The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wiriya Chuenarom, 2022-10-26 09:10:41

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

ม.1

แผนการจดั การเรยี นรู้

รายวิชา นาฏศลิ ป์

รหัสวิชา ศ21104

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

นางสาววริ ิยา ชน่ื อารมณ์

ตาแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย

โรงเรยี นรตั นโกสินทรส์ มโภชลาดกระบงั

สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดการเรียนรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565
รายวชิ านาฏศลิ ป์ 1 รหสั วิชา ศ21104

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

ครูผู้สอน
นางสาววริ ิยา ชื่นอารมณ์

ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

โรงเรยี นรัตนโกสนิ ทรส์ มโภชลาดกระบงั
สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 2

สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

ท่ี ..................................................................... วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2565

เรือ่ ง ส่งแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา นาฏศิลป์ 1 รหสั วชิ า ศ21104 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1

เรียน ผู้อำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

ตามทข่ี ้าพเจ้านางสาววริ ยิ า ชื่นอารมณ์ ไดร้ ับมอบหมายใหร้ ับผดิ ชอบสอนกล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะรายวิชา
นาฏศลิ ป์ 1 รหสั วชิ า ศ21104 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ขอส่งแผนการจดั การเรียนรู้รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 รหสั วชิ า ศ21104
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 ดงั รายละเอียดเอกสารทแี่ นบ

จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณา
ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววริ ิยา ชืน่ อารมณ์)
ครูผู้ชว่ ย

ความเห็นหัวหน้ากลมุ่ สาระฯ/รบั ทราบ/นำเสนอฝา่ ยบรหิ าร

□ รับทราบการรายงานการดำเนินงาน
□ ความเห็นเพิ่มเตมิ

............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชัชชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนร้ศู ิลปะ

ความเหน็ รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ความเหน็ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน

1. รับทราบการรายงานผลการดำเนนิ งาน 1. รับทราบการรายงานผลการดำเนินงาน
2. ความเหน็ เพิม่ เติม 2. ความเห็นเพ่มิ เติม

………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………… ....................................................................................

ลงช่อื ........................................................... ลงชื่อ..................................................................
(นางสาวกาญจนา อรณุ ไพร) (นายบรรจบ ภโู สดา)

รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ ผู้อำนวยการโรงเรยี นรัตนโกสนิ ทรส์ มโภชลาดกระบงั
………/………….…../2565 ………/……………………./2565

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ศ21104 รายวชิ า นาฏศลิ ป์ 1 จำนวน 0.5 หน่วยกิต 18 ชม./ภาคเรียน

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม เรียนรู้

นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง การแสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่าย ๆ ประเภทของละคร
ไทย ในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน
การผลิตการแสดงใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กำหนดให้ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นการใช้เสียงการแสดง
ทา่ และการเคลือ่ นไหว

โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์และสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอิทธิพลของนักแสดงที่มีผลต่อการ
โน้มน้าว อารมณ์หรือความคิดของผู้ชมใช้กระบวนการปฏิบัติงานนาฏศิลป์และการละครและใชท้ ักษะ การทำงานเป็น
กลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง สร้างเกณฑแ์ ละใชเ้ กณฑ์เพ่ือพจิ ารณาคณุ ภาพการแสดง

เพื่อให้มีความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการในงานนาฏศิลป์และการละครจนเกิดสุนทรียภาพ
มคี ณุ ลกั ษณะรักความเป็นไทย มีความช่นื ชม เหน็ คณุ ค่าของนาฏศิลปแ์ ละการละครไทย

ตัวชวี้ ัดรายวิชา
ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คณุ ค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด

ความรู้สึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวัน
ม.1/1 อธิบายอิทธิพลของนกั แสดงชอื่ ดงั ที่มผี ลตอ่ การโน้มนา้ วอารมณ์หรือความคดิ ของผู้ชม
ม.1/2 ใช้นาฏยศัพทห์ รือศัพท์ทางการละครในการแสดง
ม.1/3 แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละการละครในรูปแบบง่าย ๆ
ม.1/4 ใช้ทักษะการทำงานเป็นกล่มุ ในกระบวนการผลติ การแสดง
ม.1/5 ใช้เกณฑง์ ่ายๆ ที่กำหนดใหใ้ นการพิจารณาคณุ ภาพการแสดงที่ชมโดยเนน้ เรื่องการใชเ้ สียง
การแสดงท่า และการเคลอื่ นไหว
ศ 3.2 เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของนาฏศลิ ป์

ทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่น ภมู ิปัญญาไทย และสากล

ม.1/1 ระบุปัจจยั ที่มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงของนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พืน้ บ้าน ละครไทย
และละครพนื้ บา้ น

ม.1/2 บรรยายประเภทของละครไทย ในแต่ละยุคสมัย

รวมตัวชี้วัดรายวชิ าทงั้ หมด 2 มาตรฐานการเรียนรู้ 7 ตัวช้วี ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัด
กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

รายวิชา นาฏศิลป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1

สาระการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั ชนั้ ปี
และมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 3 : นาฏศลิ ป์ 1. อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชอื่ ดังทมี่ ผี ลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรอื

มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทาง ความคดิ ของผชู้ ม

นาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ 2. ใช้นาฏยศพั ท์หรือศพั ท์ทางการละครในการแสดง

วิพากษ์วจิ ารณ์คุณคา่ นาฏศิลป์ 3. แสดงนาฏศิลปแ์ ละการละครในรปู แบบง่าย ๆ

ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอย่างอสิ ระ 4. ใชท้ ักษะการทำงานเปน็ กลุ่มในกระบวนการผลติ การแสดง

ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 5. ใช้เกณฑง์ ่ายๆ ทกี่ ำหนดให้ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงทชี่ มโดย

เน้นเร่อื งการใช้เสียง การแสดงทา่ และการเคลื่อนไหว

สาระที่ 3 : นาฏศลิ ป์ 1. ระบุปจั จยั ที่มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ ้นื บา้ น
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพนั ธ์ ละครไทย และละครพ้ืนบ้าน
2. บรรยายประเภทของละครไทย ในแตล่ ะยคุ สมัย
ระหวา่ งนาฏศลิ ป์ ประวัติศาสตร์
และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์
ทเี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา
ท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทย และสากล

รวมตัวช้วี ดั รายวชิ าทงั้ หมด 2 มาตรฐานการเรียนรู้ 7 ตัวชีว้ ดั

รหสั วิชา ศ21104 โครงสร้างรายวชิ า จำนวน 0.5 หน่วยกิต 18 ชั่วโมง
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชา ศลิ ปะพนื้ ฐาน
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1

ลำดับที่ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนร้ตู วั ช้ีวดั / สาระการเรียนรู้ เวลา
1 การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (คาบ)
การแสดง
นาฏศิลป์ ศ 3.1 ม.1/1 หนว่ ยท่ี 1 การแสดงนาฏศิลป์ 1

อธิบายอทิ ธิพลของนักแสดง เรื่อง อิทธิพลด้านการแสดงของไทย

ช่อื ดงั ที่มผี ลต่อการโน้มนา้ ว - โขน,ละคร,ลิเก,ละครสากล

อารมณ์หรือความคิดของผชู้ ม

ศ 3.1 ม.1/2 หน่วยท่ี 1 การแสดงนาฏศิลป์ 6

ใช้นาฏยศพั ทห์ รอื ศัพท์ทางการ เรื่อง นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ

ละครในการแสดง แสดง

- นาฏยศพั ทท์ เี่ กี่ยวกบั การใชเ้ ท้า

- นาฏยศพั ท์ทเี่ ก่ยี วกับการใชม้ อื

เรอ่ื ง ภาษาทา่ นาฏศิลปแ์ ละการตีบท

- ภาษาทา่ นาฏศลิ ปท์ ่ีใช้แทนคำพดู

- ภาษาท่านาฏศิลป์ที่ใช้แทนอารมณ์ความรู้สึก

ภายใน

- ภาษาท่าที่ประดิษฐ์ข้ึนใช้ในการแสดง

- ภาษาทา่ เคลอื่ นไหวทแ่ี สดงสื่อทางอารมณ์

เรือ่ ง ระบำเบ็ดเตล็ด

- ระบำอัศวลลี า

ศ 3.1 ม.1/3 หน่วยที่ 1 การแสดงนาฏศิลป์ 2
แสดงนาฏศลิ ปแ์ ละการละคร เรื่อง รำวงมาตรฐาน
ในรปู แบบง่าย ๆ - ประวตั เิ พลงรำวงมาตรฐาน
- ลกั ษณะรปู แบบการแสดง
- การแตง่ กาย
- โอกาสท่ีใช้ในการแสดง
- เนื้อร้องทำนองเพลงรำวงมาตรฐาน
เพลงดวงจนั ทรข์ วัญฟ้าและเพลงยอดชายใจหาญ

ลำดับท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชวี้ ัด/ สาระการเรยี นรู้ เวลา
การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (คาบ)

ศ 3.1 ม.1/3 เรอ่ื ง นาฏศลิ ปพ์ ืน้ เมืองและนาฏศลิ ป์สากล 2

แสดงนาฏศิลป์และการละคร - การแสดงนาฏศิลปไ์ ทย

ในรปู แบบง่าย ๆ - การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองแต่ละภูมิภาค

ของไทย

- การแสดงนาฏศิลป์สากล

2 สรา้ งสรรค์ ศ 3.1 ม.1/4 หน่วยท่ี 2 สร้างสรรคก์ จิ กรรมการแสดง 3

กิจกรรมการ ใช้ทกั ษะการทำงานเปน็ กลมุ่ เรอ่ื ง การสร้างสรรคก์ จิ กรรมการแสดง

แสดง ในกระบวนการผลิตการแสดง - บทบาทหนา้ ทีข่ องฝ่ายตา่ งๆในการจัดการแสดง

- การสรา้ งสรรคก์ ิจกรรมในการแสดงท่ีสนใจ

- ประโยชนข์ องกิจกรรมการแสดง

ศ 3.1 ม.1/5 ใช้เกณฑง์ า่ ย ๆ หนว่ ยที่ 2 สร้างสรรค์กิจกรรมการแสดง 1
ที่กำหนดให้ ในการพจิ ารณา เรื่อง หลักในการชมการแสดงและมารยาทใน
คณุ ภาพการแสดงที่ชมโดย การชมการแสดง
เนน้ เรื่องการใช้เสียง การ - หลักในการชมการแสดง
แสดงท่า และการเคล่ือนไหว - มารยาทในการชมการแสดง

ลำดบั ท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรตู้ วั ชวี้ ัด/ สาระการเรียนรู้ เวลา
3 การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (คาบ)
ละครไทย หน่วยที่ 3 ละครไทย
ศ 3.2 ม.1/1 เร่อื ง ประเภทของละครไทย 1
ระบปุ จั จัยทม่ี ผี ลต่อการ - ละครรำ
เปลยี่ นแปลงของนาฏศิลป์ - ละครท่ีปรับปรงุ ขนึ้ มาใหม่ 2
นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบ้าน ละครไทย - ละครรอ้ ง
และละครพื้นบ้าน - ละครพดู 18

