The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประมวลผลการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการป้องกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบลหมู่บ้าน ระดับกลุ่มอำเภอ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี (ปี 2563)

โครงการอบรมหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 74 ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: ด้านทั่วไป

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

8. บทเรยี นทีไ่ ดร ับจากการดําเนนิ งาน

8.1 หลายเดือนของการรับมือเพื่อเอาชนะกับการระบาดของโรคโควิด-19 เราไดเห็นอะไรใน
เชิงระบบที่เกดิ ขนึ้ ในสังคม

1) ไดเห็นระบบสาธารณสุขไทยมีความพรอมทั้งการต้ังรับและทํางานเชิงรุกเพื่อการ
ควบคุมการระบาดของโรคติดตอไดดีเยี่ยม เรามีระบบบริการทางการแพทยท่ีเขมแข็งขณะที่ในทุกพื้นท่ีมี
อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจําหมบู าน (อสม.) มากวา หน่งึ ลานคน มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.
สต.) เกือบ ๑๐,๐๐๐ แหง และมีโรงพยาบาลชุมชนกวา ๘๐๐ แหง เปนเครือขายท่ัวประเทศที่พรอมเปน
ฐานรองรบั ผูปวยสง ตอ จากโรงพยาบาลใหญ

2) ไดเห็นประชาชนมีความสามารถในการเรียนรู และปรับเปล่ียนบทบาทจากเริ่มแรกต่ืน
กลัวกลายเปนการต่ืนรู และมีสวนรวมในการกําหนดมาตรการตางๆ ของตัวเองและของชุมชนท่ีจะเสริม
มาตรการของรัฐในรบั มอื กับการระบาดของไวรัสไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

3) ไดเห็นการกระจายอํานาจใหผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ หรือองคกรปกครองสวน
ทองถน่ิ เปนผูบริหารมาตรการตางๆ ของรัฐบาลกลาง นําไปสูการปฏิบัติท่ีรวดเร็วและสอดคลองกับสภาพ
ของพ้ืนท่ี รวมทง้ั สามารถระดมความรว มมอื จากประชาชนไดมากข้นึ

8.2 จากวิกฤตของประเทศในครัง้ น้ี สังคมไดเ รยี นรูอ ะไรบา ง
1) ไดเรียนรูวาความเสี่ยงมีอยูทุกเวลา ทุกสถานที่ และเกิดข้ึนไดกับทุกคน ทั้งคนรวย คน

จน มีโอกาสไดรบั ความเสี่ยงท่เี กดิ ขน้ึ หลากหลาย รุนแรงและไมปลอดภัยตอชีวิต ดังนั้น การมีสวนรวมของ
ทุกภาคสวนในการสรางระบบของประเทศที่ดี มีประสิทธิภาพ จึงเปนหัวใจสําคัญของการปองกันความ
เส่ยี งทจ่ี ะเกิดขึ้น

2) ไดเรียนรูวาปญหาเรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองทุกอยางเกี่ยวของกัน
ท้ังหมด เม่ือเกิดปญหาโรคระบาดขึ้นจึงกระทบทุกระบบของประเทศ การลงทุนภาครัฐจะเนนเฉพาะดาน
เศรษฐกิจอยา งเดยี วไมไ ด ตอ งลงทุนดา นสขุ ภาพ และสังคมควบคไู ปดวย

3) ไดเรียนรูวาการแกปญหารวมศูนยอยูที่สวนกลาง ไมสามารถแกไขปญหาท้ังหมดได
ตองมีการกระจายอํานาจใหผูวาราชการจังหวัด ใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน และใหประชาชนในพื้นท่ี
จงึ จะสามารถรบั มอื กบั ปญหาและวกิ ฤตไดอยางทันทวงที และมีประสทิ ธิภาพ

4) จะไดเห็นแนวโนมสังคมไทยหลังวิกฤตโควิด-19 วานาจะมีการพัฒนาหรือปฏิรูประบบ
ตางๆ ของประเทศไปในทิศทางท่ีดีข้ึน เพราะประชาชนไทยตางไดรับผลกระทบและเรียนรูระหวางการ
รับมอื กบั วกิ ฤตโิ ควิด-19 รวมกนั อยางถว นหนา

99

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ที่ 74

9. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกัน และ
ยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควดิ -19

9.1 หนวยงานในระดับพ้ืนที่ตองสื่อสารเผยแพรขอมูล การเกิด การแพรระบาดระลอกท่ี 2 ใน
ประเทศอ่ืนใหประชาชนไดรับทราบอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีการกระตุนเตือนประชาชน ใหรับรูถึงความ
รุนแรง เตรยี มพรอมทจ่ี ะรับมอื และตอ งปฏิบตั ิตนใหถกู ตองอยา งไร

9.2 ควรมีการจัดทําแผนปฏิบัติการ ท้ังในระยะส้ันและระยะยาว เพื่อเตรียมความพรอมรับมือ
กบั การแพรร ะบาด ระลอกที่ 2 ในทุกมติ ทิ ง้ั ดา นการเงนิ บุคลากร เครอ่ื งมอื อุปกรณ สถานท่ี

9.3 ควรสรางกลไกการขับเคล่ือน โดยอาจกําหนดใหมีคณะกรรมการบริหารจัดการโควิด-19
และคณะทํางานแตละดานใหชัดเจน โดยเนนการมีสวนรวมของชุมชน เชน ดานการสรางความรูความ
เขาใจ ดานการคดั กรอง ดานการกักตัว ดานสงเสริม การดําเนินชีวิตตามวิถีพฤฒิกรรมใหม New Normal
และดานการสง เสรมิ เศรษฐกจิ ชมุ ชน ฯลฯ

*****************************

100

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ภาคผนวก

ประมวลภาพการดําเนินงานในชมุ ชน

ประมวลภาพการทํางานของกลุม กป.10

101

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุน ท่ี 74

รายงานการเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning)
การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการปอ งกันและระงับยบั ยงั้ การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ในระดบั หมบู านในอําเภอศรีราชา
บานหัวโกรก หมูท่ี 8 ตําบลสุรศักดิ์ อาํ เภอศรรี าชา จังหวัดชลบรุ ี

จดั ทาํ โดย

กลมุ ปฏบิ ตั ิการท่ี 5 (กป.5)

1. นางสาวจริ าภรณ เบิกบานดี นายอําเภอวานรนิวาส จังหวดั สกลนคร
2. นายเสนยี  สม เขียวหวาน หวั หนาสาํ นักงานจังหวดั อบุ ลราชธานี
3. นายวรายุทธ คอ มบญุ นายอาํ เภอหา งฉัตร จงั หวดั ลําปาง
4. นายสนั ติ รงั ษริ จุ ิ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานความมัน่ คงภายใน
กรมการปกครอง
5. นายรณรงค เทพรกั ษ นายอําเภอบานหมอ จงั หวัดสระบรุ ี
6. นายศิริศักดิ์ สกุลโสรจั จะ หวั หนาสํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภยั
จังหวัดสรุ นิ ทร
7. นายสรุ พล เจริญภมู ิ ทอ งถ่ินจงั หวัดชลบุรี
8. นายสรสาสน สีเพง็ ผูตรวจราชการกรม กรมการพัฒนาชมุ ชน
9. นายอดสิ รณ วรรธนะศกั ดิ์ นายแพทยส าธารณสขุ จงั หวดั นครสวรรค
10. นายบรรณรักษ เสริมทอง ผูอ าํ นวยการสาํ นกั บรหิ ารพ้ืนที่อนุรักษท ่ี 4
(สรุ าษฎรธาน)ี

รายงานนี้เปน สว นหนึ่งของการศึกษาอบรมหลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี ๗๔
สถาบนั ดาํ รงราชานภุ าพ กระทรวงมหาดไทย
พุทธศกั ราช 2563

102

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

คํานาํ

“ การเรยี นรูเชงิ ปฏิบัติการ (Action Learning) ” โดยกําหนดพื้นที่การเรียนรูจากการปฏิบัติจริง
ในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน 74 โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อนําบทเรียนและประสบการณจากการมีสวนรวมในพื้นท่ีจริง นําไปใชในการบริหารราชการ และสราง
มูลคาเพ่ิมสําหรับประสบการณการบริหารราชการใหผูเขาอบรมสามารถนําไปประยุกตใชในการทํางานได
อยางกวา งขวางมากข้นึ

ท้ังนี้ กลุมปฏิบัติการที่ 5 (กป.5) ไดดําเนินการศึกษาเรียนรูในประเด็นหัวขอ “ การประเมิน
ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการปองกันและระงับยับย้ัง การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVTD-19)
ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี” โดยไดรับมอบหมายใหศึกษาการบริหารจัดการปองกันระงับยั้งย้ังการระบาดของ
โรคไวรัสโควิดในระดับหมูบาน ในอําเภอศรีราชา ซ่ึงจากผลการศึกษาทําใหทราบถึงผลการปฏิบัติงานของ
องคกร และบุคลากรในระดับหมูบาน ของหมูบานหัวโกรก หมูที่ 8 ตําบลสุรศักด์ิ อําเภอศรีราชา จังหวัด
ชลบุรี เชน กํานันผูใหญบาน คณะกรรมการหมูบาน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาํ หมบู าน (อสม.) ปลัดอําเภอผรู บั ผดิ ชอบประจําตําบล ฯลฯ ในการปองกนั และยับย้ังการแพรระบาด
ของโรคไวรัสโควดิ ซึง่ จะเปนประโยชนใ นการถอดบทเรยี น และการนําไปประยุกตใ ชพื้นที่อืน่ ตอ ไป

คณะผูจดั ทาํ
นักศึกษาหลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง รุนที่ 74

กลุมปฏบิ ตั ิการที่ 5 (กป.5)

103

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

กรอบการเรียนรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning)
การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการปอ งกันและระงบั ยับยั้งการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับหมบู า นในอาํ เภอศรีราชา
บา นหัวโกรก หมทู ี่ 8 ตําบลสรุ ศกั ด์ิ อําเภอศรรี าชา จังหวัดชลบรุ ี

1. ความเปน มาของการศกึ ษา

1.1 ประวัติความเปนมาและสถานการณท างเศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม และการเมืองของพ้ืนท่ที ี่
ทาํ การศกึ ษา

ขอ มูลท่ัวไปของอําเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบุรี

อาํ เภอศรีราชา ต้งั อยชู ายฝง ทะเลตะวันออกของอาวไทย พื้นท่ีสวนใหญมีภูเขาลอมรอบและเปนที่
ลาด ท่ีวาการอําเภอศรีราชาต้ังอยูริมถนนสุขุมวิท ตําบลศรีราชา อยูหางจากจังหวัดชลบุรี ระยะทาง 24
กโิ ลเมตร และหางจากกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 120 กโิ ลเมตร

อาณาเขตติดตอ
ทิศเหนอื ติดตอ กับ อาํ เภอเมืองชลบรุ ีและอําเภอบา นบงึ จงั หวดั ชลบรุ ี
ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั อําเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี และอําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง
ทศิ ตะวันออก ติดตอ กับ อําเภอบานบึง และอาํ เภอหนองใหญ จังหวัดชลบุรี
ทศิ ตะวนั ตก ติดตอ กับ ชายฝง ทะเลอา วไทย และเขตอําเภอเกาะสีชงั จงั หวดั ชลบุรี

สภาพพื้นท่ี
อําเภอศรีราชา มีเน้ือท่ีประมาณ 643.558 ตารางกิโลเมตร (402,223.75 ไร) พื้นที่สวนใหญ

เปนที่ลาดเนินเขาขนาดเล็กกระจายทั่วไป พ้ืนท่ีเหมาะแกการทําการเกษตร และอุตสาหกรรม มีท่ีราบลุม
ทํานาไดบางสวน (ตําบลทุงสุขลา) ทิศตะวันตกติดชายฝงทะเล และไมมีแมนํ้าลําคลองขนาดใหญไหลผาน
จะมีเฉพาะทางน้ําไหลจากภูเขาลงสูทะเล การคมนาคมติดตอระหวางอําเภอและจังหวัดรวมท้ังการ
คมนาคมในตําบลและหมูบา นทั้งทางรถยนต รถไฟ เรอื ท้ังยงั เปน ศนู ยกลางการนําเขาสงออกทางทะเลของ
ประเทศ

การปกครอง

อําเภอศรีราชา จงั หวดั ชลบรุ ี มี 8 ตําบล 60 หมูบา น คือ

1. ตาํ บลศรีราชา มี 12 ชุมชน

2. ตําบลทุงสขุ ลา (แหลมฉบงั ) มี 18 ชมุ ชน

3. ตาํ บลบอ วนิ มี 8 หมบู า น

4. ตําบลบงึ มี 9 หมบู า น

5. ตาํ บลเขาคนั ทรง มี 10 หมูบา น

104

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

6. ตาํ บลสรุ ศักดิ์ มี 10 หมบู า น
7. ตําบลหนองขาม มี 11 หมูบ า น
8. ตําบลบางพระ มี 12 หมบู าน

องคกรสว นทอ งถน่ิ จํานวน 8 แหง ดงั นี้
เทศบาล 4 แหง คือ
1. เทศบาลนครแหลมฉบัง
2. เทศบาลนครเจาพระยาสุรศักด์ิ
3. เทศบาลเมอื งศรรี าชา
4. เทศบาลตาํ บลบางพระ
องคการบรหิ ารสว นตาํ บล ๔ แหง คือ
1. องคก ารบรหิ ารสว นตําบลบางพระ
2. องคก ารบริหารสวนตําบลบอ วนิ
3. องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บลเขาคันทรง
4. องคก ารบริหารสว นตาํ บลหนองขาม

ประชากรและอาชีพ

ปจจุบันอําเภอศรีราชาเปนเขตกึ่งเกษตรกรรมและกึ่งอุตสาหกรรมซึ่งมีแนวโนมอุตสาหกรรมจะ
กา วนําการเกษตร เน่อื งจากการพฒั นาตามโครงการพฒั นาชายฝง ทะเลตะวันออก มีทาเรือน้ําลึกแหลมฉบัง
และมีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรท้ังส้ิน 311,458 คน แยกเปน ชาย 151,983 คน หญิง
159,475 คน (ทม่ี า : สํานกั ทะเบียนอําเภอศรรี าชา ขอมูล ณ เมษายน 2563)

อําเภอศรีราชา มีประชากรจํานวนรวมทั้งส้ินมากกวา 3 แสนคน ปจจุบันเปนเขตกึ่งอุตสาหกรรม
และก่ึงเกษตรกรรม ซ่ึงมีแนวโนมอุตสาหกรรมจะกาวนําการเกษตร เน่ืองจากการพัฒนาตามโครงการพัฒนา
ชายฝงทะเลตะวันออก มีการพัฒนาเปนพื้นท่ีโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก มีทาเรือนํ้าลึก
แหลมฉบัง และมสี วนอตุ สาหกรรม นิคมอุสาหกรรมเปนหลัก

ขอมูลทั่วไปของบานหัวโกรก หมูท่ี 8 ตาํ บลสุรศกั ด์ิ
สภาพพื้นที่เปนที่เนินสูง เปนปาดงดิบ มีพ้ืนท่ีประมาณ 2 ตารางกิโลเมตร โดยรอบเปนพ้ืนที่ตํ่า

เวลาฝนตกจะมีนํ้าทวมขังเปนแหลงน้ํา มีสัตวปาชุกชุม เชน วัวกระทิง หมูปา เสือ ลิง เมน อีเกง เปนตน
ยอ นหลงั ไปประมาณ 90 ป มีผอู าศัยอยูไมถึง 10 หลงั คาเรือน โดยสวนใหญเปน ชาวพุทธ ท่ียายถิ่นฐานมา
จากพ้ืนท่ีใกลเคียง เชน หนองมน อางศิลา ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ เปนตน ไดมาจับจองหักลางถางพง
บุกเบิกเปนท่ีทํากิน และตอมาหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 ประมาณป 2490 ไดมีชาวมุสลิม ยายถิ่นฐานมา
จาก พระนครศรีอยุธยา (มีครอบครัวนายหาญ ขันตี มาอยูเปนครอบครัวแรก) ชาวบานสวนใหญมีอาชีพ
ทาํ ไร ทาํ สวน และรับจางทั่วไป ปลูกพืชผลไม เชน สับปะรด เงาะ ขนุน สมโอ เปนตน การสัญจรไปมาโดย

105

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

การเดินเทา ใชเกวียนบรรทุกพืช ผัก ผลไม ไปขายท่ีตลาดศรีราชา ชาวบานจะขุดบอน้ําบาดาลไวใช เวลา
หนาแลงนํ้าบอจะแหง ชาวบานจะมาใชนํ้าที่บอหิน (บริเวณตลาดนัดตนโพธิ์ ชายเขา) ซ่ึงเปนบอน้ํา
ธรรมชาติท่ีไหลมาจากใตเขา มีน้ําตลอดทั้งปจนถึงปจจุบัน ในสมัยน้ันมีไขมาลาเรียระบาดมาก จะมีหนวย
มาลาเรยี ตง้ั อยขู างทีท่ าํ การ อ.ศรีราชา จะมีเจาหนาท่ีมาตรวจในหมูบานเปนประจําเสนทางคมนาคม จะมี
ทางเกวยี นเปนหลักและทางรถไฟ 1 สาย คอื ว่ิงจาก อ.ศรีราชา ไปหุบบอนและมาบปู (ถนนศรีราชา-หนอง
ยายบูในปจจุบัน) เปนรถไฟหัวลาก เคร่ืองจักรไอนํ้า ใชบรรทุกซุงไปสงที่โรงเล่ือย บริษัทศรีมหาราชา
(บริเวณหางโรบินสันในปจจุบัน) ตอมาประมาณป พ.ศ. 2514 ไดมีการยกเลิกทางรถไฟเปล่ียนเปนถนน
ลกู รงั ใชร ถยนตเ ปนพาหนะ “หมบู า นเนินสวัสด์ิ” คือชอื่ ที่ชาวบา นเรยี ก

ตอมาเมอื่ มีประชากรมาอาศัยอยูเ พิ่มมากขึน้ ทางอาํ เภอไดมีการแบง เขตพนื้ ท่ีเปนหมูบ านเนนิ
สวัสดิ์อยูใ นเขตหมู 2 ต.สุรศักด์ิ อ.ศรีราชา ตอ มาเมอ่ื ประมาณ ป 2529 ทางอําเภอไดแบงเขตหมู 2 ฝง
ทศิ ใต เปนหมู 8 เนื่องจากมีประชากรเพ่ิมขึน้

ขอมูลพ้ืนฐาน ของ ม.8 ต.สุรศักดิ์ “หมูบานหัวโกรก” (ช่ือจดทะเบียนพื้นที่ ของอําเภอ) มีพื้นท่ี
ประมาณ 3.2 ตารางกิโลเมตร มีประชากรอาศัยอยูประมาณ 3,750 หลังคาเรือน มีประชากรประมาณ
17,500 คน ประชากรแฝงประมาณ 7,000 คน ประชากรนับถือศาสนาพุทธ 70% ศาสนาอิสลาม
20% ศาสนาคริสต 10 % มีวัด 1 แหง มีหมูบานจัดสรร จํานวน 31 หมูบาน อาคารพาณิชย ประมาณ
100 กวา คหู า มพี ้นื ทีก่ ารเกษตร ประมาณ 60 ไร ปลกู พืชสวน , พชื ไร, ปลูกยางพารา, ปลูกมันสําปะหลัง
มีตลาดสด 1 แหง รานคาสะดวกซื้อ 4 ราน รานคา-รานชํา 100 กวารานคา บริษัท-โรงงาน 12 บริษัท
ปม น้ํามัน 1 แหง พนื้ ที่ ม.8 ติดทางรถไฟสายแปดร้วิ -พทั ยา และใกลสถานีรถไฟศรรี าชา

