The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เอกสารวิชาการชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

ชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช

Keywords: ชีวภัณฑ์,การป้องกันกำจัดศัตรูพืช,ชีววิธี,ตัวห้ำ,ตัวเบียน

เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์

ป้องกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

ส�ำนักวจิ ัยพั ฒนาการอารกั ขาพื ช
กรมวิชาการเกษตร

ประจ�ำปีงบประมาณ 2563

เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

ขอ้ มูลทางบรรณานกุ รมของสำ� นักหอสมดุ แห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
สำ� นกั วิจยั พฒั นาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร
เอกสารวิชาการ ชวี ภณั ฑ์ป้องกันก�ำจดั ศตั รูพืช - กรุงเทพฯ
สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารักั ขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ 2563
ISBN 978-616-358-465-6

สงวนสิทธิ์
ปีทพี่ มิ พ์: 2563
จำำ�นวนหน้้า: 240 หน้้า
จ�ำนวนท่พี ิมพ:์ 1,000 เลม่
จดั พมิ พโ์ ดย
ส�ำนักวจิ ัยพัฒนาการอารกั ขาพืช กรมวชิ าการเกษตร
เลขท่ี 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900
โทร. 0 2579 5583 โทรสาร 0 2940 5396
เวบ็ ไซต์ http://www.doa.go.th/plprotect/
พมิ พท์ ี่
บรษิ ัท นิวธรรมดาการพมิ พ์ (ประเทศไทย) จำ� กัด
เลขท่ี 202 ซอยเจรญิ กรุง 57 แขวงยานนาวา เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120

สารบญั

หน้า
คำ� น�ำ 1.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
บทน�ำ 2......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
4ชีีวภััณฑ์์ป้อ้ งกันั กำำ�จััดโรคพืื ช............................................................................................................................................................................................................................................
แบคทีีเรียี Bacillus subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24, 20W1, 20W16 และ 20W33 4.............................................................
ราไตรโคเดอร์ม์ า Trichoderma harzianum สายพัันธุ์ � DOA-TH50 18.................................................................................................
เหด็ เรืองแสงสริ นิ รัศมี Neonothopanus nambi 30..............................................................................................................................................................
43ชีีวภััณฑ์์ป้อ้ งกัันกำำ�จัดั แมลงศัตั รููพืื ช............................................................................................................................................................................................................
ไวรััส NPV (Nucleopolyhedrovirus) 43.................................................................................................................................................................................................
แบคทีเรีย Bacillus thuringiensis 63.............................................................................................................................................................................................................
ราเขียี วเมตาไรเซียี ม Metarhizium anisopliae สายพันั ธุ์� DOA-M5 72...................................................................................................
ไสเ้ ดือนฝอยศัตรแู มลงแบบผงละลายน�ำ้ Steinernema carpocapsae 84........................................................................................
แตนเบยี นไข่ไตรโคแกรมมา Trichogramma confusum 101.................................................................................................................................
แตนเบยี นไข่ไตรโคแกรมมา Trichogramma pretiosum 112................................................................................................................................
แตนเบยี นอะนาไกรัส Anagyrus lopezi 117.......................................................................................................................................................................................
แตนเบียนอะซีโคเดส Asecodes hispinarum 128....................................................................................................................................................................
แตนเบยี นเตตระสตคิ ัส Tetrastichus brontispae 140.....................................................................................................................................................
แตนเบียนโกนโิ อซัส Goniozus nephantidis 147......................................................................................................................................................................
แมลงช้างปกี ใส Plesiochrysa ramburi 163.......................................................................................................................................................................................
มวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata 171......................................................................................................................................................................................
มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor 180................................................................................................................................................................................................
แมลงหางหนบี ขาวงแหวน Euborellia annulipes 186.....................................................................................................................................................
202ชีีวภััณฑ์์ป้อ้ งกัันกำำ�จัดั ไรศัตั รูพู ืื ช.......................................................................................................................................................................................................................
ไรตััวห้ำำ�� Amblyseius longispinosus 202..............................................................................................................................................................................................
219ชีีวภัณั ฑ์์ป้อ้ งกัันกำำ�จััดหนู.ู .................................................................................................................................................................................................................................................
โปรโตซััว Sarcocystis singaporensis 219...........................................................................................................................................................................................
ดรรชนี 229.........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
Index 231...........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

เอกสารวิชาการ iii

ชวี ภัณฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

รายชอื่ ชนิดชีวภณั ฑ์
1. แบคทีเรยี Bacillus subtilis สายพันธุ์ BS-DOA24, 20W1, 20W16 และ 20W33
2. ราไตรโคเดอรม์ า Trichoderma harzianum สายพันธุ์ DOA-TH50
3. เหด็ เรืองแสงสิรินรศั มี Neonothopanus nambi
4. ไวรัส NPV (Nucleopolyhedrovirus)
5. แบคทเี รีย Bacillus thuringiensis
6. ราเขียวเมตาไรเซียม Metarhizium anisopliae สายพนั ธุ์ DOA-M5
7. ไสเ้ ดอื นฝอยศตั รแู มลงแบบผงละลายน�ำ้ Steinernema carpocapsae
8. แตนเบยี นไข่ไตรโคแกรมมา Trichogramma confusum
9. แตนเบียนไขไ่ ตรโคแกรมมา Trichogramma pretiosum
10. แตนเบยี นอะนาไกรัส Anagyrus lopezi
11. แตนเบยี นอะซโี คเดส Asecodes hispinarum
12. แตนเบียนเตตระสตคิ สั Tetrastichus brontispae
13. แตนเบยี นโกนิโอซสั Goniozus nephantidis
14. แมลงชา้ งปกี ใส Plesiochrysa ramburi
15. มวนพฆิ าต Eocanthecona furcellata
16. มวนเพชฌฆาต Sycanus versicolor
17. แมลงหางหนีบขาวงแหวน Euborellia annulipes
18. ไรตััวห้ำำ�� Amblyseius longispinosus
19. โปรโตซวั Sarcocystis singaporensis

iv เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศตั รพู ื ช

คำ� นำ�

สำำ�นัักวิิจััยพัั ฒนาการอารัักขาพืื ช มีีหน้้าที่่�ศึึกษา ค้้นคว้้า วิิจััย
ทดลอง และพััฒนาวิชิ าการเกษตรด้า้ นอารัักขาพืชื ตามนโยบายสำำ�คัญั และแนวทาง
การปฏิิบััติิงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ เรื่�องการลดการใช้้สารเคมีี
ทางการเกษตร กรมวิิชาการเกษตรจึึงมีีนโยบายอารัักขาพืืชที่�มุ่�งเน้้นหาสิ่่�งทดแทน
สารเคมีีกำำ�จััดศััตรููพืืช เพื่�อลดปััญหาพิิษตกค้้างของสารเคมีีที่�เป็็นอัันตรายต่่อเกษตรกร
และผู้�บริิโภค และยกระดัับมาตรฐานการผลิิตพืืชและผลิิตภััณฑ์์สู่�เกษตรปลอดภััย
อย่่างยั่ �งยืนื
การศึึกษาวิิจััยพััฒนางานด้้านชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืช ทางสำำ�นัักวิิจััย
พัฒั นาการอารักั ขาพืชื ได้ม้ ีกี ารวิจิ ัยั พัฒั นามาอย่า่ งต่อ่ เนื่�อง โดยมีเี ป้า้ หมายเพื่�อนำำ�เทคโนโลยีี
การผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์ส่่งต่่อให้้กัับหน่่วยงานเครืือข่่ายของกรมวิิชาการเกษตร และ
กรมส่่งเสริิมการเกษตร เพื่�อนำำ�ไปเผยแพร่่สู่�เกษตรกรให้้สามารถผลิิตขยายและ
ใช้้ชีีวภััณฑ์์ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพตามวิิธีีการที่่�ถููกต้้องและเหมาะสม เอกสารวิิชาการ
ชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืชเล่่มนี้้�จััดทำำ�ขึ้้�นเพื่ �อเป็็นคู่่�มืือการผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์และ
ถ่่ายทอดองค์์ความรู้้�ด้้านชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืชตามโครงการพััฒนาศัักยภาพ
กระบวนการผลิิตสิินค้้าเกษตร เป็็นการรวบรวมข้้อมููลทางวิิชาการและองค์์ความรู้�
จากนัักวิิจััยที่่�มีีประสบการณ์์ทำำ�งานด้้านชีีวภััณฑ์์หลายชนิิด ได้้แก่่ ชีีวภััณฑ์์ป้้องกััน
กำำ�จััดโรคพืืช จำำ�นวน 3 ชนิิด และชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดแมลง ไร และหนููศััตรููพืืช
จำำ�นวน 16 ชนิิด ที่่�ผ่่านการพิิจารณากลั่�นกรองตรวจสอบความถููกต้้องสมบููรณ์์
ของเนื้�อหาจากนัักวิิจััยผู้�ทรงความรู้�และเชี่�ยวชาญเฉพาะด้้าน และคณะทำำ�งาน
สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืชหวัังเป็็นอย่่างยิ่ �งว่่าเอกสารวิิชาการเล่่มนี้ �จะเป็็น
ประโยชน์์สำำ�หรัับท่่านเพื่ �อนำำ�ไปปฏิิบััติิหรืือใช้้ประโยชน์์ในการควบคุุมป้้องกััน
กำำ�จัดั ศัตั รููพืชื โดยใช้ช้ ีีวภััณฑ์์ได้้อย่า่ งมีปี ระสิิทธิภิ าพต่่อไป

(ศรุุต สุุทธิิอารมณ์์)

ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักวิิจัยั พััฒนาการอารักั ขาพืืช

เอกสารวิชาการ 1

ชวี ภัณฑป์ ้องกันกำ� จัดศตั รูพื ช

บทนำำ�

ชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืช (Biological Control Agents; BCA) ประกอบไปด้้วยสิ่�งมีีชีีวิิตและ
สารออกฤทธิ์�ที่�เป็็นองค์ป์ ระกอบของสิ่�งมีชี ีวี ิิต โครงการระบบอาหารเกษตรอย่่างยั่�งยืนื แห่่งอาเซียี น และองค์์กรอื่�นๆ
ได้้แบ่ง่ BCA เป็็น 4 ประเภท ได้แ้ ก่่ จุลุ ินิ ทรียี ์ก์ ำำ�จัดั ศัตั รููพืืช (Microbial control agents) สิ่�งมีีชีีวิิตขนาดใหญ่่
(Macro-organisms) Semiochemicals (คืือ Pheromone, Kairomones) และผลิิตภััณฑ์์จากธรรมชาติิ
(สารสกััดจากพืืช (botanicals) หรืือสารที่�เกิิดจากการหมััก และสารอื่�นๆ) โดยชีีวภััณฑ์์เหล่่านี้้�ล้้วนมีีประโยชน์์
ในการช่่วยควบคุมุ ป้อ้ งกันั กำำ�จัดั ศััตรููพืชื ได้แ้ ก่่ แมลงศัตั รููพืืช โรคพืชื วัชั พืชื และสััตว์์ศััตรููพืืช ที่่�สำำ�คััญคืือการใช้้
ชีีวภััณฑ์์มีคี วามปลอดภััยต่่อตัวั เกษตรกรผู้�ใช้้ ผู้�บริโิ ภค และสิ่�งแวดล้้อม
ตั้้�งแต่่ปีี 2512 จนถึึงปััจจุุบัันกว่่าครึ่�งศตวรรษที่�กรมวิิชาการเกษตรได้้ริิเริ่�มบุุกเบิิกงานวิิจััยด้้านการ
ปราบศััตรููพืืชทางชีีวภาพ โดยนัักวิิจััยอาวุุโสได้้วางรากฐานงานวิิจััยทางด้้านนี้�ไว้้อย่่างเข้้มแข็็งในเรื่�องของการ
พััฒนาชีีวิินทรีีย์์ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช และได้้นำำ�มาใช้้ร่่วมกัับระบบการจััดการศััตรููพืืช ตั้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2524
โดยกองกีีฏและสััตววิิทยาเริ่�มดำำ�เนิินการโครงการป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููข้้าวโดยวิิธีีผสมผสาน ได้้รัับการสนัับสนุุน
และความช่่วยเหลืือทางวิิชาการจากองค์์การอาหารและเกษตรแห่่งสหประชาชาติิ (Food and Agriculture
Organization of the United Nations, (FAO))/องค์์การสหประชาชาติิ (UN) และจากปััญหาการระบาด
ของแมลงศััตรููพืืชต่่างถิ่�นหลายชนิิดตั้�งแต่่ปีี 2547 เป็็นต้้นมา ทางสำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืชได้้มีีการ
นำำ�เข้้า (introduce) แมลงศััตรููธรรมชาติิ (natural enemies) ที่่�มีีความจำำ�เพาะเจาะจง (specific) กัับ
แมลงแต่่ละชนิิดจากถิ่�นกำำ�เนิิดมาควบคุุมแมลงศััตรููพืืชต่่างถิ่�นนั้�นๆ ซึ่�งเป็็นการดำำ�เนิินการควบคุุมโดยชีีววิิธีีแบบ
คลาสสิิค (Classical biological control) ได้้เต็็มรููปแบบตั้�งแต่่การนำำ�เข้้า การศึึกษาวิิจััยด้้านความปลอดภััย
กับั แมลงที่่�มีปี ระโยชน์์ ศึึกษาการขยายพัันธุ์� พััฒนาวิธิ ีีการเลี้�ยงขยายให้ไ้ ด้เ้ ป็น็ ปริมิ าณมาก การปล่่อยศัตั รููธรรมชาติิ
ควบคุุมแมลงศััตรููพืืช การประเมิินความเสีียหายพืืช การประเมิินประชากรแมลงศััตรููพืืชและประสิิทธิิภาพ
ในการควบคุมุ แมลงศััตรููพืืช ตัวั อย่่างแมลงศััตรูธู รรมชาติทิ ี่่�นำำ�เข้้ามา ได้แ้ ก่่ แตนเบีียน Asecodes hispinarum
แตนเบีียน Goniozus nephantidis และแตนเบีียน Anagyrus lopezi จากนั้�นได้้ขยายผลให้้กัับหน่่วยงาน
ของกรมวิิชาการเกษตรและกรมส่ง่ เสริมิ การเกษตร ภาคเอกชน และเกษตรกร ร่่วมกันั บูรู ณาการเพื่�อให้ส้ ามารถ
เพาะเลี้�ยงขยายปริิมาณและนำำ�ปล่่อยควบคุุมแมลงศััตรููพืืชในพื้�นที่�ระบาดร่่วมกัับวิิธีีการอื่�นๆ แบบผสมผสานได้้
อย่า่ งประสบความสำำ�เร็็จ
ดัังเช่่นในช่่วงปีี 2552-2553 กรมวิิชาการเกษตรร่่วมมืือกัับกรมส่่งเสริิมการเกษตร สถาบัันพััฒนา
มัันสำำ�ปะหลัังแห่่งประเทศไทย (ห้้วยบง) ผู้�ประกอบการโรงงานมัันสำำ�ปะหลััง และเกษตรกร ช่่วยกัันเพาะเลี้�ยง
ขยายแตนเบีียน A. lopezi และนำำ�ปล่่อยอย่่างท่่วมท้้นในพื้�นที่�ระบาดร่่วมกัับการใช้้วิิธีีการควบคุุมอื่�นแบบ
ผสมผสาน ทำำ�ให้้ประสบความสำำ�เร็็จในการควบคุุมเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพููอย่่างรวดเร็็วภายในระยะเวลา
อัันสั้�น และได้้ถ่่ายทอดเทคโนโลยีีวิิธีีการเพาะเลี้�ยงแตนเบีียน A. lopezi และวิิธีีการควบคุุมแบบผสมผสาน
ให้้กัับประเทศเพื่�อนบ้้านที่�พบการระบาดของเพลี้�ยแป้้งมัันสำำ�ปะหลัังสีีชมพูู ตามโครงการความร่่วมมืือทาง
วิิชาการ (Technical Cooperation Programme, TCP) : “Capacity Building for Spread Prevention
and Management of Cassava Pink Mealybug in the Greater Mekong Subregion” ซึ่�งดำำ�เนิินงาน
ในช่ว่ งปีี 2554-2555 ต่่อมาในปีี 2558 ทางองค์์การอาหารและเกษตรแห่่งสหประชาชาติิ (FAO) ได้ม้ อบรางวััล

