The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ประมวลผลการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ (Action Learning) เรื่อง การประเมินประสิทธิภาพของการบริหารจัดการการป้องกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับตำบลหมู่บ้าน ระดับกลุ่มอำเภอ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี (ปี 2563)

โครงการอบรมหลักสูตรนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 74 ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: ด้านทั่วไป

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ที่ 74

นายวิทยา คุณปล้ืม นายก อบจ.ชลบุรี นําทีมผูบริหารฯ ลงพื้นท่ีตรวจเยี่ยมการมอบเงินเยียวยา 1,000 บาท
เพื่อชวยเหลือประชาชนที่ไดรับผลกระทบกรณีสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (Covid-19) ในจังหวดั ชลบุรี ณ เทศบาลตาํ บลหนองปรือ ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอบางละมงุ
จังหวัดชลบรุ ี

ภาพกจิ กรรมการลงพน้ื ทกี่ ารเรียนรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
ระหวา งวนั ที่ 18 – 22 มถิ ุนายน 2563

นายวิทยา คณุ ปลื้ม นายกองคบรหิ ารสวนจังหวดั ชลบุรี บรรยายสรุปผลการดําเนนิ งานปองกนั ระงับ ยับย้ัง
การแพรบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ในบริบทขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี ใหแกนักศึกษา
หลักสตู รนกั ปกครองระดบั สงู รุนที่ 74 (กป.4) ณ หอ งประชมุ ราชพฤกษ อบจ.ชลบุรี

สมั ภาษณผูม ีสว นเก่ียวขอ งกับผลการดาํ เนนิ งานปองกัน ระงบั ยับย้งั การแพรบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ใน
บริบทขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี ไดแก สมาชิกสภาจังหวัดเขตพื้นท่ีอําเภอศรีราชา เจาหนาที่
ผูรับผิดชอบของเทศบาลตําบลหวยกะป อ.เมืองชลบุรี ผูนําหมูบาน และอสม. ต.หนองกะขะ อ.พานทอง
ผูไดการชวยเหลือเยียวยาครัวเรอื นละ 1,000 บาท ในพน้ื ทอ่ี ําเภอเมืองชลบรุ ี

149

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

การประเมินประสทิ ธิภาพของการบริหารจัดการปอ งกัน
ระงบั ยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควดิ -19
ของเมืองพทั ยา

150

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

รายงานการเรียนรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning)
การประเมินประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการปองกันและระงับยับยง้ั การระบาด

ของโรคไวรัสโควดิ -19 ของเมอื งพทั ยา จงั หวดั ชลบรุ ี

จดั ทาํ โดย

กลมุ ปฏบิ ัติการท่ี 7 (กป.7)

1. นางสมศรี หอกันยา ผอู ํานวยการศูนยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร

สาํ นักงานปลัดกระทรวงดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม

2. นายภูธนะ ชมภูมงิ่ หัวหนา สาํ นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

3. นายศิวัช ฟูบนิ ทร นายอาํ เภอหลม สกั จังหวดั เพชรบรู ณ

4. นายอนิรุทร บัวออน นายอาํ เภอธารโต จังหวดั ยะลา

5. นายจรูญ สรอยจติ นายอําเภอปางมะผา จงั หวัดแมฮ อ งสอน

6. นายเทพรตั น ตันตยานนท นายอําเภอดอนตาล จังหวดั มุกดาหาร

7. ร.ต.อ. ตนพุ ล พนั ธสวัสด์ิ หัวหนาสาํ นักงานปองกนั และบรรเทาสาธารภัย

จังหวดั มหาสารคาม

8. นายกเู กียรติ น่ิมเนียม ทอ งถิ่นจงั หวดั สงิ หบุรี

9. นายพิศทุ ธิ์ สขุ มุ วิศวกรโยธาเช่ียวชาญ สาํ นกั สนบั สนุนและพฒั นาตามผงั เมอื ง

10. นายสทุ ธศิ ักด์ิ พรหมบุตร พาณิชยจงั หวัดสรุ ินทร

รายงานนี้เปนสวนหนงึ่ ของการศึกษาอบรมหลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี ๗๔
สถาบันดํารงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย
พุทธศกั ราช 2563

151

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ที่ 74

คํานํา

รายงานการเรียนรูจากการศึกษาดูงานที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี เปนสวนหนึ่งของหลักสูตร
นักปกครองระดับสูง รุนท่ี ๗๔ สถาบันดํารงราชานุภาพ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนําบทเรียน ประสบการณ
จากการศกึ ษาดูงานในพนื้ ทีจ่ ริง เพอ่ื นาํ ไปใชในการบรหิ ารราชการ และสรางมลู คา เพิ่มประสบการณในการ
บริหารราชการ ทําใหผูเขาอบรมสามารถนําไปประยกุ ตใ ชใ นการบริหารไดกวา งขวางมากขน้ึ

จากการที่กลุมปฏิบัติการท่ี 7 (กป.๗) ไดไปศึกษาดูงานท่ีเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ระหวางวันที่
๑๘ – ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ ไดมีโอกาสไปศึกษาดูงานหัวขอเร่ือง “การประเมินประสิทธิภาพของการ
บริหารจดั การปองกนั และระงับยับย้ังการระบาดของโรคไวรสั โควิดของเมอื งพัทยา” ในกระบวนการบริหาร
จดั การและมาตรการในการปองกันและยับย้ังการระบาดของโรคติดตอไวรัสโควิดท่ีกําหนดโดยศูนยบริหาร
สถานการณโ ควดิ -19 (ศบค.) และแนวทางปฏิบัตทิ ี่กระทรวงมหาดไทยสั่งการมคี วามชัดเจนและยึดหยุน ใน
การชี้นาํ และกํากบั การปฏิบตั งิ านหนวยงานภาครฐั และความรว มมอื ภาคเอกชนและภาคประชาชน ในการ
ปองกันและระงับยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควิด การศึกษาดูงานคร้ังน้ีเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูและ
ประสบการณตรงจากสถานทีจ่ รงิ จงึ ไดจดั เปน รายงานโดยมีขอ เสนอแนะบางสวนเพ่ิมเติมในเอกสารายงาน
ฉบับน้ี เพ่ือเพิ่มมุมมองและพัฒนาเมืองใหเปนเมืองที่มีความพรอมในการปองกันและแกไขปญหา ท้ังดาน
บรหิ ารจดั การ เทคโนโลยี และบุคลากร ไดอยางรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้

ในทายท่ีสุดกลุมปฏิบัติการที่ 7 (กป.๗) ขอขอบพระคุณทานผูวาราชการจังหวัด ทานรองผูวา
ราชการจังหวัด ทานปลัดเมืองพัทยา ทานรองปลัดเมืองพัทยา สถานีตํารวจภูธรเมืองพัทยา ผูอํานวยการ
โรงพยาบาล หวั หนา กรมควบคมุ โรคติดตอ ผปู ระกอบการ และผนู าํ ชมุ ชนทกุ ทา นในเมืองพัทยา ที่กรุณาให
ขอมลู และใหค วามรวมมอื ในการเรียนรูจ ากการศกึ ษาดูงาน ใหสาํ เร็จลลุ ว งดว ยดเี ปนอยา งยง่ิ

คณะผูจดั ทํา
นกั ศกึ ษาหลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สูง รนุ ท่ี 74

กลุมปฏบิ ตั กิ ารที่ 7 (กป.7)

152

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ที่ 74

กรอบการเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ัตกิ าร (Action Learning)
การประเมนิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การปอ งกันและระงบั ยับยง้ั การระบาด

ของโรคไวรสั โควดิ -19 ของเมืองพทั ยา จังหวดั ชลบรุ ี

1. ความเปน มา
1.1 ประวัติความเปนมาและสถานการณทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองของเมือง

พัทยา
“เมืองพทั ยา” แตเดมิ น้นั เปน เพยี งหมูบา นชาวประมง ท่ีต้ังอยูในเขต ตําบลนาเกลือ อําเภอ

บางละมุง จังหวัดชลบุรี อยูหางจากตัวเมืองชลบุรีประมาณ 30 กิโลเมตร มีลักษณะทางกายภาพแนวหาด
พัทยาทอดตัวยาวขาวนวล อยูในวงลอมของโคงอาวคร่ึงวงกลม ตลอดแนวยาว 3 กิโลเมตร รวมกับนาจอม
เทียนอีก 3 กิโลเมตร ตอมาในป 2499 ทางราชการไดจัดตั้งเปนสุขาภิบาลนาเกลือขึ้น กระทั่งตอมาในป
2507 จึงไดม ีการขยายอาณาเขต สุขาภบิ าล จากตําบลนาเกลือไปจนถึงเขตพัทยาใต มีพ้ืนที่ในการปกครอง
ประมาณ 22.2 ตารางกโิ ลเมตร ภายหลังสขุ าภบิ าลนาเกลอื เติบโตขึน้ อยางรวดเร็ว ทง้ั ในเรอ่ื งของโครงสราง
ของเมอื ง อตั ราการเพิ่มของประชากร การเคล่ือนยายถิน่ ฐานและแรงงาน จํานวนนักทองเท่ียวท่ีเพ่ิมข้ึน และ
องคป ระกอบในดา นอ่ืน ๆ สงผลใหการปกครองในรูปแบบสุขาภิบาล ไมสามารถบริหารงานและแกไขปญหา
ของเมืองไดทันทวงที ประกอบกับรัฐบาลในขณะน้ันไดเล็งเห็นความสําคัญของ “เมืองพัทยา” ตลอดจน
เล็งเหน็ ถงึ ความสําคัญดานกิจกรรมการสงเสรมิ การทองเท่ียว ไดเสนอใหนําการปกครองรูปแบบพิเศษมาใชที่
เมืองพทั ยา

สภาพเศรษฐกิจ นั้น เมืองพัทยาเปนเมืองทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมทั้งนักทองเที่ยวชาว
ไทยและตา งประเทศ และเปน เมอื งทไ่ี ดรับการพัฒนาใหเ ปนแหลงทองเที่ยวหลักของภาคตะวันออก กิจกรรม
ทางเศรษฐกจิ สวนใหญจึงเปน กิจกรรมตางๆท่ีเก่ียวของกับการทองเที่ยวและบริการ โดยประชากรสวนใหญ
รอยละ ๙๐ ประกอบอาชีพดาน การคาและการบริการนักทองเที่ยวในรูปแบบตางๆ นอกน้ันประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การประมง และการคาขาย จากขอมูล จปฐ. ของกรมพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย พบวา ในป พ.ศ.๒๕๕๓ ประชาชนมีรายไดเฉลี่ยประมาณ ๑๘๑,๘๔๐ บาท/คน/ป โดยมี
รายละเอยี ด ดังนี้

1.1 ดา นอุตสาหกรรม
อตุ สาหกรรมการทองเท่ียวเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สําคัญท่ีสุดของเมืองพัทยา ปจจุบัน
มีการจางแรงงานในภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยวมากกวารอยละ ๙๐ ของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม
โดยกิจกรรม ตาง ๆ เชน โรงแรม รีสอรท บังกะโล ไนทคลับ สถานบันเทิง รานอาหาร เปนตน มีโรงงาน
อตุ สาหกรรมรอยละ ๓ เชน โรงงานทําคอนกรีต อฐิ บลอ็ ก แผนพน้ื คอนกรตี วงกบประตูหนาตาง โรงงานแปง
มนั สาํ ปะหลงั โรงงานอดั มนั เสน เปน ตน

153

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ท่ี 74

1.๒. การเกษตรกรรม
พ้ืนที่เกษตรกรรมของเมืองพัทยาอยูในบริเวณตําบลหวยใหญ และตําบลหนองปลาไหล
โดยมกี าร ปลกู มนั สาํ ปะหลัง สับปะรดและมะพราว เปนตน ประชากรประกอบอาชีพดานน้ีประมาณรอยละ
๓ เพราะปจ จบุ นั ทด่ี นิ มรี าคาสงู ทําใหก ารลงทนุ การเกษตรนอย
1.๓. การพาณชิ ยกรรมและการบรกิ าร
มีการประกอบการดานพาณิชยกรรม เชน การทําธุรกิจ การคาปลีก ธุรกิจนําเขา สงออก
และการใหบ ริการแกน กั ทองเทีย่ ว ประเภทขายหรือเชาอุปกรณในการอํานวยความสะดวก และความบันเทิง
แก นักทองเท่ียว เชน การใหเ ชา รถจกั รยานยนต, เรอื เจท็ สก,ี เรือนําเทย่ี ว, เรอื ลากรม, เรือลากกลวย

1.2 สภาพปญ หาของการระบาดในพืน้ ทีเ่ มืองพทั ยา
สภาพปญหาการแพรระบาดของเช้ือ COVID-19 ในเขตพ้ืนท่ีเมืองพัทยา สามารถแบงไดเปน

4 ระดับ ดังน้ี
ระดับโรงพยาบาลเมืองพัทยา ผตู ดิ เชื้อต้ังแต 31 มี.ค. 2563 – 12 เม.ย. 2563 จาํ นวน 5 ราย
ระดบั พนื้ ที่เมืองพัทยา ผูติดเชอ้ื คงท่ี 32 เคส ตั้งแต 20 เมษายน 2563
ระดับอาํ เภอบางละมงุ ผูติดเชื้อคงท่ี 41 เคส ตง้ั แต 20 เมษายน 2563
ระดบั จงั หวดั ผตู ดิ เช้ือคงที่ 87 เคส ตัง้ แต 24 เมษายน 2563 เคสสดุ ทา ย อําเภอพานทอง

1.3 รูปแบบการแกป ญหาในพ้นื ท่ีเมอื งพทั ยา

ในการแกปญหาสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ COVID-19 ในเขตพ้ืนที่ของเมืองพัทยา
นั้น เมืองพัทยาไดกําหนดมาตรการ ในการชวยเหลือประชาชนในพื้นที่เมืองพัทยา โดยแบงหนาท่ีความ
รบั ผิดชอบ ออกเปน 4 สวน ดังน้ี