1.2 สภาพปญหาของการระบาดในพ้นื ท่ที ่ศี ึกษา
- ไมพบปญหาการระบาดของโรคโควิด-19 เน่ืองจากดําเนินการปองกันตามนโยบายรัฐบาลอยาง

เครงครัด และการปฏิบัติงานรวมกันของภาคสวนราชการทุกภาคสวน โดยประชาชนในหมูบานใหความรวมมือ
ในการปฏิบตั ติ ามนโยบายของทางราชการอยา งดี

1.3 รปู แบบการแกป ญ หาในพนื้ ทีท่ ่ศี ึกษา
- การประชุมวิเคราะหปญหาเม่ือหมูบานไดรับขาวสารเร่ืองการแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา

2019 (COVID-19) จากการประชุมช้ีแจงขาวสารขอมูลอําเภอศรีราชา และจากการติดตามขอมูลขาวสาร
ตาง ๆ ทางผูใหญบานเรียกประชุมคณะกรรมการหมูบาน อสม. เพื่อวางแผนแกไขและดําเนินการตาม
นโยบายท่ีไดรับมอบหมายในการปองกันและแกไขปญหาโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) โดยอาศัย
การประชุมคณะกรรมการหมูบานและการประชุมเฉพาะกจิ เก่ยี วกับโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19 )

- หาแนวทางแกไข ปองกัน (มาตรการปองกันโรคระบาดโควิด-19) เนื่องดวยสภาพสังคม ของหมู
ที่ 8 ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ในปจจุบันมีสภาพเปนสังคมเมือง มีหมูบานจัดสรรจํานวนมากและมี
ประชากรแฝงจาํ นวนมาก จาํ เปน ตอ งมีการวางแผนการปองกันและแกไ ขปญหา โดยตองมีการหาวิธีการที่มี
ความเหมาะสมกบั สภาพสงั คมเพอ่ื ใหการแกไขปญ หาไดถูกตองและครอบคลมุ ในพื้นท่ี

106

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ที่ 74

- มอบหมายการปฏิบัติงานโดย แบงหนาที่ให ผูใหญบาน, ผูชวยผูใหญบาน, อสม. รวมกับ
เจา หนา ที่ รพ.สต. บานนาพรา ว, เทศบาลนครเจา พระยาสรุ ศกั ด์ิ และ ชรบ. ดงั นี้

1. ผูใหญบาน, ผูชวยผูใหญบาน, คณะกรรมการหมูบาน, อสม., กรรมการชุมชน และ
ชรบ. คัดกรองคนบุคคลเขา-ออกหมูบาน โดยรวมกับทีมงานเครือขายหมูบาน (ประธานหมูบาน เจาของ
กิจการ หางรานตาง ๆ และประชาชน) เปนผูตรวจตรา เฝาระวงั ใหข อมูล ขา วสาร ช้ีเบาะแส

2. ผูใหญบาน, ผูชวยผูใหญบาน และ ชรบ. ออกตรวจตราตามสถานท่ีท่ีมีประชาชนรวม
ตัวกัน เชน ราน สะดวกซื้อ ตลาดนัด รานขายสินคาและบริการตาง ๆ ฯลฯ ใหเขาปฏิบัติตามมาตรการ
อยางเครง ครัด พรอมทงั้ ใหค วามรู สรา งความเขา ใจ ขอความรว มมอื

3. ผูใหญบาน, ผูชวยผูใหญบาน และ อสม. ทําหนาท่ีเคาะประตูบาน เพื่อแจกจาย
หนา กากอนามยั เจลแอลกอฮอลลางมอื

4. หนวยงาน รพ.สต.บานนาพราว อําเภอ ตําบล รายงานเร่ืองการกักตัว ตรวจวัดไข
นาํ สงโรงพยาบาล

5. ชวงเวลาเคอรฟว ทีมงานผูใหญ ผูชวย ชรบ. ออกตรวจตราในพ้ืนท่ีไมใหมีคนทําผิด
พรก. ฉกุ เฉิน

6. การชวยเหลือเยียวยาผูมีผลกระทบ เชน การแจกถุงยังชีพ แจกอาหารแจกจาย
หนา กากอนามยั เจลแอลกอฮอลล า งมือ

7. การจัดระเบียบ การแจกของโดยประสาน อําเภอ รพ.สต. เพื่อขอความอนุเคราะห
เจาหนาทีม่ าดแู ล คัด กรอง จดั ระเบยี บ

โดยปฏิบัติงานในชวงเวลากลางคืน เนื่องจากตองมีการปรับเปล่ียนเวลา ใหเขากับคนในพ้ืนที่ มี
การประชาสัมพนั ธใหกับประชาชนในพ้ืนที่ หมูที่ 8 ต.สุรศักด์ิ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี คอยสอดสองดูแล พ้ืนที่
เมื่อบุคคลเดินทางเขาหมูบาน ใหรายงานใหผูใหญบานทราบทุกราย เพ่ือจัดทําประวัติและบันทึกขอมูลลง
ระบบขอมูลผูเดินทางเขาหมูบาน (Thai QM) มีการสํารวจขอมูลผูไดรับผลกระทบจากโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19 )

- ติดตามประเมินผล มีการตรวจเช็คตามสถานประกอบการ ชุมชนหมูบาน วา มีการปฏิบัติตาม
มาตรการการปองกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) และมีการปฏิบัติตัวตามชีวิตวิถีใหม
(New Normal )

107

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

1.4 ความคาดหวงั ของประชาชนและผูปฏบิ ตั ิงาน
1.4.1 ความคาดหวังของประชาชน
- ประชาชนในพ้ืนท่ีมีความคาดหวังใหพื้นที่ในหมู 8 ต.สุรศักดิ์ เปนพื้นที่ปลอดโรค ไมมี

ประชาชนคนใดในหมบู า นตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ประชาชนในพืน้ ทคี่ าดหวงั ใหห นว ยงานภาครฐั ดาํ เนนิ การตามมาตรการปองกันและเฝา

ระวังอยา งจรงิ จงั
- ประชาชนในพื้นที่คาดหวังวาหนวยงานภาครัฐ ดูแลประชาชนท่ีไดรับผลกระทบ

จากมาตรการดังกลาว เชน การแจกแมส เจลลางมือ และ คัดกรองผูเดินทางเขาออกในหมูบานอยาง
ตอเน่อื ง

1.4.2 ความคาดหวงั ของผปู ฏบิ ตั งิ าน
- ผูปฏิบัติงานความคาดหวังใหพ้ืนที่ในหมู 8 ต.สุรศักดิ์ เปนพื้นที่ปลอดโรค ไมมี

ประชาชนคนใดในหมบู า นตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ผูปฏิบัติงานมีความคาดหวังใหประชาชนปฏิบัติตามมาตรการที่ภาครัฐกําหนด และ

ใหความรวมมือกับเจาหนาที่ท่ีลงไปปฏิบัติหนาท่ีเพื่อเปนการปองกันมิใหเกิดการแพรระบาดของ
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

- ผูปฏบิ ัติงานคาดหวังวาไดรับการสนบั สนนุ อุปกรณ เคร่ืองมอื และขอมูลที่จาํ เปนสําหรับ
ลงไปปฏบิ ัตหิ นาทีใ่ นการปอ งกันและเฝา ระวัง

108

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

2. เปาหมายหรอื ผลลพั ธท ีต่ อ งการ
2.1 ราษฎรในพน้ื ทีป่ ลอดโรค
- ประชาชนในพื้นท่ี หมูท่ี 8 ต.สุรศักดิ์ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ไมมีผูติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เมื่อ

เทียบกบั จํานวนประชากรในเขตพน้ื ท่ีอาํ เภอศรีราชา ถือวาประสบความสําเร็จ ประชาชนในหมูบานปฏิบัติ
ตามมาตรการปอ งกนั ทที่ างราชการแนะนาํ เปนอยา งดี

2.2 ผทู ีก่ ลับมาจากพื้นที่ ที่โรคระบาดทกุ คนตองกกั ตัว 14 วัน
- ผูท่ีกลับมาจากพ้ืนที่ท่ีโรคระบาดทุกคนตองกักตัว 14 วัน โดยผูใหญบานจะรับแจงขอมูลผูเดิน

ทางเขา หมบู าน และมอบหมายใหเ จาหนา ที่ อสม. ชวยในการตรวจสอบใหผูท่ีเดินทางกลับมากักตัวบริเวณ
ในที่พกั อาศัยของตนเอง เพอ่ื เปน การปองกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19

3. แนวทางการดําเนินงาน

3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารจัดการตามคําสงั่ ของศูนยบ รหิ ารสถานการณ
โควดิ -19

- แนวทางยดึ ตามคาํ ส่ังของศนู ยบ รหิ ารสถานการณโ ควิด-19
- แนวทางยดึ ตามคาํ ส่ังศูนยบริหารสถานการณแ พรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019
กระทรวงมหาดไทย
- แนวทางยดึ ตามคําส่งั คณะกรรมการโรคติดตอจังหวดั ชลบรุ ี ฉบับท่ี 1 - 27
- การดําเนินงานสถานการณโควิด การแกไขปญหาการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ต.สรุ ศักด์ิ ใชค าํ ส่งั ศูนยฯ เปน แนวทางในการดําเนินงาน ดังนี้

คาํ สั่ง ศบค.มท.

ขอ สง่ั การของ ศบค.
มท.

คาํ ส่งั คณะกรรมการโรคติดตอ จังหวดั
ชลบุรี

ศูนยป ฏิบัตกิ ารควบคุมโรคอําเภอศรีราชา

ผูใหญบ า นหมู 8 ต.สุรศักดิ์

109

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ผูใหญบานหมู 8 ต.สรุ ศักด์ิ

คณะกรรมการ (กม.) รพ.สต. ชรบ. ผูป ระกอบการ คณะกรรมการ
ชมุ ชน ชุมชน

1. การใหความชว ยเหลือคนเรร อนไมมีทอี่ ยูอ าศยั และคนตกงานทม่ี าจากจงั หวดั อ่ืน โดยใหจัดหา
อาหารใหเพียงพอตอการดํารงชีพ พรอมทั้งดําเนินการตามมาตรการการคัดกรองโรคโควิด-řš และหาก
พบวาเปนบุคคลตองสงสัยวาเปนผูปวยเขาเกณฑเฝาระวังใหดําเนินการตามแนวทางของกระทรวง
สาธารณสขุ

2. การหาแนวทางการชวยเหลือคนตกงานกลับภูมิลําเนา รวมทั้งการสํารวจขอมูลและสํารวจ
ปญหา ความตอ งการของคนเรรอน ซ่งึ กระทรวงมหาดไทยจะไดแจงแนวทางการสาํ รวจขอมูล

3.2 การประยุกตใ หเหมาะสมกับบรหิ ารกับบรบิ ทและความตองการของประชาชนในแตละพืน้ ที่
เน่ืองจากสภาพพ้ืนท่ีในเขตหมูที่ 8 ต.สุรศักดิ์ มีหมูบานจัดสรร ประกอบกับมีประชากรแฝงอาศัย

อยูในพ้ืนที่จํานวนมาก ในการควบคุมและปองกันเช้ือไวรัส จึงตองทําการประสานทุกภาคสวนรวมมือ
ดาํ เนนิ การ เพอ่ื ใหส ําเรจ็ ตามเปาหมาย ดงั น้ี

การปรับเวลาในการปฏิบัติงานเพ่ิมข้ึน จากเฉพาะชวงเวลากลางวัน เพิ่มเปนเวลากลางคืน
เน่ืองจากประชาชนสวนใหตองประกอบอาชีพในชวงเวลากลางวัน เมื่อถึงเวลากลางคืนก็จะใหกลุม อสม.
ชรบ. เจาหนาท่ีฯ เขาตรวจแนะนําและขอความรวมมือคณะกรรมการหมูบานจัดสรร ผูนําชุมชนชวยกัน
ตรวจหรอื สงั เกตการณบ คุ คลท่เี ขามาในพน้ื ท่ี เพอื่ เปน การปองกันและยบั ย้ัง

จัดรถประชาสัมพันธการดูแลตัวเอง และมาตรการตางๆในการปองกันโรคติดตอจากโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพือ่ ใหประชาชนในพน้ื ทีร่ ับทราบขอ มลู ขาวสารและการปองกนั ตนเอง

4. ผลการดาํ เนนิ งาน (ตัง้ แตตนเดอื นมนี าคมจนถงึ เวลาที่ทาํ การศกึ ษา)
- ผลการดําเนินงานเปนท่ีนาพอใจ การบริหารจัดการท่ีอยูในระดับท่ีดีมาก “ไมพบผูติดเช้ือ

(COVID-19)”

110

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ภาพประกอบ แนวทางการดําเนินงาน
คัดกรองคนบุคคลเขา-ออก หมูบานโดยอาศัย กม. อสม, กรรมการชุมชน, ชรบ, ทีมงานเครือขาย

หมูบาน(ประธานหมูบาน เจาของกิจการ หางราน ตาง ๆ และประชาชน) เปนผูตรวจตรา เฝาระวังให
ขอ มลู ขาวสาร ชเ้ี บาะแส

การออกตรวจตรา ตามสถานท่ีท่ีมีประชาชมรวมตัวกัน เชน ราน สะดวกซื้อ ตลาดนัด รานขาย
สินคาและบริการตางๆ ฯลฯ ใหเขาปฏิบัติตามมาตรการอยางเครงครัด พรอมทั้งใหความรู สรางความ
เขา ใจ ขอความรว มมอื

ทีมงาน อสม. เดินเคาะประตูตามบาน แจกหนากากอนามัย แจกเจลลางมือ รวมทั้งสืบหาขอมูล
คนที่แอบเขาพ้นื ทีโ่ ดยไมแจง

ประสานหนวยงาน รพ.สต.บา นนาพรา ว อาํ เภอ ตาํ บล เพื่อรายงานเรือ่ งการกักตวั ตรวจวัดไข
นาํ สง โรงพยาบาล

111

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ชวงเวลาเคอรฟ ว ทีมงานผูใหญ ผูชว ย ชรบ. ออกตรวจตราในพ้ืนท่ีไมใหมีคนทําผดิ พรก.ฉุกเฉนิ

การจัดระเบียบ การแจกของโดยประสาน อําเภอ รพสต. เพ่ือขอความอนุเคราะหเจาหนาที่มา
ดูแล คัดกรอง จัดระเบียบการชวยเหลือเยียวยาผูมีผลกระทบ เชน การแจกถุงยังชีพ แจกอาหาร แจกเจล
แจกแมส ตูปนสุข

5. ปญ หา อุปสรรคในการดําเนินงาน แนวทางแกไข
1. ชว งแรกของการดาํ เนินงาน เกิดตื่นตระหนก วิตกกังวล กลัว มีมากจนเกินไป ทําใหขาดสมาธิ

มีผลตอการดําเนินงานประสานงาน ขอความรวมมือ เกิดความลาชา และความชัดเจนของหนวยงานท่ี
รบั ผิดชอบ

2. ประชาชนบางสวนไมคอยใหความรวมมือ เน่ืองจากไมตระหนักถึงความอันตรายของ
โรคติดตอฯ และไมม คี วามรูห รือไดรับขอ มูลของโรคติดตอ

3. พื้นทีเ่ ปน ชุมชนเมอื ง มเี ขตติดตอ โรงงานอุตสาหกรรม มีการเคล่ือนยายของประชาชนจํานวน
มาก ประชาชนสว นใหญไมใชคนในพื้นที่ ยากตอการตดิ ตาม

4. ประชาชนบางสวนทาํ งานในเขตโรงงานอุตสาหกรรม ไมอ ยูพ น้ื ที่ในชวงเวลาดําเนินการ ทําให
เปน อปุ สรรคตอการดาํ เนินงาน

6. ประโยชนท ี่ประชาชนไดรับ
- ไดรบั ความรแู ละประสบการณในการปอ งกันตนเองเก่ยี วกับโรคติดตอโควิด-řš
- ความเสียสละ การแบง ปน ชวยเหลอื ซง่ึ กันและกนั และมีความอดทนในการปฏิบัติตามมาตรการ

ปองกันโควิด-19 รว มกนั
- เกิดความรกั ความหวงใยตอครอบครัว และเพ่อื นบานเพิ่มมากขน้ึ
- การประหยัดอดออมใชจ ายอยางประหยดั เพ่ิมข้ึน

112

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมในพ้นื ทีท่ ีท่ าํ การศึกษา
1. มีการปดตัวของภาคธุรกิจจํานวนมากตามมาตรการปองกันโรคติดตอ การคาขาย การ

ประกอบธุรกิจลดลง การทํางานลดลง ทําใหประชาชนมีรายไดลดลง ไมเพียงพอตอการดํารงชีพใน
ครวั เรอื น

2. สังคมในครอบครวั มีภาวะเครยี ด เนอื่ งจากมีรายไดลดลงไมเ พียงพอตอการใชจายในครัวเรอื น
3. มาตรการใหอยบู านหยุดเช้อื ทาํ ใหไ มสามารถไปประกอบอาชีพรับจางทว่ั ไปได

8. ทศั นคตขิ องภาคสวนตา งๆ ทั้งภาครัฐ ภาคทองถน่ิ ภาคประชาชน และผูไดร บั ผลกระทบ
ภาครัฐ มีทัศนคติที่ดีตอการชวยเหลือประชาชนเกิดการบูรณาการรวมกันของสวนราชการ

ในการปองกนั โรคตดิ ตอฯ
ภาคทองถิน่ มีทัศนคติที่ดีกับประชาชนในการชวยเหลือดูแล เยียวยา ประชาชนในเขตพ้ืนที่

ของตนเองอยา งใกลช ิด
ภาคประชาชน มีทัศนคติท่ีดีกับหนวยงานราชการที่ใหความชวยเหลือในการปองกัน

โรคตดิ ตอ ฯ
และมีทัศนคติไมดีเล็กนอย ตอมาตรการปองกันโรคโควิด-řš เพราะมีผลกระทบตอการดําเนินชีวิต
เนื่องจากไมสามรถประกอบอาชีพ หารายไดด ูแลครอบครัวไดอยา งเพยี งพอ

ผูไดรับผลกระทบ ซ่ึงสวนใหญเปนลูกจางและพนักงานท่ีถูกเลิกจางฯ มีทัศนคติที่ไมคอยดี
เนือ่ งจากไมม รี ายไดดแู ลครอบครัว และภาระหน้ีสินตา งๆ ทาํ ใหตองเดินทางกลบั ภูมลิ ําเนาเพอ่ื ลดคาใชจาย

9. ปจ จยั แหง ความสาํ เร็จในการปฏบิ ตั ิงาน
1. ผูป ฏบิ ตั ิงานปฏิบตั ติ ามมาตรการในการควบคุมโรคติดตอฯ
2. ความเสยี สละ ความทุม เท ของคณะการดําเนนิ งาน
3. ความรวมมอื ของประชาชนและเครือขา ยทุกภาคสวน
4. ไดรับการสนบั สนุนจากสวนราชการในระดับอําเภอ ทอ งถนิ่ ระดบั ตาํ บล ตางๆในพน้ื ท่ี
5. ผูนําชุมชนที่มีความเขมแข็ง ไดแก ผูใหญบาน ผูนํา อสม. ปลัดอําเภอผูรับผิดชอบประจํา

ตําบล ผอู าํ นวยการ รพ.สต. ฯลฯ

10. บทเรยี นทีไ่ ดร บั จากการดาํ เนินงาน
1. อาจกลาวไดวา การรวมมือกันระหวางหนวยงานราชการ กํานัน ผูใหญบาน อสม.ฯลฯ และ