2 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศตั รูพื ช

E. Saouma Award 2014-2015 ให้้กัับกรมวิิชาการเกษตร และกรมส่่งเสริิมการเกษตร กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์์ ในฐานะที่่�มีบี ทบาทสำำ�คััญในการดำำ�เนิินงานโครงการดัังกล่่าว
จุุลิินทรีีย์์และแมลงศััตรููธรรมชาติิหลายชนิิดที่�สามารถพบได้้ในประเทศไทย โดยนัักวิิจััยได้้นำำ�มาศึึกษาวิิจััย
และพััฒนาจนสามารถนำำ�มาเพาะเลี้ �ยงขยายปริิมาณและผลิิตเป็็นชีีวภััณฑ์์ที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงในการควบคุุมศััตรููพืืช
เช่่น แบคทีีเรีีย Bs สายพัันธุ์์�ต่่างๆ ราไตรโคเดอร์์มา และเห็็ดเรืืองแสงซึ่�งค้้นพบครั้�งแรกในประเทศไทยเมื่�อ
ปีี 2544 ในเขตพื้�นที่�ของโครงการอนุุรัักษ์พ์ ัันธุุกรรมพืชื อันั เนื่�องมาจากพระราชดำำ�ริิ สมเด็็จพระกนิษิ ฐาธิริ าชเจ้้า
กรมสมเด็็จพระเทพรัตั นราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุมุ ารีี (อพ.สธ.) ที่�โคกภููตากา อำำ�เภอเวียี งเก่า่ จัังหวััดขอนแก่่น
ต่่อมาทรงโปรดเกล้้าฯ พระราชทานชื่�อเห็็ดเรือื งแสงชนิดิ นี้้�ว่า่ “เห็ด็ สิิริินรัศั มี”ี เนื่�องจากเห็ด็ ชนิิดนี้�ได้ม้ ีกี ารสำำ�รวจ
พบและมีีการศึึกษาวิิจััยถึึงการบ่่งชี้�และการนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ โดยเฉพาะด้้านการเกษตรและการแพทย์์ รวมทั้�ง
เป็็นการสนองพระราชดำำ�ริิโครงการ อพ.สธ. ในด้้านการปกปัักพัันธุุกรรมพืืชและการใช้้ประโยชน์์ สำำ�หรัับ
แมลงศััตรููธรรมชาติิที่ �พบได้้ในสภาพธรรมชาติิสามารถเก็็บนำำ�มาเพาะเลี้ �ยงขยายพัันธุ์ �เพิ่ �มปริิมาณในห้้องปฏิิบััติิการ
และนำำ�ปล่่อยกลัับสู่�สภาพธรรมชาติิเพื่�อควบคุุมแมลงศััตรููพืืช ได้้แก่่ แตนเบีียนไข่่ไตรโคแกรมมา แตนเบีียน
ดัักแด้้แมลงดำำ�หนามมะพร้้าว มวนพิิฆาต มวนเพชฌฆาต แมลงช้้างปีีกใส และแมลงหางหนีีบขาวงแหวน
รวมถึึงไรตััวห้ำำ�� อีีกทั้�งโปรโตซััวที่�สามารถคััดแยกออกจากมููลงููเหลืือมและนำำ�มาเลี้�ยงขยายเพิ่�มปริิมาณใน
ห้อ้ งปฏิิบัตั ิกิ ารและนำำ�กลัับไปกำำ�จัดั หนูไู ด้้อย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ
สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืชได้้ร่่วมวิิจััยและพััฒนาสููตรสำำ�เร็็จชีีวภััณฑ์์เชิิงพาณิิชย์์กัับภาคเอกชน
มหาวิิทยาลััย และองค์์กรอื่�นๆ ที่�สนัับสนุุนส่่งเสริิมศัักยภาพในการผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์เพื่�อจำำ�หน่่ายทางการค้้า
ในลัักษณะเป็็นโครงการนำำ�ร่่อง ศููนย์์ต้้นแบบ (pilot plant) ได้้แก่่ ไวรััส NPV แบคทีีเรีีย Bt แบคทีีเรีีย Bs
และไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลง Steinernema carpocapsae รวมถึึงวิิจััยและพััฒนารููปแบบการเก็็บรัักษา
ชีีวภััณฑ์์ให้้คงประสิิทธิิภาพสููง เก็็บได้้เป็็นเวลานาน ต้้นทุุนต่ำำ�� เช่่น ราเขีียวเมตาไรเซีียมในรููปแบบอััดเม็็ด
ไส้้เดืือนฝอยศััตรููแมลงแบบผงละลายน้ำำ�� รวมถึึงได้้รัับการสนัับสนุุนงานด้้านชีีวภััณฑ์์ป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืช
ภายใต้โ้ ครงการพััฒนาศักั ยภาพกระบวนการผลิิตสินิ ค้้าเกษตร ซึ่�งปััจจุบุ ัันมีชี ีวี ภัณั ฑ์ก์ ว่่า 16 ชนิิด ที่�ได้้ดำำ�เนิินการ
ผลิิตและแจกจ่่ายไปสู่่�มืือเกษตรกรเพื่ �อนำำ�ไปใช้้ขยายผลต่่อยอดเลี้ �ยงขยายเพิ่ �มปริิมาณและควบคุุมศััตรููพืืชใน
พื้�นที่�ประสบปััญหาทั่่�วประเทศไทย เพื่�อลดหรืือทดแทนการใช้้สารเคมีีป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืช โดยคำำ�นึึงถึึงความ
ปลอดภัยั ต่่อมนุษุ ย์์ สัตั ว์์ พืชื และไม่่ส่่งผลกระทบต่อ่ สภาพแวดล้้อม
กรมวิิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์ เล็็งเห็็นความสำำ�คััญและความจำำ�เป็็นในการส่่งเสริิม
การใช้้ชีีวภััณฑ์์ชนิิดต่่างๆ จึึงได้้เร่่งดำำ�เนิินการวิิจััยในทุุกด้้านเพื่�อให้้ได้้ชีีวภััณฑ์์ควบคุุมศััตรููพืืชที่่�มีีประสิิทธิิภาพ
และสามารถนำำ�ไปใช้้ร่่วมกัับวิิธีีการป้้องกัันกำำ�จััดศััตรููพืืชวิิธีีการอื่�นๆ ได้้ประสบความสำำ�เร็็จ โดยกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์์สนัับสนุุนการดำำ�เนิินงานในโครงการต่่างๆ ได้้แก่่ โครงการสร้้างเครืือข่่ายการผลิิตชีีวภััณฑ์์ควบคุุม
ศััตรููพืืชสนัับสนุุนนโยบายลดการใช้้สารเคมีีทางการเกษตรและส่่งเสริิมเกษตรอิินทรีีย์์ โครงการผลิิตชีีวภััณฑ์์
อย่า่ งง่า่ ยสร้า้ งอาชีพี ให้เ้ กษตรกรผู้�ได้ร้ ับั ผลกระทบภัยั แล้ง้ เป็น็ ต้น้ โดยมีวี ัตั ถุปุ ระสงค์เ์ พื่�อสร้า้ งเครือื ข่า่ ยเกษตรกร
ทำำ�ให้้ชุุมชนเข้้มแข็็ง เกิิดการยอมรัับ และสามารถผลิิตขยายชีีวภััณฑ์์ควบคุุมศััตรููพืืชได้้เองเพื่�อใช้้ในระดัับชุุมชน
สามารถนำำ�ไปใช้ใ้ นการผลิติ พืืชปลอดภััยและพืชื อิินทรีีย์์ เพิ่�มประสิิทธิภิ าพการผลิติ และคุุณภาพผลผลิิต ส่่งผลให้้
มีีแหล่่งผลิิตพืืชปลอดภััยในระบบเกษตรดีีที่�เหมาะสม (GAP) และระบบเกษตรอิินทรีีย์์ (Organic) เพิ่�มมากขึ้�น
และเกษตรกรมีีคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีีขึ้�น สามารถลดการใช้้สารเคมีีทางการเกษตรลงได้้ตามนโยบายของกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์์ ตามแผนปรัับโครงสร้้างภาคการเกษตรของประเทศไทย

เอกสารวิชาการ 3

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

ชวี ภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดโรคพื ช

แบคทีเรยี Bacillus subtilis

สายพั นธ์ุ BS-DOA24, 20W1, 20W16 และ 20W33

ชอ่ื วิทยาศาสตร์: Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872
วงศ์: Bacillaceae Fischer, 1895
อันดับ: Eucoccidiorida

ทมี่ าและความสำ� คญั /ปญั หาศตั รพู ื ช
แบคทีเรีย Bacillus subtilis เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในดินพบได้ท่ัวไปในธรรมชาติ เป็นแบคทีเรีย
แกรมบวก รูปร่างเป็นท่อน (rod shaped) ชนิด aerobic หรือ facultative anaerobic สร้างเอนโดสปอร์
(endospore) ที่�ทนทานต่่อสภาพแวดล้้อมที่�ไม่่เหมาะสมต่่อการเจริิญได้้ดีี สามารถทนต่่ออุุณหภููมิิตั้�งแต่่ -5 ถึึง
75 องศาเซลเซีียส เจริิญเติิบโตได้้ใน pH 2-8 ทนความเค็็มเกลืือ NaCl ได้้ถึึง 25% แบคทีีเรีีย B. subtilis
สร้้างสารปฏิิชีีวนะที่่�มีีคุุณสมบััติิยัับยั้�งการเจริิญของเชื้�อสาเหตุุโรคพืืชได้้หลายชนิิด ได้้แก่่ bacillomycin,
iturin, mycosubtilin, bacilysin, fengymycin และ mycobacillin นอกจากนั้�นยัังสร้้างเอนไซม์์
ที่่�สำำ�คััญ ได้้แก่่ glucanase ที่่�ย่่อยสลาย glucans และ chitinase ที่่�ย่่อยผนัังเซลล์์ของเชื้�อราได้้ นอกจากนี้�
ยัังพบว่่าแบคทีีเรีีย B. subtilis บางสายพัันธุ์์�มีีคุุณสมบััติิช่่วยส่่งเสริิมการเจริิญเติิบโตของพืืช (Plant
Growth Promoting Rhizobacteria: PGPR) และชัักนำำ�ให้้พืืชเกิิดความต้้านทาน (Induce Systemic
Resistant: ISR) ต่่อเชื้�อสาเหตุโุ รคพืืชได้้

4 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รูพื ช

ประเทศไทยมีรายงานการน�ำแบคทีเรีย B. subtilis มาใช้ควบคุมโรคพืชค่อนข้างหลากหลาย มีทั้ง
การทดสอบประสิิทธิิภาพในโรงเรืือนปลููกพืืชทดลองและในสภาพแปลงเกษตรกร รวมทั้�งการพััฒนาเป็็นชีีวภััณฑ์์
แบคทีีเรีีย B. subtilis เพื่�อใช้้ในการควบคุุมโรคพืืชหลายชนิิด จากรายงานของณััฎฐิิมา และคณะ ในปีี 2547
ได้แยกแบคทีเรีย Bacillus spp. จากดินรากพืชและปุ๋ยคอกได้จ�ำนวน 525 ไอโซเลท ทดสอบประสิทธิภาพ
ในการยับย้ังการเจริญของแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum พบว่ามีจ�ำนวน 4 ไอโซเลท ที่สามารถ
ควบคุมและลดการเกิดโรคเห่ียวของขิงได้ประมาณ 70-100% ในสภาพโรงเรือนปลูกพืชทดลอง และมีรายงาน
การทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรีย B. subtillis สายพันธุ์ BS-DOA24 ควบคุมโรคเหี่ยวของขิงในสภาพ
แปลงเกษตรกรที่่�อำำ�เภอเขาค้้อ จัังหวััดเพชรบููรณ์์ พบว่่าการใช้้ชีีวภััณฑ์์ BS-DOA24 สามารถควบคุุมโรคเหี่�ยว
ของขิิงในสภาพแปลงได้้ 62% มีีรายงานผลการทดสอบประสิิทธิิภาพของแบคทีีเรีีย B. subtilis ควบคุุมโรค
ใบจุุดคะน้้าของบุุษราคััม และณััฎฐิิมา ในปีี 2550 พบว่่า แบคทีีเรีีย B. subtilis สายพัันธุ์� 20W1, 20W4,
17G18 และ 20W5 ลดการเกิิดโรคใบจุุดคะน้า้ ในสภาพแปลงเกษตรกรได้้ 32.88 34.70 34.97 และ 38.67%
ตามล�ำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับการควบคุมโรคด้วย mancozeb 80% WP สรุปผลได้ว่าการใช้ชีวภัณฑ์
B. subtilis สามารถควบคมุ โรคใบจุดคะน้าในสภาพแปลงได้ดี

ชวี ภณั ฑ์แบคทีเรยี Bacillus subtilis สายพั นธ์ุ BS-DOA24

ชีวภัณฑ์แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ BS-DOA24 พัฒนาโดยคัดเลือกแบคทีเรีย B. subtilis ที่มี
ประสิทธิภาพในการยับย้ังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย R. solanacearum ในห้องปฏิบัติการ น�ำมาทดสอบ
ประสิทธิภาพการควบคุมโรคเหี่ยวท่ีเกิดจากแบคทีเรียในสภาพโรงเรือนปลูกพืชทดลอง แปลงทดลอง และ
ในสภาพแปลงเกษตรกร จนได้แบคทีเรีย B. subtilis สายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเหี่ยวที่เกิด
จากแบคทีเี รีีย โดยณััฎฐิิมา และคณะ ในปีี 2547 และ 2557 แยกแบคทีเี รีีย B. subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24
จากดิินบริิเวณรอบรากยาสููบ จากแปลงปลููกยาสููบในพื้�นที่่�จัังหวััดกาญจนบุุรีี ผลการทดสอบในห้้องปฏิิบััติิการ
พบว่่าสามารถยัับยั้�งการเจริิญของแบคทีเี รีีย R. solanacearum สาเหตุุโรคเหี่�ยวในขิงิ ได้้ การทดสอบประสิทิ ธิภิ าพ
ในการควบคุุมโรคเหี่�ยวของขิิงในสภาพโรงเรืือนปลููกพืืชทดลอง พบว่่าสามารถควบคุุมและลดการเกิิดโรคเหี่�ยว
ของขิิงได้้ 70-100% ต่่อมาในปีี 2557 ณััฎฐิิมา และคณะ ได้้พััฒนา B. subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24
เป็็นชีีวภััณฑ์์ และได้้ทดสอบประสิิทธิิภาพชีีวภััณฑ์์ B. subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24 ควบคุุมโรคเหี่�ยวของขิิง
ในสภาพแปลงเกษตรกรที่่�อำำ�เภอเขาค้อ้ จัังหวัดั เพชรบูรู ณ์์ พบว่่าการใช้ช้ ีวี ภััณฑ์์ B. subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24
สามารถควบคุมุ การเกิิดโรคเหี่�ยวของขิงิ ได้้ 62%

ชีวภัณฑแ์ บคทเี รยี Bacillus subtilis สายพั นธุ์ 20W1

แบคทีีเรีีย B. subtilis สายพัันธุ์� 20W1 คััดเลืือกจากแบคทีีเรีียหลายๆ สายพัันธุ์�ที่�ได้้จากการนำำ�เมล็็ด
ข้้าวเปลืือกมาแยกเชื้�อในห้้องปฏิิบััติิการ นำำ�ไปทดสอบประสิิทธิิภาพการยัับยั้�งเชื้�อรา Alternaria brassicicola
สาเหตุุโรคใบจุุดคะน้้าในห้้องปฏิิบััติิการ คััดเลืือกสายพัันธุ์์�ที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงสุุดมาทดสอบประสิิทธิิภาพ
ในโรงเรืือนปลููกพืืชทดลอง จากนั้�นนำำ�ไปทดสอบประสิิทธิิภาพในแปลงปลููกของเกษตรกรที่่�จัังหวััดกาญจนบุุรีี
พบว่่าสามารถลดการเกิิดโรคได้้ 32.88% จึึงนำำ�สายพัันธุ์์�ดัังกล่า่ วมาพััฒนาเป็็นชีีวภััณฑ์์สููตรผง

เอกสารวชิ าการ 5

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

ชวี ภณั ฑ์แบคทีเรยี Bacillus subtilis สายพั นธ์ุ 20W16 และ 20W33

แบคทีีเรีีย B. subtilis สายพัันธุ์� 20W16 และ 20W33 แยกจากเมล็็ดข้้าวเปลืือกและเก็็บรัักษาไว้้ใน
แหล่่งเก็็บรัักษาจุุลิินทรีีย์์ (culture collection) ของกลุ่�มวิิจััยโรคพืืช นำำ�มาทดสอบในห้้องปฏิิบััติิการและใน
แปลงปลกู พริก จนได้สายพันธุ์ 20W16 และ 20W33 ทีม่ ีประสิทธิภาพในการป้องกันกำ� จัดโรคแอนแทรคโนสพรกิ
จากน้นั จึงน�ำมาพฒั นาเปน็ ชีวภัณฑส์ ตู รผง ทง้ั น้ีในปี 2561 บุษราคมั และคณะ ไดร้ ายงานวา่ เกษตรกรผ้ปู ลกู พริก
ในพ้ืนท่ีจังหวัดสงขลา นครศรีธรรมราช และอุบลราชธานี ท่ีใช้ชีวภัณฑ์แบคทีเรีย B. subtilis ตามค�ำแนะน�ำ
อย่่างสม่ำำ��เสมอ โดยพ่่นครั้�งแรกในระยะกล้้าหลัังการย้้ายปลููก พ่่นครั้�งที่� 2 เมื่�อพริิกเริ่�มออกดอก และพ่่น
ทุุก 5-7 วัันในอััตรา 40-50 กรััม ในแปลงที่่�มีีการระบาดรุุนแรงใช้้อััตรา 70 กรััม/น้ำำ�� 20 ลิิตร พบว่่าผลผลิิต
พริิกเพิ่�มขึ้�นถึึง 1,555 กิิโลกรััม ในพื้�นที่� 1.5 ไร่่ จากการประเมิินพบว่่าเกษตรกรมีีความพึึงพอใจในการใช้้
ชีวภัณฑแ์ บคทเี รยี B. subtilis เฉลยี่ 91.66%

วงจรชีวิต
แบคทีีเรีีย B. subtilis เป็็นแบคทีีเรีียชนิิดแกรมบวก มีีรููปร่่างเป็็นท่่อนยาวตรง เพิ่�มปริิมาณโดยการ
แบ่่งตัวั แบบ binary fission หากสภาพแวดล้้อมไม่เ่ หมาะสมจะสร้า้ งเอนโดสปอร์์ โดยปกติิ 1 vegetative cell
จะสร้้างได้้ 1 เอนโดสปอร์์ ซึ่�งสามารถทนทานต่่อสภาพแวดล้้อมที่�ไม่่เหมาะสม สารเคมีี รัังสีี และความร้้อน
ได้ดีกว่าเซลลป์ กติ

วงจรชวี ิตของแบคทเี รีย Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872

(ที่�มา: https://www.wikiwand.com/en/Sporulation_in_Bacillus subtilis)

6 เอกสารวิชาการ

ชวี ภัณฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศัตรูพื ช

ลักั ษณะโคโลนีี รูปู ร่า่ งเซลล์์ และเอนโดสปอร์ข์ องแบคทีีเรียี Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872

กลไกการทำ� ลายศัตรพู ื ช
จากคุณสมบัติของ B. subtilis สามารถน�ำไปใช้ควบคุมโรคพืชได้ ดงั น้ี
1. การแข่งขัน (competition) แบคทีเรีย B. subtilis เจริญเติบโตได้เร็วกว่าเชื้อโรคพืช
มีีความสามารถในการหาอาหารได้้ดีี เจริิญเติิบโตครอบครองพื้�นที่�บนผิิวพืืชได้้เร็็ว ทำำ�ให้้เชื้�อโรคพืืชไม่่สามารถ
เจริิญแข่ง่ ขันั เข้า้ ทำำ�ลายพืืชได้้ ทำำ�ให้เ้ กิิดโรคน้้อยลง
2. การผลิิตสารที่่�มีีคุุณสมบััติิยัับยั้�งหรืือทำำ�ลายเชื้�อโรคพืืช (antibiotic) แบคทีีเรีีย B. subtilis
สามารถสร้้างสารปฏิิชีีวนะ ได้้แก่่ polymyxin, dificidin, subtilin และ mycobacillin เพื่�อทำำ�ลายเชื้�อโรค
หรืือจุุลินิ ทรียี ์์ชนิดิ อื่�นได้้ ทำำ�ให้เ้ กิดิ โรคน้อ้ ยลง
3. การอาศัยร่วมกับรากพืช (mutualism หรือ symbiosis) แบคทีเรีย B. subtilis สามารถอยู่ร่วมกับ
รากพืืชและไม่่เป็็นโทษกัับพืืช เพื่�อส่่งเสริิมการใช้้ธาตุุอาหารของพืืช ตลอดจนกระตุ้�นให้้พืืชผลิิตสารต่่างๆ
ออกมายับั ยั้�งการเจริญิ ของเชื้�อโรคด้ว้ ยกลไก Systemic Acquired Resistance (SAR) และ Induced Systemic
Resistance (ISR) รวมทั้�งการผลิติ สารกระตุ้�นให้้พืืชเจริิญเติบิ โตซึ่�งช่ว่ ยส่ง่ เสริิมการเจริญิ เติบิ โตของพืชื

กลไกของแบคทีเรยี Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872 ต่อเช้อื สาเหตโุ รคพืช

(ที่�มา: Adapted from Kilian et al., 2000)

เอกสารวชิ าการ 7

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

BS-DOA24 BS 20W1 BS 20W16 BS 20W33

ลักษณะการยบั ยั้งการเจริญเตบิ โตของแบคทเี รียและเช้ือราสาเหตุโรคพชื
ของแบคทีเรีย Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872

วิธีการใชช้ วี ภณั ฑ์ควบคุมศตั รูพื ช

ชวี ภณั ฑ์ Bacillus subtilis สายพั นธ์ุ BS-DOA24

เป็นชีวภัณฑ์ชนิดผง มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเห่ียวที่เกิดจากแบคทีเรียในพืชตระกูลมะเขือ
เช่น พริก มะเขือเทศ มะเขือเปราะ มะเขือยาว มันฝร่ัง และพืชตระกูลขิง เช่น ขิง ไพล ปทุมมา ขม้ิน
มลี กั ษณะการใช้ 2 รปู แบบ ได้แก่
1. แช่หัวพันธุ์หรือเมล็ดก่อนปลูก น�ำหัวพันธุ์หรือเมล็ดพันธุ์แช่ในชีวภัณฑ์ B. subtilis สายพันธุ์
BS-DOA24 อัตรา 50 กรมั /นำ�้ 20 ลติ ร แช่เป็นเวลา 30 นาที จากน้นั ผง่ึ ใหแ้ หง้ ก่อนนำ� ไปปลูก
2. ในแปลงปลกู หลังปลูกแล้วให้รดด้วยชวี ภณั ฑ์ B. subtilis สายพันธ์ุ BS-DOA24 อตั รา 50 กรมั /
น�ำ้ 20 ลิตร โดยรดใหท้ ั่วแปลง และรดต่อเนือ่ งทุก 30 วัน เพ่อื เปน็ การป้องกันการเกิดโรคเห่ยี ว