1.3.1 มาตรการคัดกรองประชาชนท่เี ดินทางเขามาในพื้นท่เี มืองพทั ยา
เมืองพัทยา ไดมอบหมายให สํานักปลัดเมืองพัทยาเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก ในการ
คัดกรองประชาชนที่จะเดินทางเขามาในพื้นที่เมืองพัทยา โดยบูรณาการรวมกันระหวางสวนราชการ
ภาคเอกชน และประชาชนจิตอาสา ตงั้ ดา นคดั กรองจาํ นวน 8 จดุ เพื่อคัดกรองผูท่ีจะเขามาในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา
โดย วดั อณุ หภูมขิ องรา งกาย ไมเ กิน 37 องศาเซลเซยี ส และประชาชนท่ีมีภมู ิลาํ เนาอยใู นพืน้ ท่ีอาํ เภอบางละมุง
จะตองแสดงบัตรประชาชนใหเจาหนาที่ตรวจกอนเขาพื้นท่ี สวนกรณีประชาชนท่ีไมไดมีภูมิลําเนาในอําเภอ
บางละมุง เน่ืองจากมาทํางาน หรือมีกิจธุระจะตองมีใบรับรองจากผูประกอบการ เจาของธุรกิจ หรือนายจาง
รบั รองวา ไดปฏบิ ัตงิ านอยใู นพน้ื ที่ อําเภอบางละมงุ
1.3.2 มาตรการใหความชวยเหลือประชาชนท่ไี ดรบั ความเดือดรอน

เมืองพัทยา ไดมอบหมายให สํานักพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก
ในการใหความชวยเหลอื ประชาชน โดยขนั้ แรกไดมีการแจกขาวกลองและขาวสารอาหารแหง ใหแกประชาชน
ที่ไดรบั ผลกระทบจากสถานการณ COVID-19 โดยรวมมือกับมูลนิธิตางๆในพื้น อําเภอบางละมุง และมีการจัด

154

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

อบรมการทําหนากากอนามยั และแอลกอฮอลเจลใหก บั ชมุ ชนตางๆในพ้ืนที่เมอื งพัทยา จัดโครงการลงทะเบียน
ประชาชนในพืน้ ท่เี มืองพัทยา โดยจา ยเงินเยียวยาใหแกผูไ ดรบั ผลกระทบจากสถานการณ COVID-19 ครัวเรือน
ละ 1,000 บาท สรางการจา งงานใหแกประชาชนในพื้นท่ีเมืองพัทยา โดยการจางเหมาชุมชนทําความสะอาด
ในพนื้ ท่ีเมอื งพทั ยา

1.3.3 มาตรการควบคุมปอ งกันการแพรร ะบาดของเชอ้ื ไวรัส COVID-19

เมืองพทั ยา ไดม อบหมายให สาํ นกั การสาธารณสขุ เปนหนวยงานรบั ผดิ ชอบหลัก ในการปองกัน
ควบคมุ โรค จดั ทํากระบวนการดําเนินงานควบคมุ ปองกันโรค เชน การวัดไข การกักตัวผูท่ีเดินทางมาจากพื้นที่
เส่ียง 14 วัน และการจัดกิจกรรม BigCleaning Day ทําความสะอาดพื้นท่ีเมืองพัทยา จัดกําลังเจาหนาท่ีลง
สอบสวนผูทีม่ คี วามเสีย่ ง และอบรมใหค วามรแู กผ ปู ระกอบกิจการในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา

1.3.4 มาตรการคัดแยก และรกั ษาผปู วยทต่ี ดิ เชอ้ื ไวรสั COVID-19

เมืองพัทยา ไดมอบหมายให โรงพยาบาล วางแผนเชงิ รับ แผนการคัดกรอง การปรับอาคาร
สถานที่ และจดั ทมี คน หาผูส ัมผัสเชิงรกุ ขอสนับสนนุ ทรพั ยากรท่ีจําเปนเรง ดวน เชน ตูคอนเทนเนอรดัดแปลง
เพื่อใชเปนหองพักผูปวย หรือผูที่สงสัย (PUI) และปรับปรุงหอผูปวย COVID-19 จํานวน 12 หอง ดัดแปลง
จากหอผูปวยพิเศษอยางเรงดวน ของบประมาณจัดหาอุปกรณการแพทยที่ขาดแคลน เชนหนากาก N95
องคกรแพทย และเจาหนาที่ ปรับรูปแบบการใหบริการ วางแผนคัดกรอง และจัดใหบริการคลินิก ARI
(Acute respiratory infection) หรอื คลนิ กิ ไขหวดั ตงั้ แต 18 มีนาคม 2563

1.4 ความคาดหวงั ของประชาชนและผปู ฏบิ ตั ิงาน

1.4.1 ความคาดหวังของประชาชนในพื้นท่ีเมืองพัทยา ตอมาตรการของหนวยงาน
ภาครฐั สถานการณการแพรร ะบาดของเชือ้ ไวรสั COVID -19

จากการลงพ้ืนที่สอบถามประชาชนในพ้ืนที่เมืองพัทยา ทําใหทราบวา เศรษฐกิจหลักของ
เมืองพัทยานั้น มาจากภาคการทองเที่ยวโดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวตางชาติท่ีเดินทางมาทองเที่ยวและพัก
อาศัยอยูในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา รวมถึงการประกอบธุรกิจของชาวตางชาติ ดังนั้น ธุรกิจหลักของผูประกอบ
กิจการในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา จึงเปนธุรกิจท่ีรองรับการใหบริการแกนักทองเท่ียวและอํานวยความสะดวกใหแก
นักทองเที่ยวเปนหลัก เชน ที่พัก โรงแรม สปา ธุรกิจเพื่อการทองเที่ยวและสถานบันเทิง การรักษาพยาบาล
เปนตน และจากการสํารวจของเมืองพัทยาเมื่อป 256๐ พบวามีนักทองเที่ยวชาวตางชาติ เดินทางเขามา
ทองเที่ยวในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา เปนจํานวน ๑๓,๒๗๕,๔๒๖ คน สวนใหญเปนนักทองเที่ยวชาวจีน และรัสเซีย
เม่ือเกิดสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศไทย ผูประกอบธุรกิจตางๆในพื้นท่ี
เมืองพัทยา จึงไดรับผลกระทบโดยตรง เน่ืองจากนักทองเท่ียวซ่ึงเปนกลุมกลไกหลักในการขับเคล่ือน
เศรษฐกิจหายไปจากพ้ืนท่ี ผูประกอบธุรกิจจึงไมสามารถดําเนินธุรกิจตอไปได จึงตองหยุดประกอบกิจการ
ชัว่ คราว หรือถึงขั้นเลกิ กิจการเน่อื งจากไมมีรายได สงผลกระทบโดยตรงตอประชาชนท่ีเขามาประกอบอาชีพ
รับจาง ทาํ ใหข าดรายไดถ ูกพักงาน ถกู เลกิ จางอยางกะทันหัน และทําใหระบบเศรษฐกิจหยุดชะงัก และถึงแม

155

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

สถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ในปจจุบัน จะไมพบผูติดเชื้อภายในประเทศแลวก็ตาม
แตเ นือ่ งจากนกั ทองเที่ยวชาวตางชาติ ยงั ไมสามารถเดินทางเขามาในประเทศไทยได ทําใหการฟนตัวของภาค
ธุรกิจและเศรษฐกิจของเมืองพทั ยา ยงั ไมส ามารถฟนตัวไดทนั ที

ดังนัน้ สิ่งที่ประชาชนในพ้ืนที่เมืองพัทยาคาดหวังจากภาครัฐ จึงหนีไมพนมาตรการฟนฟูภาค
ธุรกิจในพื้นที่เมืองพัทยา ในดานการสงเสริมการทองเที่ยวของคนในประเทศ เชน การรณรงคใหคนไทย
ออกมาเท่ียวในประเทศผา นมาตรการตางๆของรฐั มาตรการทางภาษี ควบคูไปกบั มาตรการควบคุมโรคติดตอ
ทชี่ ัดเจนภายหลังจากที่สถานการณก ารแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในประเทศไทยคลคี่ ลาย

1.4.2 ความคาดหวังของผูปฏิบัติงานตอสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส
COVID-19

จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 น้ัน เมืองพัทยาในฐานะองคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน ท่ีปฏิบัติงานใกลชิดกับประชาชนโดยตรง และมีอํานาจหนาท่ีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
อนามัยของประชาชนในพ้ืนที่เมืองพัทยา เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานทุกคน อยากทําหนาที่ในการดูแลประชาชน
ใหดแี ละมีประสทิ ธภิ าพ มกี ารจดั เตรยี มความพรอ มในการปอ งกนั และรกั ษาผูปวย การสนับสนุนอุปกรณดาน
ความปลอดภยั และการจัดสรรพน้ื ที่ทํางานตามหลักการควบคมุ ปองกันการติดเช้ือ

2. เปาหมายหรือผลลพั ธท ี่ตอ งการ

2.1 ราษฎรในพ้ืนที่ปลอดโรค

คือกลุมของประชาชนในพ้ืนที่ ที่ไมไดเดินทางออกนอกพื้นท่ี หรือไมเดินทางไปในพ้ืนท่ีเส่ียงท่ีมีการ
แพรระบาดของของเชื้อไวรัส COVID-19 หรือไมเดินทางกลับมาจากตางประเทศท่ีมีการแพรระบาดของ
เชื้อไวรัส COVID-19 เมืองพัทยาไดมีมาตรการปองกัน ไมใหเกิดการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่สาธารณะ หรือบริเวณท่ีมีประชาชนใชรวมตัวกันเปนจํานวนมาก เชน
หางสรรพสินคา ตลาด โดยมเี ปา หมายเพ่ือปองกันไมใหเกิดการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ในพ้ืนท่ี
เมืองพัทยา การคัดกรองและแยกผปู ว ยท่มี ไี ข ออกจากผูปวยทเี่ ขามารกั ษาดวยอาการอนื่ ออกจากกัน

ซงึ่ ผลลัพธทไ่ี ด คือเมืองพทั ยาน้ัน ไมมีการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ในพื้นที่และสามารถ
ควบคุมไมใหเ กดิ การแพรร ะบาดของเชอ้ื ไวรัส COVID-19 ไดเ ปนอยา งดี

2.2 ผทู ก่ี ลบั มาจากพื้นทีท่ ่ีโรคระบาดทกุ คนตอ งกกั ตัว 14 วนั

คือกลมุ ของประชาชนในพื้นทีแ่ ละตางพน้ื ท่ี ทีไ่ มไ ดเดนิ ทางเขามาในพน้ื ทีเ่ มืองพัทยา หรือเดินทางมา
จากในพื้นที่เส่ียงที่มีการแพรระบาดของของเชื้อไวรัส COVID-19 หรือเดินทางกลับมาจากตางประเทศท่ีมี
การแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 เมืองพัทยามีมาตรการกักตัว ผูท่ีเดินทางมาจากพื้นท่ีเสี่ยงโดยแบง
ไดดังน้ี หากผูที่เดินทางมาจากพ้ืนท่ีเส่ียง มีท่ีพักอาศัยหรือมีภูมิลําเนาอยูในพ้ืนท่ีเมืองพัทยาก็จะขอความ
รวมมือในการกักตัวเองอยูในท่ีพักอาศัย 14 วัน โดยมีการสงเจาหนาท่ีของเมืองพัทยา อสม.ลงพื้นท่ีเพื่อ

156

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

ติดตามอาการเปนประจําทุกวัน จนครบ 14 วัน กรณีที่ไมมีที่พักอาศัยหรือมีภูมิลําเนาในพื้นท่ีเมืองพัทยา
เมืองพัทยาไดจัดโรงพยาบาลสนาม โดยใชสถานที่ของโรงแรมภาคเอกชนเปนที่พักกักตัวผูที่เดินทางมาจาก
พืน้ ที่เสยี่ ง โดยมีบคุ คลกรทางการแพทย ดูแลอยางใกลชิด

ซ่ึงผลลัพธที่ได คอื พบผตู ดิ เช้ือในพน้ื ที่เมอื งพัทยา จาํ นวน 30 ราย และสามารถรกั ษาใหหายขาดได
โดยไมมีผูเ สยี ชีวิตจากเชอ้ื ไวรัส COVID-19

3.แนวทางการดาํ เนินงาน

3.1 แนวทาง กลไก กระบวนการและการบริหารจัดการตามคําส่ังศูนยบริหารสถานการณ
โควดิ -19 และขอส่งั การของกระทรวงมหาดไทย

ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี ในฐานะประธานคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด
ชลบุรี และเปนผูกํากับการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉินในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี ไดมีการออกคําสั่ง
คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี ท่ี 1/2563 – คําส่ังที่ 26/2653 โดยอาศัยอํานาจตามความใน
มาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 และเมืองพัทยา ไดกําหนดมาตรการใหสอดคลอง
และเปน ไปตามประกาศคณะกรรมการโรคตดิ ตอ จังหวดั ชลบรุ ี ดงั น้ี

๑๘ ม.ี ค.๖๓ ปดกจิ การนวด/สปา, โรงภาพยนตร, สนามมวย, ฟต เนส
๒๓ ม.ี ค.๖๓ ปด สวนนํา้ , สวนสนกุ , ชายหาดและชายทะเล
๔ เม.ย. ๖๓ เคอรฟ ว
๙ เม.ย.๖๓ ปดทางเขา/ออกพรอมตง้ั จุดคัดกรองเขา เมืองพัทยา
๓ พ.ค. - 25 มิ.ย. ๖๓ ผอ นปรน ระยะท่ี ๑-๔
3.1.1 กระบวนการบริหารจัดการ และมาตรการในการปองกันยับยั้งการระบาดของโรคติดตอ
COVID-19 ของศูนยบริหารสถานการณโควิด (ศบค.) และแนวทางปฏิบัติท่ีกระทรวงมหาดไทยส่ังการมี
ความชัดเจนและยืดหยุนเพียงใด และนายกเมืองพัทยาและบุคลากรท่ีมีหนาที่รับผิดชอบสนับสนุนการ
ปอ งกนั โรคติดตอ จะสามารถประยุกตปฏบิ ัติในชุมชนเมืองพทั ยาท่ีมีบริบท ภูมิทางสังคม แตกตางกันไดดี
เพียงใด
จากมาตรการที่ศึกษาขอมูลการปฏิบัติงานของเมืองพัทยา ในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อ
ไวรัส COVID-19 ภายใตคําส่ังศูนยบริหารสถานการณโควิด (ศบค.) และแนวทางปฏิบัติที่กระทรวงมหาดไทย
พบวา การกาํ หนดมาตรการตางๆของศูนยบริหารสถานการณโควิด นั้นเปนการกําหนดในภาพรวมท้ังประเทศ
ทสี่ วนราชการทีม่ ีหนา ที่รบั ผิดชอบจะตองปฏิบัตติ ามแนวทางทศี่ นู ยบริหารสถานการณโควิด และขอสั่งการของ
กระทรวงมหาดไทยทีใ่ หผวู า ราชการจังหวัดกําหนดมาตรการตางๆ ในจังหวัดใหสอดคลองกับสภาพและบริบท
ของพ้ืนท่ี โดยคํานึงถึงความรุนแรงของการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ในพ้ืนท่ีเปนสําคัญ ซ่ึงในสวน
ของเมืองพัทยาน้ัน ในฐานะที่เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ ภายใตการกํากับดูแลของ
ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี เมื่อกระทรวงมหาดไทยกําหนดแนวปฏิบัติ หรือจังหวัดกําหนดมาตรการใด ๆ