ประชาชนทุกภาคสวน เปนการสรางประชาคมท่ีมีความเขมแข็งรวมกัน และเปนทิศทางที่จะนําไปสู
ความสําเร็จในการปองกันการแพรระบาดของโควิด 19 ไดการกระตุนเตือนใหเห็นวา หากมีเหตุการณที่
ประชาชนไดรับผลกระทบเปนจํานวนมาก จะมีความเช่ือมโยงและตองพึ่งพาซ่ึงกันและกัน อยางตอเนื่อง
ในการดําเนินการปองกันและควบคุมโรคและแพรระบาด โดยหาวิธีการปองกัน ชวยเหลือซึ่งกันและกัน

113

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

และเมื่อการดาํ เนินการมคี วามจรงิ จัง ตอ เน่อื ง สรางการรับรูเปนกระแสโดยท่ัวไป จะเกิดเปนมาตรการทาง
สงั คมทก่ี ดดันใหท กุ ภาคสว น ทุกชมุ ชน ทุกคน ปฏบิ ตั ิตามในทสี่ ุด

2. ในหวงสถานการณการแพรระบาดของโควิด 19 ทําใหทุกสวนเห็นความสําคัญและถือเปน
วาระสาํ คญั รวมกนั ประชาชนใหความรวมมือในการปฏิบัติ และมีการบังคับใชกฎหมายอยางจริงจังในการ
จัดระเบียบสังคมในเรื่องตางๆ ซึ่งภาครัฐอาจใชโอกาสน้ี จัดระเบียบหรือบังคับใชกฎหมายที่จะเปน
ประโยชนต อสวนรวมใหเกิดผลมากขึ้น เชน การจัดระเบียบตลาดนัดเพ่ือใหถูกสุขอนามัยมากขึ้น ไมแออัด
คบั คง่ั และไมรุกล้ําทีส่ าธารณประโยชน เปนตน

11. ขอ เสนอแนะตอ การปรบั ปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกัน และ
ยับย้งั การระบาดของโรคโควดิ -řš
1. ควรมีการฝก อบรมใหความรกู บั ผูปฏบิ ัติงาน วางแผนอยา งจริงจัง และเขมขน
2. สนับสนุนความพรอ มของวสั ดุ อุปกรณ ใหเพียงพอตอประชาชนในพนื้ ที่
3. สรา งขวญั และกาํ ลังใจของผปู ฏบิ ตั ิการ สนับสนนุ สวสั ดิการ ผลตอบแทน ใหกับผูปฏิบัติงาน
4. ลดข้นั ตอนการทาํ งานเพอื่ ความสะดวกรวดเรว็ เพอ่ื ทนั ตอ สถานการณในชว งภาวะฉุกเฉนิ
5. ดานบุคลากรและการสรางเครือขายการทํางาน การทํางานเชิงพ้ืนที่ เชน การคัดกรองคน

แปลกหนาท่ีเขามาในพ้ืนที่ หรือการปองกันการติดตอโรคโควิด-19 เชิงรุก ซึ่งปจจุบันยังอาศัยอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) เปนหลัก ซ่ึงเม่ือเทียบกับจํานวนประชากรในพ้ืนท่ีแลว อสม.มีจํานวน
นอยมาก 1 คน ตองดูแลมากกวา 30 หลังคาเรือน และการเพิ่มจํานวน อสม. เปนไปไดยาก เพราะตอง
คาํ นงึ ถึงอัตรากําลังและงบประมาณคาตอบแทน ดังน้ัน อาจตองอาศัยเจาหนาที่อ่ืนรวมชวย เชน จิตอาสา
ฯลฯ โดยอาจจดั ใหม โี ครงการอบรมและจัดตั้งจิตอาสาที่ทําหนาที่ปองกัน สอดสอง ติดตาม เกี่ยวกับโรคโค
วดิ 19 ในลักษณะ “ตาสับปะรด” ทําหนาท่ผี ูชวยเหลอื อสม.

6. ดานงบประมาณและอุปกรณเครื่องมือทางการแพทย อสม.ตองการเครื่องมือในการทํางาน
มากขึ้น เพราะที่มีอยูไมเพียงพอ เชน เคร่ืองวัดความดันโลหิต เทอรโมมิเตอร อาจใชการขอสนับสนุนจาก
ภาคเอกชนในพนื้ ที่ เพราะเปน พ้นื ท่ที ่มี สี ถานประกอบการคอนขางมาก และปกติก็ใหบริจาคและชวยเหลือ
ในดานตางๆอยูแลว อาจแจงความตองการที่จําเพาะ นาจะสามารถใหการสนับสนุนใหตรงเปาหมายของ
การทาํ งานจรงิ

7. เสนอใหใช application ไทยชนะ ใหเปนวิถีปกติ เพราะจะชวยในการลดภาระในการ
สอบสวนโรคไดมหาศาล กรณีมผี ูป วยเกดิ ข้นึ ทีมสอบสวนจะงา ยในการตดิ ตามกลมุ เส่ียงไดจํากัดข้ึน ไมตอง
สอบสวนบุคคลท่ีไมเสี่ยงโดยไมจําเปน และสามารถโทรถามจากเบอรโทรศัพทท่ีใชในการลงทะเบียนเขา
ออกสถานท่ไี ดโ ดยตรง

8. ดานโครงสรางและการสื่อสาร การทํางานในเชิงพื้นท่ี มีศูนยอํานวยการ covid 19 ระดับ
อําเภอ เปนศูนยกลางการทํางานระดับอําเภอ และมีศูนยฯระดับตําบลและหมูบาน เปนหนวยปฏิบัติใน
พนื้ ที่

114

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

ในระดบั หมบู าน ผูใหญบา นตองมกี ารจดั โครงสรา งการทํางาน และมอบหมายหนาท่ีรับผิดชอบใหชัดเจน มี
การประชุมวางแผน และติดตามงานอยางตอเน่ือง นอกจากน้ี ใหมีการทําผังโครงสรางการทํางาน
ผูรับผิดชอบ และขอมูลการติดตอส่ือสาร โดยใช application line เปนชองทางในการส่ือสาร แจงขอสั่ง
การ ถาม-ตอบ ประสานการปฏิบัติ ระหวา งเจาหนา ท่ีศนู ยอาํ เภอฯ และศูนยฯ หมบู าน

9. สําหรับการสรางการรบั รูกบั ประชาชนทั่วไป ควรประยุกตใชส่ือ social network เชน line,
facebook ท่ีเปน ทางการ เพือ่ สือ่ สารขอ มูลที่ถกู ตอ ง สื่อสาร 2 ทาง และประชาสัมพันธขอความรวมมือใน
มาตรการตางๆ เปนตน

*****************************

115

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

รายงานการเรียนรเู ชิงปฏิบัติการ (Action Learning)
การประเมนิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การปองกันและระงับยับย้ังการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับหมบู านในอําเภอสตั หบี
บา นขลอด หมูท ่ี 2 ตําบลพลตู าหลวง อาํ เภอสัตหบี จงั หวัดชลบรุ ี

จัดทาํ โดย

กลมุ ปฏบิ ัตกิ ารที่ 6 (กป.6)

1. น.ส. จรยิ าพร จิตตใ จมัน่ ผูอ าํ นวยการสํานักงานผงั ประเทศและภาค
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
2. นายกติ ติศกั ด์ิ ธีระวัฒนา หัวหนา สาํ นกั งานจังหวดั นครราชสีมา
3. นายโชคชัย รักเก้ือ นายอําเภอบางมูลนาก จงั หวดั พิจติ ร
4. นายภิรมย ชมุ นุม นายอาํ เภอวงั จันทร จังหวัดระยอง
5. วาท่ี ร.ต.รกั ชัย เลศิ สบุ นิ นายอําเภอนากลาง จงั หวัดหนองบวั ลําภู
6. นายธนูศักด์ิ เสมอภาค นายอําเภอลืออาํ นาจ จงั หวดั อาํ นาจเจริญ
7. นายสมบรู ณ สินสกลวฒั น เจาพนักงานท่ดี นิ จังหวัดกําแพงเพชร
8. นายวรงค แสงเมอื ง พัฒนาการ จงั หวดั สระบรุ ี
9. นายธวชั ชยั ใบเจรญิ ผเู ชย่ี วชาญติดตามประเมินผลปฏบิ ตั ิหนาท่ี
ผอู าํ นวยการสํานักงานทรัพยากรนาํ้ แหง ชาติภาค 2
10. นายเทอดชาติ ชัยพงษ สํานกั งานทรพั ยากรน้ําแหงชาติ
ผอู ํานวยการสํานักงานเทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี น
การสอนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

รายงานนเ้ี ปน สวนหนึ่งของการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนท่ี ๗๔
สถาบันดาํ รงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศกั ราช 2563

116

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

กรอบการเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (Action Learning)

การประเมินประสิทธภิ าพการบริหารจดั การปอ งกนั และระงับยับยั้งการระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ในระดับหมบู านในอําเภอสัตหีบ
บา นขลอด หมูท่ี 2 ตําบลพลตู าหลวง อําเภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี

๑. ความเปน มา
๑.๑ ประวตั คิ วามเปนมาและสถานการณท างเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและการเมืองของพ้ืนที่

หมูท่ี 2 ตาํ บลพลตู าหลวง อําเภอสตั หบี จงั หวดั ชลบรุ ี
ความเปน มาอําเภอสัตหีบ
เปน อาํ เภอหนงึ่ ของจงั หวดั ชลบรุ ี อยูหา งจากตวั จังหวดั ชลบุรีประมาณ 85 กิโลเมตร ความสําคญั

ของสัตหีบคอื เปนเมอื งแหงฐานทัพเรือและเปน ฐานทพั เรือที่ใหญท ี่สุดในประเทศไทย
ความหมายอําเภอสตั หบี
หลายทา นใหค วามคดิ เหน็ วา "สตั ต" แปลวา เจ็ด "หีบ" หมายถึง หีบ ฉะนั้นคําวา "สัตหีบ" ก็นาจะ

แปลวา หีบเจ็ดใบ ซ่ึงสอดคลองตามตํานานประวัติ (เจาแมแหลมเทียน) วาไดนําพระราชาลงในหีบเจ็ดใบ
เพอ่ื หลบหนียกั ษอ กี หลกั ฐานหนงึ่ มาจากกองประวัตศิ าสตร (ทหารเรือ) ระบุวา เม่ือ พ.ศ. 2464 รัชกาลที่ 6
ไดเสด็จตรวจเยี่ยมหัวเมืองชายทะเล เพ่ือจะสรางแนวปองกันชายฝงทะเลดานนอกเพ่ิมข้ึนเพราะปอม
พระจุลจอมเกลาท่ีปากนํ้าสมุทรปราการ น้ัน ใกลเมืองหลวงมากเกินไป จึงทรงดําริหัวเมืองชายทะเลฝง
ตะวนั ออกเปน ทตี่ ้งั กองทพั เรือ เพอ่ื ตรวจตรารักษาฝง และเขตนานน้ําใหญ จงึ พระราชทานนามวา “สัตตหีบ”
เนื่องจากพระองคทรงเห็นเกาะ 7 เกาะ เปนท่ีกําบังลมใหแกหมูเรือไดดี คําวา "สัตหีบ" หมายถึง ท่ีกําบัง
เจ็ดแหง (หีบ = ที่บัง) อันหมายถึงเกาะตาง ๆ กลาวคือ เกาะพระ เกาะยอ เกาะหมู เกาะเตาหมอ เกาะเณร
เกาะสนั ฉลาม และเกาะเลา

เศรษฐกิจ และสังคม
ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพรับราชการและประมงปจจุบันมีแรงงานภาคอุตสาหกรรมที่

ทํางานในนิคมอุตสาหกรรมรอบ ๆ มาพักอาศยั อยเู ปนจํานวนมาก ขณะที่อาชีพเสริมไดแกก ารเกษตร

การปกครอง

อําเภอสัตหีบ แบงเขตการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ เปน

๕ ตาํ บล ๔๑ หมบู าน ดงั น้ี

๑. ตําบลบางเสร จํานวน ๑๑ หมูบาน

๒. ตําบลสัตหบี จํานวน ๙ หมูบาน

๓. ตําบลนาจอมเทียน จํานวน ๙ หมบู าน

๔. ตําบลพลูตาหลวง จาํ นวน ๘ หมบู า น

๕. ตําบลแสมสาร จาํ นวน ๔ หมบู า น

117

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

องคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ จํานวน 8 แหง ประกอบดวย
- เทศบาลเมอื ง จํานวน 1 แหง ไดแ ก

1) เทศบาลเมืองสตั หบี
- เทศบาลตําบล จาํ นวน 5 แหง ไดแก

1) เทศบาลตาํ บลเขตรอดุ มศกั ด์ิ
2) เทศบาลตําบลหนองบางเสร
3) เทศบาลตําบลเกล็ดแกว
4) เทศบาลตาํ บลเขาชจี รรย
5) เทศบาลตําบลนาจอมเทียน
- องคก ารบริหารสวนตําบล จาํ นวน 2 แหง ไดแก
1) องคการบรหิ ารสว นตาํ บลพลูตาหลวง
2) องคการบรหิ ารสว นตําบลแสมสาร

1.2 สภาพปญหาของการแพรร ะบาด
ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เปน กลุมของไวรัสที่ทําใหเกิดโรคในสัตวเล้ียงลูกดวยนม และนกในมนุษย

นั้น ไวรัสโคโรนาทําใหเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดนิ หายใจที่มกั จะไมรุนแรง เชน โรคไขหวัดแมวารูปแบบที่พบ
ไดยาก เชน โรคซารส, โรคเมอรส และ COVID-19 อาจทําใหเสียชีวิตได อาการจะแตกตางกันไปในแตละ
สายพันธุ เชน ในไก ไวรัสทําใหเกิดโรคระบบทางเดินหายใจสวนบนในขณะท่ีวัว และหมูทําใหเกิดอาการ
ทอ งเสยี ไมม ีวคั ซนี หรอื ยาตานไวรสั เพื่อปองกันหรือรกั ษาการตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนาในมนุษย

ช่ือ "coronavirus" มาจากคําในภาษาละติน corona และภาษากรีก κορώνη ท่ีแปลวามงกุฎ หรือ
รัศมี ในที่นี้หมายถึงลักษณะของตัวไวรัสที่มองเห็นจากกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนท่ีมีผิวย่ืนเปนแฉกๆ
เหมือนกับรศั มขี องดวงอาทติ ย

การแพรระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562 – 2563 ดําเนินอยูในประเทศไทย ตั้งแตวันท่ี
13 มกราคม 2563 โดยเปนประเทศที่มีผูปวยยืนยันรายแรกนอกประเทศจีน การคัดกรองผูเดินทางเขา
ประเทศไทยพบผูปวยประปรายตลอดเดือนมกราคม ซึ่งเปนผูท่ีเดินทางมาจาก หรือเปนผูพํานักอยูในประเทศ
จนี แทบท้งั สนิ้ การแพรเชอื้ ทองถ่นิ ท่มี ีรายงานรายแรกมีการยืนยัน เม่ือวันท่ี 31 มกราคม จํานวนผูปวยยัง
มีนอยตลอดเดือนกุมภาพันธ โดยมีผูปวยยืนยัน 40 ราย เม่ือสิ้นเดือน แตจํานวนผูปวยเพ่ิมข้ึนมากใน
กลางเดอื นมีนาคม ซึ่งมีการระบุสาเหตุจากกลมุ การแพรเชอ้ื หลายกลุม ซึ่งกลุมใหญสุดเกิดท่ีการชกมวยไทย ณ
สนามมวยเวทลี มุ พนิ ี เม่อื วนั ท่ี 6 มีนาคมผูปว ยยืนยันแลว เพม่ิ เกนิ 100 คนตอวัน ในอกี 1 สปั ดาหต อมา

การตอบสนองของรัฐบาลตอการระบาด เร่ิมจากการคัดกรองและการติดตามการสัมผัส มีการคัด
กรองโควิดตามทา อากาศยานนานาชาติ ตลอดจนท่ีโรงพยาบาลสําหรับผูปวยท่ีมีประวัติเดินทางหรือสัมผัส
มีการสอบสวนโรคกรณีที่เกิดกลุมการระบาด เนนการเฝาระวังตนเอง การรักษาความสะอาดโดยเฉพาะการ
ลางมือ และการเล่ียงฝูงชน (หรือใสหนากากอนามัยแทน)แมบุคคลท่ีเดินทางมาจากประเทศเสี่ยงสูงจะ
ไดรบั คาํ แนะนาํ ใหกกั ตนเอง แตยังไมมีคําสั่งจํากัดการเดินทางจนวันท่ี 5 มีนาคม และวันท่ี 19 มีนาคม มี

118

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ประกาศเพ่ิมเติม ใหตองมีเอกสารการแพทยรับรองการเดินทางระหวางประเทศ และคนตางดาวตองมี
ประกันสุขภาพ ปลายเดือนมีนาคม สถานท่ีสาธารณะและธุรกิจหางรานไดรับคําสั่งใหปดในกรุงเทพมหานคร
และอีกหลายจงั หวัด นายกรัฐมนตรีประยุทธ จันทรโ อชา ประกาศสถานการณฉุกเฉินมีผลวันท่ี 26 มีนาคม
และมีประกาศหามออกนอกเคหะสถานยามวิกาล ตั้งแตคืนวันที่ 3 เมษายน 2563 พระราชกําหนด
สถานการณฉ กุ เฉนิ ยงั ส่ังงดจําหนา ยสรุ าชวั่ คราว และใหประชาชนชะลอการเดนิ ทางขา มจังหวัดดว ย

จากการที่มีคําสั่งใหเตรียมความพรอมกําหนดมาตรการ และดูแลประชาชนกรณีการปฏิบัติการ
ยับยั้ง โควิด-19 และนายกรัฐมนตรี ไดมีการออก พรก. ฉุกเฉิน มีคําสั่งประกาศหามออกจากเคหะสถาน
ในชวงเวลา 22.00 น. - 04.00 น. เพ่อื ลดการแพรร ะบาดของโรคโควิด-19

ในชวงที่ผานมานั้น ไดรับความรวมมือจากประชาชนเปนอยางดี รานคาตาง ๆ มีการปรับตัวดวยดี
แตก็ยังมีประชาชนบางสวน โดยเฉพาะกลุมวัยรุนที่ยังไมดําเนินการตาม และเพื่อดูแลประชาชนระดับ
หมบู า น/ ชุมชนใหช ดั เจน เพื่อใหเกดิ ความปลอดภัยตอ สวัสดิภาพ และชีวิตของประชาชนทกุ คน

การแพรระบาดของไวรสั โคโรนา 2019
ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 เปนตระกูลของไวรัสท่ีกอใหอาการปวยตั้งแตโรคไขขหวัดธรรมดา
ไปจนถึงโรคที่มีความรุนแรงมาก เชน
- โรคระบบทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (MERS-CoV)
- โรคระบบทางเดนิ หายใจเฉียบพลันรนุ แรง (SARS-CoV)
ซึ่งเปนสายพันธุใหมท่ีไมเคยพบมากอนในมนุษยกอใหเกิดอาการปวยระบบทางเดินหายใจในคน
และสามารถแพรเชื้อจากคนสูคนไดโดยเชื้อไวรัสน้ีพบครั้งแรกในการระบาดในเมืองอูฮ่ัน มณฑลหูเปย
สาธารณรัฐประชาชนจีน ในชวงปลายป 2019 อาการทั่วไป ผูที่ติดเช้ือจะแสดงอากรดังน้ี อาการระบบ
ทางเดนิ หายใจ มีไข ไอ หายใจถ่ี หายใจลําบาก ในกรณีท่ีอาการรุนแรงมาก อาจทําใหเกิดภาวะแทรกซอน
เชน ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิต ไวรัสชนิดน้ี มีความเปนไปไดที่มีสัตวเปนแหลงรังโรค
สวนใหญแพรกระจายผานการสัมผัสกับผูติดเช้ือ ผานทางละอองเสมหะจากการไอ จาม น้ํามูก น้ําลาย
ปจจุบันยังไมมีหลักฐานสนับสนุนการแพรกระจายเช้ือผานทางการพื้นผิวสัมผัสท่ีมีไวรัสแลว มาสัมผัสปาก
จมูก และตา สามารถแพรเช้ือผานทาง Fexo-oral route ไดดวยการรักษาแบบประคับประคองเพ่ือ
บรรเทาอาการปวยตาง ๆ โดยปจ จุบันยังไมม ีวคั ซนี ปอ งกนั โรค

