั นรฐั นายอาํ เภอวัฒนานคร จงั หวัดสระแกว
6. นายฑรัท เหลอื งสอาด นายอาํ เภอทา มว ง จงั หวดั กาญจนบุรี
7. นายจรัสพงศ คําดอกรับ ทองถิน่ จงั หวดั สกลนคร
8. นายดสุ ติ บรสิ ุทธิ์ศรี เจาพนกั งานที่ดินจงั หวัดลาํ ปาง
9. นายกมลสิษฐ วงศบ ุตรนอย ผอู าํ นวยการกองคดี 2 ปปง.
10. นายจรูญ แกวมกุ ดากลุ ทอ งเท่ยี วและกฬี าจังหวดั ภเู กต็

รายงานนเี้ ปน สวนหนงึ่ ของการศึกษาอบรมหลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74
สถาบันดาํ รงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พุทธศักราช 2563

76

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

คํานํา

การศึกษาเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เปนสวนหน่ึงของหลักสูตรนักปกครองระดับสูง
(นปส.) รุนท่ี 74 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําบทเรียนและประสบการณจากการมีสวนรวมในพ้ืนท่ีจริง
นําไปใช ในการบริหารราชการและสรางมูลคาเพิ่มสําหรับประสบการณการบริหารราชการแกผูเขาอบรม
สามารถนาํ ไปประยกุ ตใ ชในการบริหารงานไดกวางขวางมากขึ้น โดยกําหนดพ้ืนที่เรียนรูจากการปฏิบัติจริง
ในพืน้ ทจ่ี ังหวดั ชลบรุ ี

ทั้งน้ี ไดกําหนดใหผูเขารับการศึกษาอบรมเขาไปศึกษาการเรียนรูเชิงปฏิบัติการในพื้นท่ีจังหวัด
ชลบุรีในประเด็นหัวขอ “การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการปองกันและระงับยับยั้ง
การระบาด ของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ในอําเภอสตั หีบ จงั หวดั ชลบุรี

คณะผจู ดั ทํา
นักศกึ ษาหลักสูตรนักปกครองระดบั สงู รุนที่ 74

กลมุ ปฏบิ ัติการที่ 2 (กป.2)

77

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

กรอบการเรียนรูเ ชิงปฏิบัตกิ าร (Action Learning)
การประเมินประสิทธิภาพการบริหารจดั การปองกนั และระงับยับยงั้ การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดับอาํ เภอ ของอําเภอสัตหบี

๑. ความเปน มา
๑.๑ ประวตั ิความเปน มาและสถานการณเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรมของพื้นทีท่ ํากาศกึ ษา

มีเร่อื งเลา วา ชว งประมาณรชั กาลท่ี 5 และรชั กาลท่ี 6 สตั หบี เปน เพียงหมูบานชายทะเล ชาวบาน
ประกอบอาชีพทําไร ทํานา หาของปา และประมง การคมนาคมจะใชทางน้ําโดยเรือเมลหรือเรือใบ สวน
ทางบกมแี ตท างเกวียน ถนนไปชลบุรยี งั ไมมี ภมู ิประเทศสวนใหญย งั เปน ปารกทบึ การเดินทางระหวางเมือง
จึงใชเรือเปนหลักในหมูบานสัตหีบ มีผูที่ชาวบานนับหนาถือตามากอยูคนหน่ึง ชาวบานเรียกวา "ยายแจง"
แกมีฐานะดีมี ที่ดิน เรือ สวน ไรนามากมาย ตลาดสัตหีบ หนองตะเคียนและโรงเรียนสิงหสมุทรรวมถึง
บรเิ วณเขาแหลมเทยี นอันเปนทตี่ ง้ั ของฐานทัพเรอื สตั หีบในปจ จบุ ันกเ็ คยเปน ของแก

ตอมา เม่ือกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ทรงฝกภาคทะเลกับกองเรือและทรงพักที่อาวสัตหีบ
ทรงเหน็ วาอา วสัตหบี เหมาะเปนท่ตี ัง้ หนวยเรือ เพราะมีเกาะใหญนอยชวยกําบังคล่ืนลม พระองคจึงไดบอก
ถึงพระประสงคทีจ่ ะใชบ รเิ วณเขาแหลมเทียนเปน ที่ต้งั หนวยทหารเรือยายแจงก็ยินดีที่จะถวายใหหลายทาน
ใหความคดิ เห็นวา "สัตต" แปลวา เจ็ด "หีบ" หมายถึง หีบ ฉะนั้น คําวา "สัตหีบ" ก็นาจะแปลวา หีบเจ็ดใบ
ซึ่งสอดคลองตามตํานานประวัติ [เจาแมแหลมเทียน] วาไดนําพระราชาลงในหีบเจ็ดใบเพ่ือหลบหนียักษ
อีกหลักฐานหน่ึงมาจากกองประวัติศาสตร[ทหารเรือ]ระบุวา เม่ือ พ.ศ. 2464 รัชกาลที่ 6 ไดเสด็จตรวจ
เย่ยี มหัวเมืองชายทะเล เพ่ือจะสรางแนวปองกันชายฝงทะเลดานนอกเพ่ิมขึ้น เพราะปอมพระจุลจอมเกลา
ที่ปากนํ้าสมุทรปราการ นั้น ใกลเมืองหลวงมากเกินไป จึงทรงดําริหัวเมืองชายทะเลฝงตะวันออกเปนท่ีตั้ง
กองทัพเรือ เพื่อตรวจตรารักษาฝงและเขตนานนํ้าใหญ จึงพระราชทานนามวา สัตตหีบ เน่ืองจากพระองค
ทรงเห็นเกาะ 7 เกาะ เปนท่ีกําบังลมใหแกหมูเรือไดดี คําวา "สัตหีบ" หมายถึง ท่ีกําบังเจ็ดแหง (หีบ = ที่
บัง) อันหมายถึงเกาะตาง ๆ กลาวคือ เกาะพระ เกาะยอ เกาะหมู เกาะเตาหมอ เกาะเณร เกาะสันฉลาม
และเกาะเลา

สัตหีบแยกจากอําเภอบางละมุงเพื่อเปน ก่ิงอําเภอสัตหีบ เม่ือ พ.ศ. 2480 โดยประกอบดวย
ตําบลสัตหีบและตําบลนาจอมเทียน และไดรับประกาศแตงต้ังเปน อําเภอสัตหีบ เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ.
2496 ดังปรากฏในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 70 ตอนท่ี 17 ลงวันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2496
โดยมีนายอําเภอคนแรกชื่อ นายชุมพล อทุ ยานิก

อําเภอสัตหีบ เปนอําเภอเล็ก ๆ ตั้งอยูในจังหวัดชลบุรีหางจากตัวเมืองชลบุรี 85 กิโลเมตร
ความสําคัญของสัตหีบคือเปนเมืองแหงฐานทัพเรือและเปนฐานทัพเรือที่ใหญที่สุดในประเทศไทย แลวท่ีนี่
ยังติดทะเล สถานท่ีทองเท่ียวสวนใหญจึงเปนชายทะเล โดยพ้ืนท่ีทางทะเลในสัตหีบสวนใหญ จะอยูในเขต
การดูแลของราชนาวีไทยและไดรับการอนุรักษดูแลเปนอยางดี มีความเปนธรรมชาติ นอกจากมีสถานท่ี
เทยี่ วทางทะเลทีส่ วยงามแลว ทีน่ ่ียงั มีสถานทีเ่ ทีย่ วอ่นื ๆ ที่นาสนใจอกี มากมาย

78

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ที่ 74

อาํ เภอสัตหีบแบงเขตการปกครองออกเปน 5 ตําบล 41 หมูบาน

1. ตําบลสัตหบี (Sattahip) จาํ นวน 9 หมูบ าน

2. ตําบลนาจอมเทียน (Na Chom Thian) จาํ นวน 9 หมบู า น

3. ตาํ บลพลตู าหลวง (Phlu Ta Luang) จาํ นวน 8 หมูบาน

4. ตําบลบางเสร (Bang Sare) จาํ นวน 11 หมบู า น

5. ตาํ บลแสมสาร (Samaesan) จํานวน 4 หมบู า น

การปกครองสวนทองถน่ิ

ทอ งท่ีอาํ เภอสตั หีบประกอบดวยองคก รปกครองสวนทองถ่ิน จาํ นวน 8 แหง ไดแก

x เทศบาลเมืองสัตหีบ
ครอบคลุมพนื้ ท่ีบางสว นของหมูที่ 1-8 ตาํ บลสตั หีบ และบางสว นของหมทู ี่ 7 ตาํ บลพลตู าหลวง

x เทศบาลตาํ บลนาจอมเทยี น
ครอบคลุมพื้นทีห่ มูท ี่ 1 (บางสวน), 2 (บางสวน), 3 (บางสวน), 4, 8 (บางสวน), 9 ตาํ บล
นาจอมเทยี น

x เทศบาลตําบลบางเสร
ครอบคลุมพ้ืนทห่ี มทู ี่ 1-2, 3 (บางสวน) , 4, 5 (บางสว น), 6 (บางสว น), 8, 9 (บางสว น),
10 (บางสวน) ตําบลบางเสร

x เทศบาลตาํ บลเขตรอดุ มศกั ดิ์
ครอบคลุมพ้ืนทีห่ มูที่ 9 รวมท้ังบางสวนของหมทู ี่ 1-8 ตําบลสตั หบี

x เทศบาลตาํ บลเกลด็ แกว
ครอบคลุมพนื้ ทีห่ มูท ี่ 3 (บางสวน), 5 (บางสว น), 6 (บางสวน), 7, 9 (บางสวน),
10 (บางสวน), 11 ตําบลบางเสร (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตําบลบางเสร)

