The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wiriya Chuenarom, 2022-10-26 09:10:41

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.1
รายวิชา นาฏศิลป์ ศ21104
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

โดย
นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์

แผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวชิ า ศ 21104 รายวิชา นาฏศิลป์ 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 16
ครูผูส้ อน นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์ เร่ือง ละครไทย เวลา 3 ชั่วโมง

เรอ่ื ง ประเภทของละคร จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรตั นโกสนิ ทร์สมโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า

ของนาฏศลิ ปท์ ่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทย และสากล

2. ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้
ศ 3.2 ม.1/1 ระบปุ จั จยั ที่มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พ้นื บ้าน ละครไทย
และละครพื้นบา้ น

3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายประวัติความเปน็ มาและลกั ษณะของละครไทยแตล่ ะประเภท
2. นำความรูเ้ รอื่ งหลักในการชมการแสดงและมารยาทในการชมการแสดงไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
3. เห็นคุณคา่ และความสำคัญของละครไทย

4. สาระสำคัญ
ละคร หมายถึง การแสดงท่ีมีการถ่ายทอดเรอ่ื งราว ดำเนินเร่อื งไปตามเน้ือเร่อื งทมี่ ีทา่ ร่ายรำประกอบ

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- อธบิ ายประวตั คิ วามเป็นมาและลกั ษณะของละครไทยแต่ละประเภท
5.2 ดา้ นทักษะ (S)
- วเิ คราะห์ประวัตคิ วามเปน็ มาและลกั ษณะของละครไทยแตล่ ะประเภท
5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
- เหน็ คณุ ค่าและความสำคัญของละครไทย

6. การบรู ณาการ (บูรณาการกับกลมุ่ สาระการเรยี นร้อู น่ื )
6.1 ภาษาไทย : การอธิบายประวตั ิความเป็นมาและลักษณะของละครไทยแตล่ ะประเภท การแสดงความ

คิดเหน็ การถามและการตอบข้อสงสยั ตา่ งๆ

7. สมรรถนะของผเู้ รยี น
☑ ความสามารถในการส่ือสาร
☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแก้ปญั หา

☑ ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

□ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
8.1 ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน
8.1.1 ครูทบทวนความรเู้ กี่ยวกับการแสดงพน้ื เมืองจากคาบท่ผี ่านมา ใหน้ กั เรียนอธิบายถึงองค์ความรู้

ตามความเขา้ ใจ
8.1.2 ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั ละครไทย โดยครใู ชค้ ำถาม ดงั นี้

- นักเรยี นชอบดูละครหรือไม่
- นกั เรียนชอบดลู ะครอะไรบ้าง
- นกั เรียนคดิ ว่าละครมีความน่าสนใจอย่างไรบ้าง
- นักเรยี นคดิ วา่ ละคร คืออะไร
8.2 ข้ันสอน
8.2.1 ครูอธิบายประกอบสื่อ PowerPoint ให้นักเรียนฟังว่า ละคร หมายถึง การแสดงที่มีการ
ถ่ายทอดเรื่องราว ดำเนินเรื่องไปตามเนื้อเรื่องที่มีท่าร่ายรำประกอบ จากนั้นครูใช้คำถาม เพื่อให้นักเรียน
รว่ มกันแสดงความคิดเห็น ดังนี้
- นกั เรยี นรู้จักละครไทยหรอื ไม่
- ละครไทยทีน่ ักเรียนรจู้ ักมีละครอะไรบา้ ง
- นักเรยี นคดิ ว่าละครไทยมกี ีป่ ระเภท อะไรบา้ ง
8.2.2 จากนั้นครูเริ่มอธิบายให้นักเรียนฟังว่า ละครไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ ละครรำ ละครร้อง
ละครพูด และละครสังคีต
- ละครรำ คือ ละครทใ่ี ชศ้ ิลปะการร่ายรำในการดำเนนิ เรื่อง แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท

1. ละครรำแบบมาตรฐานด้ังเดิม มี 3 ชนิด คอื
- ละครชาตรี
- ละครนอก
- ละครใน

2. ละครทีป่ รับปรุงขนึ้ ใหม่ มี 3 ชนดิ คือ
- ละครดกึ ดำบรรพ์
- ละครพันทาง
- ละครเสภา

- ละครร้อง คือ ละครที่ใช้ศิลปะการร้องดำเนินเรื่อง เป็นละครแบบใหม่ที่ได้รับอิทธิพลมาจาก
ตะวันตก แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

1. ละครร้องลว้ น ๆ

2. ละครรอ้ งสลบั พูด

- ละครพูด คือ คอื ละครท่ีใช้ศลิ ปะการพูดในการดำเนินเร่ือง เปน็ ละครแบบใหม่ท่ีได้รับอิทธิพล
จากตะวนั ตก แบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื

1. ละครพูดลว้ น ๆ
2. ละครพดู สลับรำ
- ละครสังคตี คอื ละครทีใ่ ชศ้ ลิ ปะการพูดและการร้องดำเนินเร่ืองเสมอกนั
8.2.3 ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม โดยแบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มเลขคู่ และกลุ่มเลขคี่ และให้แต่ละ
กลุ่มต้งั ช่ือกลมุ่ ให้ตัวเอง เพือ่ รว่ มทำกิจกรรมเล่นเกมออนไลน์ ตอบคำถามจากการเปิดแผ่นป้าย (bamboozle)
เร่อื ง ละครไทย
8.2.4 หลังจากจบกิจกรรมการเล่นเกมออนไลน์ ครูให้นักเรียนจดสรุปบันทึกความรู้ในเวลาเรียนเป็น
แบบบรรยาย หรือแบบแผนผังความรู้ตามความคดิ ของนักเรียน
8.3 ขัน้ สรุป
8.3.1 นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้
- ละครไทยแบง่ ออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง
- ละครไทยมีลักษณะอยา่ งไร
และครูไดส้ รปุ เพ่ิมเตมิ ว่า ละครไทยแบง่ ออกเป็น 4 ประเภท คอื ละครรำ ละครทปี่ รับปรุงขึ้นใหม่ ละครร้อง
และละครพดู ซงึ่ ละครแต่ละประเภท ลว้ นมเี อกลักษณ์ที่น่าสนใจ ทเ่ี กดิ ขึ้นจากภูมิปญั ญาของบรรพบรุ ษุ ไทย
ซึ่งละครบางประเภทในปัจจบุ ันหาดูได้ยากมากแล้ว

9. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
8.1 PowerPoint เร่อื ง ละครไทย
8.2 หนังสือรายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1

10. หลักฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ช้นิ งาน)
- ใหน้ ักเรยี นจดสรุปบันทกึ ความรู้ในเวลาเรยี นเป็นแบบบรรยาย หรือแบบแผนผังความรู้ตามความคิด

ของนักเรยี น

11. การวดั และประเมินผล
11.1 วิธกี ารประเมนิ
11.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการทำกจิ กรรมเปน็ กลุ่ม
11.1.2 สงั เกตพฤติกรรมการเรยี น
11.2 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำกจิ กรรมเป็นกลมุ่
11.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรยี น

11.3 เกณฑก์ ารประเมนิ

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
1. ความรู้ (K) อธิบายประวัติ
เข้าใจและ 32 ความเป็นมา
2. ทักษะ/กระบวนการ(S) อธิบายประวตั ิ และลกั ษณะ
ความเป็นมา อธบิ ายประวัติ อธบิ ายประวัติ ของละครไทย
3. คณุ ลักษณะอนั พึง และลกั ษณะ ความเป็นมา ความเปน็ มา แต่ละประเภท
ประสงค์ (A) ของละครไทย และลกั ษณะ และลกั ษณะ ไดแ้ ต่ไม่ครบ
แต่ละประเภท ของละครไทย ของละครไทย องคป์ ระกอบ
ได้อย่างถูกตอ้ ง แตล่ ะประเภท แตล่ ะประเภท
และชดั เจน ได้อย่างถูกต้อง ได้ถูกต้องแตไ่ ม่ มวี ธิ ีการในการ
คิดวเิ คราะห์การ
มีทักษะในการ ชดั เจน แสดงละครของ
คดิ วเิ คราะห์ ไทยไดแ้ ต่ไม่
ประวตั ิความ วเิ คราะห์ วเิ คราะห์ ครบถ้วน
เปน็ มาและ
ลกั ษณะของ ประวัติความ ประวตั ลิ กั ษณะ เห็นคุณค่าและ
ละครไทยแต่ละ ความสำคญั ของ
ประเภท เปน็ มาและ ของละครไทย การแสดงของ
ได้อยา่ งถูกต้อง ละครไทย
ลกั ษณะของ แตล่ ะประเภท
เหน็ คณุ ค่าและ
อธบิ ายประวัติ ละครไทยแตล่ ะ ได้แต่ไมช่ ดั เจน
ความเป็นมา
และลกั ษณะ ประเภทได้
ของละครไทย
แตล่ ะประเภท เห็นคณุ ค่า เหน็ คุณค่า
ประวตั ิความ ลกั ษณะของ
เปน็ มาของ ละครไทยแต่ละ
ละครไทยแต่ละ ประเภท
ประเภท

เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดี
ระดับ 1 มีระดับคุณภาพปรับปรงุ
ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคุณภาพดเี ยย่ี ม
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพพอใช้

เกณฑ์การผา่ น ผู้เรียนได้รบั การประเมินเฉลยี่ ไมน่ ้อยกวา่ ระดับ 3 ถือว่าผา่ นเกณฑ์การประเมิน

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงคก์ ารเรียนรู้...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ..........................

ได้แก่

1........................................................................................................................................................

2............................................................................................................................ ............................

2. นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

....................................................................................................................................................................... .......

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกดิ ทกั ษะ

............................................................................................. .................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ คา่ นยิ ม 12 ประการ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม

............................................................................................................................. .................................................

.................................................................................. ............................................................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาววริ ยิ า ชืน่ อารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .......................................................
(นางสาวชัชชษา เช่นพิมาย)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศกึ ษา/ผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง………………………………………………… แล้วมีความคิดเห็นดงั น้ี
1. เป็นแผนการเรยี นรทู้ ่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการเรยี นรู้ที่
 นำไปใช้ได้จรงิ
 ควรปรบั ปรุงก่อนนำไปใช้
4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ

............................................................................................................................................... ...............................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นรตั นโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น

รายการประเมินผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มคี วามตัง้ ใจในการเรียนและทำกิจกรรม

2. ร้แู ละเข้าใจนำความรเู้ รือ่ งประเภทของละคร
3. นำความร้เู รอื่ งหลักในการชมการแสดงและ
มารยาทในการชมการแสดงไปใช้ในชีวิตประจำวนั
4. ร่วมกิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลนิ
5. เหน็ คณุ ค่าและอธบิ ายประวตั คิ วามเป็นมาและ
ลกั ษณะของละครไทยแต่ละประเภท

รวม

เกณฑก์ ารตัดสิน

ระดับ 4 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดเี ยยี่ ม
ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดับ 2 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพควรปรบั ปรงุ
เกณฑก์ ารประเมิน
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนขึ้นไป ถอื วา่ ผ่าน

แผนการจดั การเรียนรู้

รหสั วิชา ศ 21104 รายวชิ า นาฏศิลป์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 17
ครูผู้สอน นางสาววริ ิยา ชนื่ อารมณ์ เรอื่ ง ละครไทย เวลา 3 ชั่วโมง

เรื่อง ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรัตนโกสินทรส์ มโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า

ของนาฏศิลป์ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทย และสากล

2. ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้
ศ 3.2 ม.1/2 บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยคุ สมยั