หลกั ความปลอดภัยจากไวรัสโคโรนา 2019
ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสใกลชิดผูมีอาการปวย รักษาระยะหางอยางนอย 1 เมตร หลีกเลี่ยงการ
สัมผัสบริเวณตา จมูกและปาก โดยไมไดลางมือ ควรลางมือบอย ๆ ดวยนํ้าและสบู หรือน้ํายาแอลกอฮอล
ลางมือ 70% หากมีไข ไอ หายใจลําบาก ใหไ ปพบแพทยท ันที และแจงประวัติการเดินทาง ผูท่ีปวยควรพัก
อยทู ี่บาน ปดปากและจมูกดวยทิชชูทุกครั้งท่ีไอหรือจาม และทิ้งลงถังขยะ ทําความสะอาดและทําลายเช้ือ
ตามวัสดุส่ิงของ และผิวสัมผัสตางๆ ผูท่ีเดินทางจากตางพ้ืนที่ใหพิจารณา กักกันเฝาอาการ ในสวน State
Quarantine local quarantine หรือ home quarantine เปนเวลา 14 วัน ควรมีการทําความสะอาด
สถานที่ อุปกรณ เครื่องใชท่ีมีผูสัมผัสจํานวนมาก เชน ลูกบิดประตู ราวบันได โตะอาหาร ผาหม ผาปูเตียง

119

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

เครื่องครัว จาน ชาม ชอน สอม แกวนํ้า ดวยนํ้ายาทําความสะอาดหรือเช็ดดวยแอลกอฮอล 70% อยาง
นอยวันละ 1 - 2 คร้งั

การแพรระบาดของไวรสั โคโรนา 2019
วันท่ี 13 มกราคม พ.ศ. 2563 มีการพบผูปวยท่ีไดรับการยืนยันรายแรก นับเปนรายแรกที่พบ
นอกประเทศจีน โดยเปนหญิงชาวจีน อายุ 61 ป ซึ่งมีถ่ินฐานอยูในนครอูฮ่ัน เธอไมเคยเดินทางไปยัง
ตลาดอาหารทะเลหวาหนานมากอน แตเคยไปท่ีตลาดอื่นแทน เธอมีอาการเจ็บคอ มีไข มีอาการหนาว
สะทาน และปวดศีรษะ ในวันที่ 5 มกราคม และไดเดินทางกับครอบครัว และกลุมทัวรจากนครอูฮ่ันมายังทา
อากาศยานสุวรรณภูมิ ในวันที่ 8 มกราคม โดยเธอถูกตรวจพบดวยกลองตรวจจับความรอน และถูกนําตัว
สงโรงพยาบาล ในวันเดียวกัน 4 วันใหหลัง จากการใช RT-PCR ผลการทดสอบหาไวรัสโคโรนาสายพันธุ
ใหมน ัน้ ผลเปน บวก
“ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม” (2019-nCoV) หรือท่ีเรียกวา “ไวรัสอูฮ่ัน” เน่ืองจาก มีจุดกําเนิดในเมือง
อูฮ่ัน มณฑลหูเปยของจีน ทําใหกลายเปนปจจัยเส่ียงใหมของโลกการแพรระบาดของไวรัสทวีความรุนแรง
มากยิ่งขนึ้ รัฐบาลจีนไดประกาศใชม าตรการ “ปดเมอื ง” ที่ตกอยูในภาวะการแพรระบาด โดยเริ่มจากเมือง
อูฮั่น กอนที่จะประกาศปดเมืองใกลเคียงเพ่ิมเติมอยางนอย 13 เมือง อยางเชน เมืองหวงกัง เออโจว ชิบิ
เฉยี นเจยี ง ซเี จยี ง จงิ เหมิน เซียนเถา เส่ยี วกัน และหวงฉี และในจาํ นวนนม้ี ีประชาชนชาวไทยทีต่ อ งเดินทาง
กลับ ขาวการจะเดินทางกลับมายังประเทศไทยของ ชาวไทยจากเมืองอูฮันเปนที่สนใจของประชานโดยท่ัวไป
วาจะตองมีการกักตัวเฝาดูอาการ ตามมาตรการควบคุมโรคอยางนอย 14 วัน

ขอมูลการตดิ เชือ้ ในพ้นื ท่ี บา นขลอด หมูท ี่ 2 ตําบลพลตู าหลวง อาํ เภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี
- ไมม ผี ตู ดิ เช้ือ

สภาพปญหาของการแพรระบาด
1. ในระยะเริ่มแรกของการแพรร ะบาดลกู บานยังไมไ ดรับขอ มลู ความรโู รคไวรัสโควดิ -19 และยังไม
มกี ารปองกนั เทา ท่ีควร
2. การต่นื ตระหนกตอสถานการณ (เม่ือพบผูต ิดเช้ือ)
3. ขา วลือ (แฟกนิวส)
4. ปญหาแจกส่งิ ของอปุ โภค บริโภค

1.3 รูปแบบการแกป ญหา
- ใหมีการรายงานคนเขา พ้ืนที่ ท่เี ดินทางมาจากพนื้ ทีเ่ สยี่ ง หรือ ตางพน้ื ท่ีเมือ่ เขามาในเขตหมูบา น
- ใหมกี ารดําเนินการท่ีเก่ยี วของตองใหเกดิ ความรวดเรว็ กระชบั ฉบั ไว

1.4 ความคาดหวังของประชาชนแลผปู ฏิบตั งิ าน
- การสรา งการรับรใู หก บั ผปู ฏบิ ัติงาน และประชาชน
- สนบั สนุนใหใ หมีการแจกสิ่งของอปุ โภค บรโิ ภค ฯลฯ

120

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

- สนบั สนนุ ใหทกุ ภาคสวนท่มี ีความพรอมใหค วามชว ยเหลือประชาชนอยางเต็มความสามารถ
- จบั กุมผทู ี่ฝาฝน กฎหมายอยา งจรงิ จัง

2. เปา หมาย หรอื ผลลัพธทต่ี องการ

2.1 ราษฎรในพืน้ ท่ปี ลอดโรค
- ผูใหญบา น ผูน าํ ชุมชนตอ งเปนหลักทาํ งาน และเปนท่ีพงึ่ ใหประชาชน
- ลกู บา นปลอดโรค
- ลูกบานสามารถทํามาหากินไดอยางปกติ หรือถาไดรับผลกระทบก็ตองนอยที่สุดและตองไดรับ

การชวยเหลือเยียวยาอยา งเหมาะสม

2.2 ผูทกี่ ลบั มาจากพ้นื ท่ที ่โี รคระบาดทุกคนตองกกั ตัว 14 วัน
- ในหมูท่ี 2 บานขลอด ต.พลูตาหลวง มีผูท่ีกลับมาจากพ้ืนที่ท่ีโรคระบาดจํานวน 15 คน ทุกคน

กักตัวเอง 14 วัน โดยมีคณะกรรมการหมูบาน และหนวยงานที่เกี่ยวของติดตามสังเกตอาการและอํานวยความ
สะดวกตอเนอ่ื ง

- ในหมทู ่ี 2 บา นขลอด ต.พลูตาหลวง มไี มผูตดิ เช้ือ

3. แนวทางดาํ เนินงาน

3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการ และการบริหารจดั การตามคาํ สั่งของศนู ยบริหารสถานการณ
โควิด-19 และขอ สง่ั การของกระทรวงมหาดไทย

- มีการประชมุ ผปู ฏิบตั ิงานเพือ่ รบั คาํ ส่ัง และปญหา
- มกี ารซกั ซอ มของผูป ฏิบัติงานเพอ่ื ทําความเขา ใจ

- การสรางการรับรูเชิงรุก โดย นายอําเภอสัตหีบ นําหัวหนาสวนราชการ กํานัน ผูใหญบาน ผูนํา

ชุมชน และแกนนาํ ทีย่ งั มแี นวคิดคัดคา น เขา เยี่ยมชม มาตรฐานความปลอดภัยของ ศูนยกักกัน กองทัพเรือ
เพ่อื สรา งความม่นั ใจแกกลุมผูนํา ในพ้ืนท่ี เม่ือกลุมผูนําเขาใจ จะเปนครู ก.นําความรู ขอเท็จจริงตาง ๆ ไป
ถายทอดประชาชนในพนื้ ทต่ี อ ไป

3.2 การประยุกตใ หเหมาะสมกับบริบทและความตองการของประชาชน
นายกรัฐมนตรีไดมีการออก พรก.ฉุกเฉิน มีคําส่ังประกาศหามออกจากเคหะสถานใน

ชวงเวลา 22.00 น. - 04.00 น. เพ่ือลดการแพรระบาดของโรคโควิด -19 ประกอบคําส่ังคณะกรรมการ
โรคติดตอจังหวัดชลบุรี อําเภอสัตหีบ ไดกําหนดจุดคัดกรองประชาชนที่เดินทางขามจังหวัด 1 จุด คือ ดานแยก
เกษมพล และไดก ําหนดใหม ชี ดุ ปฏบิ ัตกิ าร ตําบลอีก 5 ชุดปฏิบตั กิ ารเพือ่ บงั คบั ใหเปนไปตาม พรก. ฉุกเฉิน

การแจงประกาศ พรก.ฉุกเฉินและประกาศคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีดําเนินการ
เผยแพรค าํ ส่ังประกาศใหลูกบานทราบโดยเรว็

121

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

4. ผลการดําเนินงาน (ต้ังแตตนเดือนมนี าคม 2563 ถงึ ปจ จุบัน)

๔.1 ในพื้นที่ หมูที่ 2 บานขลอด ต.พลูตาหลวง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี มีบุคคลท่ีกลับมาจาก พ้ืนท่ีเสี่ยง
(กทม.) และตา งจงั หวัด จํานวน 15 คน การปฏิบตั กิ อ นไดร ับแจง และหลงั ไดร บั แจง

- ผูใหญบาน ประกาศเสียงตามสายเพื่อใหลูกบานเปนหูเปนและรีบแจงเม่ือพบวามีคนที่อยูตาง
พน้ื ทเี่ ขา มาในหมบู าน

- จัดชดุ ปฏบิ ตั ิงานลงพ้ืนท่เี ปนตรวจสอบขอ มูลทนั ที และบนั ทกึ ไว
- มกี ารติดตามผลและเนนยา้ํ วา ใหกกั ตัวเอง และหากตองการความชว ยเหลือสามารถแจงไดท กุ เม่อื
- มกี ารจดั ชุดเคลือ่ นท่เี ร็วใหพ รอ มปฏบิ ัตงิ านไดท กุ เมื่อเม่ือไดร ับการรองขอจากลูกบาน

4.๒ ผลการดาํ เนนิ การ (ต้ังแตต น เดอื นมีนาคมจนถงึ เวลาทีท่ าํ การศกึ ษา)
- คณะกรรมการหมูบ า นและอาสาสมคั รสาธารสุขประจาํ หมูบาน (อสม.) บานขลอด หมูท่ี 2

ต.พลูตาหลวง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ไดปฏิบัติตามมาตรการที่กําหนดในการปองกันและยับย้ังโรคไวรัส (โควิด-19)
โดยไมม ีผูเ สยี ชีวิตและติดเช้อื จากโรคไวรัส (โควดิ -19)

5. ปญหาอุปสรรคในการดาํ เนินงานแนวทาวแกไ ข
๑. มีบุคคลบางกลุมที่ไมยอมปฏิบตั ิตามมาตรการ
๒. ผปู ฏิบัตงิ านไมเ ขา ใจกฎหมายที่เกี่ยวกบั การแกไ ขปญหาตามมาตรการ
๓. การประชาสมั พันธส รา งการรับรูยังไมท วั่ ถึง
๔. เครอ่ื งวัดอณุ ภมู มิ ีจํานวนนอ ยตองรอหมนุ เวียนกนั ใชใ นบา น

แนวทางแกไ ข
๑. สรางความเขาใจในการปฏิบัติการตามมาตรการของรัฐบาลกับประชาชนในพ้ืนที่ใหเกิดความ
ตระหนกั
๒. เจาหนาท่ีของรัฐจะตองลงพ้ืนทําความเขาใจกับผูนําชุมชนและอาสาสมัครสาธารสุขประจําหมูบาน
(อสม.) เปนประจําพรอมถายทอดมาตรการระเบียบกฎหมายประกาศตางๆ ของทางราชการเพื่อใหเกิด
ความเขาใจรว มกัน
๓. เผยแพรประชาสมั พันธม าตรการของทางราชการผานชอ งทาง IT

6. ประโยชนท่ปี ระชาชนไดร บั
๑. ลกู บา นตองปลอดภยั จากโรค
๒. ลูกบา นตองไดรบั การฟน ฟูหลงั สถานการการแพรระบาดลดลง
๓. ลูกบา นตอ งไดรบั การเยียวจากภาครัฐ และเอกชนในพ้ืนท่ี
๔. เกิดความรักความสามัคคีของคนในชมุ ชน

122

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

๕. หมูบานมแี ผนในการปอ งกนั โรคไวรสั โควิด-19
๖. เกิดการประหยัดคาใชจ ายของครวั เรือน
๗. อุบตั ิเหตุลดนอยลง
๘. โจรขโมยลดนอ ยลง
๙. ประชาชนดแู ลสุขภาพของตัวเองมากข้ึน
๑๐. ตลาดสะอาดขึน้ มีระบบปองกนั โรคไวรัสโควิด-19

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คม
๑. เศรษฐกจิ ของชมุ ชนซง่ึ สว นใหญเปน เกษตรกรมรี ายไดลดลง
๒. ผปู ระกอบการปดกิจการ เชน รานอาหาร ทาํ ใหพนักงาน ลกู จา ง ถูกเลิกจา ง
๓. สภาพทางสงั คมประชาชนตอ งดําเนินชวี ิตในวถิ ีใหม
๔. สังคมมีความเอื้อเฟอ เผ่อื แพรมากขนึ้ มคี วามสามัคคี มีการแบงบันผูท่เี ดือดรอนกวา
๕. ไมส ามารถไปทาํ งานตา งประเทศได

8. ทัศนคติของภาคสว นตางๆทั้งภาครัฐ ภาคทอ งถน่ิ ภาคประชาชน และผไู ดรับผลกระทบ
๑. ประชาชนมมี มุ มองทีด่ ีตอภาครัฐทีเ่ ห็นจากการปฏิบัติงานอยางทมุ ที
๒. ผูไดร บั ผลกระทบทล่ี งทะเบยี น TQM หมูท่ี 2 ต.พลูตาหลวง จํานวน 137 คน
๓. ลูกบา นความเช่อื มนั่ วา ภาครฐั สามารถแกไขและฟน ฟูหลังพน วิกฤตการแพรระบาด

9. ปจ จัยแหง ความสาํ เรจ็ ในการปฏบิ ตั ิงาน
๑. การตดั สินใจของผูบริหารสถานการณ
๒. ผูป ฏบิ ตั ิงานเครงครัดในการทาํ หนา ท่ี
๓. ประชาชนใหความรว มมือ
๔. สังคมมกี ารแบงปน
๕. การประชาสัมพนั ธขอมลู ขา วสาร
๖. ความสามัคคขี องคนในชมุ ชน
๗. ความพรอ มเพรยี งของคนในหมูบ านโดยเฉพาะคณะกรรมการหมูบ านและอาสาสมคั รสาธารสขุ ประจําหมูบ าน(อสม.)
๘. ความมนี ํ้าใจเอ้ือเฟอ เผอ่ื แผข องคนในชมุ ชน
๙. การใหกําลงั ใจซึง่ กนั ของคนในชมุ ชน

10. บทเรยี นทีไ่ ดร บั จากการดาํ เนินงาน
๑. การแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้นแบบฉับพลันท่ีตองใชทุกภาคสวนใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในทุก

เหตุการณต อ งมผี นู าํ ทีก่ ลา ตดั สนิ ใจ และมปี ระสบการณ

123

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

๒. ตองมีการคาดการณเหตุการณปญ หาท่ีอาจเกิดข้นึ ไดอยางถูกตอง และมีการบรหิ ารความเสย่ี งไดดี
๓. เมอ่ื เกิดวิกฤตขึ้นคนในชุมชนจะหันหนา มาชว ยเหลือเอื้อเฟอเผ่ือแผกัน
๔. ประชาชนจะรว มมอื และเช่อื ฟงราชการมาข้ึนเปนพิเศษ
11. ขอเสนอแนะตอการปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการดานการปองกัน
และยบั ย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควดิ -19
๑. ควรมีการต้ังงบประมาณไวเพ่ือสนับสนุนการแกปญหาวิกฤตการณท่ีอาจเกิดข้ึนอีก โดยตั้งเปนงบ
กลางไวเพอ่ื แกป ญหา โดยอาจตัง้ งบกลางเพอื่ แกไ ข
๒. ปญหาเฉพาะที่ไวองคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหผูอํานวยการสถานการณสามารถสั่งใชไดอัน
สงผล ใหเกดิ ความรวดเรว็ ในทุกดา น
๓. ควรมกี ารจัดแผน และซกั ซอ มแผนในอนาคตเพอ่ื ปองกันการเกิดโรคภยั ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ฉบั พลัน
๔. อยากใหรัฐบาลลดคาใชจายสาธารณูปโภค ไฟฟา น้ําประปาและคาโทรศพั ท
สรุปในภาพรวมคณะกรรมการหมูบานและอาสาสมัครสาธารสุขประจําหมูบาน (อสม.) หมูท่ี 2
บานขลอด ตําบลพลตู าหลวง อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ผานการประเมินความสําเร็จในเชิงประสิทธิภาพ
ของการบริหารจัดการปองกันโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับหมูบานดวยเกณฑการประเมินจากการสอบถาม
การสัมภาษณเชิงประจักษ (สภาพจริง) ในพื้นท่ี หมูท่ี 2 บานขลอด ตําบลพลูตาหลวง อําเภอสัตหีบ
จังหวัดชลบุรี อยูในเกณฑดีเยี่ยม โดยมีปจจัยความสําเร็จสําคัญ คือ ตัวผูนําและคณะกรรมการหมูบาน
รวมทัง้ อาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมูบ าน (อสม.) มีความสามคั คพี รอมเพรียงกนั

*****************************

124

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ภาคผนวก

ภาพการลงพื้นท่ีปฏิบัติงานของผูใหญบานหมูที่ 2 บานขลอด ต.พลูตาหลวง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี เปน
ภาพการนําขาวสาร อาหารแหง ของใชท่ีจําเปนที่ไดรับจัดสรรจากทางราชการและภาคเอกชน ในพ้ืน
ทีม่ าแจกจา ยใหล ูกบา น

ภาพการลงพ้ืนที่ปฏิบัติงานของผูใหญบานหมูที่ 2 บานขลอด ต.พลูตาหลวง อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี และ
คณะกรรมการหมูบา น รว มฉีดพน น้าํ ยาฆา เช้ือตามสถานทส่ี าธารณะในพ้นื ที่รบั ผิดชอบ และตปู นสุข

ภาพการลงพนื้ ท่ีหมทู ี่ 2 บานขลอด ต.พลตู าหลวง อ.สัตหีบ จ.ชลบรุ ี ของหลักสตู รนักปกครองระดับสูง
(นปส.) รุนที่ 74 กป.6 เพ่อื พบคณะผูบ รหิ ารหมูบาน และศกึ ษาสภาพปญหา และเก็บขอมูล ในวันที่
18 มิถนุ ายน 2563

125

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

การประเมินประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการปอ งกัน
ระงบั ยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19
ขององคการบรหิ ารสวนจงั หวดั ชลบรุ ี

126

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

รายงานการเรียนรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning)
การประเมินประสิทธิภาพการบริหารจดั การปอ งกันและระงบั ยับยัง้ การระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ขององคการบริหารสว นจงั หวัดชลบรุ ี

จัดทําโดย

กลุม ปฏบิ ตั ิการที่ (กป.) 4

1. นางสาวภูมารนิ ทร คงเพยี รธรรม นายอําเภอภูเรือ จังหวัดเลย

2. นายสันทัด แสนทอง หัวหนา สํานกั งานจังหวดั สรุ นิ ทร

3. นายธนกฤต ฉันทะจํารัสศลิ ป นายอาํ เภอราษีไศลจังหวดั ศรีสะเกษ

4. นายจักรพงษ รชั นีกุล นายอําเภอกันตงั จังหวดั ตรัง

5. นายชัย ภูเจรญิ ชยั วรรณ นายอําเภอหนองมว ง จังหวดั ลพบรุ ี

6. นายชาํ นาญ บดุ าสา พัฒนาการจงั หวดั นา น

7. นายสักรนิ ทร อินทรสถติ ย โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

8. นายโสภนั ฑ วงศด วงคําพู ผอู ํานวยการสาํ นกั งานสาํ นกั งานตรวจ
และบงั คบั การสํานักเทศกจิ กทม.