ศ 3.2 ม.1/2 หนว่ ยท่ี 3 ละครไทย
บรรยายประเภทของละคร เร่ือง ละครไทยในแต่ละยคุ สมัย
ไทย ในแต่ละยุคสมัย - สมยั ก่อนสุโขทัย ( สมยั นา่ นเจ้า )
- สมยั สโุ ขทยั
- สมัยอยุธยา
- สมัยธนบุรี
- สมยั รัตนโกสนิ ทร์
- บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย

รวม

โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการจัดการเรยี นรู้

รหสั วิชา ศ21104 รายวชิ า ศิลปะพ้ืนฐาน จำนวน 0.5 หน่วยกติ 18 ชั่วโมง

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ศิลปะ

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ แผนการจดั สาระการเรยี นรู้ ชน้ิ งาน/ภาระ เวลา
เรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด การเรียนรู้ งาน (คาบ)
ท่ี ชอื่ หน่วย ที่ ชอื่ แผน - โขน,ละคร,ลเิ ก,ละคร
1 การแสดง ศ 3.1 ม.1/1 1 อิทธิพลด้าน สากล ช้ินงานที่ 1 1
อธิบายอิทธิพล เรื่อง อิทธพิ ลดา้ น
นาฏศิลป์ ของนักแสดงชื่อ การแสดงของ
ดงั ทีม่ ีผลตอ่ การ การแสดงของไทย
โนม้ นา้ วอารมณ์ ไทย
หรือความคิดของ (5คะแนน)
ผชู้ ม

ศ 3.1 ม.1/2 ใช้ 2 นาฏยศัพท์ท่ี - การประท้า ภาระงานที่ 2 4

นาฏยศพั ท์หรือ เก่ียวกบั การ - การยกเท้า 2.1 ตอนท่ี 1
- กระทงุ้ เท้า เรอื่ ง นาฏยศัพท์
ศพั ท์ทางการ ใช้เท้า - กระดกเท้า ทเ่ี กยี่ วกบั การ
- ลักษณะการจบี ใช้เท้า
ละครในการแสดง - ลกั ษณะการต้ังวง 2.2 ตอนที่ 2
เรื่อง นาฏยศพั ท์
3 นาฏยศพั ทท์ ่ี ทเ่ี กย่ี วกบั การ

เกีย่ วกับการ

ใช้มือ

4 ภาษาท่า และ - ภาษาทา่ นาฏศิลป์ที่ใช้ ใช้มอื
(5คะแนน)
การตบี ท แทนคำพูด

-ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ที่ใช้

แทนอารมณค์ วามรู้สึก

ภายใน

5 ท่าทางการ - ภาษาทา่ ทางเคล่อื น

เคลือ่ นไหวท่ี ไหวท่แี สดงสอ่ื ทาง

แสดงสื่อทาง อารมณ์

อารมณ์

หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระ เวลา
ที่ ชื่อหน่วย เรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั เรียนรู้ งาน (คาบ)

1 การแสดง ศ 3.1 ม. 1/2 ใช้ ที่ ชื่อแผน - ระบำเบ็ดเตล็ด ภาระงานที่ 2 2
นาฏศลิ ป์ นาฏยศัพทห์ รือ 6 ระบำ
ศัพท์ทางการ 2.2 ตอนที่ 3
ละครในการแสดง เบ็ดเตล็ด
เร่อื ง การใช้
7 ระบำ
อัศวลลี า นาฏยศัพท์

และภาษาท่า

ทางนาฏศิลป์

- ประวตั ิเพลงระบำ ประกอบ

อศั วลลี า การเพลง

- ลกั ษณะรปู แบบการ (10คะแนน)

แสดง

- การแต่งกาย

- โอกาสท่ใี ช้ในการแสดง

ศ 3.1 ม.1/3 8 รำวง - ประวตั ิความเป็นมา ชน้ิ งานที่ 3 1
แสดงนาฏศลิ ป์ มาตรฐาน - ลกั ษณะรูปแบบการ เรอ่ื ง แผนผงั 1
และการละครใน แสดงรำวงมาตราฐาน ความคิดการ
รูปแบบงา่ ย ๆ - ท่ารำ แสดงรำวง
- เน้ือร้อง มาตราฐาน
- การแตง่ กาย และการปฏบิ ตั ิท่า
รำวงมาตรฐาน
9 การแสดง - โขน (10คะแนน)
นาฏศลิ ป์ - ละคร
ไทย - รำและระบำ
- การแสดงพนื้ เมอื ง

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระ เวลา
เรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั เรียนรู้ งาน (คาบ)
- การแสดงนาฏศิลป์
ท่ี ชือ่ หน่วย ที่ ชื่อแผน พืน้ เมืองภาคเหนือ ชิน้ งานที่ 4 1
1 การแสดง ศ 3.1 ม.1/3 10 การแสดง - การแสดงนาฏศลิ ป์ เรอื่ ง การแสดง
พน้ื เมืองภาคกลาง นาฏศิลป์พนื้ เมือง 1
นาฏศลิ ป์ แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์ - การแสดงนาฏศิลป์ (5คะแนน) 1
และการละครใน พืน้ เมือง พ้นื เมืองภาค
รปู แบบง่าย ๆ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ
11 การแสดง - การแสดงนาฏศลิ ป์
2 สร้างสรรค์ ศ 3.1 ม.1/4 นาฏศลิ ป์ พื้นเมืองภาคใต้
กิจกรรมการ ใช้ทกั ษะการ พนื้ เมือง - การแสดงนาฏศลิ ป์
แสดง ทำงานเปน็ กลุ่ม พน้ื เมืองสีภ่ าค
ในกระบวนการ 12 บทบาท
ผลิตการแสดง หนา้ - บทบาทหนา้ ทข่ี องฝ่าย
ทข่ี องฝ่าย ต่างๆในการจัดการแสดง
ตา่ งๆใน
การจัดการ
แสดง

13 การสร้าง - การสร้างสรรค์กิจกรรม ชิ้นงานท่ี 5 2

สรรค์ ในการแสดงทสี่ นใจ เรือ่ ง บทบาท

กิจกรรมใน - ประโยชนข์ องกิจกรรม หน้าทแ่ี ละ

การแสดง การแสดง ฝ่ายต่าง ๆ

ที่สนใจ ในการจัด

การแสดง

(10คะแนน)

14 การสร้าง - แสดงการแสดงทีส่ นใจ

สรรค์

กิจกรรมใน

การแสดง

ท่สี นใจ

หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจดั การ ชนิ้ งาน/ภาระ เวลา
ที่ ช่อื หน่วย เรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ัด เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ งาน (คาบ)

2 สร้างสรรค์ ศ 3.1 ม.1/5 ที่ ช่อื แผน ชนิ้ งานที่ 6 1
กิจกรรมการ ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่ 15 หลักใน - หลักในการชมการ เรื่อง หลกั ในการ
แสดง กำหนดให้ ในการ ชมการแสดง 1
พจิ ารณาคณุ ภาพ การชมการ แสดง (5คะแนน)
การแสดงที่ชม แสดงและ - มารยาทในการชมการ 1
โดยเนน้ เรอ่ื งการ มารยาทใน แสดง ชน้ิ งานที่ 7
ใชเ้ สยี ง การแสดง การชมการ เรอ่ื ง ประเภท
ท่า และการ แสดง ของละครไทย
เคล่อื นไหว (5คะแนน)
16 ประเภท - ละครรำ
3 ละครไทย ศ 3.2 ม.1/1 ของละคร - ละครท่ีปรบั ปรงุ ข้ึนมา ช้ินงานท่ี 8
ระบปุ จั จัยทมี่ ีผล ไทย ใหม่ เรือ่ ง ละครไทย
ตอ่ การ - ละครรอ้ ง ในแตล่ ะยคุ สมยั
เปล่ียนแปลงของ - ละครพูด (5คะแนน)
นาฏศลิ ป์
นาฏศลิ ปพ์ ื้นบา้ น 17 ละครไทย - สมัยก่อนสุโขทัย
ละครไทย และ ในแต่ละ ( สมยั นา่ นเจ้า )
ละครพ้ืนบ้าน ยคุ สมัย - สมัยสุโขทยั
- สมัยอยธุ ยา
ศ 3.2 ม.1/2 - สมัยธนบุรี
บรรยายประเภท - สมัย/รัตนโกสินทร์
ของละครไทย
ในแตล่ ะยุคสมัย

18 บุคคล - บคุ คลสำคัญในวงการ 1
สำคัญ นาฏศิลป์ไทย
ในวงการ
นาฏศลิ ป์
ไทย

รวม 18

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
รหัสวชิ า ศ21104 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1
เวลาเรียน 11 คาบ เรื่อง การแสดงนาฏศลิ ป์
รายวิชา นาฏศิลป์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณค์ ุณค่านาฏศิลป์

ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคดิ อย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน
ตวั ชว้ี ัดช้ันปี ม.1/1 อธบิ ายอทิ ธิพลของนกั แสดงชื่อดงั ที่มผี ลต่อการโน้มนา้ วอารมณ์หรือความคดิ ของผูช้ ม
ตัวชว้ี ดั ชน้ั ปี ม.1/2 ใช้นาฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครในการแสดง
ตัวช้ีวัดชั้นปี ม.1/3 แสดงนาฏศลิ ป์และการละครในรปู แบบงา่ ย ๆ

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การแสดงของไทยมีอิทธิพลมาจากสิ่งต่างๆ หลายด้าน ทำให้การแสดงของไทยมีรูปแบบลักษณะ

ที่แตกต่างกันไป แต่ละการแสดงนาฏศิลป์ต้องอาศัยองค์ประกอบที่สำคัญคือนาฏยศัพท์ และภาษาท่าทาง
นาฏศิลป์ นำไปสกู่ ารแสดงนาฏศิลป์ไทยทป่ี ระณตี งดงาม เชน่ การแสดงพืน้ เมือง

3. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจัดการ ช้ินงาน/ภาระ เวลา
ท่ี ชอ่ื หน่วย เรยี นร้/ู ตัวชี้วัด เรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ งาน (คาบ)

1 การแสดง ศ 3.1 ม.1/1 ที่ ชื่อแผน ช้นิ งานที่ 1 1
นาฏศิลป์ อธิบายอิทธิพล เร่ือง อิทธิพลด้าน
ของนักแสดงช่อื 1 อทิ ธพิ ลด้าน - โขน,ละคร,ลเิ ก,ละคร การแสดงของไทย
ดงั ทม่ี ีผลตอ่ การ การแสดงของ สากล (5คะแนน)
โน้มน้าวอารมณ์ ไทย
หรอื ความคิดของ
ผ้ชู ม