ชีวภณั ฑ์ Bacillus subtilis สายพั นธุ์ 20W1

ชีวภัณฑ์ B. subtilis สายพันธุ์ 20W1 เป็นชีวภัณฑ์ชนิดผง มีประสิทธิภาพในการป้องกันก�ำจัด
โรคใบจุดสาเหตจุ ากเชอ้ื รา A. brassicicola และ A. brassicae ในพชื ตระกลู กะหล�่ำ เช่น คะนา้ กะหลำ่� ปลี
ผกั กาดขาวปลี
การใช้้ชีีวภััณฑ์์ B. subtilis สายพัันธุ์� 20W1 ใช้้ในอััตรา 40-50 กรััม/น้ำำ�� 20 ลิิตร พ่่นเมื่�อเริ่�มพบ
การระบาดของโรค หลังั จากนั้�นพ่่นทุุก 5 วััน จำำ�นวน 4-5 ครั้�ง เนื่�องจากเชื้�อราอาจติิดมากับั เมล็็ดพันั ธุ์�ได้้ ดัังนั้�น
เพื่�อป้อ้ งกันั การเกิดิ โรคสามารถพ่่นได้้ตั้�งแต่่ระยะกล้า้

ชวี ภณั ฑ์ Bacillus subtilis สายพั นธุ์ 20W16 และ 20W33

ชีีวภัณั ฑ์์ B. subtilis สายพันั ธุ์� 20W16 และ 20W33 เป็น็ ชีวี ภััณฑ์์ชนิิดผง มีีประสิทิ ธิภิ าพในการป้้องกััน
กำำ�จััดโรคแอนแทรคโนสพริกิ (โรคกุ้�งแห้ง้ )
ใช้ชีวภัณฑ์ในอัตรา 40-50 กรมั /น้�ำ 20 ลติ ร พน่ เมื่อเริ่มพบการระบาดของโรค หรอื เมื่อพรกิ เรมิ่ ออกดอก
หลงั จากนนั้ พน่ ทุก 5 วนั จ�ำนวน 4-5 ครั้ง เนอื่ งจากโรคนสี้ ามารถเขา้ ทำ� ลายพืชไดท้ ุกระยะการเจริญเติบโตของพืช

8 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

และแฝงตัวอยู่บนต้นพริกโดยไม่แสดงอาการของโรค ดังนั้นในแปลงท่ีเคยพบการระบาดของโรค หรือในช่วงท่ี
มีฝนตกชุก ควรเร่มิ พน่ ตง้ั แตร่ ะยะหลงั ยา้ ยกล้าพรกิ หลังจากนน้ั พน่ ทุก 5 วนั จนกว่าจะเก็บผลพรกิ หมด

ข้อดี

มีความปลอดภยั ตอ่ ผูใ้ ช้และสง่ิ แวดล้อม ไมม่ กี ารตกค้างในพชื ผลเกษตร

ขอ้ จำ� กัด

1. ไม่ควรพน่ ในสภาพท่มี แี สงแดดจดั
2. ไมค่ วรผสมกับสารเคมีกลุ่มทองแดง หรือสารที่มที องแดงเปน็ องคป์ ระกอบ และสารปฏชิ วี นะ
3. หากการระบาดของโรครุนแรง การพ่นด้วยชีวภัณฑ์อาจไม่ได้ผล ดังน้ันควรพ่นป้องกันโรคก่อนท่ีจะ
มกี ารระบาดรุนแรง

การตรวจสอบคุณภาพ/การเก็บรักษาชวี ภัณฑ์
ตรวจสอบคุณภาพชีวภัณฑ์ทุกคร้ังหลังการผลิตโดยตรวจนับปริมาณแบคทีเรีย B. subtilis ด้วยวิธี
serial dilution method ให้มีปริมาณไม่ต�่ำกว่า 109 โคโลนี/กรัม การเก็บรักษาชีวภัณฑ์ควรเก็บไว้ในที่ร่ม
อณุ หภมู หิ ้อง

ชนิดของศตั รูพื ช

โรคเหีย่ วทเ่ี กิดจากแบคทเี รยี (Bacterial wilt)

ช่อื วทิ ยาศาสตร:์ Ralstonia solanacearum (Smith 1896) Yabuuchi et al., 1996
วงศ์: Burkholderiaceae
อันดบั : Burkholderiales
แบคทีเรีย Ralstonia solanacearum เป็นแบคทีเรียแกรมลบ มีขนาดเฉลี่ย 0.5-1.0x1.5-4.0
ไมโครเมตร เป็็นแบคทีีเรีียสาเหตุุโรคพืืชที่่�มีีความหลากหลายทั้�งทางพัันธุุกรรมและพืืชอาศััย มีีพืืชอาศััย
มากกว่่า 200 ชนิิด เป็็นแบคทีีเรีียที่�อาศััยอยู่�ในดิิน สามารถอยู่่�ข้้ามฤดููในดิินได้้โดยปราศจากพืืชอาศััย
และแฝงอยู่ในส่วนขยายพันธุ์หรือหัวพันธุ์ได้ เมื่อน�ำไปปลูกจะเกิดการระบาดเป็นวงกว้าง เจริญเติบโตและ
เข้าท�ำลายพืชได้ดีในดินที่มีค่า pH ประมาณ 6.8 ลักษณะโคโลนีของเช้ือมีสีขาวขุ่น เยิ้ม รูปร่างไม่แน่นอน
เข้าท�ำลายพชื ได้ทางราก บาดแผล หรือทางชอ่ งเปดิ ธรรมชาติ และสามารถตดิ ไปกับเมล็ดหรือส่วนขยายพันธไ์ุ ด้
แบคทีีเรีียเข้้าไปเพิ่�มปริิมาณในต้้นพืืช ไปอุุดตัันส่่วนของท่่อลำำ�เลีียงน้ำำ��และอาหาร ส่่งผลให้้พืืชแสดงอาการเหี่�ยว
โดยเริ่�มที่�ใบพืืชแสดงอาการเฉาและลู่�ลง พืืชบางชนิิดใบม้้วนห่่อ สีีของใบซีีดและเปลี่�ยนเป็็นสีีเหลืืองและแห้้ง
บริิเวณโคนต้้นมีีอาการฉ่ำำ��น้ำำ�� ลำำ�ต้้นเน่่าและหัักพัับ แต่่ไม่่มีีกลิ่�นเหม็็น เมื่�อตรวจดููที่่�ลำำ�ต้้นจะพบส่่วนของ
ท่่อลำำ�เลีียงน้ำำ��และอาหารมีีสีีน้ำำ��ตาลเข้้ม เมื่�อนำำ�ต้้นพืืชมาตััดตามขวางแช่่ในน้ำำ��สะอาดประมาณ 5-10 นาทีี
จะเห็็นของเหลวสีีขาวข้้นคล้้ายน้ำำ��นมไหลออกมาจากส่่วนของท่่อลำำ�เลีียงน้ำำ��และอาหาร เรีียกว่่า Bacterial
exudate (ooze)

เอกสารวชิ าการ 9

ชวี ภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

โรคเห่ียวที่เกิดจากแบคทีเรีย (Bacterial wilt) เป็นโรคที่พบระบาดท�ำความเสียหายต่อพืชเศรษฐกิจ
ส�ำคัญหลายชนิด ท้ังพืชผัก พืชไร่ และไม้ดอกไม้ประดับ โดยพบว่าท�ำให้ผลผลิตเสียหายทั้งแปลงเกือบ 100%
และไมส่ ามารถปลูกพืชซ้�ำในพนื้ ทเี่ ดิมได้อกี การป้องกนั ก�ำจัดโรคจงึ ท�ำไดย้ าก และไม่มีสารเคมที มี่ ีประสิทธิภาพ
ส�ำหรับใช้ในการปอ้ งกนั ก�ำจดั โรคน้ไี ด้

ลัักษณะโคโลนีีของแบคทีีเรียี Ralstonia solanacearum (Smith 1896) Yabuuchi et al., 1996

ลักั ษณะอาการโรคเหี่�ยวที่�เกิิดจากแบคทีีเรียี Ralstonia solanacearum (Smith 1896) Yabuuchi et al., 1996

10 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจัดศตั รพู ื ช

โรคใบจดุ คะน้า

ชอ่ื วิทยาศาสตร์: Alternaria brassicicola (Schw.) Wiltshire และ A. brassicae (Berk) Sacc.
วงศ:์ Pleosporaceae
อันดับ: Pleosporales

เชื้�อรา Alternaria brassicicola (Schw.) Wiltshire และ A. brassicae (Berk) Sacc.
สาเหตุุโรคใบจุุดในพืืชตระกููลกะหล่ำำ��เป็็นเชื้�อราที่่�สามารถติิดไปกัับเมล็็ดพัันธุ์� (seed-borne) สปอร์์สามารถ
แพร่่กระจายไปตามลม น้ำำ�� แมลง สััตว์์ มนุุษย์์ และติิดไปกัับเครื่�องมืือการเกษตร พบระบาดมากในฤดููฝน
หรืือในสภาพที่่�มีีความชื้�นสููง พบได้้ทุุกระยะการเจริิญเติิบโตและทุุกส่่วนของพืืช อาการในต้้นแก่่มัักพบบนใบ
และก้้าน เกิิดเป็็นแผลจุุดเล็็กๆ สีีเหลืือง ต่่อมาแผลขยายใหญ่่ขึ้�น สีีน้ำำ��ตาลเข้้มถึึงดำำ� แผลมีีลัักษณะเป็็น
วงค่อ่ นข้้างกลม เรียี งซ้้อนกันั เป็็นชั้�นๆ
เชื้�อราก่่อให้้เกิิดโรคใบจุุดกัับพืืชตระกููลกะหล่ำำ�� เช่่น คะน้้า ผัักกาดขาว ผัักกาดเขีียว บรอกโคลีี กวางตุ้�ง
กะหล่ำำ��ปลีี ฯลฯ โรคนี้�พบได้้ทุุกแหล่่งปลููกพืืช เชื้�อราสามารถแพร่่ระบาดได้้อย่่างรวดเร็็ว ทำำ�ความเสีียหาย
ต่่อผลผลิิตทำำ�ให้้คุุณภาพของผลผลิิตเสีียหาย ซึ่�งส่่วนใหญ่่ใช้้ใบเพื่�อบริิโภคส่่งผลต่่อราคาของพืืชผััก หากเกิิดโรค
ในระยะกล้้าจะทำำ�ให้้พืชื ไม่่เจริญิ เติบิ โตและตายในที่่�สุดุ ไม่ส่ ามารถเก็็บผลผลิติ ได้้

ลัักษณะโคโลนีีของเชื้�อรา Alternaria brassicicola (Schw.) Wiltshire บนอาหารเลี้�ยงเชื้�อ PDA

ลักั ษณะอาการโรคใบจุุดคะน้้าที่�เกิิดจากเชื้�อรา Alternaria brassicicola (Schw.) Wiltshire
และ Alternaria brassicae (Berk) Sacc.

เอกสารวิชาการ 11

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จดั ศัตรพู ื ช

โรคแอนแทรคโนสพรกิ

ชื่�อวิิทยาศาสตร์:์ Colletotrichum gloeosporioides Penz. C. capcisi และ C. piperatum
วงศ์: Glomerellaceae
อันดับ: Glomerellales

เชื้�อรา Colletotrichum gloeosporioides C. capcisi และ C. piperatum สาเหตุุโรคแอนแทรคโนส
หรืือโรคกุ้�งแห้้งซึ่�งเป็็นโรคที่่�มีีความสำำ�คััญทางเศรษฐกิิจ อาการของโรคแอนแทรคโนสมีีลัักษณะจุุดช้ำำ��สีีน้ำำ��ตาล
บนผลพริิก แผลขยายเป็็นวงกลมหรืือวงรีีซ้้อนกัันเป็็นชั้�น เนื้�อเยื่�อยุุบตััวเป็็นวงกลมหรืือวงรีีรููปไข่่ และเมื่�อมีี
ความชื้�นสููงจะเห็็นเป็็นเมืือกสีีส้้มอ่่อน หากเชื้�อราเข้้าระยะผลอ่่อน ทำำ�ให้้ผลบิิดเบี้�ยว คล้้ายกุ้�งแห้้ง ชาวบ้้าน
จึึงเรีียกว่่า โรคกุ้�งแห้้ง เมื่�ออาการรุุนแรงผลจะเน่่าและร่่วงไม่่สามารถเก็็บผลผลิิตได้้ โรคนี้�พบระบาดได้้ในพริิก
ทุกุ สายพันั ธุ์�และทุุกแหล่่งปลููก แปลงที่่�มีีการระบาดของโรคจะทำำ�ให้้ผลผลิิตลดลงมากกว่า่ 50%

ลัักษณะโคโลนีขี องเชื้�อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. บนอาหารเลี้�ยงเชื้�อ PDA

ลักั ษณะอาการโรคแอนแทรคโนสพริกิ ที่�เกิิดจากเชื้�อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.

12 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การประเมนิ ประสทิ ธิภาพในการควบคมุ

โรคเหีย่ วท่เี กดิ จากแบคทีเรีย

ประเมิินเปอร์์เซ็็นต์์การเกิิดโรคเหี่�ยวในแปลงด้้วยสายตาทุุก 30 วััน ก่่อน-หลัังการใช้้ชีีวภััณฑ์์ทุุกครั้�ง
และเก็็บข้้อมููลปริิมาณผลผลิิต เปอร์์เซ็็นต์์การเกิิดโรคเหี่�ยวในแปลงปลููกจะลดลงและได้้ปริิมาณผลผลิิตมากกว่่า
เมอื่ เปรยี บเทียบกบั แปลงทไี่ มไ่ ดใ้ ชช้ ีวภัณฑ์ BS-DOA24

โรคใบจดุ ในพื ชตระกลู กะหล�่ำ

ประเมิินเปอร์์เซ็็นต์์การเกิิดโรคด้้วยสายตา โดยให้้สัังเกตการเกิิดจุุดแผลทั้�งบนใบและก้้านใบ หลัังพ่่น
ชีีวภััณฑ์์ครั้�งที่� 1 การเกิิดโรคควรลดลงไม่่ต่ำำ��กว่่า 30% จากนั้�นหมั่�นสังั เกตอาการบนใบที่�สร้า้ งใหม่ซ่ึ่�งการเกิดิ โรค
ควรลดลง และเมื่�อพ่น่ ครบ 4-5 ครั้�ง การเกิิดโรคไม่่ควรเกิิน 20%

โรคแอนแทรคโนสพริก

เร่ิมสังเกตตั้งแต่ระยะพริกออกดอก การเกิดโรคบนใบไม่ควรเกิน 20% หลังจากนั้นประเมินผลพริก
ในระยะเก็บเกีย่ ว ไมค่ วรพบการเกดิ โรคเกนิ 15% (พริก 100 ผล พบโรคไม่เกนิ 15 ผล)

การผลติ ขยายชวี ภัณฑ์
1. เตรยี มอาหาร Tryptic Soy Agar (TSA) และนง่ึ ฆ่าเชอื้ ทอี่ ณุ หภมู ิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15
ปอนด์/ตารางนิว้ เป็นเวลา 15 นาที
2. เทอาหารเล้ยี งเชอื้ TSA ใสจ่ านเล้ยี งเชอ้ื ทิ้งไวข้ า้ มคนื ก่อนใช้เพ่ือให้หนา้ อาหารแห้ง
3. เล้ียงแบคทีเรีย B. subtilis บนอาหาร TSA ที่เทเตรียมไว้ แล้วบ่มเชื้อไว้ 3 วัน ก่อนน�ำมาท�ำ
ชีวภัณฑ์ ใชเ้ ชื้อจำ� นวน 40 จานเลี้ยงเชอื้ /talcum 1 กโิ ลกรัม
4. เตรียมสารละลาย 2.45% MgSO4.7H2O น่ึงฆ่าเช้ือที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน
15 ปอนด/์ ตารางนิว้ เปน็ เวลา 15 นาที
5. เตรียมสารละลาย 2.5% Carboxymethyl-cellulose sodium salt (CMC) นง่ึ ฆ่าเชื้อทอ่ี ุณหภมู ิ
121 องศาเซลเซยี ส ความดัน 15 ปอนด์/ตารางน้ิว เป็นเวลา 15 นาที
6. ช่งั talcum ถงุ ละ 1 กิโลกรัม นำ� ไปน่ึงฆา่ เชอ้ื ท่ีอณุ หภูมิ 121 องศาเซลเซยี ส ความดัน 15 ปอนด์/
ตารางนว้ิ เป็นเวลา 15 นาที
7. ผลิตชวี ภณั ฑ์แบคทเี รีย B. subtilis ในรูปแบบผง (สตู รส�ำหรบั 1 กิโลกรัม)
7.1 ตวงสารละลาย 2.45% MgSO4.7H2O จากข้้อ 4 ปริมิ าตร 200 มิิลลิลิ ิิตร เทใส่่จานเลี้�ยงเชื้�อ
ในข้้อ 3 ประมาณ 5 มิลิ ลิิลิติ ร/จานเลี้�ยงเชื้�อ จากนั้�นขูดู เชื้�อ จำำ�นวน 40 จานเลี้�ยงเชื้�อใส่่บีีกเกอร์์

เอกสารวชิ าการ 13

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

7.2 เตมิ สารละลาย 2.5% CMC จากขอ้ 5 ปรมิ าตร 200 มลิ ลลิ ติ ร ลงในบกี เกอร์ผสมให้เขา้ กนั
7.3 น�ำสารแขวนลอยแบคทีเรียที่เตรียมไว้คลุกผสมกับ talcum ที่ผ่านการน่ึงฆ่าเช้ือแล้ว จ�ำนวน
1 กโิ ลกรัม นวดให้เปน็ เนอ้ื เดียวกัน
7.4 นำำ�ชีีวภััณฑ์์ B. subtilis ที่�ได้้ ตากในถาดอลููมิิเนีียมที่�รองด้้วยอลููมิิเนีียมฟอยล์์ และปิิดถาดด้้วย
อลูมเิ นยี มฟอยลผ์ ึ่งตากลมให้แห้ง เปน็ ระยะเวลา 3 วัน
7.5 เชค็ ปริมาณแบคทีเรีย B. subtilis ท่ผี ลิตได้ดว้ ยวิธี dilution plating
7.6 นำ� ชวี ภัณฑ์ B. subtilis ท่ีแหง้ มาบดใหล้ ะเอยี ดเปน็ ผง และบรรจใุ ส่ถงุ ฟอยลถ์ ุงละ 1 กโิ ลกรัม

14 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศตั รูพื ช

การผลิติ ขยายชีีวภััณฑ์แ์ บคทีีเรีีย Bacillus subtilis (Ehrenberg, 1835) Cohn, 1872
เลี้�ยงแบคทีีเรียี BS บนอาหาร TSA อายุุ 3 วััน ใช้เ้ ชื้�อจำำ�นวน 40 จานเลี้�ยงเชื้�อ/talcum 1 กิิโลกรัมั