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายประวตั คิ วามเปน็ มาและลักษณะของละครไทยแต่ละยุคสมยั
2. วิเคราะห์ลกั ษณะของละครไทยแต่ละยุคสมัย
3. เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั ของละครไทยแตล่ ะยุคสมยั

4. สาระสำคัญ
การละครไทยได้มีการปรับปรุงให้ทนั สมัย ตามเหตุการณ์ ตามความตอ้ งการของผ้ชู ม เรือ่ งราวที่แสดง

เป็นเรื่องราวที่หลากหลาย เช่น สะท้อนสังคม ชีวิตมนุษย์ เรื่องราวในอดีต ในอนาคต เป็นต้น และได้มีการนำ
เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามามีส่วนเพิ่มเติมให้ละครดูน่าสนใจ ตื่นเต้น สมจริงมากขึ้น ซึ่งจุดมุ่งหมายของละคร
คือ ให้ผู้ชมไดร้ บั ความสนกุ สนาน ไดข้ อ้ คิด และได้รับประโยชนจ์ ากผูช้ มมากท่ีสดุ

5. สาระการเรียนรู้
5.1 ด้านความรู้ (K)
- อธิบายประวตั ิความเปน็ มาและลกั ษณะของละครไทยแตล่ ะยุคสมยั
5.2 ด้านทักษะ (S)
- วิเคราะหล์ ักษณะของละครไทยแต่ละยุคสมยั
5.3 ด้านคณุ ลกั ษณะ (A)
- เหน็ คุณค่าและความสำคญั ของละครไทยแตล่ ะยุคสมัย

6. การบรู ณาการ (บรู ณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน)
6.1 ภาษาไทย : การอธิบายประวตั ิความเป็นมาและลักษณะของละครไทยแตล่ ะยุคสมยั การแสดงความ

คิดเหน็ การถามและการตอบข้อสงสยั ตา่ งๆ

7. สมรรถนะของผู้เรยี น

☑ ความสามารถในการส่ือสาร

☑ ความสามารถในการคดิ

□ ความสามารถในการแก้ปัญหา

☑ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

□ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
8.1 ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น
8.1.1 ครูทบทวนความรูจ้ ากคาบทผ่ี ่านมา ให้นักเรียนอธิบายถึงองค์ความรู้ตามความเขา้ ใจ

8.1.2 ครรู ว่ มสนทนากบั นักเรียนเกย่ี วกบั ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย โดยครใู ชค้ ำถาม ดงั นี้

- นกั เรียนรูจ้ กั ละครหรือการแสดงแบบไทยอะไรบ้าง

- นกั เรียนรู้หรอื ไมว่ า่ ละครหรือการแสดงของไทยทน่ี ักเรยี นรู้จักเกิดข้นึ ได้อย่างไร และเกิดขึ้น

ในยุคสมัยใด
8.2 ขั้นสอน
8.2.1 ครูเริ่มเปิดสื่อ Power Point เรื่อง ละครไทยแต่ละยุคสมัย แล้วเริ่มอธิบายความรู้เกี่ยวกับ

เรอื่ งของ ละครไทยแต่ละยุคสมยั ใหน้ ักเรยี นฟัง ดงั นี้
1. สมัยกอ่ นสุโขทยั (สมัยนา่ นเจ้า)
- จากการค้นคว้าหาหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า สมัยอาณาจักรน่านเจ้า

ไทยมนี ยิ ายเรอ่ื งหน่งึ คือ “มโนหร์ า” ซงึ่ ปัจจุบนั นีก้ ย็ งั มีอยู่ หนังสือทีเขียนบรรยายถึงเร่ืองของชาวจีนตอนใต้
และเขียนถงึ นิยายการเลน่ ต่างๆ ของจีนตอนใต้ มอี ยู่เร่ืองหนง่ึ ที่ช่ือเหมือนกับนิยายของไทย คอื เร่อื ง “นามา
โนห์รา” และอธิบายไว้ด้วยว่าเป็นนิยายของพวกไต ซึ่งจีนถือว่าเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ทางใต้ของประเทศจีน
ไตเป็นน่านเจ้าสมัยเดิม คำว่า “นามาโนห์รา” เพี้ยนมาจากคำว่า “นางมโนห์รา” ของไทยนั่นเอง
พวกไต คือ ประเทศไทยเรา แต่เป็นพวกท่ีไมอ่ พยพลงมาจากดินแดนเดิม ชีวิตและความเปน็ อยู่ของพวกไต
เปน็ แบบชาวเหนือของไทยประกอบอาชีพทำสวนผลไม้ พวกไทยนี้สบื เช้ือสายมาจากสมยั นา่ นเจา้ เหตแุ วดล้อม
ดงั กล่าวจงึ ชวนให้เข้าใจว่าเป็นชาตทิ ี่มีศลิ ปะมาแลว้ แต่ด้ังเดิม ซ่ึงไดร้ กั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณี วัฒนธรรม
ไว้อย่างเดียวกับไทยภาคเหนือมีหมู่บ้านอยู่ทางทิศตะวันออกของมณฑลยูนนานในปัจจุบัน ฝรั่งเรียกว่า
“สวนมรกต” มแี มน่ ้ำสายหน่งึ ไหลผ่าน ออกเสียงแบบไทยว่า “แลน่ ชน” หรอื “ลา้ นชา้ ง” การละเล่นของ
ไทยในสมัยน่านเจ้า นอกจากเรื่องมโนห์รา ยังมีการแสดงระบำต่างๆ เช่น ระบำหมวก ระบำนกยูง
ซง่ึ ปัจจุบนั จีนถอื วา่ เป็นการละเลน่ ของชนกลุ่มนอ้ ยในประเทศของเขา

2. สมัยสุโขทยั
- ในสมัยสุโขทัย ได้คบหากับชาติที่นิยมอารยธรรมของ อินเดีย เช่น พม่า มอญ