157

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนที่ 74

ออกมาก็ตาม นายกเมืองพัทยาซ่ึงมีหนาท่ีจะตองปฏิบัติตาม เนื่องจากเจาพนักงานทองถ่ินไมไดเปนเจา
พนักงานตามพระราชบัญญัติควบคุมโรคติดตอ พ.ศ.2558 จึงตองบูรณาการรวมกับสวนราชการระดับอําเภอ
ในการใหการสนับสนุนเร่ืองงบประมาณ กําลังพล และบุคลากรทางการแพทยของเมืองพัทยาในการปฏิบัติ
หนา ท่ี จงึ ทาํ ใหไมเกดิ ความคลอ งตวั ในการปฏิบตั งิ านในพนื้ ที่

ในสวนของบุคคลกรของเมืองพัทยาที่เกี่ยวของกับการปองกันโรคติดตอ จะแตกตางจากองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นอ่ืน เนื่องจากมีความพรอมทางการแพทยมากกวา มีระบบสาธารณาสุขท่ีดี มี
งบประมาณในการดาํ เนินงาน ตลอดจนบุคลากรมีความรคู วามเขาใจในการปองกนั โรคติดตอเปนอยางดี ทั้งน้ี
ควรสนับสนุนมีการจัดการอบรมเพิ่มความรู ดานการปองกันโรคติดตอใหทันสมัยอยูเสมอ และอบรมการนํา
เทคโนโลยมี าประยุคใชใ นการปฏิบัติงานใหมากขึ้น

3.2 การประยุกตใ หเ หมาะสมกับบรบิ ทและความตอ งการของประชาชนในพื้นท่ี

การควบคุมและปองกันโรคติดตอ ในภาพรวมของเมืองพัทยาซ่ึงมีความแตกตางจากทองถ่ินอ่ืน
เน่อื งจากมปี ระชากรแฝงท้ังชาวไทย และชาวตางชาติอาศัยอยูในพ้ืนท่ีเปนจํานวนมาก การดําเนินการตาง ๆ
จึงตอ งปรบั ใหเ หมาะสม กบั ข้นั ตอนรปู แบบวิธีการดําเนินการในการคัดแยกผูติดเช้ือ การรักษาพยาบาล การ
ใหความรูและการประชาสัมพันธการปองกันและควบคุมโรคจากการประเมินจํานวนผูติดเชื้อ จะเห็นไดวา
มาตรการในการปองกัน การติดเชื้อของเมืองพัทยาน้ัน มีขั้นตอน ไดแบบแผน ในการคัดกรองผูปวยการคัด
แยกผูปวย และการรักษาพยาบาลที่ไดผลเปนอยางดีจากสถิติ ของผูปวยติดเชื้อไวรัส COVID-19 ในเมือง
พัทยา จํานวน 30 ราย ไมมีการแพรเชื้อใหกับบุคลากรทางการแพทย หรือผูปวยท่ีเขารับการรักษาอื่นใน
โรงพยาบาลเมืองพัทยา มีการประยุกตใชอุปกรณอื่น แทน อุปกรณทางการแพทย ท่ีขาดแคลน ไมวาจะเปน
ชุดปองกันเช้ือหนากากอนามัย ฉากกั้น ระยะหาง ของผูที่มาติดตอ ในโรงพยาบาลและสถานที่ราชการของ
เมืองพัทยา การรณรงคร กั ษาความสะอาด การสวมหนา กากอนามยั ในท่สี าธารณะ มาตรการคัดกรองผูท่ีเดิน
ทางเขามาในพ้ืนท่ี เมืองพัทยา การวัดไขของประชาชนท่ีเดินทางเขาออกเมืองพัทยา ตลอดจนการจัดที่พัก
เพอ่ื คดั แยกผปู ว ยท่ีเสยี่ งตอ การติดเช้ือไวรสั COVID-19

4. ผลการดําเนนิ งาน (ตงั้ แตเ ดือน มีนาคม จนถงึ เวลาท่ที ําการศึกษา)
จากการศึกษากลุมเปาหมาย ผูประกอบธุรกิจในพื้นที่เมืองพัทยา ตามมาตรการที่กระทรวง

สาธารณสุขกําหนดเพื่อควบคุมและปองกันโรคติดตอ ไดแก โรงแรม รานอาหาร รานตัดผมและสถาน
เสริมความงาม ตลาด หา งสรรพสินคาฯ และชายหาด สามารถแบงมาตรการและการดาํ เนินการไดดงั นี้

4.1 รานอาหาร สถานเสรมิ ความงาม
จากมาตรการของภาครัฐ โดยคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรี ไดมีคําสั่งคณะกรรมการ
โรคติดตอ เพ่ือปองกนั การแพรร ะบาดของเชอ้ื เช้อื ไวรสั COVID-19 ดงั นี้

4.1.1 คําส่ังคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีที่ 1/2563 ปดสถานประกอบการทุก
แหงต้ังแตวันท่ี 18 - 31 มีนาคม 2563 เพ่ือปองกันไมใหประชาชนชุมนุมกันในพื้นท่ีท่ีมีสภาพปดไมมีการ

158

การเรยี นรูเชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ถายเทของอากาศ หรอื มกี ารสมั ผสั กันในการใชบรกิ าร เชน กจิ การสปา/นวดเพื่อสุขภาพตางๆ โรงภาพยนตร
สนามมวย และฟต เนส

4.1.2 คําสั่งคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีท่ี 2/2563 และ 3/2563 ปดสวน
สนุก สวนนํ้าและงดใชพ้ืนท่ีชายหาดและชายทะเล ปดหางสรรพสินคา ปดสวนสาธารณะ เพ่ือปองกัน
ประชาชนรวมตัวกนั เพอ่ื ทํากจิ กรรมทเ่ี ส่ียตอการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19

4.1.3 คําส่ังคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดชลบุรีท่ี 9 /2563 ใหปดสถานประกอบการ
โรงแรมและสถานีบริการนํ้ามัน ต้ังแตเวลา 22.00 - 05.00 น. ใหสอดคลองกับการประกาศสถานการณ
เคอรฟ วทร่ี ัฐบาลประกาศกาํ หนด

4.2 การต้ังจุดคัดกรอง ผทู ่ีเดนิ ทางเขามาในพื้นทเ่ี มอื งพัทยา
การต้ังจุดคัดกรองของเมืองพัทยา น้ัน ในชวงแรกประสบปญหาเนื่องจากประชาชนทั้งในพ้ืนที่และ
ตา งพน้ื ที่ ไมไดรบั ทราบขอมลู ขา วสารทีเ่ มืองพัทยาประชาสัมพันธ และเจาหนาที่ผูปฏิบัติยังไมทราบแนวทาง
ในการปฏิบัติท่ถี ูกตอ ง ทําใหก ารตงั้ ดา นคดั กรองไมม ีประสทิ ธิภาพ ในทางปฏบิ ตั ิเทาทีค่ วร

4.3 การใหความชว ยเหลือประชาชนท่ีไดรบั ผลกระทบจากสถานการ COVID-19
การบรรเทาความเดือดรอนของประชาชนในชวงแรกไดแก ปญหาปากทองของประชาชนในพื้นที่
รวมไปถงึ ประชากรแฝงทีเ่ ขามาทํางานในพน้ื ทีเ่ มอื งพทั ยา โดยการแจกขาวกลอง รวมไปถึงปจจัยในการดํารง
ชีพ เชน ขา วสาร อาหารแหง และนา้ํ ดื่ม ยารักษาโรคในรปู ถุงยังชพี การจัดฝกอบรมอาชีพ และสรางการจาง
งานใหแ กช ุมชน

4.4 การควบคมุ ปองกันการแพรร ะบาดของเช้อื ไวรัส COVID-19

โดยการกําหนดมาตรการ ขัน้ ตอนในการทํางานของเจาหนาท่ี และบุคลากรทางการแพทย กําหนด

แนวทางรวมกันกับหนวยงานอ่ืน มีการประยุกตใชเทคโนโลยีเขามาชวยในการทํางาน เชนสายรัดขอมือเพื่อ

ตรวจสอบพิกัดผูสัมผัสเสี่ยงกรณีถูกกักตัวใชตอเชื่อมกับapplicationในโทรศัพทมือถือ ซึ่งมีสถิติผูติดเช้ือใน

พืน้ ท่ีเมอื งพัทยา ดงั น้ี

ผูเขาเกณฑ คดั กรอง ลา สุด 17/06/2563 จํานวนทัง้ ส้นิ 466 ราย

ผูเขาเกณฑเ ฝาระวัง ไดร ับการตรวจแลว จํานวนทั้งส้ิน 321 ราย

ผูปวยติดเชื้อ COVID19 จํานวนท้งั ส้นิ 5 ราย (หายดี 5 ราย)

บุคลากรตดิ เชือ้ ท้ังส้นิ จาํ นวนทง้ั สิ้น 0 ราย

5. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน แนวทางแกไข

5.1 ปญหาและอปุ สรรคในการต้งั จดุ คัดกรองผทู เี่ ดินทางเขา มาในพืน้ ทเี่ มืองพัทยา
เน่อื งจากเจาหนาท่ีผูปฏิบัติ ยังไมทราบข้ันตอนการปฏิบัติและการแกปญหาท่ีเกิดข้ึน ในการตั้งดาน
คัดกรองผูท่ีจะเขามาในพ้ืนที่เมืองพัทยา ประกอบกับไมมีประสบการณในการปฏิบัติงานในสภาวะการ

159

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

โรคระบาด ทําใหเม่ือตั้งดานคัดกรองไมสามารถใหคําแนะนํา หรือแกปญหาเฉพาะหนา ใหแกประชาชนได
การประสานงานกันของบุคคลกรตางหนวยงาน ท่ีไมไดวางแผนรวมมือกันในการปฏิบัติหนาท่ี ทําใหการ
ทาํ งานตดิ ขดั

แนวทางการแกไ ข

1. การกาํ หนดแนวทางรวมกันในการทํางาน และรบั ฟงปญหาจากผปู ฏิบัตเิ พือ่ หาแนวทางแกไข
2. จดั ต้ังศนู ยก ลางในการใหค ําปรึกษาแกเจา หนาทีผ่ ปู ฏิบตั ิ เพอื่ ใหเ ปน ไปในทิศทางเดยี วกนั

5.2 ปญ หาและอปุ สรรคเรอ่ื งการขาดแคลนอุปกรณปอ งกนั
การปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี นั้นขาดอุปกรณปองกันสวนบุคคล (Personal Protective
Equipment, PPE) ท่ีใชส วมใส ขณะทาํ หัตถการ เนื่องจากกลไกทางการตลาด กักตุนสินคา และการแยงกัน
ใชทรัพยากร ซง่ึ เปน แผนระดับประเทศ
แนวทางการแกไ ข
1. ขอรบั บริจาคอปุ กรณปองกนั ทจี่ าํ เปน จากภาคประชาชน และขอรับการสนบั สนนุ จากผบู ริหาร
2. นําอุปกรณปองกันสวนบุคคล (Personal Protective Equipment, PPE) ที่เคยใชในรายที่ผล
เปน ลบมาทําความสะอาดและใชซ ้ํา
3. ประยุกตอุปกรณท ี่หาไดขณะนน้ั มาทาํ เปน ชุดปองกันสวนบคุ คล เชน เสอ้ื กนั ฝน ทําหนา กากจาก
แผนใส
5.3 ปญ หาและอุปสรรคเรือ่ งสถานท่ใี นการปฏบิ ตั ิงาน
เนื่องจากสถานท่ีไมเพียงพอสําหรับ กักตัวสําหรับผูปวยเขาเกณฑสอบสวนโรค (Patient Under
Investigation) ท่ีตองรอผลตรวจ COVID-19 เน่ืองจากนโยบายกรมควบคุมโรค ณ ขณะนั้น ไมอนุญาตให
ผูปวยเขาเกณฑสอบสวนโรค กลับไปกักตัวที่บาน และไมสามารถสงตัวผูปวยอาการหนัก ที่เขาเกณฑ
สอบสวนโรค (Patient Under Investigation) หรือกรณีตองใสทอชวยหายใจสงตอไป จนกวาจะทราบผล
ตรวจ COVID-19
แนวทางการแกไ ข
1. ปรับปรุงสถานที่บริเวณหอพักแพทย ชั้น 1 จํานวน 6 หอง และจัดหาตู container 2 เพื่อทําเปน
หอ งกกั ตัวสําหรบั ผปู วยเขา เกณฑส อบสวนโรค (Patient Under Investigation) ทตี่ อ งรอผลตรวจ COVID-19
2. ปรับปรงุ หอ ง WARD พเิ ศษเดมิ ใหเ ปนหอ งผูปว ยวิกฤติ โดยเพ่ิมเครื่องชว ยหายใจ กลอ งวงจรปด

6. ประโยชนทป่ี ระชาชนไดรับ

จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ที่ในพ้ืนท่ีที่ทําการศึกษาถึงผลการ
ดําเนินการของหนวยงานของรัฐ ในการกําหนดมาตรการในการปองกันและควบคุมโรค มาตรการใหความ
ชวยเหลอื ประชาชนที่ไดรบั ผลกระทบและเกดิ ประชาชนในพ้นื ท่ี ดังนี้

