The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wiriya Chuenarom, 2022-10-26 09:10:41

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

แบบประเมนิ ความสามารถในการปฏิบัติทา่ รำ
ชอ่ื ............................................................. ชน้ั .................... เรื่องทน่ี ำเสนอ...........................................

รายการประเมิน 4 คะแนน 1
32
1. ความถูกต้องของการปฏบิ ัติทา่ นาฏยศัพท์
2. ความสวยงามของการปฏิบัตทิ ่านาฏยศัพท์
3. ความต้งั ใจในการปฏิบตั ทิ ่ารำ
4. ความกล้าแสดงออก
5. แต่งกายสภุ าพเรียบร้อย / ตรงต่อเวลา

รวม

เกณฑ์การตดั สนิ

ระดบั 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดเี ย่ียม
ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพควรปรบั ปรงุ

ส่ือการเรยี นรู้
สามารถสแกน QR Code Download สือ่ การเรยี นรู้ในรูปแบบวีดทิ ศั น์

นาฏยศพั ท์และภาษาทา่ Motion graphic

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวชิ า ศ 21104 รายวิชา นาฏศิลป์ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4
ครูผ้สู อน นางสาววริ ิยา ชื่นอารมณ์ เร่ือง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 11 ชัว่ โมง

เร่ือง ภาษาท่า และการตีบท จำนวน 1 ช่ัวโมง

โรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ อย่างอิสระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

2. ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใชน้ าฏยศัพท์หรอื ศัพทท์ างการละครในการแสดง

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายนาฏยศัพท์และภาษาทา่ ทใี่ ชใ้ นการส่อื ความหมายได้
2. มีทักษะในการตีบท สามารถปฏิบตั นิ าฏยศัพท์และภาษาทา่ ได้อย่างถูกต้อง
3. เห็นความสำคญั และคณุ ค่าการแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
1. ภาษาท่า หมายถึง ภาษาที่ใช้เรียกท่ากิริยาอาการที่แสดงออกของมนุษย์ นอกจากท่าทางที่ใช้ใน

ชีวิตประจำวันแล้ว ยังเป็นท่าที่นำมาดัดแปลงใช้แสดงละครต่าง ๆ ที่เลียนแบบจากชีวิตจริง เป็นการแสดง
ทา่ ทางส่ือความหมายใหท้ กุ คนเขา้ ใจได้อย่างง่าย ๆ

2. ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ หรือภาษาท่าที่ใช้ในนาฏศิลป์ เป็นท่าทางที่ใช้ปฏิบัติในการแสดงนาฏศิลป์
เพอ่ื ใชส้ ือ่ ความหมายทางอารมณ์ ความรสู้ ึกทางคำพดู

3. การตีบท หรือบางครั้งเรียก การรำใช้บท คือ การรำตามบทร้อง บทประพันธ์ บทละคร บทพากย์
บทเจรจา เป็นการถอดบทประพันธห์ รือคำประพนั ธน์ น้ั ๆ ออกมาเปน็ ทา่ รำทีใ่ ชใ้ นการตีบท

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธิบายภาษาทา่ ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ และการตีบท
5.2 ด้านทักษะ (S)
- มที กั ษะในการปฏบิ ตั ิภาษาทา่ ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ และการตบี ท
5.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
- รกั ความเป็นไทย

6. การบูรณาการ (บูรณาการกบั กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ นื่ )
6.1 ภาษาไทย : การอธบิ ายความหมายเก่ยี วกับภาษาทา่ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ และการตบี ท

การแสดงความคดิ เหน็ การถามและการตอบข้อสงสัยต่างๆ

7. สมรรถนะของผเู้ รียน

☑ ความสามารถในการสื่อสาร

☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
8.1 ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
8.1.1 ให้นักเรยี นทบทวนความรู้ที่ไดเ้ รียนเม่ือสปั ดาห์ท่แี ล้ว และให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็น

โดยครูใช้คำถามท้าทาย ดังนี้
- ถ้านักเรียนต้องการเปน็ นักแสดงมืออาชพี ส่งิ แรกท่ีควรฝึกฝน คืออะไร

8.1.2 ครูเปิด PowerPoint นำเสนอภาพและคำศัพท์ เกยี่ วกบั กิริยาอาการของมนุษย์มาใหน้ กั เรยี น
อ่าน ดงั นี้ รกั โกรธ ดใี จ เสียใจ ใหน้ ักเรยี นอา่ นคำทีละคำพร้อมกัน จากน้นั ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่างเหตุการณ์
ท่สี ัมพนั ธ์กบั คำแตล่ ะคำ

8.1.3 ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียน 4 คน ออกมาแสดงกิริยาอาการต่าง ๆ จากคำศัพท์ตามข้อ 2
จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการแสดงกิริยาอาการท่าทางต่าง ๆ ของเพื่อน โดยครูใช้
คำถาม ดังนี้

- นักเรียนคดิ ว่ากิริยาอาการที่เพ่ือนแสดงนน้ั สามารถสื่อความหมายได้หรือไม่
- นกั เรียนคดิ วา่ กิรยิ าอาการท่ีมนษุ ยแ์ สดงออกเกี่ยวขอ้ งกับการแสดงนาฏศลิ ป์อยา่ งไร
8.2 ขั้นสอน
8.2.1 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ท่าทางกิริยาอาการที่แสดงออกของมนุษย์ในทางนาฏศิลป์ เรียกว่า
ภาษาท่า หมายถงึ ภาษาทีใ่ ช้เรยี กทา่ กิริยาอาการท่ีแสดงออกของมนุษย์ นอกจากทา่ ทางท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน
ยังเป็นท่าที่นำมาดัดแปลงใช้แสดงละครต่าง ๆ ที่เลียนแบบจากชีวิตจริง เป็นการแสดงท่าทางสื่อความหมาย
ให้ทุกคนเข้าใจไดอ้ ยา่ งง่าย ๆ เชน่ การเรียกมา โกรธ รัก อาย เปน็ ต้น
8.2.2 ใหน้ ักเรยี นดภู าพภาษาทา่ ทา่ ท่าน ท่าเรยี กใหม้ า ท่าโกรธ ทา่ รกั ท่าอาย
8.2.3 ครสู าธติ ภาษาท่า ให้นักเรียนดู ดงั น้ี
- ครแู สดงทา่ ชี้ เพื่อบง่ บอกว่าท่าน หรอื เธอ
- ครแู สดงท่ากวกั มือเรยี ก เพ่ือแสดงภาษาทา่ เรยี กใหม้ า หลังจากครสู าธติ เสร็จใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏิบัติ
ตาม 2-3 รอบ
- ครูแสดงทา่ กำหมดั แน่น และใชส้ ายตา สหี นา้ เพ่ือแสดงภาษาท่า โกรธ หลังจากครสู าธิตเสรจ็
ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิตาม 2-3 รอบ
- ครูแสดงการโอบกอด เพ่อื แสดงภาษาทา่ รกั หลังจากครสู าธิตเสรจ็ ให้นักเรียนฝกึ ปฏิบัตติ าม 2-3
รอบ
- ครแู สดงท่าเขินอาย เพ่ือแสดงภาษาทา่ อาย หลังจากครูสาธติ เสร็จใหน้ กั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิตาม 2-3 รอบ
8.2.4 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมกับนักเรียนว่า นอกจากภาษาท่าแล้ว ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ หรือภาษา
ทีใ่ ช้ในนาฏศิลป์ก็มคี วามสำคญั เพราะเป็นท่าท่ีใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ เพอื่ ใช้สือ่ ความหมายทางด้านอารมณ์

ความรู้สึกแทนคำพูด จากนั้นให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถาม ดังนี้ นักเรียนคดิ ว่าภาษา
ท่าทางนาฏศิลปท์ ี่สามารถฝึกปฏิบตั ไิ ด้ มที า่ อะไรบา้ ง

8.2.5 ให้นกั เรียนดูภาพภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ท่าโกรธ ทา่ รัก ทา่ เดนิ
8.2.6 ครสู าธิตภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ป์ ใหน้ กั เรียนดทู ลี ะทา่ พรอ้ มอธิบายประกอบ ดงั น้ี

- ครูแสดงท่าโกรธ จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ใช้ฝ่ามือถูข้างแก้มแล้วกระชากลงตัวนาง
จีบมอื ท่ชี ายพก ตัวพระ เท้าสะเอว หลังจากครูสาธติ เสร็จใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏิบัตติ าม 2-3 รอบ

- ครูแสดงท่ารัก จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ประสานมือทาบฐานไหล่ เปิดปลายนิ้ว
ตัวนาง ก้าวเท้าขวาเอียงขวา ตัวพระ ก้าวข้างเท้าขวาเอียงซ้าย หลังจากครูสาธิตเสร็จให้นักเรียน
ฝึกปฏิบัติตาม 2-3 รอบ