ขอม และละว้า ไทยได้รู้จักเลือกเฟ้นศิลปวัฒนธรรมของชาติที่สมาคมด้วย แต่มิได้หมายความว่าชาติไทย
แต่โบราณจะไม่รู้จักการละครฟ้อนรำมาก่อน เรามีการแสดงระบำ รำ เต้น มาแต่สมัยดึกดำบรรพ์แล้ว
เมื่อไทยได้รับวัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้ามา ศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รำ
และระบำ ก็ได้วิวัฒนาการขึ้น มีการกำหนดแบบแผนแห่งศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน
และบญั ญัติคำเรยี กศลิ ปะแหง่ การแสดงดังกลา่ วว่า “โขน ละคร ฟอ้ นรำ”

3. สมยั อยธุ ยา
- ละครรำสมัยกรุงศรีอยธุ ยามีต้นกำเนิดจากการเลน่ โนรา และละครชาตรีที่นิยมกัน

ในภาคใต้ของประเทศไทย แต่เดิมมีละครชื่อขุนศรัทธา เป็นละครในสมัยกรุงศรีอยุธยา ส่วนระบำหรือฟ้อน
เป็นศิลปะโดยอุปนิสัยของคนไทยสืบต่อกันมา ละครรำของไทยเรามี 3 อย่าง คือ ละครชาตรี ละครนอก
และละครใน ละครชาตรีเป็นละครเดิม ละครนอกเกิดขึ้นโดยแก้ไขจากละครชาตรี แต่ละครในนั้นคือละคร
ผู้หญิง เมื่อครั้งรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังไม่มีปรากฏ มาปรากฏว่ามีละครผู้หญิงในหนังสือ
บุณโณวาทคำฉันท์ ซึ่งแต่งในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ. 2275 - 2301 เป็นครั้งแรก
เพราะฉะนั้นละครผู้หญิงจึงเกิดขึ้นในระหว่างรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. 2231 – 2246 มาจนรัชกาล
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในระหว่าง 70 ปีนี้ รัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศได้มีละครผู้หญิงเลน่
คือเรอื่ ง “อิเหนา” ซึ่งเปน็ ละครใน

4. สมยั กรงุ ธนบุรี
- สมัยนี้เป็นช่วงต่อเนื่องหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310

เหลา่ ศิลปินได้กระจดั กระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผลจากสงคราม บางสว่ นกเ็ สียชวี ิต บางสว่ นก็ถูกกวาดต้อนไป
อยู่พม่า ครั้นพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบดาภิเษกในปีชวด พ.ศ. 2311 แล้ว ทรงส่งเสริมฟื้นฟูการละครขึ้นใหม่
และรวบรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่รวมกัน ตลอดทั้งพระองค์ได้
ทรงพระราชนิพนธบ์ ทละครเร่ืองรามเกยี รต์ขิ น้ึ อีก 5 ตอน คอื ตอนหนุมานเกยี้ วนางวานริน ตอนท้าวมาลีวราช
ว่าความ ตอนทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอนปล่อยม้าอุปการ
มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละครหลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะภูบาล
หม่นื โวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมลี ะครเขมรของหลวงพิพธิ วาทีอกี ด้วย

5. สมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร์
- สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์การละครต่างๆ ลว้ นได้รบั การสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์

แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์สืบเนื่องต่อกันมาเป็นลำดับตั้งแต่การละครต่างๆ ล้วนได้รับการสนับสนุนจาก
พระมหากษัตรยิ แ์ ห่งพระบรมราชจกั รีวงศส์ ืบเนอื่ งต่อกนั มาเป็นลำดบั ต้ังแต่

สมัยรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ทรงฟื้นฟูรวบรวมสิ่งต่างๆ
ที่สูญเสีย และกระจัดกระจายให้สมบูรณ์ ในรัชสมัยนี้ได้มีการรวบรวมตำราฟ้อนรำขึ้นไว้เป็นหลังฐานสำคัญ
ที่สุดในประวัติการละครไทย มีบทละครที่ปรากฏตามหลักฐานอยู่ 4 เรื่อง คือ บทละครเรื่องอุณรุฑ บทละคร
เร่อื งรามเกียรต์ิ บทละครเรอ่ื งดาหลัง และบทละครเรอ่ื งอเิ หนา

สมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นสมัยที่วรรณคดีเจริญรุ่งเรื่อง
เป็นยุคทองแห่งศิลปะการละคร มีนักปราชญ์ราชกวีที่ปรึกษา 3 ท่าน คือ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ กรมหลวง
พิทักษ์มนตรี และสุนทรภู่ มีบทละครในที่เกิดขึ้น ได้แก่ เรื่องอิเหนา ซึ่งวรรณคดีสโมสรยกย่องว่าเป็นยอดของ
บทละครรำ และเรื่องรามเกียรติ์ ส่วนบทละครนอก ไดแ้ ก่ เร่อื งไกรทอง คาวี ไชยเชษฐ์ สงั ข์ทอง และมณพี ิชัย

สมัยรชั กาลท่ี 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยหู่ ัว เป็นยุคท่ลี ะครหลวงซบเซา เนื่องจาก
พระองค์ไม่สนับสนุน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลิกละครหลวงเสีย แต่มิได้ขัดขวางผู้จะจัดแสดงละคร
ทำให้เกิดคณะละครของเจ้านาย และขุนนางขึ้นแพร่หลาย หลายคณะ หลายโรง และมีบทละครเกิดข้ึน
มากมาย

สมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมัยนี้ได้เริ่มมีการติดต่อกับ
ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวยุโรปบ้างแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ฟ้ืนฟู
ละครหลวงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง พร้อมทั้งออกประกาศสำคัญเป็นผลให้การละครไทยขยายตัวอย่างกว้างขวาง ดังมี