160

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

6.1 ดา นการควบคมุ โรค
การกําหนดมาตรการคัดกรองประชาชนที่เดินทางกอนเขามาในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา โดยตรวจสอบ

จากบตั รประจาํ ตวั ประชาชนเพ่อื ยืนยันวาเปนประชนชนในพื้นที่เมืองพัทยา หากเปนประชาชนตางพ้ืนที่เดิน
ทางเขามาในพน้ื ท่เี มอื งพทั ยา จะตองมีบคุ คลยนื ยันวามีท่ีพักในเมืองพัทยา หรือหากเปนลูกจางหรือพนักงาน
บริษัท จะตองมีหนังสือรับรองจากเจาของธุรกิจผูประกอบการมายืนยันวา ไดปฏิบัติงานในพื้นท่ีงานเมือง
พัทยา การวัดอุณหภมู ิรา งกายกอนเขา พืน้ ที่เมอื งพทั ยาไมใ หเ กนิ 37 องศาเซลเซียส และการสวมใสหนากาก
อนามยั ตลอดเวลาทอี่ อกนอกทีพ่ ักอาศัย โดยไดรับความรวมมือจากภาคประชาชนเปนอยางดี อีกท้ังยังมีการ
รณรงคใหความรูเร่ืองการปองกันโรค และการรักษาความสะอาดของรางกาย การเวนระยะหางทางสังคม
(social distancing) สงผลใหในพื้นที่เมืองพัทยาไมมีการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 เกิดความ
ปลอดภัยตอ สุขภาพอนามยั ของประชาชนในพน้ื ที่เมอื งพทั ยา

ในกรณีที่เปนประชาชนที่เดินทางมาจากพ้ืนที่เส่ียง หรือเดินทางกลับมาจากตางประเทศ
เมืองพัทยาก็จะมีกําหนดมาตรการเพื่อเฝาระวังโรค โดยอันดับแรกจะขอความรวมมือจากประชาชนที่
เดนิ ทางมาจากพืน้ ที่เส่ยี ง หรือเพิ่งเดินทางกลับมาจากตางประเทศ ใหกักตัวเองอยูในที่พักอาศัยเพ่ือเฝาระวัง
กอ น เปน เวลา 14 วนั โดยมเี จาหนาท่ีสาธารณสุข อสม. และอาสาสมัครภาคประชาชนและผูนาํ ชมุ ชนตา ง ๆ
ในการติดตามอาการอยางใกลชิดอยางสม่ําเสมอ ในการกักตัวผูท่ีตองสงสัยวาจะมีอาการติดเชื้อไวรัส
COVID-19 ทไ่ี มมที พี่ กั อาศัยในพน้ื ท่เี มืองพัทยา เมอื งพัทยากจ็ ะนําตัวผูตอ งสงสัยดงั กลาวไปกักตัวไวในท่ีพักท่ี
เมืองพัทยาไดจัดเตรียมไวเพ่ือเฝาดูอาการ สงผลใหในพ้ืนท่ีเมืองพัทยาไมมีการแพรระบาดของเชื้อไวรัส
COVID-19 เกิดความปลอดภัยตอสุขถาพอนามัยของประชาชนในพน้ื ทเ่ี มอื งพัทยา

6.2 ดานการรกั ษาพยาบาลผูต ดิ เชื้อ
โรงพยาบาลเมืองพัทยา ไดวางแผนและกําหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลเมือง

พัทยาเพ่อื คัดแยกผูปว ยที่มอี าการไข ออกจากผูปวยอื่นท่มี าเขารับการรักษาพยาบาล โดยในขั้นแรกผูปวยทุก
รายท่ีจะมารักษาทุกรายจะตองสวมหนากากอนามัยกอนเขารับการรักษา และไดต้ังจุดคัดกรองโรคและ
ซักถามประวัติของผูปวยท่ีมารักษาพยาบาล ที่บริเวณดานหนากอนเขามาในตัวอาคารโรงพยาบาล หากพบ
ผูปวยที่มีอาการไขสูงเกิน 37 องศาเซลเซียส โรงพยาบาลเมืองพัทยาจะใหผูปวยไปนั่งรอตรวจอาการแยก
ตางหากจากผูปวยอื่น โดยไดจัดเตรียมสถานท่ีเฉพาะในการตรวจรักษา เพ่ือไมใหมีการแพรกระจายหรือติด
เช้ือจากผูปวยท่ีสุมเสี่ยงติดเชื้อไวรัส COVID-19 ไปยังผูปวยอื่น การกําหนดระยะหางในการรอเขารับการ
รกั ษาพยาบาลภายในโรงพยาบาล ทําใหถึงแมโรงพยาบาลเมืองพัทยาจะมีผูปายที่ติดเช้ือไวรัส COVID-19 ท่ี
เขามารักษากับโรงพยาบาลเมืองพัทยา ถึง 30 ราย แตไมมีรายงานการติดเชื้อของผูปวยอื่นจากการมา
รกั ษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเมืองพัทยา และยังสามารถรักษาผูปวยทุกรายใหหายจากการติดเชื้อไดโดยไมมี
ผเู สยี ชีวิต

161

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุน ที่ 74

6.3 การเยียวยาและชว ยเหลือประชาชนท่ีไมใชการรักษาและปองกันโรค
จากการที่ประชาชนในพ้ืนที่เมืองพัทยาไมสามารถประกอบอาชีพ หรือธุรกิจไดตามปกติ

เนื่องจากธุรกิจหลักของเมืองพัทยา นั้นเปนธุรกิจเพื่อการทองเท่ียวและบริการแกชาวตางชาติ เมืองเกิดการ
แพรระบาดไวรสั COVID-19 จึงทาํ ใหธุรกิจเหลานั้น ไมสามารถประกอบกิจการได ประชาชนที่เขามาทํางาน
ในพ้นื ท่ขี องเมอื งพัทยา จึงไมมีรายไดจ ากการประกอบอาชีพเพ่ือเลี้ยงตัวเอง ดังนั้น ปญหาที่เกิดข้ึนตามมาใน
พ้ืนที่ท่ีสําคัญก็คือเรื่องปญหาปากทองของประชาชนใน เมืองพัทยาจึงไดมีมาตรการใหความชวยเหลือ
ประชาชน ท่ีไดรับผลกระทบ และเปนการบรรเทาความเดือดรอนในเบ้ืองตน ไดแก การแจกขาวกลอง รวม
ไปถงึ ขาวสารอาหารแหง โดยใชท ง้ั งบประมาณของเมืองพัทยาและรับบริจาคจากภาคเอกชนและมูลนิธิตางๆ
รวมไปถึง การรางขอบัญญัติเมืองพัทยา เพื่อจายเงินเยียวยาใหกับประชาชนท่ีมีทะเบียนบานอยูในพื้นที่
เมืองพัทยา ครัวเรือนละ 1,000 บาท และยังมีโครงการอบรมใหความรูดานอาชีพแกประชาชนท่ีตกงาน
และจางงานคนในชุมชนในพื้นที่เมืองพัทยาเพื่อใหเกิดรายไดแกคนในชุมชน ทําใหสามารถบรรเทาความ
เดือดรอนแกประชาชนในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา และยังเปนการสงเสริมอาชีพใหกับชุมชนมีรายไดเล้ียงชีพตอไป
แบบพ่ึงพาตนเอง

7. ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสงั คมในพน้ื ทท่ี ่ที าํ การศกึ ษา
เปนที่ทราบวาเมืองพัทยาเปนเมืองทองเท่ียวระดับโลก ที่นักทองเท่ียวที่เดินทางเขามาในประเทศ

ไทยมักจะเดินทางมาทองเท่ียวและพักอาศัยในพื้นที่เมืองพัทยา ดังนั้น ธุรกิจในพ้ืนที่เมืองพัทยาจึงเปนธุรกิจ
เพอื่ ความบนั เทงิ การทอ งเท่ียวและที่พักอาศัย ตลอดจนการใหบริการแกนักทองเที่ยว ทําใหเกิดการจางงาน
ท้ังแกคนในพ้ืนท่ี และคนตางถิ่นที่เขามาทํางานในภาคบริการ จึงไดรับผลกระทบจากสถานการณการแพร
ระบาดของเช้อื ไวรสั COVID-19 ดังตอไปนี้

7.1 ผลกระทบดานการทองเท่ียว
การแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ท่ีสงผลกระทบทันทีแกภาคการทองเที่ยวของ

เมืองพทั ยา คือการยกเลิกโปรแกรมทวั รข องชาวตางชาติแบบไมมีกาํ หนด ทาํ ใหการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของ
กับการทองเที่ยวท้ังหมด ตองหยุดชะงักในทันที ไมวาจะเปนบริษัททัวร ท่ีพักโรงแรม รานขายของฝากและ
สนิ คา ทองถ่นิ รวมไปถงึ มาตรการจากภาครัฐทีใ่ หป ดสถานที่ทองเท่ยี วท่เี ปนทส่ี าธารณะ เชน การปดเกาะลาน
การปดชายหาดในพ้ืนท่ีเมืองพัทยาทั้งหมดเพ่ือปองกันการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ทําให
นอกจากนักทองเท่ียวชาวตางชาติท่ีใหไปแลว นักทองเท่ียวชาวไทยก็ไมทองเท่ียวในชวงที่มีการแพรระบาด
ของเช้ือไวรัส COVID-19 ทําใหธุรกิจดานการทองเที่ยว โรงแรมที่พัก และสินคาของฝากตองหยุดประกอบ
ธรุ กิจช่ัวคราว หรือเลิกกิจการ เนื่องจากไมสามารถแบกรับคาใชจายทีเ่ กิดข้ึนได

162

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รนุ ท่ี 74

7.2 ผลกระทบดานแรงงานภาคบรกิ าร
เมื่อเมืองพัทยาไมมีนักทองเที่ยวชาวตางชาติเดินทางเขามาเพื่อทองเที่ยวและพักผอนจาก

สถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 จนทําใหธุรกิจท่ีเกี่ยวของกับการทองเท่ียวท้ังหมด
ตองหยุดชะงัก หยุดประกอบกิจการ หรือเลิกกิจการไป นั้น แรงงานภาคบริการท่ีเขามาทํางานในพ้ืนท่ีจึง
ไดรบั ผลกระทบอยางยงิ่ ไมม รี ายไดเพื่อเลี้ยงชีพเกิดปญหาปากทองของประชาชนในกลุมแรงงานภาคบริการ
แรงงานภาคบริการหลายรายตองเดินทางกลับภูมิลําเนา เน่ืองจากไมสามารถแบกรับคาใชจายใน
ชวี ิตประจาํ วันได ถึงแมจะมีมาตรการเยยี วยาจากรัฐบาล แตแ รงงานภาคบริการจํานวนมาก ไมไดมีสวัสดิการ
หรือไมไดเขาสูระบบประกันสังคม แรงงานภาคบริการกลุมน้ีจึงไมไดรับเงินชวยเหลือจากมาตรการของ
ภาครัฐ

7.3 ผลกระทบดา นปญหาหนส้ี ินภาคธุรกจิ และภาคประชาชน
เมอ่ื ไมม ีรายไดจากการใหบ รกิ ารของผูประกอบธรุ กิจ ปญหาท่ีตามมาในคือการขาดสภาพคลอง

ในการประกอบธุรกิจ การผิดนัดชําระหนี้ และยังสงผลกระทบถึงการจางงานในภาคบริการ และหนี้สินภาค
ครัวเรอื นของกลุมแรงงานภาคบรกิ าร ถงึ แมสถาบันการเงินตางๆจะออกมาตรการในการชวยเหลือภาคธุรกิจ
และประชาชน ในการพักชําระหน้ีออกมาแลวก็ตาม แตหากจะใหธุรกิจสามารถดําเนินกิจการตอไปไดนั้น
ภาครัฐจะตองมีมาตรการเพ่ือชวยเหลือภาคการทองเที่ยว ไมวาจะเปนการอนุมัติแหลงเงินทุนสินเช่ือ การ
สงเสริมการทองเท่ียวของคนในประเทศ มาตรการทางภาษีท่ีเอื้อแกเจาของธุรกิจผูประกอบการ เพ่ือใหเกิด
การจางงาน และแรงงานภาคบริการมีรายไดจากการประกอบอาชีพ เกิดการใชจายและหมุนเวียนในระบบ
เศรษฐกจิ

8. ทศั นคตขิ องภาคสว นตา งๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคทอ งถ่ิน และภาคประชาชนและผไู ดรบั ผลกระทบ
จากการลงพื้นท่ี สํารวจภาคสวนตางๆท้ังภาครัฐ ภาคทองถ่ินและภาคประชาชน ในสถานการณ

การแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึน และทัศนคติที่มีตอมาตรการแกปญหาการ
แพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในพื้นท่ีเมืองพัทยา โดยไดสอบถามภาคสวนตาง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาค
ทอ งถิ่น และภาคประชาชน โดยมีรายละเอียดดงั นี้

8.1 ทศั นคตขิ องหนว ยงานภาครฐั ตอการแกป ญ หาการแพรร ะบาดของเชอื้ ไวรสั COVID-19
จากการลงพื้นท่ีสอบถาม สถานีตํารวจภูธรเมืองพัทยา ซึ่งเปนสวนราชการที่ตองใหความ

ชวยเหลือประชาชนในพื้นท่ีเมืองพัทยา ในดานการจราจร และการบังคับใชกฎหมายจากการประกาศใช
พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พรก.ฉุกเฉิน ทั่วประเทศ
โดยมีรายละเอียด ท่ตี องปฏบิ ตั ิ ตลอดจนปญ หาและอุปสรรค ดังนี้