- ครูแสดงท่าเดิน จากนั้นอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ขณะก้าวเดินมือทั้งสองข้างจีบคว่ำแล้ว
ปล่อยจบี เป็นต้ังวง เมื่อกา้ วเต็มเท้า ตัวนาง กา้ วเทา้ ซา้ ย เอยี งทางด้านขวา มอื ขวาปล่อยจีบเป็นตั้งวง
มือซ้ายปล่อยจีบตั้งมือข้างลำตัวตึงแขนทอดแขนลงต่ำเล็กน้อย ตัวพระ ก้าวเท้าซ้ายกันเข่าออก
เล็กน้อย เอียงทางด้านขวา มือขวาปล่อยจีบเป็นตั้งวง มือซ้ายปล่อยจีบตั้งมือข้างลำตัวตึงแขนทอด
แขนลงต่ำเลก็ น้อยหลังจากครสู าธติ เสรจ็ ใหน้ ักเรยี นฝกึ ปฏบิ ัตติ าม 2-3 รอบ
8.2.7 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า เมื่อนักเรียนเรียนรู้ภาษาท่า ภาษาท่าทางนาฏศิลป์แล้ว สิ่งต่อไป
ที่นักเรียนควรเรียนรู้ คือ การตีบท การตีบท หรือบางครั้งเรียก การรำใช้บท คือ การรำตาม บทร้อง
บทประพันธ์ บทละคร บทพากย์ บทเจรจา เป็นการถอดบทประพันธ์หรือคำประพันธ์นั้น ๆ ออกมาเป็นท่ารำ
ทใ่ี ช้ในการตีบททสี่ ามารถฝึกปฏิบตั ไิ ด้
8.2.8 ให้นักเรยี นดูภาพการตบี ท ภาพทา่ น/คณุ /เธอ ภาพขา้ พเจ้า/ตวั เรา/ฉนั
8.2.9 ครูสาธติ การตบี ท ให้นักเรียนดทู ลี ะท่า ดังนี้

- ครสู าธิตทา่ รำ ท่าน/คณุ /เธอ จากนั้นให้นักเรยี นฝกึ ปฏิบัตติ าม 2-3 รอบ
- ครสู าธติ ทา่ รำ ข้าพเจ้า/ตวั เรา/ฉัน จากน้นั ให้นักเรยี นฝกึ ปฏิบตั ิตาม 2-3 รอบ
- ครูสาธิตทา่ รำ สขุ สบาย/เกษมสำราญ จากนนั้ ให้นักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ติ าม 2-3 รอบ
- สาธิตท่ารำ ปฏเิ สธ/อย่า/ไม่ต้องการ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นฝึกปฏิบัติตาม 2-3 รอบ
- สาธติ ทา่ รำ ดีใจ/ยนิ ดี/ปรีเปรมดิ์ จากน้นั ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏิบัตติ าม 2-3 รอบ
8.2.10 หลงั จากฝกึ ปฏบิ ตั ิภาษาทา่ ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ และการตบี ทแลว้ ให้นกั เรียนฝึกปฏบิ ัตแิ ล้ว
มอบหมายภาระงานที่ 2 (ตอนที่ 3) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 10 คน แล้วอัดวิดีโอการสร้างสรร์ท่ารำที่ใช้
ภาษาท่าทางนาฏศิลปป์ ระกอบเพลงที่นักเรียนสนใจเปน็ เวลา 1 นาที และแชร์ลงที่แอปพลิเคชั่น TikTok เพ่ือ
นำเสนอและส่งผลงานผา่ นลิงค์วดิ โี อ และให้เพอื่ นในชนั้ เรียนมสี ว่ นประเมินผลงานของนักเรยี น
8.3 ข้ันสรปุ
8.3.1. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดังนี้
ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ เป็นท่าทางในการแสดงนาฏศิลป์ เพื่อใช้สื่อความหมายอารมณ์ ความรู้สึก
แทนคำพูด การตีบท เป็นการรำใช้บท รำตาม บทร้อง บทประพันธ์ ออกมาเป็นท่ารำ เป็นการถอดบทต่าง ๆ
ออกมาเป็นท่ารำ การเรียนรูเ้ รื่องภาษาท่า ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ และการตีบท จะทำให้เราเข้าใจความหมาย
ของการแสดง ส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และสามารถใช้ท่าทางต่าง ๆ มาดัดแปลงใช้ในการแสดง
ตา่ ง ๆ ได้

9. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
9.1 PowerPoint เรื่อง ภาษาทา่
9.2 TikTok ภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปป์ ระกอบเพลง
9.3 หนงั สอื รายวชิ าพื้นฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1

10. หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชิ้นงาน)
- ภาระงานท่ี 2 ตอนที่ 3 ภาษาทา่ ทางนาฏศิลป์ประกอบเพลง

11. การวดั และประเมินผล

11.1 วธิ ีการประเมิน
11.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิท่ารำของผ้เู รียน

11.2 เครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการประเมิน
11.2.1 แบบประเมนิ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิทา่ รำ
11.2.2 แบบประเมนิ โดยเพอื่ นในชัน้ เรียน

11.3 เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ
1. ความรู้ (K)
4 32 1
2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S)
เขา้ ใจและสามารถ เขา้ ใจและ อธบิ ายการใช้ อธิบายการใช้
3. คุณลกั ษณะอนั
พงึ ประสงค์ (A) อธิบายการใช้ภาษา สามารถอธบิ าย ภาษาทา่ ภาษา ภาษาทา่ ภาษา

ท่า ภาษาทา่ ทาง การใชภ้ าษาท่า ทา่ ทางนาฏศิลป์ ทา่ ทางนาฏศิลป์

นาฏศลิ ป์ และการ ภาษาท่าทาง และการตี และการตบี ทได้

ตบี ท ได้อย่าง นาฏศลิ ป์ และ บท ไดถ้ ูกตอ้ ง แตไ่ ม่ครบ

ถูกต้องและชดั เจน การตบี ท อยา่ ง แต่ไมช่ ดั เจน องค์ประกอบ

ถกู ต้อง

มีทักษะในการ มีทักษะในการ ปฏิบัติภาษาทา่ ปฏบิ ัตภิ าษาทา่

ปฏบิ ตั ิภาษาท่า ปฏิบัตภิ าษาทา่ ภาษาทา่ ทาง ภาษาท่าทาง

ภาษาท่าทาง ภาษาทา่ ทาง นาฏศลิ ป์ และ นาฏศิลป์และการ

นาฏศิลปแ์ ละการตี นาฏศลิ ป์ และ การตีบท ได้แต่ ตบี ทได้ได้แต่ไม่

บทได้อย่างถูกต้อง การตบี ทในแต่ ยังขาดทักษะ ครบถ้วน

ละท่าได้ ทักษะการ

ปฏิบัติ

เห็นความสำคญั เหน็ คุณคา่ ใน เห็นคณุ ค่าใน เห็นคุณคา่ ในการ

การปฏิบัตภิ าษาท่า การปฏิบตั ภิ าษา การปฏิบัติภาษา ปฏบิ ตั ิภาษาท่า

ภาษาทา่ ทาง ทา่ ภาษาทา่ ทาง ทา่ ภาษาทา่ ทาง ภาษาทา่ ทาง

นาฏศลิ ป์ และการ นาฏศิลป์ และ นาฏศิลป์ และ นาฏศลิ ป์ และ

ตบี ท การตบี ท การตีบท การตบี ท

เกณฑก์ ารตัดสิน ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 1 มีระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ
ระดบั 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดีเยยี่ ม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผ่าน ผู้เรียนได้รบั การประเมินเฉล่ียไม่น้อยกว่าระดับ 3 ถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรุปผลการเรียนการสอน

1. นกั เรยี นจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ไม่ผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คิดเปน็ รอ้ ยละ..........................

ได้แก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นักเรยี นมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

.......................................................................................................................................................... ....................

3. นักเรียนมคี วามรูเ้ กดิ ทักษะ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

4. นักเรียนมเี จตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

........................................................................................................... ...................................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.......................................................
(นางสาววิรยิ า ช่นื อารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย

ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
....................................................................................................................................................................... .......

ลงช่ือ.......................................................
(นางสาวชัชชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ

ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง………………………………………………… แลว้ มคี วามคดิ เห็นดงั นี้
1. เปน็ แผนการเรียนรู้ที่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไม่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรยี นรู้ท่ี
 นำไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหนง่ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นกลุม่ บรหิ ารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นายบรรจบ ภโู สดา)

ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

แบบประเมนิ ความสามารถในการปฏิบัติท่ารำ

การแสดงภาษาทา่ ทางนาฏศลิ ปป์ ระกอบเพลง

เร่อื ง ภาษาทา่ และการตบี ท

กลุม่ ........................................................

รายการประเมิน คะแนน
432
1

1. ความถกู ต้องของการปฏบิ ัตทิ ่านาฏยศพั ท์

2. ความสวยงามของการปฏิบัติท่านาฏยศัพท์

3. ความตั้งใจในการปฏบิ ตั ิทา่ รำ

4. ความกล้าแสดงออก

5. แตง่ กายสภุ าพเรียบร้อย / ตรงต่อเวลา
รวม

เกณฑ์การตัดสิน

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดเี ย่ียม
ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพควรปรบั ปรุง

แบบประเมินโดยเพ่ือนในช้ันเรียน
เร่อื ง ภาษาทา่ และการตีบท

ชือ่ ........................................... นามสกลุ .............................................ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 / ........ เลขที.่ ........

1. นกั เรยี นมคี วามคิดเห็นวา่ การแสดงภาษาท่าประกอบเพลงกลมุ่ ใดมีผลงานดที ีส่ ดุ เพราะเหตุใด
กลุ่ม....................................................................

............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................................... ....................
............................................................................................................... ...............................................................

ลำดับ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ
ดมี าก พอใช้ ปรบั ปรุง

1 ความถกู ตอ้ งของการปฏิบตั ภิ าษาท่า
ทางนาฏศลิ ป์

2 ความสวยงามของการปฏบิ ัตภิ าษาท่าทาง
นาฏศิลป์

3 ความสอดคล้องระหว่างทา่ รำ เน้ือรอ้ ง
และทำนองเพลง

4 ความคดิ สร้างสรรค์ในการคิดท่ารำ
และรูปแบบในการจดั การแสดง

5 ความคดิ สร้างสรรค์ในการแปรแถวใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ของการแสดง

เกณฑก์ ารตดั สิน

ระดบั 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเย่ยี ม
ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรบั ปรุง

คะแนนทไ่ี ด้

การแสดงภาษาทา่ ทางนาฏศิลปป์ ระกอบเพลง คะแนนเต็ม
เรือ่ ง ภาษาท่า และการตบี ท
10
กลมุ่ ........................................................
คะแนน

รายช่ือสมาชกิ ดังน้ี

1) ...........................................................................................................................................