ความโดยย่อ คือ พระราชทานพระบรมราชานุญาติ ให้คนทั่วไปมีละครชาย และหญิง เพื่อบ้านเมืองจ ะได้
ครึกครื้นขึ้น เป็นเกียรติยศแก่แผ่นดิน แม้จะมีละครหลวง แต่คนที่เคยเล่นละครก็ขอให้เล่นต่อไป ห้ามบังคับ
ผู้คนมาฝึกละคร ถ้าจะมาขอให้มาด้วยความสมัครใจ สำหรับละครที่มิใช่ของหลวง มีข้อยกเว้นคือ ห้ามใช้รัด
เกล้ายอด เครื่องแต่งตัวลงยา และพานทองหีบทองเป็นเครื่องยกบททำขวัญห้ามใช่แตรสังข์ หัวช้างห้ามทำสี
เผือก ยกเว้นหัวช้างเอราวัณ มีประกาศกฎหมายภาษีมหรสพ พ.ศ. 2402 เก็บจากเจ้าของคณะละครตาม
ประเภทการแสดง และเร่ืองท่แี สดง

สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การละครในยุคนี้เริ่มมีการ
เปลีย่ นแปลง เนือ่ งจากการละครแบบตะวันตกหล่ังไหลเขา้ สูว้ งการนาฏศิลปะ ทำให้เกิดบทละครประเภทต่างๆ
ขึ้นมากมาย เช่น ละครพันทาง ละครดึกดำบรรพ์ ละครร้อง ละครพูด และลิเก ทรงส่งเสริมการละครโดยเลิก
กฎหมายการเก็บอากรามหรสพเมื่อ พ.ศ. 2450 ทำให้กิจการละครเฟื่องฟูขึ้นกลายเป็นอาชีพได้ เจ้าของโร ง
ละครทางฝา่ ยเอกชนมีหลายราย นับตัง้ แต่เจา้ นายมาถึงคนธรรมดา

สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ได้ชื่อว่าเป็นสมัยที่การ
ละคร และการดนตรีทั้งหลายได้เจริญรุ่งเรื่องถงึ ขีดสดุ นับได้ว่าเป็นยุคทองศิลปะการละครยุคที่ 2 พระองค์ได้
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกรมมหรสพขึ้น เพื่อบำรุงวิชาการนาฏศิลปะ และการดนตรี และยังทรงเป็น
บรมครูของเหล่าศลิ ปนิ ทรงพระราชนพิ นธบ์ ทโขน ละคร ฟอ้ นรำ ไว้เปน็ จำนวนมาก

สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การเมืองเกิดภาวะคับขันและ
เศรษฐกิจของประเทศทรุดโทรม เสนาบดีสภาได้ตกลงประชุมกันเลิกกรมมหรสพ เพื่อให้มีส่วนช่วยกู้การ
เศรษฐกิจของประเทศ และต่อมาจึงกลับฐานะมาเป็นกองขึ้นอีก จนกระทั่งเมื่อ พ.ศ. 2478 กองมหรสพจึงอยู่
ในสังกัดกรมศิลปากร ข้าราชการศิลปนิ จงึ ย้ายสังกัดมาอยู่ในกรมศิลปากร ในสมัยนี้มีละครแนวใหม่เกดิ ขึ้นคอื
ละครเพลง หรอื ท่ีเปน็ ทีร่ ้จู กั กนั ว่า “ละครจนั ทโรภาส” ตลอดท้งั มีละครหลวงวิจติ รวาทการเกดิ ขน้ึ

สมยั รชั กาลท่ี 8 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวอนนั ทมหิดล สมยั นีพ้ นั ตรีหลวงวิจิตรวาทการ
ได้ให้กำเนิดละครหลวงวิจิตรซึ่งเป็นละครปลุกใจให้รักชาติ และสร้างแรงจูงใจให้คนไทยหันมาสนใจนาฏศิลป์
ไทย สง่ เสริม ทำนบุ ำรุง เผยแพรน่ าฏศิลปไ์ ทยให้เป็นที่ยกยอ่ งนานาอารยประเทศ ทำให้ศลิ ปะโขน ละคร ระบำ
รำ ฟ้อน ยงั คงสืบทอดเป็นแนวทางในการอนุรักษแ์ ละพัฒนาสืบตอ่ มา

สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช นาฎศิลป์และการละคร
อยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาล คือ กระทรวงวัฒนธรรม มีการส่งเสริมให้ผู้เชี่ยวชาญนาฎศิลป์ไทยคิด
ประดิษฐท์ ่ารำ ชุดใหม่ๆ และการยกย่องให้เป็นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ

8.2.2 ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับละครไทยในแตล่ ะยุคสมยั โดยครใู ช้คำถาม ดงั น้ี

- ละครไทยในแต่ละยุคสมัยมีการปรับปรุง ดว้ ยเหตุผลใด

- เรอ่ื งราวท่นี ำมาแสดงละครไทย เปน็ เร่อื งราวทส่ี ะท้อนให้เห็นถึงสิง่ ใดบ้าง

- เพราะอะไรจึงต้องมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามามสี ว่ นเพ่ิมเติมในการแสดงละคร

8.3 ข้ันสรุป
8.3.1 นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปความรใู้ นรปู แบบแผนผังความคดิ ดังนี้
- ละครไทยมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงไปตามยคุ สมัย เหตุการณ์ และความต้องการของ

ผู้ชม เรื่องราวที่แสดงเป็นเรื่องราวที่หลากหลาย เช่น สะท้อนสังคม ชีวิตมนุษย์ เรื่องราวในอดีต ในอนาคต
เป็นต้น และได้มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามามีส่วนเพิ่มเติมให้ละครดูน่าสนใจ ตื่นเต้น สมจริงมากขึ้น ซ่ึง
จดุ มุ่งหมายของละคร คือ ใหผ้ ชู้ มไดร้ ับความสนกุ สนาน ไดข้ ้อคิด และได้รบั ประโยชนจ์ ากผชู้ มมากท่ีสดุ

9. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้
8.1 แถบประโยค

8.2 หนังสือรายวิชาพน้ื ฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1

10. หลกั ฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ชนิ้ งาน)
- ให้นกั เรยี นสรปุ ความรใู้ นรูปแบบแผนผงั ความคดิ เร่อื ง ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมยั

11. การวดั และประเมินผล

11.1 วธิ กี ารประเมนิ

11.1.1 สังเกตพฤติกรรมการเรียน

11.2 เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน
11.2.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน

11.3 เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
1. ความรู้ (K) อธบิ ายประวัติ
เขา้ ใจและ 32 ความเปน็ มา
2. ทกั ษะ/กระบวนการ(S) อธิบายประวตั ิ และลักษณะ
ความเป็นมา อธบิ ายประวัติ อธบิ ายประวัติ ของละครไทย
3. คุณลักษณะอันพึง และลักษณะ ความเป็นมา ความเป็นมา แต่ละประเภท
ประสงค์ (A) ของละครไทย และลักษณะ และลกั ษณะ ได้แต่ไมค่ รบ
แต่ละประเภท ของละครไทย ของละครไทย องค์ประกอบ
ได้อย่างถกู ต้อง แตล่ ะประเภท แตล่ ะประเภท
และชัดเจน ได้อย่างถูกต้อง ได้ถูกตอ้ งแต่ไม่ มีวิธกี ารในการ
คิดวิเคราะห์การ
มที กั ษะในการ ชัดเจน แสดงละครของ
คดิ วเิ คราะห์ ไทยไดแ้ ต่ไม่
ประวตั ิความ วิเคราะห์ วเิ คราะห์ ครบถ้วน
เปน็ มาและ
ลกั ษณะของ ประวัติความ ประวตั ลิ กั ษณะ เหน็ คุณคา่ และ
ละครไทยแต่ละ ความสำคัญของ
ประเภท เปน็ มาและ ของละครไทย การแสดงของ
ได้อย่างถกู ตอ้ ง ละครไทย
ลักษณะของ แตล่ ะประเภท
เห็นคุณคา่ และ
อธิบายประวัติ ละครไทยแตล่ ะ ได้แต่ไมช่ ดั เจน
ความเป็นมา
และลักษณะ ประเภทได้
ของละครไทย
แต่ละประเภท เหน็ คุณค่า เหน็ คุณคา่
ประวตั คิ วาม ลกั ษณะของ
เป็นมาของ ละครไทยแตล่ ะ
ละครไทยแต่ละ ประเภท
ประเภท

เกณฑก์ ารตัดสิน ระดับ 3 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดี
ระดับ 1 มีระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ
ระดบั 4 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพดีเยยี่ ม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคณุ ภาพพอใช้

เกณฑก์ ารผ่าน ผู้เรียนได้รบั การประเมินเฉลี่ยไมน่ ้อยกว่าระดับ 3 ถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

ความเห็นของหัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชชั ชษา เช่นพิมาย)

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

ความเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา/ผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ………………………………………………… แลว้ มีความคดิ เห็นดงั น้ี
1. เปน็ แผนการเรยี นรทู้ ี่
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้
 เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนรทู้ ่ี
 นำไปใชไ้ ด้จริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการโรงเรียนกลุม่ บริหารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชือ่ .......................................................
(นายบรรจบ ภูโสดา)

ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นรัตนโกสนิ ทรส์ มโภชลาดกระบัง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น

รายการประเมินผล 4 ระดบั คะแนน 1
32
1. มีความต้งั ใจในการเรยี นและทำกจิ กรรม
2. ร้แู ละเข้าใจนำความรเู้ รอื่ งละครไทย
ในแตล่ ะยุคสมัย
3. นำความรู้เรอื่ ง ละครไทยในแตล่ ะยคุ สมัย

4. รว่ มกจิ กรรมด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
5. เหน็ คุณคา่ และความสำคัญของละครไทย
แตล่ ะยคุ สมัย

รวม

เกณฑ์การตดั สนิ

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดเี ยีย่ ม
ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพควรปรบั ปรงุ
เกณฑ์การประเมิน
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนขนึ้ ไป ถอื ว่า ผ่าน

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวิชา ศ 21104 รายวิชา นาฏศลิ ป์ 1 กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 18
ครูผู้สอน นางสาววิริยา ชน่ื อารมณ์ เรือ่ ง ละครไทย เวลา 3 ช่ัวโมง

เรอื่ ง บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศลิ ป์ไทย จำนวน 1 ชั่วโมง

โรงเรียนรัตนโกสนิ ทรส์ มโภชลาดกระบัง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า

ของนาฏศิลปท์ ่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ ภูมิปญั ญาไทย และสากล

2. ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้
ศ 3.2 ม.1/2 อภิปรายบทบาทของบคุ คลสำคญั ในวงการนาฏศลิ ปแ์ ละการละครของประเทศไทยใน

ยคุ สมยั ตา่ งๆ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. รู้จักบคุ คลสำคญั ในวงการนาฏศิลปไ์ ทย
2. อธิบายถงึ ลกั ษณะสำคัญและเชอ่ื มโยงเหตุการณข์ องบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทย
3. เหน็ คณุ คา่ และความสำคญั ของละครไทยแตล่ ะยุคสมัย

4. สาระสำคัญ
การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการละครไทยมวี ิวัฒนาการจากอดีตมาถึงปัจจุบนั ทำให้การนาฏศลิ ป์และการ

ละครไทยพัฒนามากขึ้น และยังคงอยู่เป็นที่รู้จัก ซึ่งการแสดงนาฏศิลป์และการละครไทยจะมีการพัฒนาหรือ
สร้างสรรค์รูปแบบใหม่ ๆ ได้นั้นก็ขึ้นอยู่กับบุคคลสำคัญของวงการนาฏศิลป์และละครไทยด้วย เพราะบุคคล
เหลา่ น้ีเป็นท้งั ผ้สู ร้าง ส่งเสริม และสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ป์และละครไทยใหเ้ ป็นท่รี ูจ้ กั มาจนปจั จุบนั