163

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ดานการปฏบิ ตั งิ าน
1. การบูรณาการของหลายหนวยงาน ไดแก เจาหนาท่ีปกครองอําเภอบางละมุง, เจาหนาท่ี
ทหาร, อาสาสมคั รตาํ รวจ, ตาํ รวจทอ งเทยี่ ว, ตาํ รวจตรวจคนเขาเมือง, ฝายเทศกิจ, เจาหนาท่ีกูภัย เจาหนาท่ี
สาธารณสขุ และประชาชนจิตอาสา ในการตั้งดา นตรวจยานพาหนะและบคุ คลเขา ออกเมอื งพทั ยา
2. มีการจัดประชุมยอยของทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ทําใหทราบถึงปญหาที่
แทจริงของประชาชนในพ้ืนท่ี และทําใหเกิดแนวทางแกปญหาที่ยืดหยุน โดยมีนายกเมืองพัทยา และ
นายอําเภอบางละมุง เปนผูจัดประชุม และนําขอมูลเขานําเสนอตอท่ีประชุมใหญของคณะกรรมการควบคุม
โรคติดตอจงั หวดั ชลบรุ ี โดยมีผวู า ราชการจงั หวัดชลบุรีเปนประธาน
3. ในชวงกลางวัน เนนการประชาสัมพันธในทุกชองทาง เชน รถกระจายเสียง หอกระจาย
ขาว วิทยุ โทรทัศน Social media รวมไปถึงการใชโดรนติดลําโพงบินประชาสัมพันธตามแนวชายหาด เพ่ือ
สรางความรูและความตระหนกั ใหก บั ประชาชนในการปอ งกันและยบั ยั้งโรคโควิด 19
4. ในชวงเวลากลางคืน (ชวงเคอรฟว) มีการจัดชุดเคล่ือนท่ีเร็วในการออกตรวจพ้ืนท่ีเมือง
พัทยา และมีสายตรวจ ออกตรวจจดุ State Quarantine ทที่ างจังหวัดชลบรุ ีไดจัดไวใหผูที่ตองกักตัว พรอม
ทั้งต้ังดานตรวจถึง 8 จุด รอบอําเภอบางละมุง ซึ่งรวมถึงในเมืองพัทยาดวย โดยมาตรการในการตรวจของ
ดานตรวจ คือ 1 จุดตรวจ มี 2 ผลัด ผลัดละ 30 นาย ซึ่งประกอบดวยเจาหนาท่ีจากทุกฝายท่ีรวมมือและ
บูรณาการกันการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ี ณ จุดตรวจ การวัดอุณหภูมิ การอนุญาตใหบุคคลท่ีมีชื่อใน
ทะเบยี นบานของอําเภอบางละมุงผานเขาออกไดเทาน้ัน หากไมมีช่ืออยูในทะเบียนบานของอําเภอบางละมุง
ตอ งมคี นจากอําเภอบางละมุง รับรอง
5. ผบู ังคับบัญชามีการจัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน พรอมทั้งเสบียง
ใหเ จา หนา ท่เี ปนอยา งดี ทําใหเ จาหนา ท่มี ีความมน่ั ใจและปลอดภัยในการปฏิบัตหิ นา ที่
6. ดา นนโยบายและแนวทางการปฏบิ ตั งิ าน มคี วามชดั เจนทําใหเจา หนา ที่ผปู ฏิบัติงานมีความ
เขาใจและความม่ันใจในการปฏบิ ัติหนาท่ี

ผลการปฏบิ ตั ิงาน
1. มาตรการเคอรฟว มีสว นชวยในการควบคมุ โรคโควดิ -19 ไดเปน อยา งดี
2. มาตรการเคอรฟว ทําใหสถิติของคดีอื่นๆ ลดลง เชน คดยี าเสพติด คดีอาชญากรรมที่ทําให
เสียทรพั ยส ิน คดเี มา ทะเลาะวิวาท ทาํ รา ยรางกาย

ปญ หาและอุปสรรค
มผี ลกระทบตอ ประชาชนทย่ี งั ทํางานอยูเมืองพัทยา ที่พบจากการปฏบิ ตั หิ นา ท่ี มีดังนี้
1. ในชวง 2-3 วนั แรกของการประกาศใชมาตรการเคอรฟว ยังขาดอุปกรณปองกันอันตราย
จากการปฏิบตั ิงานใหเจา หนา ท่อี ยบู าง
2. ในชวงแรกประชาชนยังไมทราบขาวและขั้นตอนปฏิบัติในการท่ีจะผานดาน ทําใหเกิด
สภาพจราจรตดิ ขดั ยาวถึง 3 กโิ ลเมตร

164

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

3. การปฏิบัติงาน อาจจะมีความลาชาและมีขอผิดพลาดอยูบางเพราะเปนการทํางานและ
ประสานงานของหลายหนว ยงาน

8.2 ทัศนคตขิ องหนว ยงานภาคทอ งถิน่ ตอการแกปญ หาการแพรระบาดของเช้อื ไวรัส COVID-19
จากการลงพื้นที่สอบถาม สาขา บมจ.ธนาคารกรุงไทยในพื้นท่ีเมืองพัทยา เก่ียวกับผลกระทบ

ทางเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีเมืองพัทยา ท้ังกอนและหลังเกิดสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัส
COVID-19 ดังนี้

สภาพเศรษฐกิจชว งกอนสถานการณการแพรร ะบาดของเช้ือไวรัส COVID-19
ในสวนของสาขาธนาคาร กอ นสถานการณก ารแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 เราประสบ
ปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ เนื่องจากลูกคากลุมในพ้ืนท่ีเมืองพัทยาเปนลูกคาเศรษฐกิจผลกระทบที่เกิดข้ึนกับ
ธนาคาร ไดแกปญหาการปลอยสินเชื่อ ซึ่งกอนชวงตนปท่ีแลวในเรื่องของการปลอยสินเชื่อของธนาคาร
เราปลอยสินเชื่อไดมาก มีโปรโมชั่นของ sme ลูกคาที่ประกอบธุรกิจซ่ึงในกลุมลูกคาเรามีการจัดกลุมลูกคา
EC ในจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยองเปนกลุมลูกคาภาคตะวันออกซ่ึง Project เฉพาะ
ภูมิภาคนี้เทานั้น พอเร่ิมประสบปญหาธุรกิจก็สวนหน่ึงคือการชําระหนี้ กลุมลูกคาไมสามารถชําระหนี้ได
ตามปกติ ชาํ ระหนีล้ า ชา เปนตน แตหลังสถานการณก ารแพรร ะบาดของเช้ือไวรสั COVID-19 มีผลกระทบกับ
ผปู ระกอบการรวมถึงลกู จา งดว ย
ปจจุบันทุกธนาคารมีมาตรการชวยลูกคา แตภาพรวมชวงนี้ยังไปไดเร่ือยๆ มีลูกคาจํานวนมาก
ขอปรับปรุงโครงสรางหนี้ยังสามารถไปไดเรื่อย ๆ ถาลูกคาไมสามารถผอนชําระหนี้ไดธนาคารก็จะแสดง
รายงานลกู คา เพื่อใหธนาคารเขาไปชวยกลุมลูกคาดังกลาว ผูประกอบการหลายรายเริ่มมีการปรับตัว เปลี่ยน
วิธีการขาย เปล่ียนรูปแบบการขาย บางท่ีเริ่มเขาถึงลูกคามากข้ึนสวนที่ขายตลาดนัดก็เร่ิมแปรเปลี่ยนเพราะ
เศรษฐกจิ ไมด คี นเรม่ิ ไมออกจากบา น
มาตรการภาครัฐในการใหความชวยเหลือจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัส
COVID-19
เน่ืองจากธนาคารเปนธุรกิจการเงินขนาดใหญ ผลกระทบจึงอาจจะไมไดเห็นชัดเจนในชวง
เวลาสั้นๆ ดังน้ันจะไมมีมาตรการของภาครัฐในการใหความชวยเหลือสถาบันการเงิน โดยเฉพาะ บมจ.
ธนาคารกรงุ ไทย มักจะไดรับหนาที่เปนชองทางใหกับรัฐในการใหความชวยเหลือประชาชนตามนโยบายและ
มาตรการตา งๆทร่ี ัฐกาํ หนด มากกวาไดร บั การชวยเหลอื จากรฐั บาล
8.3 ทัศนคติของภาคประชาชนตอการแกปญหาการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
จากการลงพื้นท่ีสอบถาม นายกสมาคมชุมชนเมืองพัทยาเกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ทีเ่ กิดขน้ึ ในพน้ื ท่ีเมืองพัทยา ทั้งกอ นและหลังเกิดสถานการณการแพรระบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 ดงั นี้

165

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนักปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ชวงกอ นการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19
ดานเศรษฐกิจ เนื่องจาการชะลอตัวดานเศรษฐกิจมาระยะหน่ึงแลวทําใหนักทองเท่ียวหลักได
แกนักทองเท่ียวชาวจีนลดลงจากชวงเวลาเดียวกันในปกอนอยางมีนัยสําคัญ สําหรับนักทองเที่ยวชาติอื่นๆ
รวมถึงนักทองเท่ียวไทยก็ยังพอมีบาง ซ่ึงผูประกอบการคาขายยังพอสามารถดําเนินธุรกิจไปไดบางไมถึงกับ
ตองเลิกกิจการ สําหรับลูกจางและประชาชนทั่วไปที่มีรายไดท้ังทางตรงและทางออมจากการทองเที่ยวก็ยัง
พอดํารงชีวิตอยูได แมรายไดจะลดลงจากเมื่อเปลียบเทียบกับปกอนๆ การชวยเหลือจากทางภาครัฐ มี
มาตรการชวยเหลือ (ที่ยังไมเก่ียวกับการแพรระบาดของเช้ือไวรัสCOVID-19) โดยการกระจายเงินลงไปสู
ผปู ระกอบการ และวิสาหกจิ ชมุ ชน เชน โครงการชิม ชอป ใช หรือ โครงการ เดนิ กนิ ชิม เที่ยว เปน ตน

ชวงเกดิ วิกฤติการแพรร ะบาดของเช้ือไวรัส COVID-19

ดา นเศรษฐกจิ จะเกิดผลกระทบอยู 2 ชว ง ไดแก
1) ปดประเทศ นักทองเที่ยวเดิมเดินทางกลับประเทศ และนักทองเท่ียวใหมไมสามารถเดิน
ทางเขา ประเทศ โดยเฉพาะนักทองเที่ยวชาวจีนท่ีเปนนักทองเท่ียวหลัก ทําใหรายไดของผูประกอบการลดลง
อยา งมาก แทบจะไมมลี ูกคาเขาใชบริการเลย บางวันไมมีลูกคาเขารานแมแตคนเดียว แตจําเปนตองเปดราน
เผ่อื วา จะมีลกู คาเขามาใชบริการ สําหรับลกู คา ชาวไทยมีปริมาณประปราย ไมสามารถหวงั พงึ่ พงิ ได
2) ปดสถานประกอบการตามมาตรการของภาครัฐ กลุมนักทองเที่ยวไมไดแตกตางจากชวงปด
ประเทศ เพราะนักทอ งเทย่ี วหลักไดอ อกไปตง้ั แตช ว งปด ประเทศไปแลว แตจะแตกตางตรงสถานประกอบการ
จะตองปด โดยคําส่ังทันที ไมไดเปดไวเผ่ือมีลูกคาเขามาใชบริการเหมือนเดิม หลายสถานประกอบการตองให
ลูกจางเดินทางกลับภูมิลําเนา แตมีบางท่ี ยังใหอยูตอโดยหางานเสริมเล็ก ๆ นอย ๆ พอมีรายได เชน กลุม
ชุมชนไดมีการเย็บหนากากผา เพื่อจําหนาย ใหพ อมีรายไดพอประคองตวั ได
การชวยเหลือของภาครัฐ ภาครัฐไดออกมาตรการตางๆ เขามาชวยทั้งผูประกอบการ และ
ประชาชนท่ีไดรับผลกระทบ เชน การจายเงินเยียวยา 15,000 บาท เงินชวยเหลือของทองถิ่น การแจกถุง
ยังชีพ การจัดใหมีตูปนสุข เปนตน อยางไรก็ตาม ทางชุมชนมีขอเสนอแนะวา เนื่องจากผูประกอบการ และ
ประชาชน ขาดรายไดอยางมาก แตเงินท่ีเยียวยามีจํานวนนอยไมเพียงพอตอคาใชจายท่ียังคงมีอยูจํานวนมาก
สาํ หรบั เรอ่ื งอาหารการกินมพี อเพียงจากการแจกถุงยังชพี หรือ จากตูปนสุข แตอยากใหหนวยงานท่ีกํากับดูแล
เรือ่ งการใหหนวยงานตาง ๆ เขา มาแจกถุงยงั ชีพ ใหชว ยตรวจสอบของขางในถุงวามีคุณภาพสามารถกินได เชน
ขาวสารในถุงยังชีพแข็งจนไมสามารถกินได และอยากใหแจกของท่ีจําเปน และมีปริมาณพอเพียง เชน ในถุง
อาจไมต อ งมีหลากหลาย แต อาจมีขา วสารปริมาณมากหนอย มีคุณภาพพอประมาณ และปลากระปอง นํ้ามัน
เปนตน
การดําเนินการตามมาตรการการปองกันโรคติดเชื้อของภาครัฐ สวนราชการในพ้ืนท่ีไดมีคําสั่ง
ปดสถานประกอบการที่ ศบค. กําหนดอยา งเขมขน และมีการตง้ั ดา นตรวจตาม พรก.ฉุกเฉนิ

166

การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดับสูง (นปส.) รุนที่ 74

ชวงผอนปรนตามมาตรการของรัฐ
ดานเศรษฐกจิ สถานประกอบการหลายแหงทยอยเปดกิจการ แตบางแหง แมรัฐจะผอนคลาย
ใหเ ปดไดแ ลวแต เมื่อคิดตน ทุน และรายไดแ ลว ยังไมคุมท่จี ะเปด ก็ยังคงปดตอไป เพราะนักทองเท่ียวหลักยัง
ไมสามารถเดินทางเขามาในประเทศได ซึ่งสงผลไปถึงลูกจาง และประชาชนท่ีมีรายไดจากการทองเท่ียวท่ี
ยงั คงขาดรายไดหลักในการดํารงชีพ
การชวยเหลือของภาครัฐ ยังคงมีการลงพื้นที่ในการแจกถุงยังชีพ และจัดใหมีตูปนสุขอยูเปน
ระยะ รวมถึงทองถ่ินทยอยแจกเงินบางสวนใหกับประชาชนในพื้นที่ แตก็ยังไมพอกับภาระที่ผูประกอบการ
และประชาชนในพน้ื ทมี่ ี โดยเฉพาะชวงนเี้ ปน ชว งใกลเปดเทอมแลว ทําใหมีภาระคาใชจายของผูปกครองเพ่ิม
มากยงิ่ ข้นึ กวา ปกติ