2) ...........................................................................................................................................

3) ...........................................................................................................................................

4) ...........................................................................................................................................

5) ...........................................................................................................................................

6) ...........................................................................................................................................

7) ...........................................................................................................................................

8) ...........................................................................................................................................

9) ...........................................................................................................................................

10) ...........................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วชิ า ศ 21104 รายวิชา นาฏศิลป์ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 11 ชั่วโมง

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5 เร่ือง ทา่ ทางการเคล่อื นไหวทแี่ สดงส่อื อารมณ์ จำนวน 1 ชั่วโมง

ครผู ู้สอน นางสาววิริยา ชนื่ อารมณ์ โรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั

2. ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใช้นาฏยศัพท์หรือศพั ท์ทางการละครในการแสดง

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกลักษณะท่าทางการเคลอ่ื นไหวทีแ่ สดงสอื่ ทางอารมณ์ได้
2. ปฏบิ ัตทิ ่าทางการเคลอ่ื นไหวท่ีแสดงสื่อทางอารมณ์ได้อยา่ งถูกต้อง
3. ชืน่ ชมการแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
การเคลื่อนไหวท่าทางสื่ออารมณ์ เป็นการเคลื่อนไหวรา่ งกาย โดยการใช้แขน ขา มือ เท้า ส่วนต่าง ๆ

ของร่างกาย สีหน้า แววตาต่าง ๆ แสดงอารมณ์ความรู้สึกออกมา ซึ่งอารมณ์ที่แสดงออกมานั้นเกิดจาก
ธรรมชาติของมนุษยท์ ี่มอี ยู่ในชีวติ ประจำวนั เช่น อารมณ์รัก อารมณโ์ กรธ อารมณ์เสียใจ เปน็ ต้น

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ด้านความรู้ (K)
- อธิบายทา่ ทางการเคล่อื นไหวท่แี สดงสื่อทางอารมณ์
5.2 ด้านทกั ษะ (S)
- มีทกั ษะปฏิบตั ทิ า่ ทางการเคลอื่ นไหวท่ีแสดงสื่อทางอารมณ์
5.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- ชน่ื ชมการแสดงของไทย

6. การบูรณาการ (บรู ณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อืน่ )
6.1 ภาษาไทย : การอธิบายความหมายเกี่ยวกับท่าทางการเคลื่อนไหวที่แสดงสื่อทางอารมณ์
การแสดงความคิดเหน็ การถามและการตอบขอ้ สงสัยตา่ งๆ

7. สมรรถนะของผ้เู รยี น

☑ ความสามารถในการสื่อสาร
☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแกป้ ัญหา
□ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

☑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
8.1 ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรียน
8.1.1 ให้นกั เรยี นทบทวนความรู้ที่ไดเ้ รียนเมื่อสัปดาห์ทแ่ี ลว้ และใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น

โดยครใู ช้คำถามท้าทาย ดงั นี้
- นักเรยี นคิดวา่ ทา่ ทางการเคลือ่ นไหวร่างกายอะไรบา้ งที่นำมาใช้ในท่ารำต่าง ๆ

8.1.2 ให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับการเคล่ือนไหวท่าทางเพ่ือส่ืออารมณ์
โดยครใู ชค้ ำถาม ดังนี้

- ถ้านักเรียนต้องการแสดงอารมณ์และความรู้สึกต่างๆ ของตนเองออกมาให้ผู้อื่นรับรู้
นักเรียนจะแสดงออกด้วยวธิ ีใดบา้ ง

- ถ้านักเรียนมีอารมณ์รกั นักเรียนจะแสดงท่าทางเพ่ือแสดงให้ผูอ้ นื่ รบั รู้ไดอ้ ย่างไร
- ถา้ นกั เรยี นมอี ารมณ์โกรธ นกั เรยี นจะแสดงทา่ ทางเพ่อื แสดงใหผ้ ู้อน่ื รับร้ไู ด้อย่างไร
- ถา้ นักเรยี นกำลงั อาย นักเรียนจะแสดงท่าทางเพอื่ แสดงให้ผ้อู ื่นรับรไู้ ด้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าท่าทางต่าง ๆ ที่แสดงอารมณ์และความรู้สึก เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์หรือไม่
อยา่ งไร
8.2 ขนั้ สอน
8.2.1 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า การเคลื่อนไหวท่าทางสื่ออารมณ์ เป็นการเคลื่อนไหวร่างกาย
โดยการใช้แขน ขา มือ เท้า ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สีหน้า แววตาต่าง ๆ แสดงอารมณ์ความรู้สึกออกมา
ซึ่งอารมณ์ที่แสดงออกมานั้น เกิดจากธรรมชาติของมนุษย์ที่มีอยู่ในชีวิตประจำวัน เช่น อารมณ์รัก อารมณ์
โกรธ อารมณ์เสียใจ เปน็ ตน้
8.2.2 ให้นักเรยี นคดิ ลักษณะทา่ ทางการเคลือ่ นไหวต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวันทบี่ ่งบอกกริ ยิ าอาการและ
อารมณ์ 1 ท่า และทา่ ทางท่ีนกั เรยี นส่อื ความหมายนนั้ เปน็ อยา่ งไร เช่น การยนื เดิน ว่ิง พรอ้ มให้เพ่อื นทาย
ว่าเปน็ ทา่ ทางที่บ่งบอกกิริยาอาการและอารมณ์ใด จากนนั้ ครูสมุ่ เลอื กนกั เรียน 1-2 คน ออกมาแสดงท่าทาง
การเคลอื่ นไหวท่สี อ่ื ทางอารมณ์ของตนเองหน้าชนั้ เรียน และให้นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ช้
คำถาม ดังน้ี
- ท่าทางการเคล่อื นไหวท่ีเพอ่ื นแสดงให้ดูนน้ั เป็นทา่ ทางทีบ่ ่งบอกกิรยิ าอาการและอารมณ์ใด
- นกั เรยี นคิดวา่ ท่าทางการเคล่ือนไหวเหลา่ นี้สามารถนำมาประดษิ ฐเ์ ป็นทา่ รำตา่ ง ๆ ไดห้ รอื ไม่
8.2.3 ให้นักเรียนดูวิดีโอตัวอย่างการแสดงลักษณะท่าทางการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
ทบ่ี ่งบอกกิริยาอาการและอารมณค์ วามรสู้ กึ โดยนำเสนอผา่ น PowerPoint จากนน้ั ครสู อบถามวา่ จากการ
รับชมวิดโี อแล้วนกั เรียนมคี วามรู้สึกอยา่ งไร
8.2.4 ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั ว่า การเคล่อื นไหวท่าทาง เช่น การยนื เดิน วง่ิ สามารถนำมาสร้างสรรค์
ประดิษฐ์ท่าทางต่าง ๆ ให้เกิดความสวยงามเพื่อนำมาใช้เป็นท่ารำต่าง ๆ ได้ และครูสาธิตเป็นตัวอย่าง
และให้นักเรียนปฏิบัติตาม จากนั้นครูให้นักเรียนสอบถามข้อสงสัยและครูให้คำแนะนำเพิ่มเติม
เปน็ เกรด็ ความรู้
8.2.5 ให้นักเรียนเล่นเกม Kahoot เรื่อง ท่าทางการเคลื่อนไหวที่แสดงสื่ออารมณ์ โดยใช้ความรู้ที่ได้
ศึกษามาตอบคำถามใหถ้ ูกต้อง และนักเรียนทชี่ นะเกมน้ีจะได้รับรางวัลจากครเู พ่อื เป็นการเสริมแรง

8.3 ขน้ั สรุป
8.3.1. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้
- การแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวที่แสดงสื่อทางอารมณ์เป็นการเคลื่อนไหวที่นำมาใช้ในการ

แสดงตา่ ง ๆ เพ่อื สอื่ ความหมายแทนคำพดู ของตวั ละครใหผ้ ้ชู มเข้าใจได้ว่าตวั ละครนนั้ มีอารมณอ์ ยา่ งไร และเขา้ ใจ
ท่าทาง อารมณข์ องตัวแสดงไดง้ า่ ยยิ่งขึน้

9. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
9.1 PowerPoint เร่ือง เร่ือง ท่าทางการเคล่ือนไหวท่ีแสดงสอื่ อารมณ์
9.2 เกม Kahoot เร่ือง ท่าทางการเคลอ่ื นไหวท่แี สดงสอ่ื อารมณ์
9.3 หนงั สอื รายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

10. หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชนิ้ งาน)
- ให้นักเรียนคิดลักษณะท่าทางการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันที่บ่งบอกกิริยาอาการและ

อารมณต์ ่าง ๆ ในชวี ิตประจำวัน เช่น การยืน เดนิ วงิ่ และนำเสนอ

11. การวดั และประเมินผล
11.1 วิธีการประเมิน
11.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ทิ ่ารำของผู้เรียน
11.2 เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัติท่ารำของผู้เรยี น