ศ 3.1 ม.1/2 2 นาฏยศัพทท์ ่ี - การประทา้ ภาระงานที่ 2 1
2.1 ตอนท่ี 1
ใช้นาฏยศัพทห์ รือ เกยี่ วกับการ - การยกเทา้ เรื่อง นาฏยศพั ท์
ศพั ท์ทางการ ใช้เท้า - กระทุ้งเทา้ ท่ีเกี่ยวกับการ
ใชเ้ ทา้
ละครในการแสดง - กระดกเทา้

หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระ เวลา
ที่ ชือ่ หน่วย เรียนรู/้ ตวั ช้ีวัด เรยี นรู้ งาน (คาบ)
1 การแสดง ศ 3.1 ม.1/2 - ลกั ษณะการจีบ
ท่ี ช่อื แผน - ลกั ษณะการตั้งวง ภาระงานที่ 2 1
นาฏศลิ ป์ ใช้นาฏยศัพท์หรือ 3 นาฏยศพั ทท์ ี่ 2.2 ตอนที่ 2
- ภาษาทา่ นาฏศิลป์ที่ใช้ เรื่อง นาฏยศพั ท์ 2
ศัพท์ทางการ เกีย่ วกับการ แทนคำพดู ท่ีเก่ยี วกบั การ
ใช้มอื - ภาษาท่านาฏศลิ ป์ทใ่ี ช้ ใช้มอื 1
ละครในการแสดง แทนอารมณ์ความร้สู กึ (5คะแนน) 1
4 ภาษาท่า ภายใน ภาระงานที่ 2
และการตีบท - ภาษาท่าทางเคลื่อน 2.2 ตอนท่ี 3
ไหวท่แี สดงส่อื ทาง เรื่อง การใช้
5 ทา่ ทางการ อารมณ์ นาฏยศัพท์
เคลอ่ื นไหวที่ และภาษาท่า
แสดงส่ือทาง - ระบำเบ็ดเตลด็ ทางนาฏศิลป์
อารมณ์ ประกอบ
- ประวัตเิ พลง การเพลง
6 ระบำ ระบำอัศวลีลา (10คะแนน)
เบ็ดเตลด็ - ลกั ษณะรปู แบบ
การแสดง กจิ กรรมเกม
7 ระบำ - การแต่งกาย Word wall
อัศวลลี า - โอกาสท่ีใชใ้ นการแสดง
กจิ กรรมเกม
Kahoot

ศ 3.1 ม.1/3 8 รำวง - ประวตั คิ วามเป็นมา ชิน้ งานท่ี 3 1
แสดงนาฏศลิ ป์ 1
และการละครใน มาตรฐาน - ลกั ษณะรปู แบบการ เรอื่ ง แผนผงั
รูปแบบงา่ ย ๆ
แสดงรำวงมาตราฐาน ความคิดการ

- ท่ารำ แสดงรำวง

- เนอ้ื รอ้ ง มาตราฐาน

- การแต่งกาย และการปฏบิ ตั ิทา่

รำวงมาตรฐาน

(10คะแนน)

9 การแสดง - โขน ละคร รำและ

นาฏศลิ ปไ์ ทย ระบำการแสดงพน้ื เมือง

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจดั การ สาระการเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระ เวลา
ท่ี ชื่อหน่วย เรียนรู/้ ตัวชวี้ ัด เรยี นรู้ งาน (คาบ)
- การแสดงนาฏศิลป์
1 การแสดง ศ 3.1 ม.1/3 ที่ ช่อื แผน พ้ืนเมืองภาคเหนือ ชนิ้ งานที่ 4 1
นาฏศลิ ป์ แสดงนาฏศลิ ป์ 10 การแสดง - การแสดงนาฏศิลป์ เรอื่ ง การแสดง
และการละครใน พน้ื เมืองภาคกลาง นาฏศลิ ปพ์ นื้ เมือง
รปู แบบง่าย ๆ นาฏศิลป์ - การแสดงนาฏศิลป์ (5คะแนน)
พื้นเมือง พนื้ เมืองภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื 1
11 การแสดง - การแสดงนาฏศิลป์ 11
นาฏศิลป์ พน้ื เมืองภาคใต้
พื้นเมือง
รวม - การแสดงนาฏศลิ ป์
พน้ื เมืองสีภ่ าค

4. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน

☑ ความสามารถในการสื่อสาร

☑ ความสามารถในการคิด

□ ความสามารถในการแก้ปญั หา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

☑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
4. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

□ 1). รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ □ 5). อยูอ่ ยา่ งพอเพียง

□ 2). ซอ่ื สัตยส์ ุจริต ☑ 6). มุง่ ม่ันในการทำงาน

□ 3). มวี นิ ยั ☑ 7). รกั ความเปน็ ไทย

☑ 4). ใฝ่เรยี นรู้ □ 8). มจี ิตสาธารณะ
5. ช้นิ งาน/ภาระงาน

- ช้ินงานที่ 1 ใบงาน เรอื่ ง อิทธพิ ลดา้ นการแสดงของไทย

- ภาระงานท่ี 2 นาฏยศพั ท์ และภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์

- ช้นิ งานท่ี 3 แผนผังความคิดการแสดงรำวงมาตรฐานและการปฏิบตั ิท่ารำวงมาตรฐาน

- ชิ้นงานท่ี 4 การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง

6. การวัดและประเมินผล เครอื่ งมือ เกณฑ์
7.1 การวัดและประเมนิ ผลก่อนเรยี น แบบทดสอบ ร้อยละ 50 ข้ึนไป ผา่ นเกณฑ์

วธิ ีการ เกณฑ์
การทดสอบ ระดบั 2 คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์
เร่อื ง การแสดงนาฏศิลป์ ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ระดับ 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
7.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์

วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์
ประเมินการปฏบิ ัติทา่ รำ แบบประเมินการปฏิบัติทา่ รำ ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมผู้เรยี นรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ระดับ 2 คุณภาพ ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ

สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มง่ั มั่น แบบประเมิน
ในการทำงาน และรักความเป็นไทย คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

7.3 การวัดและประเมนิ ผลหลังเรยี น

วิธีการ เครอ่ื งมอื
การทดสอบ แบบทดสอบ
เรอ่ื ง การแสดงนาฏศิลป์
แบบประเมนิ ผลงาน
ประเมนิ ผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

ประเมินการนำเสนอผลงาน

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

คาบที่ หนว่ ยการเรยี นรู้/ วธิ ีการ สอ่ื การสอน/นวัตกรรม
เนอื้ หาสาระ จัดกิจกรรม การเรียนรู้
การเรียนรู้
1 อิทธิพลดา้ นการแสดงของไทย - PowerPoint
- โขน,ละคร,ลเิ ก,ละครสากล - คำถามทา้ ทาย - E-Book
- อธิบาย - YouTube
- ยกตวั อย่าง - คำถามท้าทาย
- วิดที ัศน์
- ใบงาน
- หนงั สอื เรียนวชิ านาฏศิลป์ ม.1

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ (ต่อ)

คาบท่ี หน่วยการเรยี นรู้/ วิธีการ สอ่ื การสอน/นวัตกรรม
เน้ือหาสาระ จัดกิจกรรม การเรียนรู้
การเรียนรู้
- PowerPoint
2-7 นาฏยศัพท์หรือศัพทท์ าง - คำถามทา้ ทาย - E-Book
- YouTube
การละครในการแสดง - อธบิ าย - คำถามทา้ ทาย
- วดิ ีทศั น์
- นาฏยศพั ทท์ เี่ กีย่ วกบั การใชเ้ ท้า - ยกตวั อย่าง - สาธิต
- ใบงาน
- นาฏยศพั ทท์ เี่ ก่ยี วกับการใช้มอื - สาธิต - หนังสือเรียนวิชานาฏศิลป์ ม.1

- ปฏบิ ัติทา่ รำ - PowerPoint
- E-Book
- กจิ กรรมเกม - YouTube
- คำถามท้าทาย
8-9 รำวงมาตรฐาน - คำถามทา้ ทาย - วิดีทัศน์
- ใบงาน
- ประวตั ิเพลงรำวงมาตรฐาน - อธิบาย - สาธติ
- หนงั สอื เรียนวชิ านาฏศลิ ป์ ม.1
- ลกั ษณะรปู แบบการแสดง - ยกตัวอย่าง
- PowerPoint
- การแตง่ กาย - ปฏิบัติทา่ รำเปน็ คู่ - E-Book
- YouTube
- โอกาสที่ใชใ้ นการแสดง - ปฏบิ ัตทิ ่ารำเปน็ หมู่ - คำถามท้าทาย
- วดิ ีทัศน์
- เน้ือรอ้ งทำนองเพลงรำวง - กิจกรรมเกม - ใบงาน
- สาธติ
มาตรฐาน - เกมบงิ โก
- หนงั สือเรยี นวชิ านาฏศิลป์ ม.1
เพลงดวงจนั ทรข์ วัญฟ้าและเพลง

ยอดชายใจหาญ

10-11 นาฏศิลป์พ้นื เมืองและนาฏศิลป์ - คำถามทา้ ทาย

สากล - อธิบาย

- การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย - ยกตัวอย่าง

- การแสดงนาฏศลิ ปพ์ ื้นเมืองแต่ - ปฏบิ ัติทา่ รำเป็นคู่

ละภมู ิภาค - ปฏบิ ตั ิท่ารำเปน็ หมู่

ของไทย - กจิ กรรมเกม

- การแสดงนาฏศลิ ปส์ ากล

9. สอ่ื การเรียนรแู้ ละแหล่งเรียนรู้

9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) PowerPoint เรอื่ ง อทิ ธิพลดา้ นการแสดงของไทย
2) PowerPoint เรื่อง นาฏยศพั ท์
3) PowerPoint เรอ่ื ง ภาษาทา่ และการตีบท
4) PowerPoint เรือ่ ง ระบำเบ็ดเตล็ด
5) PowerPoint เร่อื ง ระบำอัศวลีลา
6) PowerPoint เรอ่ื ง รำวงมาตรฐาน
7) PowerPoint เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
8). PowerPoint เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง
9) ใบความรู้ที่ 1 ในรปู แบบหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E-Book เรื่อง อิทธิพลดา้ นการแสดงของไทย
10) ใบความร้ทู ี่ 2 ในรปู แบบหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ E-Book เร่อื ง ภาษาท่า และการตบี ท
11) ใบความรูท้ ี่ 2 ในรปู แบบหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ E-Book เรือ่ ง รำวงมาตรฐาน
12) วดิ ีทศั นจ์ าก YouTube ตัวอย่างการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย
13) วิดีทศั น์จาก YouTube นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาท่าทางนาฏศิลป์
14) หนงั สือเรยี นวชิ า นาฏศิลป์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 สำนกั พมิ พ์ (พว.)
15) ใบงานที่ 1 เร่ือง อทิ ธพิ ลดา้ นการแสดงของไทย
16) ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง รำวงมาตรฐานและการปฏิบตั ิท่ารำวงมาตรฐาน
17) ใบงานที่ 3 เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์พื้นเมือง
18) กิจกรรมเกมบิงโก เร่ือง การแสดงนาฏศิลป์พ้ืนเมือง