9. ปจ จัยแหงความสาํ เร็จในการปฏบิ ัตงิ าน
จากการศึกษาขอมูลและจากการลงพื้นท่ีสอบถามการปฏิบัติหนาท่ีในสถานการณการแพร

ระบาดของเช้อื ไวรสั COVID-19 ซง่ึ มปี จจัยสาํ คัญตอความสาํ เร็จในการปฏิบตั งิ าน ดงั นี้
1. ความรวดเร็วในการปรับตัวใหทันตอสถานการณ ท่ีจะเกิด ท้ังการทําแนวทางการคัดแยก

เบ้ืองตน และคัดกรองผูปวยทุกคนกอนท่ีจะเขารับบริการ จัดสถานท่ี เปนจุดคัดกรองโดยเฉพาะ และ
จดั เตรยี มสถานท่ีไวโดยเฉพาะ นอกจากน้ียัง ปรับแนวทางคัดกรองและคัดแยก ตามความเหมาะสมในรายที่
ไมใ หความรว มมือ หรือประวตั ไิ มช ัดเจนจะไมอ นญุ าต ใหม าตรวจรวมกบั ผปู ว ยรายอน่ื

2. การจัดเตรียมและเตรียมอุปกรณ ปองกันบุคคลากรในการปฏิบัติงาน โดยคัดเลือกมีเกณฑ
การคัดเลอื ก ผูเขาปฏิบัติการตามเหมาะสม และใหค วามรูบุคลากรในการเตรียมความพรอม

3. การรวมมือรวมใจของบุคลากรการแพทย และ เจาหนาท่ีทุกฝาย มีการประชุม และ
แลกเปล่ยี นความเห็น จะจัดทีมงานเพอ่ื รบั มือกบั สถานการณก ารระบาด COVID-19

4.มีการสอื่ สาร ใหความรเู กย่ี วกบั COVID-19 และ แจงสถานการณ COVID-19 จากชองทาง
ของเพจโรงพยาบาลเมอื งพัทยาเอง และจัดการกบั ขาวปลอม

5. ไดรับความรวมมือและการรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐในพ้ืนท่ี ภาคเอกชน และ
ประชาชนทวั่ ไป

10. บทเรยี นที่ไดรบั จากการดําเนินงาน

เมืองพัทยาเปนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รูปแบบพิเศษท่ีมีอิสระในการบริหารจัดการ
โครงสรางองคกรครบถวนทุกดาน มีความคลองตัว มีงบประมาณเพียงพอ มีความพรอมของบุคลากร และ
มมี าตรฐานทางสาธารณสขุ ท่ีดี

การรกั ษาที่มีประสิทธภิ าพผูปว ยติดเชื้อในเมืองพัทยาไดรับการรักษาจนไมมีผูเสียชีวิต และไมมี
การแพรเ ชือ้ หรอื ติดตอสเู จาหนาที่และผูใชบรกิ ารอ่ืนในโรงพยาบาล

167

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลกั สูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุน ที่ 74

ระเบียบความยืดหยุน ในการจัดซ้ือ จัดหาพัสดุในสถานการณฉุกเฉิน ภัยพิบัติจําเปนตองมี
ระเบยี บรองรับเพ่อื ความรวดเร็วในการจัดหาในภาวะจาํ เปน ซึ่งในท่ีน้ีตองรอระเบียบกลาง แตหากทองถ่ินมี
ระเบียบหรือขอ บญั ญตั ไิ วก อน กจ็ ะสามารถจดั หาวสั ดคุ รุภณั ฑทีจ่ าํ เปนไดเลย

การแกปญหาระดับภาพรวมในพน้ื ท่ี เปน ไปในทศิ ทางเดียวกันได เมื่อมีผูนําท่ีดูแลเอาใจใส ดวย
ตนเอง ทําใหโรงพยาบาล และเมืองพัทยา สามารถควบคุมสถานการณไวรัส COVID-19 ในพ้ืนท่ีไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

11. ขอเสนอแนะตอการปรบั ปรุงประสิทธภิ าพและ
๑. ควรมีการจัดตั้งศูนยอํานวยการกลาง เพื่อบูรณาการการปฏิบัติงานของหนวยงานภายนอก

และภายใน ทกุ ระดบั
๒. จดั ตง้ั หนวย SRRT อยา งถาวรและใหมีสดั สวนเหมาะสมกับจํานวนประชากรท่ีมีอยูจริง โดย

การพัฒนาใหมีใหองคความรู พรอมจัดหาเคร่ืองมือและอุปกรณเพื่อการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
และเพียงพอ เพอื่ รองรบั สถานการณใ นอนาคต

๓. พัฒนาระบบ application อยางตอเนื่อง ใหสามารถติดตาม กํากับ ควบคุมผูมีความเสี่ยง
และใหตอบสนองตอสถานการณไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น

๔. จัดตั้งคลังยาและอุปกรณเวชภณั ฑกลาง ใหเพียงพอตอ การใชง านของเจา หนาที่และเพียงพอ
ตอ การรักษาผูป ว ย

๕. ควรมีการซักซอมแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยดานโรคระบาด ใหมีความพรอม
รับสถานการณลกั ษณะนใ้ี นอนาคต

๖. วางระบบบูรณาการขอมูลระหวางเมืองพัทยากับ คกก. โรคติดตอจังหวัดและอําเภอ
โดยเฉพาะขอมลู ผตู ดิ เชือ้ ที่สงตอ

๗. ใหมีการลงทะเบียนประชากรแฝง เพื่อเปนขอมูลติดตามและรับรูสถานภาพจริงของ
ประชากรทมี่ ีผลกระทบตอ เมอื งพทั ยา ใหส ามารถเตรยี มการบรหิ ารจดั การไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

๘. เพ่ิมโครงสรางทางการปกครองใหมีผูรับผิดชอบการบริหารจัดการพ้ืนท่ียอย เพ่ือใหการ
เขา ถึงประชาชนไดอยา งท่ัวถงึ และใกลช ิดไดม ากยง่ิ ข้นึ

*****************************

168

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ภาคผนวก

การลงพ้นื ทีส่ อบถามขอ มลู จากสว นราชการ ภาคทอ งถ่ิน และภาคประชาชน เกี่ยวกับสถานการณ
การแพรระบาดของเชื้อไวรสั COVID-19

การลงพ้ืนที่สอบถามขอ มลู จากภาคประชาชน และภาคทองถิ่น เกย่ี วกับสถานการณการแพรระบาด
ของเชื้อไวรัส COVID-19

169

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนักปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

บทวิเคราะหการเรียนรูเชิงปฏบิ ัตกิ าร (Action Learning) จาก
อาจารยท่ปี รกึ ษาหลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี ๗๔

อาจารยป ริญญา อดุ มทรพั ย
อาจารยที่ปรกึ ษา

จากการวิเคราะหบทเรียนการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) จากเอกสารคูมือ
การเรยี นรูฯ การช้ีแจงวตั ถปุ ระสงค โดย ศ.ดร.ชาติชาย ณ เชียงใหม ผูอาํ นวยการหลกั สตู ร และฟงบรรยาย
จากนายภัคธรณ เทียนไชย ผูวาราชการจังหวัดชลบุรี เมื่อ ๑๘ มิ.ย. ๒๕๖๓ คอนขางละเอียด มีลักษณะ
เนอ้ื หาการปฏิบัติจรงิ ควบคไู ปกับกฎหมาย ระเบียบตาง ๆ ทําใหนักศึกษาเขาใจไดอยางรวดเร็ว นอกจากน้ี
ไดรวมศึกษาดูงานภายในพ้ืนท่ีโครงการ/ หมูบาน กับนักศึกษา รวมถึงการฟงบรรยายจากหนวยงาน
จงั หวดั อาํ เภอ อบต. ระหวางวนั ที่ ๑๘ – ๒๑ ม.ิ ย. ๒๕๖๓ ซ่งึ การออกไปศึกษาดูงานภายในพ้ืนท่ีโครงการ/
หมูบาน ทําใหทราบขอเท็จจริง ภูมิประเทศ สภาพหมูบาน และชีวิตความเปนของประชาชน ซึ่ง
มีความสอดคลองกับผลการปฏิบัติงานของผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ สาธารณสุขจังหวัด/อําเภอ
เจาหนาท่ีรัฐตาง ๆ ผูบริหารอบต. กํานัน ผูใหญบาน อาสาสมัคร หลายรูปแบบ เชน อสม. อส. อปพร.
ไดเ ปน อยา งดี อีกท้ังรับฟงการสรุปบทเรียนการเรียนรูฯ ท่ีไดรับจากท้ัง ๑๐ กป. เม่ือวันที่ ๒๒ มิย. ๒๕๖๓
โดยมีนายววิ ัฒน มหาผลศีริกลุ รองผวู าการจงั หวัดชลบุรี รวมรบั ทราบและใหขอเสนอแนะกับทางนักศึกษา
เพื่อเปนประโยชนตอการเขียนรายงานผลฉบับรูปเลมตอไป ทั้งน้ีจากการรับฟงและตรวจสอบรายงานผล
การเรียนรูฯ ของนกั ศึกษา ท้งั ๑๐ กป. โดยใชกรอบการวิเคราะหรว มกนั ๔ กรอบ ดงั นี้

1. การบริหารงานของ ๒. การบริหารจัดการของ
รฐั บาลตอการระบาดของโรค จังหวดั ชลบรุ ี และ อําเภอ

โดยศูนยบ รหิ าร (ศบค) ๓. การปฏบิ ัติของหนว ยใน
พน้ื ท่ี ๔ อาํ เภอ ๒ อบต.
๔. ความรว มมอื ของประชาชน
ทัว่ ไป และ ๓ หมบู า น

1. การบรหิ ารงานของรัฐบาล

การท่รี ัฐบาลไดจ ัดต้งั ศูนยบริหารสถานการณโควิท-19 (ศบค) ข้ึนเพื่อบริหารจัดการปองกัน ระงับ
ยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 โดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดเขาทําหนาที่
ผอ.ศูนยฯ ดวยตนเอง ทําใหการบริหารงานของรัฐบาลมีประสิทธิภาพ ทันตอสถานการณโลกที่ชี้นํา

170

การเรยี นรูเชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Learning) หลักสตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รนุ ที่ 74

โดย WHO ซ่ึงทั้ง ๑๐ กป. ไมไดกลาวถึงมากนัก ทั้งน้ี ศบค ไดแถลงผลการบริหารสถานการณฯ ทุกวัน
ทําใหท ุกหนวยงานและประชาชนเขาใจสถานการณใกลเคียงและพรอม ๆ กัน นับเปน best practice ของ
การทํางานภาครฐั ตามรปู

WHO รฐั บาลไทย ประเทศอ่นื

หนว ยงานรัฐ

ประชาชนคนไทย

๒. การบริหารจัดการของจงั หวัดชลบรุ ี และ อาํ เภอ
จังหวัดชลบุรีไดรับผลดีมาก จากการบริหารจัดการตามการบริหารของรัฐบาลตามขอ ๑ ทําให

จังหวัดโดยผูวาราชการจังหวัด และคณะทํางานสามารถทํางานไดผลเปนอยางดี (ตามรายงานของ กป.๘)

รวมถงึ การประสานงานกบั หนว ยปฏบิ ตั ิไดดี ตามรปู

ประชาชน จงั หวัด อบจ. เมอื งพทั ยา
อาํ เภอ

ตําบล/หมบู าน อปท.

อยางไรก็ตาม เน่ืองจากสภาพเศรษฐกิจ สังคม ความเปนอยูของประชาชนภายในจังหวัดชลบุรี
มีความยุงยาก เชนมีคนตางชาติเขามาอยูอาศัยประจําทํางานในพ้ืนที่ ทําใหบางคร้ังมีการฝาฝนนโยบาย
และกฎหมายของรัฐบาล สุมเส่ียงตอการไมสามารถปองกัน ระงับยับยั้งการระบาดของโรคได โดยเฉพาะ
หากเกิดข้ึนอีกซํ้าสอง ซ่ึงปรากฏวาหนวยงานทุกฝายยังไมไดจัดทําแผนปองกันไวอยางชัดเจน ดังน้ันควรที่

171

การเรยี นรเู ชงิ ปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดับสงู (นปส.) รุนที่ 74

จะตองจัดทําใหเสร็จเบ้ืองตนภายใน ๒-๓ เดือนจะถึงนี้ และแกทุกระยะจนกวาโลกจะมีวัคซีนปองกัน
โรคติดตอ ไดตามมาตรการของ WHO

๓. การปฏบิ ตั ขิ องหนวยงานในพ้นื ท่ีจังหวดั ชลบรุ ี

หนวยราชการบริหารสวนภูมิภาค ๓ ระดับ ไดแก อําเภอ ตําบล และหมูบาน ซ่ึงในการเรียนรูฯ
ครั้งน้ี ไดทําใน ๔ อําเภอ ไดแก อําเภอบานบึง อําเภอศรีราชา อําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ ใน
๓ หมูบาน ไดแก หมู ๗ ตําบลคลองกิ่ว อําเภอบานบึง หมู ๘ ตําบลสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา และหมู ๒
ตําบลพลูตาหลวง อําเภอสัตหีบ สวนหนวยราชการทองถ่ินไดแก องคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี และ
เมืองพทั ยา และ อบต. ของท้งั ๕ หมูบา นรวมพื้นท่ศี กึ ษาเรียนรู ๙ พ้ืนที่ สรปุ ไดวา

3.1 ท้ัง 4 อาํ เภอ มีโครงสรางการบริหารเชน เดียวกนั เพราะตองใชกฎหมายเดียวกัน (ตามรูปขอ
1 และ 2) ตามรูป