11.3 เกณฑก์ ารประเมิน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
1. ความรู้ (K)
4 32 1
2. ทักษะ/กระบวนการ (S) เขา้ ใจและสามารถ
อธิบายทา่ ทางการ เขา้ ใจและ อธิบายทา่ ทาง อธิบายทา่ ทาง
3. คณุ ลักษณะอัน เคล่ือนไหวที่แสดง
พงึ ประสงค์ (A) สือ่ อารมณไ์ ด้อย่าง สามารถอธบิ าย การเคล่ือนไหว การเคลอ่ื นไหวที่
ถกู ต้องและชัดเจน
ท่าทางการ ท่ีแสดงสื่อ แสดงสื่ออารมณ์
มที ักษะในการ
ปฏบิ ตั ทิ ่าทางการ เคลื่อนไหวท่ี อารมณ์ได้ ได้แต่ไม่ครบ
เคลอื่ นไหวที่แสดง
ส่อื อารมณไ์ ด้อยา่ ง แสดงสื่ออารมณ์ ถูกต้องแต่ไม่ องค์ประกอบ
ถกู ต้อง
อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน
เห็นความสำคัญ
การปฏิบตั ิทา่ ทาง มที กั ษะในการ ปฏิบตั ทิ ่าทาง ปฏิบัตทิ า่ ทางการ
การเคลื่อนไหวที่
แสดงสือ่ อารมณ์ ปฏิบัติทา่ ทาง การเคล่อื นไหว เคลื่อนไหวท่ี

การเคลือ่ นไหว ท่ีแสดงสือ่ แสดงส่ืออารมณ์

ที่แสดงสอ่ื อารมณ์ไดแ้ ต่ยัง ได้ได้แต่ไม่

อารมณ์ในแตล่ ะ ขาดทักษะ ครบถว้ น

ท่าได้ ทกั ษะกาปฏบิ ตั ิ

เห็นคณุ ค่าใน เห็นคณุ ค่าใน เห็นคณุ ค่าในการ

การปฏบิ ตั ิ การปฏิบตั ิ ปฏิบตั ทิ า่ ทางการ

ท่าทางการ ทา่ ทางการ เคล่อื นไหวท่ี

เคล่ือนไหวที่ เคล่อื นไหวที่ แสดงสื่ออารมณ์

แสดงสอ่ื อารมณ์ แสดงส่อื อารมณ์

เกณฑ์การตัดสิน ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 1 มีระดับคุณภาพปรับปรุง
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดเี ยย่ี ม
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้

เกณฑ์การผ่าน ผูเ้ รียนไดร้ ับการประเมินเฉลยี่ ไม่น้อยกว่าระดบั 3 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววิรยิ า ชื่นอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.......................................................
(นางสาวชชั ชษา เช่นพิมาย)

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผู้ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ………………………………………………… แล้วมีความคดิ เห็นดังน้ี
1. เปน็ แผนการเรียนรู้ท่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการเรยี นรทู้ ่ี
 นำไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นกลุ่มบริหารวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบงั

แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ัตทิ า่ รำของผเู้ รียน

รายการประเมนิ ผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มคี วามต้ังใจในการปฏิบัติ
2. มีความคิดสร้างสรรค์
3. ปฏบิ ตั ภิ าษาท่าทางได้ถูกต้อง
4. รว่ มกจิ กรรมด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
5. ช่ืนชมการแสดงของไทย

รวม

เกณฑก์ ารตัดสนิ

ระดบั 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเยีย่ ม
ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพควรปรบั ปรุง
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนข้ึนไป ถือวา่ ผา่ น

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวชิ า ศ 21104 รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6
ครูผูส้ อน นางสาววริ ิยา ชืน่ อารมณ์ เรอื่ ง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 11 ชั่วโมง

เรอ่ื ง ระบำเบด็ เตลด็ จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรตั นโกสนิ ทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั

2. ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใช้นาฏยศัพท์หรอื ศพั ท์ทางการละครในการแสดง

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. รูแ้ ละเข้าใจประวตั คิ วามเปน็ มาของระบำเบด็ เตลด็
2. วเิ คราะห์ประวตั คิ วามเป็นมาของระบำเบด็ เตล็ดรูปแบบตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างถูกต้อง
3. ชื่นชมการแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
ระบำเบด็ เตล็ด คือ ระบำที่มกี ารประดิษฐค์ ดิ คน้ ข้ึนใหม่ เพื่อให้ทนั ตอ่ สมยั ตอ่ เหตกุ ารณแ์ ละเน้ือเรื่อง

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ด้านความรู้ (K)
- อธิบายประวัตคิ วามเป็นมาของระบำเบ็ดเตล็ดรูปแบบตา่ ง ๆ
5.2 ด้านทักษะ (S)
- วเิ คราะห์ประวัตคิ วามเปน็ มาของระบำเบ็ดเตล็ดรปู แบบต่าง ๆ
5.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
- รักความเป็นไทย

6. การบรู ณาการ (บรู ณาการกบั กลุ่มสาระการเรียนรอู้ นื่ )
6.1 ภาษาไทย : การอธบิ ายถึงท่มี าและลกั ษณะการแสดงระบำเบด็ เตล็ดการถามตอบขอ้ สงสยั ต่าง ๆ

7. สมรรถนะของผเู้ รียน

☑ ความสามารถในการส่ือสาร
☑ ความสามารถในการคิด

□ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
8.1 ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรยี น
8.1.1 ครเู ปิดภาพการแสดงระบำเบ็ดเตลด็ เชน่ ระบำพัด มาใหน้ กั เรยี นดู แล้วใหน้ กั เรยี นรว่ มกันแสดง

ความคดิ เห็น โดยครูใช้คำถาม ดงั นี้
- การแสดงในภาพเป็นการแสดงอะไร
- นกั เรียนทีร่ จู้ กั การแสดงระบำอะไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าระบำเบ็ดเตล็ดคอื อะไร

8.2 ขั้นสอน
8.2.1 ครเู ปดิ สื่อ PowerPoint เรือ่ งระบำเบด็ เตล็ด แล้วเริ่มอธบิ ายความร้เู กย่ี วกบั เรื่องของระบำ

เบด็ เตลด็ ให้นกั เรียนฟัง ดังนี้
- ระบำเบ็ดเตลด็ คอื ระบำท่ีมีการประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมาใหม่ เพ่ือใหท้ นั เหตุการณ์ และเน้ือเรื่อง

และระบำเบ็ดเตลด็ น้ันยังแบ่งออกได้ ดังนี้
1. ระบำเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากมาตรฐาน คือ ระบำที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยยึดท่าทาง

ลีลาตามเดมิ ไว้ แตอ่ าจเปล่ยี นแปลงในเรอ่ื งของการแปรแถวและบทเพลงทน่ี ำมาใชส้ อดแทรก เพ่อื ใหเ้ หมาะสม
กบั งานและสถานท่ี

2. ระบำเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากพื้นบ้าน คือ ระบำที่ประดิษฐ์ขึ้นจากอาชีพของคน
ในท้องถิ่นแต่ละภูมิภาค เป็นเอกลักษณ์การแสดงประจำถิ่น เช่น เต้นกำรำเคียว ระบำชาวนา ระบำกะลา
เซงิ้ แหยไ่ ขม่ ดแดง ระบำปาเต๊ะ ระบำตาลีกีปสั

3. ระบำเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงจากลักษณะท่าทางของสัตว์ คือ ระบำท่ีประดิษฐ์ขึ้นมา
เพื่อเลียนแบบลักษณะท่าทางของสัตว์ มีลีลาท่ารำเหมือนสัตว์ เช่น ระบำม้า ระบำนกเขา ระบำบันเทิงกาสร
ระบำมฤคระเรงิ

4. ระบำเบ็ดเตล็ดที่ปรับปรุงตามเหตุการณ์ต่างๆ คือ ระบำที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้
ในงานหรอื โอกาสตา่ งๆ เช่น ระบำโคม แสดงในวันลอยกระทง ระบำนางสงกรานต์ แสดงในวันสงกรานต์

8.2.2 หลังจากที่ครูไดอ้ ธบิ ายเกี่ยวกบั เร่ืองของระบำเบด็ เตล็ดจบแล้ว ครูให้นักเรยี นทำกจิ กรรมเกม
เพื่อทดสอบความรหู้ ลังเรียน (Word wall) เร่อื ง ระบำเบ็ดเตล็ด

8.3 ข้ันสรปุ
8.3.1. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดังนี้
- นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ ดังนี้
- ระบำเบ็ดเตลด็ คือ ระบำที่มีการประดิษฐค์ ดิ ค้นข้นึ มาใหม่ เพื่อใหท้ นั เหตุการณ์และเนือ้ เรอ่ื ง

ระบำเบด็ เตล็ดเปน็ การแสดงนาฏศิลปท์ ่ีสรา้ งความสนกุ สนานให้กับผูแ้ สดงและผูช้ มได้เป็นอย่างดี

9. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
9.1 PowerPoint เรื่อง ระบำเบ็ดเตลด็
9.2 สอ่ื วิดีโอ Youtube
- ระบำปาเตะ๊
- ระบำมา้
- ระบำนางสงกรานต์

9.3 หนงั สือรายวชิ าพน้ื ฐาน ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1
9.4 กิจกรรมเกม Word wall

10. หลักฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชน้ิ งาน)
- กิจกรรมเกม Word wall เรื่อง ระบำเบ็ดเตลด็

11. การวัดและประเมนิ ผล

11.1 วธิ ีการประเมนิ

11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน

11.2 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน
11.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

11.3 เกณฑก์ ารประเมนิ

ประเดน็ การประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1
1. ความรู้ (K)
เขา้ ใจและสามารถ 32 อธบิ ายระบำ
อธิบายระบำ เบ็ดเตล็ดไดแ้ ต่ไม่
เบด็ เตล็ดได้อยา่ ง เขา้ ใจและ อธิบายระบำ ครบองคป์ ระกอบ
ถูกต้องและชัดเจน สามารถอธิบาย เบ็ดเตล็ดได้
ระบำเบ็ดเตล็ด ถูกต้องแต่ไม่
อย่างถูกต้อง ชดั เจน

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S) มีทกั ษะในการ มที ักษะในการ วเิ คราะหร์ ะบำ วิเคราะห์ระบำ
วิเคราะหร์ ะบำ
3. คณุ ลกั ษณะอัน เบด็ เตลด็ ได้อยา่ ง วิเคราะหร์ ะบำ เบด็ เตลด็ ไดแ้ ต่ เบ็ดเตล็ดได้ไดแ้ ต่
พึงประสงค์ (A) ถูกต้อง
เบ็ดเตล็ดในแต่ ยังขาดทักษะ ไมค่ รบถ้วน
เหน็ คณุ ค่าและ
ความสำคญั ระบำ ละทา่ ได้ ทกั ษะกาปฏิบตั ิ
เบ็ดเตลด็
เห็นคณุ ค่าระบำ เห็นคณุ คา่ ระบำ เห็นคุณค่าระบำ

เบ็ดเตล็ด เบ็ดเตล็ด เบ็ดเตล็ด

เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 1 มรี ะดบั คุณภาพปรับปรงุ
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดีเยยี่ ม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผา่ น ผเู้ รยี นได้รับการประเมนิ เฉลี่ยไมน่ ้อยกวา่ ระดบั 3 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมนิ

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ..................คน คิดเป็นร้อยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ..........................