เติมสารละลาย 2.45% MgSO4.7H2O ปรมิ าตร 200 มิลลิลิตร ขดู เช้ือออกจากหน้าอาหารเทใส่บกี เกอร์
เติมสารละลาย 2.5% CMC ปรมิ าตร 200 มิลลิลติ ร ผสมให้เข้ากัน แล้วคลุกผสมกับ talcum 1 กโิ ลกรัม โดยผสมให้เป็นเน้อื เดยี วกัน

ตากไว้ใ้ ห้้แห้้งประมาณ 3 วันั แล้้วนำำ�ไปบดให้ล้ ะเอียี ด บรรจุุใส่่ถุุงฟอยล์์ถุงุ ละ 1 กิิโลกรัมั

เอกสารวชิ าการ 15

ชีวภัณฑป์ ้องกันกำ� จัดศตั รูพื ช

Link / QR code / Clip ของชวี ภัณฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=GTMcWsu_nVU
https://www.youtube.com/watch?v=07J-Qq0_eeo
https://www.youtube.com/watch?v=5lufCcjoLPI

BS-DOA24 BS 20W1 BS 20W33

บรรณานกุ รม
กฤติิกา จัันทรางศุุ. 2549. การจำำ�แนกความแตกต่่างทาง phenotype และ genotype ของแบคทีีเรีีย

Bacillus spp. ที่่�เป็็นปฏิิปัักษ์์ต่่อเชื้้�อสาเหตุุโรคพืืช. วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญาวิิทยาศาสตรมหาบััณฑิิต
มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่่น.
ณััฎฐิิมา โฆษิิตเจริิญกุุล วงศ์์ บุุญสืืบสกุุล อรพรรณ วิิเศษสัังข์์ และทััศนาพร ทััศคร. 2547. การศึึกษาการใช้้
ประโยชน์์จากเชื้�อ Bacillus spp. ในการควบคุุมโรคเหี่�ยวของขิิงและมะเขืือเทศ. ใน: รายงานผล
การวิิจััยประจำำ�ปีี 2547. กลุ่�มวิจิ ัยั โรคพืืช สำำ�นัักวิิจััยพัฒั นาการอารักั ขาพืชื .
ณััฎฐิิมา โฆษิิตเจริิญกุุล บููรณีี พั่�ววงษ์์แพทย์์ ทิิพวรรณ กัันหาญาติิ และรุ่�งนภา ทองเคร็็ง. 2557. การพััฒนา
ผลิิตภััณฑ์์ Bacillus subtilis สายพัันธุ์� BS-DOA24 ในการควบคุุมโรคเหี่�ยวของขิิงที่�เกิิดจาก
เชื้�อ Ralstonia solanacearum. วารสารวิิชาการเกษตร. 32(3): 234-251.
ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล บูรณี พั่ววงษ์แพทย์ ทิพวรรณ กันหาญาติ และรุ่งนภา ทองเคร็ง. 2562. เทคนิค
การปลููกเชื้�อ Ralstonia solanacearum เพื่�อประเมินิ ระดับั ความต้้านทานโรคเหี่�ยว (Bacterial wilt)
ของพริิกและมะเขืือเทศ. หน้้า 1-18. ใน: เทคนิิคการปลููกเชื้้�อโรคพืืชเพื่่�อประเมิินระดัับความต้้านทาน
ของพืืช. สมาคมนักั โรคพืืชแห่่งประเทศไทย.
บุุษราคััม อุุดมศัักดิ์์� และณััฎฐิิมา โฆษิิตเจริิญกุุล. 2550. การคััดเลืือกสายพัันธุ์�แบคทีีเรีียกลุ่�ม Bacillus spp.
ที่่�มีีศัักยภาพในการยัับยั้�งเชื้�อรากลุ่�ม Fusarium สาเหตุุโรคเหี่�ยวในมะเขืือเทศและแตงกวา.
หน้้า 210-211. ใน: รายงานการประชุุมวิิชาการอารักั ขาพืืชแห่่งชาติิ ครั้�งที่่� 8. 20-22 พฤศจิกิ ายน 2550.
ณ โรงแรมอัมรินทรล์ ากนู จ. พิษณโุ ลก.

16 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

บุษุ ราคััม อุดุ มศักั ดิ์์� ณััฎฐิิมา โฆษิติ เจริญิ กุุล สุรุ ีีย์พ์ ร บัวั อาจ บูรู ณีี พั่�ววงษ์แ์ พทย์์ และรสสุุคนธ์์ รุ่�งแจ้้ง. 2557.
พััฒนาแบคทีีเรีีย B. subtilis สายพัันธุ์�ใหม่่ ในการควบคุุมโรคใบจุุดคะน้้าสาเหตุุจากเชื้�อรา
A. brassicicola. หน้้า 1-16. ใน: รายงานผลงานวิิจััยดีีเด่่น กรมวิิชาการเกษตร ประจำ�ำ ปีี 2557.
กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

บุษุ ราคัมั อุดุ มศักั ดิ์์� ณััฎฐิมิ า โฆษิิตเจริิญกุุล วิิไลวรรณ พรหมคำำ� สุรุ ียี ์์พร บััวอาจ บูรู ณีี พั่�ววงษ์์แพทย์์ รุ่�งนภา
ทองเคร็ง นพวรรณ นิลสุวรรณ ฐปนีย์ ทองบุญ กิรนันท์ เหมาะประมาณ ไพบูรณ์ เปรียบยิ่ง
วราภรณ์์ อุุดมดีี และรสสุุคนธ์์ รุ่�งแจ้้ง. 2561. ชีวี ภัณั ฑ์์ บีีเอสควบคุมุ โรคกุ้�งแห้้งพริกิ สู่�การใช้้ประโยชน์์
เพื่�อเพิ่�มผลผลิิตพริกิ . หน้้า 42-56. ใน: รายงานผลงานวิจิ ััยดีีเด่น่ กรมวิชิ าการเกษตร ประจำำ�ปีี 2561.
กรมวิิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์์.

ศิิริิพงษ์์ คุ้�มภััย และพรพิิมล อธิิปััญญาคม. 2554. โรคแอนแทรคโนสพริิก. หน้้า 3-4. ใน: คู่่�มืือโรคผัักและ
การป้อ้ งกันั กำำ�จััด. สำำ�นักั วิิจััยพัฒั นาการอารัักขาพืชื กรมวิชิ าการเกษตร.

El-Hassan, S.A. and S.R. Gowen. 2006. Formulation and delivery of the bacterial antagonist
Bacillus subtilis for management of lentil vascular wilt caused by Fusarium
oxysporum f.sp. lentis. J. Phytopath. 154: 148-155.

Kloepper, J.W., C.M. Ryu and S. Zhang. 2004. Induced systemic resistance and promotion
of plant growth by Bacillus spp. J. Phytopath. 94: 1259-1266.

Prathuangwong, S. 2016. Biological Pest Management as Alternative and Supplemented-
Pesticide Use in IPM Program. Pages 8-26. In: Conference Proceedings ASEAN+6
Organic Agriculture Forum 2016 Sustainable Agriculture. June 28-30. The Imperial
Mae Ping Hotel, Chiang Mai.

ติดตอ่ สอบถามขอ้ มูลเพิ่มเติม: กลุ่มงานบักเตรีวิทยา กลมุ่ วิจยั โรคพชื ส�ำนกั วิจยั พฒั นาการอารักขาพืช
โทร. 0 2579 8599 (B. subtilis สายพันั ธุ์� BS-DOA24)
กลุ่มงานวทิ ยาไมโค กลุ่มวิจยั โรคพชื ส�ำนักวจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพืช
โทร. 0 2579 9581 (B. subtilis สายพันั ธุ์� 20W1, 20W16 และ 20W33)

เอกสารวชิ าการ 17

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

ราไตรโคเดอรม์ า

Trichoderma harzianum สายพัั นธุ์์� DOA-TH50

ชื่อวทิ ยาศาสตร์: Trichoderma harzianum Rifai
วงศ:์ Hypocreaceae
อันดับ: Hypocreales

ท่มี าและความสำ� คญั /ปญั หาศตั รูพื ช
ไตรโคเดอร์มา (Trichoderma spp.) เป็นราที่พบได้ท่ัวไปในดินเกือบทุกชนิด ทั้งดินในป่า (forest soil)
ดินที่เพาะปลูกพืช (cultivated soil) เศษซากพืช ซากสัตว์ อินทรียวัตถุ และบริเวณระบบรากพืช
ชอบสภาพดินที่ชื้นแต่ไม่แฉะ มีอินทรียวัตถุอุดมสมบูรณ์ ราไตรโคเดอร์มาสามารถแยกให้บริสุทธิ์จากดินธรรมชาติ
ได้ง่าย เจริญบนอาหารเลี้ยงเชื้อราได้หลายชนิด เป็นราที่มีการเจริญเติบโตและเพ่ิมปริมาณได้อย่างรวดเร็ว
ขยายพนั ธุ์โดยการสร้างสปอร์
ไตรโคเดอร์์มาเป็็นราปฏิิปัักษ์์ (antagonistic fungus) ที่่�มีีประสิิทธิิภาพสููงในการเจริิญแข่่งขััน ควบคุุม
ยัับยั้�งการเจริิญของราสาเหตุุโรคพืืชได้้หลายชนิิด เช่่น ใช้้ในการควบคุุมยัับยั้�งการเจริิญของรา Pythium spp.
สาเหตุุโรคเน่่าคอดิิน กล้้าเน่่า โคนเน่่า ยอดเน่่าของพืืชผััก รา Fusarium spp. สาเหตุุโรคกล้้าไหม้้ของข้้าว
โรคกอเน่่าแห้้งของกล้้วยไม้้ โรคเหี่�ยวของพืืชผัักและไม้้ดอกไม้้ประดัับ รา Sclerotium rolfsii สาเหตุุโรคโคนเน่่า
โรคกล้้าไหม้้ ราเม็็ดผัักกาด โรคเหี่�ยวในพืืชผััก รา Rhizoctonia spp. สาเหตุุโรคเน่่าระดัับคอดิินของผััก
รา Phytophthora spp. สาเหตุโรครากเน่า-โคนเน่าของพริก ทุเรียน ส้ม มะนาว พริกไทย แตงโม แตงกวา
มะเขอื เทศ รา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรกโนสในพรกิ หอม กระเทียม รา Macrophomina
phaseolina สาเหตโุ รคเมล็ดเนา่ และโคนเน่าของพืชตระกลู ถ่วั

18 เอกสารวิชาการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

วงจรชวี ิต
T. harzianum เจริญได้อย่างรวดเร็วบนอาหาร PDA ท่ีอุณหภูมิห้อง วัดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีได้
9 เซนติเมตร ภายใน 5 วัน ผิวหน้าโคโลนีมีเส้นใยเจริญหนาฟู บริเวณท่ีสร้างโคโลนีระยะแรกมีสีขาว ต่อมา
เปลย่ี นเปน็ สีเขยี วอ่อนและเมอื่ รามีอายุมากข้นึ จะเปลย่ี นเปน็ สีเขียวเข้มจากการสรา้ งสปอร์จ�ำนวนมาก

กข

ลกั ษณะโคโลนแี ละก้านชสู ปอรข์ องรา Trichoderma harzianum Rifai
ก) โคโลนีอายุ 5 วัน บนอาหาร PDA
ข) ลัักษณะ conidiophore, phialide และสปอร์์ของรา (ที่�มา: นิิยม, 2542)
กลไกการทำ� ลายศัตรพู ื ช
กลไกการควบคุมราสาเหตุโรคพืชของไตรโคเดอร์มา
1. การสร้างสารปฏิชีวนะ (antibiotic) เป็นการยับย้ังการเจริญของจุลินทรีย์อีกชนิดหน่ึงโดยการสร้าง
สารของส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง สารดังกล่าวอาจมีผลต่อการยับยั้งการเจริญหรืออาจท�ำให้เชื้อจุลินทรีย์อ่ืนตาย
สารเคมีดังกล่าวอาจเป็นสารปฏิชีวนะ หรือเอนไซม์ (extracellular enzymes) มีผลในการยับยั้งและท�ำลาย
ราสาเหตุโรคพชื
Trichoderma spp. สามารถผลิิตสารปฏิิชีีวนะได้้หลายชนิิด เช่่น สาร Tricholin ที่�ผลิิตโดย
รา T. viride มีีผลยัับยั้�งรา R. solani และสาร Trichorzianine ที่�ผลิิตโดยรา T. harzianum มีีผลยัับยั้�ง
การเจริิญของเส้น้ ใยรา Sclerotium rolfsii และ R. solani
2. การแข่งขัน (competition) คือการท่ีส่ิงมีชีวิตสองชนิดหรือมากกว่าสองชนิดเจริญอยู่ด้วยกัน
มีความต้องการอาหารและท่ีอยู่อาศัยที่มีจ�ำกัดเหมือนกัน ท�ำให้เกิดการแข่งขันกันและเข้าแทนท่ีเพื่อให้ได้
อาหารและปจั จยั อื่นในการเจริญเตบิ โต
Trichoderma spp. จัดเป็นราที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง เข้าครอบครองรากพืชได้รวดเร็ว
กว่าราสาเหตุโรคพืช ดังนั้นถ้าในดินมีปริมาณราไตรโคเดอร์มาจ�ำนวนมากจะสามารถแข่งขันเข้าครอบคลุมพ้ืนท่ี
บริเวณรากพชื ได้ดีกวา่ ราสาเหตุโรคพชื

เอกสารวิชาการ 19

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จัดศัตรพู ื ช

กข

การแข่่งขันั ของ Trichoderma harzianum Rifai
ก) Phytophthora botryosa (ที่�มา: กาญจนา, 2557)
ข) Fusarium oxysporum
3. การเป็นปรสิต (mycoparasitism) คือการท่ีราไตรโคเดอร์มาสร้างเส้นใยพันรัดเส้นใยของราสาเหตุ
โรคพืชแล้วปลดปล่อยเอนไซม์ออกมาเพ่ือสลายผนังเส้นใยก่อนท่ีจะแทงส่วนของเส้นใยเข้าไปภายในเส้นใยของ
ราสาเหตุโรคพืช ใช้อาหารจากภายในเส้นใยของราสาเหตุโรคพืช ท�ำให้การเจริญของเส้นใยราสาเหตุโรคพืช
ลดลงหรอื ทำ� ใหเ้ สน้ ใยของราสาเหตโุ รคพชื เหย่ี วแฟบลง ซง่ึ เปน็ กลไกหนง่ึ ของ Trichoderma spp. ในการควบคมุ
ราสาเหตโุ รคพชื

ก ข

การเป็็นปรสิิตของรา Trichoderma harzianum Rifai
ก) Phytophthora botryosa (ที่�มา: ขจรเกียี รติิ และพิิภัทั ร, 2554)
ข) Fusarium oxysporum (ที่�มา: ธิติ ิิ และคณะ, 2556)

20 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

4. การชักน�ำให้เกิดความต้านทานในพืช (induced resistance) การชักน�ำให้เกิดความต้านทาน
ต่อเช้ือสาเหตุโรคพืชเกิดขึ้นได้กับทุกพืช ซ่ึงเป็นกลไกการต่อต้านการเกิดโรคของพืชเอง ราไตรโคเดอร์มา
ทำำ�หน้้าที่่�เป็็นตััวกระตุ้�น (elicitors) ช่่วยกระตุ้�นให้้พืืชสร้้างความต้้านทานต่่อราสาเหตุุโรคพืืช หรืือสารทุุติิยภููมิิ
ที่ �ราไตรโคเดอร์์มาสร้้างขึ้ �นอาจมีีคุุณสมบััติิเป็็นตััวชัักนำำ�ให้้พืืชสร้้างกลไกความต้้านทานต่่อราสาเหตุุโรคพืืช
ส่ง่ ผลทำำ�ให้้พืืชแสดงอาการของโรคน้อ้ ยกว่า่ ปกติิ
5. การกระตุ้�นการเจริิญเติิบโตของพืืช (plant growth promotion regulator: PGPR) การส่่งเสริิม
การเจริิญเติิบโตของพืืชอาจมีีผลมาจากสารที่ �ราไตรโคเดอร์์มาสร้้างขึ้ �นไปกระตุ้ �นให้้พืืชสร้้างสารที่่�ช่่วยเร่่ง
การเจริิญเติิบโต หรืืออาจเนื่�องจากราไตรโคเดอร์์มาไปขััดขวางทำำ�ลายราสาเหตุุโรคพืืชที่�รบกวนระบบรากของพืืช
ทำำ�ให้้ระบบรากพืืชสมบููรณ์์แข็็งแรง สามารถดููดอาหารและแร่่ธาตุุต่่างๆ ในดิินได้้ดีีขึ้�น จึึงเป็็นการช่่วยให้้พืืช
เจริิญเติิบโตได้้ดีีขึ้�น โดยพบว่่า เมื่�อมีีการใส่่ราไตรโคเดอร์์มาให้้พืืชหลายๆ ชนิิด เช่่น ผัักกาดหอม มะเขืือเทศ
พริกไทย ไม้ดอกไม้ประดับท่ีปลูกในกระถาง ท�ำให้พืชเหล่าน้ีมีการเจริญเติบโตเพ่ิมขนาด ความสูง น้�ำหนัก
ของต้น และมกี ารสร้างดอกได้ดกี ว่าเมอ่ื เทียบกับการไมใ่ ช้ราไตรโคเดอร์มา

วธิ ีการใชช้ วี ภณั ฑ์ควบคุมศตั รูพื ช
รา T. harzianum สายพัันธุ์� DOA-TH50 จากกลุ่�มวิิจััยโรคพืืช สำำ�นัักวิิจััยพััฒนาการอารัักขาพืืช
ทดสอบแล้้วว่่ามีีประสิิทธิิภาพในการควบคุุมโรคตายพรายของกล้้วยที่่�มีีสาเหตุุจากรา Fusarium oxysporum
f. sp. cubense

การเตรียมหวั เชอ้ื ไตรโคเดอรม์ าชนดิ สดผสมกบั ปุย๋ อินทรีย์

ใช้เช้ือสดท่ีเลี้ยงบนข้าวเปลือก 1 กิโลกรัม ผสมกับร�ำข้าวละเอียด 4-5 กิโลกรัม และปุ๋ยอินทรีย์
(ปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอกเก่า) หรือปุ๋ยหมักจากฟางข้าว หรือเศษต้นข้าวโพด หรือเปลือกถ่ัว จ�ำนวน 90-95 กิโลกรัม
หรือตามอัตราสว่ น 1:4:95 โดยน้�ำหนกั วิธีการดังน้ี
1. เติมร�ำข้าวเล็กน้อยลงไปในถุงราไตรโคเดอร์มาชนิดสด คลุกเคล้าและบีบให้เช้ือท่ีเกาะเป็นก้อน
แตกออก จากนนั้ จึงเทเชือ้ ท่ีคลุกร�ำข้าว ผสมกบั ร�ำขา้ วทีเ่ หลือให้ครบตามจ�ำนวน แลว้ คลกุ ใหเ้ ขา้ กนั อกี ครงั้
2. นำำ�หัวั เชื้�อสดที่�ผสมกัับรำำ�ข้้าว (อััตราส่่วน 1:4 โดยน้ำำ��หนััก) ผสมกัับปุ๋�ยอิินทรีีย์์ (ปุ๋�ยหมััก/ปุ๋�ยคอกเก่่า)
หรืือปุ๋�ยหมัักจากฟางข้้าว หรืือจากเศษต้้นข้้าวโพด หรืือเปลืือกถั่�วจำำ�นวน 95 กิิโลกรััม คลุุกเคล้้าจนเข้้ากััน
พรมน�้ำพอชื้น เพื่อลดการฟุ้งกระจายและเพ่ือให้มีความชื้นท่ีเหมาะสมต่อการเจริญและขยายเส้นใยของ
ราไตรโคเดอร์มา
3. เม่ือผสมเชื้อสดกบั ป๋ยุ อินทรยี ์แลว้ ให้แผ่กระจายไว้บนพนื้ ดินเปน็ กองสงู ประมาณ 15-20 เซนติเมตร
ใช้ตาข่ายสแลนสีด�ำคลุม (ไม่ควรใช้พลาสติกทึบที่ไม่สามารถระบายอากาศได้ เพราะจะท�ำให้กองเช้ือเกิด
ความร้อน จะท�ำให้มีเชื้อจุลินทรีย์ชนิดอ่ืนปนเปื้อนได้) ทิ้งไว้เป็นเวลา 2-3 วัน เพื่อให้เช้ือเจริญเส้นใยขยาย
เต็มวัสดุท่ีผสมจ�ำนวน 100 กิโลกรัม หรือจนพบว่ามีเส้นใยและสปอร์ราสีเขียวเจริญคลุมท้ังกอง จึงน�ำไปใช้
ควบคุมโรคพชื ตอ่ ไป