9.2 แหล่งเรียนรู้
1) Internet (แหล่งข้อมลู สารสนเทศ)
2) Smartphone หรือโทรศัพท์มือถือ (เครื่องมือในการสบื ค้นข้อมลู และร่วมกจิ กรรม)
3) ห้องเรยี นนาฏศิลป์

10. เวลาเรียน/จำนวนช่ัวโมง

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 รวมท้งั หมด 11 ช่วั โมง

เวลาเรียน 1 คาบ/50 นาที

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ิลปะ
รหัสวิชา ศ21104 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
เวลาเรียน 4 คาบ เรอ่ื ง สร้างสรรค์กิจกรรมการแสดง
รายวิชา นาฏศลิ ป์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ณุ ค่านาฏศิลป์

ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
ตวั ชว้ี ัดช้นั ปี ม.1/4 ใช้ทกั ษะการทำงานเปน็ กลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
ตวั ช้วี ดั ชั้นปี ม.1/5 ใชเ้ กณฑ์ง่าย ๆ ท่ีกำหนดให้ ในการพจิ ารณาคุณภาพการแสดงทีช่ มโดยเนน้ เรือ่ งการ
ใช้เสียง การแสดงท่า และการเคลื่อนไหว

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การจัดการแสดงจะมีองค์ประกอบที่สำคญั ที่ทำให้การจัดการแสดงมีขึ้นได้ คือ บุคคลที่มีหน้าที่ต่าง ๆ

ดังนี้ ผู้อำนวยการแสดง ผู้กำกับการแสดง ผู้เขียนบท ผู้กำกับเวที ผู้ดูแลเครื่องแต่งกายและแต่งหน้า ผู้แสดง
การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงที่สนใจเป็นสิ่งที่สามารถทำได้ ซ่ึงในการสร้างสรรค์กิจกรรมในการแสดง
จะต้องมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้การแสดงนั้นมีความสมบูรณ์และสำเร็จลุล่วง
ไปได้ด้วยดี สร้างความสนุกสนานให้ผู้ชม การชมการแสดงผู้ชมจะต้องเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบต่าง ๆ ของ
การแสดง จะทำใหผ้ ู้ชมการแสดงเข้าใจการแสดง และซาบซ้ึง สนกุ สนานไปกบั การแสดง ซึง่ การชมการแสดงที่
ดีจะตอ้ งมีหลักในการชมการแสดง

3. สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระ เวลา
ที่ ชื่อหน่วย เรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั เรียนรู้ งาน (คาบ)
- บทบาทหน้าทข่ี องฝา่ ย
2 สร้างสรรค์ ศ 3.1 ม.1/4 ท่ี ช่ือแผน ตา่ งๆในการจัดการแสดง 1
กจิ กรรมการ ใชท้ ักษะการ
แสดง ทำงานเปน็ กลุ่ม 12 บทบาท
ในกระบวนการ หนา้ ท่ีของ
ผลติ การแสดง ฝ่ายตา่ งๆใน
การจัดการ
แสดง

13 การสรา้ ง - การสรา้ งสรรคก์ ิจกรรม 1
สรรค์ ในการแสดงท่สี นใจ
กิจกรรมใน - ประโยชนข์ องกิจกรรม
การแสดงที่ การแสดง
สนใจ

หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ แผนการจดั การ สาระการเรยี นรู้ ช้ินงาน/ภาระ เวลา
ที่ ช่ือหน่วย เรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั เรียนรู้ - แสดงการแสดงท่ีสนใจ งาน (คาบ)
2 สรา้ งสรรค์ ศ 3.1 ม.1/4
ท่ี ช่ือแผน - หลักในการชมการ ชิ้นงานที่ 5 1
กจิ กรรมการ ใชท้ กั ษะการ 14 การสร้าง แสดง เรือ่ ง บทบาท
แสดง ทำงานเป็นกลุ่ม - มารยาทในการชมการ หน้าท่แี ละ 1
ในกระบวนการ สรรค์ แสดง ฝา่ ยต่าง ๆ
ผลิตการแสดง กิจกรรมใน ในการจดั 4
การแสดงท่ี การแสดง
ศ 3.1 ม.1/5 สนใจ (10คะแนน)
ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่ ชน้ิ งานที่ 6
กำหนดให้ ในการ 15 หลักในการ เรอื่ ง หลักในการ
พจิ ารณาคณุ ภาพ ชมการแสดง ชมการแสดง
การแสดงทช่ี ม และมารยาท (5คะแนน)
โดยเน้นเรอ่ื งการ ในการชมการ
ใช้เสียง การแสดง แสดง
ท่า และการ
เคลอ่ื นไหว รวม

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน □ 5). อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

☑ ความสามารถในการส่ือสาร ☑ 6). ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
☑ ความสามารถในการคดิ
☑ 7). รกั ความเป็นไทย
□ ความสามารถในการแก้ปัญหา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต □ 8). มีจติ สาธารณะ

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

□ 1). รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
□ 2). ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต
□ 3). มีวนิ ัย

☑ 4). ใฝเ่ รยี นรู้

6. ชิ้นงาน/ภาระงาน

- ชิ้นงานท่ี 5 บทบาทหน้าท่ีและฝ่ายตา่ ง ๆ ในการจัดการแสดง
- ชนิ้ งานท่ี 6 ใบงาน เร่ือง หลักในการชมการแสดง

7. การวดั และประเมินผล
7.1 การวดั และประเมนิ ผลก่อนเรยี น

วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์

การทดสอบ แบบทดสอบ รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป ผ่านเกณฑ์
เรื่อง สรา้ งสรรค์กิจกรรมการแสดง
เกณฑ์
7.2 การวัดและประเมินผลระหว่างเรียน ระดับ 2 คุณภาพ ผา่ นเกณฑ์
ระดับ 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
วิธกี าร เครอื่ งมือ ระดับ 2 คณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์

ประเมนิ การปฏิบัตทิ ่ารำ แบบประเมนิ การปฏิบัติทา่ รำ ระดับ 2 คุณภาพ ผา่ นเกณฑ์

สงั เกตพฤตกิ รรมผู้เรยี นรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล เกณฑ์
ร้อยละ 50 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่
รอ้ ยละ 50 ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
สงั เกตการใฝ่เรียนรู้ มั่งมัน่ แบบประเมิน ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน และรักความเป็นไทย คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
สอ่ื การสอน/นวตั กรรม
7.3 การวดั และประเมินผลหลงั เรยี น การเรียนรู้

วธิ กี าร เคร่ืองมือ - PowerPoint
- E-Book
การทดสอบ แบบทดสอบ - YouTube
เร่ือง สร้างสรรค์กจิ กรรมการแสดง - คำถามท้าทาย
- วดิ ที ัศน์
ประเมนิ ผลงาน แบบประเมินผลงาน - ใบงาน
- หนังสือเรยี นวชิ านาฏศิลป์ ม.1
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

8. กิจกรรมการเรยี นรู้

คาบที่ หนว่ ยการเรียนรู้/ วธิ ีการ
เนอื้ หาสาระ จดั กจิ กรรม
การเรียนรู้

12-15 สรา้ งสรรคก์ ิจกรรมการแสดง - คำถามทา้ ทาย

- บทบาทหน้าทีข่ องฝ่ายต่างๆใน - อธบิ าย

การจัดการแสดง - ยกตัวอย่าง

- การสรา้ ง - สาธติ

สรรคก์ จิ กรรมในการแสดงทส่ี นใจ - ปฏิบัติท่ารำ

- หลกั ในการชมการแสดงและ - กจิ กรรมเกม

มารยาทในการชมการแสดง

9. ส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรยี นรู้

9.1 ส่ือการเรยี นรู้
1) PowerPoint เรอ่ื ง บทบาทหนา้ ทข่ี องฝ่ายตา่ งๆในการจัดการแสดง
2) PowerPoint เรื่อง การสร้างสรรคก์ จิ กรรมในการแสดงที่สนใจ
3) PowerPoint เรอ่ื ง หลกั ในการชมการแสดงและมารยาทในการชมการแสดง
4) ใบความรู้ท่ี 1 ในรูปแบบหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ E-Book เร่อื ง หลักในการชมการแสดง
5) วดิ ที ศั น์จาก YouTube ตัวอย่างการแสดงนาฏศิลป์ไทย

9.2 แหล่งเรียนรู้
1) Internet (แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ)
2) Smartphone หรอื โทรศัพทม์ ือถอื (เคร่อื งมือในการสบื ค้นข้อมูลและรว่ มกจิ กรรม)
3) ห้องเรียนนาฏศลิ ป์

10. เวลาเรียน/จำนวนช่ัวโมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 รวมทง้ั หมด 4 ชว่ั โมง
เวลาเรยี น 1 คาบ/50 นาที

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ
รหสั วชิ า ศ21104 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
เรื่อง ละครไทย
เวลาเรยี น 3 คาบ รายวชิ า นาฏศลิ ป์
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั
มาตรฐาน ศ 3.2 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ณุ คา่ นาฏศลิ ป์

ถา่ ยทอดความรสู้ ึก ความคดิ อย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
ตวั ชว้ี ัดชั้นปี ม.1/1 ระบปุ จั จัยทีม่ ผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้าน ละครไทย
และละครพื้นบ้าน
ตัวชว้ี ัดชน้ั ปี ม.1/2 บรรยายประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมัย

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การละครไทยได้มีการปรบั ปรุงให้ทนั สมยั ตามเหตกุ ารณ์ ตามความตอ้ งการของผูช้ ม เร่อื งราวท่ีแสดง

เป็นเรื่องราวที่หลากหลาย เช่น สะท้อนสังคม ชีวิตมนุษย์ เรื่องราวในอดีต ในอนาคต เป็นต้น และได้มีการนำ
เทคโนโลยสี มัยใหม่เข้ามามีส่วนเพ่ิมเติมใหล้ ะครดูนา่ สนใจ ต่ืนเต้น สมจรงิ มากข้นึ ซง่ึ จุดมุง่ หมายของละคร คือ
ใหผ้ ู้ชมได้รบั ความสนุกสนาน ได้ข้อคดิ และได้รบั ประโยชนจ์ ากผชู้ มมากทีส่ ดุ

3. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

หนว่ ยการ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระ เวลา
เรียนรู้ เรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั เรยี นรู้ งาน (คาบ)
- ละครรำ
ที่ ชอื่ หน่วย ที่ ชอื่ แผน - ละครท่ีปรบั ปรุงขึ้นมา ช้ินงานท่ี 7 1
ใหม่ เรอ่ื ง ประเภท
3 ละครไทย ศ 3.2 ม.1/1 16 ประเภทของ - ละครร้อง ของละครไทย
ละครไทย - ละครพดู (5คะแนน)
ระบปุ จั จยั ท่มี ผี ลต่อ