79

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

x เทศบาลตาํ บลเขาชจี รรย
ครอบคลุมพืน้ ท่ีหมทู ่ี 1 (บางสวน), 2 (บางสว น), 3 (บางสว น), 5-7, 8 (บางสว น) ตําบล
นาจอมเทยี น (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาํ บลนาจอมเทยี น)

x องคการบรหิ ารสวนตําบลพลูตาหลวง
ครอบคลุมพ้นื ทห่ี มทู ี่ 1-6, 7 (บางสว น), 8 ตําบลพลูตาหลวง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลเมือง
สัตหีบ)

x องคการบรหิ ารสวนตําบลแสมสาร
ครอบคลุมพนื้ ที่ตาํ บลแสมสารทงั้ ตาํ บล

๑.๒ สภาพปญ หาการระบาดในพ้ืนที่ท่ศี ึกษา

x ในระยะเรม่ิ แรกของการแพรร ะบาดประชาชนยังไมไดรับขอมูลความรูโรคไวรัสโควิด-19 และยัง
ไมมีการปองกนั เทาท่ีควร

x การต่นื ตระหนกตอ สถานการณ (เม่อื พบผตู ิดเชอื้ )
x ขา วลอื (เฟคนิวส)
x ความชัดเจนของทางภาครฐั
ในพื้นที่อาํ เภอสัตหีบ พบผูต ิดเช้อื ไวรัสโคโรนา จาํ นวน 4 ราย มีขอมูลดังน้ี
รายท่ี 1 เปน คนนอกพนื้ ที่ ซ่งึ มาเยยี่ มญาติ และไดต รวจพบเชือ้
รายที่ 2 และรายท่ี 4 เปนพนกั งานโรงงาน ที่ไปอบรม ท่ี กทม. คาดวาจะมีการติดเชื้อ จาก กทม.
ในกลมุ ผูใกลชิด ผูม คี วามเส่ียงสูง จํานวน 16 คน ทํางานแผนกเดียวกัน (ตรวจไมพบ ) กลุมผูมีความเสี่ยง
ตํ่า จาํ นวน 216 คน ในโรงงานเดียวกันไมพ บเชอื้
รายที่ 3 เปนภรรยาของ รายที่ 2 ท้ังหมด ไดทําการรักษาหายแลว สภาพปญหาการแพรระบาด
ในพื้นที่นั้น เกิดจากการท่ี คนงานของบริษัท ไปศึกษาดูงานในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และกลับเขามาพื้นที่
อําเภอสัตหีบและในระยะแรกๆน้ันยังไมมีมาตรการในการกักตัวหรือเฝาระวังผูท่ีเดินทางมาจากจากพ้ืนท่ี
ทําใหมีการติดเช้ือจากบุคคลนอกพื้นที่ได และน่ีคือปญหาของการแพรระบาดการติดเช้ือโดยทั่วๆ ไป
ของประเทศไทยคือการกําหนดมาตรการตางๆท่ีจะตอบสนองตอสถานการณคอยขางชาอาจเปน
เพราะเรายังไมเ คยรู หรือยังไมเ คยมปี ระสบการณในการจดั การสรุป คือ
x สัตหีบมีการตดิ เชอ้ื จากบุคคลท่ีเดินทางจากทอ่ี ื่นเขา พนื้ ท่ี
x มาตรการตางๆ ที่ออกมาจากภาครฐั คอ นขางชา
x ความตืน่ ตระหนก ตอ การแพรระบาดของประชาชน

80

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

๑.๓ รปู แบบการแกไขปญ หาในพ้นื ทีท่ ีศ่ ึกษา
1.3.1 มกี ารจัดต้ังศูนยประสานงานการควบคมุ การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019 (โควดิ -19)
1.3.2 ใหมีการรายงานคนเขาพน้ื ท่ี ท่ีเดินทางมาจากพน้ื ทเี่ สี่ยง หรอื ตา งพนื้ ทแี่ ละรับแจง เหตุ

เกีย่ วกับโควดิ -19
1.3.3 ใหเจาหนา ท่มี ีการดําเนินการทเี่ ก่ียวของตองใหเ กิดความรวดเร็ว และกระชับ
1.3.4 การแกไ ขปญ หาโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19) ในชวงแรก ใหมีการสอบสวน

โรคโ ดยทีมแพทยและสาธารณสุขในพื้นท่ีโ ดยใหมีผูใหญบานซึ่งเปนบุคคลท่ีสามารถไ ววางใจได
รวมสอบสวนโรคกบั สาธารณสขุ เพ่อื ขอความรวมมอื จากผทู พ่ี บเชอ้ื ตลอดจนผใู กลช ดิ ใหไ ดขอเท็จจริง และ
กักตวั เอง 14 วัน เพื่อสงั เกตอาการ

๑.๔ ความคาดหวังของประชาชนและผูปฏบิ ตั ิงาน
ความคาดหวงั ของประชาชน

จากการสอบถามประชาชนโดยสวนมากแลวไมคุนชินกับสถานการณการแพรระบาด
โรคขนาดใหญแบบน้กี ารปรบั ตัวไมท นั ที่จะตองมีการสวมหนา กากตลอดเวลาอยูบ านเปนหลักไปไหนมาไหน
ไมสะดวก ประชาชนสวนมากคาดหวังใหกลับเขาสูภาวะปกติโดยเร็วเพ่ือจะไดกลับมาทํามาหากินประกอบ
อาชพี ไดอยา ปกติ ไมเจบ็ ปว ย ไมอ ดตาย

ขณะที่ดานเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน ความคาดหวังคือการที่ประชาชนใหความรวมมือ
ตระหนักถึงความรายแรงของการแพรระบาดของโรค และหวังใหประชาชนเขาใจละปฏิบัติตามคําส่ังหรือ
มาตรการตางๆท่ีจะตองปฏิบตั ิเพอื่ หยุดยั้งการแพรระบาดของเชือ้ โรค เพราะไมวาจะเปน พรก.ฉุกเฉิน หรือ
ประกาศคณะกรรมการโรคติดตอ จังหวดั และยงั คาดหวงั ใหกลบั เขาสภู าวะปกตโิ ดยเร็ว

2. เปาหมายหรือผลลัพธท ีต่ องการ
2.1 ราษฎรในพ้ืนทีป่ ลอดโรค
ราษฎรในพ้นื ที่ปลอดโรคถือวาในชวงสถานการณว กิ ฤตการณ แพรระบาด ของไวรัสโคโรนา 2019

ในการปฏิบัติงาน เจาหนาที่ คาดหวัง ที่จะใหเกิดความปลอดภัย ราษฎรปลอดจากเช้ือโรค แตทั้งน้ี ตอง
ไดร บั ความรวมมือจากทกุ ภาคสวนรวมกนั หรือแมกระท่งั ตวั บุคคลเอง

81

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

- ขา ราชการตองเปนหลักในการปฏิบตั ิงาน บงั คบั ใชกฎหมายและเปน ที่พง่ึ ใหประชาชนในทกุ ดา น
- ประชาชนในพน้ื ที่ปลอดโรคเปน เปาหมายสงู สุดในการปฏบิ ตั งิ านครั้งน้ี
- ประชาชนสามารถทํามาหากินไดอยางปกติ และใหค วามรวมมอื แกภาครฐั

2.2 ผกู ลับมาจากพนื้ ทโ่ี รคระบาดทุกคนตองกกั ตวั ๑๔ วัน
อาคารรับรอง ฐานทัพเรือ สัตหีบเปนสถานท่ีแรกของการรับคนไทยกลับจากตางประเทศ (เมืองอู
ฮ่ัน) เพือ่ เฝาสังเกตอาการ จําวน 138 คน

3. แนวทางการดาํ เนนิ งาน
3.1 แนวทางกลไกลกระบวนการและการบริหารจัดการตามคําส่ังศูนยบริหารสถานการณ

โควดิ –19 และขอสัง่ การของกระทรวงมหาดไทยดําเนินการเผยแพรคาํ ส่ังประกาศ ในชอ งทางตางๆดงั นี้
1. หนังสือนําสง หน.สวนราชการ นายกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน กํานัน ผูใหญบาน