เอกสารวชิ าการ 21

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จัดศตั รูพื ช

การใช้หวั เชอื้ ไตรโคเดอร์มาชนิดสดทผี่ สมกบั ปุ๋ยอินทรยี ใ์ นกลว้ ยน�ำ้ ว้า

1. การใส่รองกน้ หลมุ กอ่ นปลกู พชื ใชส้ ว่ นผสมของเช้ือสด อตั รา 100-200 กรมั /หลมุ (1 กระป๋องนมขน้ )
รองก้นหลุมก่อนปลูกโดยคลุกเคล้ากับวัสดุรองก้นหลุม เช่น เปลือกถั่ว ฟางข้าวแช่น้�ำ หรือต้นข้าวโพดสับ
ก่อนปลกู กลว้ ย
2. การหว่านใต้ทรงพุ่มหรือโรยโคนต้นกล้วยหลังจากปลูกกล้วย เพ่ือป้องกันการเกิดโรคตายพราย
โดยหว่านส่วนผสมเช้ือสดให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่มจนถึงรอบชายพุ่มอัตรา 400-500 กรัม/กอ ข้ึนอยู่กับขนาด
ของกอ พรวนดนิ ให้เชอ้ื ผสมคลกุ เคล้าลงในดนิ ลกึ อย่างน้อย 15 เซนตเิ มตร รดน�ำ้ ทีโ่ คนตน้ พอให้ชื้น อย่าให้แฉะ
หรือมีน้ำ� ขงั หากมีวสั ดุ เช่น เปลือกถั่ว ฟางข้าว หรือตน้ ขา้ วโพดท่ีสบั แลว้ สามารถนำ� ไปกลบที่โคนต้นเพอ่ื เกบ็
รักษาความช้ืนและเป็นอาหารส�ำหรับราไตรโคเดอร์มา ทิ้งไว้ประมาณ 3 วัน เชื้อราจะเจริญเป็นเส้นใยสีขาว
แล้วเปลี่ยนเป็นสีเขียวภายใน 5-7 วัน จากน้ันพรวนดินให้เชื้อผสมคลุกเคล้าและกระจายลงในดินมากขึ้น
พรวนดินใหม้ คี วามลกึ อย่างน้อย 15 เซนติเมตร
ควรใช้้ราไตรโคเดอร์์มาทัันทีีหลัังการปลููกกล้้วยตั้�งแต่่กล้้วยยัังไม่่แสดงอาการของโรคตายพราย
หากพบการระบาดของโรคตายพรายระดัับรุุนแรงการใช้้ราไตรโคเดอร์์มาอาจไม่่ได้้ผล เนื่�องจากราไตรโคเดอร์์มา
จะไม่่สามารถแทรกเข้้าสู่่�ลำำ�ต้น้ กล้้วยเพื่�อไปกำำ�จัดั เชื้�อราสาเหตุโุ รคที่�เจริิญเข้า้ สู่่�ภายในลำำ�ต้น้ ของกล้้วยได้้

ข้้อแนะนำำ�

1. การใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดสดมีประสิทธิภาพสูงกว่าการใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดรูปผงแห้ง จึงควร
น�ำราไตรโคเดอร์มาที่อยู่ในรูปผงแห้งมาเล้ียงให้เกิดเป็นเช้ือสดก่อน โดยการเลี้ยงบนข้าวสุก ข้าวเปลือกน่ึงสุก
หรือเมล็ดธัญพืชที่น่ึงฆ่าเชื้อแล้ว เม่ือเช้ือเจริญจนเห็นสปอร์สีเขียวกระจายทั่ว จึงน�ำไปผสมกับร�ำละเอียดและ
ปยุ๋ อนิ ทรีย์ เพ่ือใชใ้ นการรองกน้ หลมุ หรอื คลกุ ดนิ เตรียมแปลงก่อนปลูกพืช
2. ควรใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดสดผสมร�ำข้าวละเอียดและปุ๋ยอินทรีย์หว่านลงดินในช่วงของการเตรียมดิน
กอ่ นการปลูกพืชและใชเ้ ชอ้ื สดละลายนำ้� ราดหรือพน่ ลงดนิ บนแปลงปลกู รอบโคนตน้ หรอื ใตท้ รงพมุ่ ในระยะท่ีพชื
ก�ำลังเจรญิ เติบโตต่อเน่ืองเป็นระยะๆ
3. ควรใส่ปุ๋ยอินทรีย์ หรือวัสดุอินทรีย์ลงดินเป็นระยะๆ โดยแบ่งใส่ทีละน้อยอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็น
แหล่งอาหารให้กับราไตรโคเดอร์มา และเพื่อช่วยปรับสภาพแวดล้อมในดินให้เหมาะสมต่อการเจริญของ
ราไตรโคเดอร์มา
4. ควรใช้เศษหญ้า เศษใบไม้ หรือวัสดุต่างๆ คลุมผิวดิน เพ่ือรักษาความช้ืน อินทรียวัตถุในดิน ซ่ึงจะ
ช่วยใหร้ าไตรโคเดอรม์ าเจรญิ ได้ดี และมชี วี ิตอยู่รอดในดนิ ได้นานยง่ิ ขนึ้
5. ควรใช้้ราไตรโคเดอร์์มาเพื่�อการป้้องกัันโรคพืืชอย่่างต่่อเนื่�อง เช่่น ใช้้ก่่อนปลููกพืืชรุ่�นใหม่่ทุุกครั้�ง
ในกรณีีของการปลููกพืืช ผััก ไม้้ดอกไม้้ประดัับ และพืืชไร่่ หรืือใช้้อย่่างน้้อยปีีละ 2 ครั้�ง ต้้นฝนและปลายฝน
ห่างกัน 6 เดอื น ในกรณขี องไม้ผลยืนต้นสามารถใช้ได้บ่อยครงั้ ไม่เปน็ อนั ตรายตอ่ พชื

ขอ้ จำ� กัด

1. ไม่ใช้ราไตรโคเดอร์มาในดินท่ีมีโครงสร้างแน่นทึบ การระบายอากาศและความช้ืนต่�ำ ดินแฉะ หรือ
มีอนิ ทรยี วตั ถตุ ่�ำ ควรให้นำ้� เพือ่ ใหด้ ินมคี วามชน้ื หรือให้นำ�้ ทันทีก่อนใชร้ าไตรโคเดอรม์ า
2. ควรใชป้ ุ๋ยหมกั หรือปุย๋ คอกท่ีผา่ นกระบวนการหมกั โดยสมบรู ณ์แล้ว หรือเป็นกองปยุ๋ เกา่

22 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

3. ไม่ใชป้ ยุ๋ เคมแี ละสารเคมที กุ ชนดิ คลกุ เคลา้ หรือผสมรว่ มกบั เชื้อสด
4. ไม่ควรใช้ราไตรโคเดอร์มาชนิดสดในดินท่ีเป็นกรดหรือด่างจัดเกินไป ควรปรับ pH ของดินให้อยู่
ระหว่าง 5.5-6.5 ซ่งึ เปน็ ชว่ ง pH ทพี่ ชื ปลูกสว่ นใหญ่เจรญิ เติบโตไดด้ ี
5. ราไตรโคเดอร์มาเจรญิ ได้ดที ่ีอณุ หภูมิ 25-28 องศาเซลเซียส หากอณุ หภมู สิ ูงกวา่ 30 องศาเซลเซยี ส
หรอื ต่�ำกวา่ 18 องศาเซลเซยี ส การเจรญิ และการสรา้ งสปอร์ของราไตรโคเดอร์มาจะลดลง
6. ไม่ควรเก็บรักษาราไตรโคเดอร์มาชนิดสดไว้นานเกิน 30 วัน เพราะอาจเกิดการปนเปื้อนและ
ประสิทธิภาพลดลง

การตรวจสอบคุณภาพ/การเกบ็ รกั ษาชวี ภัณฑ์
ราไตรโคเดอร์์มาชนิิดเชื้�อสดบนเมล็็ดธััญพืืช หลัังจากที่�เชื้�อเจริิญเต็็มถุุงก้้อนเชื้�อแล้้วถ้้ายัังไม่่ได้้นำำ�ไปใช้้
ควรเก็็บรัักษาไว้้ในที่่�ร่่ม อุุณหภููมิิห้้องปกติิเก็็บไว้้ได้้ประมาณ 15 วััน หรืือถ้้าเก็็บรัักษาไว้้ในที่�เย็็นอุุณหภููมิิ
7-10 องศาเซลเซยี ส สามารถเกบ็ ได้นาน 30-45 วนั หากเก็บไว้นานกว่าน้ีจะทำ� ใหป้ ระสทิ ธิภาพลดลง

ชนดิ ของศัตรพู ื ช

โรคตายพราย (Fusarium wilt/Panama disease)

ชื่�อวิิทยาศาสตร์์: Fusarium oxysporum f. sp. cubense
วงศ์: Nectriaceae
อนั ดับ: Hypocreales
โรคตายพรายสาเหตุมาจากเช้ือรา Fusarium oxysporum f. sp. cubense (Foc) เป็นโรคที่ส�ำคัญ
ที่่�สุุดของการปลููกกล้้วย ซึ่�งทำำ�ความเสีียหายให้้กัับผลผลิิตกล้้วยอย่่างรุุนแรง มีีความจํําเพาะในการเขาทํําลาย
พืืชตระกููลกล้วย เช่น สกุุล Musa และสกุุล Heliconia ตั้�งแต่่ตอนต้้นศตวรรษที่� 19 โรคตายพรายที่�เกิิดจาก
เชื้�อรา Foc สายพัันธุ์� race 1 ทำำ�ความเสีียหายให้้กัับกล้้วยสายพัันธุ์� Gros Michel ซึ่�งเป็็นกล้ว้ ยที่่�มีคี วามสำำ�คััญ
ทางการค้้าในภููมิิภาคลาติินอเมริิกาที่่�เป็็นแหล่่งปลููกกล้้วยสำำ�คััญของโลก ทำำ�ให้้มีีการพััฒนาพัันธุ์�กล้้วยที่่�ต้้านทาน
คืือ พัันธุ์�คาเวนดิิช (Cavendish) มาปลููกทดแทนในช่่วงปีี 1960 อย่่างไรก็็ตามในช่่วง 20 ปีีต่่อมา พบว่่า
กล้้วยพัันธุ์�คาเวนดิิชที่�ปลููกในพื้�นที่�เขตร้้อนกลัับอ่่อนแอและเกิิดโรคตายพรายได้้ เมื่�อจำำ�แนกชนิิดของเชื้�อสาเหตุุโรค
พบว่่ามีสี าเหตุุมาจากเชื้�อรา Foc ซึ่�งเป็น็ สายพันั ธุ์� race ที่่�ยังั ไม่่เคยพบมาก่อ่ น คืือ เชื้�อ Foc Tropical Race 4
หรืือ TR4 แหล่่งกำำ�เนิิดของสายพัันธุ์� TR4 อยู่�ในเอเชีียตะวัันออกเฉีียงใต้้ และมีีรายงานการระบาดใน
แถบประเทศลาติินอเมริิกา ออสเตรเลีีย มาเลเซีีย อิินโดนีีเซีีย จีีน ฟิิลิิปปิินส์์ จอร์์แดน โมซััมบิิก ปากีีสถาน
เลบานอน โอมาน ลาว และเวียี ดนาม

เอกสารวิชาการ 23

ชีวภัณฑ์ป้องกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

ลักั ษณะอาการของโรค:

เชื้�อรา Foc เขาสููพืืชทางราก และแพร่กระจายสู่�ท่อลํําเลีียงน้ำำ�� ทํําให้เกิิดอาการเนื้�อเยื่�อตายเป็นสีีน้ำำ��ตาล
ในทอลําเลียงของลําตนเทียมของกลวย และลุกลามข้ึนสูกานใบ โคนใบแกดานนอกมีสีซีดเหลือง และผืนใบ
เปลี่�ยนเป็นสีีน้ำำ��ตาลโดยเริ่�มจากขอบใบเขาสูู่กลางใบและใบหัักพัับภายใน 1-2 สััปดาห์ และในที่่�สุุดลํําต้นเทีียม
จะยืืนต้นตาย เมื่�อผาลํําต้นเทีียมหรืือกาบใบที่�อยูู่ใกล้ระดัับผิิวดิินตามยาวจะพบกลุุ่มท่อลํําเลีียงที่�เปลี่�ยนเป็น
สีีน้ำำ��ตาล เมื่�อผาเหงา โคนต้น ลํําต้นเทีียม กานเครืือ จะพบลัักษณะอาการซึ่�งตางจากต้นปกติิที่�เนื้�อเยื่�อเหลานี้้�
มีสขี าว
โรคนี้มักจะพบในกลวยท่ีมีอายุ 4-5 เดือนขึ้นไปจนแสดงอาการชัดเจนเมื่อตนกลวยอายุได 7 เดือน
โดยจะเห็นทางสีเหลืองออนตามกานใบของใบลางหรือใบแกกอน ตอมาปลายใบหรือขอบใบจะเริ่มเหลือง และ
ขยายออกไปอยางรวดเร็็วจนเหลืืองทั่�วใบ ใบอ่อนมีีอาการเหลืืองไหม้หรืือตายนึ่�งและบิิดเป็นคลื่�น ใบกล้วย
จะหัักพัับบริิเวณโคนกานใบ ใบยอดจะเหลืืองตั้�งตรงอยูู่ในระยะแรกและตายในที่่�สุุด กล้วยที่่�มีีเครืือแล้ว
จะเหี่�ยว ผลลีีบเล็็กไม่สม่ำำ��เสมอหรืือแก่่ก่่อนกํําหนด เนื้�อฟามจืืด บางครั้�งพบใบกล้วยหัักพัับที่�โคนใบโดย
ไม่แสดงอาการใบเหลืืองหรืือเหลืืองเพีียงเล็็กน้อยเทานั้้�น ถาตััดลํําต้นตามขวางจะพบวาเนื้�อในของกาบใบ
บางส่วนเป็นสีีน้ำำ��ตาลแดง และอาจมีีเส้นใยของเชื้�อราปรากฏ เส้้นใยและสปอร์์ของเชื้�อราจะฝัังตััวอยู่�ในเศษซาก
ของต้้นกล้้วยที่�ตาย เมื่�อต้้นกล้้วยเน่่าสลายลงในดิินสปอร์์ของเชื้�อรายัังมีีชีีวิิตอยู่�จะกระจายสู่่�ดิินต่่อไป และ
เริ่�มต้้นวงจรการเข้้าทำำ�ลายพืชื อีกี ครั้�งในฤดูปู ลููกใหม่่

ลกั ษณะโรคตายพรายของกล้วยที่มีสาเหตุจากรา Fusarium oxysporum f. sp. cubense

24 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันก�ำจัดศตั รพู ื ช

การประเมินประสทิ ธิภาพในการควบคมุ
ทำำ�การประเมิินประสิิทธิิภาพของราไตรโคเดอร์์มาในการควบคุุมโรคตายพรายของกล้้วยทุุก 1 เดืือน
โดยสัังเกตอาการจากส่่วนของต้้นกล้้วยที่�อยู่�เหนืือดิิน ได้้แก่่ ต้้นกล้้วยมีีการเจริิญเติิบโตดีี ใบมีีสีีเขีียว และ
ขนาดปกติไม่เล็กแคระแกร็น ไม่พบอาการเหลือง เหี่ยว หักพับของใบล่าง กรณีสุ่มเพื่อตรวจอาการที่เหง้า
ไม่พบอาการเนื้อเยื่อภายในเหง้าเน่าเป็นสีน้ําตาล โดยเทียบกับต้นกล้วยที่แสดงอาการโรคตายพรายจะพบอาการ
เนื้อเยอ่ื ภายในเหง้าเน่าเปน็ สีน้ําตาล ใบมีขนาดเล็กผดิ ปกตพิ บอาการเหลืองเหยี่ วหกั พับของใบลา่ ง

การผลติ ขยายชวี ภณั ฑ์

วิธิ ีีการเพาะเลี้้�ยงราไตรโคเดอร์ม์ าอย่า่ งง่า่ ย   (ที่�มา: http://www.bio-agri.com)
วธิ ีการ

1. หุุงปลายข้้าวสารด้้วยหม้้อหุุงข้้าวไฟฟ้้า ใช้้ปลายข้้าว 3 ส่่วน/นํ้้�าสะอาด 2 ส่่วน (หุุงให้้สุุกประมาณ
90% อย่าให้สกุ มากเกนิ ไปเพราะจะท�ำใหข้ า้ วแฉะ)
2. ท�ำความสะอาดมือ ช้อนตัก และพื้นโต๊ะบริเวณท่ีจะท�ำการขยายเชื้อด้วยส�ำลีชุบแอลกอฮอล์
เพื่อฆ่าเช้อื จลุ ินทรยี ท์ อ่ี ยู่โดยรอบไมใ่ หป้ นเป้ือน
3. ตักข้าวใส่ถุงพลาสติกทนร้อนประมาณ 200-250 กรัม ควรตักข้าวในขณะท่ียังร้อนอยู่เพื่อช่วย
ท�ำลายจลุ นิ ทรียอ์ น่ื ๆ ที่อาจปนเป้ือน
4. รีดเอาอากาศออกจากถุงให้ถุงพลาสติกแนบกับข้าว เพื่อลดการเกิดหยดน้ําในถุงพลาสติก รอให้
ขา้ วอ่นุ หรือเยน็
5. ใส่่หััวเชื้�อไตรโคเดอร์์มาประมาณครึ่�งช้้อนโต๊๊ะ (1-1.5 กรััม) รััดปากถุุงด้้วยยางรััดให้้แน่่น ขยำำ�ข้้าว
กัับหััวเชื้�อเข้้าด้้วยกัันเบาๆ อย่่าให้้เม็็ดข้้าวถููกบี้�จนเละ เพราะต้้องให้้มีีอากาศถ่่ายเทได้้สะดวกเพื่�อการเจริิญของ
เส้นใยราจะง่ายขึ้น (ขั้นตอนการถ่ายหัวเชื้อน้ีต้องเลือกสถานท่ีที่สะอาดและต้องระมัดระวังการปนเปื้อนของ
เชอื้ จุลนิ ทรีย์จากส่ิงแวดล้อม)
6. รวบถุงให้บริเวณปากถุงพองแล้วใช้ปลายเข็มแทงถุงพลาสติกบริเวณรอบๆ ปากถุงที่รัดยางเอาไว้
ประมาณ 20-30 รู เพ่อื ให้มีอากาศถ่ายเทไดท้ ัว่ ถุง
7. กดข้าวในถุงให้แน่นให้แผ่กระจายและแบนราบ แล้วดึงบริเวณกลางถุงข้ึนเพ่ือเพิ่มอากาศ ข้อควรระวัง
ในขัน้ ตอนนค้ี อื ไมค่ วรวางถงุ ซ้อนทับกนั
8. บ่่มเชื้�อในบริิเวณที่่�มีีอากาศถ่่ายเท ไม่่มีีแมลงและมดรบกวน ข้้อแนะนำำ�ในการบ่่มเชื้�อควรวางถุุงเชื้�อ
ในบริเวณท่ีได้รับแสงสว่างจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ โดยให้แสงสว่างนาน 10-12 ช่ัวโมง/วัน หรือตลอด
24 ช่วั โมง เพื่อกระตนุ้ การสร้างสปอร์ของเชอื้ เชื้อที่เจรญิ ดจี ะมีสีเขียวเข้ม
9. เมื่อบ่มเชื้อได้ 2 วัน จะพบเส้นใยของราเริ่มเจริญ ให้ขย�ำข้าวในถุงเบาๆ กดข้าวให้แบนราบ
เชน่ เดิม แล้วดงึ กลางถงุ ใหโ้ ปง่ ขึ้น บม่ ต่ออกี 4-5 วัน จะเหน็ เชื้อสีเขียวอยา่ งหนาแนน่
10. น�ำไปใช้ทันที หรือเก็บไว้ในตู้เย็นช่องธรรมดา อุณหภูมิอยู่ในช่วงระหว่าง 7-10 องศาเซลเซียส
การเกบ็ รักษาไมค่ วรเก็บไว้นานเกิน 15 วัน