การเปล่ยี นแปลง

ของนาฏศิลป์

นาฏศลิ ปพ์ ืน้ บ้าน

ละครไทย และละคร

พื้นบา้ น

ศ 3.2 ม.1/2 17 ละครไทยใน - สมัยก่อนสโุ ขทัย ชน้ิ งานที่ 8 1
เรอื่ ง ละครไทย
บรรยายประเภทของ แต่ละยุคสมยั ( สมยั นา่ นเจา้ ) ในแตล่ ะยุคสมัย
(5คะแนน)
ละครไทย - สมัยสุโขทัย

ในแตล่ ะยุคสมัย - สมัยอยธุ ยา

- สมัยธนบรุ ี

- สมยั /รัตนโกสนิ ทร์

หนว่ ยการ มาตรฐานการ แผนการจัดการ สาระการเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระ เวลา
เรียนรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ดั เรียนรู้ งาน (คาบ)

ท่ี ช่ือหน่วย ท่ี ช่อื แผน 1

3 ละครไทย ศ 3.2 ม.1/2 18 บคุ คลสำคัญ - บคุ คลสำคญั ในวงการ

บรรยายประเภทของ ในวงการ นาฏศิลป์ไทย

ละครไทย นาฏศิลปไ์ ทย

ในแตล่ ะยคุ สมัย

รวม 3

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน □ 5). อยอู่ ย่างพอเพยี ง

☑ ความสามารถในการสื่อสาร ☑ 6). มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
☑ ความสามารถในการคิด
☑ 7). รกั ความเป็นไทย
□ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
□ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ □ 8). มีจติ สาธารณะ

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

□ 1). รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
□ 2). ซอื่ สตั ยส์ ุจริต
□ 3). มวี ินยั

☑ 4). ใฝเ่ รียนรู้

6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน

- ชนิ้ งานท่ี 7 ใบงาน เรื่อง ประเภทของละครไทย
- ชิน้ งานที่ 8 ใบงาน เรอ่ื ง ละครไทยในแต่ละยุคสมยั

7. การวัดและประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑ์
7.1 การวดั และประเมินผลก่อนเรียน แบบทดสอบ ร้อยละ 50 ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์
วิธีการ

การทดสอบ
เรอื่ ง ละครไทย

7.2 การวดั และประเมนิ ผลระหว่างเรียน

วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์
ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ประเมนิ การปฏิบตั ิท่ารำ แบบประเมินการปฏบิ ตั ิทา่ รำ ระดบั 2 คุณภาพ ผา่ นเกณฑ์
ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมผเู้ รียนรายบุคคล แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
ระดับ 2 คณุ ภาพ ผา่ นเกณฑ์
สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
เกณฑ์
สงั เกตการใฝเ่ รยี นรู้ ม่ังม่ัน แบบประเมิน
ในการทำงาน และรักความเป็นไทย คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละ 50 ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์

7.3 การวดั และประเมนิ ผลหลงั เรียน รอ้ ยละ 50 ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์
ระดบั 2 คุณภาพ ผ่านเกณฑ์
วิธีการ เครอ่ื งมือ
สอ่ื การสอน/นวตั กรรม
การทดสอบ แบบทดสอบ การเรียนรู้
เร่อื ง ละครไทย
- PowerPoint
ประเมินผลงาน แบบประเมินผลงาน - E-Book
- YouTube
ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน - คำถามท้าทาย
- วดิ ีทศั น์
8. กิจกรรมการเรียนรู้ - ใบงาน
- หนงั สอื เรยี นวิชานาฏศิลป์ ม.1
คาบท่ี หน่วยการเรยี นรู้/ วิธีการ
เนื้อหาสาระ จดั กิจกรรม
การเรยี นรู้
16-18 ละครไทย
1. ประเภทของละครไทย - คำถามทา้ ทาย
2. ละครไทยในแต่ละยุคสมัย - อธิบาย
3. บคุ คลสำคญั ในวงการ - ยกตวั อย่าง
นาฏศิลป์ไทย - สาธิต
- กจิ กรรมเกม

9. สือ่ การเรยี นรู้และแหล่งเรยี นรู้

9.1 สื่อการเรียนรู้
1) PowerPoint เรื่อง ประเภทของละครไทย
2) PowerPoint เรอ่ื ง ละครไทยในแต่ละยุคสมยั
3) PowerPoint เร่อื ง บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย
4) ใบความรู้ที่ 1 ในรูปแบบหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ E-Book เร่ือง ละครไทย
5) วดิ ีทัศน์จาก YouTube ตัวอย่างการแสดงนาฏศิลป์ไทย

9.2 แหล่งเรียนรู้
1) Internet (แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ)
2) Smartphone หรือโทรศัพท์มอื ถอื (เครอ่ื งมือในการสบื ค้นขอ้ มูลและรว่ มกจิ กรรม)
3) หอ้ งเรยี นนาฏศิลป์

10. เวลาเรยี น/จำนวนชั่วโมง
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 รวมทั้งหมด 3 ช่วั โมง
เวลาเรยี น 1 คาบ/50 นาที

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1
ครผู สู้ อน นางสาววริ ิยา ชนื่ อารมณ์ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 11 ชัว่ โมง

เรอ่ื ง อิทธิพลด้านการแสดงของไทย จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรัตนโกสนิ ทรส์ มโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ ึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั

2. ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้
ศ 3.1 ม.1/1 อธิบายอทิ ธพิ ลของนักแสดงช่ือดงั ท่มี ีผลตอ่ การโนม้ น้าวอารมณ์หรือความคิดของผ้ชู ม

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายอิทธิพลดา้ นการแสดงของไทยได้ถูกต้อง
2. ทักษะในการคดิ วิเคราะห์ โดยจำแนกการแสดงของไทยในแตล่ ะประเภทได้อยา่ งถกู ต้อง
3. เหน็ ความสำคญั และคณุ คา่ การแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
การแสดงของไทยมีอิทธิพลมาจากสิ่งต่างๆ หลายด้าน ทำให้การแสดงของไทยมีรูปแบบลักษณะ

ที่แตกตา่ งกนั ไป

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ด้านความรู้ (K)
- นกั เรียนสามารถอธบิ ายอทิ ธิพลด้านการแสดงของไทยได้
5.2 ดา้ นทักษะ (S)
- นกั เรียนสามารถคิดวเิ คราะห์โดยจำแนกการแสดงของไทยในแตล่ ะประเภทได้
1. โขน
2. ละครรำ
3. ลเิ ก
4. ละครสากล
5.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
- เห็นความสำคัญและคณุ คา่ การแสดงของไทย

6. การบรู ณาการ (บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื )
6.1 ภาษาไทย : การอธิบายเกี่ยวกับการแสดงของไทยแต่ละประเภทที่ได้รับอิทธิพลจากการแสดง
ทแี่ ตกต่างกันออกไป การแสดงความคิดเห็น การถามตอบข้อสงสัยเรอ่ื งการแสดงของไทย

7. สมรรถนะของผู้เรยี น

☑ ความสามารถในการสื่อสาร
☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแกป้ ัญหา
□ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ขั้นนำเขา้ ส่บู ทเรยี น
8.1.1 ครูแนะนำรายวชิ านาฏศิลป์ จากนัน้ จึงนำเข้าสบู่ ทเรยี นใน เร่ือง อิทธพิ ลด้านการแสดงของไทย
8.1.2 ให้นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ ำถามท้าทาย ดังน้ี
- นกั เรยี นคิดวา่ การแสดงของไทยมกี ่ีประเภท
- นกั เรยี นคิดว่าการแสดงของไทยแตล่ ะประเภทแตกตา่ งกนั หรือไม่
8.1.3 ครูเปิดตัวอย่างวดี ิทัศน์การแสดงของไทยให้นักเรียนดู เช่น วิดิโอการแสดงโขน วิดีโอการแสดง

ละครรำ วิดิโอการแสดงลิเก วิดิโอการแสดงละครสากล เป็นต้น จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็
โดยครูใช้คำถาม ดงั น้ี

- นกั เรยี นคิดว่าการแสดงในวดิ ีทศั น์เปน็ การแสดงประเภทใด
- นกั เรยี นเคยศึกษาประวัติความเป็นมาของการแสดงในวีดิทศั น์หรือไม่
- นอกจากการแสดงทีน่ ักเรียนเหน็ ในตัววีดิทศั น์แลว้ นักเรียนรูจ้ กั การแสดงใดของไทยอีกบ้าง
8.2 ขัน้ สอน
8.2.1 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การแสดงของไทยมีอิทธิพลมาจากสิ่งต่าง ๆ หลายด้าน ทำให้การ
แสดงของไทยมีรปู แบบลักษณะทแี่ ตกต่างกนั ไป พฒั นาจนกลายเป็นเอกลักษณข์ องการแสดงน้นั
8.2.2 ครูเริ่มอธิบายการพัฒนารูปแบบการแสดงของแต่ละชุด โดยการนำเสนอผ่าน PowerPoint
ดงั นี้
1. โขน

- พฒั นาการและประเภทของโขน
2. ละครรำ

- พัฒนาการและประเภทของละครรำ
3. ลิเก

- พัฒนาการของลิเก
4. ละครสากล

- พัฒนาการของละครสากล
8.2.3 ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกการแสดงของไทยมา 1 ประเภท ที่นักเรียนสนใจ ซึ่งสามารถศึกษา
ค้นคว้าได้จากหนังสือรายวิชาพื้นฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และสมาร์ทโฟน โดยให้นักเรียน

บอกลักษณะเด่นของการแสดงที่ตนเองเลือก และบอกเหตุผลที่เลือกการแสดงประเภทนี้เพราะอย่างไร

แล้ววางแผนการนำเสนอท่นี ่าสนใจ และเขา้ ใจงา่ ยลงในใบงาน จากนนั้ คณุ ครูสุ่มเลือกนักเรยี น 2-3 คน ออกมา

นำเสนอหน้าชนั้ เรียน และครมู อบรางวลั ให้นกั เรียนเพอ่ื เปน็ การเสรมิ แรง

8.2.4 ให้นักเรียนอธิบายอิทธิพลด้านการแสดงของไทย ใช้ทักษะในการคิดวิเคราะห์ โดยจำแนก

การแสดงของไทยในแต่ละประเภทให้ถูกต้อง
8.3 ขนั้ สรปุ
8.3.1. นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ ดังนี้

การแสดงของไทยมีอิทธิพลมาจากสิ่งต่าง ๆ หลายด้าน ทำให้การแสดงของไทยมีรูปแบบ

ลักษณะที่แตกต่างกันไป การแสดงของไทยแต่ละรูปแบบ หากผู้แสดงแสดงอย่างเต็มความสามารถ ตั้งใจแสดง