9. นายชัชรพงษ นคราวัฒน นกั วิเคราะหงบประมาณเชย่ี วชาญ

10. นายวิชยั สมรูป ผอู าํ นวยการสํานกั งานทรัพยากรทางทะเล
และชายฝง ที่ ๔

รายงานนเ้ี ปนสวนหนง่ึ ของการศกึ ษาอบรมหลกั สตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ ๗๔
สถาบันดาํ รงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พทุ ธศกั ราช 2563

127

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

คํานาํ

การเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรนักปกครองระดับสูง
(นปส.) รุนท่ี ๗๔ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนําบทเรียนและประสบการณจากการมีสวนรวมในพ้ืนที่จริง
นําไปใชในการบริหารราชการและสรางมูลคาเพิ่ม สรางประสบการณการบริหารราชการใหแกผูเขาอบรม
สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชใ นการบรหิ ารงานไดกวางขวางมากขึ้น โดยกําหนดพื้นที่เรียนรูจากการปฏิบัติจริง
ในพน้ื ที่จังหวดั ชลบุรี

คณะผูจ ัดทํา ไดรบั มอบหมายใหศึกษาในหัวขอ “การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการ
ปองกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ขององคการบริหารสวนจังหวัด
ชลบุรี” โดยไดศึกษาการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) ในวันที่ ๑๙ – ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓
ณ องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และออกประเมินความคาดหวัง
ของประชาชนและผูปฏิบัติงานในพื้นที่ อําเภอเมืองชลบุรี อําเภอศรีราชา อําเภอพานทอง และอําเภอบาง
ละมุง โดยศึกษากระบวนการบริหารจัดการและมาตรการในการปองกัน ระงับยับยั้งการระบาดของ
โรคตดิ ตอไวรสั โคโรนา 2019 (Covid–19) เพื่อประเมินประสิทธิภาพขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี
เนื่องจากขอจํากัดดานระยะเวลาอาจทําใหการศึกษาผูไดรับผลกระทบไมครอบคลุมทุกพ้ืนที่ ทุกดาน อาจ
ทําใหขอสรุปบางประการไมครบถวน คณะผูศึกษาขอนอมรับในคําชี้แนะจากผูรูเพื่อปรับปรุงใหการศึกษา
ในคร้งั นีส้ ามารถใชประโยชนไ ดจริงตอ ไป

คณะผจู ัดทาํ
นกั ศกึ ษาหลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุนที่ ๗๔

กลมุ ปฏิบตั ิการท่ี (กป.) ๔

128

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

กรอบการเรียนรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
การประเมินประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การปอ งกนั และระงับยับย้งั การระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ขององคก ารบริหารสว นจังหวัดชลบรุ ี

1. ความเปน มา
จงั หวดั ชลบุรเี ปนจงั หวัดทีม่ คี วามสําคญั มีศักยภาพสูงในทุกๆดา น เชน เศรษฐกิจ การคา การลงทุน

การทองเที่ยวและบริการ ฯลฯ เปนศูนยกลางคมนาคม ทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ และระบบราง
เมอื่ เกิดการแพรร ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพื้นที่ สงผลกระทบตอเศรษฐกิจ การคา
การลงทุน การทองเท่ียวและบริการ รวมท้ังภาคการเกษตร เกิดปญหาท้ังดานเศรษฐกิจ สังคม ความ
เปน อยูข องประชาชน จะตอ งมีการบริหารจดั การปอ งกนั ระงบั ยับยั้ง เพื่อควบคุมการแพรระบาดของโรคให
อยูในระดับที่ฝายสาธารณสุขควบคุมได มีขีดสามารถในการรักษาได รวมท้ังหาแนวทางบริหารจัดการเพื่อ
เยียวยาผูไดรับผลกระทบ ตลอดจนฟนฟูใหประชาชนสามารถกลับมาใชชีวิตไดเหมือนเดิม ทั้งดาน
เศรษฐกิจ สังคมและความเปนอยู

องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญ มีอํานาจหนาที่ใน
การบริการสาธารณะในเขตจังหวดั ตามพระราชบัญญตั ิองคการบรหิ ารสวนจงั หวัด พ.ศ. 2540 กําหนดให
มีอํานาจหนาท่ีปองกันและบําบัดรักษาโรค ประกาศคณะกรรมการการกระจายอํานาจปองกันและ
บําบดั รกั ษาโรค ประกาศคณะกรรมการการกระจายอาํ นาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เรื่อง กําหนด
อาํ นาจหนาท่ใี นการจดั ระบบบรกิ ารสาธารณะขององคก ารบริหารสวนจังหวดั ลงวนั ที่ 13 สงิ หาคม 2546
ประกาศกําหนดอํานาจหนาท่ี เก่ียวกับการจัดการศึกษา สาธารณสุข การสังคมสงเคราะห การพัฒนา
คุณภาพชวี ิต ใหกับประชาชนในระดบั จงั หวดั

วสิ ยั ทัศนอ งคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดชลบรุ ี
“เปนองคกรหลักในการประสานความรวมมือภาคีทุกภาคสวน สูเมืองนวัตกรรมนาอยู ศูนยกลาง

การทอ งเท่ยี ว กฬี านานาชาติ พฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอมอยางยั่งยืน”

ดานงบประมาณ

งบประมาณ พ.ศ.2562 (ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562)

ประมาณการทตี่ ้งั ไว จาํ นวน 3,767,594,500.00 บาท

รายไดประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562 จาํ นวน 3,828,365,566.97 บาท

งบประมาณ พ.ศ.2563

ประมาณการท่ตี ้ังไว จาํ นวน 4,000,000,000.00 บาท

129

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

นโยบายเนนหนกั ของฝายบริหาร
นโยบายท่ี 1 ดานความสัมพนั ธแ ละการประสานงานทองถิ่น

การพัฒนาและแกไขปญหาในระดับทองถิ่นมีความจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองสงเสริม และสนับสนุน
ใหเกิดความรวมมือซึ่งกันและกัน โดยการสนับสนุนและสงเสริมกิจกรรมการมีสวนรวมเปดโอกาสพัฒนา
ศกั ยภาพ และการรวมดําเนนิ กจิ กรรมอยางกวา งขวางบนเวทีและในบทบาทตาง ๆ

นโยบายท่ี 2 ดานเศรษฐกจิ สรา งสรรค
“สงเสริมการลงทุน สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมและการผลิต ภาคเกษตร ภาคธุรกิจและบริการ

ยกระดับฝมอื แรงงาน สรางรากฐานอาชีพ ลดรายจา ยและกระจายรายไดใ หท่ัวถึงทุกชุมชน”

นโยบายที่ 3 ดา นปญหายาเสพตดิ อาชญากรรม ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยสิน
ใหความสาํ คญั ในการทจี่ ะรว มปองกนั และแกไขปญ หายาเสพตดิ อยางจริงจงั ใหล ดนอยถอยลง

นโยบายท่ี 4 ดา นสงั คม การศกึ ษา และสุขภาพ
ใหความสําคัญกับการสรางใหเกิดความเสมอภาคในสังคม เกิดความรูสึกปลอดภัยในชีวิต และ

ทรัพยสิน มีโอกาสในการเรียนรูที่ตอเนื่อง ประชาชนไดรับการสงเสริมและดูแลสุขภาพ การเขาถึงบริการ
สาธารณะ สงเสริมการดูแลสุขภาพและการใหบริการสาธารณสุข สนับสนุนเครื่องมือ อุปกรณการ
รักษาพยาบาล เครื่องฟอกไต สงเสริมการขยายการใหบริการของโรงพยาบาลภาครัฐท้ังใน ระดับชุมชน
ระดับอาํ เภอ และระดับจงั หวดั

นโยบายท่ี 5 ดานโครงสรา งพืน้ ฐานและสาธารณูปโภค
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภคตางๆ จําเปนอยางตอเนื่องเชนเดียวกัน ทั้งมิติ

ของการแกปญหาและการวางแผนพัฒนาเพื่อรองรบั การเจรญิ เตบิ โตในอนาคต

นโยบายที่ 6 ดา นการคมนาคมและขนสง
มีนโยบายท่ีจะดําเนินการดานการคมนาคมและขนสงใหไดรับการขับเคลื่อนอยางมีแบบแผน

สอดคลอ งกนั กบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศและนโยบายภาครัฐ

นโยบายที่ 7 ดา นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม
สนับสนุนและผลักดันวางแผนการจัดการขยะแบบครบวงจร 5R “รณรงคแยกขยะกอนทิ้ง

สงเสริมกิจกรรมธนาคารขยะ สนับสนุนการสรางรายไดจากของเสียกําจัดกล่ินเหม็นรบกวนปรับมาตรการ
ขนถา ย เพม่ิ รถ เพ่ิมเทยี่ ว ปรบั ปรงุ ระบบคัดแยกและกาํ จดั ขยะใหท ันสมัย สนับสนุนและลดภาระการกําจัด
ขยะใหหนวยงานทอ งถิน่ ระบบกาํ จัดขยะมูลฝอยแบบรวมศนู ย พรอมผลติ เชอื้ เพลงิ และกระแสไฟฟาจากขยะ

นโยบายที่ 8 ดานผงั การเมืองและการจัดการ “ชลบรุ ี ซติ ้ีสเคป”
สนับสนุนการจดั ทําผังจังหวัดและแผนยทุ ธศาสตร เพ่ือสงเสริมใหเกิดการพัฒนาตามศักยภาพของ

พนื้ ทีใ่ หเกิดการเจริญเติบโตไปในทิศทางที่กําหนด อยางสมดุลและยั่งยืน เพ่ือสงเสริมใหเกิดการพัฒนาเชิง
พื้นทอ่ี ยา งยั่งยนื และใหเ กิดการเจริญเตบิ โตอยา งเปนระบบ

130

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนท่ี 74

สนับสนุนการกอสรางประติมากรรมและแหลงทองเที่ยวเชิงสัญลักษณ สรางบรรยากาศและ
กระจายรายไดจากการทอ งเทยี่ วในพืน้ ที่
นโยบายท่ี 9 ดานการทองเที่ยวและกีฬา “สงเสริมการทองเที่ยวใหมีคุณคา เรงรัดพัฒนาสังคมกีฬา กาวสู
เมืองกีฬาอาชีพ”

สนับสนุนกจิ กรรมและการจดั มหกรรมทอ งเทย่ี วและกีฬาระดับสากล ไดมาตรฐาน
สนับสนุนการพัฒนาแหลงทองเท่ียวใหม การทองเที่ยวเชิงอนุรักษและเชิงวิถีชุมชน การเปด
เสน ทางเชอ่ื มโยงการทอ งเท่ยี วและประชาสัมพันธอ ยา งเปน ระบบ
สงเสริมกจิ กรรมการกระตุน การขาย โรดโชวท ั้งในและนอกประเทศ
สงเสริมความรวมมือในการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนการทองเท่ียวกับกลุมจังหวัดและจากเมืองตาง ๆ
ท้งั ในและนอกประเทศ
กรอบการเรียนรูเชงิ ปฏบิ ัติการ (Action Learning) ไดรับมอบหมายใหศึกษาการบริหารจัดการ
ปองกันระงับยับยั้งการระบาดของโรคโคโรนา 2019 (Covid-19) ขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี
ซงึ่ เปน องคกรปกครองสวนทองถ่นิ มีพื้นท่ใี หบ รหิ ารดานสาธารณะครอบคลุมพนื้ ท่ีในเขตจังหวัด
การศึกษาจึงศึกษาสถานการณของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพ้ืนท่ีจังหวัด
ชลบุรี โดยการประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการปองกันระงับยับย้ังการแพรระบาดของโรค
ติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพ้ืนที่จังหวัดชลบุรี ในบริบทขององคการบริหารสวนจังหวัด
ชลบุรี
1.1 สถานการณข องโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพื้นทีจ่ งั หวัดชลบรุ ี

สถานการณโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของจังหวัดชลบุรีเร่ิมตนจาก
วันที่ 23 กุมภาพันธ 2563 พบผูติดเช้ือรายแรกในจังหวัด ไมทราบวาติดเชื้อจากท่ีใด หลังจากน้ัน
1 สัปดาห พบผูติดเชื้อที่เดินทางเขามาในพื้นที่จังหวัดชลบุรี 2 ราย ซ่ึงเดินทางมาจากประเทศอิตาลี
และเพ่ิมข้ึนจากกรณีสนามมวย ผับยานทองหลอ ต้ังแตวันท่ี 9 มีนาคม 2563 ก็มีการแพรระบาด
ภายในพน้ื ท่ีจังหวดั เพิ่มข้ึน โดยเฉลีย่ วนั ละ 2-4 ราย

131

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุน ท่ี 74

จากสถานการณดงั กลา วจังหวัดชลบุรีเริ่มดําเนินการตามมาตรการเฝาระวังและลดการแพรระบาด
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยในวันท่ี 18 มีนาคม 2563 จังหวัดชลบุรี ไดมีคําส่ังปด
สถานบริการ งดกิจกรรมทม่ี ีคนจาํ นวนมาก และหามเคล่อื นยายคนจํานวนมากเขาพื้นที่จากนั้นไดมีคําส่ังปด
ควบคุมสถานที่บางแหงเพ่ือลดการแออัดของคนจํานวนมาก สงผลใหผูติดเช้ือท่ีเดินทางเขามายังจังหวัด
ชลบุรีลดลงอยางมีนัยสําคัญ แตสถานการณการติดเช้ือของคนในพื้นท่ียังคงอยู โดยมีแนวโนมลดลงจนไม
พบผตู ดิ เชื้อท่เี ดนิ ทางเขามาในพื้นท่จี งั หวดั ชลบุรี ตงั้ แตว ันท่ี 30 มนี าคม 2563 เปนตนไป

ในหว งเดอื นเมษายน ถอื วา จังหวัดชลบุรีประสบผลสําเร็จในการดําเนินการตามมาตรการเฝาระวัง
และลดการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพราะมีผูติดเชื้อภายในจังหวัด 14
ราย โดยตั้งแตวันที่ 23 เมษายน 2563 จังหวัดชลบุรีไมพบผูติดเช้ือรายใหมมา 54 วันตอเน่ือง ถึงวันที่
16 มิถุนายน 2563 จังหวัดชลบุรีมีผูปวยจํานวน 87 ราย รักษาหายจํานวน 85 ราย เสียชีวิตจํานวน
2 ราย โดยจําแนกเปน ผตู ิดเช้อื ในจงั หวัดชลบุรี จาํ นวน 53 ราย และนอกจังหวดั ชลบรุ ี จาํ นวน 34 ราย

1.2 ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คม
จงั หวัดชลบุรี มรี ะบบเศรษฐกจิ ทสี่ ําคญั จาก 3 ภาคสว น ทัง้ ภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และการ
ทองเท่ียวและบริการ
จากการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพ้ืนที่จังหวัดชลบุรีมีการ
ออกมาตรการปองกันและลดความเสี่ยงในการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
เพ่ือควบคุมการแพรระบาดใหอยูในระดับท่ีสามารถควบคุมได โดยจังหวัดชลบุรี ไดออกมาตรการควบคุม
ระยะหางทางสังคม ทั้งการปดสถานประกอบการหลายประเภท การหามเดินทางขามจังหวัด การปด
สถานท่ีทองเท่ียว ซ่ึงสงผลใหเศรษฐกิจหยุดชะงัก การประกอบการของภาคเอกชน ภาคธุรกิจการคา การ
ทองเที่ยวและบริการ ไดรับผลกระทบเปนวงกวาง เกิดการเลิกจางงานสงผลใหมีภาวะการวางงานของ
ประชาชนเปนจาํ นวนมากซง่ึ สง ผลกระทบโดยตรงตอรายไดระดับครัวเรือน ทําใหเกิดเปนหวงโซของปญหา
ทางสังคมตามมาและนาํ ไปสูปญหาอาชญากรรมในพ้ืนท่ีเพิ่มมากข้ึน ทําใหประชาชนไมมีความปลอดภัยใน
ชวี ิตและทรัพยสนิ

1.3 ความคาดหวังของประชาชนและผูปฏบิ ัตงิ าน
ทกุ ภาคสว นมีความเชื่อวา จังหวัดชลบุรีจะตองผานพนสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ไปได โดยผูที่ไดรบั ผลกระทบจะตองไดร ับการดูแลเยียวยา
1. ความคาดหวัง คอื ไมใ หมกี ารแพรระบาดในพน้ื ที่
2. คาดหวังวา จะไดร ับการเยียวยาจากภาคสว นตา ง ๆ
3. คาดหวงั วาจะมวี คั ซีนปอ งกันโรคเพือ่ จะกลบั มาใชชวี ิตตามปกติไดโดยเรว็
4. คาดหวงั วา ประชาชนจะใหความรวมมอื ในการปฏบิ ัติตามมาตรการ

132

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนที่ 74

2. เปา หมายหรอื ผลลพั ธที่ตอ งการ
2.1 เปาหมายสูงสุด คือประชาชนในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีไดรับการปองกันโรคอยางทั่วถึง

แตเน่ืองจากขอเท็จจริงปรากฏวาโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังไมมีวัคซีนปองกัน ยังแพรระบาด
อยูในโลก ทําอยางไรจึงจะปองกันระงับยับยั้งการแพรระบาดใหอยูในระดับท่ีระบบสาธารณสุขของไทย
สามารถรองรับการรกั ษาได ประชาชนในพื้นท่จี งั หวัดชลบรุ ปี ลอดโรค

2.2 ผูที่กลบั มาจากพนื้ ที่ทม่ี โี รคระบาดทุกคนตองกักตัว 14 วัน โดยจังหวัดชลบุรีไดออก
ขอส่ังการใหอาํ เภอทกุ อําเภอดําเนินการตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขในการดําเนินการกักตัวผูที่
เดินทางมาจากพ้ืนท่ีที่มีโรคระบาด หากประชาชนผูนั้นมีหนังสือรับรองจากตนทางวาไดดําเนินการกักตัว
ครบ 14 วัน ก็ไมตองเขา สพู ้ืนทก่ี กั ตัวทจี่ งั หวดั จดั ไวใ ห แตใ หเ ฝาระวังสังเกตอาการทบ่ี านอยา งใกลช ิด

2.3 ประชาชนผูไดรับผลกระทบ และเดือนรอนจากการแพรระบาดของโรคทุกภาคสวน
ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม การทองเที่ยวและบริการ ผูตกงาน ผูวางงาน จากการปดสถานประกอบการ
ผถู กู เลิกจางและครอบครวั ไดร ับการชวยเหลือเยยี วยาเบื้องตนใหสามารถใชชีวิตอยูไดโดยมีความเดือดรอน
หรือลดผลกระทบลงใหน อ ยที่สดุ

2.4 จังหวัดชลบุรจี ะเปดเมืองกนั อยางปลอดภยั เพื่อใหป ระชาชนกลับมาใชชีวิตตามปกติ
โดยเรว็ โดยรณรงคใ หประชาชนรับรูและปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข คือ คนไทยใชชีวิต
วิถีใหมแบบ New Normal ไดแก สวมหนากาก รักษาระยะหาง ทําความสะอาด กินรอนชอนสวนตัว โดย
ความรวมมือของทุกภาคสว นในการปฏบิ ัติตามมาตรการของจงั หวัดชลบุรี

3. แนวทางการดําเนินงาน
3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารจัดการตามคําส่ังของศูนยบริหารสถานการณโค

วิด-19 และขอสง่ั การของกระทรวงมหาดไทย
คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันท่ี 10 มีนาคม 2563 มีมติมอบหมายใหสํานัก

เลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดต้ังศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ข้ึน เพือ่ ทําหนา ท่กี าํ หนดนโยบายและมาตรการเรงดว นในการบรหิ ารสถานการณ

สํานักนายกรัฐมนตรีไดมีคําสั่งที่ 76/2563 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2563 เรื่อง จัดตั้ง
ศูนยบริหารสถานการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ใหจัดตั้งศูนยบริหาร
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เรียกชื่อยอวา “ศูนยบริหาร
สถานการณโควิด-19” ข้ึนตรงตอนายกรัฐมนตรี และแตงต้ังคณะกรรมการบริหารสถานการณการแพร
ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ เพ่ือเปน
การยกระดับการบริหารจัดการการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในประเทศ
ใหอยูในวงจํากัด ลดผลกระทบตอภาวะสุขภาพของประชาชน เศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของ
ประเทศ สรางความตระหนักรูเทาทันและเตรียมความพรอมในการรับมือกับการระบาดของโรคอยาง
มีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานสากล ตลอดจนประเมินสถานการณเพื่อการบังคับใชกฎหมายใหตรงกับ

133

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

ความรุนแรงของปญหาและวางมาตรการปองกันควบคุมและชวยเหลือเยียวยาผู ไดรับผลกระทบอยาง
เหมาะสม

คําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีที่ 6/2563 ลงวันท่ี 27 มีนาคม 2563 เร่ือง การจัด
โครงสรา งของศูนยบ รหิ ารสถานการณโ ควิด-19 ขอ 1 ใหศ นู ยบริหารสถานการณโควิด-19 (ศบค.)