สถานตี ํารวจทกุ สภ. หนวยทหารในพ้ืนที่
2. ประชาสมั พันธใ น เฟสบคุ ไลน กรปุ ของอําเภอ
3. การประชาสมั พนั ธ ผานหอกระจายขา วหมบู า น สถานีวทิ ยชุ ุมชน เสียงตามสาย
4. การตรวจแนะนาํ และแจงคาํ ส่ังตอ ผปู ระกอบการ

การจัดการตามคําสั่ง ศบค.นั้น อําเภอสัตหีบเนนสงใหถึง หมายถึง การแจงคําสั่งมาตรการตางๆ
ในหลายๆ ชอ งทางการสือ่ สารเพอ่ื ใหประชาชนในพ้ืนที่ไดรับรูความเคล่ือนไหวขาวสารตางๆ โดยเร็ว ไมวา
จะเปนในกลุม ไลน กํานัน ผูใหญบาน กลุมหัวหนาสวนราชการ กลุมผูประสานstate quarantine กลุม
ศปก. โควิด เปนตน และยังมี เฟสบุค อําเภอสัตหีบ การประชาสัมพันธทางหอกระจายขาว สื่อมวลชนใน
พื้นที่การจัดรถประชาสัมพันธ สื่อใหเขาใจ หมายถึงการที่ตองมีระดับ คูร ก. ครู ข. เพ่ือทําความเขาใจกอน
งายท่ีสดุ คือกาํ นนั ผูใหญบาน และคนอื่นๆ ที่เปน เจาพนักงานตาม พรบ.ควบคุมโรคติดตอ ตองมีการประชุม
ทาํ ความเขาใจบทบาทหนา ท่ใี หช ัดเจน โดยมีปลดั อาํ เภอประจําตําบล ผอ.รพสต. เปนพ่ีเล้ียง ใหเขารูหนาที่
ตาง ๆ ของตนเองใหชัดเจน บังคับใหทําตามในการบังคับใชกฎหมายตามขอกําหนดตาง ๆ ไมวาจะเปน
พรก.ฉุกเฉิน ประกาศคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี คําสั่งของกระทรวงมหาดไทย คําสั่งศูนย
บริหารสถานการณโควิด เม่ือมีการกระทําผิดที่ไมเปนไปตามขอกําหนดขอบังคับตางๆ อําเภอสัตหีบ ไดมี
การต้ังชุดปฏิบัติการเคลื่อนท่ีเร็วในการบังคับใชกฎหมาย และแมการต้ังดานตรวจคัดกรอง ดานเคอรฟว

82

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

อาํ เภอสัตหบี จะจัดใหมีปลัดอําเภอทําหนาที่เวรประจําวันท่ีอยูเวรตลอด 24 ชั่วโมง เพ่ือเปนพี่เล้ียงใหกับ
กํานันผใู หญบานในการจับกุมบงั คับใชกกหมายในทกุ ๆ คืน เม่อื คํารอ งขอจากผูใหญบานทําใหมีการตอบรับ
เมอ่ื คําพูดคาํ สงั่ ของผูใ หญบ า นมีความเขม แข็ง นา เชอ่ื ถอื ลกู บานก็จะใหค วามรวมมือ

3.2 การประยกุ ตใหเหมาะสมกบั บริบทและความตอ งการของประชาชนในพนื้ ท่ี
การประยกุ ตใ หเหมาะสมกบั บรบิ ท และความตอ งการของประชาชนในพื้นท่ีเครือขายในพ้ืนท่ี

อําเภอสัตหีบเอง จํานวนหน่ึง คือ ทหารเรือซ่ึงอยูในคายทหาร การดําเนินการตางๆ หรือการสงคําสั่ง
ศูนยบริหารสถานการณโควิด คําสั่งคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด จะตองสงให หนวยทหาร เพื่อจะได
กํากับดูแล กําลังพลของฝายทหาร ใหปฏิบัติตาม คําสั่งศูนยบริหารสถานการณโควิด หรือประกาศคณะ
กรรมกาโรคตดิ ตอจังหวัดดวย

ทั้งนี้ รวมถึงการบูรณาการ รวมกันของหลายๆ กิจกรรม โดยใชจุด แข็งของความเปนขาราชการ
ทหาร คือ การมีการบังคับบัญชาตามลําดับช้ัน การส่ังการ จากผูบังคับบัญชา หรือการ กํากับตรวจสอบ
โดยเจา หนา ทฝี่ ายทหารรว มดว ย

4. ผลการดาํ เนินงาน
¾ ยตุ ผิ ูติดเชอ้ื ไวที่ 4 ราย
¾ กํากบั ดูแลผทู เ่ี ดินทางเขา พืน้ ทจ่ี าก กทม.และปรมิ ณฑล 274 คน จาก จ.ภูเก็ต 12 คน
¾ มี State Quarantine จํานวน 3 แหง
1. อาคารท่รี ับรอง ทหารเรอื
2. โรงแรมแอมบาสเดอร ซิต้ี
3. โรงแรมจอมเทยี นฮอรล ิเดย

83

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

¾ สังเกตอาการผูท่ีเดินทางกลับจากประเทศ จํานวน 3,468 คน
¾ แจกส่งิ ของอปุ โภค บริโภคของใชจําเปน จาํ นวน 12,200 ชดุ
¾ ตรวจสอบสิทธิผูท ี่ไดรับเงินเยียวยา 5,000.-บาท จํานวน 912 คน
¾ ประสาน อปท. มอบเงินชวยเหลอื คนละ 1,000.-บาท จาํ นวน 10,100 คน
¾ ยอดลงทะเบียนผไู ดรบั ผลกระทบ tqm จํานวน 4,205 คน

4.๒ ผูประกอบการท่ีมีพนักงานเกิดการวางระบบตามมาตรฐานความปลอดภัย อาทิ บริษัท
เชฟรอนประเทศไทย สมาคมกีฬาเรือใบแหงประเทศไทย มีการจําลองแบบ กักดูอาการพนักงาน ณ
โรงแรมแหงหน่ึงในอําเภอสัตหีบ กอนลงปฏิบัติหนาที่บนแทนขุดเจาะน้ํามันบริเวณอาวไทย โดยอําเภอสัต
หบี สํานักงานสาธารณสุขอาํ เภอสตั หีบ องคก ารบริหารสวนตาํ บลพลตู าหลวงใหค ําแนะนาํ ชว ยเหลือ

4.๓ ความรูสึกภาคภูมิใจของประชาชนชาวสัตหีบกลุมแรก ผูปฏิบัติงานท่ีไดเสียสละเพื่อชาติ
จนจํานวนผูติดเชื้อในประเทศลดลงอยาเห็นไดชัด กลุมสองประชาชนใหความรวมมืออยางสูงและเปน
เครอื ขา ยการเฝาระวังอยางเปนรปู ธรรม

4.๔ ภารกิจท่ีทาทายใหมไดแก การทําใหภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนเขาใจ และสงเสริม
การดําเนินวิถีชีวิต New Normal และการปองกันการแพรระบาดของไวรัสโคนา 2019 ( โควิค-19)
ควบคูก ันไป

5. ปญ หาอุปสรรคในการดาํ เนินงาน แนวทางแกไข

¾ มีบุคคลบางกลุมที่ไมย อมปฏบิ ตั ิตามมาตรการ
¾ ผปู ฏบิ ตั งิ านไมเ ขา ใจกฎหมายทเ่ี กี่ยวกับการแกไ ขปญ หาตามมาตรการ
¾ การประชาสมั พันธสรางการรับรูยงั ไมทวั่ ถงึ

แนวทางแกไข
¾ ตองการสรางการรบั รู เกย่ี วกับเชื้อไวรัสโควคิ -19 สถานการณการแพรระบาด
แนวทางการปอ งกัน
¾ ตองสรางขวญั กาํ ลงั ใจ ความภูมิใจ ความเสยี สละ
¾ จดั ใหมีศูนยรับเรื่องราวรองทกุ ข ถาม-ตอบ ปญหา คลายความกังวล

84

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ที่ 74

6. ประโยชนท่ีประชาชนไดร บั

¾ ประชาชนมีความปลอดภยั จากโรค
¾ ประชาชนไดรบั การฟนฟหู ลงั สถานการการแพรระบาดลดลง
¾ ประชาชนไดร บั การเยยี วจากภาครัฐ และเอกชนในพนื้ ที่

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ และสังคมในพนื้ ที่ทําการศกึ ษา

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม อําเภอสัตหีบเห็นไดวา สถานการณการแพรระบาดของไวรัสโคโร
นา 2019 สงผลกระทบอยางเห็นไดชัดอันเนื่องมาจากมาตรการตางๆ ท่ีถูกกําหนด จากศูนยบริหาร
สถานการณโ ควิด หรือ จังหวดั ชลบรุ ี มงุ หมายเพอื่ ใหประชาชนใชชีวิตอยางปลอดภัยจากเชื้อไวรัสโคโรนา
2019