5. สาระการเรยี นรู้
5.1 ดา้ นความรู้ (K)
- รู้จักบคุ คลสำคญั ในวงการนาฏศลิ ป์ไทย
5.2 ด้านทกั ษะ (S)
- อธิบายถงึ ลักษณะสำคัญและเชอ่ื มโยงเหตุการณ์ของบุคคลสำคญั ในวงการนาฏศลิ ป์ไทย
5.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A)
- เหน็ คุณค่าและความสำคัญของละครไทยแตล่ ะยุคสมยั

6. การบรู ณาการ (บรู ณาการกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน)
6.1 สังคมศึกษา : การอธิบายถึงประวัติบุคคลสำคัญทางด้านนาฏศิลป์ไทย และเหตุการณ์ต่างๆ

ท่ีเก่ยี วเนอื่ งกับนาฏศลิ ป์ไทย

7. สมรรถนะของผ้เู รยี น

☑ ความสามารถในการส่ือสาร

☑ ความสามารถในการคิด

□ ความสามารถในการแก้ปัญหา
□ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
□ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
8.1 ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน
8.1.1 ครูทบทวนความร้จู ากคาบท่ีผา่ นมา ให้นกั เรียนอธิบายถึงองค์ความรู้ตามความเข้าใจ
8.1.2 ครทู กั ทายนักเรยี นและร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั วิชานาฏศิลปโ์ ดยรวมท้งั หมดท่เี รยี นมา โดยครู

ใชค้ ำถาม ดังน้ี
- ตลอดภาคเรยี นนี้เราเรยี นเนื้อหาใดบา้ งแล้ว
- นาฏศิลป์ไทย มคี วามหมายวา่ อะไร
- ภาษาทา่ และ นาฏยศัพท์ ทางดา้ นนาฏศลิ ป์ไทยคืออะไร
- รำวงมาตรฐานมีความเปน็ มาและมีข้อมูลใดบา้ ง
- นาฏศลิ ปไ์ ทยแบง่ ออกเป็นก่ีประเภท

8.2 ขั้นสอน
8.2.1 ครูสรุปองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์ทั้งหมดแล้วเชื่อมโยงเข้ากับผู้ที่ถ่ายทอดศาสตร์ทางด้าน

นาฏศิลป์ไทยตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั
8.2.2 ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยจากทางอินเตอร์เน็ต ที่ได้มอบหมาย

งานใหใ้ นการเรียนคาบที่ผ่านมา
8.2.3 ครูนำนักเรยี นเข้าสเู่ กม “นาฏยพันหนา้ ” โดยมขี ้ันตอนการเล่นเกมดังนี้
2) ครูให้นักเรียนนำชิ้นงานบุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ไทยที่ตนเองได้ค้นคว้ามาแล้วเปิดรูป

ใบหน้าครูแต่ละท่านออกให้เพ่ือนๆ ได้เหน็
3) ครแู นะนำบคุ คลสำคญั ทั้ง 36 ทา่ นโดยยอ่ ให้นักเรียนได้รจู้ ักพอสงั เขป
4) ครูกำหนดเวลาให้นักเรียนสับเปลี่ยนกันจำใบหน้าของบุคคลสำคัญทางวงการนาฏศิลป์ไทย

จากทกุ คนจนครบ 36 ท่าน (เวลาในการสับเปลี่ยน 15 วินาท)ี
5) ครูทำการสุ่มให้นักเรียนคนแรก โดยครูหมุนวงล้อออนไลน์รูปภาพบุคคลสำคัญในวงการ

นาฏศิลป์ไทย เมื่อนักเรียนคนแรกวงล้อหยุดที่ชื่อบุคคลสำคัญทางด้านนาฏศิลป์ไทยท่านใดให้นักเรียนบอกชื่อ
บุคคลท่านน้ันให้ถูกต้อง หากบอกชื่อถูกนักเรียนคนนัน้ จะได้คะแนนในส่วนของการจดจำใบหน้า แตถ่ ้าหากบอกชื่อ
ไม่ถกู ต้องจะไม่ได้คะแนน

6) เมื่อเพื่อนที่บอกชื่อของบุคคลสำคัญทางด้านนาฏศิลป์ไทยท่านใด ให้นักเรียนที่เป็นเจ้าของผู้
สืบค้นข้อมูลท่านนัน้ เปิดไมค์และแนะนำบอกเล่าประวัติบุคคลสำคัญทางด้านนาฏศิลป์ไทยท่านนั้นให้เพื่อนได้รู้จกั
วนไปจนครบทุกคน

8.3 ข้ันสรปุ
8.3.1 นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรใู้ นรปู แบบแผนผงั ความคดิ ดังนี้
- ครูตั้งประเด็นคำถามความรู้ที่ได้รับจากการเล่นมาก “นาฏยพันหน้า” ว่าบุคคลสำคัญ

ในวงการนาฏศลิ ปท์ ี่นกั เรยี นไดเ้ ล่นเกมไป มคี ณุ ปู การหรอื ประโยชน์ในศาสตร์ทางด้านนาฏศิลปอ์ ย่างไรบ้าง

9. ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้
8.1 วงลอ้ ออนไลนร์ ูปภาพบุคคลสำคัญในวงการนาฏศลิ ป์ไทย
8.2 ขอ้ มูล “บุคคลสำคัญทางดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ทย” จากนกั เรยี นทกุ คน

10. หลักฐานการเรยี นรู้ (ภาระงาน/ช้ินงาน)
- ใหน้ ักเรยี นสืบคน้ ข้อมูลจากทางอนิ เตอรเ์ น็ต ในเรือ่ ง บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศิลปไ์ ทย

11. การวัดและประเมนิ ผล
11.1 วธิ ีการประเมนิ
11.1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเรียน
11.1.2 สงั เกตพฤติกรรมการนำเสนอ
11.2 เครื่องมือทใี่ ช้ในการประเมนิ
11.2.1 แบบประเมนิ พฤติกรรมการเรยี น
11.2.2 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการนำเสนอ

11.3 เกณฑ์การประเมิน

ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ
1. ความรู้ (K)
432 1
2. ทกั ษะ/กระบวนการ(S) อธบิ ายการ
เข้าใจและ อธิบายการ อธบิ ายการ เปลี่ยนแปลง
3. คุณลักษณะอนั พึง ของนาฏศลิ ป์
ประสงค์ (A) อธบิ ายการ เปลย่ี นแปลง เปล่ยี นแปลง และละครไทย
ได้แต่ไม่ครบ
เปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ ของนาฏศิลป์ องค์ประกอบ

ของนาฏศิลป์ และละครไทย และละครไทย มวี ิธกี ารในการ
คดิ วิเคราะห์การ
และละครไทย ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกต้องแต่ไม่ เปลีย่ นแปลง
ของนาฏศลิ ป์
ได้อย่างถูกตอ้ ง ชัดเจน และละครไทย
ได้แต่ไม่
และชัดเจน ครบถว้ น
เหน็ คณุ คา่ การ
มีทักษะในการ วเิ คราะหก์ าร วเิ คราะห์การ เปลี่ยนแปลง
ของนาฏศิลป์
คิดวเิ คราะห์การ เปลี่ยนแปลง เปลีย่ นแปลง และละครไทย

เปลีย่ นแปลง ของนาฏศลิ ป์ ของนาฏศลิ ป์

ของนาฏศลิ ป์ และละครไทย และละครไทย

และละครไทย ได้ แตไ่ มช่ ัดเจน

ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง

เห็นคุณค่าการ เห็นคณุ ค่าการ เห็นคุณค่าการ
เปลีย่ นแปลง เปลีย่ นแปลง เปลย่ี นแปลง
ของนาฏศิลป์ ของนาฏศิลป์ ของนาฏศลิ ป์
และละครไทย และละครไทย และละครไทย

เกณฑ์การตัดสิน ระดบั 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดบั 1 มรี ะดบั คุณภาพปรับปรุง
ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเย่ยี ม
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้

เกณฑ์การผา่ น ผเู้ รยี นได้รบั การประเมนิ เฉล่ียไม่น้อยกว่าระดับ 3 ถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ

12. กิจกรรมเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………..………………...………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. บนั ทึกผลหลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นกั เรียนจำนวน...........................คน

ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..........................

ไมผ่ ่านจุดประสงค์การเรยี นรู้...............คน คดิ เป็นร้อยละ..........................

ได้แก่

1............................................................................................................................ ............................

2..................................................................................................... ...................................................

2. นกั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจ

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

3. นกั เรยี นมคี วามรู้เกิดทักษะ

..............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

4. นกั เรยี นมีเจตคติ ค่านิยม 12 ประการ คุณธรรมจริยธรรม

............................................................................................................................. .................................................

............................................................................................................................. .................................................

14. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................

15. ข้อเสนอแนะ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นางสาววิริยา ชื่นอารมณ์)
ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย

ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชอ่ื .......................................................
(นางสาวชชั ชษา เช่นพิมาย)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ

ความเหน็ ของหัวหนา้ สถานศึกษา/ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย
ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง………………………………………………… แลว้ มีความคดิ เหน็ ดังน้ี
1. เปน็ แผนการเรยี นรู้ท่ี
 ดมี าก
 ดี
 พอใช้
 ควรปรบั ปรุง
2. การจัดกจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้
 เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรับปรงุ พฒั นาต่อไป
3. เป็นแผนการเรียนร้ทู ี่
 นำไปใชไ้ ด้จรงิ
 ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้
4. ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.......................................................
(นางสาวกาญจนา อรุณไพร)

ตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนกลุ่มบรหิ ารวิชาการ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื .......................................................
(นายบรรจบ ภโู สดา)

ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนรตั นโกสินทรส์ มโภชลาดกระบัง

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน

รายการประเมนิ ผล 4 ระดับคะแนน 1
32
1. มคี วามตั้งใจในการเรยี นและทำกจิ กรรม
2. รู้และเขา้ ใจนำความรู้เร่อื งของบุคคลสำคัญใน
วงการนาฏศิลป์ไทย
3. นำความรู้เรือ่ ง บคุ คลสำคัญในวงการนาฏศลิ ป์ไทย

4. รว่ มกิจกรรมด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน
5. เหน็ คุณคา่ และความสำคญั ของบุคคลสำคัญ
ในวงการนาฏศลิ ปไ์ ทย

รวม

เกณฑ์การตัดสิน

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพดีเยยี่ ม
ระดบั 3 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มรี ะดับคุณภาพพอใช้
ระดับ 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรับปรุง
เกณฑ์การประเมิน
คะแนนเต็ม 25 คะแนน หากทำได้ 15 คะแนนขึน้ ไป ถอื วา่ ผา่ น

แบบประเมินผลการนำเสนอ
ชอ่ื ............................................................. ช้นั .................... เรอื่ งทนี่ ำเสนอ...........................................

รายการประเมิน 4 คะแนน 1
32
1. การแสดงมคี วามสวยงามและสมบูรณ์
2. มีการวางแผนอย่างเปน็ ระบบ
3. ความรใู้ นเรอื่ งบุคคลสำคญั ในวงการ
นาฏศลิ ปไ์ ทย
4. รูปแบบน่าสนใจ / ความสวยงาม
5. แต่งกายสุภาพเรยี บร้อย / ตรงตอ่ เวลา

รวม

เกณฑก์ ารตัดสนิ

ระดับ 4 หมายถึง มรี ะดับคณุ ภาพดีเยีย่ ม
ระดับ 3 หมายถึง มีระดับคุณภาพดี
ระดบั 2 หมายถึง มีระดับคุณภาพพอใช้
ระดบั 1 หมายถึง มีระดับคุณภาพควรปรบั ปรงุ

โรงเรยี นรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบงั

สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 2
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version