(4) ศูนยปฏิบัติการดานมาตรการปองกันและชวยเหลือประชาชนมีปลัดกระทรวง
มหาดไทยเปนหัวหนาศนู ย

(5) ศูนยปฏิบัติการกระจายหนากากอนามัยและเวชภัณฑสําหรับประชาชน มี
ปลดั กระทรวงมหาดไทยเปนหัวหนาศูนย

ศูนยบรหิ ารสถานการณโ ควดิ -19 (ศบค.) มอบหมายใหป ลัดกระทรวงมหาดไทย เปน
ผูรับผิดชอบในการแกไขสถานการณฉุกเฉินในสวนท่ีเก่ียวของกับการ ส่ังการและประสานกับผูวาราชการ
จังหวัด มีขอ สง่ั การใหผวู าราชการจังหวัดในฐานะประธานคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด ดําเนินการตาม
ประกาศ ขอกําหนดและมติของศบค. ในการบริหารจัดการปองกันระงับยับย้ังการแพรระบาดของ
โรคตดิ ตอ รวมทงั้ การชวยเหลือเยยี วยาผูไดรับผลกระทบ

การบริหารการจัดการปอ งกันระงับยับย้ังการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) กาํ หนดใหมีคณะกรรมการโรคตดิ ตอจงั หวัดมอี ํานาจหนาที่ดาํ เนินการ โดยมีผูวาราชการ
จังหวัด เปนประธานกรรมการ มีหัวหนาสวนราชการท่ีเกี่ยวของ นายกองคการบริหารสวนจังหวัดเปน
กรรมการ สาธารณสขุ จังหวัดเปน กรรมการและเลขานุการ

ซ่ึงจังหวัดชลบุรีไดนําคําส่ังและแนวปฏิบัติดังกลาวขางตนมากําหนดเปนมาตรการดําเนินงานโรค
ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19) ในพืน้ ท่ีจังหวัดชลบรุ ี ดังน้ี

1. มาตรการการเฝาระวงั ปองกัน ควบคมุ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
1.1. ไมใหมผี ปู วยเสยี ชีวิตและไมม กี ารแพรร ะบาดตอเนือ่ งในประเทศไทย
1.2. ปองกันไมใ หมกี ารตดิ เชอ้ื ในบคุ ลากรทางการแพทยและสาธารณสุข

2. มาตรการปองกนั โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
2.1. การสรา งวฒั นธรรมลดการแพรกระจายเชอ้ื
2.2. คัดกรองผูเขาเกณฑส งสัย เชน มไี ข ไอ นํา้ มูก เจบ็ คอ หายใจเหน่อื ย
2.3. หม่นั ทาํ ความสะอาดอุปกรณ และบริเวณท่ีมผี สู มั ผสั ปริมาณมาก
2.4. การจัดจดุ บริการ เชน จดุ บริการเจลลางมือ การคดั กรองบุคคลตามสถานที่ตาง ๆ

3. มาตรการจัดการโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19)
3.1. การเฝา ระวังผปู ว ยท่เี ขานิยาม โดยมขี ั้นตอนการดําเนนิ การ ดงั นี้
ข้ันตอนที่ 1 คดั กรองผูเดนิ ทางที่สนามบิน ใหข อ มูล และ Health beware card
ขัน้ ตอนที่ 2 ควบคมุ กาํ กบั ใหมกี ารคัดกรองที่ OPD ในทกุ สถานพยาบาล
ขั้นตอนท่ี 3 เฝาระวังและสอบสวนหาสาเหตุปอดอักเสบอาการรุนแรง โดยบุคลากรทาง

การแพทย

134

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

ขัน้ ตอนที่ 4 เฝา ระวังในชุมชน โดยเฉพาะคนทเี่ ดนิ ทางเขา พืน้ ที่
3.2. การติดตามผสู ัมผสั มกี ารตดิ ตามผสู ัมผัสผปู วยยนื ยนั โดยแบง ออกเปน 2 กลุม
กลุมท่ี 1 กลุมที่มีความเส่ียงสูง เชน ญาติ ผูสัมผัสใกลชิด ผูรวมทัวร เปนตน โดยมีการ
ติดตามวัดไขท กุ วัน และเกบ็ ตวั อยางสงตรวจทางหองปฏิบัติการ
กลมุ ท่ี 2 กลมุ ทม่ี คี วามเสีย่ งต่าํ เชน เดินทางเทยี่ วบินเดยี วกัน และผูสัมผัสอ่ืน ๆ มีการให
สงั เกตอาการเอง และมีการใหด ําเนนิ การ Self – report
3.3. การเตรียมความพรอ มการรกั ษาพยาบาล มแี นวทางการปฏิบัติ ดังน้ี
แนวทางท่ี 1 เผยแพร อบรม แนวทางการดแู ลรกั ษาผูปว ย
แนวทางท่ี 2 จดั ระบบการสงตอ และผเู ชี่ยวชาญใหคําปรึกษา
แนวทางท่ี 3 เตรียมความพรอมทรัพยากรที่เกีย่ วของ
แนวทางท่ี 4 เผยแพรแนวทางการสงเก็บสิ่งสงตรวจทางหองปฏิบัติการ เพื่อหาโรคติด
เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ของจังหวดั
แนวทางที่ 5 การปองกนั การแพรกระจายเชอ้ื ในบคุ ลากร
3.4. การประชาสัมพันธ มีประเด็นสื่อสารเพื่อท่ีจะสรางการรับรูกับใหประชาชน ดังนี้
ลา งมือ ลา งมือ ลา งมือ คือทางรอด ปลอดภยั จากไวรัสโคโรนาสายพนั ธใุ หม 2019
3.5. การเปดศูนยปฏิบตั กิ ารตอบโตภ าวะฉุกเฉนิ (EOC) มีการจัดตงั้ ศูนยปฏบิ ัตกิ าร
ภาวะฉุกเฉิน (EOC) ของจังหวัดชลบุรี โดยมีนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี เปนผูอํานวยการ ศูนย
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) จังหวัดชลบุรี เปดทําการ 24 ช่ัวโมง ที่หมายเลขโทรศัพท 038 –
119777
3.6. จงั หวดั ไดดําเนินการต้ังจดุ ตรวจ 8 จดุ เพอ่ื ทาํ หนา ที่ควบคมุ การแพรระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยบูรณาการหนว ยงานทเ่ี ก่ยี วของ ดงั นี้
- อาํ เภอเมืองชลบุรี บริเวณถนนสุขมุ วิท ฝง ขาออก
- อาํ เภอศรรี าชา บริเวณหนา สภ.ศรรี าชา ฝงขาออกจากอําเภอศรีราชา
- อาํ เภอบางละมุง บรเิ วณตรงขา ม สภ.บางละมงุ ฝงขาเขา เมอื งพัทยา
- อาํ เภอสตั หีบ บรเิ วณสาํ นกั งานเทศบาลนาจอมเทยี น
- อําเภอพานทอง บรเิ วณศนู ยอ ปพร.
- อําเภอพนสั นคิ ม บรเิ วณถนนทางหลวงหมายเลข 331 ฝง ขาออกจากจังหวดั ชลบรุ ี
- อําเภอหนองใหญ บรเิ วณจดุ ใหบ รกิ ารประชาชน หนวยบรกิ ารตํารวจทางหลวงหนองใหญ
- อาํ เภอเกาะสชี ัง บรเิ วณสแ่ี ยกทาลาง

3.2 แนวทางการดําเนนิ งานขององคการบรหิ ารสว นจังหวดั ชลบรุ ี
องคการบรหิ ารสวนจังหวัดชลบุรี มีแนวคิดวา ปญหาการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส

โคโรนา 2019 (Covid-19) เปนปญหาสําคัญระดับชาติ องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี มีหนาที่ดูแล
สขุ ภาพอนามัยตลอดจนคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ เปนหนวยงานที่มีกฎหมาย ใหอํานาจหนาท่ีไว

135

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

และมีศักยภาพดานงบประมาณ จึงไดประชุมหารือกับหนวยงานสาธารณสุขและหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อ
กาํ หนดแนวทางในการสนับสนุนปองกัน และยับยั้งการแพรระบาดของโรคฯ ตลอดจนกําหนดมาตรการใน
การเยยี วยา ชวยเหลอื ผูไดร บั ผลกระทบ

องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีไดนํากรอบแนวทางคําส่ังของคณะกรรมการบริหาร
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของทางรัฐบาล คําส่ัง
คณะกรรมการโรคติดตอระดับจังหวัด นโยบายของผูวาราชการจังหวัดชลบุรีและขอเสนอแนะจากการ
ประชุมรว มภาคีเครือขายมากาํ หนดเปนกรอบแนวทางในการดําเนนิ สามารถสรุปไดด ังนี้
กรอบแนวทางการดาํ เนินงานตามหลัก 2P2R

1. Prevention & Mitigation Phase ดาํ เนินการ ดงั น้ี
1.1 รบั ฟง และสอ่ื สารขา วสาร (ขอมูลขา วจากการเขาประชุมเครือขายทางดานสาธารณสุขจังหวัด

ชลบุรี ,กลุมงานควบคุมโรคติดตอ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี, คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด
ชลบรุ ี)

1.2 เขารวมการประชุมระดมความคิดเห็นการบริหารจัดการ/ การตระหนักรับรูความเส่ียงและ
อันตรายของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) กับภาคีเครือขาย เชน ประธานอาสาสมัคร
สาธารณสขุ จงั หวัดและอาํ เภอ, องคกรปกครองสว นทองถนิ่ ในพ้ืนที่ฯ

1.3 แจงขอมูลแหลงขาว/ขอมูลการประชาสัมพันธ (ขอมูลจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ชลบรุ ี) เพ่ือลดความเสย่ี งของโรค ไปยงั กองการทอ งเทยี่ วและกฬี า เพ่ือใหมีแหลงขอมูลสําหรับการเผยแพร
ประชาสัมพันธ ปลกุ กระแสใหประชาชนเกิดความตระหนกั และมีแนวทางการดูแลตนเอง
2. Preparedness Phase ดําเนินการ ดงั น้ี

2.1 ดําเนินโครงการเพื่อจัดเตรียมวัสดุครุภัณฑทางการแพทยและสาธารณสุข เพื่อรองรับ
สถานการณการแพรร ะบาดของโรค ดงั นี้

136

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

2.1.1 โครงการปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ในเขตจังหวัดชลบุรี (น้ํายาฆาเชื้อโรค ผสมสารสกัดจากธรรมชาติ - Natural Disinfectant)
งบประมาณ 496,000 บาท

2.1.2 โครงการปองกันความเสี่ยงจากโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในเขต
จังหวัดชลบรุ ี (แอลกอฮอลเ จล ชนดิ ขวดขนาด 420 มิลลลิ ิตร จาํ นวน 2,000 หลอด และแอลกอฮอลเจล
ชนิดหลอดขนาด 40 มลิ ลลิ ิตร จํานวน 3,550 หลอด) งบประมาณ 499,750 บาท

2.1.3 โครงการปองกันและควบคุมการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) ระดับ 3 ในเขตจังหวัดชลบรุ ี (เทอรโ มมิเตอร อินฟราเรด ชุดปองกันฝุนละออง สารเคมี ถุงมือ
ยางและถงุ มอื ยางชนิดใชครั้งเดียว) งบประมาณ 494,000 บาท

2.2 ใหการอุดหนุนหนวยงานดานสาธารณสุข ท้ังในและนอกระบบกระทรวงสาธารณสุขในการ
จัดหาวัสดุครุภณั ฑ/เตรยี มความพรอมรองรบั การดูแลผเู ขา ขายตองเฝาระวัง (PUI) ผูติดเชื้อ รวมทั้งสิ้น 42
โครงการ เงนิ อุดหนนุ รวมท้งั สนิ้ 94,593,160 บาท

1. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา 5 โครงการ จํานวนเงิน 9,921,000 บาท
15,050,040 บาท
2. โรงพยาบาลสมเดจ็ พระนางเจาสิรกิ ติ ์ิ (พร.) 1 โครงการ จํานวนเงนิ
864,900 บาท
3. โรงพยาบาลอาภากรเกยี รติวงศ (ฐท.สส) 2 โครงการ จาํ นวนเงนิ 4,984,000 บาท
33,280,000 บาท
4. สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดชลบุรี 1 โครงการ จาํ นวนเงนิ 9,009,120 บาท
4,000,000 บาท
5. โรงพยาบาลชลบรุ ี 4 โครงการ จํานวนเงิน 3,400,000 บาท
4,560,000 บาท
6. โรงพยาบาลบางละมุง 2 โครงการ จาํ นวนเงนิ
845,000 บาท
7. โรงพยาบาลพนัสนคิ ม 2 โครงการ จาํ นวนเงนิ 245,000 บาท
237,500 บาท
8. โรงพยาบาลแหลมฉบงั 1 โครงการ จํานวนเงนิ 750,000 บาท
6,035,000 บาท
9. โรงพยาบาลบา นบึง 3 โครงการ จํานวนเงนิ 1,411,600 บาท
94,593,160 บาท
10. โรงพยาบาลพานทอง 5 โครงการ จาํ นวนเงิน

11. โรงพยาบาลสัตหบี กม.10 1 โครงการ จํานวนเงิน

12. โรงพยาบาลวัดญาณสงั วราราม 1 โครงการ จาํ นวนเงิน

13. โรงพยาบาลเกาะสีชงั 1 โครงการ จํานวนเงิน

14. โรงพยาบาลบอ ทอง 8 โครงการ จาํ นวนเงิน

15. โรงพยาบาลหนองใหญ 5 โครงการ จํานวนเงนิ

รวม 42 โครงการ จํานวนเงนิ

137

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ท่ี 74

2.3 ดําเนินโครงการฝกอบรมใหกับประชาชน กลุมจิตอาสาและบุคลากรภาครัฐ ภาคเอกชน ท่ีมี
ความสนใจ “โครงการฝก อบรมการตดั เย็บหนา กากอนามยั สรา งความปลอดภยั ใหกบั ประชาชน”

2.4 ประสานยืม ตรวจเช็คความพรอมของวสั ดุอุปกรณ เคร่ืองพน ULV (แบบรถยนตแบบสะพาย
หลงั และแบบมอื ถือ) สําหรับใชใ นกจิ กรรมออกหนว ยบรกิ ารพน ฆาเช้ือ
3. Response & Relief ดําเนนิ การ ดงั นี้

3.1 ออกหนวยบริการพนฆาเชื้อฯ รวมกับ งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย สํานักการชาง
ท้ังในสวนท่ีมีรองขอและโดยการพิจารณาของผูบริหาร โดยมีขอมูลไดรับการรองขอใหดําเนินการปองกัน
ควบคุมโรค ดวยการพนนํ้ายาฆาเช้ือฯ จากหนวยงานภาคประชาชนและหนวยงานภาครัฐ อยางตอเน่ือง
รวม 35 หนวยงาน ซึ่งการออกหนวยบริการน้ีมุงหวังลดความต่ืนตระหนกและผอนคลายความกังวลใจ
ใหกับประชาชน

3.2 แจกหนากากอนามัยแบบผา จํานวน 55,590 ชิ้น ใหกับประชาชนกลุมเปราะบาง พ้ืนที่
เสี่ยง หนวยงานภาครัฐ และประชาชนทุกพื้นท่ีในจังหวัดชลบุรี รวมถึงการสนับสนุนหนากากอนามัยแบบ
ผา ใหก บั บคุ ลากรที่ปฏบิ ตั งิ านดานสาธารณสุขอนั เน่ืองมาจากการขาดแคลน Surgical mask
4. Recovery ดําเนนิ การ ดังนี้

4.1 ดําเนินการเยียวยาชวยเหลือประชาชน ครัวเรือนละ 1,000 บาท ภาคใตโครงการ
“โครงการการชวยเหลอื ประชาชนท่ไี ดร บั ผลกระทบ กรณี สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid-19)” รวมกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 97 แหง ในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

4.1.1 รอบที่ 1 ใหก ารชว ยเหลือประชาชนทไี่ ดร ับผลกระทบ จาํ นวน 90,463 ครัวเรอื น
4.1.2 รอบทบทวนสิทธิ ใหการชวยเหลือประชาชนท่ีไดรับผลกระทบ จํานวน 25,496
ครวั เรอื น
รวมใหการชว ยเหลือ ทัง้ ส้นิ จาํ นวน 115,959 ครัวเรือน
4.2 ดําเนินการชวยเหลือประชาชนใหสามารถดํารงชีพ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ดว ยการรณรงคใ หปลูกผักสวนครวั ไวร ับประทานในครวั เรอื น ดาํ เนนิ การ ดังน้ี
4.2.1 แจกเมล็ดพันธุผักสวนครัว ใหกับประชาชน จํานวน 145,000 ซองโดยแจกจาย
ผานหนวยงานของรัฐหรือสามารถรับดวยตนเองท่ี กองสงเสริมคุณภาพชีวิต องคการบริหารสวนจังหวัด
ชลบุรี และจดั สงทางไปรษณีย
4.2.2 มอบเมล็ดพันธุผักสวนครัว ใหแกสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชลบุรี จํานวน
14,000 ซอง เพ่ือดําเนินโครงการตามแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัว เพื่อสรางความมั่นคงทาง
อาหาร ครอบคลุมทั้ง 11 อาํ เภอ
4.2.3 แจกปยุ น้าํ ชีวภาพ ใหกบั ประชาชน รวมจํานวน ทง้ั สิน้ 3,586 ราย
4.2.4 มอบปุยน้ําชีวภาพใหแก สํานักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดชลบุรี เพื่อมอบให
เกษตรกรทุกอําเภอ ท่ีไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