เอกสารวชิ าการ 25

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศตั รูพื ช

วธิ ีการเพาะเล้ียงราไตรโคเดอรม์ าในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

วธิ ีการ

1. ลา้ งขา้ วเปลอื กใหส้ ะอาดจนหมดฝนุ่ หรอื ส่ิงทีป่ ะปนมา
2. แชข่ า้ วเปลอื กในน้�ำสะอาด ท้ิงไว้ 1 คนื
3. นำ� ขา้ วเปลอื กท่ีแชไ่ ว้ ใสถ่ ุงพลาสติกทนรอ้ นประมาณ 200 กรมั แล้วรดั ปากถงุ ด้วยยางรัด
4. น�ำถุงขา้ วเปลือกมาเรียงในชัน้ วาง
5. น�ำชั้นวางใส่ในถงั นง่ึ ฆา่ เช้ือ ปิดฝาถงั ให้สนทิ ท�ำการนึ่งฆ่าเช้ือเป็นเวลา 2 ชั่วโมง
6. เมื่�อนึ่�งเสร็็จแล้ว้ นำำ�ออกมาทิ้้�งไว้้ให้เ้ ย็็น แล้้วจึึงตัักหััวเชื้�อราไตรโคเดอร์์มาใส่ใ่ นถุงุ ปริิมาณ 1 ช้อ้ นโต๊๊ะ/ถุุง
รัดั ปากถุุง แล้ว้ เขย่่าให้ห้ ัวั เชื้�อกระจายทั่�วถุงุ
7. บ่มเชื้อในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเท ไม่มีแมลงและมดรบกวน เมื่อบ่มเชื้อได้ในระยะแรกๆ จะเห็น
เส้นใยของราเร่ิมเจริญเป็นเส้นใยสีขาว แล้วต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีเขียว ท�ำการบ่มเช้ือเป็นเวลา 14 วัน จึงจะ
น�ำไปใชไ้ ด้
8. นำำ�ไปใช้้ทัันทีี หรืือหากยัังไม่่นำำ�ไปใช้้ควรเก็็บในที่่�ร่่มอุุณหภููมิิห้้องปกติิหรืือเก็็บไว้้ในที่�เย็็นอุุณหภููมิิ
8-10 องศาเซลเซียส
ขอ้ ควรระวัง  ไม่ควรเก็บเชอ้ื ท้งิ ไว้นานเกนิ 30 วัน เน่ืองจากประสิทธภิ าพของเชื้อจะลดลง

26 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

การผลิติ ขยายราไตรโคเดอร์์มา Trichoderma harzianum Rifai

หวั เชือ้ ไตรโคเดอร์มา ช้นั วางถงุ ข้าวเปลอื ก

ถังนึ่งฆา่ เชอ้ื ระบบไอน้�ำขนาด 200 ลติ ร ภายในถงั นึง่ ฆ่าเชือ้

ราไตรโคเดอรม์ าทเ่ี ลี้ยงจนเจรญิ เต็มถุงเมล็ดขา้ วเปลือกใช้เป็นหัวเชอื้

เอกสารวิชาการ 27

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกันกำ� จดั ศัตรูพื ช

บรรณานุกรม
กาญจนา มณีีศรีี. 2557. การคััดเลืือกเชื้�้อราเอนโดไฟท์์ Trichoderma spp. จากเนื้�้อไม้้ยางพารา (Hevea

bresiliersis Muell. Arg.) สำ�ำ หรัับควบคุุมเชื้�้อ Phytophthora palmivora (Butler) และ
P. botryosa (Chee) โดยชีีววิธิ ี.ี วิิทยานิพิ นธ์์วิทิ ยาศาสตรมหาบััณฑิติ สาขาโรคพืืช. มหาวิทิ ยาลััย
สงขลานครินิ ทร์.์ สงขลา. 100 หน้้า.
ขจรเกีียรติิ ธิิปทา และพิิภััทร เจีียมพิิริิยะกุุล. 2554. การคััดเลืือกเชื้�อรา Trichoderma spp. เพื่�อการ
ควบคุุมเชื้�อรา Pythium spp. สาเหตุุโรคเน่่าคอดิิน. หน้้า 488-495. ใน: การประชุุมวิิชาการ
ของมหาวิทิ ยาลััยเกษตรศาสตร์์ ครั้�งที่่� 49. มหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์. กรุงุ เทพฯ.
จิิระเดช แจ่่มสว่่าง วรรณวิิไล อิินทนูู และถวััลย์์ คุ้�มช้้าง. 2544. ประสิิทธิิภาพของเชื้�อรา Trichoderma
harzianum. หน้้า 236-242. ใน: สููตรสำำ�เร็็จต่่างๆ ในการควบคุุมโรคโคนเน่่าของถั่�่วฝัักยาวที่่�
เกิิดจากเชื้้�อรา Sclerotium rolfsii การประชุุมทางวิิชาการประจำำ�ปีีของมหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์
ครั้�งที่่� 39. พืชื ศาสตร์์ การส่่งเสริมิ การเกษตร และการสื่�อสารการเกษตร กรุุงเทพฯ).
จิิระเดช แจ่่มสว่่าง. 2547. การควบคุมุ โรคผัักโดยชีีววิิธี.ี หน้้า 2-7 ใน: เอกสารประกอบการฝึึกอบรม “การควบคุุม
ศััตรููพืืชโดยชีีววิิธีีในการปลููกผัักระบบไม่่ใช้้ดิิน และภายในโรงเรืือน” สำำ�นัักงานกองทุุนสนัับสนุุน
การวิิจััย (สกว.) (ชุุดโครงการ-การจััดการศััตรููพืืชแบบผสมผสาน) และคณะเทคโนโลยีีการเกษตร
สถาบัันเทคโนโลยีีพระจอมเกล้้าเจ้้าคุุณทหารลาดกระบััง. วัันที่� 13 กุุมภาพัันธ์์ 2547 อาคาร
เจ้าคุณทหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กรุงเทพฯ.
แซมซููร รอฮอมาน สุุชาดา เวีียนศิิลป์์ และสมบััติิ ศรีีชููวงศ์์. 2545. การควบคุุมเชื้�อรา Macrophomina
phaseolina ที่่�ติิดกัับเมล็็ดพัันธุ์�ถั่�วเขีียวโดยการคลุุกเมล็็ดด้้วยเชื้�อราปฏิิปัักษ์์. วารสารวิิชาการเกษตร.
18(1): 33-39.
ธิติ ทองค�ำงาม พรหมมาศ คูหากาญจน์ และกนิมมันต์ เจนอักษร. 2556. การประเมินความสามารถ
ในการเป็็นเชื้�อราปฏิิปัักษ์์ในสภาพห้้องปฏิิบััติิการของ Trichoderma ไอโซเลทต่่อเชื้�อรา Fusarium
oxysporum f. sp. lactucae สาเหตุุโรคเหี่�ยวของผัักสลััดที่�ปลููกในระบบไฮโดรโพนิิกส์์. วารสาร
เกษตรพระจอมเกล้้า. 31: 57-63.
นิิยม สุุดเพราะ. 2542. ความหลากหลายของราดินิ และราโรคพืืชในดิินปลูกู พืืชไร่่ จัังหวััดสกลนคร. วิิทยานิพิ นธ์์
วิิทยาศาสตรมหาบัณั ฑิติ (เกษตรศาสตร์์). มหาวิิทยาลััยเกษตรศาสตร์์. กรุงุ เทพฯ. 321 หน้า้ .
อภิิรััชต์์ สมฤทธิ์� ยุุทธศักั ดิ์์� เจีียมไชยศรีี และสุณุ ีรี ััตน์์ สีมี ะเดื่�อ. 2560. การทดสอบประสิทิ ธิิภาพรา Trichoderma
harzianum ในการควบคุุมโรคตายพรายของกล้ว้ ยน้ำำ��ว้้าที่่�มีสี าเหตุุจากรา Fusarium oxysporum
f. sp. cubense ในสภาพแปลงปลููก. ใน: รายงานผลงานวิิจััยประจำ�ำ ปีี 2556. สำำ�นัักวิิจััยพััฒนา
การอารัักขาพืืช กรมวิชิ าการเกษตร. 2552-2557. กลุ่�มวิจิ ัยั โรคพืืช สำำ�นักั วิิจัยั พััฒนาการอารัักขาพืืช.
Benitez, T., M.A. Rincon, M.C. Limon and C.A. Codon. 2004. Biocontrol mechanisms of
Trichoderma strains. Int. Microbiol. 7(4): 249-260.

28 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑ์ป้องกันก�ำจดั ศัตรูพื ช

Elad, Y., I. Chet and J. Katan. 1980. Trichoderma harzianum: A biocontrol agent effective
against Sclerotium rolfsii and Rhizoctonia solani. J. Phytopath. 70: 119-12.

Harman, G.E., C.R. Howell, A. Viterbo, I. Chet and M. Lorito. 2004. Trichoderma species
opportunistic, avirulent plant symbionts. Nature Reviews Microbiology. 2: 43-56.

Inbar, J., A. Menendez and I. Chet. 1996. Hyphal interactions between Trichoderma harzianum
and Sclerotinia sclerotiorum and its role in biological control. Soil Biol. Biochem.
28: 757-763.

Rifai, M.A. 1969. A revision of the genus Trichoderma. Mycological Papers. 116: 1-56.
Tang, W., H. Yang and M. Ryder. 2001. Research and Application of Trichoderma spp. in

Biological Control of Plant Pathogens. In: Bio-Exploitation of Filamentous Fungi.
Pointing, S.B. and Hyde, K.D. (eds.), Fungal Diversity Research. 6: 403-435.
ติดต่อสอบถามขอ้ มูลเพิ่มเตมิ : กลมุ่ งานวทิ ยาไมโค กลุ่มวิจยั โรคพืช
ส�ำนกั วจิ ัยพฒั นาการอารกั ขาพชื   โทร. 0 2579 5581

เอกสารวชิ าการ 29

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมี

Neonothopanus nambi

ชอื่ วิทยาศาสตร์: Neonothopanus nambi (Speg.) R.H. Petersen & Krisai
วงศ:์ Marasmiaceae
อันดับ: Agaricales

ทมี่ าและความสำ� คัญ/ปญั หาศตั รพู ื ช
เห็ดเรืองแสง คือเห็ดที่สามารถเรืองแสงหรือเปล่งแสงได้ในท่ีมืด จัดเป็นเห็ดที่มีลักษณะพิเศษ คือ
มีแสงในตัวเอง โดยแสงที่เปล่งออกมาเป็นกลไกที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน
เมื่ออยู่ในสภาพท่ีไม่มีแสงหรืออยู่ในท่ีมืด ส่วนใหญ่เรืองแสงสีเขียวอมฟ้า หรือสีเขียวอมเหลืองตามชนิดของเห็ด
การเปล่่งแสงเพื่�อดึึงดููดให้้แมลงที่�หากิินในเวลากลางคืืนเข้้ามาหาดอกเห็็ด และพาสปอร์์ของเห็็ดติิดไปกัับตััว
แมลง ซึ่�งเป็็นการช่่วยแพร่่กระจายสปอร์์ กลไกของการเรืืองแสงนั้�นยังั ไม่เ่ ป็็นที่�แน่ช่ ัดั โดยเฉพาะในเห็็ดเรือื งแสง
Neonothopanus nambi มีีนัักวิิทยาศาสตร์์กล่่าวว่่า เป็็นปฏิิกิิริิยาทางชีีวเคมีีคล้้ายกัับการเรืืองแสงของหิ่�งห้้อย
(luciferase-luciferin) และอีีกแง่่หนึ่�งกล่่าวว่่า การเปล่่งแสงคืือปฏิิกิิริิยาออกซิิเดชัันของสารอิินทรีีย์์เคมีี โดยไม่่มีี
เอนไซม์์ที่่�จำำ�เพาะตามแบบที่�เกิิดในหิ่�งห้อ้ ย ได้้มีกี ารศึกึ ษาการเปล่่งแสงของเห็็ดเรือื งแสง N. nambi ในประเทศ

30 เอกสารวิชาการ

ชีวภัณฑป์ ้องกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

เวีียดนามตอนใต้้พบว่่าสามารถเปล่่งแสงได้้เป็็นเวลานานมากกว่่า 2 สััปดาห์์ สำำ�หรัับ spectrum ของแสง
อยู่ในช่วงแสงที่มองเห็นได้ (visible light) โดยมีช่วงความยาวคลื่นระหว่าง 480-700 นาโนเมตร และ
ที่ความยาวคล่ืนสูงสุด 527-535 นาโนเมตร การเปล่งแสงของเห็ดเรืองแสงชนิดน้ีขึ้นอยู่กับปริมาณก๊าซออกซิเจน
โดยเมื่อขาดออกซิเจนการเปล่งแสงจะลดลงจนเกือบหมด แต่เมื่อเพ่ิมออกซิเจนมากข้ึนการเปล่งแสงจะกลับมา
นอกจากน้ันการกระตุ้นเส้นใยด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ท�ำให้เห็ดเปล่งแสงได้มากยิ่งขึ้น ซ่ึงสอดคล้อง
กับเหตุผลที่ว่าราชั้นสูงมีกิจกรรมของเอนไซม์ย่อยลิกนินสูงและมีความซับซ้อน โดยเอนไซม์เหล่าน้ันมีหลาย
เอนไซมท์ ่แี สดงกจิ กรรมของ peroxidase ทัง้ น้แี มงกานีสอิออน (Mn2+) จะกระตุ้นท�ำให้มีการเปล่งแสงมากขึ้น
ส่วนแคลเซียมอิออน (Ca2+) จะลดการเปล่งแสงลง ซ่ึงในผลงานวิจัยดังกล่าวเป็นการวิจัยเบ้ืองต้นเพ่ือค้นหา
กลไกการเปล่งแสงของเห็ดเรืองแสง N. nambi โดยสรุปได้ว่าการเปล่งแสงของเห็ดเรืองแสงชนิดน้ีต้องการ
ออกซิเจน ปฏิกิริยาน่าจะเกิดขึ้นท่ีเยื่อหุ้มเซลล์หรือโครงสร้างอ่ืนของเส้นใย และ Mn2+ กระตุ้นการเปล่งแสง
แสดงว่ามี Mn-peroxidase รวมอยู่ในเอนไซม์ท่ีเก่ียวข้องกับการย่อยลิกนิน นอกจากนี้ยังพบสารโมเลกุลต�่ำ
ทท่ี นความร้อนสามารถช่วยเพมิ่ การเปลง่ แสง
เห็็ดเรืืองแสงถููกค้้นพบครั้�งแรกในประเทศไทยเมื่�อปีี 2544 โดย ศ.ดร.วีีระศัักดิ์์� และคณะ ในเขตพื้�นที่�
ของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรััตนราชสุุดาฯ สยามบรมราชกุุมารีี (อพ.สธ.) ที่�โคกภููตากา อำำ�เภอเวีียงเก่่า จัังหวััดขอนแก่่น ลัักษณะ
คล้้ายเห็็ดนางรมแต่จ่ ัดั เป็็นเห็็ดพิิษ ในสภาพตอนกลางวััน ก้า้ น ดอก และครีบี มีีสีขี าว แต่ใ่ นสภาพกลางคืืนหรืือ
ที่ไม่มีแสงดอกเห็ดจะเปล่งแสงสีเขียวอมเหลือง มีการศึกษาข้อมูลล�ำดับนิวคลีโอไทด์ส่วน ITS1-5.8S-ITS2
rDNA ของเห็็ดเรืืองแสงที่�พบในเขตโคกภููตากาไอโซเลท PW1 และไอโซเลท PW2 กัับไอโซเลทที่�พบในเขต
มหาวิิทยาลััยขอนแก่่น (KKU) พบว่่าเห็็ดเรืืองแสงทั้�ง 3 ไอโซเลท มีีความคล้้ายกัับเห็็ดเรืืองแสง N. nambi
มากถึึง 94% เมื่�อเปรีียบเทีียบลัักษณะรููปร่่างและสีีของดอกกัับข้้อมููลจากผู้�เชี่�ยวชาญด้้านเห็็ดเรืืองแสง
(Prof. Dr. Roy Watling, Kew Garden, Surley, United Kingdom, Dr. Matin Kirchmair, Institute
Microbiology, University of Innsbruck, Innsbruck, Austria and Dr. J.M. Monclavo, Centre for
Biodiversity and Conservation Biology, Toronto, Canada) สรุปได้ว่าเห็ดเรืองแสงท้ัง 3 ไอโซเลท
คือเห็ดเรืองแสง N. nambi (Speg.) R.H. Petersen & Krisai ซ่ึง ปี ค.ศ. 1999 Petersen and
Krisai-Greilhuber ได้อธิบายถึงเห็ดเรืองแสง N. nambi ว่าเป็นเห็ดท่ีสามารถเรืองแสงสีเขียวอมเหลือง
และได้รายงานลักษณะทางสัณฐานของเห็ดเรืองแสงชนิดนี้ ต่อมาเม่ือวันที่ 21 มิถุนายน 2559 สมเด็จพระ
กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ประธานโครงการ อพ.สธ.
ทรงโปรดเกล้้าฯ พระราชทานชื่�อเห็็ดเรืืองแสงชนิิดนี้้�ว่่า “เห็็ดสิิริินรััศมี”ี เนื่�องจากเห็็ดชนิิดนี้�ได้้มีีการสำำ�รวจพบ
และมีีการศึึกษาวิิจััยถึึงการบ่่งชี้�และการนำำ�ไปใช้้ประโยชน์์ โดยเฉพาะด้้านการเกษตรและการแพทย์์มาอย่่างต่่อเนื่�อง
รวมทั้งเป็นการสนองพระราชด�ำริโครงการ อพ.สธ. ในด้านการปกปกั พนั ธกุ รรมพชื และการใชป้ ระโยชน์