ได้แก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทกั ษะ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ คา่ นยิ ม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววิริยา ชนื่ อารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย

ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชัชชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ………………………………………………… แลว้ มคี วามคิดเห็นดังน้ี
1. เปน็ แผนการเรยี นร้ทู ี่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนรูท้ ี่
 นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน

รายการประเมนิ ผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มีความต้งั ใจในการเรียนและทำกจิ กรรม
2. รู้และเขา้ ใจประวัตคิ วามเป็นมาของระบำเบ็ดเตล็ด
3. วิเคราะหป์ ระวตั ิความเปน็ มาของระบำเบด็ เตล็ด
รปู แบบตา่ ง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
4. รว่ มกจิ กรรมด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลนิ
5. ชื่นชมการแสดงของไทย

รวม

เกณฑก์ ารตัดสิน

ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดเี ยยี่ ม
ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพควรปรับปรุง
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ น

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวชิ า นาฏศลิ ป์ 1 กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ลิ ปะ
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 7
ครูผสู้ อน นางสาววริ ิยา ชน่ื อารมณ์ เร่ือง การแสดงนาฏศิลป์ เวลา 11 ชั่วโมง

เรอ่ื ง ระบำอศั วลีลา จำนวน 1 ช่ัวโมง

โรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวัน

2. ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้
ศ 3.1 ม.1/2 ใชน้ าฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายประวตั ิความเป็นมาและลักษณะของระบำอัศวลีลา
2. ปฏิบตั ิทา่ รำระบำอศั วลลี าถกู ตอ้ งตามรูปแบบนาฏศิลปไ์ ทย
3. ช่นื ชมการแสดงของไทย

4. สาระสำคญั
ระบำอัศวลีลา เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสง่า สวยงาม ความแข็งแรง ปราดเปรียว

ของม้า ดังนั้นลีลาท่าทางการเต้นของระบำชุดนี้ จึงเลียนแบบกิริยาอาการของม้า ทั้งท่าเดินย่อง ย่างเท้า
กระทืบเท้า โขยกเท้า และกระโดดดีดเท้า มีการใช้นาฏยศัพท์ เช่น ตะลึกตึก ลักคอ สามารถแสดงได้ทั้งชาย
และหญิง

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธบิ ายประวัติความเป็นมาและลักษณะของระบำอัศวลลี า
5.2 ด้านทักษะ (S)
- ปฏบิ ัติทา่ รำระบำอศั วลีลาถูกต้องตามรปู แบบนาฏศลิ ป์ไทย
5.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- รกั ความเปน็ ไทย

6. การบูรณาการ (บรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรียนร้อู ื่น)
6.1 ภาษาไทย : การอธิบายประวตั ิความเปน็ มาและลกั ษณะของระบำอศั วลีลาการถามตอบข้อสงสัย
6.2 วทิ ยาศาสตร์ : การสงั เกตการสาธิตท่ารำระบำอัศวลีลาของครแู ล้วปฏบิ ัติตาม
6.3 สุขศึกษาและพลศกึ ษา : การเคล่ือนไหวร่างกายในขณะทร่ี ำ

7. สมรรถนะของผ้เู รยี น

☑ ความสามารถในการสื่อสาร

☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแก้ปัญหา
□ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต

☑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
8.1.1 ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับระบำเบ็ดเตล็ดจากคาบที่ผ่านมา ให้นักเรียนอธิบายถึงองค์ความรู้

ตามความเข้าใจ
8.1.2 ครูเปิดวิดีโอระบำอัศวลีลา ให้นักเรียนรับชม จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น

เกยี่ วกับการแสดงระบำอัศวลีลา โดยครใู ช้คำถาม ดังน้ี
- นักเรียนรู้จักการแสดงชดุ นี้หรือไม่
- การแสดงในภาพ มีลกั ษณะเด่นอยา่ งไร
- นกั เรยี นคิดว่าระบำที่ชมไป เรยี กว่าอะไร

8.2 ขัน้ สอน
8.2.1 ครูเปิดสื่อ PowerPoint เรื่อง ระบำอัศวลีลาหรือระบำม้า แล้วเริ่มอธิบายความรู้เกี่ยวกับ

เรือ่ งของระบำมา้ ให้นักเรยี นฟัง ดงั นี้
- ประวัติความเป็นมา การแสดงระบำม้าชุดนี้ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเพื่อประกอบการแสดง

ละครเรื่องไชยเชษฐ์ ตอนนารายณ์ธิเบศร์ไปเล่นป่า เนื่องในการแสดงผลงานของนักเรียนโรงเรียนนาฎศิลป์
ในการเปิดเรียนภาคต้น เมื่อ พ.ศ. 2492 ต่อมา พ.ศ. 2500 กรมศิลปากรได้จัดการแสดงละครเรื่องรถเสน
ให้ประชาชนชม จึงได้ปรับปรุงท่ารำและทำนองเพลงให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นอีกครั้ง โดยมอบให้นายมนตรี ตราโมท
ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทยของกรมศิลปากรเป็นผู้ปรับปรุงทำนองเพลง นางละมุล ยมะคุปต์ (ปัจจุบันเป็น
ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฎศิลป์ของวิทยาลัยนาฎศิลป)์ นางมัลลี คงประภัศร์ และนางผัน โมรากุล (ครูนาฎศิลป์
อาวุโสของกรมศิลปากร ซงึ่ ไดถ้ งึ แกก่ รรมไปแล้ว) เป็นผู้ประดษิ ฐท์ า่

- ระบำอัศวลีลาหรือระบำม้า จัดเป็นระบำในนาฏศิลป์ไทยที่เรียกว่า ระบำเบ็ดเตล็ด
กรมศิลปากรได้สร้างสรรคข์ ึ้นและใช้แสดงเป็นระบำแทรกอยู่ในละครเร่ืองรถเสน ตอนพระรถเสนจับม้า ระบำ
ชุดนผ้ี ู้ออกแบบท่าเต้น คอื ทา่ นผหู้ ญงิ แผว้ สนทิ วงศ์เสนี ผปู้ ระพันธ์เพลงประกอบคอื อาจารย์มนตรี ตราโมท

- ระบำอัศวลีลา เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสง่า สวยงาม ความแข็งแรง
ปราดเปรยี วของม้า ซงึ่ เปน็ สตั วท์ ีใ่ ชเ้ ปน็ พาหนะ และในละครของไทยม้าจะเปน็ สตั วท์ ีม่ บี ทบาทสำคัญตัวหน่ึงใน
หลายเรื่อง เช่น รถเสน ขุนช้างขุนแผน รามเกียรติ์ ดังนั้นลีลาท่าทางการเต้นของระบำชุดนี้จงึ เลียนแบบกิริยา
อาการของม้าท้ังท่าเดินย่อง ยา่ งเทา้ กระทบื เท้า โขยกเทา้ และกระโดดดีดเทา้ มกี ารใชน้ าฏยศพั ท์ เช่น ลักคอ
ว่งิ เหยาะ สามารถแสดงได้ทัง้ ชายและหญงิ

- วงดนตรีที่ใช้ประกอบการบรรเลง คือ วงปี่พาทย์ ไม่มีบทขับร้อง ลักษณะการแต่งกายของ
ระบำชุดนี้จะตัดเย็บเป็นรูปชุดเสื้อและกางเกงติดกัน สวมศีรษะเป็นรูปม้า สวมกระพรวนเท้า บางครั้งใส่
รองเทา้ ห้มุ ส้นเตี้ย ๆ เพือ่ ให้มีเสยี งดังเหมอื นเกอื กมา้

- ระบำชุดนี้นับเป็นชุดของระบำสัตว์ท่ีได้รับความนิยมนำมาแสดงเป็นชุดวิพิธทัศนา
อีกชดุ หน่งึ เพราะมลี ลี าท่าทางทีส่ ง่างาม ตามกระบวนท่าท่ปี รากฎในภาพทา่ รำ ดงั น้ี

8.2.2 ให้นกั เรยี นศึกษาความรูเ้ พ่ิมเตมิ จากใบความรู้ โดยใชส้ ่อื การเรยี นรู้ในรูปแบบ Infographic
8.2.3 หลงั จากท่คี รไู ดอ้ ธบิ ายเกย่ี วกับเรื่องของระบำม้าจบแลว้ ครูให้นักเรียนทำกจิ กรรมเกมออนไลน์
ทดสอบความร้หู ลงั เรยี น (Kahoot) เร่อื ง ระบำมา้ โดยใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบคำถาม
8.3 ขน้ั สรปุ
8.3.1. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี

- ระบำอัศวลีลา เป็นการแสดงที่ถ่ายทอดให้เห็นถึงความสง่า สวยงาม ความแข็งแรง

ปราดเปรียวของม้า การแสดงระบำอัศวลีลา เป็นการแสดงที่สร้างความสนุกสนานทั้งต่อผู้แสดงเองและ

ตอ่ ผู้รบั ชม

9. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้
9.1 PowerPoint เรื่อง ระบำอศั วลีลา
9.2 สือ่ วดิ ีโอ Youtube ระบำอศั วลีลา
9.3 หนังสอื รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1
9.4 กิจกรรมเกม Kahoot

10. หลักฐานการเรียนรู้ (ภาระงาน/ชิ้นงาน)
- กิจกรรมเกม Kahoot เรอื่ ง ระบำอศั วลลี า

11. การวัดและประเมินผล

11.1 วธิ กี ารประเมนิ

11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น

11.2 เครื่องมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน
11.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น
11.2.2 แบบประเมนิ ความสามารถในการตอบคำถาม

11.3 เกณฑก์ ารประเมนิ

ประเด็นการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ
1. ความรู้ (K)
อธบิ ายประวตั ิ 321
ความเป็นมาและ
ลักษณะของระบำ อธิบายประวัติ อธบิ ายประวตั ิ อธบิ ายประวัติ
อศั วลลี าได้อย่าง ความเปน็ มาและ ความเป็นมาและ ความเป็นมาและ
ถกู ต้องและชัดเจน ลกั ษณะของ ลักษณะของระบำ ลกั ษณะของ
ระบำอัศวลีลา อัศวลลี าไดถ้ ูกต้อง ระบำอัศวลีลาได้
ได้อย่างถูกต้อง แตไ่ ม่ชัดเจน แต่ไม่ครบถ้วน

2. ทักษะ/กระบวนการ (S) ปฏิบัติทา่ รำระบำ ปฏิบตั ทิ ่ารำระบำ ปฏิบัติทา่ รำระบำ ปฏิบตั ิทา่ รำ
อัศวลีลาตาม อศั วลีลาถูกต้อง อศั วลลี าถูกต้อง ระบำอัศวลลี า
3. คุณลกั ษณะอัน รปู แบบนาฏศลิ ป์ ตามรูปแบบ ตามรปู แบบ ตามรูปแบบ
พงึ ประสงค์ (A) ไทยได้อย่างถูกต้อง นาฏศลิ ป์ไทย นาฏศลิ ปไ์ ทย นาฏศิลป์ไทยได้
ในแตล่ ะท่าได้ แตไ่ ม่ครบถ้วน
เหน็ คณุ ค่าและ เหน็ คณุ ค่าของ
ความสำคัญของ เหน็ คุณค่าและ ระบำอัศวลลี า เห็นคณุ คา่ ของ
ระบำอัศวลีลาเปน็ ความสำคญั ของ พอสมควร ระบำอัศวลีลา
อย่างดี ระบำอัศวลีลา

เกณฑ์การตดั สนิ ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดับ 1 มีระดบั คุณภาพปรับปรุง
ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเย่ียม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผ่าน ผู้เรียนไดร้ ับการประเมินเฉลีย่ ไม่น้อยกว่าระดบั 3 ถือว่าผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .......................................................
(นางสาวชัชชษา เช่นพิมาย)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง………………………………………………… แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้
1. เป็นแผนการเรยี นรทู้ ่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จรงิ
 ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ

............................................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบงั

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น

รายการประเมินผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มีความตง้ั ใจในการเรยี นและทำกจิ กรรม
2. รูแ้ ละเขา้ ใจประวัติความเป็นมาของระบำอัศวลีลา
3. วิเคราะห์ประวตั ิความเปน็ มาของระบำอัศวลีลา
รปู แบบต่าง ๆ ได้อยา่ งถูกต้อง
4. รว่ มกิจกรรมด้วยความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ
5. ชนื่ ชมการแสดงของไทย

รวม

เกณฑ์การตดั สิน

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเย่ียม
ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมนิ
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนขึ้นไป ถือว่า ผา่ น

สื่อการเรียนรู้
สามารถสแกน QR Code Download สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบวีดทิ ัศน์

YouTube : ระบำอัศวลีลา

แผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8
ครูผ้สู อน นางสาววริ ิยา ชน่ื อารมณ์ เรือ่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 11 ชั่วโมง

เรอ่ื ง รำวงมาตรฐาน จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน

2. ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้
ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศลิ ป์และละครในรูปแบบงา่ ย ๆ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายประวตั คิ วามเปน็ มาและลกั ษณะของรำวงมาตรฐาน
2. มที กั ษะในการวิเคราะห์และจำแนกเพลงรำวงมาตรฐานแตล่ ะเพลงได้
3. ช่ืนชมการแสดงของไทย

4. สาระสำคัญ
รำวง เป็นการละเล่นพื้นเมืองทีน่ ยิ มเล่นกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งในระยะนัน้ เรียกว่า รำโทน

เพราะใช้เป็นเครอื่ งดนตรปี ระกอบการเล่น และมที ่ารำที่รำตามความสนุกสนาน ไม่มีแบบแผน
ต่อมาใน พ.ศ. 2487 กรมศิลปากรไดน้ ำมาปรบั ปรุงบทรอ้ ง และท่ารำขึน้ เพ่ือให้เปน็ แบบฉบบั ตามหลัก

นาฏศิลป์ไทย ซ่งึ มบี ทเพลงทแ่ี ตง่ ขึน้ ใหม่ 10 บทเพลง และมที า่ รำประกอบ
นอกจากปรับปรุงท่ารำ บทรอ้ งแลว้ ยงั เปลยี่ นชอื่ เรียกจาก การเลน่ รำโทนเปล่ียนเปน็ รำวงมาตรฐาน

เพราะดนตรีท่ีใช้บรรเลงบทเพลงมหี ลายอย่าง และไม่จำเป็นท่ีจะต้องใชจ้ งั หวะโทนเพียงอย่างเดียว

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธบิ ายประวัตคิ วามเป็นมาและลกั ษณะของรำวงมาตรฐาน
5.2 ด้านทักษะ (S)
- มที กั ษะในการวิเคราะห์และจำแนกเพลงรำวงมาตรฐานแต่ละเพลงได้
5.3 ด้านคณุ ลักษณะ (A)
- ชน่ื ชมการแสดงของไทย

6. การบรู ณาการ (บูรณาการกับกลุม่ สาระการเรียนรูอ้ น่ื )
6.1 ภาษาไทย : การพูดถึงที่มาและลักษณะการแสดงรำวงมาตรฐานการแสดงความคิดเห็น การถาม
และการตอบขอ้ สงสัยตา่ งๆ

7. สมรรถนะของผูเ้ รียน

☑ ความสามารถในการส่ือสาร

☑ ความสามารถในการคิด

□ ความสามารถในการแกป้ ญั หา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

☑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
8.1 ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรยี น
8.1.1 ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับระอัศวลีลาจากคาบที่ผ่านมา ให้นักเรียนอธิบายถึงองค์ความรู้

ตามความเขา้ ใจ
8.1.2 คุณครูทักทายนักเรียนและครูเริ่มเช็คชื่อนักเรียนในชั้นเรียน หลังจากนั้นคุณครูได้พูดคุยกับ

นกั เรียน และใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ชค้ ำถามทา้ ทาย ดงั น้ี
- นักเรียนคิดว่าการแสดงนาฏศิลป์ที่สำคัญและสร้างสีสันตามงานเทศกาลต่าง ๆ ตั้งแต่อดีต

จนถึงปัจจบุ นั มอี ะไรบ้าง
8.1.3 ครูเปิดวีดีโอตัวอย่างเพลงรำวง เช่น เพลงรำวงในดงชบา ให้นักเรียนชมจากนั้นร่วมกันแสดง

ความคดิ เหน็ โดยครใู ช้คำถาม ดังน้ี
- นักเรียนคิดว่าเพลงในวดิ โิ อถอื เป็นเพลงทสี่ รา้ งสสี รรคอ์ ยา่ งหน่ึงหรือไม่
- นกั เรียนรจู้ ักรำวงหรอื ไม่

8.2 ขั้นสอน
8.2.1 ครูเริ่มเปิดสื่อ PowerPoint เรื่องรำวงมาตรฐาน แล้วเริ่มอธิบายความรู้เกี่ยวกับเรื่องของ

รำวงมาตรฐาน ดงั นี้
- ประวัติความเป็นมา รำวงมาตรฐาน คือ การแสดงที่พัฒนามาจาก “รำโทน” รำโทนเป็นการรำและ

ร้องแบบชาวบ้านไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ มุ่งเน้นแต่ความสนุกสนานเป็นสิ่งสำคัญ แต่ต่อมา ท่านจอมพล
ป.พิบูลสงคราม ได้สนับสนุนการแสดงรำวงจงึ ไดม้ อบหมายให้กรมศลิ ปากรปรบั ปรุงใหมใ่ ห้เป็นมาตรฐาน จึงมี
การกำหนดแบบแผนทั้งเนื้อร้อง ทำนองเพลง และท่ารำเฉพาะของแตล่ ะเพลงจงึ ไดเ้ รียกวา่ “รำวงมาตรฐาน”