อาํ เภอ องคก ารบริหารสวนจังหวดั
จงั หวดั ตําบล เมอื งพัทยา
เทศบาล/ อบต.
หมบู า น

จากการเรียนรูของ กป.3 ที่อําเภอบานบึง กป.9 ที่อําเภอศรีราชา กป.1 ที่อําเภอบางละมุง
และกป.2 ท่ีอําเภอสัตหีบ พบวา การบริหารจัดการของทุกอําเภอทําไดอยางมีประสิทธิภาพเปนไปตาม
นโยบายของจังหวัด นอกจากการบังคับใชกฎหมายกับประชาชน เชน การสวมหนากาก เวนระยะหาง
สําหรับชุมชนคนจํานวนมากไมสามารถทําไดเต็มท่ี เพราะความเคยชินเดิมของประชาชนยังไมสะดวกกับ
new normal

3.2 ท้ัง 2 อปท. ไดแก
(1) องคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) ชลบุรี เปน อบจ. ท่ีมีรายไดสูงที่สุดในประเทศ

ไทย จากการศึกษาพบวา ไดปฏิบัติหนาที่อยางมีประสิทธิภาพ และแสดงบทบาทเปนผูสนับสนุน อปท.
ระดับรองลงไป ไดแก เทศบาล/ อบต. (ซึ่งเปนอิสระตอกันในทางกฎหมาย) อยางดี ในดานงบประมาณ
วสั ดุ อปุ กรณต า ง ๆ เทากบั วา อบจ. ไดสนบั สนนุ งานของทุกหนวยงานในพ้ืนทจ่ี ังหวดั (จากรายงานกป.4)

(2) เมืองพัทยา มีฐานะเปน อปท. รูปแบบพิเศษ เชนเดียวกับกรุงเทพมหานคร (กทม.)
ทําใหเกิดความขลุกขลักในการบริหาร เพราะบางเร่ืองตองประสานงานกับทั้งจังหวัดและอําเภอ รวมท้ัง
มีประชากรนอกทะเบียนราษฎรจํานวนมาก ซ่ึงยังไมมีทะเบียนอื่นควบคุม ทําใหการตรวจสอบการทํา
new normal มปี ญหาอยบู าง (จากรายงาน กป.7)

172

การเรยี นรเู ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลกั สตู รนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

3.3 หมูบาน 3 แหง ไดแก บานมาบลําบิด หมู ๗ ตําบลคลองก่ิว อําเภอบานบึง บานหัวโกรก
หมู ๘ ตําบลสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา และบานขลอด หมู ๒ ตําบลพลูตาหลวง อําเภอสัตหีบ มีโครงสราง
การบริหารจัดการเชนเดียวกนั รวมทัง้ มเี จา หนาท่รี ฐั อนื่ ๆ ในระดบั หมูบา นเขา มาชว ยงาน ตามรูป

ผอ.รพ.สต. หมูบา น กาํ นัน/ ผูใหญบ า น
อสม. นายก อบต.

โดยมีผูใ หญบา นเปนผูป ระสานงานหลกั ผอ.รพ.สต.เปน ผดู ูแลดานโรค อสม.เปน ผูชว ยดแู ลดานโรค
รวมทง้ั มอี าสาสมัครอนื่ ซง่ึ อาจมไี มเทา กันทุกหมูบาน

4. การมีสวนรว มของประชาชนทั่วไป
เปนปญหารวมกันของการบริหารทุกระดับ เพราะจังหวัดชลบุรี อาจเปรทองที่การปกครองท่ีมี

ปญหาประชากรยุงยาก ทั้งในดานกฎหมายและชีวิตความเปนอยูท่ีแทจริง คอนขางมาก ระดับ 1 ใน 5
ของประเทศ เชน กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต และชลบรุ ี ซึ่งอาจจําแนกความยุงยาก
ไดต ามรปู

ประชาชน

จนท.รฐั ทวั่ ไป

จนท. อาสาสมัคร สญั ชาตไิ ทย ตา งดาว

ถกู กฎหมาย ผิดกฎหมาย

บทบาท

มีสว นรว ม ใหรวมมอื
(participation) ปฏิบัตติ าม

173

การเรยี นรูเชงิ ปฏิบตั กิ าร (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รนุ ที่ 74

ทกุ กลุมกป. รายงานใกลเคียงกนั วา ราชการไทยยงั ไมไดท ําขอมูลจาํ แนกประชากร โดยเฉพาะกลุม
ทสี่ รางปญ หาไวชดั เจน กลุม คนพวกนีอ้ าจเปน พวกแพรเ ชอ้ื โรคไดอ ยางท่คี วบคุมไมได เชน

1. ประชาชนที่มีสัญชาตไิ ทยประเภททาํ มาหากินไมเปนหลักแหลง
2. คนตา งดา ว ไมมีทะเบยี นทส่ี ํานกั ทะเบยี นราษฎร
3. พวกที่อยอู ยางผิดกฎหมาย
4. พวกทีไ่ มใหค วามรว มมอื กับการควบคมุ โรคติดตอ
ทั้งน้ีผูวิเคราะหเห็นวา จําเปนท่ีกระทรวงมหาดไทยตองทําขอมูลที่สามารถนําไปใชประโยชน
ทางดา นการควบคมุ โรคติดตอใหแลวเสรจ็ โดยเร็ว กอนทกี่ ารระบาดรอบ 2 จะมาในเรว็ วัน
ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ มบี างประการ ดงั น้ี
1. นักศึกษาแตละทานควรนําขอมูลท่ีไดจากการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Leraning) ในคร้ัง
น้ี นําไปใชเปนแนวทาง “การบริหารราชการ/ จัดการในภาวะวิกฤต” กรณีสถานการณหรือประเด็นอื่น ๆ
ได โดยเฉพาะที่เปนปญหาเรื้อรังของการเมือง เศรษฐกิจและสังคมไทย อาจชวยใหบริหารจัดการดีข้ึน
กวา เดิมได โดยใชแนวทางจากคมู อื การเรยี นรูเชิงปฏิบตั กิ ารใหทมี งานไดทาํ งานรวมกับประชาชน ตั้งแตเร่ิม
งาน พัฒนาหรือแกป ญ หาวิกฤต
2. ทางกระทรวงมหาดไทยควรสงเอกสารรายงานการเรียนรูฯ ฉบับน้ีไปใหสํานักงานจังหวัด
ทั่วประเทศใชเปนแนวทางทําแผนบริหารจัดการปองกัน ระงับยับย้ังการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19
ระยะที่ 2 ที่คาดวาอาจหลีกเล่ียงไดยาก เพราะการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) ครั้งนี้
นกั ศึกษาไดพ บบทเรียนมากมายหลายประการ ซึ่งสามารถนาํ ไปใชเรยี นรตู อเนอ่ื งได

174

การเรยี นรเู ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสตู รนักปกครองระดับสูง (นปส.) รุน ที่ 74

อาจารยพนิ ยั อนันตพงศ
อาจารยท่ีปรึกษา

หลักสูตรฝกอบรมนักปกครองระดับสูง (นปส.) ของกระทรวงมหาดไทย มีแนวคิดประการหน่ึงท่ี
มุงเนนพัฒนาผูเขารับการศึกษาอบรมใหมีทักษะและสมรรถนะในการบริหารจัดการเพ่ือการบูรณาการ
การทํางานในระดับพื้นที่ (Area-base approach) ซ่ึงมีองคประกอบ 3 ประการ คือ (1) เปดกวางและ
เชื่อมโยงกัน (2) การยึดประชาชนเปนศูนยกลาง (3) การเปนสวนราชการท่ีมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย
โดยจําเปนตองอาศัยการประสานความรวมมือกับทุกภาคสวน และสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน
ผูมีสวนไดสวนเสียในการแกไขปญหาและพัฒนาระดับพ้ืนท่ี ดังนั้นในเน้ือหาของหลักสูตรจึงไดกําหนดให
มีวิชา “การเรียนรเู ชงิ ปฏิบัติการ (Action Learning)” โดยกําหนดประเด็น เร่ือง และสถานท่ีดําเนินการให
นักศึกษาลงพ้ืนท่ีไปศึกษาปญหาและบันทึกผลถายทอดบทเรียน และรายงานผลการเรียนรูจาก
ประสบการณดังกลาว ในรูปแบบรายงานกลุมซ่ึงหัวขอวิชาน้ีไดดําเนินการมาอยางตอเนื่องยาวนานจน
กลายเปน เอกลกั ษณอยางหนึ่งของหลกั สตู รนักปกครองระดับสงู

แตเนอื่ งจากสถานการณร ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา (Covid-19) สง ผลใหต อ งจํากัดการเดินทางใน
ประเทศ ตลอดจนตองปฏิบัติตามมาตรการตาง ๆ ที่รัฐบาลและคณะกรรมการควบคุมโรคติดตอ (ศบค.)
ของแตละจังหวัดกําหนด จึงมีความจําเปนตองปรับปรุงแกไขหลักสูตรและออกแบบกิจกรรมใหม โดย
กําหนดใหกิจกรรมการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) สําหรับหลักสูตรนักปกครองระดับสูง
(นปส.) รุนที่ 74 ดําเนินการในเขตพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรี อันเปนท่ีต้ังของวิทยาลัยมหาดไทย ซึ่งนักศึกษาได
พักประจําระหวางการศึกษาตามหลักสูตรอยูแลว สําหรับประเด็นหรือเร่ืองที่จะทําการศึกษาก็แตกตางไป
จากเดิมทม่ี กั กําหนดใหศึกษาการประยุกตใชศ าสตรหรือองคความรูตาง ๆ ตลอดจนนโยบาย โครงการ และ
มาตรการของรัฐบาลท่ีลงไปดําเนินการในพ้ืนที่ โดยใหแตละกลุมปฏิบัติการ (กป.) ศึกษาในระดับหมูบาน
ตามหัวขอท่ีกําหนดใหมีท้ังเหมือนกันและแตกตางกัน แตในคร้ังนี้ไดกําหนดใหทุกกป.ศึกษาในหัวขอ
เดียวกันในพื้นท่ีหลายระดับและรูปแบบ คือ เรื่อง“การบริหารจัดการปองกัน ระงับยับย้ังการระบาดของ
โรคไวรัสโคโรนา (Covid-19) ในระดับจังหวัด ระดับอําเภอ ระดับหมูบาน และระดับองคกรปกครองสวน
ทอ งถ่ินในพ้ืนท่จี งั หวัดชลบุรี”

สาํ หรบั พ้ืนที่ในการศึกษาดังกลา วไดเลือกตวั อยาง ดงั นี้
1) ระดบั จงั หวดั ของจงั หวดั ชลบุรี
2) ระดับอาํ เภอ ไดแ ก อําเภอบา นบึง อาํ เภอศรีราชา อําเภอบางละมุง และอําเภอสตั หบี
3) ระดับหมูบา น ไดแ ก บานมาบลาํ บดิ หมูท่ี 7 ตาํ บลคลองกิว่ อําเภอบานบึง
บานหัวโกรก หมูท่ี 8 ตาํ บลสุรศกั ดิ์ อําเภอศรีราชา
และบานขลอด หมูท่ี 2 ตาํ บลพลูตาหลวง อําเภอสตั หีบ
4) ระดับองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ ไดแ ก องคการบริหารสว นจังหวัดชลบรุ ี และเมอื งพทั ยา

สวนวิธีการศึกษาก็ไดดําเนินการตามกระบวนการที่กําหนดไวอยางครบถวน ท้ังการช้ีแจง
วัตถุประสงคการศึกษาเรียนรูเชิงปฏิบัติการ การรับฟงการบรรยายสรุปจากผูวาราชการจังหวัดชลบุรี
การประชุมกลุมเพื่อเตรียมขอมูล การศึกษาดูงาน และเก็บขอมูลภายในพ้ืนที่โครงการ การสรุปบทเรียน
และการรายงานผลการศึกษา การรายงานในที่ประชุมและจัดทําเปนเอกสาร สวนท่ีแตกตางจากการศึกษา

175

การเรยี นรูเ ชิงปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สูง (นปส.) รุนท่ี 74

ของรนุ กอน ๆ คอื การท่นี กั ศกึ ษาไมไ ดพักคา งในพนื้ ที่ และระยะเวลาในการศึกษาคอนขางจํากัด ทําใหขาด
ขอ มลู ในเชิงลึก และไดรบั ฟง ผลสะทอนจากประชาชนโดยตรงคอ นขางนอ ย

การกําหนดใหจังหวัดชลบุรีเปนพื้นท่ีการศึกษาใน เรื่องการปองกัน ระงับยับยั้งโรคระบาดไวรัส
โคโรนา (Covid-19) ครั้งน้ี นบั วามีความเหมาะสมอยางย่ิงเนื่องจากเปนพ้ืนที่เส่ียงระดับตน ๆ ของประเทศ
รวมทง้ั มีความหลากหลายทนี่ าสนใจ เพราะเปนจงั หวัดใหญมีประชากรเปนอันดับสิบของประเทศประมาณ
1.56 ลานคน รวมทั้งมีประชากรแฝงทั้งชาวไทยและชาวตางชาติท่ีมาทํางานอาศัยอยูเปนจํานวนมาก
มีแหลงทองเท่ียวระดับโลกที่นักทองเที่ยวนิยมเดินทางมาทองเท่ียวโดยเฉพาะชาวจีน ซ่ึงเปนแหลงที่มาของโรค
ที่ต้ังของจังหวัดมีเสนทางคมนาคมท่ีสะดวกและทั่วถึง เขาออกไดหลายทางทั้งทางบก ทางเรือ และ
ทางอากาศ มีทา เทียบเรือขนสงสินคาท้ังตางประเทศและในประเทศในแงสถานการณของโรคมีเหตุเกิดขึ้น
ครบถวน ท้ังผูท่ีติดเช้ือ ผูปวย และผูเสียชีวิต มีสถานกักกันโรคครบทุกรูปแบบท้ัง State Quarantine
Local Quarantine และ Home Quarantine ในดานพน้ื ท่เี สีย่ งก็มีมากท้งั ชายหาด ชายทะเล ศูนยการคา
โรงภาพยนตร สนามมวย บริการนวด/ สปา ฟตเนส สวนน้ํา สวนสนุก รานอาหาร ฯลฯ สําหรับในดาน
การบริหารการปกครองจังหวัดชลบุรีแบงออกเปน 11 อําเภอ 92 ตําบล 687 หมูบาน มีองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นครบทุกรูปแบบ คือ องคการบริหารสวนจังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 2 แหง เทศบาลเมือง
10 แหง เทศบาลตําบล 36 แหง องคการบริหารสวนตําบล 36 แหง และเมืองพัทยา 1 แหง ซ่ึงเปนที่
นาสนใจและเรียนรูวาจังหวัดชลบุรีมีวิธีจัดการและสามารถปองกัน ระงับยับย้ังการแพรระบาดของไวรัส
โคโรนาไดอ ยางไร