ถ่ายทอดอารมณ์ของตัวละครออกมาให้ดีทสี่ ดุ เข้าถึงตัวละครนนั้ จะทำใหผ้ ชู้ มมีความสุข สนุกสนาน เม่ือได้ชม

และจะติดตามการแสดงของผู้แสดงคนนัน้ ต่อไป

8.3.2. ให้นักเรียนใช้สมาร์ทโฟนสแกน QR Code เพื่อดาวน์โหลดคลังสื่อการเรียนรู้ ในรูปแบบ

หนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ E-Book รายวชิ า นาฏศิลป์ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสามารถทบทวนความรู้ไดเ้ สมอ

9. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
9.1 PowerPoint เรื่อง อิทธพิ ลการแสดงของไทย
9.2 ส่อื การเรียนรู้ ใบความรู้ รูปแบบหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เรื่อง อิทธิพลการแสดงของไทย
9.3 สื่อวีดทิ ัศน์ Youtube
- โขน ( https://www.youtube.com/watch?v=jz8tqFTayE0 )
- ละครรำ ( https://www.youtube.com/watch?v=RDbdFQ9rF-E&t=759s )
- ลิเก ( https://www.youtube.com/watch?v=ymvZzIk8otw )
- ละครเวที

( https://www.youtube.com/watch?v=uOSO3atfUG0&list=RDQMC_YgeYYf-Ig&start_radio=1 )
9.4 หนังสอื รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1
9.5 Internet

10. หลักฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ช้นิ งาน)
- ชิ้นงานท่ี 1 อิทธพิ ลดา้ นการแสดงของไทย

11. การวัดและประเมนิ ผล
11.1 วิธีการประเมนิ
11.1.1 สงั เกตพฤติกรรมการนำเสนอ
11.1.2 ตรวจผลงานนักเรยี น
11.2 เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการประเมนิ
11.2.1 แบบประเมนิ ผลการการนำเสนอ
11.2.2 แบบประเมินการตรวจผลงาน

11.3 เกณฑก์ ารประเมิน

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1
32

1. ความรู้ (K) เขา้ ใจและสามารถ เข้าใจและ อธบิ ายอิทธิพล อธบิ ายอทิ ธิพล

อธิบายอทิ ธิพลด้าน สามารถอธบิ าย ด้านการแสดง ดา้ นการแสดง

การแสดงของไทย อทิ ธิพลด้านการ ของไทยได้ ของไทยไดแ้ ต่ไม่

ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและ แสดงของไทยได้ ถกู ต้องแต่ไม่ ครบองค์ประกอบ

ชดั เจน อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน

2. ทักษะ/กระบวนการ (S) มที ักษะและวธิ กี าร มีทกั ษะและ มีวิธีการในการ มีวิธีการในการคิด

ในการคดิ วิเคราะห์ วิธกี ารในการคดิ คดิ วเิ คราะห์การ วิเคราะห์การ

การแสดงของไทย วิเคราะห์การ แสดงของไทย แสดงของไทยได้

แตล่ ะประเภทได้ แสดงของไทย แตล่ ะประเภท แต่ไม่ครบถว้ น

อยา่ งถูกต้อง แต่ละประเภท ไดถ้ ูกต้อง

ได้

3. คณุ ลกั ษณะอนั เหน็ คุณค่าและ เหน็ คุณค่าและ เหน็ คณุ คา่ เห็นคุณคา่ และ

พงึ ประสงค์ (A) อธบิ ายความสำคัญ ความสำคัญต่อ ความสำคัญต่อ ความสำคญั ของ

ต่อการอนรุ ักษ์และ การอนุรักษแ์ ละ การอนรุ ักษ์การ การแสดงของไทย

เผยแพร่อิทธพิ ล เผยแพร่อิทธิพล แสดงของไทย

ดา้ นการแสดงของ ดา้ นการแสดง ท้ัง 4 ดา้ น

ไทยท้งั 4 ด้าน ของไทย

เกณฑ์การตดั สิน ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดี
ระดบั 1 มีระดบั คุณภาพปรับปรงุ
ระดบั 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยย่ี ม
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผ่าน ผู้เรยี นได้รบั การประเมนิ เฉล่ยี ไม่นอ้ ยกว่าระดบั 3 ถือว่าผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน คดิ เป็นร้อยละ..........................
1. นกั เรียนจำนวน...........................คน คิดเป็นร้อยละ..........................
ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................คน
ไมผ่ า่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน

ได้แก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นักเรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรียนมคี วามรเู้ กดิ ทักษะ

............................................................................................................................. .................................................

........................................................................................................................................................... ...................

4. นกั เรียนมเี จตคติ คา่ นยิ ม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

15. ข้อเสนอแนะ

...................................................................................................................................................... ........................
........................................................................................................... ...................................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววิริยา ชน่ื อารมณ์)
ตำแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชชั ชษา เช่นพิมาย)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง………………………………………………… แลว้ มีความคดิ เห็นดังน้ี
1. เปน็ แผนการเรยี นรู้ท่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนร้ทู ี่
 นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบรหิ ารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นายบรรจบ ภโู สดา)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนรตั นโกสินทรส์ มโภชลาดกระบงั

แบบประเมินผลการนำเสนอ
ชอื่ ............................................................. ช้ัน.................... เร่ืองทน่ี ำเสนอ...........................................

รายการประเมิน 4 คะแนน 1
32
1. เนื้อหาครบถว้ นสมบูรณ์
2. มีการวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ
3. การใชส้ ำนวนภาษาชดั เจน
การสะกดคำและไวยากรณถ์ ูกตอ้ ง
4. รูปแบบน่าสนใจ / ความสวยงาม
5. แตง่ กายสุภาพเรยี บร้อย / ตรงต่อเวลา

รวม

เกณฑ์การตัดสนิ

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเยีย่ ม
ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพควรปรับปรงุ

แบบประเมนิ การตรวจผลงาน
ใบงาน เรื่อง อทิ ธิพลดา้ นการแสดงของไทย

ลำดับ ชอื่ - นามสกุล
ทักษะในการ รวม
คิด ิวเคราะห์ 5
อธิบายไ ้ด คะแนน
อ ่ยางถูก ้ตอง
จำแนกการแสดง
ของไทยไ ้ดถูก ้ตอง
ผลสำเ ็รจ
ของผลงาน
ความ ัรบ ิผดชอบ
ในการทำงาน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ดมี าก
ดี
5
4 พอใช้
2-3 ปรบั ปรงุ
1

ใบงาน เรอ่ื ง อทิ ธพิ ลดา้ นการแสดงของไทย
รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 รหัสวิชา ศ 21104 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแสดงนาฏศิลป์
คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกการแสดงของไทยมา 1 ประเภท ที่นักเรียนสนใจ โดยให้บอก
ลักษณะเด่นของการแสดงที่ตนเองเลือก และบอกเหตุผลที่เลือกการแสดงประเภทนี้เพราะอย่างไร
แล้ววางแผนการนำเสนอทีน่ ่าสนใจ และเขา้ ใจง่ายลงในใบงาน เพื่อออกมานำเสนอในชัน้ เรียน

ช่อื ...........................................นามสกุล..............................................ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/……..…เลขท่ี............

สื่อการเรียนรู้
สามารถสแกน QR Code Download สอ่ื การเรยี นรู้ในรูปแบบ E - Book

เร่อื ง อิทธิพลดา้ นการแสดงของไทย

สอ่ื การเรยี นรู้
สามารถสแกน QR Code Download สอื่ การเรยี นรู้ในรูปแบบวดี ทิ ัศน์ Youtube

โขน ( https://www.youtube.com/watch?v=jz8tqFTayE0 )

ละครรำ ( https://www.youtube.com/watch?v=RDbdFQ9rF-E&t=759s )

ลิเก ( https://www.youtube.com/watch?v=ymvZzIk8otw )

ละครเวที
( https://www.youtube.com/watch?v=uOSO3atfUG0&list=RDQMC_YgeYYf-

Ig&start_radio=1 )

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวิชา นาฏศิลป์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 2
ครผู ู้สอน นางสาววิริยา ช่ืนอารมณ์ เรื่อง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 11 ชวั่ โมง

เร่อื ง นาฏยศัพทเ์ กย่ี วกับการใช้เท้า จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรยี นรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั

2. ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใชน้ าฏยศัพท์หรอื ศพั ท์ทางการละครในการแสดง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายนาฏยศพั ทท์ ีเ่ ก่ยี วกับการใช้เท้าได้อยา่ งถูกตอ้ ง
2. ทกั ษะในการปฏิบัตินาฏยศัพท์ทเ่ี ก่ยี วกับการใช้เทา้ ได้อย่างถูกต้อง
3. เห็นความสำคญั และคณุ คา่ การแสดงของไทย

4. สาระสำคัญ
นาฏยศัพท์เกีย่ วกับการใช้เท้า ไดแ้ ก่ การประเทา้ การยกเท้า การกระทุง้ เท้า และการกระดกเท้า

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธบิ ายการใชน้ าฏยศพั ท์ทเ่ี ก่ยี วกับการใชเ้ ท้า
5.2 ดา้ นทกั ษะ (S)
- มีทักษะในการปฏบิ ตั ินาฏยศพั ท์ทเี่ ก่ยี วกับการใช้เท้า
5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
- เหน็ ความสำคญั และคุณค่าการแสดงของไทย

6. การบูรณาการ (บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น)
6.1 ภาษาไทย : การอธบิ ายความหมายเก่ยี วกบั นาฏยศพั ท์ทเ่ี กี่ยวกับการใชเ้ ท้า การถามตอบขอ้ สงสัยต่างๆ

7. สมรรถนะของผูเ้ รยี น

☑ ความสามารถในการสื่อสาร
☑ ความสามารถในการคิด

□ ความสามารถในการแก้ปัญหา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น
8.1.1 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ที่ได้เรียนในสัปดาห์ที่แล้ว และบอกวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้

ใหน้ ักเรยี นทราบ
8.1.2 ครรู ว่ มสนทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกบั ประสบการณ์ในการแสดง และชมการแสดงนาฏศิลป์ โดยใช้

คำถาม ดงั นี้
- นกั เรียนร้จู กั การแสดงนาฏศิลป์อะไรบา้ ง
- นกั เรียนเคยแสดงนาฏศลิ ป์หรอื ไม่
- นักเรยี นรสู้ กึ อย่างไรเม่ือได้แสดงหรือไดช้ มการแสดงนาฏศิลปไ์ ทย
- ถ้านกั เรยี นต้องการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย นักเรียนคิดวา่ สิ่งแรกทคี่ วรฝกึ ฝน คืออะไร
- นกั เรยี นร้จู ักนาฏยศัพทห์ รอื ไม่
- นักเรียนคิดว่านาฏยศพั ท์ คืออะไร และมีอะไรบ้าง