อําเภอสัตหบี มสี ถานทท่ี อ งเท่ียวมากมายนนั่ หมายถงึ วา ตองมผี ูประกอบการในดานตางๆ ที่รองรับ
นักทองเท่ียวท่ีเขามาในพ้ืนมากตามไปดวย และตองปดกิจการชั่วคราวผลกระทบตอมาคือการจําเปนตอง
เลกิ จา งพนกั งานเพอ่ื ปรบั ตัวใหขา กบั สถานการณ แตก็มีหลายกจิ การท่ีตอ งปดตัวถาวร

8. ทศั นคตขิ องภาคสวนตางๆ ทงั้ ภาครฐั ภาคทอ งถ่ิน ภาคประชาชน และผูไ ดรับผลกระทบ

¾ ประชาชนมมี ุมมองที่ดีตอภาครัฐทเ่ี ห็นจากการปฏิบตั ิงานอยางทุมเท
¾ ผไู ดรบั ผลกระทบทลี่ งทะเบียน TQM จาํ นวน 4,205 คน มีความเช่ือมัน่ วาภาครัฐสามารถ
¾ แกไขและฟน ฟูหลังพน วกิ ฤตการแพรระบาด

9. ปจ จัยแหงความสาํ เร็จในการปฏิบตั งิ าน
¾ การวางแผนการทํางาน อยางเปน ระบบ ของผูนํา
¾ ภาคสว นตางๆ มีความเขาใจ ในบทบาทหนาท่ีของตนเองประชาชนใหความรวมมือ
¾ สังคมมีการแบงปน
¾ การประชาสมั พนั ธข อ มลู ขา วสาร

10. บทเรียนท่ีไดร ับจากการดาํ เนนิ งาน

¾ตองใชเทคโนโลยีที่เปนชองทางการสื่อสาร ควบคูไปกับแนวทางการแจงขาวของทางภาครัฐ
เพ่ือใหเกิดความรวดเร็ว และท่ัวถึง ในการแจงขาวสารประกาศคําสั่งตางๆ ในขณะ
ขณะเดียวกนั กเ็ ปน ชอ งทางตอบโตขา วสาร ขา วลวง ขาวลือตา งๆ ทกี่ อใหเ กดิ ความสบั สน

¾ตองใหเ จาหนาทผี่ ปู ฏิบตั งิ าน และประชาชนมีความรเู ทาทันตอสถานการณ บทบาทหนาทข่ี อง
ตนเอง

¾ตอ งบริหารสถานการณดว ยการตดั สินใจทรี่ วดเร็ว

85

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

11. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการบริหารจัดการปองกัน และ
ยับยัง้ การระบาดของโรคไวรสั โควดิ -19

การปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ขาดขวัญกําหลังใจเนื่องจากกํานันผูใหญบาน อสม. เปนหลักใน
หลายๆเรื่องควรมีการบํารงุ ขวัญกําลังใจควรมีการต้ังงบประมาณไวเพ่ือสนับสนุนการแกปญหาวิกฤตการณ
ท่ีอาจเกิดขึ้นอีก โดยตั้งเปนงบกลางไวเพื่อแกปญหาเฉพาะท่ีไวองคกรปกครองสวนทองถิ่น และให
ผอู ํานวยการสถานการณส ามารถสง่ั ใชไดอ นั สง ผลใหเ กดิ ความรวดเร็วในทกุ ดาน

ปญ หาและขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ
1. สวนกลางตองกําหนดแนวทางการสนับสนุนการปฏิบัติงานและการชวยเหลือ/เยียวยา

ผูไดรับ ผลกระทบจากฎหมายาตรการการปองกัน/ระงับยับยั้งและการควบคุมโรคติดตอทุกประเภทของ
องคกรปกครองสวนทองถ่ินใหมีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน โดยการนํากรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (โค
วิด-19) เปนกรณีศึกษาเพ่ือใหการดําเนินการแกไขปญหาในพื้นที่เปนไปอยางรวดเร็ว ทันทวงที เกิด
ประสิทธิภาพสูงสดุ และทส่ี ําคญั อปท.จะไดไ มตอ งเกิดความกลวั การตรวจสอบในภายหลงั

2. รฐั บาลตองสามารถจัดการกับการกักตุนสนิ คา ของบริษัทตางๆ เพื่อจะไดลดผลกระทบ
ที่จะเกิดกับ ประชาชนทุกคน เชน เม่ือเกิดโรคระบาดทางเดินหายใจ หนากากอนามัยสาคัญท่ีสุดรัฐบาล
ตองยกเลิก การสงออกของบริษัทผูผลิตท้ังหมด เพ่ือใหประชาชนสามารถเขาถึงการใชหนากากอนามัยได
งาย และตองไมข าดแคลน และควรมี กฎหมายเดด็ ขาด กรณีประชาชนท่ีฝาฝนไมสวมหนากากอนามัยดวย
ตลอดจนสินคาอุปโภค บริโภค ตองไมฉวยโอกาสขึ้นราคา เร่ืองนี้รัฐบาลตองกําชับกระทรวงพาณิชยใหดา
เนนิ การอยางเต็มที่และใหขาราชการ ของกระทรวงพาณิชยในแตละจังหวัดตองลงพ้ืนท่ีใหมากๆ ไมใชการ
ส่งั ใหแ ตละอาํ เภอ ชว ยทางานแทนตนเอง เพราะงานของอําเภอ กํานัน ผใู หญบาน มีมากอยูแลว

3. การแจงขอมลู ขา วสารตา งๆ ใหกบั ประชาชนในพน้ื ที่ สง่ิ สําคญั อีกอยา งหนง่ึ คอื หอ
กระจายขาว เสียงตามสาย/ไรส าย ซ่ึงบางหมบู านมี บางหมูไมม ี หรือ มีแตไมครอบคลมุ รฐั บาลควร
สนบั สนนุ งบประมาณ ในดาเนนิ การติดตั้งใหครบถวน เพราะเม่ือเกดิ เหตกุ ารณใดๆ ท่ที างราชการตองรบี
ดําเนนิ การแจง ขาวใหพ ่ีนอง ประชาชนรับทราบขอมูลขาวสาร จะไดช แี้ จงไดงา ย สะดวกและรวดเร็ว ไม
สิน้ เปลอื งงบประมาณ

4. เมื่อเกิดเหตุการณเชนโรคโควิด-19 รัฐบาลทําถูกตองแลว ท่ีมอบอํานาจการตัดสินใจ
ใหผูวาราชการจังหวัดในการบังคับบัญชา สั่งการ และตอไปควรใหขาราชการสวนกลางท่ีปฏิบัติงานในแต
ละจังหวัด เมื่อเกิดเหตุการณแบบน้ีอีก ตองขึ้นตรงตอการบังคับบัญชาของผูวาราชการจังหวัด เพื่อผูวา
ราชการจังหวดั จะไดม ีบุคลากรเพมิ่ เตมิ ในการท่ีจะสัง่ การใหปฏิบตั ิงานชวยเหลือ จังหวดั หรือหนวยงานอื่นท่ี
รองขอมา จะเห็นไดวาการปฏิบัติงานแกไขปญหาเร่ืองโรคโควิด-19 ในครั้งน้ีมีหนวยงานหลักๆ ที่
ปฏิบัตงิ านจริง ๆ แคกระทรวงมหาดไทย (กรมการปกครอง) กับกระทรวงสาธารณสุขเทานัน้ ที่ชวยงานกัน
ขบั เคลื่อนงานในพน้ื ท่ี นอกน้ันสว นใหญไ มไ ดปฏิบตั ิอะไรมากมายนัก

86

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

5. สวนกลางควรมีการประชาสัมพันธการปฏิบัติงานของทั้งผูวาราชการจังหวัด
นายอําเภอ กํานัน ผูใหญบาน ผูชวยผูใหญบาน สารวัตรกํานัน แพทยประจําตําบลวาไดปฏิบัติหนาท่ีใน
การแกไ ขปญหาตาง ๆ ในพ้ืนที่ อยางเต็มกาลงั ความสามารถ และเปน ผนู าํ การปฏิบัติในพ้ืนที่ จนงานสําเร็จ
ลุลว งไปไดด ว ยดี แตสือ่ มวลชนชน่ื ชมแตเพยี ง อสม.วาเปน ผทู าใหงานสําเร็จแตเ พียงฝายเดยี ว ทั้งที่บุคลากร
ขา งตน สวมหมวกอกี ใบในฐานะ อสม. ดวย

6. กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ตองนําประเด็นปญหาในเรื่องการปฏิบัติตาม
ระเบียบ กฎหมายตาง ๆ เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณที่เกิดขึ้น โดยตองปรับปรุง/ แกไขระเบียบและ
กฎหมาย เพื่อให อปท.สามารถปฏิบัติงานไดอยางทันทวงที เกิดความคลองตัว และมีความชัดเจน เชน
เรื่องการใหค วามชว ยเหลอื เยียวยาประชาชน เปน ตน