จากการรับฟงการนําเสนอสรุปประเด็นการเรียนรูเชิงปฏิบัติการในพ้ืนท่ีจังหวัดชลบุรีในครั้งนี้
ปรากฏวา ทกุ กลุม กป. ไดทําการศกึ ษาประเด็นตา ง ๆ ทีก่ ําหนดใหอยางครบถวน ตลอดจนมวี ิธีการนําเสนอ
ที่ดี ทั้งดานรูปแบบ เนื้อหา ประเด็นเช่ือมโยง ตลอดจนมีขอเสนอแนะท่ีสรางสรรค และนาสนใจ แตมี
ปญหาในดานการนําเสนอสรุปประเด็นการเรียนรูฯ ใหกะทัดรัด และอยูภายในระยะเวลาที่กําหนด ซ่ึงทั้ง
10 กลุมกป. สวนใหญลวนใชเวลาเกินกวาท่ีกําหนดให สําหรับเนื้อหาสาระของการเรียนรูสามารถอาน
รายละเอียดทั้งหมดไดจากเอกสารเลมนี้ อยางไรก็ตาม ขอสรุปผลการศึกษาท่ีสําคัญตามท่ีจับประเด็นได
จากการรับฟง การนาํ เสนอของนักศึกษา ดงั นี้

1) ในระดบั จงั หวัด พบวา เนือ่ งจากในระยะแรกของการบริหารจัดการ จังหวัดชลบุรีมีทั้ง
ผูติดเช้ือ ผูปวย จํานวนมาก และมีผูเสียชีวิต 2 ราย จึงวางมาตรการเฝาระวังเพ่ือไมใหมีการเสียชีวิตเพ่ิม
ไมมีการระบาดเพิ่ม และไมใหบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขติดเชื้อ โดยดําเนินการตามนโยบาย
ของศบค.ชาติทุกมาตรการ แตนํามาปรับปรุงแนวทางปฏิบัติใหเหมาะสมกับบริบทของจังหวัด จังหวัด
ชลบุรีเริ่มตนไดเร็ว ประกอบกับภาวะผูนําของผูวาราชการจังหวัดท่ีมีวิสัยทัศน สามารถประสานงานกับ
สวนกลางและบูรณาการกบั ทุกภาคสว นในจังหวัดไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ในระดบั พ้ืนท่ีก็มีการประสานงาน
ระหวางทองท่ีกับทองถิ่นอยางลงตัว รวมท้ังจังหวัดมีตนทุนสูงทั้งความพรอมของสถานพยาบาลและ
งบประมาณของจังหวัดและองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ จึงสามารถปฏบิ ัติงานไดบรรลุตามเปาหมายที่วางไว
ปญหาสาํ คญั คือการเปนจงั หวัดทองเที่ยวทีม่ นี ักทอ งเทย่ี วจาํ นวนมากทง้ั ชาวไทยและชาวตางประเทศทําให
ยากลําบากในการคัดกรอง ติดตามผูติดเช้ือ และการบังคับใชมาตรการท่ีกําหนดใหเปนไปอยางมี

176

การเรยี นรูเ ชิงปฏิบตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รุนท่ี 74

ประสทิ ธิภาพ ขอเสนอของจังหวดั คอื การเรง ฟนฟูเศรษฐกิจของจงั หวัดและการจัดทาํ ยุทธศาสตรเพื่อเตรียม
รบั มอื กรณี Covid-19 กลับมาระบาดรอบท่สี อง

2) สําหรับระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น พบวา ในสวนความรับผิดชอบขององคการ
บริหารสวนจังหวัดชลบุรี ในฐานะหนวยงานหลักในการประสานความรวมมือกับองคกรปกครองสวน
ทองถ่ินอื่นในจังหวัดชลบุรี ซ่ึงสามารถบูรณาการไดดีมาก ท้ังในเร่ืองการสนับสนุนงบประมาณใหแก
หนวยงาน การปรับปรุงสถานท่ี และการจัดซ้ือวัสดุครุภัณฑตาง ๆ นายกอบจ.ชลบุรีมีวิสัยทัศนกวางไกล
คิดริเริ่มนอกกรอบในการชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอนของผูไดรับผลกระทบและเสริมสรางการมีสวน
รวมของประชาชนในหลายกิจกรรม มีขอเสนอท่ีนาสนใจ คือการสรางเครือขายและพัฒนาระบบ
สารสนเทศในการตดิ ตามและเฝา ระวงั โรคตดิ ตออุบัติใหม รวมทั้งการจัดทําขอมูลประชากรแฝง ทองถิ่นอีก
รปู แบบหนึง่ คอื เมืองพทั ยา ไดพ บวา เปน องคกรขนาดใหญ ทม่ี ีโครงสรางองคก รครอบคลุมภารกิจครบครัน
มีงบประมาณคอ นขา งมาก มีบุคลากรพรอม และมีมาตรฐานดานสาธารณสุขท่ีดีรองรับ แตการเผชิญวิกฤติ
ครั้งนี้ไดบริหารงานดวยโครงสรางองคกรตามปกติ ไมไดมีการจัดต้ังศูนยอํานวยการกลางขึ้นมารับผิดชอบ
โดยเฉพาะ ทําใหขาดการบูรณาการระหวางหนวยงานท้ังภายนอกและภายใน อยางไรก็ตามเมืองพัทยามี
ผลงานเดน ในเรือ่ งการใชแอพพลเิ คชันมาชวยเกบ็ ขอมลู และตดิ ตามผูสัมผัสเส่ียง และมี Best Practice ใน
เรื่องการจัดระเบียบชายหาดอยางเปนระบบ มีขอเสนอที่นาสนใจ คือควรพัฒนาระบบแอปพลิเคชั่นอยาง
ตอเน่ืองเพ่ือใหสามารถติดตาม กํากับ ควบคุม ผูมีความเสี่ยงไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น การจัดต้ัง
คลังยาและอุปกรณเวชภัณฑกลางใหเพียงพอตอการใชงาน การลงทะเบียนประชากรแฝง และการวาง
ระบบบูรณาการขอ มูลระหวางเมืองพทั ยากับคณะกรรมการโรคตดิ ตอจงั หวดั ชลบรุ ี

3) ในระดับอําเภอ พบวา แนวทางท่ีศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) กระทรวงมหาดไทย และจังหวัดชลบุรีสั่งการลงมา มีความชัดเจนและมี
ความยืดหยุนเพียงพอ ทาํ ใหอ ําเภอสามารถใชก ลไกตามสายการบังคับบัญชาในพื้นท่ี ขับเคล่ือนเพื่อปองกัน
เฝาระวังการแพรระบาดของโรคใหเปนไปตามขอสั่งการได ตลอดจนควบคุมดูแลใหประชาชนปฏิบัติตาม
มาตรการท่ีทางราชการกําหนดไวได ประกอบกับอําเภอมีการวางแผนท่ีดีและมีความพรอมในการปฏิบัติ
ท้ังดานทรัพยากร วัสดุ เวชภัณฑ และบุคลากร นายอําเภอมีภาวะผูนําในการตัดสินใจและบูรณาการ
การขับเคลื่อนรวมกันของทุกภาคสวนในพ้ืนที่ โดยมีกลไกขับเคลื่อนท่ีเขมแข็งทั้งฝายปกครองทองที่ อสม.
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตลอดจนภาคเอกชนและความรวมมือของประชาชน ทําใหการปฏิบัติงาน
เปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ ในดา นปญหา พบวา ยังมกี ารฝา ฝน ไมปฏิบัติตามมาตรการท่ีกําหนดโดยเฉพาะ
ชาวตา งชาตมิ กั ไมใหความรวมมอื การขาดความรูเกี่ยวกับการควบคุมโรคของเจาหนาที่การประชาสัมพันธ
ใหความรูตาง ๆ แกประชาชนยังไมท่ัวถึง อสม.มีจํานวนนอยไมเพียงพอในการปฏิบัติงาน มีขอเสนอใหใช
ชองทางติดตอสื่อสารและสรางแอพพลิเคชันการใชงานมากข้ึน ใหมีการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด
ควรจัดใหมี Local Quarantine แทน Home Quarantine และแกไขปญหาการเดินเรือชายฝงที่ไปมา
สงสินคาและอาหารที่แทนขุดเจาะกลางทะเลที่อยูนอกเขต 12 ไมลทะเล ควรแกไขปญหาขององคกร

177

การเรยี นรูเ ชงิ ปฏบิ ตั ิการ (Action Learning) หลักสูตรนกั ปกครองระดบั สงู (นปส.) รนุ ท่ี 74

ปกครองสวนทองถิน่ ในการเบิกจายงบประมาณตามระเบียบฯ ท่ีเกี่ยวของ โดยเฉพาะการสรางความเขาใจ
ท่ีถูกตองชัดเจนตรงกนั

4) ในระดับหมูบาน พบวา นโยบายและคําส่ังจากเบื้องบนมีความชัดเจน และสามารถ
นําไปปฏิบัติใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนไดรับความสนับสนุนอยางดีย่ิงจากสวนราชการใน
จังหวัด อําเภอ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในพื้นท่ีมีผูใหญบานเปนผูนําท่ีเกงไดรับความเชื่อถือและ
ทุมเทการทํางานรวมกับเครือขายทุกภาคสวนอยางมีบูรณาการ สามารถนํามาตรการตาง ๆ มาเร่ิมปฏิบัติ
ในชุมชนไดเร็ว มีการประชาสัมพันธขอมูลขาวสารสรางการรับรูไดเร็วและท่ัวถึง อยางไรก็ตามมีปญหา
การไมยอมปฏิบัติตามมาตรการที่กําหนดและตอตานการกักตัวอยูบาง อสม.และจิตอาสายังมีจํานวนนอย
ไมเพียงพอ มีขอเสนอท่ีนาสนใจ คือควรจัดทําฐานขอมูลเชิงพ้ืนท่ี โดยเฉพาะดานประชากร เน่ืองจากมี
ประชากรแฝงจาํ นวนมาก และควรใหอาสาสมัครปอ งกันภยั ฝา ยพลเรอื น (อปพร.) เขามารว มปฏิบัติการ
ในพน้ื ทีด่ วย

เม่อื พจิ ารณาในภาพรวมของจังหวดั ปจ จยั ทีท่ าํ ใหป ระสบความสาํ เร็จมีหลายประการ ไดแก การมี
ผบู ริหารที่มภี าวะผูนาํ และมีเอกภาพในการบังคับบัญชาในทุกระดับ การบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวน
การมีองคกรปกครองสวนทองถ่ินและภาคเอกชนที่เขมแข็ง และการมีสวนรวมและความพรอมเพรียงของ
ประชาชน ซึ่งการแกปญหาการแพรระบาดของโรคในครั้งนี้ สะทอนใหเห็นเปนตัวอยางในเชิงการบริหาร
ประเทศอยา งหน่ึงวา การกระจายอํานาจท่ีเหมาะสมใหจังหวัดและองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูบริหาร
มาตรการตาง ๆ ของสวนกลางนําไปสูการปฏิบัติที่รวดเร็วสอดคลองกับสถานการณและสภาพพื้นท่ี
ตลอดจนสามารถระดมความรวมมือจากประชาชนไดมากข้ึน สําหรับปญหาและอุปสรรคท่ีพบใน
การปฏิบัติงาน สวนใหญหรือเกือบท้ังหมดเปนปญหาที่สามารถแกไขไดทันที โดยวิธีการบริหารจัดการ
ตามปกติ สวนในดานขอเสนอตาง ๆ ของพื้นท่ีทุกระดับ จะเปนประโยชนในการระงับยับยั้งการระบาด
ของโรคไวรัสโควิดในจังหวัด กรณีเกิดกลับมาระบาดเปนรอบที่ 2 โดยเปนขอเสนอการแกปญหา
เชิงสถานการณไมใชเชิงระบบ ซ่ึงยังไปไกลไมถึงการพัฒนาระบบราชการใหทันสมัยที่สามารถแกไขปญหา
หรอื วิกฤตขิ นาดใหญทุกชนิดไดอยางมปี ระสิทธิภาพ หรือสิ่งที่เรียกไดวาเปน “ระบบราชการยุคหลังโควิด”
ถามองในแงของการประเมินผลก็เปนการประเมินแบบพ้ืนฐานท่ียังไปไมถึงระดับ “Development
Evaluation” ทั้งน้ีเนื่องจากมีขอจํากัดในการศึกษาหลายอยางโดยเฉพาะขอจํากัดในเรื่องเวลา อยางไรก็
ตามหวังวาผลการศึกษาครั้งนี้จะเปนประโยชนสําหรับจังหวัดชลบุรี โดยเปนเสียงสะทอนเพ่ือนําไป
พจิ ารณาทบทวนการปฏิบตั งิ านพรอ มทัง้ แกไขปญหาขอ บกพรอ งใหดีขนึ้ ในอนาคต รวมท้ังจะเปนประโยชน
สาํ หรบั จังหวดั อื่น ๆ ท่ีจะนาํ ไปพจิ ารณาคูขนานไปกบั การดาํ เนนิ การตามหนาทแ่ี ละความรับผิดชอบของตน
ในเร่ืองเดยี วกนั นีด้ วย และที่เปนวัตถุประสงคหลักของการเรียนรูเชิงปฏิบัติการ (Action Learning) ครั้งนี้
คือหวังวา นกั ศึกษา นปส. รุนท่ี 74 จะไดนําบทเรียนและประสบการณจากพ้ืนที่จริงไปใชใหเปนประโยชน
และสรางมลู คาเพ่มิ โดยนาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นการบรหิ ารราชการไดกวา งขวางมากข้นึ

ขอขอบคุณนักศึกษา นปส. 74 ทุกคน ที่มีความต้ังใจและใหความรวมมืออยางดียิ่งในการเรียนรู
เชงิ ปฏิบัตกิ าร (Action Learning) ทาํ ใหส ามารถบรรลตุ ามวตั ถุประสงคข องหลักสูตรทว่ี างไว

178


Click to View FlipBook Version