8.1.3 ครทู บทวน และยกตัวอย่างนาฏยศัพท์ ท่ีนักเรยี นเคยศึกษามา

8.2 ขน้ั สอน
8.2.1 ครูอธิบายความหมายของนาฏยศัพท์ว่า นาฏยศัพท์ คือ ศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการร่ายรำตั้งแต่

ศีรษะจรดปลายเท้า ซง่ึ ในการเรยี นนาฏศลิ ป์จะต้องรจู้ กั และฝกึ ปฏบิ ัตนิ าฏยศัพทท์ ี่เกี่ยวกบั การใชเ้ ท้า และมือ
8.2.2 ใหน้ ักเรยี นดูวดิ ที ศั น์ตัวอย่างการปฏบิ ตั ิทา่ นาฏยศพั ท์แบบการต์ ูนท่ีครนู ำเสนอจาก YouTube

8.2.3 ครูสาธิตนาฏยศัพทเ์ กยี่ วกบั การใชเ้ ท้าทลี ะท่า พร้อมอธิบายประกอบ ดังน้ี
- ครสู าธติ การประเทา้ จากน้นั อธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟังว่า การประเทา้ คือ การใชจ้ มูกเท้า

ตบพ้นื เบา ๆ แลว้ ยกข้นึ 1 ครง้ั อวยั วะสำคัญทใ่ี ช้ในการประเท้า คือ จมูกเท้า การใช้จมูกเทา้ ต้องหัก
ปลายนว้ิ เท้าหรือเกรง็ ปลายเทา้ ทำให้งอนขึ้น

- ครูสาธติ การยกเท้า จากน้นั อธบิ ายใหน้ กั เรยี นฟงั ว่า การยกเท้า คือ การยกเทา้ ขน้ึ เกร็งปลาย
นว้ิ เทา้ ให้งอนขึ้น และเกรง็ ข้อเท้าใหต้ งั้ ข้นึ เรียกวา่ การหกั ขอ้ เท้า

- ครูสาธติ การกระทุ้งเท้า จากนนั้ อธบิ ายใหน้ ักเรยี นฟังวา่ การกระทงุ้ เท้า คือ การวางเท้า
ไวด้ ้านหลังในลักษณะตง้ั บนจมกู เท้า แลว้ ใชจ้ มูกเท้ากระแทกพื้นเบา ๆ หนึ่งครงั้ แล้วยกข้ึน

- ครูสาธติ การกระดกเท้า จากน้ันอธิบายให้นกั เรียนฟงั วา่ การกระดกเท้า คือ การยกเทา้ ข้นึ
ดา้ นหลังในลักษณะการสง่ เขา่ ไปดา้ นหลังใหส้ งู ที่สุดโดยไมต่ ้องเอนตวั ไปด้านหนา้ ส่งิ สำคัญ คอื ต้องพยายามดึง
สน้ เท้าเขา้ หาตวั ใหม้ ากในลักษณะหักข้อเทา้

8.2.4 ให้นักเรียนฝกึ ปฏิบตั นิ าฏยศัพทเ์ กี่ยวกบั การใชเ้ ทา้ เพอื่ เตรียมตัวออกมานำเสนอหน้าชน้ั เรยี น
8.2.5 ครูสุ่มหาให้ตัวแทนนักเรียน 4 คน ออกมาแสดงนาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้เท้าท่าต่างๆ
(คนละ 1 ท่า) จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันบอกชื่อท่านาฏยศัพท์ พร้อมอธิบายลักษณะพิเศษของท่านาฏยศัพท์
เกย่ี วกบั การใชเ้ ท้าทีละทา่ โดยครูใช้คำถาม ดังน้ี

- นาฏยศพั ทเ์ กย่ี วกับการใช้เท้าท่ีเพ่อื นแสดง คืออะไร
- มลี กั ษณะอยา่ งไร
8.2.6 ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับนาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใชเ้ ท้า โดยครใู ช้คำถาม ดงั นี้
- เพราะอะไรนักเรียนจงึ ต้องเรียนร้นู าฏยศัพท์เกี่ยวกบั การใช้เทา้
8.3 ขน้ั สรปุ
8.3.1. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี้

นาฏยศัพทเ์ ก่ยี วกับการใช้เท้า เป็นพ้ืนฐานทีใ่ ช้ในการร่ายรำและเป็นพนื้ ฐานของนาฏศลิ ป์ไทย การฝึก
ปฏิบัตินาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้เท้า เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกการร่ายรำ ถ้าเราฝึกฝน
นาฏยศพั ท์ในการใช้เทา้ ได้อย่างคล่องแคลว่ จะทำให้เรารำหรอื เรียนนาฏศลิ ปไ์ ด้อย่างสวยงามและงา่ ยยิง่ ข้ึน

9. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้
9.1 สอื่ วิดีโอ Youtube นาฏยศัพท์และภาษาท่า

10. หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชิน้ งาน)
- ภาระงานท่ี 2 ตอนท่ี 1 เรอื่ ง นาฏยศพั ทท์ ีเ่ กี่ยวกับการใช้เทา้

11. การวัดและประเมินผล
11.1 วธิ ีการประเมนิ
11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ทิ า่ รำของผู้เรยี น
11.2 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบประเมนิ ความสามารถในการปฏบิ ตั ทิ ่ารำ

11.3 เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. ความรู้ (K)
4 32 1
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S) เข้าใจและสามารถ
อธบิ ายการใช้นาฏย เขา้ ใจและ อธิบายการใช้ อธิบายการใช้
3. คุณลักษณะอนั ศัพท์ที่เกย่ี วกบั การ
พงึ ประสงค์ (A) ใช้เท้าได้อยา่ ง สามารถอธิบาย นาฏยศัพทท์ ่ี นาฏยศพั ท์ที่
ถกู ต้องและชัดเจน
การใชน้ าฏย เกีย่ วกับการใช้ เกยี่ วกับการใช้เท้า
มที ักษะในการ
ปฏิบัตนิ าฏยศัพท์ท่ี ศัพท์ท่เี ก่ยี วกบั เทา้ ได้ถูกต้องแต่ ไดแ้ ต่ไม่ครบ
เกยี่ วกับเท้าได้อยา่ ง
ถูกต้อง การใช้เทา้ อยา่ ง ไมช่ ัดเจน องค์ประกอบ

เหน็ ความสำคญั การ ถูกต้อง
ปฏบิ ัตนิ าฏยศัพท์
เกย่ี วกับการใชเ้ ท้า มที ักษะในการ ปฏบิ ัตินาฏย ปฏิบตั นิ าฏยศพั ท์ที่

ปฏบิ ัตนิ าฏย ศัพท์ที่เก่ียวกบั เกี่ยวกับเท้าได้ได้

ศัพท์ท่เี ก่ยี วกบั เทา้ ได้แตย่ ังขาด แตไ่ ม่ครบถว้ น

เทา้ ในแตล่ ะท่า ทกั ษะทักษะการ

ได้ ปฏิบัติ

เห็นคณุ ค่าในการ เห็นคณุ คา่ ในการ เห็นคุณคา่ ในการ

ปฏิบัตนิ าฏย ปฏบิ ตั นิ าฏย ปฏบิ ตั นิ าฏยศพั ท์

ศพั ท์เกีย่ วกบั การ ศพั ทเ์ ก่ยี วกบั การ เกย่ี วกบั การใชเ้ ท้า

ใชเ้ ท้า ใชเ้ ท้า

เกณฑ์การตัดสนิ

ระดบั 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยี่ยม ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 1 มรี ะดบั คุณภาพปรบั ปรงุ
เกณฑ์การผา่ น ผูเ้ รียนไดร้ ับการประเมนิ เฉลยี่ ไม่น้อยกวา่ ระดับ 3 ถือวา่ ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน

สรุปผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ไมผ่ า่ นจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้...............คน คิดเป็นร้อยละ..........................

ไดแ้ ก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

.......................................................................................................................................................... ....................

3. นักเรียนมคี วามรเู้ กิดทกั ษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นักเรยี นมีเจตคติ คา่ นิยม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

.......................................................................................................................................... ....................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววิรยิ า ชนื่ อารมณ์)
ตำแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย

ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .......................................................
(นางสาวชัชชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ………………………………………………… แลว้ มคี วามคดิ เหน็ ดงั น้ี
1. เปน็ แผนการเรียนรทู้ ่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนรทู้ ่ี
 นำไปใชไ้ ด้จริง
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................................... .........

ลงชื่อ.......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนรัตนโกสนิ ทร์สมโภชลาดกระบัง

แบบประเมนิ ความสามารถในการปฏิบัติทา่ รำ
ชอ่ื ............................................................. ชน้ั .................... เรื่องทน่ี ำเสนอ...........................................

รายการประเมิน 4 คะแนน 1
32
1. ความถูกต้องของการปฏบิ ัติทา่ นาฏยศัพท์
2. ความสวยงามของการปฏิบัตทิ ่านาฏยศัพท์
3. ความต้งั ใจในการปฏิบตั ทิ ่ารำ
4. ความกล้าแสดงออก
5. แต่งกายสภุ าพเรียบร้อย / ตรงต่อเวลา

รวม

เกณฑ์การตดั สนิ

ระดบั 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดเี ย่ียม
ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพควรปรบั ปรงุ

ส่ือการเรยี นรู้
สามารถสแกน QR Code Download สือ่ การเรยี นรู้ในรูปแบบวีดทิ ศั น์

นาฏยศพั ท์และภาษาทา่ Motion graphic

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วิชา ศ 21104 รายวิชา นาฏศิลป์ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3
ครูผสู้ อน นางสาววริ ิยา ชืน่ อารมณ์ เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 11 ชัว่ โมง

เรือ่ ง นาฏยศพั ท์เกี่ยวกบั การใช้มือ จำนวน 1 ช่ัวโมง

โรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความร้สู กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

2. ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใช้นาฏยศัพทห์ รือศัพทท์ างการละครในการแสดง

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายนาฏยศพั ทท์ ี่เกยี่ วกับการใช้มอื ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
2. ทกั ษะในการปฏิบตั ินาฏยศัพท์ท่เี กยี่ วกับการใช้มือได้อย่างถกู ต้อง
3. เหน็ ความสำคัญและคณุ ค่าการแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
นาฏยศพั ท์เกย่ี วกับการใชม้ อื ไดแ้ ก่ ตั้งวงบน ต้งั วงกลาง ตงั้ วงลา่ ง จบี เดินมอื สา่ ยมอื

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธิบายการใชน้ าฏยศพั ท์ท่เี กยี่ วกบั การใช้มือ
5.2 ดา้ นทกั ษะ (S)
- มที ักษะในการปฏบิ ัตินาฏยศพั ท์ท่เี กยี่ วกบั การใช้มือ
5.3 ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
- เหน็ ความสำคัญและคุณคา่ การแสดงของไทย

6. การบรู ณาการ (บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรูอ้ ื่น)
6.1 ภาษาไทย : การอธบิ ายความหมายเก่ยี วกบั นาฏยศัพทท์ ่เี กย่ี วกบั การใช้มือ การถามตอบขอ้ สงสยั ต่างๆ