7. ความสําคัญของสวนราชการในภูมิภาคเปรียบเสมือนโซขอกลางท่ีเปนผูนานโยบาย
รฐั บาล(สวนกลาง ) ลงไปสูการปฏบิ ตั ใิ นพน้ื ที่ รว มกับ อปท. ถาไมมีนายอําเภอเปนผูประสานการปฏิบัติจะ
ขาดความชัดเจนในการดําเนินงาน เพราะบางแหง ทองถิ่นไมมีระบบการทางานท่ีดีพอ โดยเฉพาะนายก
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน กับปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทาใหงานไมเดินหนา การใหความ
ชว ยเหลือประชาชนเกิดความลา ชา

8. การเบิกคาตอบแทน คาเบ้ียเล้ียงตางๆ ใหแกผูปฏิบัติหนาที่นอกสังกัดของ อปท.
นอกเหนือจาก จนท. อปพร. กรณีการสั่งใชใหปฏิบัติหนาที่ประจาดานตรวจของหมูบาน / ชุมชน เชน
กาํ นัน ผใู หญบาน ฯลฯ ชดุ รกั ษาความปลอดภยั หมบู าน อสม. ควรไดร ับคา ตอบแทนดว ย

9. สวนกลางควรตอ งมคี วามชัดเจนเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการใชจายงบประมาณของ
อปท. ในสถานการณพิเศษ โดยเรงรัดการขอยกเวนระเบียบการจัดซื้อจัดจาง กรณีราคากลางในหวงที่
สินคาขาดตลาด ทาใหการจัดซ้ืออุปกรณเครื่องมือในทองตลาดท่ีมีราคาสูงเกินกวาราคากลางใน
สถานการณปกติ

10. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยคาใชจายเพื่อชวยเหลือประชาชนตามอํานาจ
หนาท่ีของ อปท. พ.ศ.2560 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2561 ***เกี่ยวกับการเยียวยาผูที่ไดรับผลกระทบจาก
สถานการณการแพรร ะบาดของโรคโควดิ สว นกลางตอ งส่ังการใหชัดเจนในสถานการณพิเศษนี้ เร่ืองใดสมา
รถทาไดทันที และเรื่องใดทาไมได ทั้งน้ี เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติไดอยางรวดเร็ว ฉับพลันทันที
มปี ระสทิ ธิภาพ

11. การเตรียมความพรอมรับสถานการณฉุกเฉินแบบภัยพิบัติ เชน สึนามิ โรคหวัดนก
นาทวมใหญ กทม. หรือแผนดินไหว อาจจะเกิดขึ้นไดทุกเมื่อ ตองมีความยืดหยุน แตชัดเจน ในระเบียบ
วิธีการปฏิบัติ เชน โครงสรางการบังคับบัญชา งบประมาณ การดาเนินการ สิ่งที่จาเปนที่สุด คือ คูมือการ
ปฏบิ ตั ิทกุ ระดับ

*****************************

87

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี 74

ภาคผนวก

อ.สตั หบี สูภยั โควิด

การลงพนื้ ที่ (Action Learning กป.2)

88

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

การประเมินประสทิ ธิภาพของการบริหารจัดการปอ งกัน
ระงบั ยับยง้ั การระบาดของโรคไวรสั โควิด-19 ในระดับหมบู าน

89

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

รายงานการเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
การประเมินประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการปองกันและระงับยับยง้ั การระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดบั หมูบานในอําเภอบา นบงึ
บานมาบลําบิด หมทู ี่ 7 ตําบลคลองกวิ่ อาํ เภอบา นบึง จงั หวัดชลบรุ ี

จดั ทําโดย

กลมุ ปฏบิ ตั ิการที่ 10 (กป.10)

1. นางสาวฐติ ณ ฐั สมบัตศิ ริ ิ วัฒนธรรมจงั หวัดปทุมธานี
2. นายอภยั วฒุ ิโสภากร นายอําเภอหนองพอก จงั หวัดรอ ยเอ็ด
3. นายนสิ ติ สวัสดเิ ทพ นายอาํ เภอนครไทย จงั หวดั พษิ ณุโลก
4. นายสมกจิ เกศนาคินทร นายอําเภอเมอื งเชียงราย จงั หวดั เชยี งราย
5. นายชัยวรรณ นิยม นายอาํ เภอบานสราง จงั หวดั ปราจีนบุรี
6. นายวสันต ชิงชนะ พฒั นาการจังหวัดสุรนิ ทร
7. นายนิรุจ ยงั เจรญิ เจาพนักงานที่ดินจังหวัดประจวบครี ีขันธ
8. นายมโี ชค นัฏสถาพร โยธาธิการและผงั เมืองจังหวดั ชยั นาท
9. นายอดศิ ร กิจขยนั นกั วิเคราะหง บประมาณเชย่ี วชาญ
สาํ นักงบประมาณ
10. นายพลจักร น่ิมวฒั นา ผอู ํานวยการสาํ นกั นโยบายและแผนรัฐวสิ าหกจิ
กระทรวงการคลัง

รายงานนเ้ี ปนสว นหน่ึงของการศกึ ษาอบรมหลักสตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74
สถาบนั ดาํ รงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศักราช 2563

90

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

คาํ นาํ

การเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เปนสวนหน่ึงของหลักสูตรนักปกครองระดับสูง
(นปส.) รุนท่ี 74 โดยมีวตั ถุประสงคเ พือ่ นําบทเรียนและประสบการณที่ไดจากการมีสวนรวมในพื้นท่ีจริงไป
ใชในการบริหารราชการและสรางมูลคาเพิ่มสําหรับประสบการณการบริหารราชการใหแกผูเขารับการ
อบรมสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชในการบรหิ ารงานไดอยา งกวางขวางมากขนึ้

ในการน้ี กลุมปฏิบัติการท่ี 10 (กป.10) ไดศึกษาการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action
Learning) ในประเด็นการบริหารจัดการปองกัน ระงับยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับ
หมบู านในอาํ เภอบานบึง ในเขตพน้ื ท่ีบานมาบลาํ บิด หมทู ่ี 7 ตําบลคลองกิว่ อาํ เภอบา นบงึ จังหวัดชลบุรี

คณะผูจดั ทาํ
นักศกึ ษาหลกั สตู รนักปกครองระดับสูง รนุ ที่ 74

กลมุ ปฏบิ ัติการท่ี 10 (กป.10)

91

การเรยี นรูเ ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

กรอบการเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบัตกิ าร (Action Learning)
การประเมินประสทิ ธภิ าพของการบริหารจัดการปองกนั ระงับยบั ยงั้ การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดบั หมูบานในอําเภอบานบึง
บา นมาบลาํ บิด หมทู ี่ 7 ตาํ บลคลองกวิ่ อาํ เภอบานบงึ จงั หวัดชลบรุ ี

1. ความเปน มา

1.1 ประวัติความเปนมาและสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองของ
พ้นื ท่ี

ประวัติหมูบาน บานมาบลําบิด หมูที่ 7 ตําบลคลองก่ิว อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี
ปจจุบนั ต้งั อยูใ นเขตพนื้ ที่ของ องคการบริหารสว นตําบลคลองกิ่ว อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี เปนหมูบาน
เกาแก ใกลๆ หมบู า นมลี ําธารไหลผาน พ้ืนท่ีสว นใหญเปนท่ีราบลมุ เรียกกันวา “มาบ” และดวยในหมูบาน
มีลําหวยหรือลําคลองท่ีไหลผานหมูบานมีลักษณะเลี้ยวเค้ียวคด บิดไปบิดมา ประกอบกับมีตนไมชนิดหน่ึง
ช่ือ “ลําบิด” ที่ข้ึนรอบๆ หนองน้ํา ชาวบานจึงเรียกช่ือบานวา “บานมาบลําบิด”ปจจุบันปาไมถูกทําลาย
เปนจาํ นวนมากเพ่อื เปนทท่ี ํากินและเปน ท่ีอยูอาศัย ทําใหตน ไมดังกลา วหมดไป

ทตี่ ัง้ ของหมูบ า น
บานมาบลําบิด ต้งั อยหู า งจากอําเภอบา นบึงไปทางทิศตะวันตก เปนระยะทางประมาณ 16
กิโลเมตร และหางจากจังหวดั ชลบุรี ประมาณ 35 กิโลเมตร
- ทิศเหนอื ติดตอ หมูท ่ี 1 บานหัวกญุ แจ และหมทู ่ี 4 บานมาบคลา

ตาํ บลคลองกว่ิ อาํ เภอบานบึง
- ทิศใต ติดตอ ตาํ บลเขาคันทรง อําเภอศรรี าชา
- ทิศตะวนั ออก ติดตอ หมูท่ี 5 บานหมื่นจติ ร และหมูที่ 6 บา นโสม

ตาํ บลคลองกิว่ อาํ เภอบา นบึง
- ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ แนวเขาชมพแู ละเขาเขยี ว
ขนาดพ้นื ท่ีของหมูบา น