เอกสารวชิ าการ 31

ชีวภัณฑ์ป้องกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

AB

ลกั ษณะเหด็ เรืองแสงสิรินรศั มี Neonothopanus nambi (Speg.) R.H. Petersen & Krisai
ที่�พบในพื้ �นที่�โคกภูตู ากา; (A) สภาพกลางวันั และ (B) สภาพกลางคืืน (ที่�มา: Saksirirat et al., 2003)

AB

ลักษณะเห็ดเรอื งแสงสริ นิ รศั มี Neonothopanus nambi (Speg.) R.H. Petersen & Krisai
ไอโซเลท KKU; (A) สภาพกลางวันั และ (B) สภาพกลางคืนื (ที่�มา: Saksirirat et al., 2003)

วงจรชีวิต
เห็ดเรืองแสงเป็นเห็ดที่พบอยู่ทั่วไปในหลายประเทศท่ัวโลก มักเจริญอยู่ในพื้นท่ีเฉพาะ เช่น พื้นที่
ทีม่ คี วามช้ืนสูง มอี าหารเหมาะสม อากาศถ่ายเทไดด้ ี และมแี สงในเวลากลางวนั ทไี่ ม่ร้อนจนเกินไป เหด็ เรอื งแสง
ส่วนใหญ่เป็นเห็ดที่อาศัยตามซากผุพังของพืชเป็นแหล่งอาหาร อาจจะเกิดอยู่ตามก่ิงไม้ ก่ิงหวาย ต้นปาล์ม
ก่ิงหมาก ตอไม้ และท่อนไม้ที่เริ่มถูกย่อยสลาย หรือเจริญอยู่บนดินท่ีมีธาตุอาหารอยู่ข้างใต้ บางคร้ังพบใน
ป่่าโปร่่งและทุ่�งหญ้้าในฤดููฝน แต่่ส่่วนใหญ่่จะพบเห็็ดเรืืองแสงในพื้�นที่่�ที่่�มีีความชื้�นสููงและเป็็นป่่าที่่�ค่่อนข้้างสมบููรณ์์
ยกเว้้นบางชนิิดที่�สามารถเจริิญได้้ในพื้�นที่่�ที่่�มีีความชื้�นระดัับปานกลาง เช่่น เห็็ดนางรมเรืืองแสง (Lampteromyces
japonicas) และอุุณหภููมิกิ ารเกิิดดอกไม่เ่ กินิ 28 องศาเซลเซีียส

32 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑป์ ้องกันก�ำจัดศัตรูพื ช

เห็ดเรืองแสงจัดเป็นเห็ดพิษ จึงไม่ได้รับความสนใจในการปลูกเพาะเล้ียงให้ออกดอก โดยธรรมชาติ
เส้้นใยของเห็็ดเรืืองแสงสามารถเรืืองแสงได้้ในที่่�มืืดโดยไม่่ต้้องสร้้างเป็็นดอกเห็็ด แต่่การเรืืองแสงหรืือเปล่่งแสง
จะมีีความสว่่างมากเมื่�อเส้้นใยเห็็ดพััฒนาเป็็นดอกเห็็ด ดัังนั้�นการเพาะเลี้�ยงเห็็ดเรืืองแสงให้้ออกดอกได้้อาจเป็็น
การเปิดหนทางใหม่ของการเพาะเห็ดสวยงาม เพ่ือดูความสวยงามยามค่�ำคืน สร้างความแปลกใหม่ให้กับวงการ
เพาะเห็ดท่ีเดิมเน้นเฉพาะเห็ดที่กินได้เท่านั้น ปี ค.ศ. 2006 ในประเทศเวียดนาม Dao Thi Van ได้เพาะเลี้ยง
เห็ดเรืองแสง Omphalotus af. illudens ในถุงเพาะเห็ด โดยใช้วัสดุเพาะหลักเป็นขี้เลื่อยผสมร�ำข้าว พบว่า
เหด็ O. af. illudens สามารถออกดอกและใหด้ อกทเ่ี ปล่งแสงสีเขียวอมเหลอื ง

Fruit-body
development
Primodia formation and
Sclerotia fomation

Sawdust spawn Spore liveration
Mycelia in dark (X40)

วงจรชีีวิิตของเห็ด็ เรืืองแสงสิิรินิ รัศั มีี Neonothopanus nambi (Speg.)
R.H. Petersen & Krisai ในก้้อนขี้�เลื่�อย

(ที่�มา: ดัดั แปลงจาก Dao, 2006)

ในประเทศไทย เมื่�อปีี 2554 วีีรวััตร และวีีระศัักดิ์์� ได้้ทดลองเพาะเลี้�ยงเห็็ดเรืืองแสง N. nambi
ให้้ออกดอกบนวััสดุุเพาะขี้�เลื่�อยไม้้ยางพาราผสมรำำ�ข้้าว เช่่นเดีียวกัับการเพาะเห็็ดนางรมหรืือนางฟ้้า
ในถุุงเพาะเห็็ด พบว่่าประมาณ 1 เดืือน ที่่�มีีการกระตุ้�นโดยความชื้�นในโรงเรืือน เห็็ดเรืืองแสงจะพััฒนาเป็็น
ดอกเห็็ดและเรืืองแสงได้้ โดยดอกเห็็ดของแต่่ละไอโซเลทที่�เพาะมีีรููปร่่างที่�แตกต่่างกัันอย่่างเห็็ดได้้ชััดเจน
ไอโซเลท KKU2 จะมีีก้้านดอกที่�ยาวกว่่า และมีีพััฒนาการของดอกคล้้ายเห็็ดสกุุลนางรม (Pleurotus sp.)
ส่่วนเชื้�อเห็็ดเรืืองแสงไอโซเลท PW2 ก้้านดอกมีีลัักษณะเป็็นริ้�วๆ ขนาดเล็็ก เห็็ดเรืืองแสงไอโซเลท PW2
เส้้นใยเจริิญได้้ดีีที่่�สุุดในขี้�เลื่�อยยางพาราผสมแป้้งข้้าวโพด 10% ขณะที่�ไอโซเลท KKU2 เส้้นใยเจริิญได้้ดีีที่่�สุุด
ในขี้�เลื่�อยยางพาราผสมแป้้งสาลีี 10%

เอกสารวิชาการ 33

ชีวภณั ฑ์ปอ้ งกนั กำ� จดั ศตั รพู ื ช

กลไกการท�ำลายศัตรูพื ช
จากการศึกษาและวิเคราะห์สูตรโครงสร้างของสารด้วยเทคนิคทางสเปกโทรสโกปีร่วมกับ ศ.ดร.สมเดช
เมธากุล และ ดร.รัศมี เหล็กพรหม ภาควิชาเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าสารออกฤทธ์ิทางชีวภาพจาก
เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีท่ีมีผลต่อการตายของตัวอ่อนระยะท่ี 2 (J2) ของไส้เดือนฝอยรากปม ซ่ึงเป็นระยะส�ำคัญ
ที่่�ทำำ�ให้้พืืชเป็็นโรครากปม คืือ สาร aurisin A ซึ่�งสารนี้้�มีีผลต่่อระบบประสาทของไส้้เดืือนฝอยทำำ�ให้้ไส้้เดืือนฝอย
ไม่่สามารถเคลื่�อนที่�และตายในที่่�สุุด นอกจากนี้�ในเส้้นใยของเห็็ดเรืืองแสงยัังมีีสารออกฤทธิ์�อื่�นๆ เช่่น
nambinones A-D, 1-epi-nambinone และ aurisin K เป็นตน้ ซงึ่ มีผลในการยบั ยั้งการฟักไข่ และฆ่าตัวออ่ น
ของไส้เดือนฝอยรากปมได้อกี ด้วย

สูตู รโครงสร้้างของสาร aurisin A ของเห็็ดเรืืองแสงสิริ ินิ รัศั มีี Neonothopanus nambi (Speg.) R.H.
Petersen & Krisai ไอโซเลต PW2  (ที่�มา: สุุรีีย์พ์ ร, 2554)

34 เอกสารวชิ าการ

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันก�ำจัดศัตรพู ื ช

วธิ กี ารใชช้ วี ภัณฑ์ควบคมุ ศตั รพู ื ช
น�ำก้อนเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีท่ีมีเส้นใยเจริญเต็มก้อนขยี้หรือทุบให้เส้นใยแยกออกจากกัน เก็บในถุง
พลาสติกท่สี ะอาด ปริมาณเชอื้ เห็ดเรืองแสง 2 ใน 3 สว่ น/ถงุ ปิดปากถุงพอหลวมๆ เพอื่ ใหม้ อี อกซิเจนเพยี งพอ
ให้้เส้้นใยใหม่่เจริิญ วางไว้้ในอุุณหภููมิิห้้องประมาณ 3-5 วััน จะพบเส้้นใยใหม่่สีีขาวเจริิญออกมา สามารถนำำ�ไป
ใช้้ในแปลงปลูกู พืชื ได้้

ลัักษณะของก้้อนเชื้�อเห็ด็ เรือื งแสงสิิรินิ รััศมีี Neonothopanus nambi (Speg.) R.H. Petersen & Krisai
ที่�พร้อ้ มใช้ใ้ นแปลงทดสอบ

อตั ราการใช้

1. พริกิ มะเขือื เทศ ใช้้อััตรา 10 กรััม/ต้้น รองก้้นหลุมุ ก่่อนปลูกู หากปลูกู พืชื ไปแล้ว้ พบการระบาดของ
โรครากปมใหไ้ ถหน้าดนิ จากน้นั โรยรอบทรงพมุ่ ในอตั รา 30 กรมั /ต้น
2. มันฝรง่ั ใช้อัตรา 220 กิโลกรมั /ไร่ ผสมกบั ป๋ยุ รองพนื้ โรยพรอ้ มปุ๋ยก่อนปลูก
3. พริกไทย ใช้อัตรา 50 กรัม/ต้น รองก้นหลุมก่อนปลูก หากปลูกพืชไปแล้วพบการระบาดของ
โรครากปม ใหไ้ ถหนา้ ดนิ จากนั้นโรยรอบทรงพมุ่ ในอตั รา 50 กรมั /ตน้
4. มนั สำ� ปะหลัง หวา่ น อัตรา 160 กโิ ลกรัม/ไร่ ก่อนไถยกร่อง
5. พืชในวงศผ์ ักชี และผักกาดหอม ใชอ้ ตั รา 40 กรัม/ตารางเมตร
6. ฝรั่�ง ใช้้อัตั รา 30 กรััม/ต้น้ รองก้้นหลุุมก่อ่ นปลูกู หากปลููกพืชื ไปแล้ว้ พบการระบาดของโรครากปม
ใหไ้ ถหนา้ ดนิ จากน้นั โรยรอบทรงพมุ่ ในอตั รา 70 กรัม/ต้น
7. เมลอน ใช้อ้ ัตั รา 30 กรัมั /ต้้น รองก้้นหลุุมก่อ่ นปลููก หากปลููกพืชื ไปแล้้วพบการระบาดของโรครากปม
ให้ไ้ ถหน้้าดินิ จากนั้�นโรยรอบทรงพุ่�ม ในอัตั รา 50 กรัมั /ต้้น

เอกสารวิชาการ 35

ชีวภณั ฑป์ ้องกันกำ� จดั ศตั รพู ื ช

ขอ้ ดี

1. มปี ระสิทธิภาพสงู ทดแทนการใช้สารเคมไี ด้
2. มคี วามปลอดภยั สงู ตอ่ มนษุ ย์ สตั ว์ สิ่งแวดล้อม และไม่มีพษิ ตกค้าง
3. เกษตรกรสามารถน�ำไปผลิตขยายใชเ้ องได้
4. ลดตน้ ทุนในการผลิตพืช
5. ลดการใชส้ ารเคมที างการเกษตร
6. มอี ายกุ ารเก็บรักษาไดน้ านถงึ 12 เดอื น ทอ่ี ุณหภมู ิห้อง โดยสภาพกอ้ นไม่ย่อยสลาย
7. ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงมีความคงทนสามารถเจริญและสร้างสารในดินได้เป็นเวลานาน ซ่ึงต่างจาก
สารเคมีท่มี กี ารเส่อื มและไมค่ งทน

ขอ้ จำ� กัด

1. อัตราและวธิ กี ารใชแ้ ตกต่างกนั ข้นึ อยูก่ บั ชนิดพืชและความเหมาะสมของพนื้ ท่ี
2. ควรเกบ็ ชีวภณั ฑเ์ หด็ เรืองแสงให้พ้นแสงแดด
3. วธิ ีการใชต้ ้องแซะหรอื ไถหนา้ ดินและกลบเพ่อื ให้ชวี ภัณฑ์เหด็ เรืองแสงพน้ จากแสงแดด

ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีไม่มีผลต่อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ควบคุมโรคพืช Trichoderma sp. และ
B. subtilis แบคทีเรยี ทต่ี รงึ ไนโตรเจน (Rhizobium sp.) เชื้อราที่นำ� มาเปน็ หวั เช้อื ผลิตปุ๋ยหมัก (Aspergillus sp.)
รวมทัง้ ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (Steinernema carpocapsae) ไส้เดือนดนิ (Earthworm) และท่สี ำ� คัญสามารถ
จัดระดับความเป็นพิษตามระบบการจ�ำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีท่ีเป็นระบบเดียวกันท่ัวโลก (GHS)
จัดระดับความเป็นพษิ อยูใ่ น category ที่ 5 คอื ไม่มีความเปน็ พษิ และมคี วามปลอดภัยสูง มคี า่ LD50 ที่ 5,000
มิลลิกรัม/กิโลกรัมโดยน�้ำหนักตัว ดังนั้นการใช้ชีวภัณฑ์เห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีจึงมีความปลอดภัยไม่มีผลกระทบ
ตอ่ สงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม

การตรวจสอบคณุ ภาพ/การเกบ็ รักษาชีวภัณฑ์

การเกบ็ รักษาเห็ดเรืองแสงสริ ินรศั มี

1. หััวเชื้�อเห็็ดเรืืองแสงสิิริินรััศมีีในขวดข้้าวฟ่่างสามารถเก็็บในตู้�เย็็น 4 องศาเซลเซีียส ไม่่เกิิน 3 เดืือน
และก่อนยา้ ยหวั เชอื้ ลงในก้อนขีเ้ ล่ือยควรน�ำขวดหัวเชอ้ื ออกจากตเู้ ยน็ โดยท้งิ ไวท้ ีอ่ ณุ หภูมิห้อง เป็นเวลา 1 วัน
2. กอ้ นเหด็ เรอื งแสงสิรนิ รัศมที ่ีมีเส้นใยเจรญิ เต็มกอ้ น สามารถเกบ็ ไว้ท่อี ุณหภมู ิหอ้ งได้นานถงึ 12 เดอื น
และควรเก็บให้พน้ แสงแดด

36 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑ์ปอ้ งกนั ก�ำจดั ศัตรพู ื ช

ชนิดของศตั รูพื ช

โรครากปม ทีม่ สี าเหตุจากไส้เดอื นฝอยรากปม (Meloidogyne spp.)

ไส้้เดืือนฝอยรากปมเป็็นไส้้เดืือนฝอยศััตรููพืืชที่่�มีีความสำำ�คััญทางเศรษฐกิิจ แพร่่กระจายอยู่�ทั่�วโลก และ
เป็็นหนึ่�งในสาเหตุุโรคพืืชที่่�สำำ�คััญลำำ�ดัับต้้นๆ เนื่�องจากสามารถทำำ�ความเสีียหายต่่อพืืชมากมายหลายชนิิด
มีีพืืชอาศััยกว้้าง และยัังสามารถก่่อโรคร่่วมกัับเชื้�อโรคพืืชชนิิดอื่�นๆ อีีกด้้วย ไส้้เดืือนฝอยรากปมเป็็นสิ่�งมีีชีีวิิต
ขนาดเล็็ก มองไม่่เห็็นด้้วยตาเปล่่า ลอกคราบครั้�งแรกในไข่่ จากตััวอ่่อนระยะที่� 1 เป็็นตััวอ่่อนระยะที่� 2 และ
จะฟัักออกมาจากไข่่เพื่�อเข้้าทำำ�ลายรากพืืช ตััวอ่่อนระยะที่� 2 จะชอนไชเข้้ารากพืืชไปฝัังตััวอยู่�บริิเวณท่่อลำำ�เลีียง
น้ำำ��และอาหาร จากนั้�นจะลอกคราบอีีก 3 ครั้�งและเจริิญเติิบโตเป็็นตััวเต็็มวััย ตััวเต็็มวััยเพศเมีียออกไข่่เป็็นกลุ่�ม
ประมาณ 300-500 ฟองอยู่�ในถุงุ ไข่่ และไข่ส่ ามารถฟักั ออกเป็็นตััวได้้โดยไม่ต่ ้้องมีกี ารผสมพัันธุ์� ไข่่ของไส้้เดืือนฝอย
รากปมจะอยู่�ในถุุงไข่่ที่่�มีีลัักษณะเป็็นเจล ในสภาวะที่�ไม่่เหมาะสมไข่่ที่�อยู่�ในกลุ่�มไข่่อาจไม่่ฟัักออกเป็็นตััวทัันทีี
แต่่จะสามารถพัักตััวได้้ระยะเวลาหนึ่�ง ซึ่�งจะทำำ�ให้้ไส้้เดืือนฝอยอยู่�รอดได้้จนถึึงการปลููกพืืชครั้�งต่่อไป วงจรชีีวิิต
ของไส้้เดืือนฝอยรากปมประมาณ 1 เดืือน ไส้้เดืือนฝอยรากปมชนิิดที่่�สำำ�คััญในประเทศไทยคืือ Meloidogyne
incognita และ Meloidogyne javanica ไส้้เดืือนฝอยรากปมสามารถทำำ�ให้้พืืชเกิิดอาการปุ่�มปมที่�ราก
โดยการฝัังตััวอยู่�บริิเวณท่่อลำำ�เลีียงน้ำำ��และอาหาร และชัักนำำ�เซลล์์บริิเวณดัังกล่่าวให้้มีีการแบ่่งตััวที่่�ผิิดปกติิ
เกิิดเป็็นเซลล์์ขนาดใหญ่่ที่่�มีีหลายนิิวเคลีียสเรีียกว่่าเซลล์์ยัักษ์์ (giant cells) ซึ่�งจะกลายเป็็นแหล่่งอาหาร
สำำ�หรับั ไส้เ้ ดือื นฝอยเพื่�อใช้ใ้ นการเจริญิ เติบิ โตต่อ่ ไป ในขณะเดียี วกันั เซลล์ท์ี่�อยู่�บริเิ วณรอบๆ ก็จ็ ะมีกี ารเจริญิ เติบิ โต
ที่่�ผิิดปกติิ ทำำ�ให้้รากพืืชมีีลัักษณะเป็็นปุ่�มปม ซึ่�งอาการของรากพืืชที่่�ถููกไส้้เดืือนฝอยรากปมเข้้าทำำ�ลายจะชััดเจน
ส่่วนอาการของพืืชส่่วนเหนืือพื้�นดิินจะไม่่ชััดเจน โดยจะแสดงอาการเหมืือนพืืชที่�รากถููกทำำ�ลายเนื่�องจาก
สาเหตุุอื่�นๆ พืืชจะมีีการเจริิญเติิบโตลดลง แสดงอาการขาดธาตุุอาหารที่�ใบ เกิิดอาการเหี่�ยวชั่�วคราวในเวลา
กลางวััน เป็็นต้้น

กลุ่มไขข่ องไส้เดือนฝอยรากปมบนรากพืช ตวั เต็มวัยเพศเมยี ไส้เดือนฝอยรากปมก�ำลงั วางไข่