- ผู้ประพันธ์เนื้อร้องรำวงมาตรฐาน มี 2 ท่าน คือ จมื่นมานิตย์นเรศ (กรมศิลปากร) และ
ท่านผูห้ ญิงละเอียด พบิ ลู สงคราม ทางท่านจม่ืนมานิตย์ท่านแต่งเน้ือเพลง 4เพลงแรก ไดแ้ ก่ เพลงงามแสงเดือน
เพลงชาวไทย เพลงรำซิมารำ และเพลงคืนเดือนหงายส่วนท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม แต่งเนื้อเพลง
6 เพลงหลัง ได้แก่ เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงหญิงไทยใจงาม
เพลงยอดชายใจหาญ และเพลงสุดท้ายเพลงบูชารบ

- ผู้ประพันธ์ทำนองเพลงรำวงมาตรฐาน มี 2 ท่าน คือ ครูมนตรี ตราโมท และครูเอื้อ สุนทรสนาน
ทางครูเอื้อนั้นท่านแต่งทำนองเพลง 4เพลงสุดท้าย ได้แก่ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลงหญิงไทยใจงาม
เพลงยอดชายใจหาญ และเพลงสุดท้ายเพลงบูชารบ ส่วนครูมนตรีแต่งทำนองเพลง 6 เพลงแรก ได้แก่
เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงรำซิมารำ เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ และเพลง
ดอกไม้ของชาติ

- ผู้ประดิษฐ์ท่ารำวงมาตรฐาน คือ คุณครูลมุล ยมะคุปต์ หม่อมครูต่วน ศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก

และคุณครูมัลลี คงประภัศร์

- ท่ารำทีใ่ ช้ในเพลงรำวงมาตรฐาน ประจำบทรอ้ ง 10 เพลง แต่ละเพลงใช้ทา่ รำดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เพลงงามแสงเดอื น ใชท้ า่ สอดสรอ้ ยมาลา

2. เพลงชาวไทย ใชท้ า่ ชกั แปง้ ผัดหนา้

3. เพลงรำซมิ ารำ ใชท้ า่ รำสา่ ย

4. เพลงคนื เดอื นหงาย ใช้ท่าสอดสรอ้ ยมาลาแปลง

5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ใชท้ า่ แขกเต้าเขา้ รงั และท่าผาลาเพียงไหล่

6. เพลงดอกไม้ของชาติ ใช้ท่ารำยว่ั

7. เพลงดวงจนั ทรข์ วัญฟ้า ใชท้ ่าพรหมสีห่ น้า และทา่ ยูงฟ้อนหาง

8. เพลงหญงิ ไทยใจงาม ใช้ท่าชา้ งประสานงา และท่าจันทร์ทรงกลดแปลง

9. เพลงยอดชายใจหาญ ใช้ท่าชะนีร่ายไม้ และท่าจ่อเพลิงกาฬ

10. เพลงบชู านกั รบ ใชท้ า่ ขัดจางนาง และจันทรท์ รงกลด (เท่ียวท่หี นึง่ )

ใช้ท่าท่าล่อแกว้ และทา่ ขอแกว้ (เท่ยี วท่สี อง)

- การแต่งกายรำวงมาตรฐาน มีกำหนดการแต่งกายของผู้แสดงให้มีระเบียบ ด้วยการแต่งกายชุดไทย

และชุดสากลนิยมประกอบด้วย 4 แบบ คอื แบบที่ 1 แบบชาวบา้ น แบบที่ 2 แบบรัชกาลท่ี 5 แบบท่ี 3 แบบ

สากลนยิ ม และแบบที่ 4 แบบราตรสี โมสร

8.2.2 หลังจากที่ครูได้อธิบายเกี่ยวกับเรื่องของรำวงมาตรฐานจบแล้ว ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม
ชิ้นงานออนไลน์ (Liveworksheets) เรื่องรำวงมาตรฐาน ผ่านลิงก์ (https://www.liveworksheets.com/3-
tv340539ev)

8.3 ข้นั สรุป
8.3.1. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้
- การแสดงรำวงมาตรฐานมีมาต้งั แตส่ มัยใด
- การแสดงรำวงมาตรฐานมีท้ังหมดก่ีเพลง

และครูได้สรปุ เพ่ิมเตมิ ว่า “การแสดงรำวงมาตรฐานเป็นการแสดงนาฏศลิ ปข์ องคนไทยที่มีมา
อย่างชา้ นานแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ศิลปวฒั นธรรมของชาตไิ ทยที่ทุกคนควรอนุรักษส์ บื สานไวใ้ ห้คงอยู่เป็นเอกลักษณ์
ของชาติสบื ต่อไป” และนักเรียนสามารถศึกษาข้อมลู การสอนย้อนหลังได้ท่ีส่ือการเรียนรู้ในรูปแบบ E-Book
ผา่ นการสแกน QR-CODE ดา้ นล่างเพือ่ ดาวนโ์ หลดข้อมูล

9. ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้
9.1 PowerPoint เร่ือง รำวงมาตรฐาน
9.2 สอื่ วิดีโอ Youtube
- รำวงมาตรฐาน ( https://www.youtube.com/watch?v=qJeejHNthxI )
- เพลงรำวงในดงชบา ( https://www.youtube.com/watch?v=deQIab22mEw )
9.3 หนังสอื รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
9.4 ใบความรู้ในรปู แบบ E-Book
- เรอื่ งรำวงมาตรฐาน ( http://online.anyflip.com/vohfg/houp/mobile/ )

10. หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชน้ิ งาน)
- ชน้ิ งานออนไลน์ เรอื่ ง รำวงมาตรฐาน ( https://www.liveworksheets.com/3-tv340539ev )

11. การวดั และประเมนิ ผล
11.1 วิธกี ารประเมิน
11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน
11.2 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน
11.2.2 แบบประเมินช้นิ งานออนไลน์

11.3 เกณฑ์การประเมนิ

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1
32

1. ความรู้ (K) เขา้ ใจและสามารถ เขา้ ใจและ อธิบาย อธบิ าย

อธบิ ายความหมาย สามารถอธิบาย ความหมาย ความหมาย

ประวัตคิ วามเป็นมา ความหมาย ประวตั คิ วาม ประวตั ิความ

รำวงมาตรฐาน ได้ ประวัติความ เป็นมารำวง เป็นมารำวง

อย่างถูกต้องและ เปน็ มารำวง มาตรฐาน มาตรฐาน

ชัดเจน มาตรฐาน ไดถ้ ูกต้อง ได้แต่ไม่ครบ

อยา่ งถูกต้อง แต่ไม่ชดั เจน องคป์ ระกอบ

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S) มที ักษะในการ มีทักษะในการ จำแนกเพลงรำวง จำแนกเพลงรำ

จำแนกเพลงรำวง จำแนกเพลงรำวง มาตรฐานได้แต่ยงั วงมาตรฐานได้

มาตรฐานได้อย่าง มาตรฐานในแต่ ขาดทักษะทกั ษะ ไดแ้ ต่ไม่ครบถว้ น

ถกู ต้อง ละทา่ ได้ การคดิ วเิ คราะห์

3. คุณลกั ษณะอัน เห็นคุณค่าและ เห็นคณุ ค่าในการ เหน็ คุณค่าในการ ไมเ่ ห็นคุณคา่ ใน

พงึ ประสงค์ (A) ความสำคัญการ แสดงรำวง แสดงรำวง การแสดงรำวง

แสดงรำวง มาตรฐานไดด้ ว้ ย มาตรฐานได้บาง มาตรฐาน

มาตรฐานได้ด้วย ตนเอง ประเด็น

ตนเองและอยา่ ง

ครบถ้วน

เกณฑก์ ารตัดสิน ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดบั 1 มรี ะดบั คุณภาพปรับปรงุ
ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดีเย่ยี ม
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผา่ น ผูเ้ รียนไดร้ บั การประเมินเฉลีย่ ไมน่ ้อยกว่าระดับ 3 ถือว่าผ่านเกณฑก์ ารประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชชั ชษา เชน่ พมิ าย)

หวั หน้ากลุม่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ

ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง………………………………………………… แล้วมีความคดิ เหน็ ดังนี้
1. เป็นแผนการเรียนรทู้ ่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรยี นรูท้ ี่
 นำไปใชไ้ ด้จรงิ
 ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

............................................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชือ่ .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นายบรรจบ ภโู สดา)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนรัตนโกสนิ ทร์สมโภชลาดกระบัง

แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี น

รายการประเมินผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มคี วามตงั้ ใจในการเรยี นและทำกจิ กรรม
2. รแู้ ละเข้าใจประวัตคิ วามเป็นมาของรำวงมาตรฐาน
3. วเิ คราะหป์ ระวตั คิ วามเปน็ มาของรำวงมาตรฐาน
รปู แบบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง
4. ร่วมกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลดิ เพลิน
5. ชื่นชมการแสดงของไทย

รวม

เกณฑก์ ารตดั สิน

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดเี ยยี่ ม
ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรับปรุง
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนข้ึนไป ถือวา่ ผ่าน

ช้นิ งานออนไลน์ (Livewoeksheet) เร่อื ง รำวงมาตรฐาน
( https://www.liveworksheets.com/3-tv340539ev )



สือ่ การเรียนรู้
สามารถสแกน QR Code Download สอื่ การเรยี นรู้ในรูปแบบ E - Book

เรอ่ื ง รำวงมาตรฐาน

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวชิ า นาฏศิลป์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9
ครผู สู้ อน นางสาววริ ิยา ช่ืนอารมณ์ เรอื่ ง การแสดงนาฏศลิ ป์ เวลา 11 ชั่วโมง

เร่ือง การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรยี นรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ศ 3.1 เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์คุณค่า

นาฏศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ อยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั

2. ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้
ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครในรูปแบบงา่ ย ๆ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายลกั ษณะและรปู แบบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
2. มีทกั ษะในการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยที่ชืน่ ชอบ
3. รักความเป็นไทย

4. สาระสำคัญ
นาฏศิลปไ์ ทยเปน็ ศิลปะการแสดงทสี่ ร้างความเพลิดเพลนิ สนกุ สนานให้กับมนษุ ย์ นาฏศลิ ป์เป็นศิลปะ

ที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์ การรับอารยธรรมจากอินเดีย การละเล่น
เพ่อื ผอ่ นคลายและการบชู าสงิ่ ศักด์ิสิทธ์ิ ซึ่งการแสดงนาฏศลิ ป์ประกอบด้วย การฟ้อนรำ ดนตรี และการขับร้อง
นำมารวบรวมจนเกิดเป็นนาฏศิลป์ที่สวยงาม การแสดงนาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็น โขน ละคร รำและระบำ
การแสดงพนื้ เมอื ง ซ่งึ ในแต่ละประเภทมีรปู แบบการแสดงท่ีแตกต่างกันออกไป

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ด้านความรู้ (K)
- อธิบายลกั ษณะและรปู แบบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย
5.2 ด้านทกั ษะ (S)
- มที กั ษะในการแสดงนาฏศิลป์ไทยท่ีชนื่ ชอบ
5.3 ด้านคุณลกั ษณะ (A)
- รักความเป็นไทย

6. การบรู ณาการ (บรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ ่นื )
6.1 ภาษาไทย : การพดู ถงึ ที่มาและลักษณะและรปู แบบของแสดงนาฏศลิ ป์ไทย
การแสดงความคิดเห็น การถามและการตอบข้อสงสยั ต่างๆ

7. สมรรถนะของผู้เรยี น

☑ ความสามารถในการสื่อสาร

☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแก้ปญั หา
□ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

☑ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
8.1 ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น
8.1.1 ครทู บทวนความรู้จากคาบที่ผ่านมา ให้นักเรียนอธิบายถงึ องค์ความรูต้ ามความเขา้ ใจ
8.1.2 คุณครูทักทายนักเรียนและครูเริ่มเช็คชื่อนักเรียนในชั้นเรียน หลังจากนั้นคุณครูได้พูดคุยกับ

นักเรียน และให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คำถามทา้ ทาย ดังน้ี
- นกั เรยี นคดิ ว่าองค์ประกอบใดบ้างทท่ี ำใหน้ าฏศิลป์ไทยมีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น

- การแสดงในภาพ คืออะไร

- การแสดงในภาพมลี ักษณะเด่นอย่างไร

- นอกจากการแสดงในภาพแลว้ นักเรียนรจู้ กั การแสดงนาฏศิลป์ไทยอะไรอีกบา้ ง
8.2 ข้ันสอน

8.2.1 ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่สร้างความเพลิดเพลิน
สนุกสนานให้กับมนุษย์ นาฏศิลป์เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์
การรับอารยธรรมจากอินเดีย การละเล่นเพื่อผ่อนคลายและการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์
ประกอบด้วย การฟ้อนรำ ดนตรี และการขับร้อง นำมารวบรวมจนเกิดเป็นนาฏศิลป์ที่สวยงาม การแสดง
นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็น โขน ละคร รำและระบำ การแสดงพื้นเมือง ซึ่งในแต่ละประเภทมีรูปแบบ
การแสดงทแี่ ตกตา่ งกันออกไป

8.2.2 ครูเริ่มเปิดสื่อ PowerPoint เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทย แล้วเริ่มอธิบายความรู้เกี่ยวกับเรื่อง
ของการแสดงนาฏศลิ ป์ แต่ละรูปแบบให้นกั เรียนฟงั ดังน้ี

- โขน เป็นการแสดงนาฏศิลป์ชั้นสูง ผู้เล่นจะต้องสวมศีรษะโขน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของการ
แสดงโขน มีลีลา ท่ารำ ท่าเต้น ประกอบบทพากย์ เจรจา และขับร้อง การแต่งกายมีความสวยงาม เป็นการ
แสดงท่ีมีแบบแผน เรอ่ื งทน่ี ิยมแสดงคอื เรอื่ ง รามเกยี รต์ิ

- ละคร เปน็ ศิลปะการแสดงท่ีถา่ ยทอดออกมาเปน็ เรื่องราวมลี ีลาท่ารำเข้ากบั เน้ือร้อง บทร้อง
ทำนองเพลง โดยจะใช้ วงปี่พาทย์ในการบรรเลง มีทั้งละครชาวบ้านและละครหลวง เรื่องที่นำมาแสดง เช่น
สงั ขท์ อง อณุ รุท แสดงในงานพิธสี ำคัญและงานรนื่ เรงิ ตา่ งๆ

- รำและระบำ รำและระบำเป็นการแสดงประกอบดนตรีและบทขับร้องไม่เล่นเป็นเรื่องราว
เน้นท่ารำที่สวยงามและพร้อมเพรียง โดยรำ เป็นการแสดงที่มีผู้แสดง ๑-๒ คน แบ่งเป็นรำเดี่ยวและรำคู่
ส่วนระบำ เป็นการแสดงท่ีมผี ู้แสดงต้ังแต่ ๒ คนขึน้ ไป

- การแสดงพื้นเมือง การแสดงพื้นเมืองเปน็ การแสดงท่เี ป็นเอกลักษณ์ของทอ้ งถิน่ เกดิ จากภูมิ
ปัญญาของคนในท้องถิ่น มีขึ้นเพื่อจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น มีการแสดงขึ้นเพื่อบูชาสิ่งศักด์ิ
เพอื่ ความสนกุ สนาน เพือ่ ผอ่ นคลายความเหนด็ เหน่อื ย

8.3 ขั้นสรปุ
8.3.1. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
- นาฏศิลปไ์ ทยเป็นศลิ ปะการแสดงท่ีสรา้ งความเพลิดเพลิน สนกุ สนานใหก้ ับมนษุ ย์ นาฏศิลป์

เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นจากการเลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์ การรับอารยธรรมจากอินเดีย การละเล่น
เพอื่ ผ่อนคลายและการบูชาส่ิงศักดิส์ ิทธิ์ ซงึ่ การแสดงนาฏศลิ ป์ประกอบดว้ ย การฟอ้ นรำ ดนตรี และการขับร้อง
และให้นกั เรียนศกึ ษาหาความรู้เพ่มิ เตมิ โดยการรบั ชมการแสดงประเภทตา่ ง ๆ จาก YouTube

9. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
9.1 PowerPoint เร่ือง การแสดงไทยนาฏศลิ ป์
9.2 หนงั สอื รายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1

10. หลักฐานการเรียนรู้ (ภาระงาน/ชิ้นงาน)
- ให้นักเรียนศกึ ษาหาความร้เู พิ่มเตมิ โดยการรับชมการแสดงประเภทตา่ ง ๆ จาก YouTube

11. การวดั และประเมนิ ผล

11.1 วิธกี ารประเมนิ

11.1.1 สังเกตพฤตกิ รรมการเรียน

11.2 เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน

11.3 เกณฑก์ ารประเมนิ

ประเด็นการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1
1. ความรู้ (K)
เขา้ ใจและสามารถ 32 อธบิ ายการแสดง
อธบิ ายการแสดง นาฏศลิ ป์ไทยได้
นาฏศลิ ปไ์ ทยได้ เข้าใจและสามารถ อธิบายการแสดง แต่ไม่ครบ
อยา่ งถูกต้องและ อธิบายการแสดง นาฏศิลปไ์ ทยได้ องค์ประกอบ
ชัดเจน นาฏศิลป์ไทยได้ ถูกต้องแต่ไม่
อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน

2. ทกั ษะ/กระบวนการ (S) มที ักษะและวิธีการ มที ักษะและวธิ ีการ มีวธิ กี ารในการคิด มีวธิ กี ารในการคิด
ในการคิดวิเคราะห์ ในการคดิ วิเคราะห์
การแสดงนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์ วเิ คราะห์การ วเิ คราะหก์ าร
ไทยแตล่ ะประเภท ไทยแต่ละประเภท
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและ ได้ แสดงนาฏศิลป์ แสดงนาฏศลิ ป์
ชัดเจน
ไทยแตล่ ะ ไทยได้แตไ่ ม่

ประเภทได้ถูกต้อง ครบถ้วน

ประเดน็ การประเมิน ระดับคณุ ภาพ

3. คุณลักษณะ 4 32 1
อันพงึ ประสงค์ (A)
เหน็ คณุ คา่ และ เหน็ คุณคา่ และ เหน็ คุณคา่ เห็นคุณคา่ และ
อธบิ ายความสำคัญ ความสำคญั ของ
ต่อการอนรุ กั ษ์และ ความสำคญั ต่อการ ความสำคัญต่อ การแสดง
เผยแพร่การแสดง นาฏศลิ ป์ไทย
นาฏศลิ ปไ์ ทย อนุรกั ษ์และ การอนุรักษ์การ
ทง้ั 4 ประเภท
เผยแพร่การแสด แสดงนาฏศลิ ป์

นาฏศิลปไ์ ทย ไทยท้ัง4ประเภท

เกณฑ์การตดั สิน ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 1 มีระดบั คุณภาพปรบั ปรุง
ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดีเยี่ยม
ระดับ 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผา่ น ผู้เรยี นได้รบั การประเมินเฉล่ยี ไม่น้อยกว่าระดับ 3 ถือวา่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทกั ษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คณุ ธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววริ ยิ า ช่ืนอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย


Click to View FlipBook Version