บานมาบลาํ บิด ขนาดพื้นท่ี 19,693.17 ไร หรือคิดเปน 31.509 ตารางกิโลเมตร
ลักษณะภูมิประเทศ บานมาบลําบิด เปนที่ราบเชิงเขา พ้ืนที่สวนใหญเปนพ้ืนที่ราบลุม ดิน
เปนดินรวนปนทราย เหมาะสําหรับทําการเกษตร เชน ปลูกมันสําปะหลัง ออย และสับปะรด ลักษณะ
ภูมิอากาศแบบรอนช้ืน ฝนตกไมเปนฤดูกาล สวนใหญรอนและแหงแลง ปจจุบันพ้ืนท่ีเพาะปลูกเหลือ
นอยลงเนื่องจากมโี รงงานอุตสาหกรรมเขามาในพน้ื ที่มากขนึ้ ปจจุบนั ชุมชมจัดอยูในประเภทชมุ ชนชนบท
เสนทางคมนาคมในชุมชน ใชการเดินทางติดตอกันทางบกเปนหลัก มีถนนลูกรัง มี
ถนนลาดยางมะตอย ถนนคอนกรตี เปน ระยะ แตสวนใหญเ ปนถนนลูกรงั เนอ่ื งจากมีพน้ื ท่ีอยลู ึกเขาไปในเชิง
เขา และเปน พ้นื ทเ่ี กษตรกรรม มีการกระจายของบานเรือน

92

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74

ขอ มูลจาํ นวนประชากร (*** จากฐานขอมูลทะเบียนราษฎร ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2562

และจากการสํารวจเพือ่ จดั ทาํ แผนชมุ ชน)

จาํ นวนครวั เรอื น 429 ครัวเรอื น (จาํ นวนครัวเรอื นประชากรแฝง 39 ครวั เรือน)

จํานวนประชากร (สํารวจ+แฝง) 3,218 คน (ชาย 1,458 คน หญงิ 1,760 คน)

- ประชากร (สาํ รวจ) 1,445 คน (ชาย 683 คน หญงิ 762 คน)

- ประชากร (แฝง) 1,773 คน (ชาย 775 คน หญงิ 998 คน)

(เปนแรงงานจากนอกพ้ืนที่และตางดาว)

จํานวนผสู ูงอายุ 213 คน (ชาย 95 คน หญิง 118 คน)

จาํ นวนคนพกิ าร 63 คน

ปจจบุ นั มปี ระชากรแฝงและประชากรเคล่ือนยาย รวมถึงแรงงานตางดาวเปนจํานวนมาก มี

นิคมอตุ สาหกรรมเหมราช 2 ในพนื้ ทีท่ ่ี และมีการยายเรอื นจาํ กลางจังหวัดชลบุรีจากอําเภอเมืองชลบุรี เขา

มาอยใู นพื้นท่ี บา นมาบลาํ บิด

สภาพทางเศรษฐกิจ

1. การประกอบอาชีพ ชาวบานมาบลําบิดสวนใหญประกอบอาชีพรับจางในโรงงาน

อตุ สาหกรรม และอาชีพเกษตรกรรรม ไดแก ปลกู ปาลม ออ ย มนั สาํ ปะหลัง ขอมูลจากการสาํ รวจ

- รับจาง (เอกชน/บรษิ ทั /โรงงาน) 284 ครวั เรอื น

- เกษตรกรรม 120 ครวั เรือน

- คาขาย 35 ครวั เรือน

- ทาํ งานประจาํ /รบั ราชการ 15 ครวั เรอื น

2. กลุม/องคก รในหมูบ าน

- กลมุ พวงหรดี

- กลุมแมบ านเกษตรกร

- กลุม องคกรสตรี (กพสม.)

- กลุมอาสาพฒั นาชมุ ชน

- กลมุ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาํ หมบู า น (อสม.)

- กลมุ ออมทรัพยบ า นลําบิด

- กลุม พัฒนาบทบาทสตรี

3. บริการสาธารณสุขในหมูบ าน

- โรงพยาบาลประจาํ ตาํ บลบา นมาบลําบิด เฉลิมพระเกียรติ

สภาพทางสงั คม/วัฒนธรรม

สภาพบานเรือนของชาวมาบลําบิด มีความม่ันคงถาวร มีการจัดการบานเรือนเปนระเบียบ

ถูกสุขลักษณะ ครอบครวั อบอนุ ประชาชนสว นใหญม ีสุขภาพดี คนอายุ 60 ป ขนึ้ ไปไดรบั การตรวจสุขภาพ

93

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ประจาํ เดือน ซึ่งผูสูงอายุ และผูพิการไดรับการดูแลเปนอยางดี มีโรงเรียนในพื้นท่ี ไดแก โรงเรียนบานมาบ
ลาํ บิด (สงา อทุ ศิ ) เด็กและเยาวชนไดร ับการศกึ ษาภาคบังคับทุกคน

สภาพทางวัฒนธรรม
ประชาชนสวนใหญจะนับถือศาสนาพุทธ มีวัดในชุมชน 1 แหง คือ วัดมาบลําบิด(ราษฎร
เรืองสขุ ) และจะมีการประกอบพิธีทําบุญในวันสําคัญทางศาสนา บริเวณศูนยกลางหมูบาน ท่ีโรงเรียนมาบ
ลําบิด และทีว่ ัดมาบลาํ บดิ (ราษฎรเ รืองสขุ ) และจะมีการปฏบิ ตั ิกิจทางศาสนาอยา งนอ ยสปั ดาหละ 1 ครัง้
สภาพทางการเมือง
ผูนําทางการปกครอง ผูใหญบาน นายสิงหนาท คงคํา ผูชวยผูใหญบาน 3 คน ไดแก นาย
บุญเลิศ ทองแท นายลําเพย ไชยขัน นายสมยศ เรืองสุข สมาชิก อบต. 2 คน ไดแก นายวิโรจน เร่ืองสุข
และนายจรุญ สวัสดิมงคล ปญหาความขัดแยงในชุมชนไมมี การจัดการแกไขปญหา เปนหนาท่ีของผูนํา
ชุมชน ใชว ิธีไกลเ กลย่ี
สภาพปญหาของหมบู า น/แนวทางแกไ ข จากการจดั เวทปี ระชาคมหมูบา น
- ขาดแคลนนาํ้ ดม่ื นา้ํ ใช แนวทางแกไข ขยายโครงการประปาเพ่มิ เตมิ ในหมบู า น
- นํ้าเสีย/กล่ินเหม็น จากโรงงานอุตสาหกรรม แนวทางแกไข ประสานโรงงานจัดทําบอ
บาํ บัด และกําจัดกลน่ิ ไมใ หชมุ ชนไดร บั ผลกระทบ
- ไฟฟาสาธารณะไมเพียงพอ ไฟฟาตกบอย แนวทางแกไข ประสานไฟฟาประมาณการ
คา ใชจายในการตดิ ต้ังไฟฟา สาธารณะใหเพยี งพอ
- ถนนสาธารณะเปนหลุมเปนบอ การคมนาคมไมสะดวก ของบประมาณจาก องคการ
บริหารสว นตาํ บลคลองกว่ิ เพอื่ แกไข
ความคาดหวังของหมูบ าน ความสามคั คีระหวางผูนําทองท่ีและทองถิ่น มีการพัฒนาอาชีพ
และคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี หาตลาดรองรับผลติ ภณั ฑชมุ ชน จดั กิจกรรมรว มกบั ทางวัด สงเสริมอาชีพกลุมแมบาน
ความสามัคครี ะหวางแมบานและชมุ ชน

1.2 สภาพปญ หาการระบาดในพนื้ ท่ี
จากการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ซ่ึงเปนเรื่องใหมที่เกิดข้ึนในโลกนี้ที่ไมมีใครคาดคิด

หรือเตรียมความพรอมวาจะเกิดข้ึนรวดเร็วขนาดนั้น แตเปนเพราะการคมนาคมมีความสะดวกรวดเร็ว จึง
ทําใหมีการแพรร ะบาดของโรคไวรสั โควดิ -19 เกิดขนึ้ อยา งรวดเร็วไปท่วั โลก

ในชวงเร่ิมตนของการเกิดภาวะวิกฤติดังกลาว ในพ้ืนที่บานมาบลําบิด หมูที่ 7 ยังไม
พบผตู ดิ เชื้อและการแพรระบาดของโรคไวรสั โควดิ -19 ในพื้นท่ี และเน่อื งจากในขณะน้ันยังไมมีประกาศ
หรือคําส่ังใดๆ ออกมาอยางเปนทางการจากรัฐบาลในการแกไขปญหาโรคไวรัสโควิด-19 แตดวยความ
หวงใยคนในชุมชน ผูนําชุมชน หมูที่ 7 และหมูที่ 4 ตําบลคลองก่ิว อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี ซ่ึง
ประกอบดว ย นายสิงหนาท คงคํา (ผูใหญเก) ผูใหญบ านหมทู ี่ 7 นายบุญเลิศ ทองแท ผูชวยผูใหญบานฝาย
ปราบปราม และนายกิตติกรณ เหลืองออน (กํานันหน่ึง) กํานันตําบล ไดเล็งเห็นถึงปญหาของการระบาด
ของโรคไวรัสโควิด-19 ที่อาจจะเกิดขึ้นกับคนในชุมชน จึงไดรวมกันเขาหารือกับทีมสุขภาพสถานีอนามัย