7. สมรรถนะของผูเ้ รยี น

☑ ความสามารถในการส่ือสาร
☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแกป้ ัญหา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน
8.1.1 ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูใช้คำถามทา้ ทาย ดังน้ี
- นกั เรียนคดิ วา่ อวยั วะใด มบี ทบาทและความสำคัญต่อการเรียนนาฏศิลป์มากทสี่ ุดเพราะเหตใุ ด
8.1.2 ให้นกั เรยี นทบทวนนาฏยศัพทเ์ ก่ียวกับการใช้เทา้ โดยครูใชค้ ำถาม ดงั นี้
- นาฏยศพั ทเ์ ก่ียวกับการใชเ้ ทา้ มีอะไรบ้าง
8.1.3 ให้นักเรยี นปฏบิ ัตทิ า่ นาฏยศัพทเ์ กี่ยวกับการใชเ้ ทา้ ทลี ะทา่ พรอ้ มอธิบายลกั ษณะของนาฏยศัพท์

แต่ละท่า ครูอธิบายเพ่มิ เติมจากที่นกั เรียนอธบิ าย
8.2 ขน้ั สอน
8.2.1 ให้นักเรียนดูท่านาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้มือ คือ ท่าตั้งวง ท่าหงายมือ ท่าจีบมือ ท่าหยิบจีบ

ทา่ คลายมอื จบี ท่าส่ายมือ ท่าการเดนิ มอื โดยการนำเสนอผ่านทาง PowerPoint เรื่อง นาฏยศัพท์
8.2.2 ครสู าธิตนาฏยศัพทเ์ ก่ยี วกับการใช้มือทีละทา่ พรอ้ มอธิบายประกอบ ดังนี้
- ครูสาธิตการตั้งวงบน จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การตั้งวงบน คือ การตั้งมือแบ

ใหน้ วิ้ หวั แมม่ อื งอเข้าไปอยู่กึง่ กลางฝา่ มือ ใหป้ ลายน้วิ ทั้ง 4 หนั เขา้ หาแง่ศีรษะ หกั ขอ้ มือเขา้ หาลำแขน หลังจาก
ครูสาธติ เสร็จใหน้ กั เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ติ าม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการตั้งวงกลาง จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การตั้งวงกลาง คือ การตั้งวงที่ระดับ
ของลำแขนจะอยู่ระหว่างวงบนและวงล่าง ปลายนิ้วสูงระดับไหล่ หลังจากครูสาธิตเสร็จให้นักเรียนฝึกปฏิบัติ
ตาม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการตั้งวงล่าง จากนั้นอธิบายให้นกั เรียนฟังว่า การตั้งวงล่าง คือ การตั้งฝ่ามือให้ปลาย
นิ้วทง้ั 4 อยู่ระดับหัวเข็มขัด และหักขอ้ มือเข้าหาลำแขน โดยให้สว่ นโคง้ ของลำแขนหา่ งจากลำตวั เพยี งเล็กน้อย
หลังจากครสู าธิตเสรจ็ ให้นกั เรยี นฝกึ ปฏิบัติตาม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการจีบ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การจีบ คือ การนำนิ้วชี้กับนิ้วหวั แม่มือชนกัน
ปลายนว้ิ หวั แมม่ ือจรดขอ้ แรกของปลายน้ิวช้ี น้ิวท่เี หลือคลายออกจากกันเหมือนรูปพัดและต้องหักข้อมือเข้าหา
ลำแขนหลังจากครูสาธติ เสรจ็ ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏิบัตติ าม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการหยิบจีบ จากนั้นอธิบายใหน้ ักเรียนฟังว่า การหยิบจีบ คือ การใช้มือที่ต้ังวงเปลีย่ น
มาเป็นท่าจีบแต่เป็นการจีบคว่ำ การหยิบจีบเป็นลักษณะการใช้นิ้วจีบให้เหมือนมีบางสิ่งมาดึงอยู่ที่ปลายนิ้วช้ี
และน้วิ หัวแม่มอื หลังจากครสู าธติ เสรจ็ ให้นักเรยี นฝึกปฏิบตั ติ าม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการคลายมือจีบ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การคลายมือจีบ คือ การนำมือที่จีบ
อยู่มาคลายจีบออก โดยการปล่อยมือที่จีบออกจากกัน มือจะอยู่ในลักษณะหงายมือ เมื่อคลายจีบออกแล้ว
ต้องหักข้อมือออกจากท้องแขนทันที และปลายนิ้วทั้งสี่นิ้วจะหงายชี้ลงสู่พื้นหลังจากครูสาธิตเสร็จให้นักเรียน
ฝกึ ปฏบิ ัตติ าม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการส่ายมือ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การส่ายมือ คือ การทำท่าแกว่งแขน
โดยการใช้แขนเป็นสำคัญ การแกว่งแขนเพื่อส่ายมือจะทำขึ้นลงสลับข้างกัน ถ้าแขนซ้ายลง แขนขวาจะยกข้ึน
ข้อสำคัญ คือ แขนที่ยกขึ้นตั้งเป็นท่าหงายมือ และต้องไม่ยกสูงกว่าระดับไหล่ แขนที่ส่ายจะเป็นท่าคว่ำมือ
และตำ่ กว่าระดบั เอว ตึงแขนท้งั สองขา้ งหลังจากครูสาธติ เสรจ็ ใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบัติตาม 2-3 รอบ

- ครูสาธิตการเดินมือ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเดินมือ คือ การเคลื่อนไหวที่ใช้มือ
เป็นการแสดงท่าหรือปฏิบัติท่ารำระหว่างท่าหนึ่งไปอีกท่าหนึ่งในการใช้มือ เช่น การเดินมือสู่หน้าผาก
คือ ทา่ ไหวจ้ ากระดบั อกยกขน้ึ สู่หนา้ ผาก เป็นต้น หลงั จากครูสาธติ เสร็จใหน้ กั เรยี นฝึกปฏบิ ตั ิตาม 2-3 รอบ

8.2.3 ใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏิบตั ินาฏยศพั ทเ์ กยี่ วกับการใช้มอื เพื่อเตรียมตวั ออกมานำเสนอหน้าช้นั เรียน
8.2.4 ให้ตัวแทนนักเรียน 6 คน ออกมาแสดงนาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้มือท่าต่าง ๆ (คนละ 1 ท่า)
จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันบอกชื่อท่านาฏยศัพท์ พร้อมอธิบายลักษณะของท่านาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้มือ
ทลี ะท่า โดยครใู ช้คำถาม ดงั น้ี

- นาฏยศพั ท์เก่ยี วกบั การใช้มอื ทเี่ พอ่ื นแสดง คอื อะไร
- ลักษณะอย่างไร
8.3 ข้ันสรุป
8.3.1. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
นาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้มือ เป็นพื้นฐานที่ใช้ในการร่ายรำและเป็นพื้นฐานของนาฏศิลป์
ไทย การฝึกปฏิบัตินาฏยศัพท์เกี่ยวกับการใช้มือ เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกการร่ายรำ
ถ้าเราฝึกฝนนาฏยศัพท์ในการใช้มือได้อย่างคล่องแคล่ว จะทำให้เราเรียนร่ายรำหรือเรียนนาฏศิลป์ได้
อย่างสวยงามและง่ายยง่ิ ข้ึน
8.3.2 ให้นกั เรยี นทบทวนความร้เู พมิ่ เติมจาก Youtube เร่ือง นาฏยศพั ท์และภาษาท่า

9. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้
9.1 PowerPoint เรือ่ ง นาฏยศพั ท์
9.1 สื่อวดิ โี อ Youtube นาฏยศพั ท์และภาษาท่า

10. หลักฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ช้ินงาน)
- ภาระงานที่ 2 ตอนท่ี 2 เรอ่ื ง นาฏยศัพทท์ เ่ี กยี่ วกบั การใชม้ อื

11. การวดั และประเมนิ ผล

11.1 วิธีการประเมนิ
11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิทา่ รำของผเู้ รยี น

11.2 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบประเมินความสามารถในการปฏบิ ัติทา่ รำ

11.3 เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
1. ความรู้ (K)
4 32 1
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S) เขา้ ใจและสามารถ
อธบิ ายการใชน้ าฏย เข้าใจและ อธบิ ายการใช้ อธิบายการใช้
3. คณุ ลักษณะอัน ศัพท์ท่ีเก่ยี วกบั การ
พงึ ประสงค์ (A) ใช้มือได้อยา่ งถูกต้อง สามารถอธิบาย นาฏยศัพท์ที่ นาฏยศพั ทท์ ี่
และชดั เจน
การใชน้ าฏย เก่ยี วกบั การใช้ เกยี่ วกับการใชม้ ือ
มที กั ษะในการ
ปฏิบัตินาฏยศพั ท์ที่ ศัพท์ที่เกยี่ วกับ มือไดถ้ ูกตอ้ งแต่ ได้แต่ไมค่ รบ
เก่ยี วกบั มือได้อยา่ ง
ถกู ต้อง การใชม้ อื อย่าง ไมช่ ดั เจน องคป์ ระกอบ

เห็นความสำคัญการ ถูกต้อง
ปฏบิ ตั ินาฏยศัพท์
เกย่ี วกบั การใช้มือ มีทกั ษะในการ ปฏิบัตนิ าฏย ปฏิบัตินาฏยศพั ท์

ปฏบิ ัตินาฏย ศัพท์ท่ีเก่ยี วกับ ท่เี ก่ียวกับมือได้ได้

ศพั ท์ทีเ่ กี่ยวกับ มือได้แต่ยังขาด แตไ่ ม่ครบถ้วน

มอื ในแตล่ ะทา่ ได้ ทักษะทักษะการ

ปฏบิ ตั ิ

เหน็ คณุ ค่าในการ เหน็ คุณค่าในการ เหน็ คณุ ค่าในการ

ปฏิบตั นิ าฏย ปฏิบัตนิ าฏย ปฏบิ ัตินาฏยศพั ท์

ศพั ทเ์ ก่ียวกบั ศัพท์เกีย่ วกบั เก่ียวกบั การใช้มอื

การใชม้ อื การใช้มอื

เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดับ 1 มีระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดเี ยย่ี ม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้

เกณฑ์การผา่ น ผู้เรยี นไดร้ บั การประเมนิ เฉลีย่ ไมน่ อ้ ยกวา่ ระดับ 3 ถือว่าผา่ นเกณฑ์การประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ..................คน คิดเป็นรอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ..........................

ได้แก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทกั ษะ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ คา่ นยิ ม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววิริยา ชนื่ อารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชัชชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ………………………………………………… แลว้ มคี วามคิดเห็นดังน้ี
1. เปน็ แผนการเรยี นร้ทู ี่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนรูท้ ี่
 นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง


Click to View FlipBook Version