ตััวอ่่อนระยะที่�สองฟักั ออกจากไข่่ ตัวั อ่่อนไส้เ้ ดือื นฝอยรากปมระยะที่�สอง เป็น็ ระยะ
เข้้าทำำ�ลายพืืช มีีขนาดเล็็กไม่่สามารถมองเห็็นด้ว้ ยตาเปล่่า

เอกสารวชิ าการ 37

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกันกำ� จดั ศัตรพู ื ช

ลักษณะอาการรากปมของพริก

ลกั ษณะอาการรากปมของฝรงั่

ลัักษณะอาการหูดู บนหัวั ของมัันฝรั่�ง

การประเมินประสทิ ธิภาพในการควบคุม
ประเมิินการเกิิดโรคหลัังการใช้้ชีีวภััณฑ์์เห็็ดเรืืองแสงสิิริินรััศมีีเป็็นเวลา 1 เดืือน โดยสัังเกตอาการ
ของพืืชบนดิิน พืชื แตกยอดอ่อ่ น ไม่แ่ สดงอาการเหี่�ยว แคระแกร็็น เหลือื งโทรม และแห้ง้ ตาย ส่ว่ นอาการใต้้ดินิ
สุ่�มถอนเพื่�อเช็็คระบบรากพืืชว่า่ มีีอาการรากบวมพองและเป็็นปุ่�มปมหรือื ไม่่

38 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภณั ฑป์ ้องกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

การผลิตขยายชีวภัณฑ์

วธิ กี ารผลติ หวั เชื้อเหด็ เรืองแสงสิรินรัศมี

1. น�ำเมล็ดข้าวฟ่างล้างท�ำความสะอาด 2-3 คร้ัง และคัดส่ิงเจือปนออก แช่น้�ำทิ้งไว้ประมาณ
8-12 ชว่ั โมง เพื่อใหเ้ มลด็ ขา้ วฟ่างน่มิ และตม้ เมล็ดสกุ ได้ง่าย
2. น�ำข้าวฟ่างไปต้มจนกระท่ังสุกพอดี สังเกตโดยน�ำเมล็ดข้างฟ่างมาบีบจะนิ่มและเมล็ดข้าวฟ่างเร่ิม
ปริเลก็ น้อย
3. น�ำเมล็ดข้าวฟ่างที่ต้มสุกเทใส่ตะแกรง แล้วเกลี่ยบางๆ ผึ่งลมท้ิงไว้ประมาณ 20-30 นาที เพ่ือลด
ความร้อนและความชื้น
4. น�ำเมล็ดข้าวฟ่างที่เย็นแล้วบรรจุลงในขวด 2 ใน 3 ส่วน ปิดจุกด้วยส�ำลี และหุ้มด้วยกระดาษ
อีกชนั้ หน่งึ
5. นำำ�ขวดเมล็็ดข้้าวฟ่่างไปนึ่�งฆ่่าเชื้�อในหม้้อนึ่�งความดัันที่่�อุุณหภููมิิ 121 องศาเซลเซีียส ความดััน
15 ปอนด/์ ตารางนว้ิ นาน 30 นาที เพอ่ื ฆา่ เชื้อภายในขวดเมล็ดขา้ วฟ่าง ปลอ่ ยให้เย็น จากน้นั น�ำเชอื้ เหด็ เรืองแสง
ที่�เลี้�ยงบนจานอาหารเลี้�ยงเชื้�อ potato dextrose agar (PDA) เป็็นเวลา 7 วััน โดยใช้้ cork borer ขนาด
เส้้นผ่่านศููนย์์กลาง 0.8 เซนติิเมตร เจาะบริิเวณปลายเส้้นใย แล้้วใช้้เข็็มเขี่�ยเชื้�อลงในขวดข้้าวฟ่่าง โดยให้้ชิ้�นวุ้�น
อยู่กึ่งกลางของขวดข้าวฟ่าง ลนปากขวด ปิดจุกส�ำลี หุ้มกระดาษ และรัดด้วยยางวง บ่มเช้ือท่ีอุณหภูมิห้อง
เปน็ เวลา 7-10 วัน เพ่อื ให้เสน้ ใยเจรญิ เตม็ ขวดขา้ วฟา่ ง

วธิ กี ารผลิตขยายเห็ดเรอื งแสงสริ นิ รศั มใี นก้อนขีเ้ ลอ่ื ยโดยเกษตรกร

น�ำหัวเชื้อเห็ดเรืองแสงสิรินรัศมีที่เจริญในขวดข้าวฟ่าง เขย่าให้เมล็ดข้าวฟ่างร่วนออกจากกัน และ
เทเมล็ดข้าวฟา่ งประมาณ 15-20 เมล็ด (ประมาณ 2 กรัม) ลงในถุงก้อนขี้เลือ่ ยทีผ่ ่านการนึง่ ฆา่ เช้ือ ปดิ จกุ ส�ำลี
หุ้มกระดาษ และรัดด้วยยางวง นำ� ไปเกบ็ ท่อี ณุ หภมู ิห้องประมาณ 45 วนั เพือ่ ให้เสน้ ใยเจรญิ เตม็ ก้อน

เอกสารวิชาการ 39

ชีวภัณฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศตั รพู ื ช

การผลิติ ขยายเห็ด็ เรืืองแสงสิิรินิ รััศมีี Neonothopanus nambi (Speg.)
R.H. Petersen & Krisai

น�ำเมลด็ ข้าวฟ่างทีต่ ม้ สกุ เกลย่ี บางๆ น�ำเมลด็ ขา้ วฟา่ งทีเ่ ย็นแล้วบรรจุ 100 กรมั /ขวด
ผ่งึ ลมทิง้ ไว้ประมาณ 20-30 นาที แลว้ นำ� ไปนึง่ ฆ่าเชอื้ ในหม้อน่ึงความดนั
เพอ่ื ลดความรอ้ นและความช้ืน

นำำ�เชื้�อเห็็ดเรืืองแสงสิริ ิินรััศมีทีี่�เลี้�ยงบนจานอาหารเลี้�ยงเชื้�อ PDA เป็น็ เวลา 7 วััน เขี่�ยเชื้�อลงในขวดข้า้ วฟ่่างที่�นึ่�งฆ่า่ เชื้�อ

บม่ เชื้อที่อุณหภูมิหอ้ ง เปน็ เวลา 7 วัน เพื่อให้เส้นใยเจริญเต็มขวดขา้ วฟ่าง

40 เอกสารวชิ าการ

ชีวภัณฑป์ ้องกันก�ำจดั ศัตรพู ื ช

Link / QR code / Clip ของชีวภณั ฑ์
https://www.youtube.com/watch?v=k3iyFldHPQY
https://www.youtube.com/watch?v=5Ken0kNkpl4
https://www.technologychaoban.com/agricultural-technology/article_131767

บรรณานุกรม
นุุชนารถ ตั้�งจิติ สมคิดิ . 2550. การควบคุุมโรครากปมในพริิก. กรมวิชิ าการเกษตร. กรุงุ เทพฯ. 4 หน้้า.
วีีรวััตร นามานุุศาสตร์์ และวีีระศัักดิ์์� ศัักดิ์์�ศิิริิรััตน์์. 2554. การทดสอบวััสดุุในการเพาะเลี้�ยงและกิิจกรรมของ

เอนไซม์์ย่อ่ ยสลายของเห็็ดเรือื งแสง Neonothopanus nambi Speg. แก่น่ เกษตร. 39 (ฉบับั พิิเศษ):
202-207.
วีีระศัักดิ์์� ศักั ดิ์์�ศิิริริ ััตน์์. 2560. เห็็ดสิริ ิินรััศมีี (Neonothopanus nambi) และการใช้ป้ ระโยชน์.์ หจก. โรงพิมิ พ์์
คลัังนานาวิทิ ยา. ขอนแก่น่ . 96 หน้้า.
สุุรีีย์์พร บััวอาจ. 2550. ข้้อมููลลำำ�ดัับนิิวคลีีโอไทด์์ในส่่วนไรโบโซมอลดีีเอ็็นเอของเห็็ดเรืืองแสง และผลของ
สารออกฤทธิ์�ทางชีีวภาพจากเห็็ดต่่อไส้้เดืือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita Chitwood).
วิิทยานิิพนธ์์ปริิญญาวิิทยาศาสตรมหาบััณฑิิต สาขาโรคพืืชวิิทยา บััณฑิิตวิิทยาลััย มหาวิิทยาลััย
ขอนแก่่น. 126 หน้้า.
สุุรีีย์์พร บััวอาจ. 2554. ผลของสารออกฤทธิ์�จากเห็็ดเรืืองแสง (Neonothopanus nambi Speg.) ต่่อ
ไส้้เดืือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita Chitwood) และสิ่�งที่่�มีีชีีวิิตนอกเป้้าหมาย.
วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาโรคพืชวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
Agrios, G.N. 1997. Plant pathology (4th eds, p. 803) Acadamic Press INC. London.
Anonymous. 2006. Sirohikaritakae. (Online). Available. http://www.sirohikaritakae.html
(April 25, 2019).
Bondar, V.S., A.P. Puzyr, K.V. Purtov, S.E. Medvedeva, E.K. Rodicheva and J.I. Gitelson. 2011.
The luminescent system of the luminious fungus Neonothpanus nambi. Doklady.
Biochem. Biophys. Rep. 438: 138-140.
Dao, T.V. 2006. The successful cultivation of a new luminescent mushroom Omphalotus
af. illudens. University of Natural Science Ho Chi Minh City, Viet Nam.

เอกสารวิชาการ 41

ชวี ภณั ฑป์ อ้ งกนั กำ� จัดศัตรพู ื ช

Kanokmedhakul S., R. Lekprom, K. Kanokmedhakul, C. Hahnvajanawong, S. Bua-art,
W. Saksirirat, S. Prabpai and P. Kongsaeree. 2012. Cytotoxic sesquiterpenes from
luminescent mushroom Neonothopanus nambi. Tetrahedron. 68: 8216-8266.

Kirchmair M, R. Poder and C.G. Huber. 1999. Identification of illudins in Omphalotus nidiformis
and Omphalotus olivascens var. indigo by column liquid chromatography-atmospheric
pressure chemical ionization tandem mass spectrometry. J. Chromatography A. 832:
247-252.

Kirchmair, M.R., Poder, C.G. Huber and O.K. Miller. 2002. Chemotaxonomical and morphological
observations in the genus Omphalotus Fayod (Omphalotaceae). Persoonia. 17(4):
583-600.

Mayer, A., M. Kilian, B. Hoster, O. Sterner and H. Anke. 1999. In-vitro and in-vivo nematicidal
activities of the cyclic dodecapeptide omphalotin A. Pesticide Science. 55: 27-30.

Petersen, R.H. and I. Krisai-Greilhuber. 1999. Type specimen studies in Pleurotus. Persoonia.
17: 201-219.

Rees, J.P., B. De Wergifosse, O. Noiset, M. Dubuisson, B. Jensens and E.M. Thompson. 1998.
The origins of marine bioluminescence: Turning oxygen defense mechanisms
into deep-sea communication tools. J. Exp. Biol. 201: 1211-1221.

Saksirirat, W., N. Sanoamuang, K. Thomma, J. Kamkajorn, S. Komain and S. Saepaisan. 2003.
A new record of luminescent mushroom (Omphalotus sp.) in Thailand and studies
on its cultivation and application. Pages 251-257 In: Proceeding of Medicinal Mushroom
& Biodiversity and Bioactive compound. BIOTEC, PEACH Pattaya, Chon Buri, Thailand.

Sivinski J., 1981. Arthropods attracted to luminescent fungi. Psyche. 88: 383-390.
Taylor, A. L. and J. N. Sasser. 1978. Biology, Identification, and Control of Root-Knot

Nematodes (Meloidogyne Species). International Meloidogyne Project. North
Carolina State University, Raleigh.
Triantaphyllou, A.C. 1981. Oogenesis and the chromosomes of the parthenogenetic
root-knot nematode Meloidogyne incognita. J. Nematology. 13: 175-180.
ติดต่อสอบถามข้อมลู เพมิ่ เตมิ : กลุ่มงานวิทยาไมโค กล่มุ วิจยั โรคพืช
ส�ำนกั วจิ ยั พัฒนาการอารักขาพืช โทร. 0 2579 9581

42 เอกสารวชิ าการ

ชวี ภัณฑ์ป้องกนั ก�ำจดั ศตั รพู ื ช

ชวี ภณั ฑ์ป้องกันกำ� จดั แมลงศัตรูพื ช

ไวรสั NPV (Nucleopolyhedrovirus)

ชื่�อสามัญั : ไวรััส NPV (Nucleopolyhedrovirus)
วงศ:์ Baculoviridae

ที่มาและความสำ� คัญ/ปัญหาศตั รูพื ช
ในปี ค.ศ. 1949 ได้มีนักโรควิทยาช่ือว่า Steinhaus เป็นผู้บุกเบิกการศึกษาและเขียนหนังสือเกี่ยวกับ
โรคที่เกิดกับแมลงซ่ึงเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหนังสือโรคของแมลงที่ดีท่ีสุดและมีความส�ำคัญท่ีสุดในสมัยน้ัน
ในช่่วงสงครามโลกครั้�งที่� 2 ได้้มีีการนำำ�ผ้้าไหมไปใช้้เป็็นร่่มชููชีีพ ในหลายประเทศที่่�มีีการเลี้�ยงหนอนไหม
ประสบปััญหาการเกิดิ โรคจากไวรัสั NPV จึึงมีีการค้้นคว้า้ ทดลองโรคไวรััสของหนอนไหม จากการค้น้ คว้้าทดลอง
ด้้วยกล้อ้ งจุลุ ทรรศน์์อิเิ ล็็คตรอนของ Bergold ในปีี ค.ศ. 1963 ทำำ�ให้้เห็น็ รููปร่่างของผลึึกไวรัสั NPV อย่่างชััดเจน
และยัังพบว่่าผลึึกโปรตีีนนี้้�ถููกย่่อยสลายได้้ด้้วยสารละลายที่ �เป็็นด่่างและสามารถแยกเชื้ �อไวรััสที่ �บริิสุุทธิ์ �โดย
การปั่นด้วยเครอื่ งป่นั เหวี่ยงตกตะกอน (centrifuge) ท่คี วามเรว็ รอบสงู
ในปีี ค.ศ. 1973 องค์์การอนามััยโลก (The World Health Organization: WHO) ได้ป้ ระกาศรายชื่�อ
ของแมลงและไรที่่�สำำ�คััญทางเศรษฐกิิจที่�พบเป็็นโรคจากไวรััส NPV 261 ชนิิด ในปีี ค.ศ. 1985 Tinsley and
Kelly ได้รายงานว่าไวรัสในวงศ์ Baculoviridae สามารถเกิดโรคกับสัตว์ในอาณาจักร Arthopoda ได้ ต่อมา
ในปีี ค.ศ. 1986 Martignoni and Iwai ได้้รายงานว่่าสามารถเกิิดโรคกัับแมลงในอัันดัับ Coleoptera,
Hymenoptera, Diptera, Neuroptera, Siphonaptera, Thysanura, Trichoptera และ Lepidoptera
ไวรััส NPV ของแมลงศััตรููพืืชได้้ถููกจััดอยู่�ในวงศ์์ Baculoviridae สกุุล Baculovirus ซึ่�งประกอบด้้วย
ไวรััส NPV ไวรััส Granulosis และไวรััส Oryctes ไวรััสในสกุุลนี้�อนุุภาคเป็็นรููปแท่่งกลมยาว (Bacilliform)
โดยมีีผลึึกโปรตีีน (inclusion body) ห่่อหุ้�มอนุุภาคของไวรััสเอาไว้้แต่่ไม่่พบใน Oryctes ไวรััส ลัักษณะ
โครงสร้้างของไวรััส NPV อนุุภาคของไวรััสหรืือนิิวคลีีโอแคปสิิด (nucleocapsid) NPV จะเป็็น DNA
ประกอบด้้วยกรดนิิวคลีีอิิคชนิิด double stranded DNA โมเลกุุลเดี่�ยว มีีน้ำำ��หนัักโมเลกุุลตั้�งแต่่ 50-100x106
ดาลตััน (dalton) นิิวคลีีโอแคปสิิดจะถููกห่่อหุ้�มด้้วยผนัังซึ่�งเป็็น triple layer lipoprotein ไวรััส NPV มีีการ
เรียงตัวของ virion ภายในผลึกโปรตีน (polyhedra) ได้ 2 แบบคอื

เอกสารวิชาการ 43

ชวี ภัณฑ์ป้องกนั กำ� จัดศตั รูพื ช

ก. virion ที่ประกอบด้วยนิวคลีโอแคปสิดเพียงอนุภาคเดียวเท่านั้น และกระจัดกระจายอยู่ในผลึก
โปรตีน เรยี กว่า single-embeded NPV (S-NPV)
ข. virion ที่ประกอบด้วยนิวคลีโอแคปสิดตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป ดังนั้นขนาดของ virion ข้ึนอยู่กับ
จำ� นวนอนุภาคของนวิ คลโี อแคปสิด เรยี กวา่ multiple-embeded NPV (M-NPV)
จากการวิจัยของ Burgold ในปี ค.ศ. 1963 และ Adams and Wilcox ในปี ค.ศ. 1982 พบว่าผลึกโปรตีน
(polyhedra) ท่ีห่อหุ้มนิวเคลียสของไวรัส NPV มีขนาดเฉล่ีย 0.5-15 ไมโครเมตร ประกอบด้วย polypeptide
ที่เรียกว่า polyhedrin มีน้�ำหนักโมเลกุล 26,000-30,000 ดาลตัน ในแต่ละผลึกโปรตีนจะมีจ�ำนวนนิวคลีโอ
แคปสดิ แตกต่างกันไป อาจมีมากกวา่ 100 นิวคลีโอแคปสดิ แลว้ แต่ชนดิ ของไวรสั NPV รูปร่างของผลกึ โปรตีน
ของไวรัส NPV อาจมีรูปร่างแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของไวรัส เช่น รูปสี่เหล่ียม หกเหล่ียม แปดเหลี่ยมหรือ
รูปเหล่ียมหลายด้าน (polyhedra) และในปี ค.ศ. 1986 Hunter and Hall ได้ศึกษารูปร่างของผลึกโปรตีน
ท่ีห่อหุ้มนิวคลีโอแคปสิดของไวรัส NPV ของหนอนกระทู้หอม Spodoptera exigua (Hübner) พบว่า
มีีลัักษณะเป็็นรููปหลายเหลี่�ยมมีีขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลางระหว่่าง 1-6 ไมโครเมตร มีีนิิวคลีีโอแคปสิิดประกอบด้้วย
virion 2-3 อนุุภาค และในปีี ค.ศ. 1989 Attathom และคณะ ได้ร้ ายงานว่่า ไวรััส NPV ของหนอนเจาะสมอฝ้้าย
Helicoverpa armigera (Hübner) มีี 1 นิิวคลีีโอแคปสิิด ในแต่่ละ virion ขนาดเส้้นผ่่านศููนย์์กลางของ
polyhedra เฉลี่�ย 0.98 ไมโครเมตร ไวรัสั NPV ของหนอนกระทู้้�ผักั มีี 3-5 นิวิ คลีีโอแคปสิิด ใน 1 virion

ลัักษณะโครงสร้า้ งและส่่วนประกอบของไวรัสั NPV ชนิดิ อนุภุ าคเดี่�ยว (Singly-enveloped nucleocapsid)
และอนุุภาครวมกันั เป็็นกลุ่�ม (Multiple-enveloped nucleocapsid)  (ที่�มา: Payne and Kelly, 1981)

44 เอกสารวิชาการ

ชีวภณั ฑป์ อ้ งกนั ก�ำจดั ศตั รูพื ช


Click to View FlipBook Version