94

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

เฉลิมพระเกียรติฯ บานมาบลําบิด โดยตั้งคําถามวา “ในชวงเวลาแบบน้ี พวกเราจะทําอะไร อยางไร และ
จะจัดการกับปญหาท่ีกําลังเกิดในประเทศไทย และกําลังจะเกิดในเขตรับผิดชอบของพวกเรา พวกเราจะ
ปอ งกันและจดั การปญหาอยางไรดี จะทําอยางไรใหประชาชนปลอดภัยจากโรค และพวกเราจะทําอยางไร
ประชาชนถึงจะมีความรูเร่ืองโรคนี้ และมีความตระหนักถึงปญหาท่ีกําลังจะเกิดขึ้นน้ี จะมีการปองกันได
อยา งไรกอนท่ีจะสายเกนิ ไป จะมมี าตรการอยางไรไดบาง” โดยไมทราบวา “การจัดการโรคระบาดของโรค
ไวรัสโควดิ -19 จะเปน บทบาท หนา ทีข่ องใคร” ซงึ่ จากวันน้ันจึงนาํ ไปสกู ารทํางานรวมกันระหวางผูนําชุมชน
และทมี งานสุขภาพสถานอี นามัยเฉลมิ พระเกยี รติฯ บา นมาบลําบิด

1.3 รูปแบบการแกไขปญ หาในพนื้ ท่ีทศ่ี กึ ษา
หลังเกิดการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ซึ่งในขณะน้ันยังพบการระบาดไมมากนัก

สํานักงานสาธารณสุขอําเภอบานบึง โดยสาธารณสุขอําเภอบานบึง ไดมีการจัดประชุมประจําเดือน
กมุ ภาพนั ธ 2563 ไดช้แี จงในทป่ี ระชุมถึง โรคไวรสั โคโรนา วาเปน โรคอบุ ัตใิ หม หรอื โรคติดตออุบัติใหม ซ่ึง
เปนโรคติดตอชนิดใหมๆ ท่ีพบผูปวยเพิ่มข้ึนในระยะ 20 ปที่ผานมา หรือโรคติดตอท่ีมีแนวโนมวาจะพบผู
ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในอนาคตอันใกล รวมไปถึงโรคที่เกิดข้ึนใหมในท่ีใดที่หน่ึง หรือโรคที่เพ่ิงจะแพรระบาด
เขาไปสูอีกที่หน่ึง และยังรวมถึงโรคติดเช้ือท่ีเคยควบคุมไดดวยยาปฏิชีวนะ แตเกิดการดื้อยาในภายหลัง
และไดพูดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.แตละฉบับในการปองกันควบคุมโรคติดตอ เชน พระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ.
2558 เปนตน และจึงไดใหคณะกรรมการควบคุมโรคติดตอระดับหมูบานและ อสม. ไดรับทราบในการ
ประชมุ ประจําเดอื น

เพื่อเปน การปองกนั และแกไ ขปญ หาการแพรระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 เปนการเรงดวน
ผูนําชุมชนทั้งหมด และอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ไดจัดใหมีการประชุมรวมกันข้ึน โดยได
รว มกนั คดิ วเิ คราะห สังเคราะห และหามาตรการตาง ๆ ในการที่จะใหมีการปองกันควบคุมโรคไวรัสโควิด-
19 ในเขตรับผิดชอบสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ บานมาบลําบิด ไดแก พ้ืนที่หมูที่ 4 และหมูที่ 7
ตําบลคลองกิ่ว โดยในระยะแรกใหทั้ง 2 หมูบาน ไดนํามาตรการทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
โรคติดตอ พ.ศ. 2558 ซึ่งเปนกฎหมายท่ีเก่ียวของดานการปองกันโรคติดตอ ท่ีมีคณะกรรมการ/
คณะทํางานในพ้ืนท่ีถูกตองตามกฎหมาย สามารถจะนําไปอางอิงเพ่ือเปนการปองกันตนเองจากการ
ดําเนินงานดังกลาว หากประชาชนหรือผูที่เกี่ยวของไมใหความรวมมือ ซึ่งเปนลักษณะการนํารองในการ
ปองกันโรคในชุมชน แบบไมตองรอประกาศอยางเปนทางการจากรัฐบาล โดยไดจัดทําเปนรูปเลมคูมือ
เพ่ือใหทกุ คนถอื ตดิ ตัวไวป ระกอบการชี้แจง เน่ืองจากคณะกรรมการหมูบานทุกคนยังไมรูเก่ียวกับกฎหมาย
ทีก่ ลาวถงึ นกี้ นั เลย ซ่งึ ตอ มาไดมีการดําเนนิ การตามแนวทางตามประกาศและคําส่ังจากทางจังหวดั

1.4 ความคาดหวงั ของประชาชนและผูปฏิบัตงิ าน
ใหคนในชุมชนบานมาบลําบิด หมูที่ 7 ทุกครัวเรือน มีความรูเรื่องโรคไวรัสโควิด-19 ได

ทราบถงึ ปญ หาท่กี าํ ลังจะเกดิ ขนึ้ และรวมกันปอ งกนั และจดั การปญ หา เพ่ือใหคนในชมุ ชนปลอดภัยจากโรค
ดังกลา ว

95

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

2. เปาหมายหรอื ผลลพั ธทต่ี อ งการ
คนในชุมชนบานมาบลําบิด หมูท่ี 7 ทุกครัวเรือน ผูที่ถูกกักตัว 14 วัน และคนในชุมชนพ้ืนที่

ใกลเคยี ง ปลอดภยั จากการแพรร ะบาดของโรคไวรัสโควดิ -19

3. แนวทางการดาํ เนินงาน
คณะกรรมการควบคุมโรคติดตอระดับหมูบาน ไดดําเนินการตามแนวทาง กระบวนการและการ

บรหิ ารจัดการตามคาํ ส่ังของศนู ยบ รหิ ารสถานการณโควิด-19 ขอสั่งการของกระทรวงมหาดไทย และคําส่ัง
คณะกรรมการโรคตดิ ตอ จงั หวัดชลบุรี ท่ี 1 ถึง ที่ 27 และประกาศจังหวัดชลบุรี 4 เร่ือง

นับตั้งแตวันที่ 1 กุมภาพันธ 2563 มาจนถึงปจจุบัน คณะกรรมการควบคุมโรคติดตอระดับ
หมบู าน หมูท่ี 4 และหมทู ่ี 7 ตําบลคลองกว่ิ อาํ เภอบานบงึ จังหวัดชลบุรี ไดดาํ เนนิ การ ดังนี้

1. จัดการประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานของทั้งสองหมูบานรวมกัน มีการชี้แจง
เร่ืองการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 โดยใหความรูที่มาของโรค อาการ การรักษา และการปองกันโรค
ไวรัสโควิด-19 รวมทัง้ ความรูดาน พ.ร.บ.ควบคุมโรคตดิ ตอ พ.ศ. 2558

2. การประชาสมั พนั ธใหป ระชาชนรับทราบท่ีมาของโรค อาการ การรักษา และการปองกันโรค
ไวรสั โควิด-19 เชน

- การเวนระยะหาง คอื เวนระยะหา งระหวา งบคุ คลอยา งนอ ยประมาณ 1-2 เมตร
- การหม่ันลางมือใหสะอาด คือ ใหลางมือดวยน้ํา หรือสบู หรือแอลกอฮอลเจล 70% ให
บอยอยา งนอยครั้งละ 20 วินาที เมอื่ อยใู นพ้นื ทสี่ าธารณะและกอ นรับประทานอาหาร
- การสวมหนา กากอนามัย คือ สวมหนากากอนามัยทุกคร้ัง เม่ือเขาไปแหลงชุมชนหรือพ้ืนที่
เสี่ยง และสวมหนา กากอนามัยเมอื่ มอี าการไอและจาม เพื่อปองกนั การแพรกระจายของเช้ือโรค
3. กํานนั ตําบลไดเชญิ ผนู ําชมุ ชนในตําบลมารว มประชมุ วางแผนในการทํางานเพ่ือใหการปองกัน
และแกไ ขเปน ไปในแนวทางเดียวกนั
4. ออกมาตรการในการเขา มารับการรักษาในสถานีอนามัยและมาตรการในการปองกันโรคเปน
ตวั อยา งเพื่อปองกันบุคลากรทางการแพทย/ทีมสุขภาพ และฝกปรับเปล่ียนพฤติกรรมใหประชาชน/ชุมชน
ไดร วู ิธกี ารปอ งกนั โรคไปในตัว
5. ดําเนินการกักตัว จํานวน 14 วัน กับผูที่เดินทางมาจากพื้นท่ีเสี่ยงและเดินทางมาจาก
ตางจังหวัด จาํ นวน 34 คน รายแรกคอื ผูท่ีมาจากสนามมวย เม่อื วนั ท่ี 15 มีนาคม 2563
6. เจา หนาทีส่ ถานอี นามัย และ อสม. ตรวจวดั ไขผ ถู กู กกั ตวั ทกุ เชาของทุกวนั
7. ประชาสมั พนั ธก ารหา มเดินทางขามจังหวัด ตามประกาศ พ.ร.บ.ฉกุ เฉิน
8. ประชาสัมพันธหามเคลื่อนยายแรงงานตามบริษัทและไซดงานตาง ๆ ตามประกาศ พ.ร.บ.
ฉุกเฉนิ
9. มกี ารประชุมผนู ําชมุ ชนและ อสม. เมือ่ ไดรับขอมูลขา วสารใหม ๆ