138

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

(Covid-19) ตลอดจนเปนการสงเสริมอาชีพการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหแก
เกษตรกรทเ่ี ขา รวมโครงการเกษตรทฤษฎใี หม จาํ นวน 1,563 ขวด

4. ผลการดําเนนิ งาน
จากวิสัยทัศน (Vision) ของการองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี กําหนดวา “เปนองคกรหลักใน

การประสานความรวมมือภาคีทุกภาคสวน สูเมืองนวัตกรรมนาอยู ศูนยกลางการทองเที่ยว กีฬานานาชาติ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน” องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีซึ่งมีอํานาจหนาที่
ดูแลสุขภาพของประชาชน มีความโดดเดนในการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุผลตามอํานาจหนาท่ีที่กฎหมาย
กําหนด หรือภารกิจซ่ึงไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีมอบหมายใหสนับสนุน
ดาํ เนนิ การ หรอื บรรลุเปาหมายตามวสิ ัยทศั นข องหนวยงาน ดงั น้ี

1. เปนหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่นในเขตพื้นท่ี
จังหวัดชลบุรี ในการปองกัน ระงับ ยับยั้ง ชวยเหลือเยียวยาประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณ
การแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ตามระเบียบวาดวยการชวยเหลือประชาชน
พ.ศ.2562

2. เปนหนวยงานสนับสนุนงบประมาณใหแกหนวยงานท่ีมีหนาท่ีปองกันรักษา เชน สนับสนุน
งบประมาณในการปรับปรุงสถานท่ีรองรับการรักษาผูปวย การสนับสนุนงบประมาณ ใหหนวยงานจัดซ้ือ
วัสดุครุภณั ฑ ทมี่ คี วามจาํ เปน ในการปองกันรักษาโรค

3. เปนหนว ยงานท่มี ีความคิดริเร่ิมในการทํางานนอกกรอบ เชน จัดต้ังกองทุนชลบุรีตองรอด เพื่อ
ชวยเหลือเยียวยาบรรเทาความเดือดรอนของผูไดรับผลกระทบ เปนการอุดชองวางสําหรับผูที่ไมอยูใน
หลกั เกณฑใ นการชวยเหลือไดตามระเบียบของทางราชการ

4. เปนหนวยสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันโรค เชน จัดกิจกรรมอบรมการ
ผลติ หนากากผา เพอ่ื ใชท ดแทนการขาดแคลนหนากากอนามัย แกกลุมสตรี ประชาชนจิตอาสากอนมีขอสั่ง
การจากกระทรวงมหาดไทย ทาํ ใหสามารถใหการชวยเหลือประชาชนไดม ีหนา กากผาใชสําหรับปองการโรค
ไดอยางทันทวงที

5. การพนนํ้ายาทําความสะอาดและฆาเช้ือโรคสถานท่ีตาง ๆ เพื่อปองกันโรคและสรางความ
เชื่อมนั่ แกป ระชาชนในการปอ งกันโรคตดิ ตอ

6. กําหนดใหมีแผนฟนฟูเศรษฐกิจและสงเสริมการทองเท่ียวรูปแบบใหม (New Normal)
ภายหลงั สถานการณค ล่ีคลาย เชน การจัด Event สงเสริมการทองเท่ียวการจํากัดจํานวนนักทองเที่ยวการ
กาํ หนดแผนลดการแออัดดา นการจราจร เปน ตน

139

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

5. ปญหา อุปสรรคในการดาํ เนนิ งาน แนวทางแกไข
1. ถึงแมวา องคก ารบรหิ ารสวนจังหวัดชลบุรีจะมีศกั ยภาพดา นงบประมาณสนบั สนุนหนวยงานตาง

ๆ ในการปอ งกัน ระงบั ยับยง้ั โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ได แตยังติดปญหาเรื่องระเบียบใน
การจดั หาวัสดุครภุ ณั ฑ ซ่ึงยงั เปนปญหาในทางปฏิบตั ิ

แนวทางการแกไ ข
ควรปรับปรุงระเบียบกฎหมายท่ีเกี่ยวของใหมีความคลองตัวในการปฏิบัติมากขึ้น จะทําใหการ
ดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หาไดร วดเรว็ ทนั เหตุการณแ ละมปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขนึ้
2. การใหความชวยเหลือเยียวยาฯ ประชาชนผูปฎิบัติในระดับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน แตละ
แหงยังไมเขาใจเกณฑการตรวจสอบคุณสมบัติของผูท่ีจะไดรับการเยียวยาฯ เปนเหตุใหเกิดความไมเทา
เทียมกนั ในสทิ ธขิ องผไู ดรบั การเยยี วยา
แนวทางการแกไข
ควรซักซอมความเขาใจแกเจาหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในพ้ืนที่ หรือจัดทําคูมือ
แนวทางปฏิบตั ทิ ่ีเปน มาตรฐานเดยี วกัน และเขาใจไปในแนวทางปฏิบัติทถ่ี กู ตอ งตรงกัน
3. ไมมีฐานขอมลู ประชากรแฝงในพน้ื ท่ี และระเบยี บการใหความชวยเหลอื ไมเอื้อตอการชวยเหลือ
อยางทัว่ ถงึ และครอบคลุมถงึ กลมุ ประชาชนที่ควรจะไดร บั การเยยี วยาอยางแทจ ริง
แนวทางการแกไ ข
ควรมีการสํารวจจัดเก็บและปรบั ปรุงฐานขอมลู ประชากรแฝงใหเปนปจจุบัน และปรับปรุงระเบียบ
หลักเกณฑเพ่ือใหสามารถชวยเหลือเยียวยา กลุมประชากรที่ไดรับผลกระทบอยางแทจริงไดอยาง
ครอบคลมุ

6. ประโยชนท ป่ี ระชาชนไดร ับ
จากการดาํ เนินมาตรการในการปองกันและควบคุมวิกฤตการณจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(Covid-19) ของจังหวัดชลบุรี น้ัน ทําใหสามารถควบคุมโรคใหอยูในวงจํากัดไดในเวลาอันรวดเร็ว โดย
จังหวัดชลบุรีเริ่มดําเนินการตามมาตรการเฝาระวังและลดการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) ต้ังแตวันท่ี 18 มีนาคม 2563 จังหวัดชลบุรี ไดมีมาตรการควบคุม จํากัดกิจกรรรมที่
อาจกอ ใหเกิดการแพรร ะบาดของโรค จนสถานการณก ารติดเช้ือของคนในพื้นท่ี มีแนวโนมลดลงจนไมพบผู
ติดเช้ือท่ีเดินทางเขามาในพ้ืนที่จังหวัดชลบุรีตั้งแตวันท่ี 30 มีนาคม 2563 เปนตนมา สําหรับเดือน
เมษายน ถือวาจังหวัดชลบุรีประสบผลสําเร็จในการดําเนินการตามมาตรการเฝาระวัง และลดการแพร
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เปนอยางยิ่ง เพราะมีผูติดเช้ือภายในจังหวัดเพียง
14 ราย และต้ังแตวันท่ี 23 เมษายน 2563 เปนตน มา จังหวัดชลบุรียังไมพบผูติดเชื้อรายใหมแตอยางใด
ตอ เนอื่ งมา 54 วันแลว (ขอมูลถึงวันท่ี 16 มถิ ุนายน 2563)

จากมาตรการตา ง ๆ ที่องคการบรหิ ารสวนจังหวดั ชลบรุ ไี ดดําเนนิ การรวมกับภาคสวนตาง ๆ อยาง
ตอเนื่องทําใหประชาชนไดรับการดูแลดานการปองกันและควบคุมโรค เชน การแจกหนากากอนามัย

140

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74

เจลแอลกอฮอล การใหค วามชว ยเหลอื เยยี วยา การสนบั สนนุ เพอื่ ใหประชาชนในพ้ืนท่ี ผานวิกฤติการณคร้ัง
นี้ไปไดอยางปลอดภัย การแพรระบาดของโรคอยูในระดับท่ีสามารถควบคุมสถานการณได นอกจากน้ียัง
เกดิ ประโยชนแกป ระชาชนในพื้นท่โี ดยตรง ดังน้ี

1. ประชาชนสวนใหญรับทราบขอมูลขาวสารที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี กอใหเกิดความตระหนักรูและมีแนวทางในการดูแล
ตนเอง ตามมาตรการปองการการแพรร ะบาดของกระทรวงสาธารณสุข

2. ชมุ ชนและหนวยงานภาครฐั ในพน้ื ทจี่ งั หวดั ชลบรุ ีท่ีรองขอไดรับการบรกิ ารฉีดพน นา้ํ ยาฆาเชื้อซึ่ง
นับไดวา เปน การดแู ลเอาใจใส ลดความตระหนกและตนื่ กลวั การแพรระบาดใหก ับประชาชน

3. สามารถเยียวยาชวยเหลือประชาชนท่ีไดรับผลกระทบฯ ในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี ครัวเรือนละ
1,000 บาท ตาม “โครงการชวยเหลือประชาชนที่ไดรับผลกระทบ กรณีสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019” ไดเปน จาํ นวน 119,959 ครวั เรือน

4. ประชาชนไดรับการสงเสริมอาชีพการเกษตรโดยการใหความรูและรณรงคใหปลูกผัก สวนครัว
ไวรับประทานในครัวเรือน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

7. ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมในพื้นท่ที ่ที าํ การศึกษา
ด ว ย เ ห ตุ ที่ จั ง ห วั ด ช ล บุ รี เ ป น พ้ื น ท่ี เ ข ต เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สํ า คั ญ ด า น ก า ร ล ง ทุ น ใ น ภ า ค เ ก ษ ต ร

ภาคอตุ สาหกรรม และธุรกิจการทองเท่ียวและการบริการ จึงมีประชาชนเดินทางเขา-ออกประเทศ รวมถึง
นักทองเท่ียวจากตางประเทศเดินทางเขามาเปนจํานวนมาก การเฝาระวังการแพรระบาดของโรคติดตอฯ
จึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอการปองกันและควบคุมโรค การท่ีจังหวัดชลบุรีมีมาตรการปองกันและ
ยับยั้งเพ่ือใหการแพรระบาดอยูในระดับที่สามารถควบคุมได เชน มาตรการควบคุมระยะหางทางสังคม /
กายภาพ (Social/Physical Distancing) การหา มเดนิ ทางขามจังหวัด การปดสถานที่ทองเท่ียว และสถาน
ประกอบการหลายประเภท ฯลฯ สงผลกระทบใหเกิดความซบเซาทางเศรษฐกิจทั้งในดานการคา การ
ทอ งเทย่ี วและการบรกิ าร การขาดรายไดอ นั เนื่องมาจากการถูกสั่งพักงาน/ เลิกจางงาน สงผลตอในดานลบ
ตอเศรษฐกิจในระดับครัวเรือน ซึ่งอาจนําไปสูปญหาอื่นทางสังคม เชน การเพ่ิมข้ึนของอาชญากรรม
ตลอดจนความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสินของประชาชนในพ้ืนท่ี

8. ทัศนคตขิ องภาคสว นตางๆ ทง้ั ภาครัฐ ภาคทองถน่ิ ภาคประชาชนและผูไดร ับผลกระทบ
องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เห็นวาบทบาทภารกิจขององคการบริหารสวนจังหวัดสามารถ

ทํางานใกลชิดกับผูวาราชการจังหวัดและเปนตัวแทนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินที่เขาไปมีสวนรวมใน
การแกไขปญหาและพัฒนาจังหวัดมีความตระหนักวาปญหาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) เปนปญหาใหญระดับชาติท่ีตองรวมกันแกไข ถาหากองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี
สามารถสนับสนุนการดูแลสุขภาพของประชาชนไดก็พรอมที่จะดําเนินการและใหการสนับสนุน ผูบริหาร
ขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีใชหลักการคิดวาถาเปนสิ่งท่ีถูกตอง ใหเริ่มทําทันที มองการณไกล

141

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

มองปญหาและแกไขปญหาในภาพรวม ภายใตขอบเขตอํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี
พรอ มสนบั สนุนหนวยงานที่เก่ียวของ ท้ังหนวยงานราชการและองคกรปกครองสวนทองถ่ินในพ้ืนที่จังหวัด
ดําเนินการ มกี ารบรหิ ารงานแบบบรู ณาการการทํางานรว มกบั ทกุ ภาคสว น บนศักยภาพขององคการบริหาร
สว นจงั หวดั ทีม่ ี คือ เรอ่ื งงบประมาณและทมี งานตลอดจนภาคเี ครือขายที่มีศักยภาพ

และจากการท่ีมีโอกาสไดรับฟงการบรรยายของผูวาราชการจังหวัดชลบุรี นายกองคการบริหาร
สวนจังหวัดชลบุรี ผูแทนนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และมีโอกาสไดสอบถามขอมูลและความ
คิดเห็นจากสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เจาหนาที่ผูรับผิดชอบขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ิน กํานัน ผูใหญบาน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ประชาชนผูไดรับผลกระทบและ
ไดรับการเยี่ยวยาจากองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี และองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพ้ืนที่จังหวัด
ชลบุรี ทําใหทราบถึงทัศนคติของทุกภาคสวนวา มีทัศนคติตอการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) และการดําเนินงานปองกัน ระงับ ยับย้ัง ของจังหวัดชลบุรี และองคการบริหารสวน
จังหวัดไปในเชิงบวกตอสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
เนื่องจากการแพรระบาดของเช้ือไวรัสฯ ทําใหทุกภาคสวนไดมีโอกาสบูรณาการการทํางานรวมกันอยาง
จริงจัง ไดนําศักยภาพของแตละหนวยงานมาใช ไดเห็นถึงความรวมแรงรวมใจของทุกภาคสวนในพ้ืนท่ี
จงั หวัดชลบรุ ี ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคประชาสงั คม

นายภัครธรณ เทียนไชย ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี กลาววา ผูวาราชการจังหวัดมีอํานาจหนาที่
ในการบริหารจัดการ ปองกัน ระงับยับย้ังการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
รวมกับคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด ถึงแมมีอํานาจจะกําหนดมาตรการตางๆได แตตองคํานึงถึง
ผลกระทบที่จะเกดิ ขนึ้ ในภาพรวมอยางรอบดา น วา เมือ่ ตดั สินใจดําเนินการมาตรการใด ๆ จะเกิดประโยชน
หรือเกิดผลกระทบตอประชาชน

นายวิทยา คุณปลื้ม นายกองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี กลาววา เปนภารกิจขององคการ
บริหารสวนจังหวัดที่จะตองดูแลสุขภาพประชาชน องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีพรอมที่จะปฏิบัติตาม
นโยบายจังหวัด ภารกิจท่ีคณะกรรมการควบคุมโรคติดตอมอบหมาย และพรอมท่ีจะดําเนินการ ในการ
ปองกันระงับยับยั้งการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จังหวัดชลบุรี
เปนเมืองทองเท่ยี วในแตละวันมีนักทองเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวตางประเทศเดินทางมาทองเที่ยว พักผอน
ในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีเปนจํานวนมาก เมื่อทราบขาววามีการแพรบาดในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร องคการ
บริหารสวนจังหวัดชลบุรีไดเริ่มดําเนินการตามมาตรการของกรุงเทพมหานครในเรื่องการตัดเย็บหนากาก
อนามัยทนั ที

นายเสรี เจตสุคนธธร รองนายแพทยสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี กลาววา จากสถานการณการแพร
ระบาดของโรคฯ เปนโอกาสของหนวยบริการสาธารณสุของจังหวัดชลบุรี ไดมีโอกาสเพ่ิมศักยภาพของ
สถานบรกิ ารจากเงนิ อุดหนุนขององคก ารบริหารสวนจงั หวัด และจากงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข
เอง และมีการบรู ณาการทํางานรวมกับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ ๖ กับโรงพยาบาลเอกชน สถานศึกษา
ไดเห็นถึงความพรอมของบุคลากร ทีมงาน มีมาตรฐานการใหบริการ มีการสรางระบบการสื่อสารท่ีเปน

142

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

ระบบเพม่ิ มากขึ้น หากมกี ารกลบั มาระบาดในรอบท่ี ๒ หนวยบริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดชลบุรีพรอม
ที่จะรองรับไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

นายเดชา จันทรเล็ก สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เขตอําเภอศรีราชา
กลาววา ประชาชนมีความพึงพอใจกับการชวยเหลือขององคการบริหารสวนจังหวัดรวมกับเทศบาล
องคการบริหารสวนตําบลในการชวยเหลือในรูปแบบของเงินเยียวยาครัวเรือนละ ๑,๐๐๐ บาท เนื่องจาก
สามารถนําไปจับจายไดตามท่ีตองการ การที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินเกือบทุกแหงในจังหวัดชลบุรีให
การชวยเหลือผูไดรับผลกระทบไปในทิศทางเดียวกันเนื่องจากองคการบริหารสวนจังหวัดไดมีการเรียก
ประชุมเพื่อหารือแนวทางการชวยเหลือรวมกัน มีมาตรการจูงใจในการสรางการมีสวนรวม และองคกร
ปกครองสว นทองถน่ิ อ่ืนมีความเชื่อมั่นวาสามารถดําเนินการไดตามระเบียบ มีการเชิญทองถ่ินจังหวัดมาให
ขอมูลรายละเอียดของระเบียบกฎหมาย

นางอทุ ัยทิพย เครอื ละมาย ผูอ าํ นวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม เทศบาลตําบลหวยกะป
อําเภอเมืองชลบุรี ใหขอมูลวาสาเหตุที่องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหงในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรี เลือกใช
วิธีการชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ดวยการจายเงิน
เยียวยา จํานวน 1,000 บาทเหมือนกันทุกองคกรปกครองสวนทองถ่ินมาจากการท่ีนายกองคการบริหาร
สวนจังหวัดชลบุรีไดเชิญนายกองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหงรวมประชุมปรึกษาหารือและศึกษา
ระเบียบแนวปฏิบัติที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถดําเนินการชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจาก
สถานการณการแพรระบาดของโรคไดตามอํานาจหนาท่ี มีการเชิญทองถ่ินจังหวัดมารวมใหคําปรึกษาใน
ระเบียบขอกฎหมาย จึงมีมติรวมกัน ประกอบกับองคการบริหารสวนจังหวัดพรอมใหการสนับสนุน
งบประมาณสําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหงในสัดสวนรอยละ 50 แตเน่ืองจากเปนการ
ดําเนินการท่ีเรงดวนเพื่อใหทันกับสถานการณกับความเดือดรอนของพ่ีนองประชาชน บางองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นอาจมีการวางระบบการตรวจสอบคัดกรองท่ีไมไดมีสวนรวมจากทุกภาคสวน แตสําหรับ
เทศบาลตาํ บลหว ยกะป นายกเทศมนตรไี ดเชิญประชุมผูมีสวนเกี่ยวของ และแตงตั้งคณะทํางานมอบหมาย
ภารกิจใหเจา หนาที่เทศบาลรวมกับผนู าํ ทองท่ีในการรบั ลงทะเบียน ผูไดรับผลกระทบในพื้นที่ตําบลหมูบาน
จนสามารถคัดกรองผูท่ีไดรับผลกระทบและเดือดรอนอยางแทจริง จากครัวเรือนท้ังหมด 9,000 กวา
ครัวเรือน เหลอื เพียง 2,000 ครวั เรอื นเศษ