96

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

10. การตั้งดา นคดั กรองโรคไวรสั โควดิ -19 จํานวน 1 จุด ตามคําสั่งผูวาราชการจังหวัด จํานวน
18 วัน

11. การลางตลาด พน ยาฆาเชื้อในพ้นื ที่ชมุ ชน
12. จัดระเบียบในงานพิธีตาง ๆ ใหมีการเวนระยะหางทางสังคม หรือ Social distancing คือ
การลดปฏิสัมพันธใกลชิดระหวางตัวเรากับบุคคลอ่ืน หรือลดการแพรระบาดของเชื้อที่ติดตอทางละออง
ฝอยหรือการสัมผัส โดยการยืนหรือนั่งหางกันอยางนอย 2 เมตร หรือการการอยูในสถานที่ที่มีคนอยู
หนาแนน
13. รวมแจกถุงยังชีพแกผูไดรับผลกระทบจากโรคไวรัสโควิด-19 ซึ่งมีผูที่นํามาบริจาคจากทุก
ภาคสวนทงั้ ภาคราชการและเอกชน

4. ผลการดําเนินงาน
จากการดําเนนิ งานในพนื้ ทขี่ องคระกรรมการควบคุมโรคติดตอระดับหมูบาน ในการปองกันและ

แกไขปญหาการระบาดของไวรัสโควิด-19 ไดผลเปนท่ีนาพอใจ และถือวาประสบความสําเร็จ ตาม
เปาหมายและผลลพั ธท ี่ตองการ เชน

- การเตรียมความพรอมของผูนําชุมชน และทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ทํางานรวมกันไดทันตอ
เหตุการณ

- การกักตัวผูที่เดินทางมาจากพ้ืนท่ีเสี่ยง และมาจากตางจังหวัด จํานวน 34 คน ไมพบผูที่มี
อาการปวย

- การดาํ เนินงานดานมาตรการปองกนั /ควบคุมโรค เปนไปตามคําส่ังของจังหวัด และไดรับความ
รว มมอื จากคนในชุมชนและทุกภาคสว น

- การประชาสัมพันธ ใหประชาชนรูจักวิธีปองกันตนเองจากการแพรกระจายของเช้ือโรค เชน
การเวนระยะหาง การหมั่นลางมือ การสวมหนากาก ซ่ึงคนในชุมชนใหความรวมมือและปฏิบัติตามเปน
อยา งดี ซ่งึ การมสี วนรวมของคนในชุมชน ถอื ไดวา เปนจดุ แขง็ ของบานมาบลาํ บิด หมูท่ี 7

- การตงั้ ดา นคัดกรอง 1 จดุ ตามคําสง่ั ผวู าราชการจังหวัด จาํ นวน 18 วนั ไมพบผตู ิดเชือ้
- ไดรับการสนับสนนุ งบประมาณ และอุปกรณ รวมทั้งการชวยเหลือเยียวยา แจกถุงยังชีพใหแก
คนในชมุ ชน ทง้ั จากองคก ารบรหิ ารสว นตําบลคลองกวิ่ ภาคประชาชน และภาคเอกชน

5. ปญหา อปุ สรรคในการดําเนนิ งาน แนวทางแกไ ข
ปญหา อุปสรรค
1. เจาหนาท่ี / ผูนําชุมชน / ประชาชนไมมีความรูเรื่องโรคอุบัติใหม หรือโรคติดตออุบัติใหม

โรคไวรัสโคโรนา (ยงั มองวาโรคนคี้ งคลาย ๆ ไขห วดั ธรรมดาไมอันตราย)
2. เจาของบานเชาบางแหงไมใหความรวมมือ (ไมแจงกรณีมีผูเขาพัก) ซ่ึง อสม. จะไดรับแจง

จากประชาชนท่อี ยใู กลเ คยี ง เน่อื งจากถาแจง แลวผูทีเ่ ขา มาพกั อาศัยตองถกู กกั ตวั 14 วันจะทาํ ใหเสยี ลูกคา

97

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

3. ผูท ถ่ี ูกกักตวั ไมเ ขาใจ และมกี ารตอ ตาน
4. ประชาชนมองวา ผถู ูกกักตัว คือ ผปู วย
5. แกนนําสุขภาพบางคนไมใ สใ จ ไมเ ปนตัวอยางทีด่ แี กประชาชน
6. มีขอเปรียบเทยี บมาตรการกกั ตัว กบั พ้นื ทอี่ น่ื ในระยะแรก
แนวทางแกไ ข
1. ใหมีการประชาสัมพันธอยางตอเนื่อง เพื่อสรางการรับรู ความเขาใจใหกับคนในชุมชนไดรับ
ทราบเกี่ยวกับสถานการณการแพรระบาดของโรค การเฝาระวัง การปองกัน การควบคุมโรค การที่ตองมี
ประกาศ พ.ร.บ.ฉุกเฉิน การท่ีตองกักตัวผูที่เดินทางมาจากพื้นท่ีเส่ียง 14 วัน คําส่ัง/ประกาศ รวมไปถึง
นโยบายของรัฐบาลทเ่ี กยี่ วขอ ง โดยเฉพาะดานสาธารณสุข ฯลฯ
2. ชุมชนตอ งรวมมอื กนั ทํางานเชิงรุกแบบเรงดวนทุกภาคสวน ทั้งผูนําชุมชน สาธารณสุข อสม.
ภาคประชาชน และภาคเอกชน
3. คําสงั่ และขอสั่งการจากสว นกลาง ตองชดั เจนและทาํ ใหเหมอื นกนั ทัง้ ประเทศ
4. ใหม อี าสาสมัครปองกันภยั ฝา ยพลเรอื น (อปพร.) เขารว มปฏบิ ตั ิการในพ้นื ทด่ี วย
5. เนื่องจากปจจุบันในประเทศที่มีการระบาด รอบสอง WHO ไดตรวจพบวา เช้ือโรคไวรัส
COVID-19 มีการพัฒนาสายพันธุ สามารถทําใหผูไดรับเช้ือหรือผูปวยไมแสดงอาการ แตถาแสดงอาการก็
พบวา จะมอี าการหนกั ดงั นนั้ ควรเตรยี มหามาตรการทเี่ หมาะสม เพอื่ รบั มอื กบั โรคอุบัติใหมท่ีอาจจะเกิดข้ึน
ซ้ําเปน รอบที่ 2 ในอนาคต โดยอาจจะตองใชมาตรการที่เขมขึ้น ปดประเทศ ใหคนอยูในบาน โรงงานปด
การคมนาคมทุกชนิดปด เพ่ือเฝาระวังและปองกันการติดเช้ือ ถาพบผูปวยใหรีบรักษา/ คนในบานผูปวย
ตรวจหาเชือ้ ทกุ คน
6. ประชาชาชนตอ งรว มมอื กันรักษาวินยั ในตัวเองและตอสงั คม (การด ตองไมต ก)

6. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ปญหาที่พบในชุมชน คือ กําลังซ้ือของคนในชุมชนลดลง เนื่องมาจากการวางงาน การ

เคลื่อนยายแรงงาน และปญหาหนี้สิน ซ่ึงสงผลกระทบตอ รานคาปลีก บริหารหองเชา และความเปนอยู
ของคนในชมุ ชน ซ่ึงปญ หาทตี่ ามมาคอื ปญหาอาชญากรรม เชน การลกั ขโมย

7. ปจจยั แหงความสาํ เรจ็ ในการปฏิบัติงาน
จากจุดแข็งของชุมชน บานมาบลําบิด หมูที่ 7 ท่ีผูนําชุมชน คณะกรรมการหมูบาน มีความเข็ม

แข็ง และมีการวางแผนในการปฏิบัติงานรวมกับสวนราชการไดเปนอยางดี รวมถึงคนในชุมชนมีความ
สามคั คีและใหค วามรวมมอื ในกิจกรรมดา นตางๆ

ดังนัน้ ปจ จยั แหง ความสําเร็จ กค็ ือ การมสี วนรวมของคนในชมุ ชนนั่นเอง

98


Click to View FlipBook Version