นางสมวาง เนตรวิเชียร อาชีพคาขายของชํา ไดรับผลกระทบจากการท่ีไมสามารถคาขายได
ตามปกติในขณะท่ีมีสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จึงไดไป
ลงทะเบียนกับเจาหนาที่ของเทศบาลตําบลหวยกะป ท่ีมารับลงทะเบียนผูไดรับผลกระทบท่ีศาลากลาง
หมูบาน มีผูนําหมูบานเปนคณะกรรมการคัดกรองผูที่เดือดรอนจริง มีการชวยเหลือจายเงินเยียวยาท่ี
รวดเร็วโดยโอนเงนิ เขาบัญชธี นาคาร เงนิ จํานวน 1,000 บาท ในสถานการณข ณะนั้น สามารถนําไปใชจาย
ซือ้ ส่ิงของท่ีมีความจําเปนไดอ ยา งตรงตามความตองการ

143

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

นางลําใย เนตรวิเชียร อาชีพขับรถจักรยานยนตรับจาง ไดรับผลกระทบจากท่ีเคยมีรายได
ประมาณ 300-400 บาท/ วัน รายไดลดลงเหลือเพียงวันละ 30-50 บาทตอวัน การชวยเหลือเยียวยา
ผูไดรับผลกระทบจากเทศบาลตําบลหวยกะปและองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี จํานวน 1,000 บาท
สามารถนําไปจับจายซ้ือส่ิงของท่ีขาดแคลนไดตรงตามความตองการมีการตรวจสอบคุณสมบัติผูท่ี ไดรับ
ผลกระทบรวมกันระหวางเจาหนาที่เทศบาลตําบลหวยกะป และผูนําทองที่ทําใหผูที่ไดรับการชวยเหลือ
เยยี วยาเปนผไู ดรบั ผลกระทบและเดอื ดรอนจริง

นางอรทัย แสงชาติ อาชีพขายกลวยปงหนาโรงเรียน ไดรับผลกระทบจากการที่โรงเรียนปด ไม
สามารถไปขายของได ทําใหขาดรายไดที่จะใชจายในครอบครัว และปจจุบันก็ยังไมสามารถไปขายของอ่ืน
ได เพราะตองดูแลหลานที่ตองเรียน Online อยูที่บาน เทศบาลตําบลหวยกะป ใหการชวยเหลือจายเงิน
เยยี วยาเรว็ กวาองคกรปกครองสว นทองถ่ินอน่ื ๆ

นายบุญเพ็ง ปราดเปร่ือง อาชีพเกษตรกร ไดรับผลกระทบไมสามารถนําผลผลิตไปจําหนายได
เน่ืองจากรานคา รานอาหาร ตลาดนัดปดทั้งหมด การไดรับเงินชวยเหลือเยียวยา จํานวน 1,000 บาท
ในขณะน้ัน ถือวา มีคา มาก สามารถนําไปซือ้ สิ่งของทจ่ี ําเปนตอ การดาํ รงชีวติ สําหรบั ตนซึ่งเปนภาคเกษตรกร
สามารถใชไดถงึ 2 สัปดาห และอยากใหชวยเหลือในการหาตลาดจําหนายสินคาให เพราะหากไปจําหนาย
ตามตลาดนัด คา เชา จะราคาสงู มาก

นายสุทัศน บุตรนนท กํานันตําบลหนองปลาไหล อําเภอบางละมุง ใหขอมูลวา เทศบาลตําบล
หนองปลาไหล ไดมอบหมายใหเจาหนาท่ีเทศบาลออกมารับลงทะเบียนผูไดรับผลกระทบในพื้นที่หมูบาน
ตําบลและแตงตั้งฝายปกครองเปนกรรมการตรวจคดั กรอง แตเ นอ่ื งจากเปนงานเรงดวน การประชาสัมพันธ
โดยเทศบาลตําบลหนองปลาไหล ประชาสัมพันธไดไมท่ัวถึงผูท่ีไดรับความเดือดรอนไมไดรับการชวยเหลือ
เยียวยา บางครัวเรือนมีผูไดรับการชวยเหลือเยียวยามากกวา 1 ราย เสนอวาควรใหฝายปกครองเขาไปมี
สวนรวมในการรับลงทะเบียนผูไดรับผลกระทบและบูรณาการขอมูลที่ฝายปกครองไดรับลงทะเบียนใน
ระบบ Thai QM ของกรมการปกครองอยูกอนแลว เพ่ือการชวยเหลือเยียวยาจะไดครอบคลุมผูท่ีไดรับ
ผลกระทบในพื้นท่อี ยางแทจริง

นายพงษพันธ แพทยกูล กํานันตําบลหนองกะขะ นายสมใจ คําออน ผูใหญบานหนองกะขะ หมูท่ี 1
นายวิสุทธ์ิ หอมสินธุ ผูใหญบานหนองกระทุม นายสํารวจ เจริญราษฎร ผูใหญบานหนองกะขะ หมูท่ี 3
นายสมชาย ฤทธิ์งาน ผูใหญบานปุนเถามา หมูที่ 4 ตําบลหนองกะขะ ผูนําหมูบานตําบลหนองกะขะ ให
ขอ มลู วา มสี วนรว มในการรับลงทะเบยี นผไู ดร ับผลกระทบจากสถานการณก ารแพรระบาดของโรคโควิด-19
โดยองคการบริหารสวนตําบลพานทองหนองกะขะไดมีเจาหนาที่ออกมารับลงทะเบียนในพื้นที่และขอให
กํานันผูใหญบานไดประชาสัมพันธใหประชาชนในหมูบานไดมาลงทะเบียนบานเลขท่ีละ 1 คน และ
ชว ยเหลอื ประสานงานในการจายเงินเยียวยา ใหแกผูไดรับผลกระทบ ถือวาเปนผลประโยชนของลูกบานท่ี
จะไดรับการดูแลจากภาครัฐแบบเสมอภาค ผูนําท้ัง 4 คนเขาใจวาการจายเงินชวยเหลือเยียวยาจํานวน
1,000 บาท น้ันเปนงบประมาณขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีจํานวน 500 บาทและองคการ
บริหารสวนตําบล พานทองหนองกะขะ จํานวน 500 บาท และรอบที่ 2 เปนงบประมาณขององคการ

144

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

บริหารสวนจงั หวดั ชลบรุ ี จํานวนรายละ 1,000 บาท และประโยชนจากการลงทะเบียนผูไดรับผลกระทบ
จากการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เปนโอกาสที่ผูนําไดมีโอกาสได
ตรวจสอบขอมูลประชากรที่เขามาอยูในหมูบานของตน เนื่องจากกลุมในหมูบานสวนหนึ่งเปนคนที่ทํางาน
อยูในโรงงานอุตสาหกรรม จะไมมีการปฏิสัมพันธกับผูนําหรือคนในชุมชนการติดตอส่ือสาร ทําไดยาก
นอกจากเร่ืองการชวยเหลือเยียวยาผูไดรับผลกระทบแลว ผูนํายังไดดําเนินการในการปองกันการแพร
ระบาดในหมูบานชุมชน โดยไดรับการสนับสนุนเจลลางมือและเคร่ืองวัดไข หนากากอนามัย จาก
ภาคเอกชนในพ้ืนที่ ยาฆาเชื้อ เคร่ืองพนยาไดรับการสนับสนุนจากหลายภาคสวน องคการบริหารสวน
จังหวัดชลบุรีจะสงเจาหนาท่ี มาฉีดพนในพื้นที่สวนรวม และมีสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไดใหการสนับสนุน
ยาฆาเชื้อและเคร่ืองพนยา ซ่ึงสามารถใชพนเขาไปตามบานและตรอกซอยได และผูนําไดใหขอมูลถึงการ
เตรียมความพรอมในอนาคต หากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ยังไมหายไปจากโลกน้ี ผูนํา
ตองทําความเขาใจ กับประชาชนในเร่ืองวิถีชีวิตใหม หรือ New Normal ประชาชนตองรูเทาทัน
สถานการณ และท่ีสําคัญอยางยิ่งท่ีจะทําใหทุกคนรอดจากปญหาเศรษฐกิจในครัวเรือนคือการดําเนินชีวิต
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

และอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) บานหนองกะขะ ไดใหขอมูลวาการทําหนาที่
ของ อสม. ไดรับมอบหมายใหตรวจวัดไขประชาชนในหมูบาน/ชุมชน การดําเนินงานมีอุปกรณเคร่ืองมือ
เพียงพอ โดยไดรับการสนับสนุนจากโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบล กอนดําเนินการมีการอบรม
ใหความรูแก อสม. ทุกคน การดําเนินการมีปญหาอุปสรรคบางเน่ืองจากบานหนองกะขะเปนชุมชนใหญ
เปนหมูบานที่เปนท่ีอยูอาศัยของคนที่ทํางานอยูในโรงงานอุตสาหกรรม การมีสวนรวมกับกิจกรรมของ
ชมุ ชนนอย การจะเขา ไปวดั ไขห รือตรวจลกู นํา้ ยงุ ลายกไ็ มสามารถดาํ เนินการได

9. ปจ จัยแหง ความสําเร็จในการปฏิบัติงาน
ภายใตว ิสัยทศั นขององคการบริหารสวนจงั หวัดชลบรุ ีทีว่ า
"เ ป น อ ง ค ก ร ห ลั ก ใ น ก า ร ป ร ะ ส า น ค ว า ม ร ว ม มื อ ภ า คี ทุ ก ภ า ค ส ว น สู เ มื อ ง น วั ต ก ร ร ม น า อ ยู

ศูนยก ลางการทองเทย่ี ว กฬี านานาชาติ พัฒนาเศรษฐกจิ สังคมและสิ่งแวดลอมอยางยงั่ ยืน”
1. การมวี สิ ัยทศั นของผูนาํ ประเมนิ สถานการณ และตดั สินใจ
2. ความเขา ใจในบทบาทหนา ท่ี/ มกี ารศึกษาระเบยี บกฎหมาย
3. การบรู ณาการ การทาํ งานทกุ ภาคสวน
4. มงี บประมาณและทีมงานท่เี ขม แข็ง
5. ความเขมแข็งของภาคเอกชนในพนื้ ที่
6. ความเชือ่ มั่นและความรวมมือของประชาชน

145

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

10. บทเรยี นท่ีไดร ับจากการดําเนนิ งาน
1. ใช Model การทาํ งานแบบ H-E-A-R-T Management Cycle โดยใชวิธีการ
x H – Holistic มองปญหาแบบองครวม
x E – Empowerment สรางพลังใหก ับทุกคน เพื่อกอ ใหเกดิ การเปลยี่ นแปลง
x A – Alert , Awareness , AAR (After Action Review) การตื่นตัว ตระหนักรู รับรูใน
สถานการณของเหตุการณ และถอดบทเรยี นหลังปฏิบัติงาน นํามาใชในการวางแผนปฏิบัติงาน
ตางๆ ใหมปี ระสิทธิภาพ
x R – Response ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลง และเผชิญเหตุอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง
ตามระเบยี บและหลักวิชาการ
x T – Team ทํางานเปนทีม มีทีมงานท่ีเขมแข็ง จะสามารถดําเนินงานตามภารกิจใหเกิด
ความสาํ เรจ็ ได
2. การบรู ณาการทํางาน และสง เสรมิ การมีสวนรวมทุกระดับ
2.1 กรณีอุดหนุนใหองคก รปกครองสว นทองถ่นิ เยยี วยา ใหความชวยเหลือประชาชน จะ

ใชหลกั การมีสวนรวม คือ ใหองคกรปกครองสว นทองถิ่นจายครึ่งหน่ึงและองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี
รวมสมทบอีกครึ่งหนึ่ง ทําใหองคการบริหารสวนทองถ่ินท่ีเกี่ยวของรูสึกวาเปนหนาท่ีที่สําคัญที่ตองรวม
ดาํ เนินการ สามารถขยายผลการชวยเหลอื ไดอยา งรวดเรว็ และท่วั ถึง

2.2 การชวยเหลือใหประชาชนสามารถดํารงชีพในชวงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid-19) มีการนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนหลักคิดในการแกไขปญหา
อาทิเชน แจกเมล็ดพันธุผักใหกับประชานในพ้ืนที่ รวมรณรงคปลูกผักสวนครัว เพื่อสรางความม่ันคงทาง
อาหาร รวมกับหนวยงานพัฒนาชุมชน และหนวยงานเกษตร ดําเนินการ รวมทั้งมีการสงเสริมการใชปุย
ชวี ภาพแทนปยุ เคมี สามารถลดรายจายในครัวเรอื นได

3. การมองการไกลของผนู ํา และการวางแผนการทาํ งานเชงิ รุก
จะเห็นไดวาผูนําขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรีและคณะผูบริหารมองการณไกล วาง
แผนการทํางานเชิงรุก จากการเริ่มคิด-วางแผน กอนการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(Covid-19) กับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และหนวยงานที่เก่ียวของ และสนับสนุนเต็มศักยภาพ
ของหนวยงานทจ่ี ะดาํ เนินการได เชน การสนับสนุนงบประมาณใหโ รงพยาบาลในพื้นท่ี ซ้ือวัสดุอุปกรณทาง
การแพทย และปรบั ปรงุ อาคารผปู วยไวลวงหนา รองรับการแพรระบาดของโรคอุบตั ใิ หมในอนาคต
จากบทเรยี นการทาํ งานขององคก ารบริหารสว นจงั หวัดชลบุรี
1. ในเรื่องการใช Model การทํางานแบบ H-E-A-R-T Management Cycle โดยใชวิธีการ
กลาวคือ H – Holistic, E – Empowerment, A – Alert ,Awareness, AAR (After Action Review),
R – Response, T – Team
2. การบรู ณาการทํางาน และสงเสริมการมสี ว นรว มทุกระดบั
3. การมองการณไ กลของผนู ํา และการวางแผนการทาํ งานเชิงรกุ

146

การเรยี นรเู ชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

คณะผูศึกษาเห็นวาเปนบทเรียนที่มีประโยชน และสามารถนํามาปรับใชไดกับการทํางานใน
ทุก ๆ ดาน ดังน้ี

H-E-A-R-T Management Cycle ในการดําเนินการใดๆจะตองมองงานอยางเปนองครวมศึกษา
ครบทุกมิติ ท้ังประโยชนท่ีจะเกิดข้ึน ผลลัพธ ผลกระทบ นอกจากนั้นการสรางทีมงานที่เขมแข็ง บทเรียน
จากองคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี เห็นวาการสรางทีมงานที่เขมแข็งนั้นหมายถึงทีมงานภายในองคกร
และทีมงานที่เปนภาคีเครือขายนอกองคกร ซ่ึงในประเด็นนี้ทุกองคกรสามารถนําไปปรับใชได เพื่อสราง
เครือขายในการทํางาน และการใหขอมูลที่ถูกตองกับผูเกี่ยวของเพ่ือสรางความตระหนักรูเปนส่ิงจําเปนใน
การจะสรางการมีสวนรวม การสรางการตอบสนองอยางรวดเร็วนั้นหากทุกองคกรสามารถดําเนินการได
อยางรวดเรว็ จะทาํ ใหสามารถประเมินผลการดําเนินงานและปรับเปลย่ี นไดอยา งรวดเรว็

ดานการบูรณาการการทํางาน และการสงเสริมการมีสวนรวม จากการดําเนินการดานการปองกัน
ระงบั ยบั ยง้ั การแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จะเห็นวา ถึงแมองคการบริหาร
สวนจังหวัดชลบุรีจะมีศักยภาพดานงบประมาณก็ตาม แตการดําเนินใชหลักการบูรณาการการสรางการมี
สวนรวมจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหง มีการบูรณาการการทํางานรวมกับสวนราชการ องคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน ภาคเอกชน ซ่ึงทําใหการดําเนินงานสําเร็จไดอยางรวดเร็ว ทุกภาคสวนมีสวนรวมลด
ความขดั แยง หรือเหน็ ตาง ซ่ึงทุกองคก รสามารถนําไปปรบั ใชได เพอื่ สรางการมีสวนรว มและลดความขัดแยง

และในดา นการมองการณไกลของผูนํา และการวางแผนการทํางานเชิงรุก เปนปจจัยหน่ึงของการ
มีภาวะผูน ํา การดาํ เนินการงานใดๆก็ตามหากผนู าํ มีวสิ ัยทัศน มีการประเมินสถานการณที่ถูกตองแมนยํา มี
การวางแผนการทํางานในเชิงรุก เปนองคประกอบที่จะทําใหเกิดความสําเร็จได ซ่ึงนักปกครองระดับสูง
สามารถนําไปปรับใชไดในการบริหาร ดังน้ัน จากบทเรียนดังกลาวทุกองคกรสามารถนําไปประยุกตใชได
จรงิ โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในดานภาวะผูนําดานการมองการไกล และการวางกลยุทธเ ชงิ รุกนักปกครองระดับสงู สามารถ
นําไปปรับใชไ ดเ ปนอยางดี

11. ขอเสนอแนะตอการปรบั ปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการการปองกัน และ
ยบั ยั้งการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)

1. ควรกําหนดมาตรการสรางความตระหนักใหแกประชาชนในการใชชีวิตประจําวันในยุค New Normal และ
มาตรการปองกนั การแพรร ะบาดซาํ้ รอบ 2ในชว งการเปดภาคการศกึ ษา (วนั ที่ 1กรกฎาคม2563)

2. ควรจัดหาวสั ดคุ รภุ ณั ฑ เตรียมความพรอมรองรับในระยะยาว
3. เรง ใหค วามรเู กี่ยวกบั แผนปฏบิ ัติการปองกนั โรคติดตอ อุบตั ิใหม
4. เตรยี มการจัดทําแผนการสนบั สนนุ งบประมาณเพ่อื แกไขปอ งกนั /เยยี วยาปญหาของโรคติดตออุบัติใหม
5. สรางเครือขาย/ พัฒนาระบบสารสนเทศ ในการติดตาม/เฝาระวัง โรคติดตออุบัติใหมกับ
หนว ยงานที่ใหบ รกิ ารทางการแพทย/ วทิ ยาลยั แพทยใ นพนื้ ท่ี
6. จัดทาํ ฐานขอมลู ประชากรผูมีสิทธิ์ไดร บั การเยียวยาตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการ
ชวยเหลอื ประชาชนท่ีไดรับความเดือดรอน พ.ศ.2562 เพื่อใหเกิดความรวดเร็วในการรองรับการใหความ
ชว ยเหลอื ในอนาคต

147

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ภาคผนวก

ภาพการดาํ เนนิ กจิ กรรมปองกนั ระงับยับยง้ั การแพรร ะบาดของ
โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) ขององคก ารบริหารสวนจงั หวัดชลบรุ ี
โครงการฝกอบรมการตดั เย็บหนากากอนามัยสรา งความปลอดภัยใหกับประชาชน และโครงการปลกู
ผกั สวนครัว สรา งความม่ันคงทางอาหาร” โดย นายวทิ ยา คณุ ปลม้ื นายกองคบ ริหารสวนจังหวัดชลบุรี
มอบพนั ธุผกั ชนิดตางใหแกสํานักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั ชลบุรี

อบจ.ชลบรุ ี จัดมาตรการเขม สูวกิ ฤตของโรคตดิ เชือ้ ไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19) ใชชวงเคอรฟ ว หลงั
4 ทมุ ลุยพน ยาฆาเชื้อดวยน้ํายาจากสารสกดั ธรรมชาติ เปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอ มและสิ่งมชี วี ิต

นายวิทยา คุณปล้ืม นายกองคการบรหิ ารสว นจงั หวัดชลบุรี พรอ มคณะสมาชิกสภาองคการบริการสว นจังหวดั ชลบุรี
เขตอําเภอเมือง ไดมอบชุด PPE และ MASK ใหแกโรงพยาบาลมหาวทิ ยาลยั บูรพา และโรงพยาบาลชลบรุ ี เพอ่ื
ปอ งกันของโรคตดิ เช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (Covid-19)

148


Click to View FlipBook Version